Nan
นิตยสารแนะน�ำแหล่งท่องเที่ยวและของดีจังหวัดน่าน ประจ�ำปี 2562
Magazine
กระซิบรักที่เมืองน่าน
SPECIAL INTERVIEW นายณฐกร จิรภัคพงค์ ผอ.พระพุ ท ธศาสนาจัง หวัดน่า น กระซิบรักบันลือโลก “ปู่ม่านย่าม่าน” มงคลล้านนา ณ วัดภูมินทร์
Vol.10 Issue 90/2019
www.issuu.com
.indd 3
สั ม ผัส 441 วัด ตามรอยประวัติศาสตร์ พระพุ ทธศาสนาสามยุค กระซิบรัก จากปู่ย่า ถึ ง ธรรมะจากพระมาลัย วั ด ภู มิ น ทร์ อ�ำเภอเมืองน่า น
4/4/2562 11:23:10
วัดพระธาตุช้างค�ำ้ วรวิหาร สร้างพระเจดีย์แข่งขัน จาก “การศึกแห่งธรรม” สู่ความสามัคคีของชุมชน
2
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 2
. - 01/04/2562 11:23:04 AM
H ISTORY OF BUDDHISM
WAT
PHRA THAT CHANG KHAM ปูชนียวัตถุส�ำคัญของ วัดพระธาตุชา้ งค�้ำที่ บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ LOCATION สี่แยกเมืองน่าน
DISTRICT เมืองน่าน
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 3
3
. - 01/04/2562 11:23:07 AM
วัดป่านันทบุรีญาณสังวราราม สร้างวัดสร้างบารมี สร้างคนดีสู่สังคม พระครูกิตติจันทโรภาส ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดป่านันทบุรีญาณสังวราราม
วัดป่านันทบุรญ ี าณสังวราราม ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นผาตูบ ต�ำบลผาสิงห์ อ�ำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน ความเป็นมาเริม่ จาก คุณวัลลภา ศิรพิ รรฒ มีศรัทธาปสาทะได้ซอื้ ทีด่ นิ เพือ่ สร้างวัดจ�ำนวน 30 ไร่ ณ บ้านผาตูบ หมูท่ ี่ 7 ต�ำบลผาสิงห์ อ�ำเภอเมืองน่าน จากสนามบินน่านมาถึงวัด ประมาณ 11 กิโลเมตร มอบถวายคณะสงฆ์ วัดป่าดาราภิรมย์ จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ เมื่ อ วั น ที่ 8 มี น าคม พ.ศ. 2555 โดยมี พระราชวิสุทธิญาณ เจ้าอาวาสวัดป่าดาราภิรมย์ เป็นประธาน 4
ต่อมาเมื่อวันที่ 6 มิถุนายน พ.ศ.2555 พระราชวิสุทธิญาณ ได้ มอบหมายให้พระครูกิตติจันทโรภาส (จักรกริศน์ จนฺโทภาโส) ผู้ ช่วยเจ้าอาวาสวัดป่าดาราภิร มย์ ซึ่งมีภูมิล�ำเนาเดิมเป็นชาว จังหวัดน่าน น�ำคณะสงฆ์เข้าพื้นที่เพื่อด�ำเนินการบุกเบิกพัฒนา สร้างวัด จนกระทั่งเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ.2555 เจ้าพระคุณ สมเด็ จ พระญาณสั ง วร สมเด็ จ พระสั ง ฆราช สกลมหาสั ง ฆ ปริณายก (เจริญ สุวฑฺฒโน) ทรงรับวัดไว้ในพระสังฆราชูปถัมภ์ และทรงประทานนามวั ด ว่ า “วั ด ป่ า นั น ทบุ รี ญ าณสั ง วราราม” พร้อมทั้งทรงรับการก่อสร้างอุโบสถดินไว้ในพระสังฆราชูปถัมภ์
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 4
. - 01/04/2562 11:13:12 AM
ปัจจุบันวัดป่านันทบุรีญาณสังวราราม มีพื้นที่ 63 ไร่ มีศาลา 1 หลั ง (ส� ำ หรั บ ท� ำ กิ จ กรรมไหว้ พ ระสวดมนต์ แ ละเป็ น ที่ ฉั น ภัตตาหารเช้าของพระภิกษุสามเณร) อุโบสถดิน 1 หลัง (ส�ำหรับ ประกอบสังฆกรรมตามพระวินัย) กุฏิหลังคามุงหญ้าคา 25 หลัง (ที่ พั ก ส� ำ หรั บ พระภิ ก ษุ ส ามเณร) และ อาคารที่ พั ก 3 หลั ง (ส�ำหรับรองรับผู้ที่มาปฏิบัติธรรม) ด้วยความส�ำนึกในพระเมตตาของเจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก พระครูกติ ติจนั ทโรภาส เจ้าอาวาสวัดป่านันทบุรีญาณสังวราราม จึงได้ตั้งปณิธานว่า “เน้นการสร้างบุคคลมากกว่าวัตถุ” เพราะ สร้างวัดให้สวยงามมากเพียงใดแต่ไม่มีบุคคลเข้ามาประพฤติ ปฏิบตั ธิ รรม บรรพชาอุปสมบท พระพุทธศาสนาย่อมสืบต่อได้ยาก โดยพระภิกษุสามเณร ที่มาปฏิบัติที่วัดป่านันทบุรีญาณสังวราราม จะต้องเคร่งครัดในศีลธรรม มีกริ ยิ ามารยาทเรียบร้อย มีการท�ำวัตร ไหว้พระสวดมนต์ นั่งสมาธิ เดินจงกรม เป็นประจ�ำ นอกจากนี้ พ ระครู กิ ต ติ จั น ทโรภาสยั ง ได้ จั ด กิ จ กรรมและ โครงการต่างๆ เพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนา เช่น โครงการ “รวมแผ่นดิน รวมผืนน�้ำ รวมแผ่นทอง ร้อยดวงใจ สร้างบุญใหญ่ เพือ่ คนไทยทัง้ แผ่นดิน” ซึง่ เป็นโครงการทีเ่ กีย่ วข้องกับการก่อสร้าง และบูรณะอุโบสถดิน, โครงการ “เยาวชนต้นแบบ”, โครงการ “ผูส้ งู อายุตน้ แบบ”, โครงการ “บวชได้บวชดี บวชฟรี ไม่มคี า่ ใช้จา่ ย” กิจกรรมปฏิบัติธรรมของเด็กนักเรียนและเยาวชน และประชาชน โดยทั่วไป จากสถานศึกษา หน่วยงาน องค์กร ทั้งภาครัฐ และ เอกชน, กิจกรรมวาดภาพอุโบสถในฝันที่เมืองนันทบุรี, กิจกรรม ประกวดเขี ย นเรี ย งความและวาดภาพฯลฯ ซึ่ ง โครงการและ กิจกรรมต่างๆ เหล่านี้ล้วนแล้วมีวัตถุประสงค์เพื่อการเผยแผ่ พระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองและยั่งยืนมั่นคงสถาพรสืบไป
ติดต่อสอบถาม วัดป่านันทบุรีญ าณสั ง วราราม บ้ านผาตู บ ต�ำ บลผาสิ ง ห์ อ�ำเภอเมื อ งน่ าน จั ง หวัดน่าน 55000 08-9711-0459, 09-0056-3220 0900563220 วั ด ป่ านั นทบุ รีญ าณสั ง วราราม pom_dara@hotmail.com
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 5
5
. - 01/04/2562 11:13:23 AM
หลวงพ่อสัมฤทธิ์ศักดิ์สิทธิ์ พระธาตุโสฬสเจดีย์ บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ 3 แผ่นดิน 6
.indd 6
วัดเจดีย์ ตำ�บลดู่ใต้ อำ�เภอเมือง จังหวัดน่าน SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
. - 01/04/2562 10:37:16 AM
วัดเจดีย์
สักการะพระโสฬสเจดีย์ พระครูวิมลนันทญาณ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดเจดีย์
วัดเจดีย์ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 65 หมู่ 4 ต�ำบลดูใ่ ต้ อ�ำเภอเมือง จังหวัดน่าน เป็นวัดเก่าแก่อีกวัดหนึ่งของจังหวัดน่าน ที่มีประวัติความเป็นมา อันยาวนาน ด้วยความที่ชื่อว่า “บ้านเจดีย์ ” แต่ไม่มีเจดีย์อยู่เลย ท�ำให้ผู้น�ำชุมชน ชาวบ้านและพระภิกษุ ต่างเห็นว่าควรที่จะมีการ สร้างเจดีย์ขึ้นในวัด เพื่อให้สมกับค�ำว่า “บ้านเจดีย์”
บวงสรวงพญานาค สักการะพระโสฬสเจดี ย์
ทุกปีช่วงวันสงกรานต์ ชาวบ้านเจดีย์ ร่วมกับวัดเจดีย์จัด พิธีบวงสรวงพญานาคตามความเชื่อพื้นบ้านพร้อมแข่งขันเรือเล็ก รับเทศกาลสงกรานต์ ที่วัดเจดีย์ ต�ำบลดู่ใต้ อ�ำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน ตามความเชื่อพื้นบ้านของจังหวัดน่านว่า พญานาค เป็นเจ้าแห่งน�ำ้ และความอุดมสมบูรณ์ เพือ่ รับเทศกาลสงกรานต์ทกุ ปี โดยเชือ่ ว่าพญานาคจะมาเล่นน�ำ้ ให้เกิดความร่มเย็นชุม่ ชืน่ นาคเป็น ผูด้ ลบันดาลให้เกิดความสมดุลในธรรมชาติ ความมัง่ คัง่ ความร่มเย็น เป็นสุข รวมทั้งยังยกย่องนาคเป็นบรรพบุรุษของคนในท้องถิ่น ด้ ว ยปริ ศ นาแห่ ง พญานาคนี้ ไ ด้ ป รากฏมากมายในจั ง หวั ด น่ า น ทั้งในศาสนสถาน ศิลปวัตถุ โดยเฉพาะเรือแข่งจังหวัดน่าน ชุ ม ชนและคณะศรั ท ธาบ้ า นเจดี ย ์ จั ง หวั ด น่ า นตระหนั ก ในภู มิ ป ั ญ ญาอั น สู ง ส่ ง ของบรรพชนที่ ป ฏิ บั ติ กั น มาแต่ โ บราณ ในปัจจุบันแม้วิทยาศาสตร์จะเจริญก้าวหน้าแต่พลังอันยิ่งใหญ่ของ ธรรมชาติก็ยังอยู่เหนือการควบคุมของมนุษย์ พิธีบูชาพญานาค ที่ จัดขึ้นในทุกปี จึงเป็นการฟื้นฟู ภูมิปัญญาแห่งบรรพชน และ รณรงค์เพื่อการปกป้องรักษาความสมดุลของธรรมชาติและขจัด ความไม่เป็นมงคลทั้งหลายให้หมดสิ้นไป ซึ่งจังหวัดน่านมีการ สร้างเสาพญานาคเป็นแห่งแรกและแห่งเดียวในประเทศไทย โดย มีการจ�ำลองพระธาตุตามวันเกิดให้พุทธศาสนิกชนได้บูชา นอกจากนัน้ ยังได้สร้างพระโสฬสเจดียท์ ใี่ หญ่ทสี่ ดุ ในจังหวัดน่าน โดยแกะสลัก วาดรูปขนบธรรมเนียม วิถีชีวิตชาวจังหวัดไว้รอบ ฐานเจดี ย ์ ด ้ ว ย การที่ จั ด บวงสรวงในช่ ว งเทศกาลสงกรานต์ เนื่องจากเชื่อกันว่า เป็นช่วงที่พญานาคออกมาเล่นน�้ำในช่วง สงกรานต์นั่นเอง NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 7
7
. - 01/04/2562 10:37:31 AM
H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
พระมหาเจดีย์พ ระเมตตาศรีอริยเมตไตรย พระพุทธเจ้า 5 พระองค์ ในภัทรกัป
พุทธสถานลานปฏิบัติธรรม
บ้านเมตตาธรรม ส�ำนักปฏิบัติธรรมสาขาวัดพระธาตุแช่แห้ง พระอารามหลวง
8
เป็นศาสนสถานที่สร้างขึ้นโดยการน�ำของมหาอุบาสิกาคุณแม่ บัวล้อม หารต๊ะ และอุบาสก อุบาสิกา พุทธศาสนิกชน จาก ทั่วประเทศ ใช้ระยะเวลาในการสร้าง 7 ปี เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ เพื่อเคารพสักการะ ประกอบศาสนพิธี และเรียนรู้ธรรมะค�ำสอน มีทั้งหมด 7 ชั้น ชัน้ บนสุด บรรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทีอ่ ญ ั เชิญมาจากเมืองกุสนิ ารา ประเทศอินเดีย ในพระเจดียท์ งั้ 9 ยอด ชั้นที่ 6 ประดิษฐานรูปเหมือนสมเด็จองค์ปฐมบรมบิดาองค์พระ สัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์แรกในโลก ปางพระนิพพาน ชั้นที่ 1 ประดิษฐานพระประธานพระพุทธเจ้า 5 พระองค์ในภัทรกัป ประทับนัง่ ในฐานดอกบัวบนขนดพระวรกายขององค์พญามุจลินทร์ นาคราช ฯลฯ
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 8
. - 01/04/2562 17:18:34 PM
พุทธสถานลานปฏิบัติธรรม บ้านเมตตาธรรม สร้างขึ้นโดย การน�ำของมหาอุบาสิกาคุณแม่บวั ล้อม หารต๊ะ อุบาสก และอุบาสิกา ทีร่ กั ษาศีล 5 ศีล 8 และพุทธศาสนิกชนผูม้ คี วามศรัทธาทัว่ ประเทศ มาร่วมสร้างโดยไม่ได้นัดหมายกันมาก่อน โดยเรียนรู้ตามค�ำสอน ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เน้นหนักในการรักษาศีล ให้ทาน เจริญ ในพรหมวิหาร 4 และได้ตั้งปรารถนาสร้างศาสนสถาน เพื่อเป็น พุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา ขอพลังบุญกุศลทัง้ หลายน้อมถวายเป็น พระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร พระมหาราชเจ้าทุกพระองค์ และเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และ
แผ่บญ ุ กุศลได้ชว่ ยเหลือบรรพบุรษุ ลูกหลาน บริวาร ญาติมติ ร พีน่ อ้ ง ผู้ล่วงลับ ให้ได้รับการช่วยเหลือเผื่อแผ่แบ่งปันบุญนี้ให้พวกเขา ทั้ ง หลายได้ ถึ ง ความหลุ ด พ้ น และลู ก หลานบริ ว ารที่ อ ยู ่ ก็ ข อให้ ได้รับความคุ้มครอง ให้ได้สืบทอดพระพุทธศาสนากันทุกคน เป็นสถานที่เรียนรู้พระธรรมค�ำสั่งสอนขององค์พระสัมมา สัมพุทธเจ้า ส�ำหรับผู้ปฏิบัติธรรมเมตตาธรรมและผู้ที่มาเยือน ทุกสารทิศไม่มีขอบเขตจ�ำกัด และเป็นสถานที่ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ ของพระภิกษุสงฆ์ ที่มาจากทั่วโลกโดยไม่มีขอบเขตจ�ำกัด หวัง ในงานบุญสร้างนี้ให้เราทุกคนได้ถึงความหลุดพ้นดังปรารถนาไว้ คือพระนิพพาน
พุ ท ธสถานลานปฏิ บั ติ ธ รรม บ้ า นเมตตาธรรม ตั้ ง อยู ่ เลขที่ 12 หมู ่ 5 ต� ำ บลป่ า คา อ� ำ เภอท่ า วั ง ผา จั ง หวั ด น่ า น 08-2959-3629, 08-2765-7727 บ้ า นเมตตาธรรม จั ง หวั ด น่ า น และ Mettatham Nan @mettathamnan
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 9
9
. - 01/04/2562 17:18:49 PM
KhonKhunKhao Resort ฅนขุนเขารีสอร์ท “อบอุ่นใจในบริการ ฟังเล่าขานต�ำนานน่าน ชิมอาหารสุดฝีมือ เลื่องลือการท่องเที่ยว”
ฅ
นขุนเขารีสอร์ท อ�ำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน บริการจัดทัวร์ท่องเที่ยวน่าน ทุกพื้นที่ครบวงจรแห่งเดียวของน่าน พร้อมไกด์ผู้ช�ำนาญการ มาที่นี่แห่งเดียว เที่ ย วทั่ ว น่ า น รั บ รองไม่ ผิด หวั ง และจะมี ค วามสุ ข ประทั บ ใจ ในอรรถรสของ ผู ้ ที่ ชื่ น ชอบการแสวงหาพร้ อ มการบริ ก ารที่ ดู แ ลเอาใจใส่ อ ย่ า งใกล้ ชิ ด พรั่ ง พร้ อ มด้ ว ย •โรงแรม และ ที่ พั ก หรู • ห้ อ งประชุ ม • ห้ อ งอาหาร • ห้ อ งกาแฟฅนขุ น เขาคอฟฟี ่ • รั บ จั ด งานเลี้ ย งสั ง สรรค์ ภ ายในรี ส อร์ ท พร้ อ มดนตรี • บริ ก ารล่ อ งแพยางแก่ ง น�้ ำ ว้ า (ช่ ว งบน ช่ ว งกลาง ช่ ว งล่ า ง ) • ล่ อ งเรื อ ไม้ ส ายน�้ ำ น่ า น 80/150 กม. • ทั ว ร์ แ อดเวนเจอร์ แพ็ ค กิ้ ง ทั ว ร์ แคมป์ปิ้ง เดินป่าน่าน • บริการรถเช่า รถตู้ รถฟอร์จูนเนอร์ รถโฟวิล 4 ประตู และรถเก๋ ง • บริ ก ารบรรยายข้ อ มู ล การท่ อ งเที่ ย วน่ า นทุ ก พื้ น ที่ อ ย่ า งสนุ ก สนานและ ละเอี ย ดยิ บ (ฟรี ) ของฝากก่ อ นจากน่ า นสุ ด ฮ็ อ ต จาก..ฅนขุ น เขา • เสื้ อ ฅนขุ น เขา • หมวกฅนขุ น เขา • สติ๊ ก เกอร์ ฅ นขุ น เขา • สติ๊ ก เกอร์ ท่ อ งเที่ ย วน่ า น
10
2
SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา
.indd 10
1/4/2562 16:28:54
รั ก แล้ ว ต้ อ งแวะพั ก • บ้ า นฅนขุ น เขา •
อยู่ใกล้ฅนขุนเขารีสอร์ท 100 เมตร ท่านที่มาท่องเที่ยวน่าน หากต้องการโลกเป็นส่วนตัว ส�ำหรับ ผูท้ ชี่ นื่ ชอบแสวงหาบรรยากาศ มุมสงบ ปลอดภัย ห้องนอนหรู แอร์ ทีวี ตูเ้ ย็น ไวไฟ พร้อมอุปกรณ์อำ� นวยความสุขความสะดวกครบครัน พักที่บ้านฅนขุนเขา บ้านกลางเวียง อ�ำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ห่างจากใจกลางเมืองเวียงสาเพียง 400 เมตร มีสถานที่ท่องเที่ยว ชุ ม ชนมากมายหลายแห่ ง มี ร ถจั ก รยานให้ ป ั ่ น ชมเมื อ งเวี ย งสา รั บ ประทานอาหารเมนู สุ ด ยอดฝี มื อ และฟั ง เรื่ อ งราวเล่ า ขาน ต�ำนานน่าน จากฅนขุนเขา
กิ จ กรรมของฅนขุ น เขา
โปรแกรมปั่นสองล้อ ผ่อเวียงสา ระยะทางไปกลับ 4 กิโลเมตร ใช้เวลา 1 ชั่วโมง 1. จุดเริ่มต้นจาก ฅนขุนเขารีสอร์ท แหล่งข้อมูล การท่องเที่ยว น่าน/เวียงสา ชมนิทรรศการรูปภาพ แหล่งท่องเที่ยวทุกพื้นที่ของ น่าน และรูปภาพจากสไลด์โชว์ แหล่งท่องเทีย่ ว พร้อมบรรยายพิเศษ เรื่องการท่องเที่ยวน่าน และเวียงสา 2. ชมตลาดเวียงสา/ตลาดเช้า 3. กราบนมัสการพระพุทธรูปพระประธานปางยืน วัดบุญยืน พระอารามหลวง 4. ชมกิจกรรมบนลานข่วงเวียงสา ชมวิถีคนเวียงสา 5. ชมพิพิธภัณฑ์ รอยพระบาทแรก เทศบาลต�ำบลเวียงสา 6. ชมปากแม่นำ�้ สา ข้ามสะพานน�ำ้ น่าน (สะพานใหม่) อ้อมเลีย้ ว ขวาไปกลับรถสะพานน�ำ้ น่าน (สะพานเก่า) ผ่านลานข่วงกิจกรรมริม แม่น�้ำน่าน เดินทางต่อไปบ้านดอนไชย 7. ชมบ้านกะหล๊ก แหล่งอนุรักษ์พันธุ์ปลาสายน�้ำน่าน เสียง สวรรค์ของปลา 8. กราบพระวัดดอนไชย ชมเจดีย์ที่เล็กที่สุดของเมืองน่าน. ชม สิงห์เลี้ยงลูก และชมพระวิหารเก่าแก่โบราณ และเสาไม้ 10 ต้น ใน พระวิหารที่ใหญ่มาก และ 9. ชมตลาดเย็น(กาดแลง)บ้านกลางเวียง ซือ้ อาหาร สินค้าชุมชน เสร็จสิ้นกิจกรรมปั่นสองล้อผ่อเวียงสา
อิ่ ม เอมความสุ ข การท่ อ งเที่ ย ว กั บ ฅนขุ น เขา พร้ อ ม 9 กิ จ กรรม
• ใส่บาตรเช้ารับพร เทีย่ วจรสุขใจ • สดชืน่ ยามเช้า สองเท้าริมธาร • ปั่นสองล้อผ่อเวียงสา (ฮักแล้วถีบ) • อิ่มเอมอร่อยอาหารพื้นบ้าน ลาบปลา ซาลาเปา ข้าวหลาม • สืบสานศิลป์ ถิ่นเวียงสา (เส้นสาย ลายเสียง ส�ำเนียงสะล้อซอปิน) • ล่องแพยางแก่งน�ำ้ ว้า เวียงสาหาดไร่ ผจญภัย ตื่นเต้น เร้าใจ ท้าทาย สายน�้ำว้า • ล่องเรือไม้ สามสายน�้ำ (สา/น่าน/ว้า) • ยิ่งเที่ยวยิ่งเขียว กับ ฅนขุนเขา • สรรค์สร้างฝัน แบ่งปัน ความรู้ (บัน ทึกร่องรอยการเดิน ทาง เล่า ขานต�ำนานน่า น จาก ฅนขุนเขา) หมายเหตุ เลือกเมนูกิจกรรมตามใจชอบนะครับ
บ้านฅนขุนเขา ยินดีต้อนรับทุกๆ ท่านด้วยความยินดียิ่งครับ ติ ด ต่ อ ฅนขุ น เขา (อ.โทน ฅนขุ น เขา) ประธานการท่องเที่ยวน่านใต้ ฅนขุนเขา ถักทอสายใยเพื่อชีวิต ฅนขุนเขารีสอร์ท 061-113-5115, 088-4071740 WWW.KHONKHUNKHAO.COM CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 11
11
4/4/2562 10:48:42
“ต� ำ นาน..ฅนขุ น เขา”
ชีวิตคู่กับการเดินทาง ผมชื่นชอบอรรถรสในการแสวงหา ท่องเที่ยว ค้นพบใน สิ่งที่ลี้ลับ ที่งดงามอยู่ในซอกหลืบของขุนเขา สิ่งอัศจรรย์ ของพื้นที่ ที่ผู้คนไม่มีโอกาส สัมผัส ในเรื่องราวของธรรมชาติและชาติพันธุ์ชนเผ่า ทุกชนเผ่าของเมืองน่านและ สื่อความหมายจากธรรมชาติที่ได้รังสรรค์ไว้อย่างงดงาม ไม่ว่าจะเป็น ขุนเขา แมกไม้ สายธาร เส้นทาง ภูผา ป่าใหญ่ เถื่อนถ�้ำ น�้ำตก โกรกผา ป่าสวย สายหมอก ดอกไม้บาน โดยเฉพาะในพื้นที่ของเมืองน่าน ซึ่งถือว่าเป็นดอกไม้ดอกสุดท้ายแห่งล้านนาตะวันออก ในท่ามกลางกระแสของโลกโลกาภิวัฒน์ที่เจริญก้าวหน้ามากขึ้นเท่าใด ปรากฎการณ์ ถวิ ล หาอดี ต ยิ่ ง ทวี ค วามรุ น แรงมากขึ้ น โหยหาในสิ่ ง ที่ จ ะเหลื อ ไว้ เ พี ย งรอยจ� ำ อดีตความทรงจ�ำที่จะไม่หวลคืนได้กลับมาให้ยลได้อีกแล้ว ท�ำให้เกิดแรงบันดาลใจ อย่างแรงกล้า ที่อยากจะเสพในเรื่องราวเหล่านี้ ในเมืองน่านบ้านเรา ซึ่งมีมนต์ขลัง มนต์ เสน่ห์ คุณค่าทั้งชื่นชมวัฒนธรรม และดึ่มด�่ำธรรมชาติ ผมได้บันทึกร่องรอยการเดินทาง ของชีวิต ทุกพื้นที่บ้านเกิดของผมร่วม 900 หมู่บ้านทั้งหมดของเมืองน่าน โดยเฉพาะ พืน้ ที่ ทีอ่ ยูบ่ นดอยในป่าเขาลึกไกลโพ้น ของผูค้ นทีอ่ าศัยอยูใ่ นท่ามกลางผืนป่า บนขุนเขา ซึ่งถือได้ว่าเป็นห้องสมุดธรรมชาติ ที่ยิ่งใหญ่ของชีวิต. ได้เรียนรู้สัมผัสวิถีชีวิตจริง ของชาติพันธุ์น่าน ไม่ว่าจะเป็น กราวน์ ชาวไทยยวน (พื้นเมือง) ไทลื้อ (ไตลื้อ) ไทยพวน (ไทพวน) ไทยเขิน(ชาวขึน) ไทใหญ่(เงี้ยว) ม้ง เมี่ยน ลั๊วะ ถิ่น ขมุ เหาะ ก่อ ตองเหลือง (มลาบรี) ลาว มูเซอ และ ชาวจีนอาศัยน่าน ในทุกหนแห่ง ซึง่ ทุกกลุม่ ชาติพนั ธุน์ นั้ ถือว่า เป็นดอกไม้แห่งแผ่นดินน่าน ไว้ทกุ สถานที่ และได้เก็บเกีย่ วเรือ่ งราวเหล่านี้ บันทึกร่องรอย การเดิ น ทาง เล่ า ขานต� ำ นานน่ า น เป็ น วรรณกรรมในเรื่ อ งดึ่ ม ด�่ ำ ธรรมชาติ ข อง เมืองน่าน เมืองแห่งขุนเขา เมืองเก่ามีชีวิต ไว้ดังนี้
ฅนขุ น เขา..และใช้ โ ลโก้
จึ ง เป็ น ที่ ม าของค�ำ ว่า .. ฅนขุนเขา เป็นสัญลักษณ์ประจ�ำตัวมาโดยตลอด กอปรกับส่วนตัวชอบเป็นผู้ให้ แบ่งปัน โดยทีไ่ ม่หวังประโยชน์ ตอบแทนใดๆ ให้กบั ผูท้ ดี่ อ้ ยโอกาสทีอ่ าศัยอยูต่ ามตะเข็บ แนวชายแดนไทย-ลาว ชายขอบประเทศ มาร่วม 30 ปี (10 ปี หรือเรียก1 ทศวรรษ หรือ 1 ต�ำนาน) เรียกได้ว่า ได้ปฏิบัติมาร่วม 3 ต�ำนานก็ว่าได้ ซึ่งได้มอบสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ ให้นอ้ งๆ ชายขอบประเทศ ไม่นอ้ ยกว่า 200 ครัง้ และสร้างสาธารณะประโยชน์ ห้องสมุด โรงอาหาร ทีพ่ กั ฯลฯ ฅนขุนเขาเป็นเพียงจิตอาสาเล็กๆ เเละสร้างเครือข่าย ร่วมกับ เพือ่ นๆ คนเพื่อชีวิต ผู้ร่วมอุดมการณ์. ที่ชื่นชอบเช่นนี้ ได้มาท่องเที่ยวทัวร์แสวงบุญที่เมืองน่านด้วย มาร่วมเป็นสะพานบุญ จัดกิจกรรม สานฝัน ปันอุ่น แด่น้องผู้ด้อยโอกาส ตะเข็บแนว ชายแดนไทย ลาว ชายขอบประเทศ ผูอ้ ยูไ่ กลโพ้น จนประสบความส�ำเร็จด้วยดีมาโดยตลอด ซึ่งถือว่าการให้ เป็นเหตุให้มีความสุข ยิ่งกว่าการรับกับชีวิตที่มืดมน บนวัฏจักรแห่ง ความยากไร้ และเหนือสิ่งอื่นใด คือความภาคภูมิ และอิ่มเอมใจ ในการเป็นผู้ให้ที่ช่วย เปลี่ยนแปลงชีวิตของเด็กยากไร้ ให้ดีขึ้น ที่ได้เติมเต็ม มอบฝันให้กับผู้ที่ไม่มีโอกาส ดั่งเช่นเรา พวกเขาเหล่านั้นก�ำลังรอคอยความหวังจากทุกๆท่านอยู่ครับ หวังว่าผมคงจะได้มโี อกาสได้ตอ้ นรับ ทุกๆท่านทีไ่ ด้มาเยือนเมืองสงบงามแห่งนีแ้ ละ รอคอยการมาเยื อนของท่ านที่ บ้านฅนขุนเขา ด้วยความยินดียิ่งครับ 12 SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา
2
.indd 12
........เสน่ ห ์ น ่ า น......... ใต้เงาเทือกเขาหลวงพระบาง คือ น�้ำมวบแดนสวรรค์ สิ่งอัศจรรย์ คือ น�้ำน่านใต้ปากลีนาหมื่น ผืนดินยุบแกรนแคนยอน คือ คอกเสือ เจดีย์ดินนาน้อย ดอยเสมอดาว...คื อ ผาหั ว สิ ง ห์ แอบชิ ง รั ก ...คื อ ผาชู ้ ดู ท ะเลหมอก...คื อ ดอยวาว แสนเหน็ บ หนาว...คื อ ดอยภู ค า เดิ น เมื่ อ ยล้ า ...คื อ ดอยภู แ ว ล่ อ งแพ...คื อ แก่ ง น�้ ำ ว้ า ถิ่ น ปลา...คื อ ปากนาย ภู เ ขาเรี ย งราย...คื อ น�้ ำ ออกรู ภู สั น เจริ ญ เผชิ ญ ความเร้ า ใจ...คื อ แก่ ง หลวง ดู ด วงดาว...คื อ ภู ฟ ้ า ไกลสุ ด หล้ า ...คื อ ชายแดนห้ ว ยโก๋ น ขุ น เขาสู ง ล้ น ...คื อ ถ�้ ำ เวี ย งแก แลทิ ว สวย...คื อ ขุ น สถาน เค็ ม ตลอดกาล…คื อ บ่ อ เกลื อ อยู ่ เ หนื อ หุ บ เขา...คื อ อุ ท ยานแห่ ง ชาติ ขุ น น่ า น ต� ำ นานคนป่ า ...คื อ มลาบรี ห้ ว ยหยวก ทางเกวี ย นสะดวก...คื อ ผาผึ้ ง ภู ก ระดึ ง นาน้ อ ย สายน�้ ำ หยดย้ อ ย...คื อ น�้ ำ ตกศิ ล าเพชร หิ น งอกเป็ น เกล็ ด ...คื อ ถ�้ ำ หลวงสะเกิ น ดิ น แดนน่ า สรรเสริ ญ ...คื อ ภู พ ยั ค ฆ์ ผู ้ ค นไม่ รู ้ จั ก ...คื อ ถ�้ ำ ผาแดงมณี พ ฤกษ์ ท่ อ งลงน�้ ำ ลึ ก ...คื อ ล่ อ งเรื อ ไม้ ส ายน�้ ำ น่ า น ชื่ น ชมสายธาร...คื อ เขื่ อ นหาดไร่ ส ายน�้ ำ ว้ า ประติ ม ากรรมล�้ ำ ค่ า ...คื อ ถ�้ ำ ละโอ่ ง ขุ น เขาคดโค้ ง ...คื อ ห้ ว ยลอย แม่ ส ะนาน ท่ อ งเที่ ย วตลอดกาล...คื อ น่ า นบ้ า นเรา (วรรณกรรม...ฅนขุ น เขา)
4/4/2562 10:48:44
Let’s Go Thailand With SBL บันทึกประเทศไทย
HISTORY OF THE PROVINCE
TOURIST ATTRACTIONS SBL บันทึกประเทศไทย
Let's go thailand.indd 13
www.sbl.co.th SBL MAGAZINE
THE VILLAGERS IN THE PROVINCE SBL บันทึกประเทศไทย
. - 01/04/2562 17:27:17 PM
Nan Royal Resort ห้องพักสไตล์วินเทจย้อนยุคทันสมัย ผสานความเป็นธรรมชาติอย่างลงตัว
ที่พักสไตล์วินเทจ “น่านรอยัลรีสอร์ท(NAN ROYAL RESORT)” อาจเป็นอีกทางเลือกหนึ่ง ด้วยที่พักบรรยากาศแนวย้อนยุค ทันสมัย ผสมผสานความเป็นธรรมชาติ สะอาด สว่าง สงบ ในท�ำเลที่ตั้งที่อยู่ ไม่ไกลจากตัวเมืองน่าน รายล้อมด้วยธรรมชาติแสนสงบเย็นสบาย พร้อมกับการต้อนรับอย่างอบอุน่ เหมาะส�ำหรับลูกค้านักท่องเทีย่ วทุกกลุม่ ทุกวัย ทั้งมาแบบครอบครัวหรือมาเป็นแบบหมู่คณะ พร้อมด้วยบริการ สิ่งอ�ำนวยความสะดวกต่างๆ ครบครัน
0882599433
NANROYALRESORT 14 SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน WWW.NANROYAL.COM
.indd 14
น่ า นรอยั ล รี ส อร์ ท ( NAN ROYAL RESORT ) ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 232 หมู ่ ที่ 8 บ้ า นทุ ่ ง ขาม ต� ำ บลไชยสถาน อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด น่ า น ติ ด ต่ อ ส� ำ รองห้ อ งพั ก โทร. 05-4718-833, 08-8259-9433
. - 01/04/2562 17:21:16 PM
โรงแรมใหม่...สวยงามสไตล์ ไทยล้านนา บรรยากาศดี เหมือนมีบ้านส่วนตัว
โรงแรมสไตล์บตู กิ ทีถ่ กู ออกแบบอย่างปราณีตในสไตล์ลา้ นนาร่วมสมัย สะท้อนเอกลักษณ์ความเป็นล้านนาตะวันออกด้วยสถาปัตยกรรม หลังคา ทรงไทลือ้ บนพืน้ ทีอ่ นั สงบร่มรืน่ ภายในห้องพักมีเครือ่ งอ�ำนวยความสะดวก ครบครัน พร้อมบริการพื้นที่จอดรถกว้างขวาง
วัดพระธาตุแช่แห้ง สถานีขนส่ง ถนนคนเดินหน้าวัดภูมินทร์
0946171177
ระยะทาง 900 เมตร ระยะทาง 2.4 กิโลเมตร ระยะทาง 2.4 กิโลเมตร
WIANGKAEWHOTEL IN NAN WIANGKAEWHOTEL@HOTMAIL.COM
.indd 15
โรงแรมเวี ย งแก้ ว WIANG KAEW HOTEL ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 379 หมู ่ 17 ถนนพุ ท ธบู ช า ต� ำ บลฝายแก้ ว อ�NAN ำ เภอภู เ พีบัยนงทึกจัประเทศไทย ง หวั ด น่ า15 น I SBL ติ ด ต่ อ ส� ำ รองห้ อ งพั ก โทร. 0-5478-3955, 09-4617-1177
. - 01/04/2562 17:13:23 PM
Nan Green Lake View Resort โรงแรมน่านกรีนเลควิว รีสอร์ท (NAN GREEN LAKE VIEW RESORT) ตั้งอยู่ในเขตอ�ำเภอเมืองน่าน ห้อมล้อมไปด้วยบรรยากาศของธรรมชาติ ห่างจากตัวเมืองเพียง 3.5 กิโลเมตร ใกล้พระธาตุ เขาน้อยซึ่งเป็นสถานที่ท่องเที่ยวส�ำคัญของน่านเพียง 1.3 กิโลเมตร และยังสะดวกในการเดินทาง ไปยังสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ ของเมืองน่าน
ที่พักริมทะเลสาบ บรรยากาศธรรมชาติแสนสงบ ห้องพัก 60 ห้อง พร้อมสิ่งอ�ำนวยความสะดวกครบครัน ทั้งตู้เย็น, เครื่องปรับอากาศ, FREE- WIFI และทีวีจอแบนพร้อมช่องดาวเทียม และเต็ ม เปี ่ ย มด้ ว ยการบริ ก ารอย่ า งใกล้ ชิ ด ทั้ ง มิ นิ บ าร์ , ROOM SERVICE นต้น I น่าน 16 SBL บันทึเป็ กประเทศไทย
.indd 16
แหล่งท่องเที่ยวใกล้เคียง เช่น วัดพระธาตุเขาน้อย, วัดภูมินทร์, ตลาด ชุมชนบ่อสวก พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติน่าน, ข่วงเมืองน่าน, เตาเผา โบราณบ่อสวก, วัดศรีพันต้น, วัดช้างค�ำ และ วัดพญาวัด เป็นต้น โรงแรมน่านกรีนเลควิว รีสอร์ท(NAN GREEN LAKE VIEW RESORT) ทุกพื้นที่เรามีความสุข ผ่อนคลาย สบายๆ มอบให้คุณ รู้สึกปลอดภัย จากบริการกล้องวงจรปิด ตลอดทั้ง 24 ชั่วโมง
1/4/2562 16:27:53
อาหารเช้า OPEN 06.00-10.00 น. อาหารกลางวัน OPEN 11.30-14.30 น. COFFEE SHOP เครื่องดื่ม-เบเกอรี่ OPEN 08.00-17.00 น. บริการร้านอาหารในรีสอร์ท OPEN 06.30-14.00 น. บริการจักรยานส�ำหรับปั่นในบริเวณรีสอร์ท FREE ต้อนรับยามเช้าด้วยการใส่บาตร เวลา 06.30-07.00 น. รถรับส่งสนามบินฟรี ฝ่ายต้อนรับตลอด 24 ชั่วโมง พร้อมลานส�ำหรับจัดงานแต่งงาน งานวันเกิด เลี้ยงขอบคุณ งานสั ม มนา และกิ จ กรรมต่ า งๆ ได้ ใ นบรรยากาศเป็ น กั น เอง ณ ลานกังสดาล และ ลานเลควิว ห้องประชุม ลานเลควิว และลานขันโตกกลางน�้ำ
ห้องอาหารลีลาวดี มีบริการบุฟเฟ่ต์อาหารเช้า และเมนูอาหาร ตามสั่ ง ส� ำ หรับอาหารกลางวัน มีใ ห้เ ลือ กทั้ง อาหารไทย และอาหาร นานาชาติ สามารถเลือกนั่งได้ทั้งภายในห้องปรับอากาศ หรือ ระเบียง ริมทะเลสาบ พร้อมบรรยากาศท่ามกลางธรรมชาติแสนสงบ ณ ศาลา นั่งเล่นริมทะเลสาบ หรือ ศาลาลานกังสดาล
น่ า นกรี น เลควิ ว รี ส อร์ ท
ตั้ งอยู ่ เลขที่ 246 หมู ่ ที่ 8 ต� ำ บลไชยสถาน อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด น่าน ADDRESS : 246 MOO. 8 CHAIYASATHAN, MUANG NAN DISTRICT, NAN PHONE : 054-718788, 054-718799, 054-718999, 096-7459911 WWW.NANGREENLAKEVIEW.COM LINE ID: 0967459911
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 17
17
1/4/2562 16:28:03
“ ตอบโจทย์ความสุขทุกการเดินทาง ดูแลทุกท่าน เสมือนหนึ่งครอบครัวของเรา ”
Ruen Mai Ngam Resort
บ
เรือนไม้งาม รีสอร์ท (RUEN MAI NGAM RESORT) ได้รับ ความนิยมจากทั้งนักธุรกิจและนักท่องเที่ยว เนื่องจากให้บริการ ที่พักคุณภาพในการเที่ยวชมทิวทัศน์, กิจกรรมทางวัฒนธรรมของ น่านอย่างรอบด้าน
18
2
จากที่พัก ท่านสามารถเดินทางได้อย่างสะดวกง่ายดายไปยังทุกที่ ในเมืองที่มีชีวิตชีวานี้ เนื่องจากที่พักตั้งอยู่ในท�ำเลที่เดินทางสะดวก ผู้เข้าพักจึงไปยังสถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมต่างๆ ของเมืองได้โดยง่าย ที่พักเรือนไม้งามรีสอร์ท เป็นจุดที่พักที่สะดวกสามารถเดินทางไป ท่องเที่ยวจังหวัดน่านได้สะดวก เช่น วัดภูมินทร์ แหล่งท�ำบุญวัดต่างๆ และสถานที่ท่องเที่ยวแหล่งธรรมชาติที่สวยงาม บรรยากาศพักผ่อนเป็นส่วนตัวบวกกลิ่นอายธรรมชาติอันแสน ร่ ม รื่ น สวยงาม พร้ อ มกั บ ตกแต่ ง ที่ พั ก สไตล์ ล ้ า นนา เหมาะส� ำ หรั บ แขกพิเศษเช่นท่าน สามารถสัมผัสความเป็นล้านนาได้อย่างแท้จริงได้ที่ เรือนไม้งามรีสอร์ท โดยทางเราขอมอบความสุขและความประทับใจให้ กับทุกท่าน และการเดินทางมายังเรือนไม้งามรีสอร์ท เดินทางได้อย่าง สะดวกสบาย
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 18
1/4/2562 16:38:24
แขกพิ เ ศษเช่ น ท่ า น จะได้ พั ก ผ่ อ นอย่ า งสบายกายสบายใจ ด้วยสิ่งอ�ำนวยความสะดวกครบครัน เช่น เครื่องปรับอากาศ, พัดลม ,ทีวีเคเบิ้ล ,น�้ำอุ่น และอินเทอร์เน็ตไร้สาย WIFI ทัศนียภาพโดยรอบเรือนไม้งามรีสอร์ทมีที่พักผ่อนหย่อนใจ ส�ำหรับแขกผู้เข้าพัก และมีบริการอาหารเช้า ข้าวต้ม กาแฟ โกโก้ เครื่องดื่ม เพื่อบริการแขกพิเศษทุกท่าน
เรือนไม้งามรีสอร์ท ในราคาแสนพิเศษส�ำหรับแขกพิเศษ อาทิ
เรือนวาเลนไทน์หลังใหญ่ รองรับแขกได้ 12 ท่าน ตกแต่ง
ภายในอบอุ่นไปด้วยความรักกลิ่นอายสไตล์ล้านนา เรือนประกอบ ด้วยห้องพัก 4 ห้อง เรือนไม้หลังเล็ก ตกแต่งสไตล์ล้านนา ส�ำหรับพัก 2-3 ท่าน ภายในห้ อ งพั ก มี ร ะเบี ย งชานหน้ า ห้ อ งพั ก และสิ่ ง อ� ำ นวย ความสะดวกครบครัน เราหวังว่าจะสร้างความประทับใจ ให้กับแขกผู้เข้าพัก เสมือน หนึ่งเป็นครอบครัวของเราโดยแท้จริง
“เรือนไม้งามรีสอร์ท ยินดีต้อนรับทุกท่านค่ะ” เรื อ นไม้ ง ามรี ส อร์ ท (RUEN MAI NGAM RESORT)
ตั้ ง อยู ่ เลขที่ 209 หมู ่ 8 บ้ า นทุ ่ ง ขาม ต�ำ บลไชยสถาน อ� ำ เภอเมื อง จั ง หวั ด น่ า น 55000 ส� ำ รองห้ อ งพั ก ได้ ที่ โทรศั พ ท์ มื อ ถื อ 088-2633403 และ โทร. 054-711382 NAN I SBL บันทึกประเทศไทย 19
2
.indd 19
1/4/2562 16:38:35
แสงทองรีสอร์ท
in the Rice World
มอบสิ่งที่ดีที่สุดให้ชีวิต กับ ที่พัก...ที่เป็นมากกว่าที่พัก
Sangthong Resort แสงทอง
รีสอร์ท รีสอร์ทที่โอบล้อมไปด้วยทุ่งนาเขียวขจี และขุนเขา พร้อมให้บริการด้วยห้องพักแสนสะดวกสบาย สะอาดได้คุณภาพ และมีส่ิงอ�ำนวย ความสะดวกครบครัน พร้อมกับสัมผัสวิถีแห่งธรรมชาติเพียงมือเอื้อม อิ่มเอมกับ อาหารแสนอร่อยที่คัดสรรวัตถุดิบ คุณภาพจาก “แสงทองฟาร์ม” ฟาร์มปลอด สารพิษที่ใส่ใจทุกขั้นตอนในการเพาะปลูก และสนุกสนานกับกิจกรรมปั่นจักรยาน ยามเช้า สัมผัสบรรยากาศลมหนาว และสายหมอก ลัดเลาะไปตามทุ่งนาสายน�้ำ เรียนรู้วิถีชุมชน เยี่ยมชมฟาร์มผักออร์แกนิคที่แสงทองฟาร์ม
“สุขกับการพักผ่อนที่ผ่อนคลายกับธรรมชาติ อิ20่มเอมกั มปลอดสารพิษ” SBL บันทึบกอาหารคุ ประเทศไทย I ณ ฉะเชิภาพจากฟาร์ งเทรา
2
.indd 20
1/4/2562 16:36:10
พบกันที่ “แสงทอง รีสอร์ท” ที่พัก...ที่เป็นมากกว่า ที่พัก “ไปเที่ ย วจั ง หวั ด น่ า นก็ ห ลายครั้ ง ค่ ะ แต่ น ่ า นตอนเหนื อ ยังไม่เคยไปสักที บางคนมองเป็นแค่ทางผ่านเพราะไม่รู้มาก่อน ว่าตอนเหนือของน่าน มีที่เที่ยวที่น่าสนใจด้วยหรือ ทริปนี้เจนกับ พี่เติ้ล มีโอกาสได้มาที่เชียงกลาง เป็นอ�ำเภอหนึ่งในจังหวัดน่าน และเป็ น อ� ำ เภอที่ มี พื้ น ที่ เ ล็ ก ที่ สุ ด ของจั ง หวั ด และได้ เ ข้ า พั ก ที่ แสงทองรีสอร์ท “แสงทองรี ส อร์ ท เป็ น รี ส อร์ ท แนวพั ก ผ่ อ นเพื่ อ สุ ข ภาพ มี กิ จ กรรมให้ ไ ด้ สั ม ผั ส ถึ ง ธรรมชาติ รี ส อร์ ท ระดั บ พรี เ มี่ ย ม ที่ ไม่น่าเชื่อว่าเชียงกลางจะมีรีสอร์ทที่สวยงามท่ามกลางทุ่งนา ป่ าเขา รายล้อมไปด้ว ยต้น ไม้ท�ำให้ที่นี่ร ่ม รื่น เย็ น สบายตลอด ทั้งปี อยู่ไม่ไกลจากตัวอ�ำเภอและเดินทางสะดวกสบายมีบริการ แท็กซี่รับส่งจากสนามบินด้วยค่ะ” พร้ อ มสิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวกครบครั น ที่ พั ก แสนสบาย กลมกลืนเป็นหนึ่งเดียวกับธรรมชาติ ทั้งท้องนาป่าเขา ต้นไม้ นานาพันธุ์ ฟาร์มผักอินทรีย์ที่ปลูกด้วยความใส่ใจ น�ำมาเป็น วัตถุดิบในทุกเมนูของเรา
สระว่ายน�้ำระบบน�้ำเกลือ, ห้องอาหาร แสงทองเทอเรส, แสงทองฟาร์ม, ระบบรักษาความปลอดภัยตลอด 24 ชั่วโมง, FREE WIFI, ฟรีบริการท�ำความสะอาดห้องพัก, บริการซักอบรีด และซักแห้ง ,ทริปท่องเที่ยว, กิจกรรมตักบาตรยามเช้า และ ทริปปั่นจักรยานสัมผัสธรรมชาติยามเช้า แสงทองรี ส อร์ ท พร้ อ มให้ บ ริ ก ารน� ำ ท่ า นสู ่ สั ม ผั ส ประสบการณ์ท่องเที่ยวที่มีเอกลักษณ์ สัมผัสถึงธรรมชาติที่ สมบูรณ์ และ เรียนรู้ วัฒนธรรมและวิถีชีวิตดั้งเดิมของชาวน่าน เหนือ กับทริปท่องเที่ยวอันหลากหลายรูปแบบทั้งแบบบุคคล และ หมู่คณะ
แสงทองรีสอร์ท “ที่พัก...ที่เป็นมากกว่า ที่พัก” เลขที่ 555 หมู่ที่5 ต�ำบลเชียงกลาง อ�ำเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน 55160 info@sangthongresort.com Sangthongresortnan 083- 707- 0555 www.sangthongresort.com CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 21
21
1/4/2562 16:36:19
EDITOR’S TALK
อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์
บรรณาธิการอ�ำนวยการ นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
Editor's talk
.indd 22
อุทยานแห่งชาติดอยภูคา อ�ำเภอบ่อเกลือ
. - 03/04/2562 11:41:55 AM
SBL
บันทึกประเทศไทย ฉบับพิเศษนี้ “วัดทั่วไทย” มีความปิติยินดีที่ ได้บันทึกเรื่องราว จากใจ...ในมุมน่าน กับเบื้องหลังของการเติบโตอย่างเข้มแข็ง ไปด้วย ความสมั ค รสมานสามั ค คี เ ป็ น หนึ่ ง เดี ย วของประชาชนในจั ง หวั ด ที่สามารถเป็นต้นแบบของโครงการต่างๆ มากมายไปทั่วโลก จาก การตามรอยธรรม เรี ย นรู ้ ธ รรมที่ พ ระพุ ทธเจ้าทรงค้นพบมากว่า สองพั น หกร้ อ ยปี ที่ ท� ำ ให้ เ กิ ด ความสงบสั น ติ อบอุ ่ น และมี พ ลั ง สร้างสรรค์ ไม่สนิ้ สุด พร้อม Startup ไปกับคนรุน่ ใหม่ ด้วยหัวใจแห่งธรรม
ชวนทุกท่านอ่านบันทึกการเดินทางเหนือกาลเวลาลัดเลาะไปตาม วัดวาอารามในจังหวัดน่านทีเ่ รียบง่าย งดงาม และอลังการ สนทนาธรรม กับพระสุปฏิปันโน พระผู้ ใช้ชีวิตอย่างสมถะ ซึ่งจะท�ำให้ท่านผู้อ่าน มี พ ลั ง มี ก� ำ ลั ง ใจจากวิ ธี คิ ด และวิ ถี ก ารปฏิ บั ติ จ นก่ อ เกิ ด ปั ญ ญา ในการแก้ปัญหาทุกสิ่งอย่างให้ผ่านพ้นอุปสรรคขวากหนามได้เป็น อย่างดี ขณะที่เราเดินทางก็ ได้พบรอยยิ้ม และรับการต้อนรับด้วย ไมตรีจิตอย่างอิ่มใจ ในนามของนิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย ผมขอถือโอกาสนี้ กราบขอบพระคุณท่านผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน พระพุ ท ธศาสนาจั ง หวั ด น่ า น “นายณฐกร จิ ร ภั ค พงค์ ” ตลอดจน ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่างๆ ศาสนสถาน บริษัท ห้าง ร้าน ฯลฯ ซึ่งกรุณาสนับสนุนให้ทีมงานด�ำเนินการจัดท�ำนิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย ฉบับ จังหวัดน่าน ส�ำเร็จลุล่วงด้วยดี ท้ายนี้ ผมขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัย ขอจงปกปักรักษา ทุกท่านประสบแต่ความเจริญทั้งทางโลกและทางธรรม มีสติ สมาธิ และปั ญ ญาอั น อุ ด ม ก้ า วล่ ว งพ้ น อุ ป สรรคทั้ ง ปวงไปในที่ สุ ด และ พบกับความสุขตลอดเส้นทางของชีวิต
Website
บริษัท สมาร์ท บิซิเนส ไลน์ จ�ำกัด 9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 0-2522-7171 แฟกซ์. 0-2971-7747 FACEBOOK : SBL บันทึกประเทศไทย
Editor's talk
.indd 23
บริษัท สมาร์ท บิซิเนส ไลน์ จ�ำกัด
EMAIL : sbl2553@gmail.com
. - 03/04/2562 11:41:57 AM
EDITOR’S TALK
ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ
บรรณาธิการการตลาด นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
Editor's talk
.indd 24
เสาดินนาน้อย อ�ำเภอนาน้อย
. - 03/04/2562 11:41:59 AM
NAN SBL MAGAZINE 2019
คณะผู้บริหาร
นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
คณะที่ปรึกษา ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์ พลเอกสรชัช วรปัญญา ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์ ดร.ประยุทธ คงเฉลิมวัฒน์ ดร.ชาญ ธาระวาส ดร.สุมิท แช่มประสิท ดร.วัลลภ อารีรบ ดร.พิชัย ทรัพย์เกิด ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์ ดร.สุเทษณ์ จันทรุกขา ดร.อรรถสิทธิ์ ตันติวิรัชกุล
บรรณาธิการอ�ำนวยการ อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการงานบุคคล พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการการตลาด ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ ฝ่ายกฎหมาย สมคิด หวังเชิดชูวงศ์ ทวิช อมรนิมิตร
กองบรรณาธิการ
นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
ฝ่ายประสานงานโครงการ ภาครัฐและเอกชน
ผู้จัดการ
ทวัชร์ ศรีธามาศ
คณะทีมงาน
ภานพ เพิ่มพงศ์วงศ์วาน วิทยา การินทร์
ฝ่ายประสานงานข้อมูล
ผู้จัดการฝ่ายประสานงานข้อมูล นันท์ธนาดา พลพวก
ฝ่ายประสานงานข้อมูล
ศุภญา บุญช่วยชีพ นงลักษณ์ เทียมเกตุทวีโชค
นักเขียน
คุณิตา สุวรรณโรจน์
ฝ่ายศิลปกรรม
ผู้จัดการฝ่ายศิลปกรรม พัชรา ค�ำมี
กราฟิกดีไซน์
พิมพ์พิสุทธิ์ พังจูนันท์ วรเชษฐ สมประสงค์ ธีระวัฒน์ ระวาดชัย
ช่างภาพ
ชัยวิชญ์ แสงใส ปณต ปิติจารุวิศาล กิติวัฒน์ ทิศมั่ง วิทยา ประเสริฐสังข์
ตัดต่อวีดีโอ
วัชรกรณ์ พรหมจรรย์ ฝ่ายบัญชี / การเงิน
บัญชี
ปัฐมาภรณ์ แสงบุราณ
ผู้จัดการฝ่ายการเงิน สุจิตรา แดนแก้วนิต
การเงิน
ชวัลชา นกขุนทอง วนิดา ศรีปัญญา
www.sbl.co.th
Editor's talk
.indd 25
. - 03/04/2562 11:42:00 AM
ฉบับที่ 90 จังหวัดน่าน พ.ศ. 2562
NAN 2019
CONTENTS
งเทรา
จังหวัดน่าน
ต�ำนานพระธาตุแช่แห้ง ธรรมนิทานชาดก และ พระไตรปิฎกใบลาน สู่สันติธรรมบนภูสูง
04
วัดป่านันทบุรีญาณสังวราราม สร้างวัดสร้างบารมี สร้างคนดีสู่สังคม
06
วัดเจดีย์
พระธาตุโสฬสเจดีย์ บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ 3 แผ่นดิน สักการะหลวงพ่อสัมฤทธิ์ศักดิ์สิทธิ์
08
พุทธสถานลานปฏิบัติธรรม บ้านเมตตาธรรม
เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ เพื่อเคารพสักการะ ประกอบศาสนพิธี และเรียนรู้ธรรมะค�ำสอน มีทั้งหมด 7 ชั้น ใช้ระยะเวลาในการสร้างศาสนาสถาน 7 ปี
30
ใต้ร่มพระบารมี “ โครงการภูฟ้าพัฒนา จังหวัดน่าน ”
Ebook Nan
.indd 26
เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตราษฎรบนพื้นที่สูงและใช้เป็นต้นแบบในการพัฒนาต่อไป เพื่อการส่งเสริมอาชีพที่เหมาะสมกับศักยภาพของราษฎรและพื้นที่บนที่สูง เพื่อเป็นศูนย์รวบรวมและพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้สอดคล้องด้านการตลาด เพื่อการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ศึกษาธรรมชาติ วัฒนธรรมท้องถิ่น เพื่อการศึกษาวิจัยถ่ายทอดความรู้การพัฒนา และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่ยั่งยืน สู่จุดมุ่งหมาย “คนอยู่ร่วมกับป่า”
ผามออีแ
. - 02/04/2562 17:27:57 PM
แผนที่อำเภอ จังหวัดน าน วัดภูเก็ต
อำเภอเฉลิมพระเกียรติ Chaloem Phra Kiat
อำเภอทุ งช าง
วัดพระธาตุแช แห ง
Thung Chang
อำเภอสองแคว
บ อเกลือโบราณ
Song Khwae
อำเภอเช�ยงกลาง Chiang Klang
วัดภูมินทร
อำเภอป ว Pua
อำเภอท าวังผา
อำเภอบ อเกลือ
Tha Wang Pha
Bo Kluea
ปู ม านย าม าน
อำเภอ บ านหลวง
วัดหนองแดง
อำเภอสันติสุข Santi Suk
อำเภอเมืองน าน
Mueang Phrae
อำเภอภูเพียง
Ban Luang
Phu Phiang
อำเภอแม จร�ม
วัดบุญยืน
Mae Charim
อำเภอเว�ยงสา Wiang Sa
ดอยเสมอดาว อำเภอนาน อย Na Noi
อำเภอนาหมื่น Na Muen
วัดบ อแก ว
ตลาดบ้านใหม่ร้อยปี บานประตูศาลาการเปรียญ .indd 27
จุดชมวิวพญากูปรี . - 02/04/2562
17:28:45 PM
ฉบับที่ 90 จังหวัดน่าน พ.ศ. 2562
NAN 2019
CONTENTS
36
SPECIAL INTERVIEW
บันทึกเส้นทางพบส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดน่าน
นายณฐกร จิรภัคพงค์
48
วัดพระธาตุแช่แห้ง
54
วัดภูมินทร์
60
วัดพระธาตุช้างค�้ำ วรวิหาร
64
บันทึกเส้นทางความเป็นมา
74
บันทึกเส้นทางท่องเที่ยว
EBook Nan
.indd 28
82
วัดพระธาตุเขาน้อย
. - 02/04/2562 17:29:15 PM
108 54 60
บ่อเกลือสินเธาว์ภูเขา @บ่อเกลือ
เสาดินนาน้อย @นาน้อย
คุ้มเจ้าราชบุตร @เมือง
124 ที่พัก จังหวัดน่าน
86
124
138
108
126
140
114
129
142
โรงแรมเวียงแก้ว
118
130
144
น่านกรีนเลควิว รีสอร์ท
บันทึกเส้นทางท่องเที่ยว วัดสวนตาล วัดอรัญญาวาส วัดพญาวัด
120
วัดถืมตอง
.indd 29
วัดมิ่งเมือง วัดดอนมูล วัดพญาภู วัดสมุน
134
วัดน�้ำครกใหม่
ฅนขุนเขา รีสอร์ท
วัดบุญยืน พระอารามหลวง วัดศรีดอนแท่น
น่านรอยัล รีสอร์ท
น่านรอยัล รีสอร์ท
วัดภูเก็ต
วัดบ่อแก้ว
146
วัดหนองแดง
เรือนไม้งาม รีสอร์ท
เรือนไม้งาม รีสอร์ท แสงทอง รีสอร์ท
. - 02/04/2562 17:29:54 PM
โครงการภูฟ้าพัฒนา จังหวัดน่าน ตามพระราชด�ำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
30
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 30
. - 01/04/2562 16:03:41 PM
งานประจ�ำปี
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 31
31
. - 01/04/2562 16:03:42 PM
เมื่อครั้งที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จฯเยี่ยมราษฎร และทอดพระเนตร บ่อเกลือสินเธาว์ ณ บ้าน บ่อหลวง อ�ำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ทรงเห็น ความเป็นอยู่ของราษฎรที่ด้อยโอกาส จึงมี พระราชด�ำริทรงให้ตั้งศูนย์ภูฟ้าพัฒนาตาม พระราชด�ำริขึ้นเพื่อช่วยเหลือเด็กๆ และชุมชน ชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” ให้ ได้รับคุณภาพ ชีวิตที่ดีขึ้นพึ่งตนเองได้ ในที่สุด แนวพระราชด�ำริ : เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2538 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
32
สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จฯเยี่ยมราษฎร และทอดพระเนตร บ่อเกลือสินเธาว์ ณ บ้าน บ่อหลวง อ�ำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ทรง เห็นสภาพความเป็นอยูข่ องราษฎรทีด่ อ้ ยโอกาส ทั้งทางเศรษฐกิจและสังคม จึงมีพระราชด�ำริ ให้ส�ำนักงานโครงการส่วนพระองค์ฯ ด�ำเนิน การช่วยเหลือการพัฒนาในพืน้ ทีอ่ ำ� เภอบ่อเกลือ โดยเริ่มพัฒนาที่ โรงเรียนประถมศึกษาก่อน เป็นอันดับแรก แล้วจึงขยายไปยังศูนย์การเรียนรู้ ชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟา้ หลวง” ประกอบด้วย 4 โครงการได้แก่ โครงการเกษตรเพื่ออาหาร กลางวัน โครงการควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน
โครงการส่ ง เสริ ม สหกรณ์ และโครงการ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยาม บรมราชกุมารี จึงทรงโปรดฯ ให้จัดตั้ง“ศูนย์ ภูฟ้าพัฒนา” ขึ้น เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542 เพื่อใช้เป็นต้นแบบการพัฒนาและ การถ่ายทอดความรู้การพัฒนาไปสู่พื้นที่ และ ราษฎรในเป้าหมายท้องที่อ�ำเภอบ่อเกลือ และ อ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ ตามพระราชปณิธาน ของพระองค์
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 32
. - 01/04/2562 16:03:46 PM
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 33
33
. - 01/04/2562 16:04:00 PM
ที่ตั้งของโครงการ : หมู่ที่ 2 บ้านห่างทางหลวงและ หมู่ที่ 3 บ้านผาสุก ต�ำบลภูฟ้า อ�ำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน วัตถุประสงค์ โครงการ : เพือ่ การพัฒนาคุณภาพชีวติ ราษฎรบนพืน้ ทีส่ งู และใช้เป็นต้นแบบในการพัฒนาต่อไป เพือ่ การส่งเสริมอาชีพที่เหมาะสม กับศักยภาพของราษฎรและพื้นที่บนที่สูง เพื่อเป็นศูนย์รวบรวมและ พั ฒ นาผลิ ต ภั ณฑ์ ใ ห้ ส อดคล้ อ งด้ า นการตลาด เพื่ อ การท่ อ งเที่ ย ว เชิงอนุรักษ์ ศึกษาธรรมชาติ วัฒนธรรมท้องถิ่น เพื่อการศึกษาวิจัย ถ่ า ยทอดความรู ้ ก ารพั ฒ นา และการจั ด การทรั พ ยากรธรรมชาติ ที่ยั่งยืน สู่จุดมุ่งหมาย “คนอยู่ร่วมกับป่า” โดยมี ส� ำ นั ก งานป่ า ไม้ จั ง หวั ด น่ า น–กรมป่ า ไม้ เป็ น หน่ ว ยงาน ผู้ด�ำเนินงาน ลักษณะโครงการ : ศูนย์ภูฟ้าพัฒนามีพื้นที่ 2,376 ไร่ แบ่งเป็นพื้นที่ ทรงงาน 600 ไร่ พื้นที่การเกษตร 1,776 ไร่ มีเกษตรกรในโครงการ 13 กลุ่ม รวม 127 ครอบครัว ผู้ ได้รับประโยชน์ : เด็กและประชาชนชาวไทยบนพืน้ ทีส่ งู ในอ�ำเภอบ่อเกลือ และอ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดน่าน ผลการด�ำเนินงานและกิจกรรมโครงการ : “โครงการภูฟ้าพัฒนาตาม พระราชด�ำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี” มี แนวทางการพัฒนา 4 ด้านด้วยกัน ด้านแรก คือ การพัฒนาเด็กและเยาวชนในโรงเรียน และ ศูนย์การเรียนรู้ ชุมชนไทยภูเขาแม่ฟา้ หลวงโดยทรงต้องการส่งเสริมให้เด็กมีการเจริญเติบโต และพัฒนาศักยภาพมีสุขภาพแข็งแรงสามารถอ่านออกเขียนได้มีความรู้ พื้นฐานอย่างเพียงพอสามารถพึ่งตนเองได้ และยังสามารถเรียนต่อ ในชัน้ สูงต่อไปตามศักยภาพของแต่ละคนการพัฒนาอาชีพเสริมให้กบั ราษฎร ด้านที่สอง คือ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ โดยทรงโปรดเกล้าฯ ให้ จั ด ตั้ ง ศู น ย์ ศึ ก ษาและการถ่ า ยทอดเทคโนโลยี ก ารจั ด การ ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม “ภู ฟ ้ า ” ขึ้ น ที่ ต� ำ บลภู ฟ ้ า อ�ำเภอบ่อเกลือ เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542 เพื่อให้เป็น ห้องเรียนและพิพิธภัณฑ์สำ� หรับเด็ก สามารถศึกษาค้นคว้า ท�ำโครงงาน ต่างๆ รวมทั้งเป็นที่เรียนวิทยาศาสตร์ รวมทั้งเป็นศูนย์ถ่ายทอดความรู้ ส�ำหรับประชาชน สอดคล้องกับการพัฒนาด้านที่สาม ด้านที่สาม คือ การส่งเสริมอาชีพภาคเกษตรและอาชีพนอกภาคเกษตร ที่สอดคล้องกับทรัพยากรธรรมชาติและภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อให้ชุมชน พึง่ ตนเองได้ และด้านทีส่ ่ี คือ ทรงเน้นให้มกี ารอนุรกั ษ์วฒ ั นธรรมท้องถิน่
34
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 34
. - 01/04/2562 16:04:11 PM
ผลการด�ำเนินงานปี พ.ศ.2543 พืน้ ที่โครงการ ประมาณ 2,000 ไร่ จากแผนปฏิบตั งิ านประจ�ำปีพ.ศ. 2545 1. ปลูกป่าทั่วไป 200 ไร่ 2. งานส่งเสริมการปลูกไม้ 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง 1 งาน 3. บ�ำรุงรักษาสวนเดิม อายุ 2-6 ปี 200 ไร่ 4. เพาะช�ำกล้าหญ้าแฝก 50,000 กล้า 5. เพาะช�ำกล้าหวาย 15,000 กล้า 6. ฝายต้นน�้ำแบบผสมผสาน 30 แห่ง 7. งานปรับปรุงภูมิทัศน์ 1 งาน 8. จัดฝึกอบรม 1 รุ่น 9. งานบริหารและอ�ำนวยการ 1 งาน ผลการด�ำเนินงานปี พ.ศ.2544 1. ปลูกป่าทั่วไป 200 ไร่ 2. ฝายต้นน�้ำแบบผสมผสาน 30 แห่ง 3. ส่งเสริมและสาธิตการปลูกป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง 100 ไร่ 4. งานบริหารและอ�ำนวยการ 1 งาน ความส� ำ เร็ จ ของโครงการ : โครงการภู ฟ ้ า พั ฒ นา คื อ โครงการ
พั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ประชาชนในพื้ น ที่ อ� ำ เภอบ่ อ เกลื อ และ อ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ ในจังหวัดน่าน ด้วยเป้าหมายที่จะน�ำไปสู่ การพั ฒ นาแบบยั่ ง ยื น และไม่ ส ่ ง ผลต่ อ ภาวะสมดุ ล ตามธรรมชาติ ให้ ร าษฎรสามารถพึ่ ง พาตนเองได้ น� ำ ไปสู ่ ผ ลการพั ฒ นาประเทศ โดยภาพรวมจนถึงปัจจุบัน ผลส�ำเร็จของโครงการฯ 1. ราษฎรเรี ย นรู ้ ก ารใช้ ท รั พ ยากรท้ อ งถิ่ น เชิ ง อนุ รั ก ษ์ แ ละมี คุณภาพชีวิตที่ดี 2. ราษฎรมี อ าชี พ นอกภาคเกษตรที่ เชื่ อ มโยงกั บ วั ต ถุ ดิ บ และ ภูมิปัญญาท้องถิ่น 3. ราษฎรมี อ าชี พ เกษตรในระบบวนเกษตร-ปศุ สั ต ว์ - ประมง มีมาตรการอนุรักษ์สภาพแวดล้อมต้นน�้ำ 4. พืน้ ทีป่ า่ ไม้มกี ารจัดการทีด่ แี ละมีการอนุรกั ษ์เพือ่ ใช้ประโยชน์ทางอ้อม ปัจจุบัน โครงการภูฟ้าพัฒนา จังหวัดน่านยังคงเดินหน้าดูแลรักษาป่า โดยชุมชนภายใต้การจัดการที่ดีอย่างยั่งยืนเพื่อวันนี้และอนาคตของ ลูกหลานชาวน่านและชาวไทยยังคงมีลมหายใจอันบริสทุ ธิจ์ ากต้นไม้ ใหญ่ ในป่าอันอุดมสมบูรณ์
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 35
35
. - 01/04/2562 16:04:18 PM
S P ECI A L INT E R V IE W
บันทึกเส้นทางพบส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด
NAN
PROVINCIAL OFFICE OF BUDDHISM ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดน่าน
นายณฐกร จิรภัค พงค์
จังหวัดน่านเป็นเมืองเล็กๆ แต่นักท่องเที่ยวให้ความสนใจเป็นอย่างมาก ช่วงหน้าหนาว ก็จะมีนักท่องเที่ยวเยอะพอสมควร และไม่ว่าจะเป็นฤดูไหน ผมก็อยากให้มาสักครั้งหนึ่งในชีวิต...มาสัมผัสด้วยใจของท่านเอง
36
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 36
เสาดินนาน้อย อ�ำเภอนาน้อย
. - 01/04/2562 10:28:02 AM
“นางสี ไ ว” หรื อ นางสี ไ วย, นางแก้ ว สี ไ ว เป็นภาพจิตรกรรมฝาผนังภายในวัดภูมินทร์ ผลงานของ “หนานบั ว ผั น ” จิ ต รกรพื้ น ถิ่ น เชื้ อ สายไทลื้ อ ภาพดั ง กล่ า วเป็ น ภาพนางสี ไ ว ตั ว ละครจากเรื่ อ ง “คั ท ธณะกุ ม ารชาดก” โดยภาพแสดงให้ เ ห็ น ถึ ง การแต่ ง กายของสตรี น ่ า น ในอดีต
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 37
37
. - 01/04/2562 10:28:03 AM
SPECIAL INTERVIEW
จากวิสัยทัศน์สู่ภาคปฏิบัติ
“ พระพุ ท ธศาสนามี ค วามเจริ ญ มั่ น คง ส่ ง เสริ ม การศึ ก ษา พั ฒ นาคณะสงฆ์ เผยแผ่ ห ลั ก ธรรมสู ่ ป ระชาชน น้ อ มสนองงาน ตามพระราชด�ำริฯ ”
เติบโตอย่างมั่นคงเพราะเรามี “พันธกิจ”
1. ให้การอุปถัมภ์คุ้มครองสนองงานพระพุทธศาสนา 2. ดูแล รักษา ท�ำนุบำ� รุง ศาสนาสถาน ศาสนวัตถุ และศาสนสมบัติ 3. ส่งเสริมการศึกษา และพัฒนากิจการคณะสงฆ์ 4. ส่งเสริมเผยแผ่หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาสู่ประชาชน 5. น้อมสนองงานโครงการตามแนวพระราชด�ำริ
38
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 38
วัดมิ่งเมือง
. - 01/04/2562 10:28:07 AM
คุ้มครองและรักษาพระพุทธศาสนาด้วยหลักธรรม
ส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธศาสนาจั ง หวั ด น่ า น จั ด ตั้ ง ตามประกาศ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ เมือ่ วันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2547 เป็นราชการบริหารส่วนกลาง ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ การปฏิบัติงานขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี ในสังกัดกระทรวง ทบวง กรมใด หัวหน้าหน่วยงานด�ำรงต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน (นักวิชาการศาสนา 8) ต่อมาในปี พ.ศ. 2549 ได้มีการแบ่งเป็น ส่ วนราชการเป็น ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ตามกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ พ.ศ. 2549 ลงวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2549 โดยมีอ�ำนาจหน้าที่ดังนี้ 1. ศึกษา วิเคราะห์ และรายงานข้อมูลสารสนเทศด้านของ พระพุทธศาสนา เพื่อก�ำหนดนโยบายระดับจังหวัด รวมทั้งเสนอ แนะแนวทางแก้ไข 2. ติดตามประเมิน ผลการด�ำเนินงานตามนโยบาย แผนงาน โครงการของหน่วยงาน ในความดูแลของส�ำนักงานพระพุทธศาสนา จังหวัด รวมทัง้ รายงานผลการด�ำเนินงาน ปัญหาอุปสรรคให้หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องทราบ
วัดภูมินทร์ อ�ำเภอเมือง
3. ส่งเสริม ดูแล รักษา และท�ำนุบ�ำรุงศาสนสถานและศาสน วัตถุทางพระพุทธศาสนารวมทั้งดูแล รักษา และจัดการวัดร้าง และ ศาสนสมบัติกลางในจังหวัด 4. ส่งเสริม สนับสนุน และประสานงานด้านเผยแผ่พระพุทธศาสนา และด้ า นพุ ท ธศาสนศึ ก ษา รวมทั้ ง ดู แ ลและควบคุ ม มาตรฐาน คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัดภายในจังหวัดให้ผู้เรียน มีความรู้คู่คุณธรรม และพัฒนาบุคลากรทางพระพุทธศาสนา 5. รับสนองงาน ประสานงาน และคอยสนับสนุนกิจการและ การบริหารการปกครองคณะสงฆ์ ตลอดจนการด�ำเนินการตาม นโยบายและมาตรการในการคุ้มครองพระพุทธศาสนา 6. ส่งเสริมและประสานการด�ำเนินงานในการปฏิบัติสาสนพิธี และกิจกรรมในวันส�ำคัญทางพระพุทธศาสนา 7. ปฏิบัติงานตามกฎหมายในความรับผิดชอบของส�ำนักงาน พระพุ ท ธศาสนาแห่ ง ชาติ ซึ่ ง ก� ำ หนดให้ เ ป็ น อ� ำ นาจหน้ า ที่ ข อง ผู้ว่าราชการจังหวัดหรือตามที่ได้รับมอบหมาย 8. ปฏิบตั งิ านร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบตั งิ านของหน่วยงาน อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย
วัดป่านันทบุรี อ�ำเภอเมือง
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 39
39
. - 01/04/2562 10:28:11 AM
บันทึกเบื้องหลังการสนทนา...กับ “นายณฐกร จิรภัคพงค์” ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดน่าน
วันนี้ คุณเที่ยววัดในจังหวัดน่าน...หรือยัง ? ผมอยากจะบอกว่า จ�ำนวนวัด ไม่ส�ำคัญเท่ากับว่า คุณได้เคยมาเที่ยววัดในเมืองน่าน บ้างหรือยัง แม้จ�ำนวนวัดในจังหวัดน่านมีถึง 441 วัด เป็นวัดที่ถูกต้องตามกฎหมาย อีกทั้ง เป็นวัดที่เป็นพระอารามหลวง 4 วัด ได้แก่ วัดพระธาตุแช่แห้ง วัดพระธาตุช้างค�้ำ วัดพญาภู และ วัดบุญยืน ซึ่งน่ามาเที่ยวทั้งนั้น ประโยคที่ว่า คุณมาแล้วหรือยัง...ถ้ายัง ผมขอเล่า วั ด ที่ มี จุ ด เด่ น ก่ อ น คื อ วั ด ภู มิ น ทร์ เป็ นวั ด ที่ มี ภ าพจิ ต รกรรมฝาผนั ง ปู ่ ม ่ า น ย่ า ม่ า น นักท่องเที่ยวจะมาเป็นคู่บ่าวสาว คู่รักที่มาเมืองน่านแล้วมากระซิบรักกัน ตามต�ำนาน
คู่รักไหนที่มาเมืองน่านแล้วมากระซิบรัก จะอยูด่ ว้ ยกันยัง่ ยืน และจุดเด่นของวัดภูมนิ ทร์ ก็คอื เป็นวัดทีม่ จี ตั รุ มุข 4 ด้าน มีหน้า 4 หน้า นักท่องเที่ยวคนไหนที่เล็งไปหน้าไหนทีย่ มิ้ ให้กจ็ ะไปไหว้หน้านัน้ เพราะ หน้า 4 หน้า จะไม่เหมือนกัน
ส�ำหรับวัดสวยๆ ในจังหวัดน่าน ก็มีวัดพระธาตุช้างค�้ำ อยู่ ตรงข้ามวัดภูมินทร์ เป็นวัดเจ้าคณะจังหวัด เดิมเป็นศิลปะสมัย สุโขทัย นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่ก็จะแวะไปกราบไหว้กัน จากนั้นก็จะไปไหว้วัดมิ่งเมืองซึ่งเป็นเสาหลักเมือง นักท่อง เที่ยวที่มาก็จะไปไหว้วัดมิ่งเมือง ไหว้เสาหลักเมืองก่อนเพื่อ ความเป็นสิริมงคล ในอดีตจะเป็นไม้ซุง ไม้สัก ขนาดใหญ่มาก 2 คนโอบ สมัยก่อนน�้ำท่วมแล้วเสามันโค่นลงก็เลยท�ำใหม่ เป็น อุโบสถสีเงิน สวยงามมาก ซึ่งเป็นวัดรองเจ้าคณะจังหวัด อยู่ ใกล้ๆ บริเวณเดียวกัน ที่พลาดไม่ได้เลยคือ ต้องไปกราบสักการะพระธาตุแช่แห้ง อยู่ในอ�ำเภอเมือง แต่ตอนนี้อยู่ในอ�ำเภอภูเพียง พระธาตุแช่แห้ง เป็นพระอารามหลวง องค์พระธาตุตั้งอยู่บนเนินเขาลูกเตี้ยๆ เป็นสีทองสุกปลั่ง สามารถมองเห็นได้แต่ไกล เป็นอนุสรณ์ของ ความรักและความสัมพันธ์ระหว่างเมืองน่านกับเมืองสุโขทัยใน อดีต ตัวพระธาตุตั้งอยู่บนเชิงเนินปูด้วยอิฐ ลาดขึ้นไปยังยอด เนิน กว้างประมาณ 20 วา มีบันไดนาคขนาบทั้งสองข้าง องค์ พระเจดีย์เป็นแบบล้านนา ฐานเป็นสี่เหลี่ยมซ้อนกันขึ้นไปจนสูง ใช้แผ่นทองเหลืองบุรอบฐาน แล้วลงรักปิดทอง
40
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 40
. - 01/04/2562 10:28:15 AM
วัดดีน่าเที่ยว
จากพงศาวดารเมื อ งน่ า นกล่ า วไว้ ว ่ า พระยาการเมือง เจ้านครน่านได้อัญเชิญ พระบรมสารี ริ ก ธาตุ จ าก กรุ ง สุ โ ขทั ย (กระดู ก ข้ อ มื อ ข้ า งซ้ า ย) มาประดิ ษ ฐาน ไว้ที่ดอยภูเพียงแช่แห้ง และตามต�ำนาน กล่าวว่า พระพุทธเจ้าได้เสด็จมาประทับ สรงน�้ำที่ริมฝั่งแม่น�้ำน่านทางทิศตะวันออก ที่บ้านห้วยไค้ และเสวยผลสมอแห้ง ซึ่ง พระยามลราชน�ำมาถวาย แต่ผลสมอนั้น แห้งมาก พระพุทธเจ้าจึงทรงน�ำผลสมอ นั้นไปแช่น�้ำก่อนเสวย และทรงพยากรณ์ว่า
ต่อไปที่นี่จะมีผู้น�ำพระบรมสารีริกธาตุมา ประดิษฐาน จึงเรียกพระสถูปที่ประดิษฐาน พระบรมสารีริกธาตุแห่งนี้ว่า พระธาตุแช่ แห้ง นอกจากนี้วัดต่างๆ ที่อยู่รอบเมืองก็จะ มีวัดก๋ง หรือวัดศรีมงคล เป็นวัดที่สวยงาม มาก มี เ จ้ า อาวาสเป็ น นั ก พั ฒ นา มี ก าร ปรับเปลี่ยนมุมมอง ทิวทัศน์วัดอยู่ตลอด และด้านล่างก็จะมีวิวทิวทัศน์ หมู่บ้านที่ สวยงาม
“ จังหวัดน่านเป็นเมืองเล็กๆ ซึ่งตอนนี้นักท่องเที่ยว ให้ความสนใจมากขึ้น ช่วงหน้าหนาว ก็จะมีนักท่องเที่ยว เยอะพอสมควร และไม่ว่าจะเป็นฤดูไหน ผมก็อยากให้มา สั ก ครั้ ง หนึ่ ง แล้ ว ท่ า นจะประทั บ ใจไปไม่ รู ้ ลื ม ตลอดชี วิ ต เพราะการมาเทีย่ ววัดนัน้ นอกจากมีความอิม่ ใจเฉพาะตนแล้ว ยั ง ได้ เ รี ย นรู ้ ส ภาวะภายในจิ ต ใจของเรา แล้ ว ทบทวน และ เดิ น หน้ า ไปอย่ า งมี ส ติ ใ นทุ ก ขณะก้ า วของชี วิ ต ที่ ท ่ า นจะได้ สัมผัสด้วยใจของท่านเอง ”
ปู่ม่าน ย่าม่าน NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 41
41
. - 01/04/2562 10:28:21 AM
โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา จังหวัดน่าน จ�ำนวน 15 แห่ง ดังนี้
1. โรงเรียนวัดราษฎร์บ�ำรุงวิทยา จ�ำนวนสามเณรนักเรียน 26 รูป ผู้อ�ำนาวยการ พระสมุห์ถิรวัฒน์ 2. โรงเรียนเชียงกลางปริยัติศึกษา จ�ำนวนสามเณรนักเรียน 67 รูป ผู้อ�ำนาวยการ พระครุปุญญากรวิวัฒน์ 3. โรงเรียนวัดดอนมงคลสันติสุขวิทยา จ�ำนวนสามเณรนักเรียน 92 รูป ผู้อ�ำนาวยการ พระครูถาวรรัตนานุกิจ 4. โรงเรียนนันทบุรีวิทยา จ�ำนวนสามเณรนักเรียน 402 รูป ผู้อ�ำนาวยการ พระครูบวรเจติยารักษ์ 5. โรงเรียนพระปริยัติธรรมานุสรณ์วัดฟ้าสวรรค์ จ�ำนวนสามเณรนักเรียน 402 รูป ผู้อ�ำนาวยการ พระปลัดเพชร อธิปญฺโญ 6. โรงเรียนพระปริยัติธรรมวัดพระธาตุแช่แห้ง จ�ำนวนสามเณรนักเรียน 120 รูป ผู้อ�ำนาวยการ พระครูฉันทเจติยานุกิจ 7. โรงเรียนนันทจริมเขตศึกษา จ�ำนวนสามเณรนักเรียน 52 รูป ผู้อ�ำนาวยการ พระครูพิพิธนันทคุณ 8. โรงเรียนวัดนาราบวิทยา จ�ำนวนสามเณรนักเรียน 62 รูป ผู้อ�ำนาวยการ พระครูพิธานนันทกิจ 9. โรงเรียนวัดบ่อหลวงวิทยาธรรม จ�ำนวนสามเณรนักเรียน 26 รูป ผู้อ�ำนาวยการ พระประเทียน ธมฺมธโร 10. โรงเรียนน�้ำไคร้นันทชัยศึกษา จ�ำนวนสามเณรนักเรียน 71 รูป ผู้อ�ำนาวยการ พระครูสังฆรักชาติ ธมมฺสาสโน 11. โรงเรียนพระปริยัติธรรมวัดนิโคราราม จ�ำนวนสามเณรนักเรียน 100 รูป ผู้อ�ำนาวยการ พระปลัดคงศิลป์ ภทฺทราวุโธ 12. โรงเรียนวัดปรางค์ จ�ำนวนสามเณรนักเรียน 124 รูป ผู้อ�ำนาวยการ พระครูเมตตาพลานุกิจ 13. โรงเรียนพระปริยัติธรรมวัดภูเก็ต จ�ำนวนสามเณรนักเรียน 112 รูป ผู้อ�ำนาวยการ พระครูพิสุทธิ์วรคุณ 14. โรงเรียนพระปริยัติศาสนาภิพัฒน์วัดเมืองราม จ�ำนวนสามเณรนักเรียน 112 รูป ผู้อ�ำนาวยการ พระครูสิรินันทสุธี 15. โรงเรียนวัดบุญยืน จ�ำนวนสามเณรนักเรียน 65 รูป ผู้อ�ำนาวยการ พระครูอาทรสุทธินันท์
โครงสร้างบริหารและกรอบอัตราก�ำลัง ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดน่าน
นายณฐกร จิรภัคพงค์
ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดน่าน
กลุ่มอ�ำนวยการและกิจการคณะสงฆ์
กลุ่มส่งเสริมพระพุทธศาสนาและกิจการพิเศษ
นายมณเฑียร คูค�ำมี
นายสมชาย จ�ำปารัตน์
ผู้อ�ำนวยการกลุ่มกิจการคณะสงฆ์
นางสาวกนกพร วังจัน
นักวิชาการศาสนาช�ำนาญการ
นายภานุวัฒน์ ทรัพย์ผดุงโชค
นายบุญฤทธิ์ ขวัยแก้ว
นายเทวกฤต นันศิริ
นางอุไรวรรณ ศักดิ์อาจ
นายทศพร ทองสุข
42
ผู้อ�ำนวยการกลุ่มส่งเสริมพระพุทธศาสนาและกิจการพิเศษ
พนักงานขับรถ
เจ้าหน้าที่ธุรการช�ำนาญงาน
พนักงานรักษาความปลอดภัย
นักวิชาการสาสนาปฏิบัติการ
นางสุวพร หอมโทน
เจ้าพนักงานธุรการช�ำนาญงาน
นายนพพร ทิพวงศ์
นักวิชาการศาสนาปฏิบัติการ
นายสุนทร นันตัน
นักวิชาการศาสนาปฏิบัติการ
จ.ส.อ.สนธยา ยสหล้า นักวิชาการศาสนาปฏิบัติการ
แม่บ้าน
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 42
. - 01/04/2562 10:28:25 AM
44
SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา
.indd 44
3/4/2562 11:44:05
Take care of used to good salt จงรักษาความดี ประดุจเกลือรักษาความเค็ม
CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 45
45
3/4/2562 11:44:07
ท�ำเนียบการปกครองคณะสงฆ์ ท�ำเนียบพระสังฆาธิการจังหวัดน่าน
1. พระธรรมนันทโสภณ
ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดน่าน
3. พระราชศาสนาภิบาล
รองเจ้าคณะจังหวัดน่าน
5. พระชยานันทมุนี
เจ้าคณะอ�ำเภอภูเพียง
7. พระครูนันทชัยคุณ
เจ้าคณะอ�ำเภอเชียงกลาง
46
2. พระราชคุณาภรณ์ 4. พระสุนทรมุนี
6. พระครูสิรินันทวิทย์ 8. พระครูอุปถัมภ์นันทกิจ
เจ้าคณะจังหวัดน่าน
รองเจ้าคณะจังหวัดน่าน เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองน่าน เจ้าคณะอ�ำเภอท่าวังผา
SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา
.indd 46
3/4/2562 11:44:09
9. พระครูวิจิตรธรรมโชติ
11. พระครูสุวรรณเจติยานุกูล
เจ้าคณะอ�ำเภอทุ่งช้าง-เฉลิมพระเกียรติ
10. พระครูวิทิตนันทสาร
เจ้าคณะอ�ำเภอนาน้อย
12. พระครูพิทักษ์เจติยานันท์
เจ้าคณะอ�ำเภอบ้านหลวง
เจ้าคณะอ�ำเภอนาหมื่น
13. พระครูสุทินนันทธรรม
เจ้าคณะอ�ำเภอบ่อเกลือ
15. พระครูวิสุทธิ์ปัญญาธร
เจ้าคณะอ�ำเภอแม่จริม
14. พระครูนันทเขมคุณ
เจ้าคณะอ�ำเภอปัว
16. พระมหาเกรียงไกร อหึสโก เจ้าคณะอ�ำเภอเวียงสา 17. พระครูสุจิณนันทกิจ
เจ้าคณะอ�ำเภอสันติสุข
19. พระครูกิตติจันทโรภาส
เจ้าคณะอ�ำเภอจังหวัดน่าน (ธรรมยุต)
18. พระครูไพโรจน์นันทกิจ
เจ้าคณะอ�ำเภอสองแคว
CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 47
47
3/4/2562 11:44:12
H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
48
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 48
. - 01/04/2562 14:07:03 PM
วัดพระธาตุแช่แห้ง พระอารามหลวง สถานที่ตั้งพิธีท�ำน�้ำอภิเษกส�ำหรับการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระธาตุประจ�ำปีเกิดของคนปีเถาะ
วัดพระธาตุแช่แห้ง ตั้งอยู่ที่หมู่ 3 บ้านหนองเต่า ต�ำบลม่วงตี๊ด อ� ำ เภอภู เ พี ย ง จั ง หวั ด น่ า น เดิ ม เป็ นวั ด ราษฎร์ ต่ อ มาในปี พ.ศ. 2549 ได้รบั พระราชทานยกฐานะเป็นพระอารามหลวง ชัน้ ตรี ชนิดสามัญ “วัดพระธาตุแช่แห้ง พระอารามหลวง” ประดิษฐาน อยูห่ า่ งจากตัวเมืองน่านออกไปประมาณ 2-3 กิโลเมตร บนเส้นทาง สายน่าน-แม่จริม องค์พระธาตุแช่แห้งตั้งอยู่บนเนินเขาลูกเตี้ยๆ เป็นสีทองสุกปลัง่ สามารถมองเห็นได้แต่ไกล เนือ่ งจากสูงถึง 2 เส้น เป็นอนุสรณ์ของความรักและความสัมพันธ์ ระหว่างเมืองน่านกับ เมืองสุโขทัยในอดีต ตัวพระธาตุตั้งอยู่บนเชิงเนินปูด้วยอิฐ ลาดขึ้นไปยังยอดเนิน กว้างประมาณ 20 วา มีบนั ไดนาคขนาบทัง้ สองข้าง องค์พระเจดีย์ เป็นแบบล้านนา ฐานเป็นสี่เหลี่ยมซ้อนกันขึ้นไปจนสูง ใช้แผ่น ทองเหลืองบุรอบฐาน แล้วลงรักปิดทอง
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 49
49
. - 01/04/2562 14:07:07 PM
จากพงศาวดารเมืองน่านกล่าวว่า เจ้าพระยาการเมือง เจ้านครน่าน ได้อญ ั เชิญพระบรมสารีรกิ ธาตุจากกรุงสุโขทัย (กระดูกข้อมือข้างซ้าย) มาประดิษฐานไว้ที่ดอยภูเพียงแช่แห้ง และตามต�ำนานกล่าวว่า พระพุทธเจ้าได้เสด็จมาประทับสรงน�้ำที่ริมฝั่ง แม่น�้ำน่านทาง ทิศตะวันออก ทีบ่ า้ นห้วยไค้ และเสวยผลสมอแห้ง ซึง่ พระยามลราช น� ำ มาถวาย แต่ ผ ลสมอนั้ น แห้ ง มาก พระพุ ท ธเจ้ า จึ ง ทรงน� ำ ผลสมอนั้นไปแช่น�้ำก่อนเสวย และทรงพยากรณ์ว่า ต่อไปที่นี่จะมี ผูน้ ำ� พระบรมสารีรกิ ธาตุมาประดิษฐาน จึงเรียกพระสถูปทีป่ ระดิษฐาน พระบรมสารีรกิ ธาตุแห่งนีว้ า่ “พระธาตุแช่แห้ง” พระบรมธาตุแช่แห้ง สันนิษฐานว่ามีอายุราว 600 ปี เจ้าพระยาการเมืองโปรดให้สร้างขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ. 1891 เพือ่ บรรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุทไี่ ด้มาจากกรุงสุโขทัย องค์พระธาตุมีความสูง 55.5 เมตร ตั้งอยู่บนฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัส กว้างด้านละ 22.5 เมตร บุด้วยทองเหลืองหมดทั้งองค์ เป็น โบราณสถานทีง่ ดงามทีส่ ดุ แห่งหนึง่ ของล้านนา ทุกปีจะมีงานนมัสการ พระบรมธาตุแช่แห้ง ระหว่างวันขึ้น 11 ค�่ำ ถึง 15 ค�่ำเดือน 6 ทางเหนือ ซึง่ จะอยูร่ าวปลายเดือนกุมภาพันธ์หรือต้นเดือนมีนาคม ของทุกปี พระบรมธาตุแช่แห้ง เป็นโบราณสถานทีส่ ำ� คัญแห่งหนึง่ ของชาติ มีความส�ำคัญทั้งในด้านแบบแผนทางศิลปกรรม เป็นหลักฐานทาง 50
โบราณคดีและพัฒนาการทางประวัตศิ าสตร์ของจังหวัดน่าน นับเป็น พระธาตุเจดียท์ มี่ ขี นาดใหญ่ทสี่ ดุ ของแผ่นดินล้านนา เป็นปูชนียสถาน ทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิเ์ ป็นทีเ่ คารพนับถือของชาวจังหวัดน่านและพุทธศาสนิกชน ทั่วไป ได้รับการประกาศขึ้นทะเบียนของกรมศิลปากรในราชกิจ จานุเบกษาเล่มที่ 61 ตอนที่ 65 ลงวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2487 ประกาศขอบเขตในราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ 97 ตอนที่ 159 ลงวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2523
ความส�ำคัญ
วัดพระธาตุแช่แห้ง เป็นศาสนสถานส�ำคัญประจ�ำจังหวัดน่าน พระธาตุ แ ช่ แ ห้ ง เป็ น สถานที่ ตั้ ง พิ ธี ท� ำ น�้ ำ อภิ เ ษกส� ำ หรั บ การ พระราชพิธีบรมราชาภิเษกในรัชกาลที่ 9 และรัชกาลที่ 10 น�ำ้ บ่อแก้ว จังหวัดน่าน มีประวัตคิ วามเป็นมา คือ เมือ่ พ.ศ. 2373 เจ้าเมืองน่าน ได้ขุดบริเวณลอมเชียงของ พบว่ามีพลอยมีสีน�้ำผึ้ง ขุดลึก 4 เมตร มีน�้ำพุขึ้นในบ่อ น�้ำก็ขึ้นมาเต็มปากบ่อ ประชาชน เชื่อถือว่าน�้ำในบ่อนี้เป็นน�้ำวิเศษ จึงเรียกว่า น�้ำบ่อแก้ว พระธาตุแช่แห้ง เป็นพระธาตุประจ�ำปีเกิดของคนที่เกิดปีเถาะ (ปีนักษัตรกระต่าย)
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 50
. - 04/04/2562 11:19:22 AM
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 51
51
. - 01/04/2562 14:07:12 PM
ปู ชนี ย สถานและปูช นีย วัตถุส�ำคัญ
1. วิ ห ารหลวง อยู่ทางด้านทิศใต้ขององค์พระธาตุเป็นวิหารขนาดใหญ่ 6 ห้อง ห้องกลางมีขนาด 3 ห้อง และต่อชัน้ ลดออกไปทางด้านหน้า 2 ห้อง และ ด้านหลัง 1 ห้อง ภายในวิหารหลวงมีพระเจ้าล้านทองเป็น พระประธาน พุทธลักษณะปางมารวิชัย ศิลปะล้านนา ประทับนั่ง บนฐาน เป็นพระพุทธรูปองค์ที่สวยงามในจังหวัดน่านองค์หนึ่ง และเป็นพระพุทธรูปคูบ่ า้ นคูเ่ มืองมาช้านาน พระพุทธรูปประทับยืน ประดิษฐานใน วิหารหลวงจ�ำนวน 2 องค์ปัจจุบัน องค์จริงมอบ ให้พพิ ธิ ภัณฑ์ จังหวัดน่าน อีกองค์ ถูกโจรกรรมและยังไม่ได้กลับคืน องค์ที่เห็นจ�ำลองจากองค์จริงท�ำพิธีหล่อเททองเมื่อปี พ.ศ. 2550 หน้าบันประตูของวิหารหลวงเป็นปูนปัน้ ลายนาคเกีย่ วกระหวัดกัน 8 หัว เอกลักษณ์ของศิลปะ เมืองน่าน 2. วิ ห ารพระเจ้า ทันใจ สร้างด้วยคอนกรีตหลังคาไม้มงุ ด้วยกระเบือ้ งดิน รูปแบบวิหารโถง ทรงจตุรมุข กว้าง 11 เมตร ยาว 11 เมตร และรอยพระพุทธบาท จ�ำลอง ปัจจุบันบูรณะดูใหม่และงดงามยิ่งขึ้น 52
3. เจดี ย ์ พ ระธาตุ แ ช่ แ ห้ ง องค์ พ ระธาตุ แ ช่ แ ห้ ง เป็ น เจดี ย ์ ที่ มี ข นาดสู ง ถึ ง 55.5 เมตร ตัง้ อยูบ่ นฐานสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั กว้างด้านละ 22.5 เมตร มีสเี หลืองอร่าม เนือ่ งจากบุดว้ ยแผ่นทองเหลือง ลักษณะของเจดียท์ รง ระฆัง ส่วนฐาน ท�ำเป็นฐานหน้ากระดานสีเ่ หลีย่ มขนาดใหญ่ รองรับฐานบัวลูกแก้ว ย่อเก็จ ถัดขึ้นไปเป็นฐานหน้า กระดานสี่เหลี่ยมและแปดเหลี่ยม ซ้อนลดหลั่นกัน 3 ชั้น องค์ระฆังมีขนาดเล็ก บัลลังก์ท�ำเป็นแท่น สี่เหลี่ยม ย่อเก็จ ฐานหน้ากระดานกลมเป็นกระดานสี่เหลี่ยม แปดเหลีย่ ม และชัน้ บัวคว�ำ่ เหนือฐานแปดเหลีย่ ม ตกแต่งคล้ายกลีบบัว หรือลายใบไม้แทนลายดังกล่าวนี้ สันนิษฐานว่าได้รับอิทธิพลจาก ศิลปะพม่า ซึ่งน�ำมาต่อเติมขึ้นภายหลัง เมื่อล่วงเข้าพุทธศตวรรษ ที่ 24 แล้ว 4. วิ หารพุ ท ธไสยาสน์ ตั้งอยู่อีกด้านหนึ่งของส่วนหน้าวัดพระธาตุแช่แห้ง ตรงข้ามกับ พระมหาเจดีย์ชเวดากองจ�ำลองก็ว่าได้ เป็นที่ตั้งของวิหารซึ่งเป็น ทีป่ ระดิษฐานพระพุทธไสยาสน์ หรือ พระนอน ด้านหน้าวิหารมีเจดีย์
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 52
. - 04/04/2562 10:26:55 AM
ประจ�ำปีเกิดจ�ำลองอีก 1 องค์ เชื่อกันว่า พระนอนในวิหารหลังนี้ เป็นพระพุทธรูปทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิม์ าก สร้างในสมัยพระเจ้าสุรยิ พงษ์ผลิตเดช โดยมีปชู นียวัตถุในวิหารพระพุทธไสยาสน์ คือ พระประธานในวิหาร พระพุทธไสยาสน์ ประดิษฐานบนฐานชุกชี สร้างด้วยอิฐถือปูน ลงรักปิดทอง ยาว 14 เมตร สูง 2 เมตร พร้อมด้วยพระพุทธรูป ปางมารวิชัยประดิษฐานบนฐานชุกชี สร้างด้วยอิฐถือปูน หน้าตัก 70 เซนติเมตร สูง 100 เซนติเมตร สร้างในสมัยพระยาหน่อค�ำเสถียร ไชยสงคราม ในปีพุทธศักราช 2129 โดยมหาอุบาสิกานามว่า นางแสนพาลา เพื่อเป็นที่สักการบูชาแก่คนทั้งหลาย ต่อมามีการบูรณปฏิสังขรณ์ในปีพุทธศักราช 2549 รัชสมัย พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดชมหาราช รัชกาลที่ 9 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ วัดพระธาตุแช่แห้งพระอารามหลวง พร้อมด้วยส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติรว่ มกับพุทธศาสนิกชน ได้จัดสรรงบประมาณจ�ำนวน 5 ล้านบาท ให้กรมศิลปากรท�ำการ บูรณปฏิสังขรณ์วิหารและองค์พระ เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธรฯ ในวโรกาส
เจริญพระชนมายุ 52 พรรษา เมื่อวันอังคารที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 5. พระมหาเจดี ย ์ ช เวดากองจ�ำ ลอง อยู ่ ท างด้ า นหน้ า นอกก� ำ แพงแก้ ว ขององค์ พ ระธาตุ แ ช่ แ ห้ ง มีเจดีย์สีขาวศิลปะพม่าเป็นเจดีย์ที่จ�ำลองมาให้ชาวพุทธได้บูชา ชาวบ้านเรียกว่า “พระธาตุชเวดากอง” หรือ “พระมหาเจดีย์ ชเวดากองจ�ำลอง” ตั้งอยู่ทางซ้ายมือเมื่อเดินขึ้นมาถึงบริเวณลาน ด้านหน้าวัดพระธาตุแช่แห้ง ตั้งอยู่นอกระเบียงคตที่ล้อมองค์ พระธาตุแช่แห้ง จนดูเหมือนว่าพระมหาเจดีย์ชเวดากองจ�ำลองนี้ อยู่นอกวัด ทางวัดจัดสร้างขึ้นเพื่อให้ผู้ที่เกิดปีมะเมียได้สักการะ เพราะพระธาตุแช่แห้งเป็นพระธาตุประจ�ำปีเถาะ เป็นวัดส�ำคัญ ประจ�ำจังหวัดน่าน ที่มีนักท่องเที่ยวเดินทางมาสักการะมากมาย แม้ว่าจะไม่ได้เกิดปีเถาะก็ตาม 6. บั น ไดนาค บันไดนาค 2 ตัว คู่กันซึ่งตั้งอยู่ด้านหน้าทางเข้าพระบรมธาตุ ซึ่งสามารถเห็นวิวทิวทัศน์ของเมืองน่านได้ในบริเวณกว้าง
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 53
53
. - 01/04/2562 14:07:18 PM
H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดภูมินทร์
ตามรอยพงศาวดารเมื อ งน่ า น อ่ า นชี วิ ต ในจิ ต รกรรม ฝาผนัง สัมผัสธรรมจากจิตถึงจิต พระราชคุณาภรณ์ (กานต์ สุปญฺโญ ป.ธ.7) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดภูมินทร์ และเจ้าคณะจังหวัดน่าน
วั ด ภู มิ น ทร์ ตั้ ง อยู ่ ที่ ถ นนสุ ริ ย พงษ์ อ� ำ เภอเมื อ งน่ า น จังหวัดน่าน ตรงข้ามศูนย์บริการนักท่องเทีย่ ว เทศบาลเมืองน่าน และอยู่ใกล้กับพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติน่าน สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย วัดภูมินทร์ในปัจจุบัน เป็นวัดที่นักท่องเที่ยวเดินทางและ นักประวัติศาสตร์ นิยมมาเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมผ่านพุทธศิลป์ และพุทธประวัติ ด้วยความที่เป็นวัดที่แปลกกว่าวัดอื่นๆ คือ โบสถ์และวิหารสร้างเป็นอาคารหลังเดียวกันประตูไม้ทั้งสี่ทิศ แกะสลักลวดลายโดยช่างฝีมือล้านนาสวยงามมาก นอกจากนี้ ฝาผนังยังแสดงถึงชีวติ และวัฒนธรรมของยุคสมัยทีผ่ า่ นมาตาม พงศาวดารของเมืองน่าน ปูมประวัติวัดภูมินทร์ สร้างขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ. 2139 โดยพระเจ้าเจตบุตรพรหมมินทร์ เจ้าผูค้ รองเมืองน่านได้สร้างขึน้ หลังจากทีค่ รองนครน่านได้ 6 ปี มีปรากฏในคัมภีรเ์ มืองเหนือว่า เดิมชื่อ “วัดพรหมมินทร์” ซึ่งเป็นชื่อของเจ้าเจตบุตรพรหมมินทร์ ผู้สร้างวัด แต่ตอนหลังชื่อวัดได้เพี้ยนไปจากเดิมเป็น วัดภูมินทร์
54
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 54
. - 01/04/2562 11:34:42 AM
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 55
55
. - 01/04/2562 11:34:43 AM
“ก�ำฮักน้องกูปี้จั๊กเอาไว้ในน�้ำก็กั๋วหนาว จั๊กเอาไว้ปื้นอากาศกลางหาว ก็กั๋วหมอกเหมยซ่อนดาวลงมาขะลุ้ม จั๊กเอาไปใส่ในวังข่วงคุ้ม ก็กั๋วเจ้าปะใส่แล้วลู่เอาไป ก็เลยเอาไว้ใ นอกในใจ๋ตัวจายปี้นี้ จั๊กหื้อมันไห้ อะฮิ อะฮี้ ยามปี้นอนสะดุ้งตื่นเววา” ค�ำแปล “ความรักของน้องนั้น พี่จะเอาฝากไว้ ในน�้ำก็กลัวเหน็บหนาว จะฝากไว้กลางท้องฟ้าอากาศกลางหาว ก็กลัวเมฆหมอกมาปกคลุม รักของพี่ ไปเสีย หากเอาไว้ในวังในคุ้ม เจ้าเมืองมาเจอก็จะเอาความรัก ของพี่ ไป เลยขอฝากเอาไว้ ในอกในใจของพี่ จะให้มันร้องไห้ร�ำพี้ร�ำพัน ถึ งน้ อ ง ไม่ ว ่ า ยามพี่ น อนหลั บ หรื อ สะดุ ้ ง ตื่ น ”
ภาพจิตรกรรมฝาผนัง วัดภูมินทร์ได้รับการบูรณะครั้งใหญ่สมัยเจ้าอนันตวรฤทธิเดช เมื่อ พ.ศ. 2410 (ปลายสมัยรัชกาลที่ 4) ใช้เวลาซ่อมนานถึง 7 ปี จิตรกรรมฝาผนังในวิหารหลวงเขียนขึ้นในช่วงนี้ ภาพจิตรกรรม หรือ “ฮูบแต้ม” ในวัดภูมินทร์เป็นชาดกในพุทธศาสนา แต่ถ้า พิจารณารายละเอียดของวิถีชีวิตของคนเมืองในสมัยนั้น มีภาพที่ น่าสนใจอยู่หลายภาพ โดยมีภาพเด่นๆ คือ ภาพปู่ม่านย่าม่าน ซึ่ ง เป็ น ค� ำ เรี ย กผู ้ ช ายผู ้ ห ญิ ง ชาวไทลื้ อ ในสมั ย โบราณกระซิ บ สนทนากัน ผู้ชายสักหมึก ผู้หญิงแต่งกายไทลื้ออย่างเต็มยศ ภาพวาดของหนุ่มสาวคู่นี้มีความประณีตมาก ภาพนี้ได้รับการ ยกย่องว่าเป็นภาพที่งามเป็นเยี่ยมของวัดภูมินทร์ ซึ่งเป็นภาพ ธรรมเนียมการอยู่ข่วงของชาวไทลื้อ พ่อแม่จะอนุญาตให้หนุ่มสาว พบปะกันที่ชานบ้านในเวลาค�่ำ ขณะหญิงสาวก�ำลังปั่นฝ้าย หรือ “อยู่ข่วง” หากสาวเจ้าตกลงปลงใจด้วยก็จะจัดพิธีแต่งงาน หรือ ที่เรียกว่า “เอาค�ำไป ป่องกั๋น” หรือเป็นทองแผ่นเดียวกัน อาจารย์วินัย ปราบริปู ศิลปินสายเลือดน่าน แสดงความเห็นไว้ว่า ศิลปินผู้เขียนภาพที่วัดภูมินทร์เป็นศิลปิน คนเดียวกับผูเ้ ขียนภาพทีว่ ดั หนองบัว ทีอ่ ำ� เภอท่าวังผา จังหวัดน่าน 56
“หนานบัวผัน” หรือ ทิดบัวผัน เป็นช่างวาดชาวไทลื้อ เนื่องจาก ภาพจิตรกรรมวัดภูมินทร์กับวัดหนองบัวมีโครงสร้างสีเดียวกัน คือ ใช้แม่สีแดง น�้ำเงิน เหลืองเป็นหลัก และมีภาพที่คล้ายคลึงกัน ถึงกว่า 40 จุด เช่น ใบหน้าคน การแต่งกาย สรรพสัตว์ ทั้งไก่แจ้ นก ลิ ง กวาง แม้ ก ระทั่ ง แนวการลากเส้ น สายพุ ่ ม ไม้ แ ละ กอสับปะรดก็ยังเป็นแบบเดียวกัน “ยิง่ ไปกว่านัน้ ยังมีการค้นพบภาพร่างด้วยหมึกบนกระดาษสาพับ (ชาวล้านนาเรียก ปั๊บสา) ระบุว่าเป็นของ “หนานบัวผัน” ใช้ร่าง ก่อนภาพจริงลงบนฝาผนัง ซึ่งมีหลายภาพ นอกจากภาพวาดที่สะท้อนวิถีชีวิตแล้ว ที่ส�ำคัญคือ ภาพวาด ปรากฏอยู่บนผนังด้านในวิหารจัตุรมุขทั้งสี่ด้าน ผนังด้านทิศเหนือ ตะวันออก และใต้ เป็นภาพพระพุทธเจ้าประทับนั่งปางมารวิชัย มี พ ระสาวกนั่ ง ข้ า งละสององค์ สั น นิ ษ ฐานว่ า คงเป็ น ตอนที่ พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมเทศนา และต�่ำลงมาได้เขียนเป็นภาพ ขนาดเล็กเล่าเรือ่ ง “คันธกุมารชาดก” ต่อเนือ่ งกันตลอดทัง้ สามด้าน ส่วนผนังด้านทิศตะวันตก ตอนบนเป็นภาพพระพุทธเจ้าเสด็จ ปรินิพพานในปางไสยาสน์ มีพระสาวกแสดงอาการเศร้าโศกอยู่ สี่องค์ ตอนล่างลงมาเป็นภาพเล่าเรื่อง “พระเตมีราชชาดก”
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 56
. - 01/04/2562 11:34:45 AM
ภาพพระพุทธเจ้ากับอัครสาวกทั้งสี่ เรื่องพุทธประวัติอยู่ด้านบนสุด ถัดลงมาด้านล่างเป็นชาดกเรื่อง “คัทธณะกถมาร”
ภาพพระพุทธเจ้าปรินิพาน ด้านซ้ายพระพุทธเจ้าปรินิพานมีเหล่าสาวกทั้งหลายก�ำลังอยู่ ในอาการเศร้าโศกและร้องไห้อยู่ด้านขวา
ภาพผู้หญิงไปตลาด ในภาพแม่ยิงไปกาด คือผู้หญิงไปตลาด จะเห็นภาพหญิงสาว ยืนจับกลุ่มในอิริยาบถที่แตกต่างกันเจ็ดคน ฯลฯ
ภาพแม่ของคัทธณะกุมารก�ำลังนัง่ บนรถม้าเดินทางเข้าเมืองสีสกั เกด ในภาพชายหนุม่ ก�ำลังบังคับม้าสองตัวตกแต่งอย่างสวยงาม ขับพา หญิ ง สาวซึ่ ง เป็ น แม่ ข องคั ท ธณะกุ ม าร ก� ำ ลั ง นั่ ง อยู ่ บ นรถม้ า ด้วยเดินทางเข้าเมือง ข้างหลังมีหญิงรับใช้คอยถือร่มบังแดดให้
ภาพจิตรกรรมด้านทิศตะวันออก ชื่อ “นางสีไว” นางสีไว ลูกสาวเศรษฐีเมืองจ�ำปานคร ในภาพนางสีไวหน้าตา รู ป ร่ า งสวยงาม ฯลฯ เป็ น การเขี ย นภาพบุ ค คลขนาดใหญ่ การเขียนกายวิภาคสัดส่วนของผู้หญิงในภาพเป็นสัดส่วนของสตรี ในอุดมคติที่งดงาม เป็นต้น
ภาพวิถีชีวิตชาวเมืองสีสักเกด ภาพหญิงหม้ายอาศัยอยู่ในเมืองสีสักเกด นางเป็น ผู้สอนให้ผู้ หญิงชาวเมืองเย็บปักถักร้อยและทอผ้า อีกภาพหนึ่งจะเห็นชายหนุ่มสองคนก�ำลังแสดงกิริยาแอบมอง หญิงสาวนุ่งผ้าซิ่นไม่สวมเสื้อ ที่ก�ำลังทอผ้าอยู่ ฯลฯ NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 57
57
. - 01/04/2562 11:34:57 AM
ปู ช นี ย วั ต ถุ และปูชนียสถานส�ำคัญ พระอุโบสถจตุรมุข ความสวยแปลกของวัดภูมนิ ทร์ทไี่ ม่เหมือนใคร และไม่มใี ครเหมือน เป็นหนึ่งเดียวในประเทศไทยก็คือ เป็นพระอุโบสถทรงจตุร มุข พระประธานจตุรพักตร์ นาคสะดุ้งขนาดใหญ่แห่แหนพระอุโบสถ เทิ น ไว้ ก ลางล� ำ ตั ว นาค พระอุ โ บสถจตุ ร มุ ข นี้ ก รมศิ ล ปกรได้ สันนิษฐานว่า เป็นพระอุโบสถจัตุรมุขหลังแรกของประเทศไทย ตรงใจกลางพระอุโบสถประดิษฐานพระพุทธรูปขนาดใหญ่ 4 องค์ หันพระพักตร์ออกทางด้านประตูทั้งสี่ทิศ หันเบื้องพระปฤษฎางค์ ชนกั น ประทั บ นั่ ง บนฐานชุ ก ชี เป็ น พระพุ ท ธรู ป ปางมารวิ ชั ย ส�ำหรับผู้ที่ไปชมความงามของ พระอุโบสถนี้ไม่ว่าจะเดินขึ้นบันได จากทิศใด จะพบพระพักตร์ของพระพุทธรูปทุกด้าน นักโบราณคดี บางส่ ว นสั น นิ ษ ฐานว่ า แสดงถึ ง พระพุ ท ธเจ้ า องค์ ต ่ า งๆ คื อ พระกกุสันธพุทธเจ้า พระโกนาคมนพุทธเจ้า พระกัสสปพุทธเจ้า และพระโคตมพุทธเจ้า(พระพุทธเจ้าองค์ปจั จุบนั ) ในขณะทีบ่ างส่วน สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นเลียนแบบลักษณะของพระพรหมสี่พักตร์ ซึ่ ง ปรากฏในพระนามของผู ้ ส ร้ า งวั ด คื อ เจ้ า เจตบุ ต รฯ และ กลุ่มสุดท้ายมองว่าสื่อถึงพรหมวิหาร สถูปเจดีย์พระมาลัยโปรดโลก ภายในก็จะเป็นรูปปั้นจ�ำลองนรกส�ำหรับคนที่ท�ำบาปว่าจะได้ รับผลกรรมเช่นไร เพื่อเป็นการย�้ำเตือนใจ ทีส่ ำ� คัญอีกอย่างคือ ภาพวัดภูมนิ ทร์เคยอยูบ่ นธนบัตรราคา 1 บาท ซึง่ เป็นธนบัตรในแบบ 5 ประกาศใช้เมือ่ วันที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2485 ด้านหน้าเป็นพระบรมสาทิสลักษณ์ของรัชกาลที่ 8 และมีโบสถ์ วัดภูมินทร์อยู่ทางด้านซ้ายของธนบัตร ช่องประตูโขง “ช่องประตูโขง” ใต้ทอ้ งพญานาค เชือ่ กันว่า หากใครได้ลอดผ่านแล้ว จะมีความสวัสดีในชีวิต หากเป็นคนต่างถิ่นจะได้กลับมาเยือน เมืองน่านอีกครั้ง พิพิธภัณฑ์พื้นบ้าน วัดภูมินทร์ พิพิธภัณฑ์พื้นบ้าน วัดภูมินทร์ ตั้งอยู่ภายนอกของวิหารจตุรมุข ทางทิ ศ ใต้ จั ด เก็ บ ข้ า วของเครื่ อ งใช้ ข องท้ อ งถิ่ น ชาวน่ า น ทั้ ง เครื่องปั้นดินเผา พระพุทธรูป และเรือจ�ำลอง เป็นต้น และ มีจ�ำหน่ายสินค้าชุมชนเพื่อเป็นของฝากด้วย
ศาลเจ้ า พ่ อ เจตบุ ต รพรหมมิ น ทร์
58
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 58
. - 01/04/2562 11:35:08 AM
ค�ำไหว้ พ ระพุ ทธปฏิ มากร ตั้งนะโม 3 จบ แล้ว กล่าวว่า “ ข้าพเจ้าของถึง ซึ่ง พระพุทธ พระธรรม และพระอริยสงฆ์เป็นที่พึ่ง ข้าพเจ้าขอกราบนอบน้อมบูช าพระคุณขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้ทรงเสียสละสั่ง สมบารมีมานับชาติมิถ้วน ตรัสรู้พระอนุตตรสัมมาโพธิญาณ ประกาศน�ำเวไนยสัตว์ออกจากสัง สารวัฏ พร้อมกราบพระธรรม และพระอริยสงฆ์ ขอตั้งสัจ จะอธิษฐาน ด้วยอานิสงส์ผ ลแห่ง ผลนี้จงเป็นให้ ได้ถึง ซึ่ง พระนิพพาน ”
ประวัติเจ้าอาวาสโดยสังเขป
พระราชคุณาภรณ์ (กานต์ สุปญฺโญ ป.ธ.7) เกิดเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2483 อายุ 79 ปี พรรษา 57 วุฒิการศึกษา น.ธ.เอก, ป.ธ.7, พธ.ม.(กิตติ์) ต�ำแหน่งฝ่ายปกครอง เจ้าอาวาส วัดภูมินทร์ เจ้าคณะจังหวัดน่าน สมณศัก ดิ์
พ.ศ. 2513 เปรียญธรรม 7 ประโยค 5 ธันวาคม พ.ศ. 2524 พระราชาคณะชั้นสามัญเปรียญ ที่ พระภัทรสารมุนี 5 ธันวาคม พ.ศ. 2548 พระราชาคณะชัน้ ราช ที่ พระราชคุณาภรณ์ ตรีปิฎกวราลงกรณ์ มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี ติดต่อสอบถามรายละเอียด วัดภูมินทร์
โทร. 08-4372-4335 (พระราชคุณาภรณ์) NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 59
59
. - 01/04/2562 11:35:15 AM
H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดพระธาตุช้างค�ำ้ วรวิหาร สร้างพระเจดีย์แข่งขัน จาก “การศึกแห่งธรรม” สู่ความสามัคคีของชุมชน พระธรรมนันทโสภณ (มนต์ คุณธาโร) ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 6 ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
60
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 60
. - 01/04/2562 11:24:03 AM
วัดพระธาตุช้างค�้ำ วรวิหาร ตั้งอยู่ท่ีต�ำบลในเวียง อ�ำเภอเมือง จังหวัดน่าน ตามพงศาวดารเมืองน่านกล่าวว่า เจ้าผูค้ รองนครน่าน ชื่อพญาภูเข่ง หรือ ภูเข็ง เป็นผู้สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 1949 เรียกชื่อ ในครั้ ง นั้ นว่ า “วั ด หลวง” หรื อ “วั ด หลวงกลางเมื อ ง” หรื อ “วัดหลวงกลางเวียง” ส่วนชือ่ “วัดช้างค�ำ้ ” หรือ “วัดพระธาตุชา้ งค�ำ้ ” นั้น เพิ่งจะมาเรียกเมื่อสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ตรงกับรัชกาลที่ 1 เพราะว่าภายในวัด มีพุทธเจดีย์หรือพระธาตุหลวงก่อเป็นรูปช้าง ครึง่ ตัวโผล่หน้าออกมาเอาหลังหนุนองค์พระเจดียไ์ ว้ทงั้ 4 ด้านๆ ละ 6 เชือก รวม 24 เชือก และด้วยเหตุที่วัดพระธาตุช้างค�้ำ วรวิหาร เป็นวัดเก่าแก่สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 1949 จึงถือเอาปีนี้เป็นปีที่มี การตั้งวัด และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ประกอบกับมีพิธี ผูกพัทธสีมาเรียบร้อยแล้ว ซึ่งวัดพระธาตุช้างค�้ำ วรวิหาร ได้รับ การก่อสร้างบูรณปฏิสังขรณ์ด้วยดีมาตลอด จากเจ้าผู้ครองเมือง ต่อๆ มา เจ้าอาวาสทุกยุค และจากฝ่ายปกครองบ้านเมือง พร้อมด้วย ทายกทายิกา จังหวัดน่าน และประชาชนทัว่ ไป จนได้รบั พระราชทาน พระบรมราชานุ ญ าตจากองค์ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว รัชกาลปัจจุบัน ให้ยกฐานะวัดขึ้นเป็นพระอารามหลวง ตั้งแต่วันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2501 โดยมีพระชยานันทมุนี (พรหม พรฺหมฺโชโต) เจ้าคณะจังหวัดน่าน เป็นเจ้าอาวาส วัดพระธาตุชา้ งค�ำ ้ วรวิหาร เป็นวัดทีม่ โี บราณสถานโบราณวัตถุ และศิลปวัตถุอนั มีคา่ มาก กรมศิลปากร จึงได้ประกาศขึน้ ทะเบียน เป็นโบราณสถานไว้เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2487 และก�ำหนด เขตทีด่ นิ โบราณสถานวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2523 กรมการศาสนา ให้เป็นวัดพัฒนาตัวอย่างในปี พ.ศ. 2510 วัดพระธาตุช้างค�้ำ วรวิหาร นับถึงปัจจุบัน พ.ศ. 2562 ก็จะมีอายุถึง 613 ปี เป็น วัดประจ�ำเมืองของราชวงศ์ เจ้าผู้ครองนครน่าน นับตั้งแต่สมัย พระยาภูเข่งหรือภูเข็งแรกสถาปนาเป็นต้นมา
บริเ วณโดยรอบวัดพระธาตุช ้า งค�้ำ
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 61
61
. - 01/04/2562 11:24:11 AM
ต� ำนานการสร้างวัด สร้างพระเจดีย์แ ข่งขัน จาก “การศึก แห่งธรรม” สู่ค วามสามัค คีของชุมชน
ต�ำนานเกี่ยวกับการสร้างวัดพระธาตุช้างค�้ำ วรวิหาร เล่าถึง มู ล เหตุ ก ารณ์ ส ร้ า งวั ด ไว้ ว ่ า ดั ง นี้ ครั้ ง หนึ่ ง กองทั พ พม่ า ซึ่ ง มี แสนยานุภาพช้างม้ารีพ้ ลจ�ำนวนมาก ยกมาหมายจะยึดเอานครน่าน เป็นเมืองออก เจ้าผู้นครน่านเห็นเหลือก�ำลังที่จะรับศึกครั้งนี้ไว้ได้ เพราะมีกำ� ลังน้อยกว่า จึงแต่งอุบายส่งทูตออกไปเจรจาความศึกกับ แม่ทัพพม่า โดยเสนอเงื่อนไขว่า ทั้งสองพระนครต่างเป็นชาวพุทธ ด้ วยกั น หากจะรบพุ่งด้วยก� ำลังกัน แล้วเป็น ที่ แ น่ นอนว่ ารี้ พ ล ทั้งสองฝ่าย จะต้องบาดเจ็บล้มตายลงเป็นอันมาก เป็นสิ่งสังเวช และท�ำความเดือดร้อนให้แก่สมณชีพราหมณ์ จึงขอท�ำศึกด้วยธรรมะ กล่าวคือให้คู่ศึกทั้งสองสร้างพระเจดีย์แข่งขันกัน โดยเริ่มท�ำการ ก่อสร้างตั้งแต่เวลาพระอาทิตย์ตกดินต่อรุ่งอรุณ ฝ่ายใดสร้างเสร็จ และยกฉัตรพระเจดีย์ขึ้นได้ก่อน ก็ให้ลั่นฆ้องรับขึ้นเป็นสัญญาณ ถือว่าฝ่ายนั้นเป็นฝ่ายชนะ ถ้านครน่านเป็นฝ่ายแพ้จึงจะยอมเป็น เมืองออกของพม่า ถ้าฝ่ายพม่าแพ้จะต้องเลิกทัพกลับไปทันที แม่ทพั พม่ายอมตกลงตามเงือ่ นไขทีฝ่ า่ ยนครน่านเสนอ พม่ามีกำ� ลัง 62
รีพ้ ลมากมาย จึงได้ระดมก�ำลังปัน้ อิฐก่อพระเจดียข์ นึ้ ฝ่ายนครน่าน ฉลาดกว่าใช้ไม้ไผ่สานสังเวียนใหญ่น้อยลดหลั่นกันเป็นชั้นๆ ให้ มีรูปลักษณะเหมือนองค์พระเจดีย์ แล้วระดมผู้คนและช้างจ�ำนวน มากมาย ขนดินหิน กรวด ทราย ทับถมลงในสังเวียน รูปทรงพระเจดีย์ แล้วใช้ผ้าขาวหุ้ม มองดูแต่ไกลเหมือนองค์เจดีย์ไม่ผิด ก่อนรุ่งอรุณ เล็กน้อยก็สร้างพระเจดีย์เสร็จเรียบร้อย และยกยอดฉัตรขึ้นส�ำเร็จ จึงลั่นฆ้องชัยขึ้นสัญญาณ ฝ่ายพม่าก่อสร้างเจดีย์ด้วยอิฐล้วนๆ จึงท�ำให้ชา้ กว่า แม้จะมีรพี้ ล(กองทหาร) มากมายก็ตาม พอรุง่ อรุณ เล็กน้อยฝ่ายพม่าคงสร้างเสร็จแต่องค์พระเจดีย์เท่านั้น หาทันได้ ยกฉัตรขึ้นส�ำเร็จไม่ จึงเป็นฝ่ายยอมแพ้ และก็ได้เลิกทัพกลับไป ณ บัดนั้นเจ้าผู้ครองนครน่านทรงเห็นว่า เพื่อเป็นอนุสรณ์ใน ชัยชนะของพระองค์ครั้งนี้ จึงโปรดให้สร้างพระเจดีย์ของจริงและ ได้สร้างวัดขึ้น ณ บริเวณที่สร้างพระเจดีย์เทียมแข่งขันกับพม่า กับโปรดให้สร้างรูปช้างโผล่หัวครึ่งตัวรอบฐานพระเจดีย์ชั้นที่ 2 เพื่อเป็นสัญลักษณ์แสดงว่า ช้างมีส่วนส�ำคัญอย่างยิ่งในการค�้ำจุน สร้างพระเจดีย์แข่งขันกับพม่าจนได้ชัยชนะ
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 62
. - 01/04/2562 11:24:13 AM
ปู ชนี ย วั ต ถุส�ำคัญของวัด
พระธาตุเจดีย์ช้างค�้ำ เป็นปูชนียวัตถุส�ำคัญของวัด บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ
พระวิหารหลวง เป็นที่ประดิษฐานพระประธานองค์ใหญ่ เรียกว่า “พระเจ้าหลวง” นอกจากนี้ภายในพระวิหารหลวงยังมี พระพุทธรูปส�ำคัญปางต่างๆ อีก 16 องค์
พระเจดีย์ทิพย์ มีลักษณะเป็นพระเจดีย์องค์เล็ก ภายในบรรจุ พระบรมธาตุ และพระพุทธนันทบุรีศรีศากยมุนี พระพุทธรูป ปางลีลาสมัยสุโขทัย พระเจ้าทันใจ เป็นพระพุทธรูปปูนปั้น และ พระวิหารทันใจ
โรงเรียนปริยัติธรรม แผนกสามัญ ซึ่งโรงเรียนนี้อยู่ภายใต้ การดูแลของวัด และมีพระภิกษุ สามเณร นักเรียนยากจน นักเรียนชาวเขา นักเรียนด้อยโอกาสจ�ำนวนมาก
นอกจากนี้ ทางวัดมีโบราณวัตถุและสิ่งต่างๆ ที่มีค่าอีกเป็น จ�ำนวนมากจากที่กล่าวแล้ว เช่นหอพระไตรปิฎก หอระฆัง เจดีย์ ธรรมาสน์บษุ บก แผ่นศิลาจารึกในพระวิหารหลวง ศาลาการเปรียญ ตู้พระธรรมโบราณ พร้อมทั้งกุฏิที่พักสงฆ์ถาวรอีกด้วย
ทหารต�ำรวจ นักเรียน อาสาสมัคร ลูกเสือชาวบ้าน มาโดยตลอด และเป็นศูนย์กลางทางการศึกษา สายสามัญของจังหวัด เป็น ศูนย์รวมการประกอบพิธีทางศาสนา เป็นที่รวมขนบธรรมเนียม ประเพณีพนื้ บ้านทีส่ ำ� คัญๆ เช่น ประเพณีตามฤดูกาลทางภาคเหนือ การแข่งเรือยาวในเทศกาลงานถวายทานสลากภัต และงานกฐิน พระราชทาน เป็นต้น
ปัจจุบัน ทางวัดยังได้อบรมศีลธรรมแก่ข้าราชการ ประชาชน
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 63
63
. - 01/04/2562 11:24:22 AM
TRAVELING IN A PREHISTORIC บันทึกเส้นทางความเป็นมาจังหวัดน่าน
ภาพเก่าที่แสดงให้เห็นถึงวิถีชีวิต ตลาดเช้าเมืองน่านในอดีต
Lifestyle in Nan of the old day.
64
_
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 64
4/4/2562 11:50:03
โรงแรมน่า
ก�ำแพงเมืองน่านในสมัย
นฟ้า สร้าง
ขึ้นในปี พศ
2476
รัชกาลที่ 5
เรือนแถวไม้ ในตัวเมืองน่านครั้งอดีต
คุ้มเจ้าในเมืองน่าน
เจดีย์พระธาตุช้างค�ำ NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
_
.indd 65
65
4/4/2562 11:50:03
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ และสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชด�ำเนินไปทรงเยี่ยมราษฎรในเขตกองทัพภาคที่ 3 บ้านกาใส เมื่อวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2516 66
_
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 66
3/4/2562 10:02:28
NAN
Nan is a charming town in northern Thailand
ต�ำนานพระธาตุแช่แห้ง ธรรมนิทานชาดก และพระไตรปิฎกใบลาน สู่สันติธรรมบนภูสูง
เริม่ ปรากฏขึน้ ราว พ.ศ. 1825 ภายใต้การน�ำของ พญาภู ค า เจ้ า เมื อ งย่ า ง ศู น ย์ ก ารปกครองอยู ่ ที่ เมืองย่าง (เชื่อกันว่าคือบริเวณริมฝั่งด้านใต้ของ แม่น�้ำย่าง ใกล้เทือกเขาดอยภูคาในเขตบ้านเสี้ยว ต�ำบลยม อ�ำเภอท่าวังผา) เพราะปรากฏร่องรอย ชุมชนในสภาพที่เป็นคูนำ�้ คันดิน ก�ำแพงเมืองซ้อน กันอยู่ ต่อมาพญาภูคา ได้ขยายอาณาเขตปกครอง ของตนออกไปให้กว้างขวางยิ่งขึ้น โดยส่งราชบุตร บุญธรรม 2 คน ไปสร้างเมืองใหม่ โดยขุนนุ่น ผู้พี่ ไปสร้างเมืองจันทบุรี (เมืองหลวงพระบาง) ซึ่งตั้งอยู่ ทางทิศตะวันออกของแม่น�้ำของ (แม่น�้ำโขง) และ ขุนฟองผู้น้องสร้างเมืองวรนคร(เมืองปัว) ซึ่งตั้งอยู่ ทางทิ ศ ตะวั น ตกเฉี ย งเหนื อ การที่ ใ ห้ ชื่ อ ว่ า เมื อ ง “วรนคร” ก็เนือ่ งมาจาก พญาภูคา ได้เลือกชัยภูมทิ ดี่ ี เหมาะสมในการสร้างเมือง เสร็จแล้วจึงขนานนามว่า เมือง “วรนคร” ซึ่งหมายถึง เมืองดี นับว่าเป็นการ เริ่มต้นราชวงศ์ภูคา
ดังต�ำนานมีเรื่องเล่าว่า... เมืองน่าน มีความเป็นมาที่เก่าแก่ ยาวนาน มีชื่อเรียกในพงศาวดารว่า “นันทบุรี” กว่าจะมาเป็น จังหวัดน่านในวันนี้ ในอดีตเป็นนครรัฐเล็กๆ ก่อตัวขึ้นราว กลางพุทธศตวรรษที่ 18 บริเวณที่ราบลุ่มแม่น�้ำน่านและ แม่น�้ำสาขาในหุบเขาทางตะวันออกของภาคเหนือ
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
_
.indd 67
67
3/4/2562 10:02:30
68
_
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 68
3/4/2562 10:02:36
“ต�ำนานพระธาตุ 7 องค์” แห่งพระบรมธาตุแช่แห้ง
เจ้าหลวงภูคา
ปฐมเจ้าผู้ครองนครน่าน แห่งราชวงศ์ภูคา ประวัติศาสตร์เมืองน่านเริ่มปรากฏขึ้นราว พ.ศ. 1825 ภายใต้ การน�ำของพญาภูคาและนางพญาจ�ำปาผู้เป็นชายา ทั้งสองเป็น ชาวเมืองเงินยาง และเป็นแกนน�ำพาผู้คนอพยพมาตั้งศูนย์การ ปกครองอยู่ที่เมืองล่าง ต่อมาเพี้ยนเป็นเมืองย่าง ซึ่งปรากฏร่องรอย ชุมชนในสภาพที่เป็นคูน�้ำ คันดิน และก�ำแพงเมืองซ้อนกันอยู่ เห็น ชัดเจนทีส่ ดุ คือบริเวณข้าง “พระธาตุจอมพริก” บ้านเสีย้ ว ทีม่ กี ำ� แพง เมืองปรากฏอยู่ซึ่งเป็นปราการทิศใต้ และป้อมปราการทิศเหนือ มีลกั ษณะทีป่ รากฏเป็นสันก�ำแพงดินบนยอดดอยม่อนหลวง บ้านลอม กลาง เป็นก�ำแพงเมืองสูงถึง 3 ชั้น ต่อมาพญาภูคา ได้ขยายอาณาเขตปกครองของตนออกไปให้ กว้างขวางยิ่งขึ้น โดยส่งราชบุตรบุญธรรม 2 คนไปสร้างเมืองใหม่ โดยขุนนุ่นผู้พี่ไปสร้างเมืองจันทบุรี (เมืองพระบาง) และขุนฟอง ผูน้ อ้ งสร้างเมืองวรนคร หรือ เมืองปัว ภายหลังขุนฟองถึงแก่พริ าลัย เจ้าเก้าเถือ่ นราชบุตรจึงได้ขนึ้ ครองเมืองปัวแทน ด้านพญาภูคาครอง เมืองย่างมานานและมีอายุมากขึน้ มีความประสงค์จะให้เจ้าเก้าเถือ่ น ผู้หลานมาครองเมืองย่างแทน จึงให้เสนาอ�ำมาตย์ไปเชิญ เจ้าเก้า เถื่อนเกรงใจปู่จึงยอมไปอยู่เมืองย่างและมอบให้ชายาคือนางพญา แม่ท้าวค�ำปินดูแลรักษาเมืองปัวแทน เมื่อพญาภูคาถึงแก่พิราลัย เจ้าเก้าเถื่อนจึงครองเมืองย่างแทน ในช่วงที่เมืองปัวว่างจากผู้น�ำ เนื่องจากเจ้าเก้าเถื่อนไปครอง เมืองย่างแทนปู่นั้น พญาง�ำเมืองเจ้าผู้ครองเมืองพะเยา จึงได้ขยาย อิทธิพลเข้าครอบครองบ้านเมืองในเขตเมืองน่านทั้งหมด นางพญา แม่เท้าค�ำปินพร้อมด้วยบุตรในครรภ์ได้หลบหนีไปอยู่บ้านห้วยแร้ง จนคลอดได้บุตรชายชื่อว่าเจ้าขุนใส เติบใหญ่ได้เป็นขุนนางรับใช้ พญาง�ำเมืองจนเป็นที่โปรดปราน พญาง�ำเมืองจึงสถาปนาให้เป็น เจ้าขุนใสยศ ครองเมืองปราด ภายหลังมีก�ำลังพลมากขึ้นจึงยกทัพ มาต่อสู้จนหลุดพ้นจากอ�ำนาจเมืองพะเยา และได้รับการสถาปนา เป็นพญาผานอง ขึน้ ครองเมืองปัวอย่างอิสระระหว่างปี 1865-1894 รวม 30 ปีจึงพิราลัย
ในสมัยของพญาการเมือง (กรานเมือง) โอรสของพญาผานอง เมืองปัวได้มีการขยายตัวมากขึ้น ตลอดจนมีความสัมพันธ์กับเมือง สุโขทัยอย่างใกล้ชิด พงศาวดารเมืองน่านกล่าวถึงพญาการเมืองว่า ได้รับเชิญจากเจ้าเมืองสุโขทัย (พระมหาธรรมราชาลิไท) ไปร่วม สร้ า งวั ด หลวงอภั ย (วั ด อั ม พวนาราม) ขากลั บ เจ้ า เมื อ งสุ โ ขทั ย ได้พระราชทานพระธาตุ 7 องค์ พระพิมพ์ทองค�ำ 20 องค์ พระพิมพ์เงิน 20 องค์ ให้กับพญาการเมืองมาบูชา ณ เมืองปัว ด้วยพญาการเมือง ได้ปรึกษาพระมหาเถรธรรมบาลจึงได้ก่อสร้างพระธาตุแช่แห้ง ขึ้นที่บนภูเพียงแช่แห้ง พร้อมทั้งได้อพยพผู้คนจากเมืองปัวลงมา สร้างเมืองใหม่ที่บริเวณพระธาตุแช่แห้ง เรียกว่า ภูเพียงแช่แห้ง ในปี พ.ศ. 1902 โดยมีพระธาตุแช่แห้งเป็นศูนย์กลางเมือง หลังจาก พญาการเมืองถึงแก่พริ าลัย โอรสคือพญาผากองขึน้ ครองแทน อยูม่ า เกิดปัญหาความแห้งแล้ง จึงย้ายเมืองมาสร้างใหม่ที่ริมแม่น�้ำน่าน ด้านตะวันตกบริเวณบ้านห้วยไค้ คือบริเวณที่ตั้งของจังหวัดน่านใน ปัจจุบัน เมื่อปี พ.ศ. 1911 ต่อมาในสมัยเจ้าปู่เข่งครองเมืองระหว่างปี พ.ศ.1950-1960 ได้ สร้างวัดพระธาตุช้างค�้ำวรวิหาร วัดพระธาตุเขาน้อย วัดพญาภู แต่สร้างไม่ทันเสร็จก็ถึงแก่พิราลัยเสียก่อน พญางั่วฬารผาสุมผู้เป็น หลานได้ ส ร้ า งต่ อ จนแล้ ว เสร็ จ และได้ ส ร้ า งพระพุ ท ธรู ป ทองค� ำ ปางลีลา ปัจจุบนั คือ พระพุทธนันทบุรศี รีศากยมุนี ประดิษฐานอยูใ่ น วิหารวัดพระธาตุช้างค�้ำวรวิหาร
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
_
.indd 69
69
3/4/2562 10:02:41
“รุ่งเรืองพุทธศิลป์” สมัยล้านนา
ในปี พ.ศ. 1993 พระเจ้าติโลกราชกษัตริยน์ ครเชียงใหม่ มีความ ประสงค์จะครอบครองเมืองน่านและแหล่งเกลือบ่อมาง (เขตต�ำบล บ่อเกลือใต้ อ�ำเภอบ่อเกลือปัจจุบัน) ที่มีอย่างอุดมสมบูรณ์และหา ได้ยากทางภาคเหนือ จึงได้จัดกองทัพเข้ายึดเมืองน่าน พญาอินต๊ะ แก่นท้าวไม่อาจต้านทานได้จึงอพยพหนีไปอาศัยอยู่ที่เมืองเชลียง (ศรีสชั นาลัย) เมืองน่านจึงถูกผนวกเข้าไว้ในอาณาจักรล้านนาตัง้ แต่ นั้นมา ตลอดระยะเวลาเกือบ 100 ปีที่เมืองน่านอยู่ในครอบครองของ อาณาจักรล้านนา ได้ค่อยๆ ซึมซับเอาศิลปวัฒนธรรมของล้านนา มาไว้ในวิถีชีวิต โดยเฉพาะการรับเอาศิลปกรรมทางด้านศาสนา
70
_
ปรากฏศิลปกรรมแบบล้านนาเข้ามาแทนที่ศิลปกรรมแบบสุโขทัย อย่างชัดเจน เช่น เจดีย์วัดพระธาตุแช่แห้ง เจดีย์วัดสวนตาล (มวลสารจากวัดสวนตาลใช้ท�ำพระสมเด็จจิตรลดา) เจดีย์วัดพระ ธาตุช้างค�้ำ แม้จะเหลือส่วนฐานที่มีช้างล้อมรอบซึ่งเป็นลักษณะ ศิลปะแบบสุโขทัยอยู่ แต่สว่ นองค์เจดียข์ นึ้ ไปถึงส่วนยอดเปลีย่ นเป็น ศิลปกรรมแบบล้านนาไปจนหมดสิน้ ในระหว่างปี พ.ศ. 2103-2328 เมืองน่านได้ตกเป็นเมืองขึน้ ของพม่าอยูห่ ลายครัง้ และต้องเป็นเมือง ร้างไร้ผู้คนถึง 2 ครา คือ ครั้งแรก ปี พ.ศ. 2247-2249 ครั้งที่ 2 ปี พ.ศ. 2321-2344 จนกระทั่งฟื้นขึ้นมาใหม่อีกครั้งโดยมีฐานทาง พระพุทธศาสนาเป็นทุนสู่ความมั่นคงอย่างยั่งยืนในยุคต่อมา
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 70
3/4/2562 10:02:47
สถาปนาความซื่อสัตย์ ยุครัตนโกสินทร์
ขอขอบคุณข้อมูลจาก thai.tourismthailand.org, park.dnp.go.th, royalprojectthailand.com, nantourism.go.th, ต�ำนานพระธาตุแช่แห้ง ธรรมนิทานชาดก และพระไตรปิฎกใบลาน สู่สันติธรรมบนภูสูง
ปี พ.ศ.2331 เจ้าอัตถวรปัญโญได้ลงมาเข้าเฝ้าพระบาทสมเด็จ พระพุ ท ธยอดฟ้ า จุ ฬ าโลกมหาราชเพื่ อ ขอเป็นข้า ขอบขัณฑสีมา หลังจากนั้นเป็นเมืองขึ้นแล้ว เจ้าอัตถวรปัญโญก็ยังมิได้เข้าไปอยู่ เมืองน่านเสียทีเดียวเนื่องจากเมืองน่านยังรกร้างอยู่ จึงได้ย้ายไป อาศัยอยู่ตามที่ต่างๆ คือ บ้านตึ๊ดบุญเรือง เมืองงั้ว (บริเวณอ�ำเภอ นาน้อย) เมืองพ้อ (บริเวณอ�ำเภอเวียงสา) จนกระทั่งหลังจาก ได้บูรณะซ่อมแซมเมืองน่านพร้อมทั้งได้ขอพระบรมราชานุญาต แล้ว จึงกลับเข้ามาอยู่ในเมืองน่านในปี พ.ศ. 2344 ในยุคสมัยกรุง รัตนโกสินทร์ เมืองน่านมีฐานะเป็นหัวเมืองประเทศราช เจ้าผู้ครอง นครน่านในชัน้ หลังทุกองค์ตา่ งปฏิบตั หิ น้าทีร่ าชการด้วยความเทีย่ งธรรม มีความซื่อสัตย์ จงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ราชวงศ์จักรี ได้ช่วย ราชการบ้านเมืองส�ำคัญหลายครั้งหลายคราด้วยกัน นอกจากนี้เจ้า ผู้ครองนครน่านต่างได้อุปถัมภ์ค�้ำจุนและท�ำนุบ�ำรุงกิจการพุทธ ศาสนาในเมืองน่านเป็นส�ำคัญ ได้สร้างธรรมนิทานชาดก การจาร พระไตรปิฎกลงในคัมภีร์ใบลาน นับเป็นคัมภีร์ได้ 335 คัมภีร์นับเป็น ผูกได้ 2,606 ผูก ได้นำ� ไปมอบให้เมืองต่างๆ มีเมืองล�ำปาง เมืองล�ำพูน เมืองเชียงใหม่ เมืองเชียงราย และเมืองหลวงพระบาง นับเป็นการ เดินทางของพระพุทธศาสนาทีม่ ลี มหายใจทีส่ บื เนือ่ งมาจนถึงทุกวันนี้ ต่อมาในปี พ.ศ. 2446 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ มีพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาให้เจ้าสุริยพงษ์ผลิตเดชฯ เลื่อน ยศฐานันดรศักดิ์ขึ้นเป็น พระเจ้านครน่าน มีพระนามปรากฏตาม สุพรรณปัฏว่า พระเจ้าสุริยพงษ์ผลิตเดช กุลเชษฐมหันต์ ไชยนันท บุรมหาราชวงศาธิบดี สุริตจารีราชนุภาวรักษ์ วิบูลยศักดิ์กิติไพศาล ภูบาลบพิตรสถิตย์ ณ นันทราชวงษ์ เป็นพระเจ้านครน่านองค์แรก และองค์เดียวในประวัตศิ าสตร์นา่ น ภายหลังได้รบั การสถาปนาเป็น พระเจ้าน่าน พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชฯ ได้สร้างหอค�ำ (คุ้มหลวง) ขึ้นแทนหลังเดิมซึ่งสร้างในสมัยของเจ้าอนันตวรฤทธิเดชฯ และ ด้านหน้าหอค�ำมีขว่ งไว้ทำ� หน้าทีค่ ล้ายสนามหลวง ส�ำหรับจัดงานพิธี ต่างๆ ตลอดจนเป็นที่จัดขบวนทัพออกสู้ศึก จัดขบวนน�ำเสด็จ หรือ ขบวนรับแขกเมืองส�ำคัญ และในปี พ.ศ. 2474 เมื่อเจ้ามหาพรหม สุรธาดา ผู้ครองนครน่านถึงแก่พิราลัย ต�ำแหน่งเจ้าผู้ครองนครก็ ถูกยุบเลิกตั้งแต่นั้นมา ส่วนหอค�ำได้ใช้เป็นศาลากลางจังหวัดน่าน จนปี พ.ศ. 2511 จังหวัดน่านได้มอบหอค�ำให้กรมศิลปากร ใช้เป็น สถานที่จัดตั้งพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่านจนกระทั่งปัจจุบัน ซึ่ง ได้เก็บเรื่องราวความเป็นมาของจังหวัดน่านให้คนรุ่นนี้และคนรุ่น ต่อๆ ไปได้ศึกษารากของตนเอง NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
_
.indd 71
71
3/4/2562 10:02:52
72
_
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 72
3/4/2562 10:02:58
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
_
.indd 73
73
3/4/2562 10:03:04
TRAVEL GUIDE
บันทึกเส้นทางท่องเที่ยวจังหวัดน่าน
Nan - น่าน ขุนเขาแห่งธรรม -
น่าน เมืองล้านนาตะวันออก ที่งดงามด้วยเรื่องราวของวัฒนธรรมและเอกลักษณ์ท้อง ถิ่น เป็นอีกหนึ่งเมืองสงบน่าเที่ยวเป็นอีกหนึ่งจุดหมายปลายทางยอดฮิตที่เหล่านักเดิน ทางต่างใฝ่ฝนั ทีจ่ ะมาเทีย่ วสัมผัสบรรยากาศของความเป็นธรรมชาติ ไม่วา่ เราจะไปเทีย่ ว น่านฤดูไหนก็สวยงามเสมอ ฤดูหนาวก็ได้ความหนาวเย็นและไออุ่นจากแสงแดดยามเช้า เคล้าสายหมอกในหน้าหนาว มาเที่ยวฤดูฝนก็จะได้ความเขียวขจีได้สัมผัสมนต์เสน่ห์ ของทิวเขาที่เรียงรายกันสลับซับซ้อนเคล้าสามหมอกอลังการแห่งหน้าฝน และทุ่งนา เขียวขจี น่านมีอะไรดี ท�ำไมหลายคนจึงต้องปักหมุด ไปด้วยกันจัดสถานที่ท่องเที่ยว น่านที่หากได้ไปต้องตกหลุมรักมาฝาก
74
_
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
6
.indd 74
4/4/2562 13:21:25
Nan, Thailand: Remote Mountains & Indigenous Communities NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
_
6
.indd 75
75
4/4/2562 13:21:26
ตามหารอยยิ้ม ของพระพุทธองค์ วัดภูมินทร์ สัมผัสภาพกระซิบรักบันลือโลก
วั ด ภู มินทร์ เป็ นวั ด ส� ำ คั ญ ของเมื อ งน่า นมากว่ า 400 ปีแ ล้ว ตั้ ง อยู ่ ที่ บ ้ า นภู มิ น ทร์ อ� ำ เภอเมื อ งน่ า น จั ง หวั ด น่ า น ใกล้ กั บ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติน่าน เดิมชื่อ “วัดพรหมมินทร์” เป็นวัดที่มี โบสถ์และวิหารสร้างเป็นอาคารหลังเดียวกันมีลักษณะเป็นทรง จตุรมุขแห่งเดียวในประเทศไทย ด้านนอกทางขึน้ พระอุโบสถมีรปู ปัน้ พญานาค 2 ตัว ดูคล้ายกับว่าอาคารแห่งนี้ตั้งอยู่บนหลังพญานาค มีจิตรกรรมฝาผนังที่เรียกว่า “ฮูปแต้ม” โดยมีรูปของปู่ม่านย่าม่าน ฉายาภาพคือ “ภาพกระซิบรักบันลือโลก” นั่นเอง นอกจากนี้ก็ยังมีพระพุทธรูปองค์ใหญ่อยู่ทั้ง 4 ทิศ เชื่อกันว่า ให้เดินวนรอบก่อน 1 รอบ สังเกตว่าพระพุทธรูปองค์ไหนยิ้มให้เรา มากที่สุด ก็ให้ขอพรกับองค์นั้น นอกจากนี้ฝาผนังยังแสดงถึงชีวิต และ วัฒนธรรมของยุคสมัยที่ผ่านมาตามพงศาวดารของเมืองน่าน อีกด้วย
พระธาตุประจ�ำปีเกิด นาคบัลลังก์ เครื่องหมายความ ของคนปี เ ถาะ สง่างาม และความดี วัดพระธาตุแช่แห้ง เพื่ อความสวัสดีแห่งชีวิต
ปู ช นี ย สถานที่ ส� ำ คั ญ ของเมื อ งน่ า น ตั้งอยู่ต�ำบลม่วงตึ๊ด อ�ำเภอภูเพียง ห่างจาก วัดภูมนิ ทร์ราวๆ 3.6 กิโลเมตรเท่านัน้ มีอายุ เก่าแก่มากกว่า 600 ปี สร้างขึ้นระหว่าง ปี พ.ศ.1969-1902 ในสมัยเจ้าพระยาการเมือง เพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ สันนิษฐาน ว่ารูปทรงเจดียน์ นั้ ได้รบั อิทธิพลมาจากเจดีย์ พระธาตุหริภุญชัย จังหวัดล�ำพูน องค์พระ ธาตุเป็นเจดีย์ทรงระฆัง รอบองค์บุด้วยทอง จังโก มีความเชื่อกันว่าพระธาตุแช่แห้งนั้น เป็นพระธาตุประจ�ำปีเกิดของปีเถาะ หากได้ มาไหว้ขอพรก็จะเป็นสิรมิ งคลแก่ตวั เองและ ครอบครัว 76
_
วัดหนองแดง
วัดเก่าแก่อายุกว่า 200 ปี สร้างขึ้นในปี พ.ศ.2330 โดยชาวไทลื้ อ ร่ ว มกั บ ไทพวน ที่นี่มีความน่าสนใจมากมาย โดยเฉพาะ “วิหารไทลื้อ” เป็นโบราณสถานที่ส�ำคัญ ของอ� ำ เภอเชี ย งกลาง ด้ ว ยอาคารมี สถาปัตยกรรมแบบไทยลือ้ มีชอ่ ฟ้าแกะสลัก ด้วยไม้สักทอง เรียกว่านกหัสดีลิงค์มีเชิง ชายประดั บ ไม้ ฉ ลุ ล ายน�้ ำ หยาด ซึ่ ง เป็ น ลวดลายเฉพาะของชาวไทลื้อ ด้านในยังมี จิตรกรรมฝาผนังเก่าแก่ แสดงทศชาติชาดก การบ�ำเพ็ญเพียรของพระโพธิสัตว์
พระเจ้าทองทิพย์ วัดเก่าแก่ 600 ปี วัดสวนตาล
ตั้งอยู่บนถนนมหายศ ต�ำบลในเวียง อ�ำเภอเมืองน่าน สร้างขึน้ โดยพระนางปทุม มาวดี เมือ่ พ.ศ.1770 มีอายุเก่าแก่ถงึ 600 ปี และเป็นโบราณสถานคู่เมืองน่าน มีพระ เจดีย์สัณฐานงดงาม ชั้นล่างมีซุ้มประตูทั้ง สี่ ทิ ศ ประดิ ษ ฐาน “พระเจ้ า ทองทิ พ ย์ ” พระพุทธรูปทองส�ำริดองค์ใหญ่ปางมารวิชยั หน้ า ตั ก กว้ า ง 10 ฟุ ต สู ง 14 ฟุ ต 4 นิ้ ว ภายในวิหาร ซึ่งพระเจ้าติโลกราชแห่งนคร เชียงใหม่ โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึน้ ในปี พ.ศ. 1992 นอกจากนี้ยังมีการจัดงานนมัสการ และสรงน�้ำเป็นประจ�ำทุกปีในช่วงเทศกาล สงกรานต์
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
6
.indd 76
2/4/2562 17:07:53
สักการะพระพุทธรูปทองค�ำ “พระพุทธนันทบุรีศรีศากยมุนี” วัดพระธาตุช้างค�ำ้ วรวิหาร
ย้อนอดีตในวัดเก่าแก่ ตั้งอยู่บนถนนยันตร กิจโกศล (ถนนสุรยิ พงษ์) ตัดกับถนนผากอง ตรงข้ามกับแยกวัดภูมินทร์ สร้างขึ้นตั้งแต่ พ.ศ.1949 ในสมัยของเจ้าปู่แข็ง เป็นวัด ส�ำคัญที่เจ้าผู้ครองนครจะใช้ประกอบพิธี ส�ำคัญทางพระพุทธศาสนา และท�ำพิธีถือ น�้ำพระพิพัฒน์สัตยาตามศิลาจารึกหลักที่ 74 กราบสักการะเจดีย์ทรงลังกา สีทอง อร่ามบริเวณหลังพระอุโบสถ ซึ่งรอบฐาน แวดล้อมไปด้วยช้างปูนปัน้ ครึง่ ตัวด้านละ 5 เชือก และมุมทั้งสี่อีก 4 เชือก จึงกลายเป็น
ที่มาของชื่อวัดช้างค�้ำ ภายในพระอุโบสถ ยังเป็นที่ประดิษฐานของพระประธานองค์ ใหญ่ สีเหลืองทองอร่าม เปิดให้นักท่อง เที่ ย วได้ ก ราบไหว้ ตั้ ง จิ ต อธิ ษ ฐานกระท� ำ แต่คุณงามความดี ประสบความส�ำเร็จใน ชีวิต ด้านข้างพระอุโบสถเป็นพระวิหาร ซึ่ง เป็นที่ประดิษฐานของพระพุทธนันทบุรีศรี ศากยมุนี พระพุทธรูปส�ำริดปางประทาน อภัย มีส่วนผสมของทองค�ำมากถึง 65%
วัดกลางทุ่ง วัดภูเก็ต
วัดที่ใครต่างไปเก็บภาพความสวยงาม ของเมืองปัว เพราะตัววัดตั้งอยู่ท่ามกลาง ทุ่งนาแสนสวย มีอาคารที่ให้นักท่องเที่ยว ขึ้ น ไปชมวิ ว มุ ม สู ง สามารถชื่ น ชมทุ ่ ง นา กว้างไกลสุดลูกหูลกู ตา ภูเขาน้อยใหญ่เบือ้ ง หน้า หากมาตอนเช้าช่วงพระอาทิตย์ขึ้น ก็จะได้สัมผัสกับบรรยากาศที่สวยงามไปอีก แบบ พร้อมสายหมอกบางเบาโอบล้อมรอบ ตัวไว้ให้อบอุ่น
วัดโบราณไทยล้านนา วัดต้นแหลง
ตัง้ อยูภ่ ายในหมู่ 2 ต�ำบลไทยวัฒนา อ�ำเภอปัว เป็นวัดโบราณไทยล้านนา เชือ่ กันว่า มีการสร้างมาตัง้ แต่ปี พ.ศ.2127 โดดเด่นด้วยวิหารสุดเก่าแก่สไตล์ไทลือ้ มีหลังคาไม้ลาด ต�ำ่ ซ้อนกันสามชัน้ ประดับด้วยนาคสามเศียรบนหลังคา ประตูวหิ ารยังคงเป็นไม้ดงั้ เดิม ภายในวิหารเป็นที่ประดิษฐานขององค์พระประธาน หากได้มาเที่ยวชมในยามเช้า จะเห็นแสงอาทิตย์สาดส่องลงมายังพระประธานอย่างงดงาม ทรงพลัง
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
_
6
.indd 77
77
4/4/2562 11:34:22
สักการะพระเกศาธาตุ พระพุทธเจ้า พระธาตุจอมกิตติ
จิตกรรมประวัติพระพุทธเจ้า และประวัติการก�ำเนิดเมืองน่าน วัดศรีพันต้น
ตั้งอยู่บนถนนเจ้าฟ้า ต�ำบลในเวียง อ�ำเภอ เมืองน่าน สร้างโดยพญาพันต้น เจ้าผู้ครอง นครน่าน แห่งราชวงศ์ภูคา (พ.ศ.1960พ.ศ.1969) ภายในวัดมีวิหารที่สวยงาม ตั้ง เด่นเป็นสง่ามีสีทองระยิบระยับ และเป็น อีกวัดหนึ่งในจังหวัดน่านที่มีจิตรกรรมปูน
ปั้นที่งดงาม โดยเฉพาะพญานาคเจ็ดเศียร เฝ้าบันไดหน้าวิหารวัด สีทองเหลืองอร่าม สวยงามตระการตา ภายในวิหารมีการเขียน ภาพลายเส้นประวัติของพระพุทธเจ้าและ ประวัติการก�ำเนิดเมืองน่านอันทรงคุณค่า อย่างยิ่ง
ตั้ ง อยู ่ ท่ี บ ้ า นป่ า เลา หมู ่ 6 ต� ำ บล พระพุทธบาท อ�ำเภอเชียงกลาง ตัวพระ ธาตุ ตั้ ง อยู ่ บ นเนิ น เขาอย่ า งสง่ า งาม สามารถมองเห็นได้ในระยะไกล มีสี เหลืองทองอร่ามสวยงาม รายล้อมไป ด้ ว ยบรรยากาศของทุ ่ ง นาและภู เ ขา พระธาตุแห่งนี้เป็นที่เคารพนับถือของ ชาวบ้าน ด้วยภายในบรรจุพระเกศา ของพระพุทธเจ้า โดยชาวบ้านแถวนี้ มักจะแวะเวียนขึ้นมาไหว้พระท�ำบุญ ไม่ขาดสาย บริเวณวัดยังมีจุดชมวิวนา ข้าวสวย ๆ อีกด้วย
นมัสการพระประธานองค์ ใหญ่ ที่สุดในเมืองน่าน วัดพญาภู
เป็นวัดเก่าแก่วัดหนึ่งที่มีความส�ำคัญของจังหวัดน่าน ตาม พงศาวดารเมืองน่านกล่าวไว้วา่ พระยาภูเข็ง (พญาภู) แห่งราชวงศ์ภคู า ซึ่งเป็นเจ้าผู้ครองเมืองน่าน ระหว่างพ.ศ.1950-1960 ได้สร้างวัด พญาภูขึ้น เมื่อ พ.ศ.1956 ต่อมาเจ้าผู้ครองเมืองน่านทุกพระองค์ ได้ให้ความอุปถัมภ์วัดพญาภูตลอดมา จนกระทั่งพ.ศ.2400 พระเจ้า อนันตวรฤทธิเดช เจ้าผูค้ รองเมืองน่าน ได้บรู ณปฏิสงั ขรณ์วดั พญาภู เช่น บูรณะพระเจดีย์ซึ่งก่ออิฐถือปูน เป็นเจดีย์โบราณ ขนาดฐาน กว้าง 14 เมตร สูง 25 เมตร กราบนมัสการพระพุทธปฏิมาเป็น พระประธานองค์ใหญ่ที่สุดของจังหวัดน่าน 78
_
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
6
.indd 78
2/4/2562 17:08:06
LAK MUANG THE CITY PILLAR SHRINE
WAT MING MUANG NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
_
6
.indd 79
79
2/4/2562 17:08:07
วัดภูมินทร์ วัดภูมินทร์ ตั้งอยู่ที่ถนนสุริยพงษ์ อ�ำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน ตรงข้ามศูนย์บริการนักท่องเที่ยว เทศบาลเมืองน่านและอยู่ใกล้กับ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติน่าน สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ปัจจุบัน พระราชคุณาภรณ์ (กานต์ สุปญฺโญ ป.ธ.7) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส และเจ้าคณะจังหวัดน่าน 80
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 80
. - 01/04/2562 11:35:18 AM
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 81
81
. - 01/04/2562 11:35:19 AM
วัดพระธาตุเขาน้อย สักการะ “พระพุทธมหาอุตมมงคมนันทบุรีศรีเมืองน่าน” ณ จุดชมวิวแห่งล้านนาตะวันออก พระมหาจรัล สิริธมฺโม ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดพระธาตุเขาน้อย
วัดพระธาตุเขาน้อย ตั้งอยู่ที่ต�ำบลดู่ใต้ อ�ำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน เป็นวัดราษฎร์ องค์พระธาตุตงั้ อยูบ่ นยอดดอยเขาน้อย ซึง่ อยูด่ า้ นตะวันตกของตัวเมืองน่าน
82
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 82
. - 01/04/2562 11:16:16 AM
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 83
83
. - 01/04/2562 11:16:17 AM
H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดพระธาตุเขาน้อย สักการะ “พระพุทธมหาอุตมมงคมนันทบุรีศรีเมืองน่าน” ณ จุดชมวิวแห่งล้านนาตะวันออก พระมหาจรัล สิริธมฺโม ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดพระธาตุเขาน้อย
84
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 84
. - 01/04/2562 11:16:05 AM
วัดพระธาตุเขาน้อย ตั้งอยู่ที่ต�ำบลดู่ใต้ อ�ำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน เป็นวัดราษฎร์ องค์พระธาตุตงั้ อยูบ่ นยอดดอยเขาน้อย ซึง่ อยูด่ า้ นตะวันตกของตัวเมืองน่าน สร้างในสมัยเจ้าปูแ่ ข็ง เมือ่ ปี พ.ศ. 2030 องค์พระธาตุเป็นเจดีย์ก่ออิฐถือปูนทั้งองค์ เป็น ศิลปะพม่าผสมล้านนา ภายในบรรจุพระเกศาธาตุขององค์สมเด็จ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ได้รบั การบูรณปฏิสงั ขรณ์ครัง้ ใหญ่ ในสมัย พระเจ้าสุรยิ พงษ์ผริตเดช (หรือ “พระเจ้าน่าน” เจ้าผูค้ รองนครน่าน องค์ที่ 63 ระหว่างปี พ.ศ. 2449-พ.ศ. 2454 ตรงกับรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) โดยช่างชาวพม่า และวิหารก็สร้างในสมัยนี้เช่นกัน วัดพระธาตุเขาน้อย เป็นปูชนียสถานที่ส�ำคัญและเก่าแก่ อีกแห่งหนึง่ ของจังหวัดน่าน สันนิษฐานว่ามีอายุรนุ่ ราวคราวเดียว กับพระธาตุแช่แห้ง ตัง้ อยูบ่ นดอยเบาน้อย สูงจากระดับน�ำ้ ทะเล ประมาณ 240 เมตร หน้าวัดมีทางขึ้นเป็นบันไดนาค 303 ขั้น
จากวัดพระธาตุเขาน้อย สามารถมองเห็นทิวทัศน์โดยรอบ ของตัวเมืองน่าน ปัจจุบันบริเวณลานชมทิวทัศน์ ประดิษฐาน พระพุทธมหาอุดมมงคลนันทบุรศี รีเมืองน่าน ซึง่ เป็นพระพุทธรูป ปางประทานพร บนฐานดอกบัวสูง 9 เมตร บนยอดพระเกศา ท� ำ จากทองค� ำ หนั ก 27 บาท สร้ า งขึ้ น เนื่ อ งในมหามงคล ทีพ ่ ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 พระชนมพรรษา 6 รอบ เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2542 ส�ำหรับพระพุทธรูปปางประทานพร เป็นพระพุทธรูปใน พระอิริยาบถยืน ยกพระหัตถ์ขวาเสมอพระอุระ(อก) แบฝ่า พระหัตถ์ออกไปข้างหน้า พระหัตถ์ซ้ายห้อยลง แบฝ่าพระหัตถ์ ออกไปข้างหน้า บางแบบยกพระหัตถ์ซา้ ยขึน้ ห้อยพระหัตถ์ขวา ภายในพืน้ ทีว่ ดั พระธาตุเขาน้อยยังมีจดุ ทีน่ า่ สนใจอีกมากมาย อุโบสถ วิหารพระเจ้าทันใจ พระพุทธมหาอุดมมงคลนันทบุรศี รีนา่ น และลานชมทิวทัศน์ กรรมการวัด 1. นายวิชยั ค�ำลือเลิศ ผูใ้ หญ่บา้ นเขาน้อย ผูใ้ หญ่บา้ น 3 สมัย 2. นายยันยงค์ จักวาน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน 3. นายวิวัฒ ปินตาเชื้อ ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 85
85
. - 01/04/2562 11:16:14 AM
กระซิบรักบันลือโลก
“ปูม ่ ่านย่าม่าน” มงคลล้านนา ณ วัดภูมินทร์ น่าน จังหวัดขนาดเล็กที่ถูกโอบกอดด้วยขุนเขา ลมหายใจ จากธรรมชาติ กั บ การเดิ น ทางของพระพุ ท ธศาสนา อันยิ่งใหญ่ จากความศรัทธาของชาวไทยหลายเผ่าช่วยกัน สร้างพื้นที่แห่งธรรมอันกว้างไกล ในดินแดนพระสุปฏิปันโน ผู ้ ส ร้ า งชุ มชนให้แข็ง แรง สัมผัสกับวิถีชีวิต แบบช้ า ๆ เดิ น ลัดเลาะชมวัดวาอาราม เรียนรู้ศิลปะพื้นบ้านตามสไตล์ น่ า น ที่ พ าใจนั ก เดิ น ทางย้ อ นยุ ค เข้ า ไปสั ม ผั ส กลิ่ น อาย ของวันวาน จินตนาการถึงวันพรุ่ง แล้วมุ่งอยู่กับปัจจุบัน ขณะอย่างมีความสุข
ค�ำฮักน้อง กูปี้จักเอาไว้ในน�้ำก็กลัว หนาว จักเอาไว้พื้นอากาศกลางหาว ก็กลัว หมอกเหมยซอนดาวลงมาคะลุม จักเอาไปใส่ในวังข่วงคุ้ม ก็กลัวเจ้าปะใส่แล้วลู่เอาไป ก็เลยเอาไว้ในอกในใจตัวชายปี้นี้ จักหื้อมัน ไห้อะฮิอะฮี้ ยามปี้นอนสะดุ้งตื่นเววา 86
_
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 86
3/4/2562 10:29:09
TRAVEL GUIDE
บันทึกเส้นทางท่องเที่ยวจังหวัดน่าน
ความรักของน้องนั้น พี่จะเอาฝากไว้ในน�ำ้ ก็กลัวเหน็บหนาว จะฝากไว้กลางท้องฟ้าอากาศกลางหาว ก็กลัวเมฆหมอกมาปกคลุมรักของพี่ไปเสีย หากเอาไว้ในวังในคุ้ม เจ้าเมืองมาเจอก็จะแย่งความรักของพี่ไป เลยขอฝากเอาไว้ในอกในใจของพี่ จะให้มันร้องไห้รำ� พี้ร�ำพันถึงน้องไม่ว่ายามพี่นอนหลับหรือสะดุ้งตื่น NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
_
.indd 87
87
3/4/2562 10:29:11
ย้อนอดีตเรือน “หอค�ำหลวง” ชม “ช้างงาด�ำ” มรดกจากเจ้าเมืองน่าน พิ พิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน
ตั้งอยู่บริเวณถนนผากอง ตัดกับถนนยันตรกิจโกศล อ�ำเภอ เมืองน่าน เดิมที่นี่คือคุ้มของเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช อดีตเจ้าผู้ครอง นครน่าน เป็นสถาปัตยกรรมที่สวยงาม ปัจจุบันมีการบูรณะบ�ำรุง อาคารจึงมีสีเหลืองสดใส ภายในพิพิธภัณฑ์มีการเก็บรักษาโบราณ วัตถุ และสิ่งที่น่าสนใจเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ของเมืองน่านและ ถิ่นล้านนา สิ่งส�ำคัญภายในพิพิธภัณฑ์แห่งนี้ก็คือ “งาช้างด�ำ” วัตถุ มงคลคู ่ บ ้ า นคู ่ เ มื อ งน่ า น เป็ น สมบั ติ ที่ ต กทอดมาจากเจ้ า ผู ้ ค รอง เมืองน่านหลายชั่วอายุคน ส�ำหรับความเป็นมานั้นไม่มีจดหมายเหตุ บันทึกไว้แน่นอน นอกจากนี้บริเวณด้านหน้าของอาคารยังมีอุโมงค์ ลีลาวดีให้นักท่องเที่ยวได้ไปถ่ายรูปสวยๆ กันอีกด้วย
88
_
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 88
3/4/2562 10:29:13
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
_
.indd 89
89
3/4/2562 10:29:14
90
_
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 90
3/4/2562 10:29:28
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
_
.indd 91
91
3/4/2562 10:29:30
แหล่งเรียนรูด้ า้ นศิลปะทีม่ คี วามส�ำคัญของจังหวัดน่าน ทีเ่ สมือน เป็นอาณาจักรย่อมๆ ของเหล่าคนรักงานศิลป์ เกิดจากความมุ่งมั่น ของ คุณวินยั ปราบริปู ศิลปินชาวน่าน ทีต่ อ้ งการสร้างสรรค์บา้ นเกิด ให้เป็นเมืองแห่งศิลปะอย่างแท้จริง ตัง้ อยูบ่ ริเวณถนนน่าน-ท่าวังผา กิโลเมตรที่ 20 ทีน่ จี่ ะเก็บรวบรวมงานศิลปะจากการสร้างสรรค์ของ ศิลปินไทยร่วมสมัย ที่มีผลงานอันมีเอกลักษณ์โดดเด่นเป็นที่ยอมรับ โดยทั่วไป เปิดให้เข้าชมเวลา 10.00-17.30 น. ทุกวันพุธ-อาทิตย์ และวันนักขัตฤกษ์
อาณาจักรของคนรักงานศิลป์ หอศิลป์ริมน่าน 92
_
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 92
4/4/2562 11:34:54
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
_
.indd 93
93
3/4/2562 10:29:53
94
_
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 94
3/4/2562 10:29:54
สัมผัสดาวเคียงดิน บน “ผาหัวสิงห์” ชมวิว 380 องศา ดอยเสมอดาว
ดอยสุดฮอตฮิตแห่งน่าน อยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติศรีน่าน อ�ำเภอนาน้อย เป็นจุดชมวิวที่งดงามมากที่สุดแห่งหนึ่งของจังหวัด มีพื้นที่เป็นลานกว้างตามสันเขา เหมาะส�ำหรับการพักผ่อนดูดาว ชมดวงอาทิ ต ย์ ขึ้ น และตกดิ น ในบริ เ วณเดี ย วกั น ตอนกลางคื น สามารถมองเห็นแสงไฟจากอ�ำเภอนาน้อย ดูแล้วคล้ายดาวจากดิน และยังสามารถมองเห็นดาวบนท้องฟ้าได้อย่างชัดเจนและทั่วถึง ใกล้ๆ ดอยเสมอดาวยังเป็นที่ตั้งของ “ผาหัวสิงห์” หน้าผารูปร่าง เหมือนสิงโตนอนหมอบหันหน้าไปทางทิศตะวันออก สามารถมอง เห็นวิวทิวทัศน์ได้ 360 องศา ทิศเหนือมองเห็นตัวอ�ำเภอเวียงสา ทิศใต้มองเห็นทิวเขาเป็นแนวยาว ทิศตะวันออกมองเห็นผาชู้ แม่นำ�้ น่าน ทิศตะวันตกมองเห็นตัวอ�ำเภอนาน้อยเกือบทั้งหมด
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
_
.indd 95
95
3/4/2562 10:29:55
96
_
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 96
3/4/2562 10:29:57
ทะเลหมอกสุดกว้างใหญ่ กับ “สายธงชาติ” ยาวที่สุดในประเทศไทย ผาชู้
อีกหนึ่งยอดดอยที่สวยงามเช่นเดียวกับดอยเสมอดาว ตั้งอยู่ ภายในเขตอุทยานแห่งชาติศรีน่าน และอยู่ห่างออกไปจากดอย เสมอดาวเพียง 4 กิโลเมตร ที่นี่มีจุดชมวิวพระอาทิตย์ขึ้นที่งดงาม มาก สามารถมองเห็นทะเลหมอกสุดกว้างใหญ่สีขาวนวล พร้อม กับแสงสีทองของพระอาทิตย์ยามเช้าได้อย่างชัดเจน และที่น่ียัง เป็นที่ตั้งของสายธงชาติที่ยาวที่สุดในประเทศไทย ซึ่งมีความยาว ประมาณ 200 เมตร นอกจากนี้ ยั ง มี ล านกางเต็ น ท์ ก ว้ า งขวาง ถ้าไม่อยากเบียดเสียดกับผู้คนที่ดอยเสมอดาว ก็สามารถมาจับจอง มองทะเลหมอกและสัมผัสดวงดาวอย่างใกล้ชิดดวงใจกันได้ที่นี่ NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
_
.indd 97
97
4/4/2562 11:35:25
98
_
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 98
3/4/2562 10:30:00
มหัศจรรย์ธรรมชาติจัดให้ เสาดินนาน้อย (ฮ่อมจ๊อม)
ทีน่ ี่ นักท่องเทีย่ วจะได้พบกับความมหัศจรรย์ทางธรรมชาติทสี่ วย ไม่แพ้จังหวัดอื่น ที่เกิดจากการกัดเซาะพังทลายของดินเป็นบริเวณ กว้างกว่า 20 ไร่ ตั้งอยู่ภายในอุทยานแห่งชาติศรีน่าน มีลักษณะ เป็นผาดินสูงชัน รูปทรงต่างๆ กันไป บ้างเป็นแท่งแหลม บ้างเป็น แท่งมนกลม ความเพลิดเพลินอยู่ที่คุณสามารถใช้จินตนาการว่าจะ เป็นรูปอะไร แม้อากาศค่อนข้างร้อน เนื่องจากเป็นบริเวณพื้นที่โล่ง แต่ความร้อนก็ช่วยให้เราได้ทดสอบความอดทนของกายและใจ เตรียมไว้เผชิญกับอุปสรรคทัง้ ปวงในชีวติ อย่างไม่ยอ่ ท้อ และขอรับรอง ความสวยงามอย่างที่สุด
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
_
.indd 99
99
3/4/2562 10:30:01
วิ่งเล่นทุ่งหญ้าบนดอย ชมกุหลาบพันปี เซลฟี่กับ “ชมพูภูคา” ที่นี่ที่เดียว อุทยานแห่งชาติดอยภูคา
ตั้งอยู่ในพื้นที่อ�ำเภอปัว ที่นี่นักท่องเที่ยวสามารถเข้ามาแวะชมและสัมผัส กับบรรยากาศธรรมชาติของป่าไม้ที่มีความอุดมสมบูรณ์ โดยเฉพาะกับการ ขึ้นไปสัมผัส “ดอยภูคา” อีกหนึ่งยอดดอยที่มีบรรยากาศสวยงาม มีความสูง จากระดับน�้ำทะเล 1,837 เมตร มีลักษณะโดดเด่นเป็นทุ่งหญ้าบนดอย อีกทั้ง ยังมีลานหินและหน้าผาสูงชันอีกด้วย มีพรรณไม้เฉพาะถิ่นและพรรณไม้หายาก เช่น ค้อ กุหลาบพันปี และ ต้นชมพูภูคา ไม้พันธุ์หายากใกล้สูญพันธุ์ ซึ่งมีเพียง ที่อุทยานแห่งชาติดอยภูคาแห่งเดียวเท่านั้น
100
_
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 100
3/4/2562 10:30:03
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
_
.indd 101
101
3/4/2562 10:30:11
“เกลือภูเขา” เดินทาง ตามรางไม้ ไผ่ หลายชั่วอายุคน บ่อเกลือสินเธาว์
ตั้งอยู่ที่ต�ำบลบ่อเกลือใต้ เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงของ อ�ำเภอบ่อเกลือและจังหวัดน่าน เป็นแหล่งชุมชนที่มีการท�ำบ่อเกลือ มาหลายชั่วอายุคน โดยชาวบ้านจะตักน�้ำเกลือจากบ่อใต้ดินแล้ว ให้ไหลมาตามรางท่อไม้ไผ่ เพื่อที่จะน�ำน�้ำเกลือมาต้มให้เหลือแต่ เม็ดเกลือ เรียกว่า “เกลือภูเขา” ซึ่งชาวบ้านจะน�ำมาบริโภค และ กรอกใส่ถุงเล็กๆ แบ่งขายให้กับนักท่องเที่ยว ซึ่งมีการเพิ่มไอโอดีน ให้ด้วย สามารถน�ำมาขัดผิวและท�ำอาหารได้อย่างปลอดภัย
102
_
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 102
3/4/2562 10:30:18
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
_
.indd 103
103
3/4/2562 10:30:25
ถนนคนเดินข่วงเมืองน่าน
104
_
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 104
3/4/2562 10:30:27
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
_
.indd 105
105
3/4/2562 10:30:28
106
_
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 106
3/4/2562 10:30:50
เปิ ด ทุ ก วั น ศุ ก ร์ - เสาร์ บริ เ วณถนนผากอง ตั้ ง แต่ สี่ แ ยกข่ ว ง เมืองน่านไปจนถึงวัดภูมินทร์ มีสินค้าจ�ำหน่ายมากมาย เช่น อาหาร พื้นเมือง ของที่ระลึกเมืองน่าน เสื้อผ้า ภาพวาด ข้าวของเครื่องใช้ เป็นต้น ตลอดเส้นทางการเดินเต็มไปด้วยศิลปะพรั่งพร้อมด้วยสีสัน บรรยากาศเหนือบรรยาย
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
_
.indd 107
107
3/4/2562 10:30:58
H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดสวนตาล พระพุทธานุสติ “ พระเจ้าทองทิพย์ ” ณ วัดเก่าแก่คู่บ้านคู่เมืองมากว่า 600 ปี พระครูสถิตธรรมรักษ์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดสวนตาล
108
.indd 108
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
. - 01/04/2562 14:50:28 PM
วัดสวนตาล ตั้งอยู่บ้านสวนตาล ต�ำบลในเวียง อ�ำเภอเมือง จังหวัดน่าน สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย สร้างเมื่อปี พ.ศ. 1698 ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า พ.ศ. 2413 วั ด สวนตาล เป็นวัดเก่าแก่มากเป็นอันดับ 4 ของจังหวัดน่าน พระปรางเดิม เป็นเจดีย์ทรงดอกบัวตูมหรือพุ่มข้าวบิณฑ์ ศิลปะสมัยสุโขทัย ในสมัยพระเจ้าสุรยิ พงษ์ผลิตเดช เจ้าผูค้ รองเมืองน่าน ล�ำดับที่ 63 ได้บรู ณปฏิสงั ขรณ์ใหม่จนเป็นศิลปะตอนปลายพุทธศตวรรษที่ 25 ตามทีเ่ ป็นอยูใ่ นขณะนี้ พระพุทธรูปทองทิพย์ในอุโบสถ หล่อด้วย ทองส�ำริด ศิลปะน่านยุคที่ 2 ซึง่ ผสมผสานระหว่างศิลปะสมัยสุโขทัย กับศิลปะล้านนา ประวัติความเป็นมาของวัดสวนตาลเก่าแก่มากว่า 600 ปี สืบสานความส�ำคัญทางประวัติศาสตร์ที่มีความเจริญรุ่งเรือง ของศิลปวัฒนธรรมตั้งแต่อดีตสืบทอดมาหลายยุคหลายสมัย ควบคูก่ บั อาณาจักรสุโขทัยและมีความเกีย่ วพันกับอาณาจักรล้านนา ที่มีศูนย์กลางที่เมืองเชียงใหม่ จนถึงยุคสมัยการแผ่ขยายอ�ำนาจ ของพม่าที่มีต่อหัวเมืองล้านนาซึ่งได้สร้างปูชนียวัตถุทางศาสนา ของแต่ละยุคสมัย ตามพุทธสถานที่ส�ำคัญ เช่น ที่วัดสวนตาล และอีกหลายท้องทีข่ องเมืองน่านให้เป็นมรดกทางสถาปัตยกรรม ที่ตกทอดให้กับชนรุ่นหลังจนมาถึงทุกวันนี้
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 109
109
. - 01/04/2562 14:50:29 PM
ปู ชนี ย วั ต ถุ และปูช นียสถานส�ำคัญ
พระวิ ห ารพระเจ้า ทองทิพย์ เดิมในอดีตพระวิหารถูกสร้างขึ้นด้วยไม้มุงหลังคาด้วยหญ้าคา มีขนาดย่อม ส�ำหรับเป็นที่ประกอบกิจทางพุทธศาสนาเกี่ยวกับ การท�ำบุญของชาวบ้านสวนตาล ในปี พ.ศ.1993 พระเจ้าติโลกราช เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ได้ยกทัพมายึดเมืองน่านไว้ในพระราช อ�ำนาจแล้วโปรดฯ ให้สร้างพระวิหารขึ้นด้วยไม้ทั้งหลัง หลังคาท�ำ ด้วยไม้สกั เป็นเกล็ด เวลาต่อมาได้มกี ารบูรณะพระวิหารให้เป็นแบบ ก่ออิฐถือปูน ส่วนโครงสร้างส่วนทีเ่ ป็นเสาและหลังคาคงท�ำด้วยไม้ พระวิ ห ารพระเจ้ า ทองทิ พ ย์ วั ด สวนตาล นอกจากจะเป็ น พระวิหารทีม่ ขี นาดใหญ่ทสี่ ดุ ของจังหวัดน่านแล้ว ยังมีความสวยงาม วิจติ รบรรจง เป็นทีป่ ระดิษฐานของพระเจ้าทองทิพย์ สมควรแก่การ เคารพสักการบูชาของชาวน่านรวมทัง้ ชาวไทยและชาวต่างชาติทไี่ ด้ มีโอกาสมาเยือน และยังมีความส�ำคัญทางด้านประวัติศาสตร์ของ เมืองน่านทีเ่ ราทุกคนจะได้รว่ มกันบ�ำรุงรักษาพระวิหารพระเจ้าทองทิพย์ ให้เป็นมรดกของเมืองน่านไว้ให้ลกู หลานได้สบื ทอดแห่งธรรมต่อไป ตราบนานเท่านาน พระเจ้ า ทองทิพย์ พระพุทธรูปส�ำคัญ คู่เ มือ งน่ าน พระเจ้าทองทิพย์ เป็นชือ่ เรียกพระพุทธรูปปางมารวิชยั หล่อด้วย 110
.indd 110
ทองส�ำริด ศิลปะสุโขทัย ผสมล้านนา ทีม่ ขี นาดใหญ่ทสี่ ดุ ในจังหวัดน่าน และในล้านนา อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 20 ราว 500 กว่าปี ขนาดหน้าตักกว้าง 10 ฟุต สูง 14 ฟุต 4 นิ้ว สร้างขึ้นในสมัย พระเจ้าติกโลกราชเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ ซึ่งเป็นใหญ่แคว้น ล้านนาไทยสมัยนั้น ในการสร้างพระพุทธรูปทองทิพย์องค์นี้ มีประวัตดิ งั นีใ้ นพงศวดาร เมืองน่านกล่าวไว้วา่ ในสมัยพญาอินต๊ะแก่นท้าว เจ้าผูค้ รองนครน่าน องค์ที่ 16 ราชวงศ์ภูคา ครองเมืองน่านครั้งที่ 2 ระหว่างปี พุทธศักราช 1978 - 1993 ได้นำ� เกลือจากบ่อมาง(อ�ำเภอบ่อเกลือ) ไปถวายเป็นบรรณาการแด่พระเจ้าติโลกราช เพือ่ เป็นพระราชไมตรี ต่อกัน แต่พระเจ้าติโลกราชมีความประสงค์จะได้เมืองน่านเป็น เมืองขึ้น เพื่อให้ส่งส่วยเกลือแก่นครเชียงใหม่ ซึ่งเกลือเป็นปัจจัย ที่ส�ำคัญในกองทัพและพสกนิกรของพระองค์ และเป็นสิ่งหายาก ในสมัยนัน้ ในทีส่ ดุ พระเจ้าติโลกราชก็ทรงตัดสินพระหฤทัยทีจ่ ะสร้าง พระพุทธรูปหล่อด้วยทอง เพือ่ จะได้เป็นการสร้างกุศล และท�ำนุบำ� รุง พระพุทธศาสนาไว้ให้รงุ่ เรืองสืบไป แต่ปญ ั หาคือจะเอาทองจ�ำนวนมาก ที่ไหนมาสร้างได้ ขุนนางคนหนึ่งจึงกราบทูลว่า พระองค์เจ้าเป็น เจ้าเมืองที่เข้มแข็งมีบุญบารมีมาก ยกกองทัพปราบหัวเมืองต่างๆ ไว้ในอ�ำนาจได้มากมายหลายหัวเมืองแล้ว ควรเสีย่ งอธิษฐานดูบา้ ง
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
. - 01/04/2562 14:50:32 PM
พระเจ้าติโลกราชทรงเห็นชอบด้วยจึงตั้งสัตยาธิษฐานว่า หาก พระองค์มบี ญ ุ บารมีทจี่ ะได้ทำ� นุบำ� รุงพระพุทธศาสนาต่อไปแล้ว ก็ ขอให้ประชาชนพลเมืองน�ำเอาทองมารวมกับพระองค์ เพื่อสร้าง พระพุ ท ธรู ป ภายใน 7 วั น นี้ ครั้ น ตั้ ง สั ต ยาธิ ษ ฐานแล้ ว ก็ ไ ด้ ป่าวประกาศแก่ชาวเมืองว่าผู้ใดมีจิตศรัทธาที่จะร่วมท�ำบุญกับ พระองค์แล้ว ก็ให้น�ำเอาทองไปรวมกันที่สวนตาลหลวง ในครั้งนั้นแม้ว่าประชาชนเมืองน่านทั้งหลายจะถูกรุกรานจาก กองทัพเชียงใหม่ แต่ด้วยความมีจิตศรัทธาอันแรงกล้าที่จะช่วยกัน ท�ำบุญกุศลและท�ำนุบ�ำรุงพระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองและ ยั่งยืนสถาพรต่อไป จึงได้ร่วมใจกันน�ำทองมารวมกันที่สวนตาล หลวงอันแสดงถึงความมีจติ เลือ่ มใสในพระพุทธศาสนาและมีความ พร้อมเพียงกันของชาวเมืองน่านในสมัยนั้น พอครบก�ำหนด 7 วัน ก็ ร วบรวมทองทุ ก ชนิ ด หนั ก ประมาณ 12 ตื้ อ (1 ตื้ อ เท่ า กั บ 1 พันกิโลกรัม) คิดเป็นทองหนักประมาณหนึง่ หมืน่ สองพันกิโลกรัม พระเจ้ า ติ โ ลกราชเห็ น ดั ง นั้ น ทรงมี ค วามปลื้ ม ปี ติ โ สมนั ส ยิ น ดี เป็นอย่างยิ่ง ในการสร้างพระพุทธรูปหล่อด้วยทองนี้ พระองค์ได้โปรดให้ช่าง ทั้งหลายมีชาวพม่า เงี้ยว และช่างชาวเมืองเชียงแสน กระท�ำ
พิธหี ล่อหลอมทองและพิธหี ล่อองค์พระพุทธรูปด้วย ช่างได้ทำ� การ หลอมเททองเข้าเบ้าพิมพ์หลายครั้งหลายหนก็ไม่ส�ำเร็จ เพราะ เบ้าพิมพ์แตกเสียหายทุกครั้ง ในที่สุดก็มีชายชราแปลกหน้านุ่งขาว ห่มขาวมาช่วยท�ำในครั้งที่ 7 กระท�ำพิธีการหล่อ 17 วัน 17 คืน รวมตั้งแต่เริ่มต้นมาได้ 3 เดือน 7 วัน จึงสร้างเสร็จเรียบร้อยลงได้ เมื่อสร้างพระพุทธรูปเสร็จแล้ว พระเจ้าติโลกราช ก็ทรงโปรด จัดให้มกี ารสวดพระปริตตมงคลและจัดให้มงี านมหกรรมเฉลิมฉลอง ท�ำบุญเป็นการใหญ่มโหฬารยิง่ ส่วนชายชราคนนัน้ ก็หายสาบสูญไป ไม่มีผู้ใดพบเห็นอีกเลย ประชาชนชาวเมืองต่างโจษขานกันว่าเป็น เทพยดาแปลงกายลงมาช่วย จึงได้ขนานนามพระพุทธรูปองค์นนั้ ว่า “ พระพุทธรูปทองทิพย์ ” ตั้งแต่นั้นมาจนทุกวันนี้ ในคราวนั้น หลังจากทีพ่ ระเจ้าติโลกราชทรงประทับอยูเ่ มืองน่านได้ 4 เดือนเศษ ก็ยกทัพกลับมายังนครเชียงใหม่ราชธานี พระพุทธรูปทองทิพย์ เป็นพระพุทธรูปทีเ่ ก่าแก่คบู่ า้ นคูเ่ มืองน่าน มีลกั ษณะสวยงาม เป็นปูชนียวัตถุทศี่ กั ดิส์ ทิ ธิ์ และเป็นศรีสง่าคูน่ ครน่าน ตลอดกาล อีกทัง้ เป็นทีเ่ คารพสักการะของพุทธศาสนิกชนชาวเมืองน่าน และต่างจังหวัด รวมทัง้ ชาวต่างประเทศ มีงานนมัสการเป็นประจ�ำทุกปี ท่านที่มาเที่ยวและน้อมนมัสการเพื่อสักการะ นับว่าเป็นโชคดีและ สิริมงคลในชีวิตของท่านเป็นอย่างยิ่ง NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 111
111
. - 01/04/2562 14:50:39 PM
เจดีย์วัดสวนตาล
มีพระปรางค์เดิมเป็นเจดียด์ อกบัวตูม หรือพุม่ ข้าวบิณฑ์ ได้รับอิทธิพลศิลปะสมัยสุโขทัย ในปี พ.ศ. 2457 สมัย พระเจ้าสุรยิ พงษ์ผลิตเดช เจ้าผูค้ รองนครน่านองค์สดุ ท้าย พร้อมเจ้านายบุตรหลานได้ท�ำการบูรณะต่อจนเสร็จ ดังปรากฏในปัจจุบันนี้ และได้มีการบูรณะครั้งล่าสุด เมื่ อ ปี พ.ศ.2529 สมั ย นายไชยยงค์ อิ น แสง เป็นหัวหน้าบ้านสวนตาล เจดีย์วัดสวนตาล นอกจากจะเป็นปูชนียสถาน ที่สำ� คัญทางพุทธศาสนาแล้ว ยังมีความส�ำคัญ ทางสถาปัตยกรรมศิลปะสุโขทัย ซึง่ ในขณะนัน้ เมืองน่านมีความสัมพันธ์กบั อาณาจักรสุโขทัย เป็นหลักฐานที่ส�ำคัญทางประวัติศาสตร์ ที่ถูกถ่ายทอดลงมาที่เมืองน่าน และได้ เปลี่ ย นแปลงไปตามยุ ค สมั ย ของการ ปกครองก็ตาม เจดีย์วัดสวนตาล ก็ยังคง ความส�ำคัญด้านการศึกษาในช่วงเวลา ทีผ่ า่ นมา เพือ่ ให้ลกู หลานได้เรียนรู้ ความเป็นมาของประวัติศาสตร์ เมื อ งน่ า นจากอดี ต จนมาถึ ง ปัจจุบัน
112
.indd 112
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
. - 01/04/2562 14:50:40 PM
บ่ อ น�้ำ ทิ พ ย์ วัด สวนตาล ในสมัยก่อนความเจริญยังไม่มีเหมือนเช่นปัจจุบัน เมื่อมีการ สร้างบ้านเรือนอยู่อาศัยรวมกันเป็นหมู่บ้าน การสร้างวัดส�ำหรับ ประกอบกิจกรรมทางศาสนา และสถานที่ส�ำคัญต่างๆ จะต้องมี การขุดบ่อน�้ำส�ำหรับบริโภคใช้สอย เมื่อกล่าวถึงวัด การขุดบ่อน�้ำ ใช้ประโยชน์ในเรื่องที่เกี่ยวกับคติความเชื่อในสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งมวล การน�ำน�้ำจากบ่อน�้ำเป็นองค์ประกอบที่ส�ำคัญใช้ในพิธีกรรมทาง ศาสนาที่เกี่ยวข้องกับจารีตประเพณี วัฒนธรรมของบ้านเมือง ที่มีมาแต่ครั้งโบราณ และได้สืบทอดจนถึงปัจจุบัน
ที่ส�ำคัญอีกประการหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับบ่อน�้ำทิพย์ วัดสวนตาล ก็คือ ในพิธีกรรมที่ส�ำคัญของบ้านเมืองในสมัยโบราณ เมื่อครั้ง ประเทศไทยยังคงปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราช และเมืองน่าน ยังมีการปกครองแบบมีเจ้าผู้ครองนคร เจ้าเมืองอ�ำนาจสิทธิ์ขาด แต่ผเู้ ดียว การปกครองในลักษณะนี้ ฝ่ายบ้านเมือง จะต้องมีพธิ ถี อื น�้ำพิพัฒน์สัตยา หรือ พระพิพัฒน์สัจจา เพื่อให้ข้าราชการและ ประชาชนปฏิบตั หิ น้าทีก่ ารงานด้วยความซือ่ สัตย์สจุ ริตต่อชาติ บ้านเมือง ด้วยความซื่อตรง เพื่อให้บ้านเมืองมีความสงบสุขร่มเย็น
การทีไ่ ด้มบี อ่ น�ำ้ ทิพย์ทวี่ ดั สวนตาล ซึง่ อยูเ่ บือ้ งหน้าพระเจ้าทองทิพย์ หรือองค์พระปฏิมาพระสัมมาสัมพุทธเจ้า กุศโลบายสมมุติให้เป็น พระพุทธานุสติ เพือ่ ให้พทุ ธศาสนิกชนได้รำ� ลึกถึงเหตุการณ์ขณะที่ พระพุทธองค์ได้ทรงเสด็จจาริกไปยังสถานที่ที่ทรงเห็นว่ามีความ สงบร่มรืน่ มีแม่นำ�้ ไหลผ่านเหมาะแก่การฝึกฝนจิตเพือ่ ความหลุดพ้น พระพุทธองค์จึงทรงตัดสินพระหฤทัยประทับอยู่ ณ ที่นั่น กระทั่ง ทรงบ� ำ เพ็ ญ สมาธิ บ รรลุ “อนุ ต ตรสั ม โพธิ ญ าณ” คื อ ญาณอั น ประเสริฐสูงสุด ส�ำเร็จพระอรหันเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ณ ร่ ม พระศรี ม หาโพธิบัลลังก์ ริมฝั่งแม่น�้ำเนรั ญ ชรา ต�ำ บลคยา (อุรเุ วลาเสนานิคม) เมืองพุทธคยาประเทศอินเดีย ในวันเพ็ญเดือน 6 ก่อนพุทธศักราช 45 ปี ขณะนั้นพระพุทธองค์มีพระชนมายุได้ 35 พรรษา ธรรมะที่ทรงตรัสรู้ คือ อริยสัจ 4
บ่อน�ำ้ ทิพย์วดั สวนตาล บ่อน�ำ้ ศักดิส์ ทิ ธิ์ ทีค่ บู่ ารมีพระเจ้าทองทิพย์ นับตัง้ แต่เริม่ แรกสร้าง มีความส�ำคัญยิง่ ในการน�ำน�ำ้ ไปใช้ประกอบ พิธีกรรมที่ส�ำคัญทางพระพุทธศาสนาส�ำหรับใช้ในงานที่เกี่ยวข้อง กับจารีตประเพณีวัฒนธรรมที่ส�ำคัญต่างๆ ของเมืองน่าน ที่ได้ สืบทอดมาเป็นเวลายาวนานตัง้ แต่ครัง้ โบราณเพือ่ ความเป็นสิรมิ งคล เพื่อความสงบร่มเย็นของชาติบ้านเมืองให้ด�ำรงคงมั่นสืบสานกัน สืบไปตราบกาลนาน ในวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2562 จังหวัดน่าน น�ำโดยผู้ว่าราชการ จังหวัดน่าน พร้อมด้วยประชาชนชาวจังหวัดน่าน ได้ท�ำการตักน�้ำ บ่อน�้ำทิพย์วัดสวนตาล ท�ำน�้ำอภิเษก เพื่อใช้ในงานพระราชพิธี บรมราชาภิ เ ษก ของสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว มหาวชิ ร าลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ 10
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 113
113
. - 01/04/2562 14:50:50 PM
H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดอรัญญาวาส พระครูพิทักษ์นันทคุณ เจ้าอาวาสวัดอรัญญาวาส
114
วัดอรัญญาวาส ตั้งอยู่บ้านต้นปล้อง เลขที่ 96 ต�ำบลในเวียง อ�ำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน มีเนื้อที่ 6 ไร่ 2 งาน 63 ตารางวา สร้างเมื่อ พ.ศ. 2380 เดิมทีที่ดินบริเวณวัดเป็นพื้นที่ป่า มีการเล่า สืบต่อกันมาว่า มีพระธุดงค์รูปหนึ่งท่านได้จาริกมาปักกลดอยู่ที่ ป่าแห่งนี้ และเที่ยวภิกขาจารบิณฑบาตในหมู่บ้าน แล้วมาพักฉัน และปฏิบัติธรรมในบริเวณป่า ชาวบ้านเห็นจริยาวัตรของท่าน จึงเกิดศรัทธาขอนิมนต์ให้ท่านอยู่ที่นี่ ต่อมาก็พัฒนาขึ้นมาเป็นวัด ชาวบ้านจึงเรียกกันว่า “วัดป่า” จากนั้ น ได้ มี ก ารพั ฒนาขึ้ น ตามยุ ค ตามสมั ย ของเจ้ า อาวาส แต่ละรูปแต่ละองค์ มีการก่อสร้างเสนาสนะต่างๆ เช่น กุฏิสงฆ์ ศาลาการเปรียญ และอุโบสถ เป็นต้น จนปี พ.ศ. 2505 ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมา พร้อมกับขอเปลี่ยนชื่อ วัดป่า เป็น วัดอรัญญาวาส มีชุมชนศรัทธาประกอบไปด้วย บ้านต้นปล้อง บ้านประตูปล่อง บ้านดอนสวรรค์ บ้านมงคลนิมิต และบ้านทุ่ง เศรษฐีบางส่วน ที่ให้ความอุปถัมภ์บ�ำรุงวัดมาโดยตลอด
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 114
. - 01/04/2562 14:58:45 PM
วัดอรัญญาวาสเป็นศูนย์กลางชุมชนเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วน ทุกองค์กร เช่น ผู้สูงอายุ เด็กและเยาวชน พ่อบ้าน แม่บ้าน ส่วนราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นองค์กรพัฒนาเอกชน และพระสงฆ์มาใช้สถานที่วัดเป็นที่จัดกิจกรรม พิธีกรรม พบปะ พูดคุย ประชุม อบรมสัมมนา ฝึกอาชีพ อบรมธรรมะ และปฏิบัติ ธรรมมิได้ขาด อีกทั้งเป็นสถานที่ก่อตั้งกลุ่มเครือข่ายองค์กรต่างๆ เช่ น มู ล นิ ธิ ฮั ก เมื อ งน่ า น มู ล นิ ธิ นั น ทวุ ฒิ คุ ณ อี ก ทั้ ง ยั ง เป็ น ศูนย์ประสานงานพระธรรมทายาทจังหวัดน่าน ศูนย์ประสานงาน พระธรรมทูตเฉพาะกิจจังหวัดน่าน สภาสามัคคีสงฆ์นา่ น กลุม่ พุทธบุตร เพื่อพัฒนาจังหวัดน่าน เป็นต้น มีโครงการรับบริจาคโลงศพเพื่อ สงเคราะห์ศพคนยากจน และไม่มญ ี าติ ทัง้ จังหวัดน่าน และต่างจังหวัด ตลอดจนถึงสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว(สปป.ลาว) วั ด อรั ญ ญาวาสได้ ริ เ ริ่ ม ท�ำ พิ ธี บวชป่ า ถวายทานต้น ผ้า ป่า ต้นไม้สืบชะตาแม่น�้ำ ถวายทานผ้าป่าพันธุ์ปลาจัดเขตอภัยทาน และวังปลา จนกลายเป็นต้นแบบให้กับชุมชนต่างๆ สามารถ ขยายเครื อ ข่ า ยไปทั่ ว ประเทศ ตลอดถึ ง ต่ า งประเทศ เช่ น สปป.ลาว, เมียนมาร์, ฟิลิปปินส์, ภูฏาน, ศรีลังกา เป็นต้น ปี พ.ศ. 2557 พระธรรมมงคลญาณ (หลวงพ่อวิรยิ งั ค์ สิรนิ ธโร) วัดธรรมมงคล กรุงเทพมหานคร ได้เปิดสอนคูสมาธิไฮเทคที่วัด อรัญญาวาสจนถึงปัจจุบัน
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 115
115
. - 01/04/2562 14:58:52 PM
พระพุ ท ธมหานิลคง(พญางิ้ว ด�ำ)
มี ป ระวั ติ ค วามเป็ น มาโดยสั ง เขป คื อ ในปี พ.ศ. 2557 พระสมประสงค์ เขมรวโร ได้ขออนุญาตจากทางวัดอรัญญาวาส เพื่อจาริกแสวงหาทางสงบ เข้าจ�ำพรรษาอยู่ ณ ถ�้ำแห่งหนึ่ง ไม่ห่างจากตัวจังหวัดน่านมากนัก ตลอดเวลาที่จ�ำพรรษาอยู่ ณ ถ�้ำดังกล่าว เป็นระยะเวลา 3 เดือน พระสมประสงค์ ก็ได้ไหว้ พระสวดมนต์ภาวนาอยูเ่ ป็นประจ�ำ พอเวลาว่างจากการปฏิบตั ธิ รรม ท่านก็ตระเวนส�ำรวจบริเวณถ�ำ้ ต่างๆ และบริเวณป่ารอบๆ ถ�ำ้ ทีอ่ ยู่ จ�ำพรรษาซึ่งเป็นเขตวนอุทยาน มีวันหนึ่งขณะที่ท่านก�ำลังจะเดิน ขึ้นเขาเพื่อไปชมถ�้ำเล็กๆ แห่งหนึ่งบนภูเขาสูง มีทางเดินเล็กๆ ขึ้นไปตามบันไดก้อนหินสลับซับซ้อน ท่านเดินไปสะดุดกับขอนไม้ สีดำ� ยาวประมาณ 10 เมตร ล้มนอนขวางบนหน้าผาสูงชัน ลักษณะ ขอนไม้ด�ำเลื่อมคล้ายตอไม้พญางิ้วด�ำ ที่มีอยู่ที่วัดอรัญญาวาส ท่านจึงโทรศัพท์มาแจ้งให้เจ้าอาวาสทราบ หลังจากนั้น 2-3 วัน เจ้าอาวาสวัดอรัญญาวาสได้เดินทางไปดูขอนไม้พญางิว้ ด�ำ พิจารณา เห็นว่า ถ้าทิง้ ไว้ขอนไม้อาจผุพงั ไปโดยเปล่าประโยชน์ แต่ถา้ น�ำเอาไม้ ดังกล่าวมาจะท�ำประโยชน์แก่คนหมู่มาก เป็นประโยชน์กับวัด และพระพุทธศาสนาอย่างแน่นอน จึงเข้าไปคุยกับหัวหน้าวนอุทยาน ขออนุญาตให้น�ำออกมา แต่ต้องอยู่ภายใต้การดูแลของเจ้าหน้าที่ วนอุทยาน จากนั้น ทางวัดได้นำ� เอาเศษไม้พญางิ้วทั้งหมด ขนย้าย เข้ามาที่วัด และล้างท�ำความสะอาดไม้ทุกชิ้นทุกท่อนให้สะอาด ตากแดดให้แห้งสนิท แล้วประชุมกับคณะกรรมการวัดเพื่อหารือ ในการจั ด การไม้ พ ญางิ้ ว ด� ำ และเนื่ อ งจากเนื้ อ ไม้ พ ญางิ้ ว ด� ำ แตกแยกเป็ น ชิ้ น ๆ ไม่ ส ามารถแกะเป็ น พระทั้ ง องค์ ไ ด้ จึ ง ให้ ช่างปัญญา วงศ์ตันกาศ ปั้นพระพุทธรูปเนื้อปูน ขนาดหน้าตัก 40 นิ้ ว จากนั้ น น� ำ ไม้ พ ญางิ้ ว ด� ำ มาตั ด เป็ น ชิ้ น เล็ ก ๆ ทากาว แปะหุ ้ ม จนทั่ ว องค์ พ ระ ใช้ เ ครื่ อ งมื อ ขั ด ให้ เ รี ย บร้ อ ยแล้ ว เคลื อ บด้ ว ยน�้ ำ ยา จนในที่ สุ ด ได้ อ งค์ พ ระพุ ท ธรู ป ที่ ส ร้ า งจาก ไม้พญางิ้วด�ำ จึงขนานนามว่า พระพุทธนิลคง(พญางิ้วด�ำ) 116
พระพุทธลีลามหาเมตตา(มหาลาภ)
ประดิษฐาน ณ “พิพิธภัณฑ์ 100 ปี พระครูนันทวุฒิคุณ” เป็น พระพุทธรูปปางพุทธลีลาประทานพร ประทานหัตถ์ซ้าย 1 องค์ พระหัตถ์ขวา 1 องค์ แกะจากต้นส�ำโรง ทางภาคเหนือเรียกว่า ต้นธงชัย คนโบราณถือว่าเป็นต้นไม้มงคล เกิดขึ้นทีไรมักน�ำความ ชุม่ เย็นมาสูท่ นี่ นั่ ลักษณะล�ำต้น ผลและใบ คล้ายต้นปอ ล�ำต้นตรง สวยงาม สูงประมาณ 25 เมตร อายุหลายสิบปี คนโบราณใช้เมล็ด และเปลือกของล�ำต้นท�ำยา ออกดอกปีละครัง้ กลิน่ ของดอกหอมฉุน บางคนก็แพ้ คนโบราณเชือ่ ว่ากลิน่ ของดอกก็เป็นมงคล กลิน่ หอมโชย ถึงไหนน�ำความชุ่มเย็นถึงนั่น ลักษณะเนื้อไม้แข็งคล้ายไม้สักทอง แต่ไม่มีลายเหมือนไม้สักทอง
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 116
. - 01/04/2562 14:58:59 PM
พระพุ ท ธชัยมงคลจตุรทิศ ประดิษ ฐาน ณ “พิ พิ ธภั ณฑ์ 100 ปี พระครูนัน ทวุฒิคุณ”
จากต้นโพธิ์ใหญ่ในบริเวณวัดอรัญญาวาส และยืนตายในปี พ.ศ. 2554 พระครูพิทักษ์นันทคุณ เจ้าอาวาสวัดอรัญญาวาส ได้ปรึกษากับคณะกรรมการวัด และต่อมาพระภิกษุรูปหนึ่งได้แวะ มาเยือนวัดอรัญญาวาส เห็นท่อนไม้ขนาดใหญ่กองอยู่ลานวัด จึง แนะน� ำ ให้ ห าช่ า งมาแกะเป็ น พระพุ ท ธรู ป เพื่ อ ไว้ ใ ห้ ส าธุ ช นได้ สักการบูชาเพราะต้นไม้ตั้งต้นมานับ 100 ปี น่าจะให้อยู่ต่ออีก ในรูปลักษณะที่ศักดิ์สิทธิ์และเป็นมงคลต่อไป ทางวัดจึงติดต่อหา ช่างแกะสลักที่มีฝีมือเพื่อมาแกะเป็นพระพุทธรูป ได้ช่างปัญญา วงศ์ตนั กาศ สล่าจากบ้านแม่คำ � มีตำ� หนักธรรม ต�ำบลต�ำหนักธรรม อ�ำเภอหนองม่วงไข่ จังหวัดแพร่ มาคนเดียวใช้เวลาแกะ 1 เดือน 12 วัน ได้พระพุทธรูปขนาดหน้าตัก 60 นิ้ว สูง 5 ศอก 9 นิ้ว ปางสมาธิหรือปางตรัสรู้ พระราชศาสนาภิบาล รองเจ้าคณะจังหวัดน่าน ได้ประทานชื่อพระพุทธรูปองค์นี้ว่า “พระพุทธชัยมงคลจตุรทิศ” ส่วนท่อนกลางของต้นโพธิแ์ กะเป็นรูปเหมือนของพระครูนนั ทวุฒคิ ณ ุ (หลวงปู่สาร) อดีตเจ้าอาวาสวัดอรัญญาวาส ส่วนท่อนปลายของ ต้นโพธิ์แกะเป็นพระพุทธรูปปางไสยาสน์ (พระนอนแบบศิลปะ
ล้านนา) ประดิษฐาน ณ พิพธิ ภัณฑ์ ส่วนกิง่ ใหญ่ตน้ โพธิ์ พระปลัดเทศ ปภากโร น�ำไปแปรรูปเป็นไม้แผ่นท�ำโต๊ะ กลับมาถวายวัดอรัญญาวาส ได้หลายตัว ได้ใช้งานจนถึงปัจจุบัน
พิพิธ ภัณฑ์ 100 ปี
สาเหตุ ที่ ตั้ ง ชื่ อ “พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ 100 ปี พระครู นั น ทวุ ฒิ คุ ณ (หลวงปู่สาร)” เนื่องจากปี พ.ศ. 2558 เป็นปีครบชาตกาล 100 ปี ของหลวงปู่สาร อดีตเจ้าอาวาสวัดอรัญญาวาส ทางวัดจึงได้จัด พิธบี รรจุหวั ใจพระพุทธรูปปางสมาธิในวันท�ำพิธบี ญ ุ อัฐคิ รบชาตกาล 100 ปี ต่อมาเมื่อต้นปี พ.ศ.2561 จึงได้มีการจัดพิธีบรรจุหัวใจ พระพุทธรูปที่เหลือทั้งหมด และในวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2561 ทางวัดได้จัดพิธีสมโภช พระพุทธรูปไม้ที่แกะจากต้นโพธิ์ ต้นธงชัย ไม้พญางิ้วด�ำ ไม้สักทอง ไม้ขนุน และไม้อื่นๆ พระพุทธรูปที่สร้าง จากเหล็กน�้ำพี้ และรูปเหมือนพระครูนันทวุฒิคุณอดีตเจ้าอาวาส วัดอรัญญาวาส โดยการน�ำเศษไม้พญางิ้วด�ำที่เหลือจากการสร้าง พระพุทธรูปองค์ใหญ่ มาปนมวลสารอื่นๆ สร้างเป็นพระเครื่อง พระสมเด็จ พระนางพญา ตะกรุด และขี้ผึ้งสีปาก มหาเสน่ห์ สาลิกาลิ้นทอง เพื่อให้บุคคลที่สนใจเช่าบูชาเป็นของที่ระลึกต่อไป
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 117
117
. - 01/04/2562 14:59:08 PM
H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดพญาวัด
UNSEEN “พระเจ้าในโขง” พระพุทธรูปในซุ้ม
พระครูปลัดมงคลเจติยวัฒน์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดพญาวัด
118
.indd 118
วัดพญาวัด ตั้งอยู่เลขที่ 203 หมู่ 6 ต�ำบลดู่ใต้ อ�ำเภอเมือง จังหวัดน่าน สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย แต่เดิมบริเวณทีต่ งั้ วัดเป็นเขต ศูนย์กลางเมืองน่านในสมัยที่ย้ายเมืองจากพระบรมธาตุแช่แห้ง มาตัง้ อยูร่ มิ ฝัง่ ตะวันตกของแม่นำ�้ น่าน สถูปเจดียส์ ร้างด้วยศิลาแลง ในสมัยพระนางจามเทวี มีลักษณะคล้ายเจดีย์กู่กุด จังหวัดล�ำพูน เป็นทรงซุม้ สีเ่ หลีย่ มซ้อนกัน 5 ชัน้ แต่ละชัน้ ประดิษฐานพระพุทธรูปยืน ซึ่งได้รับอิทธิพลจากศิลปะสุโขทัยดังพบที่สถูปเจดีย์วัดมหาธาตุ จังหวัดสุโขทัย ยอดซุ้มก่ออิฐวงโค้ง เป็นรูปแบบการก่อสร้างสมัย พระเจ้าติโลกราชแห่งนคร เชียงใหม่แสดงให้เห็นว่ามีการบูรณะ ในสมัยนั้น ซึ่งเป็นสมัยที่อิทธิพลของศิลปะเชียงใหม่ได้เข้ามา แทนที่ศิลปะสุโขทัยแล้ว
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
. - 01/04/2562 10:35:08 AM
นอกจากนี้ภายในวัดยังมี บุษบกธรรมาสน์เอก ฝีมือช่างสกุล เมืองน่าน ทีเ่ ก่าทีส่ ดุ เท่าทีพ่ บมาในล้านนาตะวันออก ลักษณะเป็นบุษบก ฐานเป็นปูนก่อติดกับพืน้ ตัวธรรมาสน์เป็นไม้แกะสลัก มีทรงลุง้ คือ ด้านบนผาย มียอดปราสาทซ้อนกัน มีเครือ่ งหลังคาประดับ แผงไม้ ด้านข้างแกะสลักเป็นเทพยดาพนมช่อดอกไม้ทพิ ย์ ส่งเสพปัญจดุรยิ ดนตรี ลงรัก ปิดทอง ล่องชาด ใช้แสดงพระธรรมเทศนา กิจกรรม ทางศาสนา ยังมีหบี พระธรรมใช้ใส่พระธรรมคัมภีร์ พร้อมทัง้ เครือ่ ง สูงจ�ำลอง หรือเครือ่ งราชกุธภัณฑ์ เป็นเครือ่ งสักการะพระพุทธเจ้า ท�ำจากไม้เขียนลายรดน�้ำ วัดพญาวัดเป็นวัดโบราณทางพุทธศาสนา ผ่านกาลเวลาหลายยุค หลายสมัยจนถึงปัจจุบนั พืน้ ทีข่ องวัดอยูภ่ ายในเขต “เวียงวัดพญาวัด” อันเป็นเวียงโบราณริมแม่นำ�้ น่านทีค่ งสร้างขึน้ ก่อนการสร้างเมืองน่าน ซึง่ เมืองน่านสร้างขึน้ ในปี พ.ศ. 1911 (ปีสดุ ท้ายของรัชกาลพระเจ้า อูท่ องแห่งกรุงศรีอยุธยา) โดยย้ายเมืองมาจากบริเวณภูเวียงแช่แห้ง (บริเวณวัดพระธาตุแช่แห้งในปัจจุบัน) มาสร้างเมืองใหม่ ณ ริมฝั่ง แม่น�้ำน่านทางทิศตะวันตก โดยที่วัดพญาวัดคงสร้างพร้อมกันกับ เวียงพญาวัดเมื่อกว่า 600 ปีมาแล้ว ชื่อวัดพญาวัดปรากฏในเอกสารประวัติศาสตร์บางฉบับ เช่น พงศาวดารล้านนาและพงศาวดารเมืองน่าน เป็นต้น แสดงถึง สถานภาพในความเป็นวัดและบทบาทของวัดต่อเนื่องโดยตลอด
สิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายในวัด
พระธาตุ จ ามเทวี เป็นเจดียส์ ถานรูปสีเ่ หลีย่ ม ก่อด้วยอิฐสอดิน ลักษณะส�ำคัญของเจดียอ์ งค์นคี้ อื มีเรือนธาตุเป็นขัน้ ลดหลัน่ ขึน้ ไป 5 ชั้น แต่ละชั้นแต่ละด้านก่อเป็นซุ้ม 3 ซุ้ม ภายในซุ้มประดิษฐาน พระพุทธรูปยืน ส่วนยอดมีลักษณะคล้ายคลึงกับยอดเจดีย์ ซึ่ง เป็นศิลปะล้านช้างที่มีคุณค่ายิ่งต่อการศึกษาด้านศิลปกรรมและ สถาปัตยกรรมภาคเหนือ พระเจ้าในโขง เป็นพระประธานในอุโบสถวัดพญาวัดมาแต่โบราณ เมื่อองค์พระช�ำรุดจึงได้มีการพอกปูนทับ จึงมีลักษณะดังเช่น ปัจจุบัน ค�ำว่า “โขง” หมายถึง ซุ้ม ดังนั้น “พระเจ้าในโขง” จึงหมายถึง พระพุทธรูปที่ประดิษฐานอยู่ในซุ้มนั่นเอง พระเจ้ าฟ้ า พระพุทธรูปส�ำคัญประจ�ำนครน่าน เป็นพระพุทธรูป ไม้แกะสลักลงรักปิดทองทีอ่ ยูค่ กู่ บั วัดพญาวัดมาแต่โบราณ นอกจาก จะน�ำออกแห่รอบเมืองให้สรงน�้ำในช่วงเทศกาลสงกรานต์แล้ว เมี่อปีใดฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล ชาวเมืองน่านจะแห่อัญเชิญไป รอบเมืองน่านให้ชาวเมืองได้สรงน�ำ ้ แล้วไปท�ำพิธสี รงน�ำ้ ทีแ่ ม่นำ�้ น่าน เพื่อขอให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล จึงได้พระนามว่า “พระเจ้าฟ้า” ซึ่ง “ฟ้า” ในภาษาเหนือ แปลว่า ท้องฟ้า คือ ผู้ที่สามารถบันดาล ให้ฝนตกให้เมืองน่านและผู้สักการะได้ร่มเย็นเป็นสุข ศาลเจ้ า แม่ จ ามเทวี เป็นอนุสรณ์ระลึกถึงพระนางจามเทวี ให้ผู้ศรัทธามาสักการะได้โดยไม่ต้องเดินทางไปถึงล�ำพูน NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 119
119
. - 01/04/2562 10:35:19 AM
H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดถืมตอง
สักการะ “พระธาตุเจ้านวมมหาราชมิ่งมงคล” เพื่อความสมัครสมานสามัคคี และ ความสวัสดีแห่งชีวิต
พระสมุห์ฐิติภัทร์ วชิรธมฺโม เจ้าอาวาสวัดถืมตอง
120
.indd 120
วัดถืมตอง ตั้งอยู่ต�ำบลถืมตอง อ�ำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย
ปูมประวัติวัดถืมตอง
เดิมชื่อว่า “วัดสวนตอง” ตั้งอยู่บริเวณดงสามหมื่น ชาวบ้าน ในสมัยนั้นเรียกตามภาษาพื้นบ้านว่า “วัดหัวดง” สร้างขึ้นก่อน จุลศักราช 942 หรือ พ.ศ. 2123 ต่อมาบ้านสวนตองถูกลาว ค้อนก้อน บุกเข้ามายึดเอาบ้านเอาเมืองท�ำลายวัดวา อาราม เผาบ้านเผาเมือง ขับไล่ผู้คน จึงพากันอพยพหนีเอาตัวรอด และ ยึดครองบ้านสวนตอง เป็นระยะเวลานานถึง 219 ปี จนถึง ปีจุลศักราช 1161 หรือ พ.ศ. 2332 เจ้าหลวงอัตวรปัญโญ ได้ น�ำทหารเข้าขับไล่ท�ำลายข้าศึกให้แตกพ่ายหนีไปทางทิศตะวันตก ไปทางบ้านหลวง เชียงม่วน เชียงค�ำ และท่านก็รวบรวมผู้คน ได้จ�ำนวน 5397 คน กลับมาเมืองน่านในปีนั้นเอง
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
. - 01/04/2562 14:09:19 PM
จนถึงปี พ.ศ. 2435 ได้แต่งตั้ง พระอินต๊ะ อินทะวังโส รักษา การเจ้าอาวาสรูปแรก ต่อมาในปี พ.ศ. 2456 - พ.ศ. 2457 เจ้าอาวาสมีนามว่า เจ้าอาคะ อัตคจิตโต ได้ร่วมกับฝ่ายคฤหัสถ์ อันมี เจ้าน้อยมหายศ มหาวงศนันท์ ซึ่งเป็นก�ำนันคนแรกของ บ้านสวนตอง และนายติ ผู้ใหญ่บ้านและคณะศรัทธาวัดสวนตอง ได้ร่วมกันเสนอขอพระราชทานวิสุงคามสีมาจากพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 พระองค์ได้พระราชทาน เมื่อพ.ศ. 2456 และได้ท�ำบุญฉลองวิสุงคามสีมา ในปี พ.ศ. 2457 วั ด ถื ม ตองจึ ง เป็ นวั ด ที่ ถู ก ต้ อ ง และมี ส ภาพเป็ นวั ด ที่ ส มบู ร ณ์ ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 121
121
. - 01/04/2562 14:09:20 PM
พระธาตุ น วมมหาราชมิ่งมงคล
องค์พระธาตุเจ้านวมมหาราชมิง่ มงคลนัน้ คณะศรัทธาวัดถืมตอง ได้รับความเมตตาจากพระเดชพระคุณท่านพระครูสิริธรรมภาณี เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองน่าน เจ้าอาวาสวัดมิง่ เมือง ได้รบั เป็นประธาน อ�ำนวยการสร้าง ฝ่ายสงฆ์และได้รับความกรุณาจากท่านพลเอก จงศักดิ์ พานิชกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ได้รบั กรุณารับเป็น ประธานอ�ำนวยการสร้างฝ่ายคฤหัสถ์ และได้รบั ความเมตตาอุปถัมภ์ และการสนับสนุนจากหลายฝ่าย ทัง้ คณะสงฆ์ ส่วนราชการ องค์กร ทัง้ ภาครัฐ และภาคเอกชน บริษทั ห้าง ร้าน พ่อค้า คหบดี คณะศรัทธา หมู่บ้าน ต�ำบล อ�ำเภอ จังหวัด ตลอดจนพุทธศาสนิกชนผู้ใจบุญ ทั้งในจังหวัดน่าน ต่างจังหวัด และในกรุงเทพมหานครเป็นต้น ลักษณะองค์พระธาตุเจดีย์ทรงแบบล้านนา รูปทรงระฆัง มี ส่วนประกอบจากส่วนยอดด้านบนสุดถึงชั้นฐานพระธาตุดังนี้ ส่ ว นยอดสู ง สุ ด ของพระธาตุ เป็ น ส่ ว นที่ เ ป็ น ยอดฉั ต ร 9 ชั้ น มีความสูง 2 เมตร ฐานฉัตรมีขนาดเส้น ผ่าศูนย์กลาง 1 เมตร มีลูกแก้วอยู่ปลายสุดหัวปลี รองรับตัวก้านฉัตรอย่างลงตัวพอดี ถัดลงมาจะเป็นชั้นที่มีลักษณะคล้ายรูปหัวปลี ส่วนบนเรียกว่า ปลียอด ส่วนฐานหัวปลีเรียกปลีตน้ บริเวณส่วนปลีตน้ จะมีบวั หงาย รองรับรอบฐานปลีตน้ อย่างสวยงาม ถัดลงมาเป็นส่วนของปล้องไฉน ลดหลัน่ เป็นชัน้ ๆ จากชัน้ บนลงหาส่วนฐานปล้องไฉน จ�ำนวน 9 ชัน้ ฐานปล้องไฉนจะมีบัวคว�่ำ บัวหงายรองรับ ต่อจากฐานบัวคว�่ำที่รองรับปล้องไฉน จะเป็นส่วนที่เรียกว่า ระฆังคว�่ำ ลักษณะคล้ายรูประฆังคว�่ำ โดยทั่วไปเรียกว่า องค์ระฆัง ซึง่ เป็นส่วนทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ขององค์พระธาตุ เนือ่ งจากภายในองค์ระฆัง ได้บรรจุมวลสารศักดิส์ ทิ ธิข์ องผูศ้ รัทธาและพุทธศาสนิกชนทัว่ สารทิศ ที่ส�ำคัญคือ พระบรมสารีริกธาตุที่ได้รับเมตตาประทานจาก สมเด็จพระพุฒาจารย์(เกี่ยว อุปเสโณ) ประธานผู้ปฏิบัติหน้าที่ สมเด็จพระสังฆราช วัดสระเกศ กรุงเทพมหานคร พร้อมทั้ง พระผงพุทธคุณ จ�ำนวน 84000 องค์ อันหมายถึง หลักพระธรรม ค�ำสอน ทีอ่ งค์สมั มาสัมพุทธเจ้า ได้ทรงตรัสรูช้ อบจ�ำนวน 84,000 พระธรรมขันธ์ คณะศรัทธาวัดถืมตอง และพุทธศาสนิกชนร่วมกัน สร้างขึ้นเพื่อบรรจุไว้เป็นที่สักการบูชาสืบต่อไป การที่องค์พระธาตุ นวมหาราชมิ่งมงคล ได้สร้างขึ้นส�ำเร็จ ลุล่วงด้วยดีนั้นหมายถึง ผู้อุปถัมภ์ทั้งฝ่ายพระสงฆ์ ฝ่ายคฤหัสถ์ ศรัทธาวัดถืมตองและพุทธศาสนิกชน ทุกคนทุกราศี ทุกนักษัตร ได้เลื่อมใสและมีจิตศรัทธาร่วมกันที่จะสืบทอดพระพุทธศาสนา ให้คงอยู่และมีความก้าวหน้าสืบไปตลอดกัลปาวสาน ทุกราศีที่อยู่ตรงฐานขององค์พระธาตุ หมายถึงความรัก ความ สมัครสมานสามัคคี การเป็นน�ำ้ หนึง่ ใจเดียวกัน ทีจ่ ะปกป้อง อนุรกั ษ์ ร่วมกันปฏิบตั ติ ามหลักพระธรรมค�ำสอน น�ำมาเป็นหลักยึดเหนีย่ ว ทางใจเพื่ อ ให้ ป ฏิ บั ติ ดี ปฏิ บั ติ ช อบ ให้ เ ป็ น ศิ ริ ม งคลแก่ ตนเอง ครอบครัว ร่วมกันสร้างสรรค์สังคม เกิดความสงบสุขโดยทั่วกัน 122
.indd 122
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
. - 01/04/2562 14:09:21 PM
พระวิหารวัดถืมตอง
วัดถืมตองมีพระวิหารหลังเดิมซึ่งเก่าแก่และช�ำรุดทรุดโทรม ตามสภาพกาลเวลา ทางศรัทธาวัดถืมตองจึงได้มมี ติให้ทำ� การรือ้ ถอน วิหารหลังเก่าเมื่อปี พ.ศ. 2529 และเริ่มก่อสร้างพระวิหารหลังนี้ เมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2530 โดยการระดมทุนจากการบริจาค และการท�ำบุญของศรัทธาวัดถืมตองร่วมกัน ท�ำการก่อสร้างเสร็จ เมือ่ เดือนธันวาคม พ.ศ. 2539 ใช้เวลาท�ำการก่อสร้างทัง้ หมด 9 ปี 2 เดือน และได้รว่ มกันถวายทาน เมือ่ วันที่ 6-8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540 ให้เป็นสมบัตขิ องพระพุทธศาสนาและเป็นทีป่ ฏิบตั ศิ าสนกิจร่วมกัน ของพุทธศาสนิกชนสืบต่อไป ปัจจุบันวัดถืมตองมีอายุได้ 439 ปี นับเป็นวัดที่เก่าแก่ และ มีความเป็นมาที่ยาวนานวัดหนึ่งของจังหวัดน่าน
วั ด ถื ม ตอง ส่งเสริมสุข ภาพ มีความร่มรื่น ที่พักผ่อนรอบบริเ วณวัด
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 123
123
. - 01/04/2562 14:09:21 PM
H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดมิ่งเมือง พระสุนทรมุนี (เสน่ห์ ฐานสิริ) เจ้าอาวาสวัดมิ่งเมือง
124
วัดมิง่ เมือง ตัง้ อยู่ ณ หมูบ่ า้ นมิง่ เมือง ต�ำบลในเวียง อ�ำเภอเมือง จังหวัดน่าน อยู่ห่างจากพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติน่าน (ซึ่งเดิมคือ หอค�ำ ทีป่ ระทับของเจ้าผูค้ รองนครน่าน) ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ประมาณ 400 เมตร เดิมเป็นวัดร้างที่มีขนาดพื้นที่กว้างใหญ่ คุณพ่อส�ำราญ จรุงจิตประชารมณ์ บ้านมงคล ต�ำบลในเวียง อ� ำ เภอเมื อ งน่ า น จั ง หวั ด น่ า น อดี ต มหาดเล็ ก หุ ้ ม แพรใน เจ้ามหาพรหมสุรธาดา เจ้าผู้ครองนครน่านองค์สุดท้าย ปราชญ์ ทางประวัติศาสตร์เมืองน่าน สันนิษฐานว่า วัดร้างที่เป็นที่ตั้ง ของวัดมิ่งเมืองในปัจจุบันนี้น่าจะเป็น “วัดห้วยไคร้” ซึ่งมีมาก่อน หรือ พร้อมกับการตั้งเมืองภูเพียงแช่แห้ง
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 124
. - 01/04/2562 11:53:47 AM
ต่อมาเมื่อมีการย้ายเมืองน่านจากเมืองภูเพียงแช่แห้ง ข้ามมา ตั้ ง เมื อ งน่ า นใหม่ ขึ้ น บนฝั ่ ง ตะวั น ตกของแม่ น�้ ำ น่ า น ซึ่ ง ตาม พงศาวดารเมืองน่านกล่าวว่า ตัง้ เมืองน่านใหม่ขนึ้ ณ บ้านห้วยไคร้ เป็นธรรมเนียมและความศรัทธาของชาวพุทธทุกภาคในประเทศไทย ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน กล่าวคือเมื่อรวมตัวกันตั้งเป็นหมู่บ้าน หรือต�ำบล ก็จะต้องสร้างวัดประจ�ำหมู่บ้านหรือต�ำบลของตนขึ้น วัดห้วยไคร้ก็คงจะถูกตั้งหรือสร้างขึ้นพร้อมกับหมู่บ้านห้วยไคร้ ตามธรรมเนี ย มดั ง กล่ า ว ลุ ถึ ง สมั ย ของเจ้ า อนั น ตวรฤทธิ เ ดช เจ้าผู้ครองนครน่าน องค์ท่ี 62 ในปีพุทธศักราช 2400 พระองค์ เสด็จถวายสักการะบวงสรวงเสาพระหลักเมืองน่าน หรือเสามิง่ เมือง ซึง่ เรียกขานกันในสมัยนัน้ ตัง้ อยูท่ างทิศตะวันตกเฉียงใต้ของหอค�ำ ใกล้กบั วัดร้าง คือวัดห้วยไคร้ดงั กล่าว พระองค์ทรงมีศรัทธาปสาทะ ในบวรพระพุทธศาสนาจึงโปรดให้สร้างวัดใหม่ขึ้น ณ บนที่วัดร้าง และโปรดให้ตั้งชื่อวัดใหม่นี้ว่า วัดมิ่งเมือง ด้วยเป็นวัดที่ตั้งอยู่ ใกล้ชิดกับเสามิ่งเมือง
จนถึงสมัยของ เจ้ามหาพรหมสุรธาดา เจ้าผู้ครองนครน่าน องค์ที่ 64 (องค์สุดท้าย)โปรดให้สร้าง พระเจดีย์มิ่งขวัญเมืองขึ้น และโปรดให้มีการบูรณะวัดมิ่งเมืองครั้งใหญ่ เมื่อเสร็จสิ้นแล้ว โปรดให้มกี ารสมโภชเป็นเวลา 7 วัน 7 คืน ซึง่ มีจารึกไว้ในแผ่นศิลา และศิลานี้ประดิษฐานอยู่หน้าเจดีย์มิ่งขวัญเมืองมาจนถึงปัจจุบัน และตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2521 เป็นต้นมา พระคุณเจ้าท่านพระครูสริ ธิ รรมภาณี (เสน่ห์ ฐานสิริ ปัจจุบนั คือ พระสุนทรมุนี รองเจ้าคณะจังหวัดน่าน) เจ้าอาวาสวัดมิ่งเมือง เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองน่าน ในขณะนั้น ได้น�ำ คณะสงฆ์และคณะศรัทธาชาววัดมิง่ เมือง ตลอดถึงพุทธศาสนิกชน ที่ให้การอุปถัมภ์สนับสนุนด�ำเนินการ พัฒนาบูรณะปฏิสังขรณ์ วัดมิ่งเมืองมาโดยตลอดจนถึงปัจจุบัน
ต่อมาท่านได้สร้างอุโบสถหลังใหม่คืออุโบสถสีขาว ขึ้นแทน อุโบสถหลังเก่าทีช่ ำ� รุดทรุดโทรมเมือ่ ปีพ.ศ. 2529 โดยได้เคลือ่ นย้าย พระพุทธมิ่งเมือง พระประธานในอุโบสถเดิมซึ่งสร้างขึ้น ตั้งแต่ พ.ศ. 2400 เป็ น พระพุ ท ธรู ป ก่ อ ด้ ว ยอิ ฐ ถื อ ปู น ลงรั ก ปิ ด ทอง ปางมารวิชัย หน้าตักกว้าง 4 ศอก ศิลปะสุโขทัยสกุลช่างน่าน ได้ เคลื่อนย้ายจากฐานชุกชีของอุโบสถหลังเดิม ซึ่งหันหน้าไปทาง ทิศตะวันออก แล้วสร้างฐานชุกชีขึ้นใหม่ในอุโบสถหลังใหม่คือ หลังปัจจุบัน หันพระพักตร์พระประธานขึ้นทางทิศเหนือ ซึ่งเป็น ทิศที่ตั้งของศาลเสาพระหลักเมืองน่าน ศาลพระหลักเมืองจึง ตัง้ อยูห่ น้าอุโบสถโดยปริยาย อุโบสถสีขาวหลังนีใ้ ช้เวลาก่อสร้างนาน ประมาณ 10 ปี สิ้นค่าก่อสร้างประมาณ 18 ล้านบาท เมื่อสร้าง แล้วเสร็จได้ร่วมใจกันถวายเป็นพระราชกุศลเฉลิมพระเกียรติแด่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ในมหามงคลสมัยทีพ่ ระองค์ทา่ นทรงเจริญพระชนมายุครบ 6 รอบ พระนักษัตร เมื่อปีพ.ศ. 2540 เป็นอุโบสถสีขาวหลังแรกของ ภาคเหนื อตอนบน ปั จ จุ บั นวั ด มิ่ ง เมื องจึ ง เป็นแหล่ง ท่องเที่ยว ที่ส�ำคัญแห่งหนึ่งของจังหวัดน่าน ที่มีนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและ ชาวต่างประเทศเข้าเยี่ยมชมอุโบสถล้านนา และถวายสักการะ เสาพระหลักเมืองน่าน ซึ่งตั้งอยู่ใจกลางวัดทุกวันมิได้ขาด
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 125
125
. - 01/04/2562 11:53:54 AM
H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดดอนมูล อ�ำเภอเมืองน่าน โชคดี มั่งมี ศรีสุข... ปล่อยวาง ข้ามวัฏฏะ นมัสการ สมเด็จพระพุทธนิมิตมิ่งมงคลประทานพรเลิศอุดมบารมี ณ อุโบสถหินอ่อนทรงเรือส�ำเภา พระครูสิรินันทวิทย์ (สมบัติ รตนปัญโญ มูลแก้ว) เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองน่าน เจ้าอาวาสวัดดอนมูล
126
.indd 126
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
. - 01/04/2562 10:53:29 AM
บันทึกกว่าจะมาเป็น “อุโบสถหินอ่อนวั ดดอนมู ล”
อุโบสถวัดดอนมูลหลังนี้ ได้ทำ� การก่อสร้างขึน้ ใหม่แทนหลังเก่า ทีช่ ำ� รุดทรุดโทรมลงอย่างมาก เนือ่ งจากก่อด้วยอิฐ และหมดสภาพแล้ว เวลาถูกน�ำ้ จะท�ำให้อฐิ ละลายทันที ไม่มคี วามมัน่ คงถาวร ซึง่ จะเป็น อันตรายแก่พระสงฆ์ และคณะศรัทธาญาติโยมที่เข้ามาประกอบ ศาสนกิจได้ ในช่วงเวลาที่ท�ำการรื้อถอนและสร้างอุโบสถหินอ่อน มีพระครูสริ นิ นั ทวิทย์ เป็นเจ้าอาวาส และเป็นเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองน่าน ได้ท�ำการรื้อถอนเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 โดยชาวบ้าน ทั้ง 2 หมู่บ้านช่วยกัน และประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์ เมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2555 เวลา 08.25 น. และประกอบพิธีปลุกเสาเอก เมือ่ วันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2555 โดยมีชา่ งวุฒไิ พศาล ไพลินชูเชิด (ช่างชุม) จากจังหวัดชลบุรี เป็นหัวหน้าผู้ด�ำเนินการก่อสร้าง ในการก่อสร้างอุโบสถหินอ่อนหลังนี้ โครงสร้างเป็นคอนกรีต เสริมเหล็กทั้งหมด เสา คาน เพดานเป็นพื้นคอนกรีต และหลังคา เทคอนกรีตก่อนจึงปูกระเบื้องเคลือบ ส�ำหรับฝาผนังทั้งด้านใน และด้านนอก เป็นหินอ่อนทัง้ หมด โดยซือ้ จากบริษทั สว่างหินอ่อน อ�ำเภอพรานกระต่าย จังหวัดก�ำแพงเพชร ส่วนพื้นเป็นหินแกรนิต จากจังหวัดตาก โดยรูปทรงอุโบสถหินอ่อน เป็นลักษณะรูปทรง เรือส�ำเภาเงิน ส�ำเภาทอง ล้อมรอบด้วยก�ำแพงหินอ่อน มีสระน�้ำ ไหลวน ข้างหน้า ประดับด้วยสิงห์ขนาบ 2 ข้างบันไดขึ้นลง ภายในอุโบสถ ประดิษฐานพระพุทธรูปที่ส�ำคัญ ประกอบด้วย พระประธาน ปางประทานพรชื่อว่าสมเด็จพระพุทธนิมิตมิ่งมงคล ประทานพรเลิ ศ อุ ด มบารมี โดยมี คุ ณ พงษ์ ภ าณุ เศวตรุ น ทร์ ปลั ด กระทรวงการท่ อ งเที่ ย วและกี ฬ า คุ ณ พชร อนั น ตศิ ล ป์ อธิบดีกรมธนารักษ์ และคุณกุลิศ สมบัติศิริ อธิบดีกรมศุลกากร พร้อมด้วยคณะ เป็นเจ้าภาพสร้าง และองค์พระพุทธรูปทีอ่ ยูด่ า้ นหน้า อีก 3 องค์นั้น เป็นพระพุทธรูปเก่าแก่ที่อยู่คู่กับอุโบสถหลังเดิม มาตั้งแต่เริ่มแรก มีอายุประมาณ 200 กว่าปีแล้ว ซึ่งสร้างขึ้น พร้อมกับการปลูกต้นศรีมหาโพธิ(์ ต้นสะหลี) ทีอ่ ยูด่ า้ นหน้าวัด 2 ต้น และธรรมาสน์เอก ที่ทางวัดดอนมูล ได้รับบริจาคมาตั้งแต่สมัย มีเจ้าผู้ครองนครน่าน มีอายุประมาณ 100 กว่าปีแล้ว ปริศนาธรรม “อุโบสถหิน อ่อนทรงเรือส�ำเภา”
ทรงเรือส�ำเภา เป็นเครื่องหมายบ่งบอกถึง เรือ เป็นพาหนะ น�ำคนทัง้ หลายข้ามพ้นวัฏฏะสงสาร ข้ามพ้นจากการเวียนว่ายตายเกิด ข้ามพ้นจากความโลภ โกรธ หลง อีกนัยหนึ่งก็คือ เรือส�ำเภา เป็น เครื่องหมายถึงความอุดมสมบูรณ์ เก็บทรัพย์สินเงินทองให้มี ความเจริญรุ่งเรือง มั่งมี ศรีสุข น�ำไปสู่ความเจริญก้าวหน้า สระน�้ำล้อมรอบ เป็นเครื่องหมายถึง การก้าวข้ามปัญหา อุปสรรคนานาประการ ข้ามพ้นความโลภ โกรธ หลง เข้าสูค่ วามสงบ ร่มเย็น เข้าสู่จุดหมายปลายทางแห่งความส�ำเร็จ
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 127
127
. - 01/04/2562 10:53:42 AM
ประวั ติ พ ระครูสิรินัน ทวิท ย์
พระครูสริ นิ นั ทวิทย์ (สมบัติ รตนปญฺโญ ปธ.5 ,นธ.เอก, ศน.บ., กศ.ม.) เจ้าอาวาสวัดดอนมูล, เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองน่าน พระครูสิรินันทวิทย์ ฉายา รตนปญฺโญ นามเดิม สมบัติ มูลแก้ว อายุ 54 ปี เกิดวันศุกร์ที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2507 พ่อแม่ นายก�่ำ และ นางขันแก้ว มูลแก้ว บ้านเลขที่ 39 หมู่ที่ 13 บ้านดอนมูลพัฒนา ต�ำบลดู่ใต้ อ�ำเภอเมือง จังหวัดน่าน บรรพชา วันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2522 ณ วัดดอนมูล ต�ำบลดูใ่ ต้ อ�ำเภอเมือง จังหวัดน่าน พระอุปัชฌาย์ พระโสภณธรรมวาที (ปั จ จุ บั น เป็ น พระธรรมนั น ทโสภณ เจ้ า คณะจั ง หวั ด น่ า น) วัดพระธาตุช้างค�ำวรวิหาร ต�ำบลในเวียง เขต 1 อ�ำเภอเมือง จังหวัดน่าน อุปสมบท วันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2528 ณ วัดดอนมูล ต�ำบลดูใ่ ต้ อ�ำเภอเมือง จังหวัดน่าน พระอุปัชฌาย์ พระโสภณธรรมวาที (ปั จ จุ บั น เป็ น พระธรรมนั น ทโสภณ เจ้ า คณะจั ง หวั ด น่ า น) วัดพระธาตุช้างค�ำวรวิหาร ต�ำบลในเวียง เขต 1 อ�ำเภอเมือง จังหวัดน่าน พระกรรมวาจาจารย์ พระครูสมุห์เสน่ห์ ฐานสิริ (ปัจจุบันพระสุนทรมุนี รองเจ้าคณะจังหวัดน่าน) วัดมิ่งเมือง ต�ำบลในเวียง เขต 1 อ�ำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน พระอนุสาวนาจารย์ พระธรรมธรสนิท กิตตฺ วิ ฑฺฒโน (ปัจจุบนั เป็น พระครูพบิ ลู นันทวัฒน์) วัดม่วงตึ๊ด ต�ำบลม่วงตึ๊ด อ�ำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน 128
.indd 128
วุฒิก ารศึก ษา
พ.ศ. 2526 ได้นักธรรมชั้นเอก จากส�ำนักเรียนศาสนศึกษา วัดพญาภู อ�ำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน พ.ศ. 2533 จบการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จาก โรงเรียนนันทบุรีวิทยา อ�ำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน พ.ศ. 2539 สอบไล่ได้เปรียญธรรม 5 ประโยค จากส�ำนักเรียน ศาสนศึกษาวัดพญาภู พระอารามหลวง อ�ำเภอเมือง จังหวัดน่าน พ.ศ. 2542 ส�ำเร็จการศึกษาปริญญาตรี ศาสนศาสตรบัณฑิต (ศน.บ.) จากมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย พ.ศ. 2545 ส�ำเร็จการศึกษาปริญญาโท การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) จากมหาวิทยาลัยนเรศวร ผลงานดีเ ด่น
พ.ศ. 2548 ได้เข้ารับพระราชทานเสาเสมาธรรมจักร จาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พ.ศ. 2550 ได้รับการคัดเลือกเป็นคนดีศรีเมืองน่าน การศึก ษาดูงาน
พ.ศ. 2550 ศึกษาดูงานสังเวชนียสถาน ณ ประเทศอินเดีย และเนปาล พ.ศ. 2557 ศึกษาดูงานพระพุทธศาสนา ณ ประเทศเยอรมัน
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
. - 01/04/2562 10:53:59 AM
พระพุทธนันทมหามุนี “หลวงพ่อโต” พระประธานองค์ ใหญ่ที่สุดในจังหวัดน่าน
วัดพญาภู พระอารามหลวง สักการบูชาพระธาตุเสด็จ แห่งพระธาตุเจ้าเจ้าพญาภู พระราชศาสนาภิบาล (ดิเรก วชิรปญฺโญ ป.ธ.9) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดพญาภู พระอารามหลวง ต�ำบลในเวียง อ�ำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี(ชนิดสามัญ) เป็นวัดที่มี ความส�ำคัญแห่งหนึ่งของจังหวัดน่าน ตามพงศาวดารเมืองน่าน 129
.indd 129
กล่าวไว้ว่า สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 1956 โดยพระยาภูเข็ง(พญาภู) เจ้าผู้ครองนครน่าน แห่งราชวงศ์ภูคา ภายในวัดมีปูชนียสถาน และปู ช นี ย วั ต ถุ ที่ ส� ำ คั ญ เช่ น พระพุ ท ธปฏิ ม าที่ ใ หญ่ ที่ สุ ด ในจั ง หวั ด น่ า น พระพุ ท ธรู ป ปางลี ล า สมั ย สุ โ ขทั ย 2 องค์ ประดิ ษ ฐานอยู ่ ใ นพระวิ ห าร และซุ ้ ม ประตู โ ขงที่ ใ หญ่ ที่ สุ ด ในจังหวัดน่าน เป็นต้น นอกจากนี้ วัดพญาภู ยังมีโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม ทีม่ กี ารจัด การเรียนการสอนวิชาการทางพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะ คือ แผนกธรรม-บาลี ซึ่งมีการจัดการศึกษาแห่งเดียวใน จังหวัดน่าน ทั้งนี้ เพื่อเป็นการสืบทอดพระพุทธศาสนา
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
. - 01/04/2562 10:34:14 AM
H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดสมุน สักการะ “ พระหลวงพ่อแก่นจันทร์ ” พระพุทธรูปอายุกว่า 700 ปี พระครูอุปถัมภ์นันทวัฒน์ รองเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองน่าน ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดสมุน
130
.indd 130
การบริหารการปกครอง มีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนามดังนี้
1. 2. 3. 4. 5.
พระอธิการอินเขียน โกวิโท พระอธิการสวัสดิ์ พระอธิการศรีจันทร์ กลลญาณธมโม พระอธิการอินเปลี่ยน ขีณมโล พระครูอุปถัมภ์นันทวัฒน์ เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
. - 01/04/2562 14:38:23 PM
วัดสมุน ตั้งอยู่ที่บ้านสมุน เลขที่ 58 หมู่ที่ 7 ต�ำบลดู่ใต้ อ�ำเภอเมือง จังหวัดน่าน สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินที่ตั้งวัด มีเนือ้ ที่ 1 ไร่ 3 งาน วัดสมุน สร้างเมือ่ วันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2475 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2528 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 12.20 เมตร ยาว 20.10 เมตร โดยเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ.2557 พระบาทสมเด็จพระ ปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานผ้าพระกฐินให้ศาสตราจารย์(พิเศษ) ดร.เอนก ธรรมทัศน์ เป็น ผู้อัญเชิญผ้าพระกฐินไปทอดถวายยังที่ชุมนุมสงฆ์วัดสมุน
ต�ำบลดู่ใต้ อ�ำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน สร้างความปลาบปลื้ม ให้แก่พสกนิกรชาวบ้านสมุนเป็นอย่างยิง่ โดยมีนายบุญยัง เรือนกุล นายอ�ำเภอเมืองน่าน นายสุรพล เธียรสูตร นายกเทศมนตรีเมืองน่าน ในขณะนัน้ พร้อมด้วยข้าราชการ หน่วยงาน องค์กร ก�ำนัน ผูใ้ หญ่บา้ น และประชาชนเข้าร่วมพิธีเป็นจ�ำนวนมาก ทั้งนี้ พุทธศาสนิกชน ได้ร่วมกันท�ำบุญรวมกว่า 2 ล้านบาท เพื่อถวายแด่พระสงฆ์ ผู้อยู่จ�ำพรรษาถ้วนไตรมาส และเพื่อท�ำนุบ�ำรุงพระพุทธศาสนา ให้คงอยู่สืบไป การศึกษา มีโรงเรียนพระปริยัติธรรมเปิดสอนตั้งแต่ปี พ.ศ. 2476
บันทึก
ประวัติพ ระครูอุปถัมภ์นันทวั ฒน์ พระครูอุปถัมภ์นันทวัฒน์ ฉายา กิตฺติโสภโณ อายุ 57 ปี พรรษา 36 เดิมชื่อ นายอรรถพล นามสกุล ตีระชิ้น เกิด วันจันทร์ที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2505 วิทยฐานะ นธ.เอก ปริญญาตรี ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดสมุนเมื่อ พ.ศ. 2529 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะต�ำบลดูใต้ เขต 2 เมื่อ พ.ศ. 2548 และแต่งตั้งเป็นรองเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองน่าน เมื่อ พ.ศ. 2556
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 131
131
. - 01/04/2562 14:38:38 PM
พระพุ ท ธรูป เก่าแก่ข องวัด สมุน พระหลวงพ่อ แก่นจันทน์
เป็นพระพุทธรูปไม้แก่นจันทน์แกะสลักโดยช่างจังหวัดน่าน ที่ มี ค วามช� ำ นาญ และได้ ถ วายเป็ น พุ ท ธบู ช าไว้ ใ ห้ กั บ วั ด สมุ น ซึ่งมีอายุเก่าแก่ประมาณ 700 กว่าปี โดยทางวัดได้เก็บรักษาไว้ เป็นอย่างดีเพื่อให้พุทธศาสนิกชนได้กราบไหว้และบูชาต่อไป ต�ำ นานพระแก่นจันทน์ พระพุทธรูปองค์แ รกในพระพุทธศาสนา
ในต�ำนานเรื่องพระแก่นจันทน์ได้พรรณนาเรื่องพระพุทธรูป องค์แรกไว้ว่า ในสมัยที่พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าเสด็จ ขึ้นไปประทับ ณ สวรรค์ชั้นดาวดึงส์เพื่อแสดงธรรมโปรดพระพุทธ มารดา ในระหว่างนั้นพระเจ้าปเสนทิโกศลมิได้เห็น และมิได้มี โอกาสฟังธรรมจากผู้มีพระภาคเจ้าเหมือนเช่นแต่ก่อนมา ท�ำให้ บังเกิดความระลึกถึงที่สุด เฝ้าแต่ร�ำพึงถึงพระองค์ตลอดเวลา ทั้ ง นี้ ก็ ด ้ ว ยความเคารพและศรั ท ธาในองค์ ส มเด็ จ พระสั ม มา สัมพุทธเจ้า พระเจ้าปเสนทิโกศลจึงสั่งเจ้าพนักงานหาท่อนไม้ แก่นจันทน์หอมอย่างดีมาถวาย แล้วโปรดให้นายช่างแกะเป็นรูป พระพุทธเจ้าปางประทับนั่ง มีพระรูปโฉมโนมพรรณงามละม้าย คล้ายพระบรมศาสดาประดิษฐานไว้ในพระราชนิเวศน์ที่พระพุทธ องค์เคยประทับเพือ่ ทอดพระเนตรและสักการบูชาเหมือนแต่กอ่ นมา พอให้คลายความอาวรณ์การระลึกถึงได้บ้าง...พระแก่นจันทน์ ที่พระเจ้าปเสนทิโกศลโปรดให้สร้างขึ้น จึงถือได้ว่าเป็นพระพุทธ รูปองค์แรกในพระพุทธศาสนา
132
.indd 132
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
. - 01/04/2562 14:38:41 PM
2.indd 999
3/8/2561 9:24:03
H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดน�้ำครกใหม่
สันนิษฐานว่าหนองนี้เหมือนน�้ำขังอยู่ในครก จึงให้ชื่อว่าน�้ำครก พระครูอาทรนันทวัฒน์ อาภากโร เจ้าคณะต�ำบลกองควาย ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดน�้ำครกใหม่
134
วัดน�้ำครกใหม่ ต�ำบลกองควาย อ�ำเภอเมือง จังหวัดน่าน มีภาพวาดฝาผนังวัดน�ำ้ ครกใหม่ เป็นภาพพุทธประวัตขิ องพระพุทธเจ้า และภาพวาดประวัติของหมู่บ้านน�้ำครกใหม่ ชาวเชียงแสน โดย จินตนาการจากท่านพระครูอาทรนันทวัฒน์ อาภากโร เจ้าอาวาส วัดน�้ำครกใหม่ ซึ่งท่านเป็น ผู้ริเริ่มการก่อสร้างพระอุโบสถแห่งนี้ จากการได้รับค�ำบอกเล่าสืบต่อกันมา เมื่อ พ.ศ. 2539 บ้านน�ำ้ ครกใหม่ ตัง้ อยูใ่ นต�ำบลกองควาย อ�ำเภอเมือง จังหวัดน่าน เป็ น หมู ่ บ ้ า นที่ อ ยู ่ ท างใต้ สุ ด ของอ� ำ เภอเมื อ งน่ า น ติ ด ต่ อ กั บ อ�ำเภอเวียงสาหลักกิโลเมตร ที่ 11 ทิศเหนือติดกับบ้านนาผา ทิศใต้ตดิ กับบ้านสันติสขุ (ปางสีเสียด) อ�ำเภอเวียงสา ทิศตะวันออก ติดกับแม่น�้ำน่านและบ้านน�้ำครกเก่า ทิศตะวันตกติดภูเขา ทุ่งนา ป่า และสวน
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 134
. - 01/04/2562 11:04:39 AM
ต�ำนานเล่าขานบ้านน�ำ้ ครกใหม่มมี าช้านานว่า ชาวบ้านน�ำ้ ครกใหม่ สืบเชื้อสายมาจากชาวเชียงแสน เดิมตั้งถิ่นฐานอยู่ที่ประเทศจีน ตอนใต้ ถูกจีนรุกรานอพยพมาอยู่ทางตอนเหนือของประเทศไทย ชาวเชียงแสนได้อพยพมาอยู่ที่เชียงแสนหลวง (อ�ำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงรายปัจจุบัน) ต่อมาถูกไทยใหญ่รุกรานจึงได้อพยพ หนีลงมาตามล�ำน�ำ้ โขงและบางพวกก็หนีมาทางบก พวกทีห่ นีลงมา ตามล�ำน�้ำโขงได้มาขึ้นบกที่เมืองบ่อแตน เมืองแก่นเท้าซึ่งขึ้นกับ ล้านข้างของประเทศลาว ได้ตั้งถิ่นฐานอยู่ที่นี่เป็นเวลานานก็มีอีก พวกหนึ่งเห็นว่าการท�ำมาหากินฝืดเคืองพื้นที่ท�ำมาหากินมีน้อย เพราะคนมากขึ้น จึงชวนกันอพยพมาหาที่อยู่ใหม่โดยเดินทางมา ทางเมืองเลยและตั้งถิ่นฐานอยู่นั่นระยะหนึ่ง ก็อพยพต่อไปอีก เพราะพื้นที่ท�ำกินไม่อุดมสมบูรณ์และถูกขอมรุกราน จึงพากัน อพยพมาทางทิ ศ ตะวั น ตกเฉี ย งเหนื อ ย้ อ นขึ้ น มาตั้ ง หลั ก อยู ่ ที่ บ้านศรีสะเกษ(อยู่ในอ�ำเภอนาน้อยในปัจจุบัน) ก็ปักหลักอยู่ที่นี่ แต่ ใ นที่ แ ห่ ง นี้ มี ค นอพยพมาอยู ่ ก ่ อ นแล้ ว ซึ่ ง เป็ น ลาว มั ก จะมี ข้ อ พิ พ าทกั บ ลาวบ่ อ ยๆ ก็ พ ากั น หนี ขึ้ น มาทางเหนื อ เล็ ก น้ อ ย พักชั่วคราวอยู่ที่บ้านวังม่วง(อยู่เขตอ�ำเภอเวียงสาในปัจจุบัน)
ตอนนั้นมีหัวหน้ากลุ่มชื่อหลวงหาญ แต่ต�ำนานเล่าว่าเข้าใจว่าเป็น เจ้าหลวงข้อมือเหล็กได้พามาอยู่ที่นี่ วันหนึ่งมีพ่อเฒ่าอินและ แม่เฒ่าสา ได้ออกเสาะหาท�ำมาหากิน ก็มาเจอหนองน�้ำใหญ่ซึ่งมี ปลา ปู กุ้ง หอย ชุกชุมเต็มหนองน�้ำ มองดูขาวเหมือนปุยนุ่น ก็กลับไปบอกพรรคพวกให้พากันมาอยู่ที่หนองน�้ำแห่งนี้ ต่อมา ได้ตั้งชื่อว่า หนองแช่งและสืบเชื้อสายกันมาจนทุกวันนี้ ต่อมาผู้ครองนครน่านได้อพยพมาจากเมืองปัว มาตั้งเมือง อยู่ที่พระธาตุภูเพียง หรือพระธาตุแช่แห้งในปัจจุบันนี้ ก็ได้มี ชาวเชียงแสนบางพวกอยากจะเข้าไปสวามิภกั ดิต์ อ่ ผูค้ รองนครน่าน จึงได้พากันไปตัง้ ถิน่ ฐานอยูท่ บี่ า้ นพญาวัดและบ้านสวนตาลตอนล่าง ซึ่งหลักฐานได้ค้นพบจากพระพุทธรูปในพระวิหารอยู่ตรงหน้า พระประธาน สร้างด้วยไม้ ผู้สร้างคือ แสนมะโนชัย (แสนเป็น ต�ำแหน่งในสมัยนั้น) สร้างมาประมาณ 300-500 ปีมาแล้ว ชาว เชียงแสนที่อพยพมาตั้งถิ่นฐานอยู่ที่หนองแช่งก็ตั้งตัวเป็นปึกแผ่น อย่างดีมีสุขเพราะมีอาหารอุดมสมบูรณ์ในน�้ำมีปลาในนามีข้าว มี ลูกหลานเต็มบ้านเต็มเมือง ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อหมู่บ้านใหม่ว่า “บ้านน�้ำครกหนองแซ่ง” ตามชื่อนี้ที่อยู่ล้อมรอบหัวบ้านท้ายบ้าน
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 135
135
. - 01/04/2562 11:04:48 AM
หนองน�ำ้ แห่งนีผ้ เู้ ฒ่าผูแ้ ก่เล่าว่า เดิมเป็นทางเดินของแม่นำ�้ น่าน แม่นำ�้ น่านเปลีย่ นสายน�ำ้ เดิน ไปอีกทางหนึง่ จึงเกิดเป็นน�ำ้ ขังหนองปิง สันนิษฐานว่าหนองนี้คงจะมีลักษณะเหมือนน�้ำขังอยู่ในครก เมื่อ น�้ำลดลงแล้วน�้ำไหลออกไม่ได้จึงให้ชื่อว่า น�้ำครก ต่อมาได้เปลี่ยน ชื่อหมู่บ้านใหม่วา ่ “บ้านน�้ำครกใหม่” ที่ให้ชื่อน�้ำครกใหม่นี้ก็เพราะ มีน�้ำครกเกิดอยู่ก่อนแล้วทางทิศตะวันออกของแม่น�้ำน่าน ชื่อว่า “บ้านน�้ำครกเก่า” มีหนองน�้ำเช่นเดียวกันนี้น�้ำครกที่เกิดทีหลัง จึงให้ชื่อว่า น�้ำครกใหม่ จนทุกวันนี้ ในสมัยที่นายสวัสดิ์ จันกลิ่น สร้างโรงบ่มใบยาขึ้นบนเกาะแห่งนี้ ได้ตั้งชื่อเกาะที่มีหนองน�้ำ ล้อมรอบแห่งนี้ว่า “เกาะสวรรค์” หรือ “น�้ำครกใหม่เกาะสวรรค์” บ้านน�ำ้ ครกใหม่มพี นื้ ทีก่ ว้างขวาง ส่วนหนึง่ เป็นเกาะอีกส่วนหนึง่ เป็นพื้นราบส่วนหนึ่งอยู่บนเนินสูง มีจ�ำนวนประชากร 400 กว่า หลั ง คาเรื อ น ประชากรประมาณ 1600 กว่ า คนเนื่ อ งจากมี ประชากรเพิม่ มากขึน้ แบ่งการปกครอง เป็น 4 หมูบ่ า้ น ดังต่อไปนี้ บ้านน�้ำครกใหม่ หมู่ที่ 4 บ้านน�้ำครกใหม่-ดอนเจริญ หมู่ที่ 6 บ้านน�้ำครกใหม่-เชิงดอยพัฒนา หมู่ที่ 9 และ บ้านน�้ำครกใหม่เกาะสวรรค์ หมู่ที่ 10 ขึ้นอยู่กับต�ำบลกองควาย อ�ำเภอเมือง จังหวัดน่าน มีผู้น�ำเป็น ผู้ใหญ่บ้านสืบต่อกันมาหลายคน
ประวัติเจ้าอาวาส
พระครูอาทรนันทวัฒน์ ฉายา อาภากโร อายุ 63 ปี พรรษา 38 วิทยฐานะ น.ธ.เอก,ป.บส. ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดน�้ำครกใหม่ เจ้าคณะต�ำบลกองควาย และเป็นประธานหน่วยอบรมประชาชน ประจ�ำต�ำบลกองควาย อุป สมบท เมื่อวันที่ 19 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2524 ณ วัดไก่แก้ว ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดล�ำพูน พระอุปชั ฌาย์ พระญาณมงคล วัดมหาวัน, พระกรรมวาจาจารย์ พระมหาเจริญ โชติธโร วัดมหาวัน, พระอนุสาวนาจารย์ พระมหาชวลิต จิรวฑฒโณ วัดช้างฆ้อง วิทยฐานะ
พ.ศ. 2513 สอบได้นักธรรมชั้นเอก ส�ำนักเรียนวัดพระธาตุ หริภุญชัย อ�ำเภอเมือง จังหวัดล�ำพูน พ.ศ. 2517 ส�ำเร็จชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเมธีวุฒิกร พ.ศ. 2535 เป็นเจ้าอาวาสวัดน�้ำครกใหม่ อ�ำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน พ.ศ. 2551 เป็นเจ้าคณะต�ำบลกองควาย อ�ำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน 136
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 136
. - 01/04/2562 11:04:56 AM
Phetchabun เพชรบูรณ์
ดินแดน สวิตเซอร์แลนด์เมืองไทย ธรรมะ(ชาติ) กลางขุนเขา ณ วัดพระธาตุผาซ่อนแก้ว
www.sbl.co.th SBL บันทึกประเทศไทย
Let's go thailand.indd 137
SBL MAGAZINE
SBL บันทึกประเทศไทย
. - 03/04/2562 13:32:51 PM
H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดบุญยืน พระอารามหลวง วัดบุญยืน อย่าให้ร้าง อนุชน รวมใจกาย
เป็นวัด โรยรา รุ่นหลัง พัฒนา
กษัตริย์สร้าง พาสลาย ทั้งหญิงชาย ให้ถาวร
“พระสาราธิคุณ” ผู้ประพันธ์ พระมหาเกรียงไกร อหึสโก (ป.ธ.9) รก.เจ้าอาวาสวัดบุญยืน พระอารามหลวง เจ้าคณะอ�ำเภอเวียงสา
138
.indd 138
วัดบุญยืน เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ ได้รับ การยกฐานะจากวัดราษฎร์ขึ้นเป็นพระอารามหลวง เมื่อวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2539 ตั้งอยู่เลขที่ 31 หมู่ 4 ต�ำบลกลางเวียง อ�ำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน สังกัดคณะสงฆ์ฝ่ายมหานิกาย ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมาครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2347 กรมศิลปากร ได้ประกาศขึ้นทะเบียนวัดบุญยืน เป็นโบราณสถาน ตามประกาศ ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 61 ตอน 65 ลงวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2487 และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาครั้งหลัง เมื่อ วันศุกร์ที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2499 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 15 เมตร ยาว 30 เมตร
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
. - 01/04/2562 11:07:20 AM
วัดบุญยืน ต้นก�ำเนิดเดิมคือ “วัดบุญนะ” สถานที่ตั้งอยู่ที่ ตลาดสด ซึง่ เป็นทีธ่ รณีสงฆ์ของวัดบุญยืนปัจจุบนั เดิมสร้างเป็นเพียง ส�ำนักสงฆ์เล็กๆ คูก่ บั การสร้างเมือง “เวียงป้อ”(เวียงพ้อ) เมืองเวียงป้อ สร้างขึ้นโดย “พระยาป้อ” จึงเรียกชื่อเมืองตามนามผู้สร้างเมือง แต่มชี อื่ นิยมเรียกกันอีกว่า “เวียงสา” หรือ “เมืองสา” ต่อมาเจ้านาย เสนาอ�ำมาตย์ ประชาราษฎร์ทงั้ หลาย ผูอ้ ปุ ถัมภ์บำ� รุงสืบๆ ต่อกันมา เห็นว่าทีต่ งั้ ของวัดมีเนือ้ ทีค่ บั แคบ จึงได้ยา้ ยวัดไปสร้างใหม่ ห่างจาก วัดเดิมประมาณ 3 เส้น มีเนือ้ ทีก่ ว้างขวาง ซึง่ ติดกับแม่นำ�้ สาตรงปากน�ำ้ ที่ไหลไปบรรจบกับแม่น�้ำน่าน เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2329 บริเวณทีต่ งั้ วัดใหม่นมี้ ปี า่ ไม้สกั ทีส่ มบูรณ์ จึงใช้ไม้สกั สร้างพระวิหาร กุฏิสงฆ์ เสนาสนะอื่นๆ อีกเป็นจ�ำนวนมาก จึงเรียกชื่อวัดว่า “วัดป่าสักงาม” ชื่อวัดป่าสักงามนี้ ด�ำรงอยู่ได้ประมาณ 10 กว่าปี โดยมี ครูบานาย เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก (พ.ศ. 2329-พ.ศ. 2340) ตามข้อสันนิษฐานท่านน่าจะมีเชื้อสายจากราชวงศ์มีอ�ำนาจมาก ต่อมาในปี พ.ศ. 2340 เจ้าฟ้าอัตถวรปัญโญ เจ้าผูค้ รองนครน่าน องค์ที่ 2 ได้เสด็จประพาสเวียงป้อ ทรงมีจิตศรัทธา จึงพร้อมด้วย เสนาอ�ำมาตย์ขา้ ราชบริพารสร้างพระวิหารขึน้ ทรงโปรดเกล้าฯ ให้ หมื่ น สรรพช่ า ง เป็ น นายช่ า งใหญ่ และทรงโปรดเกล้ า ฯ ให้ เจ้าราชวงศ์เชียงของ เป็น ผู้แกะสลักบานประตูใหญ่พระวิหาร สร้างพระพุทธรูปไม้สัก พระพุทธรูปจ�ำลองเจ้าฟ้าอัตถวรปัญโญ และศาสนวั ต ถุ อ่ื น ๆ อี ก เป็ น จ� ำ นวนมาก พ.ศ. 2343 สร้ า ง พระพุทธรูปยืน ปางประทับยืน พระประธานในพระวิหาร สูง 8 ศอก ดังนัน้ จึงได้เปลีย่ นนามวัดว่า “วัดบุญยืน”ตามลักษณะพระพุทธรูป มาจนถึงปัจจุบัน พ.ศ. 2485 ได้มกี ารเปิดโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม ทัง้ แผนกธรรม และแผนกบาลี ซึ่งได้เจริญรุ่งเรืองมาตามล�ำดับ จนกลายเป็น ศู น ย์ ก ลางทางด้ า นการศึ ก ษาพระปริ ยั ติ ธ รรมของคณะสงฆ์ ทัง้ แผนกธรรม แผนกบาลี และแผนกสามัญศึกษา ประจ�ำอ�ำเภอเวียงสา
จากการที่วัดได้รับการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง ปีพ.ศ. 2511 ทางกรมการศาสนา จึงได้คัดเลือกให้เป็น “วัดพัฒนาตัวอย่าง” ปีพ.ศ. 2542 ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ได้คัดเลือกให้ เป็น “วัดอุทยานการศึกษา” และปี พ.ศ. 2546 ได้รับคัดเลือก ให้เป็น “วัดพัฒนาตัวอย่างดีเด่น” ปี พ.ศ. 2544 ได้ก่อสร้างอาคารเรียน โรงเรียนวัดบุญยืน พระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษาขึ้น ต่อมา พ.ศ. 2546 สมเด็จ พระเจ้ า พี่ น างเธอเจ้ า ฟ้ า กั ล ยาณิ วั ฒนา กรมหลวงนราธิ ว าส ราชนครินทร์ เสด็จทรงกราบพระประธานในพระอุโบสถ พ.ศ. 2548 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จทรง เยี่ ย มวั ด บุ ญ ยื น และเสด็ จ ทรงงานที่ โ รงเรี ย นพระปริ ยั ติ ธ รรม ในโครงการตามพระราชด�ำริฯ
ปั จ จุ บั น วั ด บุ ญ ยื น ซึ่ ง ถื อ เป็ น วั ด พระอารามหลวงแห่ ง เดี ย ว ในอ� ำ เภอเวี ย งสา เป็ น วั ด ประจ� ำ อ� ำ เภอที่ เ ป็ น ศู น ย์ ร วมจิ ต ใจของ ประชาชน เป็ น ศู น ย์ ก ลางการศึ ก ษาของคณะสงฆ์ ต ลอดจนศิ ล ปะ วั ฒ นธรรม ประเพณี พิ ธี ก รรมที่ ห ลากหลาย ซึ่ ง ได้ สื บ ทอดมา จนถึ ง ปั จ จุ บั น ตามเจตนารมณ์ ข องบู ร พาจารย์
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 139
139
. - 01/04/2562 11:07:28 AM
H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัสักดการะพระธาตุ ศรีดอนแท่ น เจดีย์ศรีดอนแท่น พระครูธวัชนันทกิตติ์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดศรีดอนแท่น
140
วั ด ศรี ด อนแท่ น ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 93 หมู ่ 2 บ้ า นดอนแท่ น ต�ำบลกลางเวียง อ�ำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 2 ไร่ 2 งาน 96 ตารางวา สร้างขึ้นเมื่อ วันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2360 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2459 เขตวิสุงคามสีมากว้าง 50 เมตร ยาว 56 เมตร ปัจจุบนั พระครูธวัชนันทกิตติ์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 140
“ ชนเหล่าใดจัก ยกขึ้น ซึ่งมาลัย ของหอมหรื อจุ ณ จั ก อภิ ว าท
. - 01/04/2562 14:10:40 PM
ปูมประวัติวัดศรีดอนแท่น
วัดศรีดอนแท่น เดิมชื่อ วัดดอนแท่น เป็นวัดที่เก่าแก่มากที่สุด ของอ�ำเภอเวียงสา สร้างมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2139 ผู้สร้างวัด คือ เจ้าเจตบุตรพรหมมินทร์ เจ้าผู้ครองนครน่านองค์ที่ 36 ผู้เป็นบุตร ของเจ้าพระยาหน่อค�ำเสถียรไชยสงคราม หลังจากที่เจ้าเจตบุตร พรหมมินทร์ ครองเมืองน่านได้ 6 ปี จึงได้เสด็จไปอยูท่ เี่ มืองเวียงป้อ และสร้างวัดดอนแท่นไว้ (ดังหลักฐานจากพงศาวดาร เมืองน่าน) กาลล่วงมาเกือบสองร้อยปีในช่วงนั้น บ้านเมืองฝ่ายเหนือ รวมทั้ง เมืองน่าน อยู่ภายใต้การปกครองของพม่า สมัยอยุธยาบ้านเมือง ระส�่ำระสาย ทั้งลาวล้านช้างและเชียงใหม่เกิดจลาจล เพราะ หัวเมืองต่างๆ ที่ขึ้นกับเชียงใหม่ไม่สามัคคีกัน ท�ำให้พม่ายกทัพ ไปปราบปราม จนล่วงมาถึงสมัยพระนารายณ์ เชียงใหม่ขึ้นกับ กรุงศรีอยุธยา พม่าคิดว่าเมืองน่านจะไปขึน้ กับอยุธยาด้วย จึงยกพล ตีเมืองน่าน ท�ำลายบ้านเมือง จุดไฟเผาวัดเสียหายเหลือไว้แต่ แผ่นดิน ชาวบ้านล้มตาย หลบลี้ หนีหาย เมืองน่านถูกทิ้งร้าง ไม่มี เจ้าเมืองดูแลนานถึง 23 ปี จนถึง พ.ศ. 2239 พระหลวงตื๋น จาก เชียงใหม่มาครองเมืองน่าน พม่ายังคงมีอ�ำนาจมาก ด้วยการ ยกทัพไปตีเชียงใหม่ ตีลาว ล�ำปาง ล�ำพูน แพร่ (ยุคธนบุรี) จนกระทั่งมาถึงสมัยรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธ ยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 บอกราชการศึกไปยังหัวเมืองต่างๆ ทั้งภาคกลาง เมืองเหนือ เมืองใต้ ให้มาช่วยรับศึกพม่า บ้านเมือง จึงสงบลงในปีพ.ศ. 2329 ตลอดระยะเวลา 190 ปี บ้านเมือง มีแต่ศึกสงคราม ผู้คนต่างอพยพหลบลี้หนีเอาตัวรอด ไม่มีโอกาส ได้ทำ� นุบำ� รุงพระพุทธศาสนาเท่าทีค่ วร ดังนัน้ การบูรณปฏิสงั ขรณ์ วัดดอนแท่นครั้งแรกน่าจะเริ่มขึ้น ในพ.ศ. 2360 สมัยเจ้าฟ้า อัตถวรปัญโญ กอบบ้านแปงเมือง ผู้คนมีเวลาบ�ำรุงศาสนา ทั้งยัง มีการสร้างวัดในห้วงเวลาใกล้เคียงกันหลายวัด ได้แก่ วัดกลางเวียง (พ.ศ.2338) วัดบุญยืน (พ.ศ.2340) วัดตาลชุม (พ.ศ.2344) วัดศรีมงคล (พ.ศ.2349) และ วัดไผ่งาม (พ.ศ.2374) วั ด ดอนแท่ น ได้ ท� ำ การบู ร ณปฏิ สั ง ขรณ์ พ ระวิ ห ารที่ ช� ำ รุ ด ทรุดโทรมเมื่อปีพ.ศ. 2437 โดย ครูบาอินต๊ะวงศ์ เจ้าอาวาส ได้ขอ ประทานพระบรมราชานุ ญ าตจากพระเจ้ า สุ ริ ย พงษ์ ผ ริ ต เดช เจ้าผู้ครองนครน่านองค์ที่ 63 ขอซ่อมแซมบูรณะด้วยเหตุที่เป็น วัดของเจ้าผูค้ รองนครน่านองค์กอ่ นๆ สร้างไว้ จ�ำเป็นต้องใช้ไม้เป็น จ�ำนวนมาก (สมัยนั้นป่าไม้เป็นของเจ้าผู้ครองนคร) พระเจ้า สุรยิ พงษ์ผริตเดช ทรงอนุญาต และโปรดให้ เจ้าราชวงศ์ (เจ้าสุทธิสาร ณ น่าน) เป็น ผู้ดูแลเรื่องไม้ที่จะใช้ในการบูรณะ แล้วโปรดให้ ครูบาอินต๊ะวงศ์ เป็น ผู้ควบคุมการก่อสร้างทั้งหมดจนแล้วเสร็จ และได้จดั งานเฉลิมฉลองใน วันพฤหัสบดีที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2442
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 141
141
. - 01/04/2562 14:10:48 PM
H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดภูเก็ต แวะพักกายพักใจที่ “ภูเก็ตสนธยา เทมเปิลสเตย์” หอพักปฏิบัติธรรมน�ำสุข พระครูสุทินนันทธรรม ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดภูเก็ต
142
.indd 142
วัดภูเก็ต ตั้งอยู่ที่บ้านเก็ต หมู่ 2 ต�ำบลวรนคร อ�ำเภอปัว จังหวัดน่าน โดยตั้งชื่อตามหมู่บ้านที่ชื่อว่า หมู่บ้านเก็ต แต่ด้วยวัด ตั้งอยู่บนเนินเขา ซึ่งทางเหนือเรียกว่า “ดอย” หรือ “ภู” จึงตั้งชื่อว่า “วัดภูเก็ต” หมายถึง วัดบ้านเก็ตที่อยู่บนภู หรือ ดอย เป็นวัดที่มี ภูมทิ ศั น์และวิวทีส่ วยงามมาก โดยจุดเด่นของวัดคือ มีระเบียงชมวิว ด้านหลังวัด ติดกับทุ่งนาที่กว้างไกลพร้อมด้วยฉากหลังเป็นภูเขา วนอุทยานดอยภูคา ในยามเช้าวัดภูเก็ตเป็นจุดชมวิวพระอาทิตย์ ขึ้นที่งดงามอีกแห่งหนึ่ง
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
. - 01/04/2562 11:30:58 AM
แวะพั ก ปฏิ บัติธรรมที่ “ภูเก็ตสนธยา เทมเปิลสเตย์” หอพั ก ปฏิ บัติธรรมน�ำสุข
ภายในวัดยังมี Temple Stay หรือ โรงแรมธรรมะ ชื่อว่า ภูเก็ตสนธยา เทมเพิลสเตย์ (Phuketsonthaya Templestay) ถ้าจะเรียกให้เข้าใจง่ายๆ คือ เป็นลักษณะของโรงแรมธรรมะ เป็น หอพักปฏิบตั ธิ รรม โดยสร้างเป็นอาคารทีพ่ กั ส�ำหรับผูท้ มี่ าปฏิบตั ธิ รรม หรือ นักท่องเที่ยวที่สนใจ อาคารตั้งอยู่ตรงจุดชมวิว สามารถเห็น วิวทุง่ นาเขียวขจีได้จากห้องพัก เป็นอาคารขนาด 4 ชัน้ มี 8 ห้องนอน ในชั้นที่ 4 จะเป็นห้องปฏิบัติธรรม และที่น่าสนใจคือ ตัวโรงแรม จะสร้างอยู่ใต้โบสถ์ของวัดภูเก็ต ซึ่งผู้ที่เข้ามาพักจะได้มีโอกาส ปฏิบตั ธิ รรมร่วมกับทางวัด รวมทัง้ จะได้ศกึ ษาวิถชี วี ติ ของพระ เณร ภายในวั ด ได้ ท� ำ บุ ญ ตั ก บาตร ลั ก ษณะเหมื อ นกั บ โรงแรม ระดับ 3 ดาว เพียงแต่ผู้ที่จะเข้ามาพักหากมาเพื่อปฏิบัติธรรม ไม่ต้องเสียค่าที่พัก วัดภูเก็ตมีการส่งเสริมการท�ำการผลิตภัณฑ์สินค้าพื้นเมือง ที่ท�ำจากผ้าใยสังเคราะห์ธรรมชาติ มีร้านค้าจ�ำหน่ายภายในวัดชื่อ “ภูเก็ตผ้าทอ” จากหมู่บ้านผ้าทอไทลื้อที่ได้รับคัดเลือกจากกรม ศิลปากรให้เป็น 1 ใน 3 หมู่บ้านจัดทอท�ำตุงตามคติพื้นเมืองของ คนไทลื้ อ ล้ า นนา เพื่ อ ตกแต่ ง อุ ทิ ศ เป็ น พระราชกุ ศ ลในงาน พระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยา ณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ นับเป็นเกียรติประวัติ และพระมหากรุณาธิคุณอย่างหาที่สุดมิได้ ด้านล่างวัดมีแม่นำ�้ ไหลผ่าน ซึง่ เป็นน�ำ้ ซับซึมมาจากใต้ดนิ ไหลริน รวมกันเป็นล�ำธารให้ฝงู ปลาและสัตว์นำ�้ อยูอ่ าศัย ทางวัดจัดให้เป็น เขตอภัยทานให้นักท่องเที่ยวสามารถให้อาหารจากลานข้างบน ผ่านท่อไหลลงไปให้กับฝูงปลาได้ และสามารถมองเห็นฝูงปลา ทีอ่ ยูด่ า้ นล่างได้อย่างชัดเจน มีอโุ บสถทรงล้านนาประยุกต์ จิตรกรรม ฝาผนังสามมิติ เป็นทีป่ ระดิษฐาน “หลวงพ่อแสนปัว” หรือ “หลวงพ่อ พุทธเมตตา” ที่ศักดิ์สิทธิ์ หันพระพักตร์ไปทางทิศตะวันออก ส�ำหรับด้านหลังโบสถ์ ประดิษฐานพระพุทธธรรมจักรองค์ที่ 36 ผู้ปฏิบัติธรรม หรือนักท่องเที่ยวเดินเวียนขวามาหน่อยจะเห็น พระพุทธรูปขนาดใหญ่ ปางปฐมเทศนา โดยมีร่มโพธิ์ใหญ่ขึ้น ปกคลุมกันแดดกันฝน เป็นภาพทีน่ า่ เลือ่ มใสศรัทธา ประดุจเหมือน ได้พบพระพุทธองค์ก�ำลังนั่งแสดงปฐมเทศนาให้เราฟัง โรงเรี ย นพระปริ ยั ติ ธ รรมวั ด ภู เ ก็ ต เพื่ อ เป็ น สถานที่ ศึ ก ษา แก่ศาสนทายาทผู้สืบทอดพระพุทธสาสนาให้เจริญมั่นคงสืบไป
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 143
143
. - 01/04/2562 11:31:11 AM
H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดบ่อแก้ว
“พระธาตุบ่อแก้ว” พระธาตุศักดิ์สิทธิ์และเก่าแก่ที่สุด ในอ�ำเภอนาหมื่น พระครูพิพิธนันทสาร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบ่อแก้ว
วัดบ่อแก้ว ตั้งอยู่เลขที่ 129 บ้านบ่อแก้ว หมู่ 5 ต�ำบลบ่อแก้ว อ�ำเภอนาหมืน่ จังหวัดน่าน เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมาเมือ่ วันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร วัดบ่อแก้วตามประวัติในอดีตเล่าว่าเคยย้ายมาแล้ว 3 ครั้ง มี ต�ำนานเล่าขานสืบกันมาว่าเดิมชื่อ วัดอุโบสถสีมาราม ชาวบ้าน 144
.indd 144
เรียกชื่อวัดดอนถีสีมาราม (ถี แปลว่าต้นศรีมหาโพธิ์) ตั้งอยู่ ติดกับล�ำน�้ำช้าง ห่างจากวัดบ่อแก้วปัจจุบันไปทางทิศใต้ประมาณ 300 เมตร ซึง่ เป็นวัดทีก่ อ่ ตัง้ มาพร้อมกับการก่อตัง้ เมืองหินครัง้ แรก เมื่อหลายร้อยปีที่ผ่านมา มีปรากฏหลักฐานครั้งแรกในพงศาวดาร ต�ำนานพืน้ เมืองเชียงใหม่เมือ่ ปี พ.ศ. 2029 ในสมัยพระเจ้าติดลกราช เป็นเจ้าเมืองผูค้ รองล้านนาไทย ฉะนัน้ การก่อตัง้ วัดจึงเริม่ ตัง้ แต่นนั้ เป็นต้นมา ปัจจุบันมีเนื้อที่ ทั้งหมด 4 ไร่ 2 งาน 10 ตารางวา โดยแบ่งเป็นที่ตั้งวัด 1 ไร่ 2 งาน 10 ตารางวา และเนื้อที่ธรณีสงฆ์ จ�ำนวน 3 ไร่ และมีอาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย อุโบสถ, ศาลาการเปรียญ, กุฏิสงฆ์, หอสวดมนต์, ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล, ห้องสมุด, หอระฆัง, หอฉัน และโรงเรียนปริยัติธรรม ปัจจุบนั วัดบ่อแก้ว เป็นส�ำนักเรียนพระปริยตั ธิ รรมแผนกนักธรรม ของอ�ำเภอนาหมื่น เปิดสอนนักธรรมชั้นตรี-ชั้นโท-ชั้นเอก และ ธรรมศึกษาและเป็นสนามสอบธรรมสนามหลวง ได้ก่อตั้งขึ้นมา ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2472
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
. - 01/04/2562 11:05:57 AM
บ่อน�้ำศักดิ์สิทธิ์ติดอันดับหนึ่งในหกของจั งหวั ดน่า น
วัดบ่อแก้วเป็นวัดที่มีบ่อน�้ำศักดิ์สิทธิ์ที่ติดอันดับหนึ่งในหก ของบ่อน�้ำศักดิ์สิทธิ์ของจังหวัดน่านตามที่กระทรวงมหาดไทย ได้มอบหมายให้จังหวัดส�ำรวจแหล่งน�้ำศักดิ์สิทธิ์จากอ�ำเภอต่างๆ แล้ ว ปรากกฎว่ า มี แ หล่ ง น�้ ำ ส� ำ คั ญ อยู ่ จ� ำ นวน 6 แห่ ง ดั ง นี้ 1.บ่อน�้ำทิพย์วัดสวนตาล ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมืองน่าน 2.บ่อน�ำ้ ทิพย์เจ้าพ่อพญาไมย ต�ำบลเชียงกลาง อ�ำเภอเชียงกลาง 3.บ่อน�้ำทิพย์วัดบ่อแก้ว ต�ำบลบ่อแก้ว อ�ำเภอนาหมื่น 4.บ่อน�้ำทิพย์วัดพุฒธาราม ต�ำบลกองความ อ�ำเภอเมืองน่าน 5.บ่อน�ำ้ ทิพย์พระธาตุแช่แห้ง ต�ำบลม่วงติด๊ อ�ำเภอภูเพียง และ 6.บ่อน�้ำทิพย์วัดสุขศรี ต�ำบลทุ่งช้าง อ�ำเภอทุ่งช้าง โบราณวัตถุที่ส�ำคัญ ซึ่งมีคุณค่าทางด้านจิตใจของวัดบ่อแก้ว ได้ แ ก่ คั ม ภี ร ์ ใ บลานอั ก ษรล้ านนา มี อยู ่ จ�ำนวนมากประมาณ 1,000 กว่าผูก หนังสือกระดาษสาคัมภีรอ์ กั ษรล้านนาถักด้วยผ้าตลับ คัมภีร์ปริวาส คัมภีร์กรรมวาจาแกะสลัดอย่างวิจิตงดงามเครื่องสูง (เครื่องท้าว) ฆ้องโบราณ กลองโบราณ นอกนั้นยังมีเครื่องประดับ ของอุโบสถหลังเดิมที่ได้รื้อถอนไปเนื่องจากผุพังไปตามกาลเวลา แต่ทางวัดยังได้เก็บรักษารูปแบบแกะสลักบานประตู หน้าต่าง คันทวย ช่อฟ้า ใบระกา ของอุโบสถหลังเดิมไว้ให้คนรุ่นหลังได้เข้ามาศึกษา เรียนรู้ต่อไป พระธาตุบ่อแก้ว เป็นพระธาตุศักดิ์สิทธิ์ ศิลปะล้านนา เป็นที่ สักการบูชาของชาวอ�ำเภอนาหมื่น และอ�ำเภอนาน้อยมานาน เป็นพระธาตุที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดในอ�ำเภอนาหมื่น สันนิษฐานว่า น่าจะมีอายุเก่าแก่เกินกว่า 200 ปี เนื่องจากมีหลักฐานการบูรณะ ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2377 บูรณะครั้งที่ 2 เมื่อปี พ.ศ. 2426 ต่ อ มามี ก ารบู ร ณะและเปลี่ ย นยอดฉั ต รเจดี ย ์ ค รั้ ง สุ ด ท้ า ยเมื่ อ วันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 โดยการน�ำของ พระครูพพิ ธิ นันทสาร (บุญส่ง สมาจาโร) นอกจากนี้ วัดบ่อแก้ว ยังมีปชู นียวัตถุทสี่ ำ� คัญคือ พระพุทธเจ้า แก้วเสตังคมณี เป็นพระพุทธรูปที่แกะสลักจากหินขาวใส บริสุทธิ์ ปางยืนอุม้ บาตร โปรดสัตว์โลกสูงประมาณหนึง่ คืบ เป็นพระพุทธรูป ศักดิ์สิทธิ์เป็นที่เคารพนับถือของชาวอ�ำเภอนาหมื่น โดยมีการ น�ำออกมาให้ประชาชนได้สรงน�้ำในวันแปดเป็ง วันวิสาขบูชา, วั น สงกรานต์ , วั น เข้ า พรรษา ของทุ ก ปี และภายในวั ด ยั ง มี พระประธานในอุโบสถเป็นพระพุทธรูปปูนปั้น 1 องค์ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2476 ปีระกา นอกจากนั้นภายในวัดยังมีพระพุทธรูปต่างๆ อีกหลายองค์
พระครูพิพิธนันทสาร
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
145
ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบ่อแก้ว
.indd 145
. - 01/04/2562 11:06:09 AM
H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดหนองแดง
ยํ เว เสวติ ตาทิโส คบคนเช่นไรก็เป็นคนเช่นนั้นแล พระครูอาทรนันทกิจ รองเจ้าคณะอ�ำเภอภูเพี ยง และ เจ้าอาวาสวัดหนองแดง
วัดหนองแดง ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 1 บ้านหนองแดง หมู่ 6 ต�ำบลท่าน้าว อ�ำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน เดิมเป็นวัดร้าง มีเนื้อที่ 6 ไร่ ปี 2546 คณะศรั ท ธาประชาชนและคณะสงฆ์ ไ ด้ ข ออนุ ญ าตยกวั ด ร้ า ง ขึ้ น เป็ นวั ด มีพระภิกษุสงฆ์อ ยู่จ�ำ พรรษา วัน ที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2547 ได้รับอนุญาตจากส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ โดยความเห็นชอบของมหาเถรสมาคม 146
.indd 146
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
. - 04/04/2562 10:26:16 AM
ต่อมาได้ด�ำเนินการก่อสร้างเสนาสนะต่างๆ ขึ้นตามล�ำดับ ด�ำเนินการก่อสร้างโดย พระครูอาทรนันทกิจ และ ศรัทธาประชาชน ชาวจังหวัดน่านและต่างจังหวัด ปัจจุบันท่านเป็น รองเจ้าคณะ อ�ำเภอภูเพียง และด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดหนองแดง วัดหนองแดง เป็นวัดใหม่ทเี่ พิง่ สร้างขึน้ ด้วยแรงศรัทธาญาติโยม และท่านเจ้าอาวาสที่เป็นพระนักพัฒนา เพื่อเป็นศูนย์รวมจิตใจ ของสาธุชนที่ศรัทธาในธรรมทั้งหลาย พระนักพัฒนา หมายถึง พระสงฆ์ที่ท�ำงานสงเคราะห์ชุมชน ด้วยการให้ค�ำแนะน�ำหรือช่วยเหลือชาวบ้านด้วยกิจกรรมต่างๆ เพือ่ ให้ความเป็นอยูข่ องชาวบ้านดีขนึ้ เช่น การจัดตัง้ ศูนย์เด็กในวัด การอบรมเยาวชน การท�ำโครงการฝึกอาชีพ ธนาคารข้าว หรือ การส่งเสริมการแพทย์พนื้ บ้าน ให้คำ� แนะน�ำด้านสุขอนามัย รวมทัง้ การส่งเสริมชาวบ้านในเรื่องเกษตรผสมผสาน หรือเกษตรกรรม เพื่อการพึ่งตนเอง ซึ่งการท�ำงานดังกล่าวนี้เกิดจากความคิดริเริ่ม ของท่านเอง มิใช่เพราะการชักน�ำของหน่วยงานรัฐหรือเพื่อสนอง นโยบายรัฐ ส�ำหรับ หน้าที่และบทบาทของอุบาสก และ อุบาสิกา ที่มีต่อ สังคมไทยในปัจจุบัน ก็คือ ชาวพุทธผู้ครองเรือนหรือคฤหัสถ์ ผู้อยู่ใกล้พระศาสนา ซึ่งอุทิศตนเพื่อประโยชน์ต่อพระศาสนาและ ประกอบกิจกรรมทางศาสนามากกว่าชาวพุทธทัว่ ไป เช่น สามทาน รักษาพระอุโบสถศีล(ถือศีล 8) ในวันพระเป็นต้น และหมั่นไปวัด ตามโอกาสที่เหมาะสม เพราะการไปวัดจะได้พบปะกับพระภิกษุ ผู ้ ท รงศี ล ทรงคุ ณ ธรรมหรื อ ได้ พ บกั บมิ ต รที่ ส นใจในเรื่ อ งธรรม เหมือนกับเรา ย่อมได้ชอ่ื ว่าเป็นการคบหากัลยาณมิตร หรือเรียกว่า มิตรทีด่ ี ซึง่ จะส่งเสริมให้มคี วามก้าวหน้าในการปฏิบตั ธิ รรมเพิม่ ขึน้ ดังพุทธสุภาษิตที่ว่า
ยํ เว เสวติ ตาทิ โ ส - คบคนเช่ น ไรก็ เ ป็ น คนเช่ น นั้ น แล รายนามเจ้าอาวาส
พระครูอาทรนันทกิจ ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2551 - ปัจจุบัน
ร่ ว มสร้ า งเส้ น ทางบุ ญ กั บ วั ด หนองแดง ธนาคารกรุ ง ไทย สาขา ห้ า งนราไฮเปอร์ ม าร์ ท ชื่ อ บั ญ ชี วั ด หนองแดง เลขบั ญ ชี 695-0-12658-1
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 147
147
. - 01/04/2562 15:30:54 PM
ท่องเที่ยวทางใจ 441 วัด เมืองล้านนาตะวันออกที่งดงามด้วยเรื่องราวของวัฒนธรรม
ท่ อ งเที่ ย วทางใจ
441 วัด
เมืองล้านนาตะวันออก ที่งดงามด้วยเรื่องราวของวัฒนธรรม จังหวัดน่าน
NAN
อ�ำเภอเมืองน่าน วัดกู่ค�ำ ถนนสุริยะพงษ์ ต�ำบลในเวียง
วัดเขาน้อยเทสรังสี หมู่ 11 ต�ำบลดู่ใต้ วัดเขื่อนแก้ว หมู่ 2 ต�ำบลถืมตอง วัดคอวัง หมู่ 9 ต�ำบลดู่ใต้ วัดเจดีย์ หมู่ 4 ต�ำบลดู่ใต้ วัดช้างเผือก ถนนมหายศ ต�ำบลในเวียง
148
วัดเชียงแข็ง ต�ำบลในเวียง วัดเชียงยืน หมู่ 4 ต�ำบลบ่อสวก วัดเชียงราย หมู่ 8 ต�ำบลดู่ใต้ วัดไชยสถาน หมู่ 2 ต�ำบลไชยสถาน วัดซาวหลวง หมู่ 5-7 ต�ำบลบ่อสวก วัดดอนแก้ว ถ.เปรมปรีดา ต�ำบลในเวียง วัดดอนถืมตอง หมู่ 6 ต�ำบลถืมตอง วัดดอนเฟือง หมู่ 2 ต�ำบลเรือง
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 148
1/4/2562 16:18:14
THE IMPORTANT TEMPLES NAN
วัดดอนมูล หมู่ 5 ต�ำบลดู่ใต้ วัดดู่ใต้ หมู่ 2 ต�ำบลดู่ใต้ วัดต้นแก้ว หมู่ 2 ต�ำบลไชยสถาน วัดตาแก้ว หมู่ 6 ต�ำบลไชยสถาน วัดถืมตอง หมู่ 1 ต�ำบลถืมตอง วัดท่าช้าง ถนนสุมนเทวราช ต�ำบลในเวียง
วัดธงน้อย หมู่ 3 ต�ำบลดู่ใต้ วัดธงหลวง หมู่ 1 ต�ำบลกองควาย วัดนวราษฎร์ หมู่ 5 ต�ำบลนาซาว วัดนาซาว หมู่ 1 ต�ำบลนาซาว วัดนาผา ต�ำบลกองควาย วัดน�้ำครกเก่า หมู่ 5 ต�ำบลกองควาย
วัดน�้ำครกใหม่ หมู่ 4 ต�ำบลกองควาย วัดน�้ำโค้งวนาราม หมู่ 4 ต�ำบลสะเนียน วัดน�้ำล้อม ถนนเทศบาลด�ำริห์ ต�ำบลในเวียง
วัดบ่อสวก หมู่ 1 ต�ำบลบ่อสวก วัดบ้านต้าม หมู่ 6 ต�ำบลนาซาว วัดป่าคา หมู่ 2 ต�ำบลบ่อสวก วัดปางค่า หมู่ 6 ต�ำบลไชยสถาน วัดป่านันทบุรีญาณสังวราราม หมู่ 7 ต�ำบลผาสิงห์ วัดป่าปัญญาวาราม ม.6 ต�ำบลดู่ใต้ วัดป่าศรีถาวรวังตาว หมู่ 7 ต�ำบลสะเนียน วัดผาขวาง หมู่ 4 ต�ำบลบ่อ วัดผาตูบ หมู่ 1 ต�ำบลผาสิงห์
วัดผาสิงห์ หมู่ 4 ต�ำบลผาสิงห์ วัดไผ่เหลือง ถนนมหาพรหม ต�ำบลในเวียง
วัดฝาง หมู่ 5 ต�ำบลไชยสถาน วัดฝายแก หมู่ 7 ต�ำบลถืมตอง วัดพญาภู ถนนสุมนเทวราช ต�ำบลในเวียง
วัดพญาวัด หมู่ 6 ต�ำบลดู่ใต้ วัดพระเกิด ถนนราษฎร์อำ� นวย ต�ำบลในเวียง
วัดพระธาตุเขาน้อย หมู่ 11 ต�ำบลดู่ใต้ วัดพระธาตุช้างค�้ำ หมู่ 13 ต�ำบลในเวียง วัดพระเนตร ถนนสุมนเทวราช ต�ำบลในเวียง
วัดพวงพยอม หมู่ 14 ต�ำบลในเวียง วัดพุฒิมาราม หมู่ 2 ต�ำบลกองควาย
วัดภูมินทร์ ถนนผากอง ต�ำบลในเวียง วัดภูเวียง หมู่ 3 ต�ำบลบ่อ วัดมงคล ถนนมหาวงศ์ ต�ำบลในเวียง วัดมณเฑียร ถนนรอบเวียง ต�ำบลในเวียง วัดม่วง(ม่วงเจริญราษฎร์) หมู่ 3 ต�ำบลบ่อสวก วัดมหาโพธิ์ ถนนมหายศ ต�ำบลในเวียง วัดมิ่งเมือง ถ.สุริยะพงษ์ ต�ำบลในเวียง วัดเมืองเล็น ถนนมะดน ต�ำบลในเวียง วัดศรีเกิด หมู่ 3 ต�ำบลไชยสถาน วัดศรีนาป่าน หมู่ 1 ต�ำบลเรือง วัดศรีนาเรือง หมู่ 3 ต�ำบลเรือง วัดศรีพันต้น ถนนเจ้าฟ้า ต�ำบลในเวียง
วัดสถารศ ถนนมหายศ ต�ำบลในเวียง วัดสมุน หมู่ 7 ต�ำบลดู่ใต้ วัดสวนตาล ถนนมหายศ ต�ำบลในเวียง วัดสวนหอม หมู่ 3 ต�ำบลผาสิงห์ วัดสะไมย์ หมู่ 2 ต�ำบลนาซาว วัดสาระ หมู่ 3 ต�ำบลบ่อ วัดสุรธาดาราม หมู่ 3 ต�ำบลสะเนียน วัดห้วยยื่น หมู่ 2 ต�ำบลบ่อ วัดหัวข่วง ถนนมหาพรหม ต�ำบลในเวียง วัดหัวเวียงใต้ ถนนสุมนเทวราช ต�ำบลในเวียง วัดอภัย ถนนเจ้าฟ้า ต�ำบลในเวียง วัดอรัญญาวาส ถนนสุมนเทวราช ต�ำบลในเวียง
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 149
149
1/4/2562 16:18:18
ท่องเที่ยวทางใจ 441 วัด เมืองล้านนาตะวันออกที่งดงามด้วยเรื่องราวของวัฒนธรรม
อ�ำเภอเวียงสา วัดขึ่งเจริญ หมู่ 3 ต�ำบลขึ่ง วัดครกค�ำ หมู่ 4 ต�ำบลตาลชุม วัดคือเวียง หมู่ 6 ต�ำบลส้าน วัดงิ้วงาม หมู่ 2 ต�ำบลขึ่ง วัดจอมจันทร์ หมู่ 7 ต�ำบลตาลชุม วัดจะเข้ภูหอม หมู่ 10 ต�ำบลอ่ายนาไลย วัดจันชมพู หมู่ 8 ต�ำบลอ่ายนาไลย วัดเชียงบาล หมู่ 5 ต�ำบลนาเหลียง วัดดอนไชย หมู่ 7 ต�ำบลกลางเวียง วัดดอนไชยพระบาท หมู่ 7 ต�ำบลนาเหลือง วัดต้นหนุน หมู่ 5 ต�ำบลกลางเวียง วัดตาลชุม หมู่ 12 ต�ำบลตาลชุม วัดทรายมูล หมู่ 4 ต�ำบลส้าน วัดท่าข้าม หมู่ 4 ต�ำบลไหล่น่าน 150
วัดท่ามงคล หมู่ 2 ต�ำบลแม่สาคร วัดท่าลี่ หมู่ 4 ต�ำบลขึ่ง วัดนากอก หมู่ 9 ต�ำบลตาลชุม วัดนาเคียน หมู่ 6 ต�ำบลตาลชุม วัดนาไลย หมู่ 2 ต.อ่ายนาไลย วัดนาสา หมู่ 3 ต�ำบลไหล่นา่ น วัดนาส้าน หมู่ 3 ต�ำบลส้าน วัดนาเหลืองนอก หมู่ 3 ต�ำบลนาเหลือง วัดนาเหลืองใน หมู่ 1 ต�ำบลนาเหลือง วัดน�้ำปั้ว หมู่ 2 ต�ำบลน�้ำปั้ว วัดน�้ำมวบ หมู่ 3 ต�ำบลน�้ำมวบ วัดนิโรธรังสี หมู่ 2 ต�ำบลปงสนุก วัดบัวทอง หมู่ 5 ต�ำบลน�้ำปั้ว วัดบ้านใหม่ หมู่ 8 ต�ำบลส้าน วัดบุญนาค ต�ำบลกลางเวียง
วัดบุญยืน หมู่ 4 ต�ำบลกลางเวียง วัดบุญเรือง หมู่ 2 ต�ำบลไหล่น่าน วัดปงสนุก หมู่ 1 ต�ำบลปงสนุก วัดปางมอญ หมู่ 7 ต�ำบลอ่ายนาไลย วัดป่าแพะ หมู่ 3 ต�ำบลแม่ขะนิง วัดป่าสัก หมู่ 3 ต�ำบลตาลชุม วัดป่าหุ่ง หมู่ 4 ต�ำบลยามหัวนา วัดโปร่ง หมู่ 7 ต�ำบลส้าน วัดผาเวียง หมู่ 5 ต�ำบลส้าน วัดไผ่งาม หมู่ 1 ต�ำบลส้าน วัดฝั่งหมิ่น หมู่ 6 ต�ำบลอ่ายนาไลย วัดฝายแก้ว หมู่ 3 ต�ำบลปงสนุก วัดพระเนตร หมู่ 2 ต�ำบลส้าน วัดพะเยา หมู่ 3 ต�ำบลอ่ายนาไลย วัดไพรอุดม หมู่ 5 ต�ำบลแม่สาคร
วัดภูเพียง หมู่ 6 ต�ำบลปงสนุก วัดเมืองราม หมู่ 4 ต�ำบลนาเหลือง วัดร้องเย็น หมู่ 12 ต�ำบลกลางเวียง วัดวังคีรี หมู่ 1 ต�ำบลน�้ำปั้ว วัดวัวแดง หมู่ 1 ต�ำบลปงสนุก วัดวิถีบรรพต หมู่ 1 ต�ำบลอ่านนาไลย วัดศรีกลางเวียง หมู่ 3 ต�ำบลกลางเวียง วัดศรีดอนแท่น หมู่ 2 ต�ำบลกลางเวียง วัดศรีนาชื่น หมู่ 7 ต�ำบลน�้ำปั้ว วัดศรีมงคล หมู่ 1 ต�ำบลขึ่ง วัดสถาน หมู่ 1 ต�ำบลกลางเวียง วัดสะเลียม หมู่ 3 ต�ำบลยาบหัวนา วัดสาคร หมู่ 5 ต�ำบลอ่ายนาไลย วัดส้านนาหนองใหม่ หมู่ 2 ต�ำบลส้านนาหนองใหม่ วัดสาลี้ หมู่ 4 ต�ำบลน�้ำมวบ
วัดสันกลาง หมู่ 5 ต�ำบลและ วัดสุขศรี หมู่ 1 ต�ำบลทุ่งช้าง วัดหลับมืนไตย หมู่ 5 ต�ำบลตาลชุม วัดหลับมืนพรวน หมู่ 8 ต�ำบลตาลชุม วัดห้วยม่วง หมู่ 2 ต�ำบลนาเหลือง วัดห้วยเม่น หมู่ 6 ต�ำบลไหล่น่าน วัดห้วยสอน หมู่ 5 ต�ำบลไหล่น่าน วัดห้วยหลอด หมู่ 5 ต�ำบลหยาบหัวนา วัดหาดไร่ หมู่ 1 ต�ำบลส้านนาหนองใหม่ วัดเหนือฝาย หมู่ 6 ต�ำบลปงสนุก วัดใหม่เจริญราษฎร์ หมู่ 4 ต�ำบลอ่ายนาไลย วัดไหล่น่าน หมู่ 1 ต�ำบลไหล่น่าน วัดอรุณศรี หมู่ 6 ต�ำบลน�้ำปั้ว วัดอ่าย หมู่ 13 ต�ำบลอ่ายนาไลย
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 150
1/4/2562 16:18:21
THE IMPORTANT TEMPLES CHACHOENGSAO
THE IMPORTANT TEMPLES NAN
อ�ำเภอปัว วัดดอนแก้ว หมู่ 8 ต�ำบลปัว วัดดอนแก้ว หมู่ 4 ต�ำบลปัว วัดดอนแก้ว หมู่ 6 ต�ำบลเจดีย์ชัย วัดดอนไชย หมู่ 3 ต�ำบลศิลาแลง วัดดอนไชย หมู่ 6 ต�ำบลศิลาเพชร วัดดอนมูล หมู่ 5 ต�ำบลศิลาเพชร วัดดอนสถาน หมู่ 4 ต�ำบลสถาน วัดดอนมูล หมู่ 6 ต�ำบลแงง วัดต้นแหลง หมู่ 2 ต�ำบลไชยพัฒนา วัดท่าล้อ หมู่ 5 ต�ำบลแงง
วัดทุ่งกลาง หมู่ 4 ต�ำบลอวน วัดทุ่งกว้าง หมู่ 1 ต�ำบลแงง วัดทุ่งชัย หมู่ 3 ต�ำบลเจดีย์ชัย วัดนาก้อ หมู่ 1 ต�ำบลเจดีย์ชัย วัดนาค�ำ หมู่ 1 ต�ำบลสิลาเพชร วัดนางิ้ว หมู่ 1 ต�ำบลไชยวัฒนา วัดนาป่าน หมู่ 1 ต�ำบลสถาน วัดนาฝาง หมู่ 6 ต�ำบลสถาน วัดนาวงค์ หมู่ 8 ต�ำบลเจดีย์ชัย วัดน�้ำยาว หมู่ 3 ต�ำบลอวน วัดนิมิตรมงคล หมู่ 9 ต�ำบลปัว
วัดบุญยืน หมู่ 2 ต�ำบลศิลาเพชร วัดเบ็งสกัด (พระธาตุเป็งสกัด) หมู่ 5 ต�ำบลวรนคร วัดปง หมู่ 2 ต�ำบลเจดีย์ชัย วัดปรางค์ หมู่ 3 ต�ำบลวรนคร วัดป่าตอง หมู่ 3 ต�ำบลศิลาเพชร วัดป่าลาน หมู่ 12 ต�ำบลวรนคร วัดป่าหัด หมู่ 2 ต�ำบลวรนคร วัดป่าเหมือด หมู่ 4 ต�ำบลศิลาแลง วัดป่าเหียง หมู่ 15 ต�ำบลสถาน วัดพระธาตุศรีสิริชัย หมู่ 9 ต�ำบลเจดีย์ชัย วัดพาน หมู่ 3 ต�ำบลแงง
วัดภูเก็ต หมู่ 10 ต�ำบลวรนคร วัดร้อง หมู่ 4 ต�ำบลวรนคร วัดร้องแง หมู่ 7 ต�ำบลวรนคร วัดรังษี หมู่ 11 ต�ำบลวรนคร วัดราชสีมา หมู่ 1 ต�ำบลวรนคร วัดไร่ หมู่ 1 ต�ำบลอวน วัดม่วง หมู่ 7 ต�ำบลเจดีย์ชัย วัดศรีรัตนาราม หมู่ 6 ต�ำบลอวน วัดสรีสระวงศ์ ต�ำบลไชยวัฒนา วัดศาลา หมู่ 4 ต�ำบลเจดีย์ชัย วัดศาลา หมู่ 2 ต�ำบลศิลาแลง
วัดสบปัว หมู่ 5 ต�ำบลเจดีย์ชัย วัดสวนดอก หมู่ 6 ต�ำบลวรนคร วัดส้าน หมู่ 2 ต�ำบลสถาน วัดเสี้ยว หมู่ 6 ต�ำบลไชยพัฒนา วัดหนองเงือก หมู่ 2 ต�ำบลแงง วัดหนาด หมู่ 4 ต�ำบลไชยวัฒนา วัดห้วยล้า หมู่ 5 ต�ำบลสถาน วัดหัวเมือง หมู่ 5 ต�ำบลแงง วัดเฮี้ย หมู่ 1 ต�ำบลศิลาแลง
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 151
151
1/4/2562 16:18:25
ท่องเที่ยวทางใจ 441 วัด เมืองล้านนาตะวันออกที่งดงามด้วยเรื่องราวของวัฒนธรรม
อ�ำเภอนาน้อย วัดเชตวัน หมู่ 1 ต�ำบลสันทะ วัดเชียงของ หมู่ 1 ต�ำบลเชียงของ วัดดอนไชย หมู่ 2 ต�ำบลนาน้อย วัดนาเกลือ หมู่ 4 ต�ำบลเชียงของ วัดนาไค้ หมู่ 5 ต�ำบลบัวใหญ่ วัดนาแดง หมู่ 5 ต�ำบลสันทะ วัดนาเตา หมู่ 5 ต�ำบลศรีษะเกษ วัดนาน้อย หมู่ 4 ต�ำบลนาน้อย วัดนาราบ หมู่ 1 ต�ำบลนาน้อย วัดนาหลวง หมู่ 3 ต�ำบลนาน้อย วัดนาแหน หมู่ 3 ต�ำบลบัวใหญ่
152
วัดน�้ำลัด หมู่ 6 ต�ำบลสถาน วัดน�้ำหิน หมู่ 5 ต�ำบลเชียงของ วัดบง หมู่ 7 ต�ำบลสถาน วัดบุ้ง หมู่ 5 ต�ำบลนาน้อย วัดป่ากล้วย หมู่ 8 ต�ำบลสถาน วัดเปา หมู่ 5 ต�ำบลน�้ำตก วัดพระธาตุพลูแช่ หมู่ 5 ต�ำบลนาน้อย วัดมงคลเทพสุวรรณาราม หมู่ 6 ต�ำบลศรีสะเกษ วัดร้อง หมู่ 12 ต�ำบลสถาน วัดศรีบุญเรือง หมู่ 4 ต�ำบลศรีษะเกษ วัดศรีษะเกษ หมู่ 11 ต�ำบลศรีษะเกษ วัดศาลา หมู่ 1 ต�ำบลสถาน
วัดสถาน หมู่ 1 ต�ำบลสถาน วัดสบหลุม หมู่ 2 ต�ำบลบังใหญ่ วัดสันทะ หมู่ 6 ต�ำบลสันทะ วัดส้าน หมู่ 8 ต�ำบลสันทะ วัดหนองบัว หมู่ 9 ต�ำบลศราะเกษ วัดหนองป่าค่า หมู่ 10 ต�ำบลศรีษะเกษ วัดหนองห้า หมู่ 3 ต�ำบลศรีษะเกษ วัดหัวทุ่ง หมู่ 8 ต�ำบลนาน้อย วัดหัวเมือง หมู่ 1 ต�ำบลศรีษะเกษ วัดใหม่ ไชยสถาน หมู่ 7 ต�ำบลศรีษะเกษ วัดอ้อย หมู่ 1 ต�ำบลบัวใหญ่
อ�ำเภอทุ่งช้าง วัดไชยค�ำ หมู่ 1 ต�ำบลและ วัดดวงค�ำ หมู่ 6 ต�ำบลและ วัดดอนชัย หมู่ 6 ต�ำบลปอน วัดดอนชัย หมู่ 3 ต�ำบลและ วัดทุ่งผึ้ง หมู่ 5 ต�ำบลทุ่งช้าง
วัดทุ่งสุน หมู่ 4 ต�ำบลงอบ วัดแพะกลางมังคลาราม หมู่ 6 ต�ำบลทุ่งช้าง วัดเฟือยลุง หมู่ 9 ต�ำบลและ วัดราษฎร์บ�ำรุง หมู่ 2 ต�ำบลทุ่งช้าง วัดวังผา หมู่ 7 ต�ำบลและ วัดดอนชัย หมู่ 1 ต�ำบลงอบ
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 152
1/4/2562 16:18:29
THE IMPORTANT TEMPLES NAN
อ�ำเภอท่าวังผา วัดคัวะดอนทอง หมู่ 6 ต�ำบลศรีภูมิ วัดจักรวรรณ หมู่ 2 ต�ำบลตาลชุม วัดชนะไพรี หมู่ 8 ต�ำบลแสนทอง วัดชลแสงธรรม หมู่ 5 ต�ำบลผาตอ วัดเชียงยืน หมู่ 4 ต�ำบลยม วัดเชียงแล หมู่ 4 ต�ำบลริม วัดดอนแก่ง หมู่ 6 ต�ำบลตาลชุม วัดดอนแก้ว หมู่ 6 ต�ำบลป่าคา วัดดอนชัย (สบสาย) หมู่ 4 ต�ำบลตาลชุม วัดดอนตัน หมู่ 4 ต�ำบลศรีภูมิ
วัดดอนมูล หมู่ 2 ต�ำบลศรีภูมิ วัดตาลชุม หมู่ 3 ต�ำบลตาลชุม วัดทุ่งฆ้อง หมู่ 5 ต�ำบลยม วัดนาทราย หมู่ 2 ต�ำบลแสนทอง วัดนาเผือก หมู่ 4 ต�ำบลจอมพระ วัดนาฝ่า หมู่ 2 ต�ำบลจอมพระ วัดนาหนุน หมู่ 1 ต�ำบลแสนทอง วัดน�้ำไคร้ หมู่ 9 ต�ำบลยม วัดน�้ำฮาว หมู่ 7 ต�ำบลจอมพระ วัดนิโครธาราม(ต้นฮ่าง) หมู่ 2 ต�ำบลป่าคา วัดป่าไคร้ หมู่ 2 ต�ำบลริม
วัดปิตุราษฏร์ หมู่ 4 ต�ำบลแสนทอง วัดปูคา หมู่ 5 ต�ำบลริม วัดฝายมูล หมู่ 1 ต�ำบลป่าคา วัดพระธาตุจอมพริก หมู่ 6 ต�ำบลยม วัดพิกุลทอง หมู่ 1 ต�ำบลจอมพระ วัดพุทธานุภาพ หมู่ 6 ต�ำบลผาทอง วัดโพธิ์ ไทร หมู่ 3 ต�ำบลยม วัดโพธิวราราม หมู่ 5 ต�ำบลสรีภูมิ วัดไพรสณฑ์ หมู่ 4 ต�ำบลแสนทอง วัดมังคลาราม หมู่ 5 ต�ำบลท่าวังผา วัดยู้ หมู่ 5 ต�ำบลจอมพระ
วัดราษฎร์อุดม หมู่ 2 ต�ำบลผาตอ วัดวังทอง หมู่ 1 ต�ำบลผาตอ วัดศรีมงคล หมู่ 2 ต�ำบลยม วัดศิริธาดา หมู่ 3 ต�ำบลริม วัดศิลามงคล หมู่ 2 ต.ท่าวังผา วัดสบย่าง หมู่ 3 ต�ำบลป่าคา วัดสบหนอง หมู่ 1 ต�ำบลตาลชุม วัดสลีพุทธาราม หมู่ 6 ต�ำบลจอมพระ วัดสันติการาม หมู่ 8 ต�ำบลยม วัดสุคันธาราม(ปง) หมู่ 5 ต�ำบลตาลชุม วัดสุทธาราม หมู่ 3 ต�ำบลท่าวังผา
วัดสุวรรณาวาส หมู่ 1 ต�ำบลริม วัดหนองช้างแดง หมู่ 7 ต�ำบลยม วัดหนองบัว หมู่ 5 ต�ำบลป่าคา วัดหนองม่วง หมู่ 4 ต�ำบลป่าคา วัดห้วยแขม หมู่ 10 ต�ำบลตาลชุม วัดแหน หมู่ 3 ต�ำบลผาตอ วัดใหม่ หมู่ 3 ต�ำบลจอมพระ วัดอัมพวัน หมู่ 1 ต�ำบลศรีภูมิ วัดอุทัยราษฎร์ หมู่ 4 ต�ำบลท่าวังผา วัดอุทุมพร หมู่ 3 ต�ำบลศรีภูมิ
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 153
153
1/4/2562 16:18:33
ท่องเที่ยวทางใจ 441 วัด เมืองล้านนาตะวันออกที่งดงามด้วยเรื่องราวของวัฒนธรรม
อ�ำเภอเชียงกลาง วัดกลาง หมู่ 4 ต�ำบลพระธาตุ วัดคันนา หมู่ 2 ต�ำบลพญาแก้ว วัดเจดีย์(คาว) หมู่ 3 ต�ำบลเชียงกลาง วัดฉิมพลีวนาราม หมู่ 9 ต�ำบลเชียงกลาง วัดชัยมงคล หมู่ 10 ต�ำบลพระพุทธบาท วัดเชียงโคม หมู่ 2 ต�ำบลเชียงกลาง วัดไชยสถาน หมู่ 4 ต�ำบลพระพุทธบาท วัดซาววา หมู่ 1 ต�ำบลพระพุทธบาท วัดดอนแก้ว หมู่ 1 ต�ำบลพระธาตุ วัดดอนแท่น หมู่ 3 ต�ำบลเชียงคาน วัดไทรหลวง หมู่ 5 ต�ำบลพระพุทธบาท วัดนาหนุน หมู่ 2 ต�ำบลเปือ วัดน�้ำค�ำ หมู่ 1 ต�ำบลพญาแก้ว วัดน�้ำอ้อ หมู่ 3 ต�ำบลเปือ วัดประดิษฐ์ หมู่ 9 ต�ำบลเปือ วัดป่าศรัทธาสามัคคีธรรม หมู่ 1 ต�ำบลเชียงคาน
154
วัดพญาแก้ว หมู่ 4 ต�ำบลพญาแก้ว วัดพรมเมืองสวรรค์ หมู่ 8 ต�ำบลพระพุทธบาท วัดพระธาตุจอมกิตติ หมู่ 6 ต�ำบลพระพุทธบาท วัดพร้าว หมู่ 2 ต�ำบลพระธาตุ วัดม่วงสุม หมู่ 4 ต�ำบลเชียงกลาง วัดรัชดา หมู่ 11 ต�ำบลเปือ วัดวังทอง หมู่ 3 ต�ำบลพระพุทธบาท วัดศรี หมู่ 2 ต�ำบลพระพุทธบาท วัดศรีชุม หมู่ 8 ต�ำบลเปือ วัดศรีบุญเรือง หมู่ 5 ต�ำบลเชียงกลาง วัดศรีอุดม หมู่ 1 ต�ำบลเชียงกลาง วัดสร้อยพร้าว หมู่ 5 ต�ำบลพระธาตุ วัดหนองแดง หมู่ 1 ต�ำบลเปือ วัดหนองผุก หมู่ 10 ต�ำบลเปือ วัดหัวน�้ำ หมู่ 3 ต�ำบลพระธาตุ วัดใหม่วังเคียน หมู่ 2 ต�ำบลเชียงคาน วัดอ้อใต้ หมู่ 9 ต�ำบลพระพุทธบาท
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 154
1/4/2562 16:18:36
THE IMPORTANT TEMPLES NAN
อ�ำเภอแม่จริม วัดก้อ หมู่ 3 ต�ำบลแม่จริม วัดแคว้ง หมู่ 2 ต�ำบลหนองแดง วัดดงไพรวัลย์ หมู่ 3 ต�ำบลหนองแดง วัดตอง หมู่ 5 ต�ำบลแม่จริม วัดนาคา หมู่ 4 ต�ำบลหนองแดง วัดนาเซีย หมู่ 2 ต�ำบลหมอเมือง วัดน�้ำปาย หมู่ 1 ต�ำบลน�้ำปาย
วัดน�้ำพาง หมู่ 4 ต�ำบลน�้ำพาง วัดน�้ำลาน หมู่ 5 ต�ำบลหมอเมือง วัดป่าแม่จริมโสภิตาราม หมู่ 2 ต�ำบลแม่จริม วัดพรหม หมู่ 1 ต�ำบลหนองแดง วัดพระธาตุยอยหงส์ (พระธาตุดอยหงส์) หมู่ 1 ต�ำบลหนองแดง วัดหนองแดง หมู่ 5 ต�ำบลหนองแดง วัดหมอเมือง หมู่ 3 ต�ำบลหมอเมือง วัดห้วยซ้อ หมู่ 1 ต�ำบลหมอเมือง
อ�ำเภอบ้านหลวง วัดดอนชัย หมู่ 1 ต�ำบลบ้านฟ้า วัดนาวีวนาราม หมู่ 2 ต�ำบลบ้านฟ้า วัดบ�ำเพ็ญบุญ หมู่ 4 ต�ำบลป่าคาหลวง วัดพี้ใต้ หมู่ 1 ต�ำบลบ้านพี้ วัดพี้เหนือ หมู่ 7 ต�ำบลสวด วัดฟ้า(ฟ้าสวรรค์) หมู่ 3 ต�ำบลบ้านฟ้า วัดหลวง หมู่ 1 ต�ำบลสวด
อ�ำเภอนาหมื่น วัดค�ำเรือง หมู่ 1 ต�ำบลบ่อแก้ว วัดชัยมงคล หมู่ 5 ต�ำบลบ่อแก้ว วัดดอนมูล หมู่ 14 ต�ำบลนาทะนุง วัดต้นต้อง หมู่ 5 ต�ำบลปิงหลวง วัดนาคา หมู่ 4 ต�ำบลเมืองลี วัดนาทะนง หมู่ 3 ต�ำบลนาทะนง วัดนาหวาย หมู่ 8 ต�ำบลบ่อแก้ว
วัดน�้ำเคิม หมู่ 7 ต�ำบลปิงหลวง วัดน�้ำแพะ หมู่ 6 ต�ำบลปิงหลวง วัดน�้ำอูน หมู่ 1 ต�ำบลเมืองลี วัดบ่อแก้ว หมู่ 5 ต�ำบลบ่อแก้ว วัดป่าซาง หมู่ 2 ต�ำบลเมืองลี วัดปิงใน หมู่ 3 ต�ำบลปิงหลวง วัดปิงหลวง หมู่ 2 ต�ำบลปิงหลวง วัดพงษ์ หมู่ 4 ต�ำบลบ่อแก้ว NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 155
155
1/4/2562 16:18:41
ท่องเที่ยวทางใจ 441 วัด เมืองล้านนาตะวันออกที่งดงามด้วยเรื่องราวของวัฒนธรรม
อ�ำเภอสันติสุข วัดดอนไชย(ดอนชัย) หมู่ 6 ต�ำบลป่าแลวหลวง วัดดอนมงคล หมู่ 4 ต�ำบลดู่พงษ์ วัดดอนใหม่ หมู่ 5 ต�ำบลพงษ์ วัดดู่พงษ์ หมู่ 2 ต�ำบลดู่พงษ์ วัดต้นผึ้งสามัคคีธรรม หมู่ 7 ต�ำบลดู่พงษ์
วัดธาตุ (พระธาตุป่าแดด) หมู่ 1 ต�ำบลพงษ์ วัดน�้ำโซ้ง หมู่ 1 ต�ำบลดู่พงษ์ วัดน�้ำโซ้งสันติคีรี หมู่ 1 ต�ำบลดู่พงษ์ วัดป่าแลว หมู่ 1 ต�ำบลป่าแลวหลวง วัดป่าอ้อย หมู่ 4 ต�ำบลป่าแลวหลวง วัดโป่งค�ำ หมู่ 5 ต�ำบลดู่พงษ์
วัดพงษ์ หมู่ 6 ต�ำบลดู่พงษ์ วัดภูแยง หมู่ 3 ต�ำบลพงษ์ วัดศรีบุญเรือง หมู่ 2 ต�ำบลพงษ์ วัดสบยาง หมู่ 5 ต�ำบลป่าแลวหลวง วัดอภัยคีรี หมู่ 3 ต�ำบลป่าแลวหลวง
อ�ำเภอสองแคว วัดปางปุก หมู่ 2 ต�ำบลนาไร่หลวง วัดปางส้าน หมู่ 4 ต�ำบลยอด วัดผาสิงห์ หมู่ 5 ต�ำบลยอด วัดผาหลัก หมู่ 3 ต�ำบลยอด 156
วัดพระธาตุคีรีศรีชนแดน หมู่ 5 ต�ำบลชนแดน วัดยอด หมู่ 2 ต�ำบลยอด วัดสองแคว หมู่ 5 ต�ำบลนาไร่หลวง วัดสะเกิน หมู่ 1 ต�ำบลยอด วัดหางทุ่ง หมู่ 3 ต�ำบลนาไร่หลวง
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 156
1/4/2562 16:18:48
THE IMPORTANT TEMPLES NAN
อ�ำเภอบ่อเกลือ วัดนากลุ่ม หมู่ 4 ต�ำบลบ่อเกลือใต้ วัดนาขาม หมู่ 3 ต�ำบลบ่อเกลือใต้ วัดนาคอก หมู่ 6 ต�ำบลบ่อเกลือใต้ วัดนาเปรื่อง หมู่ 7 ต�ำบลบ่อเกลือใต้ วัดบ่อหยวก หมู่ 3 ต�ำบลบ่อเกลือเหนือ วัดบ่อหลวง หมู่ 1 ต�ำบลบ่อเกลือใต้ วัดสะปัน หมู่ 8 ต�ำบลบ่อเกลือเหนือ วัดสะว้า หมู่ 7 ต�ำบลบ่อเกลือเหนือ
อ�ำเภอภูเพียง วัดกอก หมู่ 1 ต�ำบลท่าน้าว วัดก้อดแก้ว ต�ำบลนาปัง วัดแช่พลาง หมู่ 7 ต�ำบลท่าน้าว วัดไชยภูมิ หมู่ 8 ต�ำบลฝายแก้ว วัดท่าน้าว หมู่ 2 ต�ำบลท่าน้าว วัดท่าล้อ หมู่ 1 ต�ำบลฝายแก้ว วัดทุ่งน้อย หมู่ 4 ต�ำบลฝายแก้ว วัดทุ่งเม็ง หมู่ 5 ต�ำบลเมืองจัง
วัดนาข่อย หมู่ 5 ต�ำบลท่าน้าว วัดนาปัง หมู่ 2 ต�ำบลนาปัง วัดนาเหลืองม่วงขวา หมู่ 4 ต�ำบลน�้ำแก่น วัดน�้ำแก่นใต้ หมู่ 5 ต�ำบลน�้ำแก่น วัดน�้ำแก่นเหนือ หมู่ 2 ต�ำบลน�้ำแก่น วัดน�้ำลัด หมู่ 1 ต�ำบลนาปัง วัดน�้ำใส หมู่ 5 ต�ำบลฝายแก้ว วัดปัวชัย หมู่ 7 ต�ำบลฝายแก้ว วัดป่าหัด หมู่ 1 ต�ำบลม่วงตึ๊ด
วัดโป่งค�ำ หมู่ 3 ต�ำบลน�้ำแก่น วัดฝายแก้ว หมู่ 3 ต�ำบลฝายแก้ว วัดพระธาตุแช่แห้ง หมู่ 3 ต�ำบลม่วงตึ๊ด วัดม่วงตึ๊ด หมู่ 4 ต�ำบลม่วงตึ๊ด วัดม่วงใหม่ หมู่ 3 ต�ำบลนาปัง วัดเมืองจังใต้ หมู่ 2 ต�ำบลเมืองจัง วัดร้องตอง หมู่ 2 ต�ำบลม่วงตึ๊ด วัดศรีบุญเรือง หมู่ 2 ต�ำบลม่วงตึ๊ด วัดสบยาว หมู่ 7 ต�ำบลเมืองจัง
วัดสว่างอรุณ หมู่ 3 ต�ำบลน�้ำแก่น วัดแสงดาว หมู่ 2 ต�ำบลฝายแก้ว วัดหนองแดง หมู่ 6 ต�ำบลท่าน้าว วัดหนองรัง หมู่ 4 ต�ำบลท่าน้าว วัดหัวนา หมู่ 3 ต�ำบลท่าน้าว วัดหัวเวียงเหนือ หมู่ 6 ต�ำบลฝายแก้ว วัดหาดเค็ดบน หมู่ 1 ต�ำบลเมืองจัง วัดหาดเค็ดล่าง หมู่ 4 ต�ำบลเมืองจัง วัดหาดผาค�ำ หมู่ 3 ต�ำบลเมืองจัง
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 157
157
1/4/2562 16:18:52
SBL บันทึกประเทศไทย
Website : www.sbl.co.th
Ad-SBL Magazine Online Sukhothai.indd 56
06/07/61 14:25:11
เครื่องเงินน่าน สู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(AEC)
ตามที่ ส มเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี ได้ เ สด็ จ พระราชด� ำ เนิ น ทรงปฏิบัติพระราชกรณียะกิจในพื้นที่จังหวัดน่าน และมีพระราชด�ำริว่า “ท�ำอย่างไรจะท�ำให้ เครื่องเงินเมืองน่าน เป็นที่รู้จักแพร่หลาย ทั้งในประเทศและต่างประเทศ” จากพระราชด�ำริของพระองค์ท่านจึงเป็นที่มาของโครงการพัฒนาเครื่องเงินและผ้าทอขึ้น ของการด�ำเนินการตามโครงการฯ และเป็นการพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์เครื่องเงินและ ผ้าทอเมืองน่าน โดยเน้นการพัฒนาคุณภาพและรูปแบบสินค้า ให้เกิดความได้เปรียบในด้าน ความแตกต่าง เพิม่ มูลค่าด้วยความคิดสร้างสรรค์ให้เป็นทีย่ อมรับในระดับสากล ให้ความส�ำคัญ ในการผลิต การใช้วัตถุดิบที่มีคุณภาพผสานใส่ความช�ำนาญด้านหัตถกรรมอย่างละเอียดอ่อน และสวยงาม จังหวัดน่าน จึงได้ร่วมกับส�ำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดน่าน ส�ำนักงานพาณิชย์จังหวัด ส� ำ นั ก งานพั ฒ นาชุ ม ชนจั ง หวั ด เทศบาลเมื อ งน่ า น เทศบาลต� ำ บลปั ว กลุ ่ ม คลั ส เตอร์
ผู ้ ผ ลิ ต เครื่ อ งเงิ น น่ า น และกลุ ่ ม คลั ส เตอร์ ผ้าทอเมืองน่าน จึงได้ร่วมกันจัดงานแสดง “หัตถศิลป์เงิน ผ้าน่าน สู่ตลาดอาเซียน” มาเป็นระยะๆ เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ หั ต ถกรรมที่ มี อั ต ลั ก ษณ์ โ ดดเด่ น และยังเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวของ จังหวัดน่าน รวมทัง้ อนุรกั ษ์ภมู ปิ ญ ั ญาท้องถิน่ ในการท� ำ เครื่ อ งเงิ น เมื อ งน่ า นทอผ้ า และ การท� ำ ผ้ า ทอเมื อ งน่ า น ตามพระราชด� ำ ริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี จนประสบความส�ำเร็จในระดับ นานาชาติในปัจจุบัน
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
AEC
PB .indd SBL 159 บันทึกประเทศไทย
I เชียงราย
159
. - 01/04/2562 16:00:37 PM
เทศบาลเมืองน่าน
สร้างมัคคุเทศก์น้อยหลายภาษา ต้อนรับนักท่องเที่ยว AEC หากท่านไปท่องเที่ยววัดภูมินทร์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดน่าน วันนี้ มีมัคคุเทศก์น้อย แสดงความสามารถต้อนรับนักท่องเทีย่ ว บรรยายภาพจิตรกรรมฝาผนัง โดยนอกจาก ใช้ภาษาอังกฤษแล้ว ทางวัดยังมีมัคคุเทศก์น้อยคอยอธิบาย ให้นักท่องเที่ยวได้ฟังถึง ความเป็นมาและเรื่องราวต่างๆ ตามภาพฝาผนังจิตรกรรมวัดภูมินทร์เป็นภาษาจีน ขึน้ มาอีก เพือ่ ต้อนรับ AEC หากมีนกั ท่องเทีย่ วทัง้ ฝรัง่ จีน และไทย โดยมัคคุเทศก์นอ้ ย ท�ำหน้าที่อธิบาย เริ่มจากภาษาอังกฤษ ภาษาจีน และไทย พร้อมทั้ง 3 ภาษา ส�ำหรับโครงการ มัคคุเทศก์น้อยนั้นเป็นของทางเทศบาลเมืองน่าน ตั้งใจให้ จังหวัดน่านเป็นห้องรับแขกต้อนรับนักท่องเที่ยวเป็นประตูแรก เพื่อผลักดันเยาวชน ให้กล้าแสดงออก และ เป็นการเปิดประตูต้อนรับสู่ AEC ด้วย ส�ำหรับการดูแล ต้อนรับนักท่องเที่ยวในวันเสาร์และวันอาทิตย์ ทางเทศบาลเมืองน่าน จึงได้จัดให้ มัคคุเทศก์น้อย ในโรงเรียนสังกัดเทศบาลเมืองน่าน ไว้คอยบรรยายถึงประวัติและ เรื่ อ งราวต่ า งๆ ตามรู ป ภาพภายในวิ ห าร เพื่ อ ให้ นั ก ท่ อ งเที่ ย วทั้ ง ชาวไทยและ ชาวต่างชาติได้รับความรู้อย่างเพลิดเพลินและสนุกสนานไปพร้อมๆ กัน
160
AEC
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 160
. - 01/04/2562 16:00:39 PM
“น่าน” ผู้น�ำด้านการท่องเที่ยว เชื่อมโยงประเทศอาเซียน AEC ข่วงเมืองน่าน จังหวัดน่าน และ ททท. การท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทยส�ำนักงานแพร่ ร่วมกับสมาคมธุรกิจท่องเทีย่ วจังหวัดน่าน จัดคาราวานท่องเทีย่ วเชือ่ มภาคใต้สนู่ า่ นหลวงพระบาง-วังวังเวียง ตั้งแต่ปีที่แล้ว เพื่อเชื่อมโยงสู่ AEC เพื่อประชาสัมพันธ์ ให้จงั หวัดน่านเป็นผูน้ ำ� ด้านการท่องเทีย่ ว เชือ่ มโยง AEC และส่งเสริมการท่องเทีย่ ว 161
AEC
ด้วยการเดินทางด้วยรถยนต์จากภาคใต้ มายังภาคเหนือและส่งเสริมเส้นทางท่องเทีย่ ว เชื่อมโยงประเทศอาเซียน ผลักดันให้เกิด การสร้างสรรค์เส้นทางและสินค้าท่องเทีย่ ว เชือ่ มโยงร่วมกับ สปป.ลาวโดยมีนกั ท่องเทีย่ ว จากจังหวัดทางภาคใต้มากมายให้ความสนใจ เข้าร่วมเปิดประสบการณ์การท่องเทีย่ วใน “โครงการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชื่อมโยง
เมืองชายแดนสู่ AEC ” ที่สามารถดึงดูด นักท่องเทีย่ วผูช้ นื่ ชอบการขับรถข้ามแผ่นดิน ได้เป็นอย่างดี ทัง้ ได้สมั ผัสเสน่หข์ องธรรมชาติ สองข้างทาง วัฒนธรรม และวิถีชีวิตของ ชาวล้านนา และชาวล้านช้าง ความงดงาม ของวัฒนธรรม สถาปัตยกรรมและเกิด การพั ก ค้ า งแรมและใช้ จ ่ า ยในประเทศ มากขึ้นก่อนเดินทางออกสู่ต่างประเทศ
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 161
. - 01/04/2562 16:00:40 PM
พระธาตุจามเทวี เป็ น เจดี ย ์ ส ถานรูป สี่เ หลี่ย ม ก่อด้วยอิฐสอดิ น ลั ก ษณะ ที่ ส� ำ คั ญ ของเจดี ย ์ อ งค์ นี้ คื อ มี เ รื อ นธาตุ เ ป็ น ขั้ น ลดหลั่ น ขึ้นไป 5 ชั้น แต่ละชั้นแต่ละด้านก่อเป็นซุ้ม 3 ซุ้ม ภายในซุ้ม ประดิ ษ ฐานพระพุ ท ธรู ป ยื น ส่ ว นยอดมี ลั ก ษณะ คล้ายคลึงกับยอดเจดีย์ ซึ่งเป็นศิลปะสมัยล้านช้าง ที่มีคุณค่ายิ่งต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ทางด้าน ศิลปกรรม และสถาปัตยกรรมภาคเหนือ วัดพญาวัด อ�ำเภอเมืองน่าน
162
.indd 162
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
. - 01/04/2562 10:35:19 AM
Unseen
“พระเจ้าในโขง” พระพุทธรูป ในซุ้ม
วัดพญาวัด ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 203 หมู ่ ที่ 6 ต� ำ บลดู ่ ใ ต้ อ� ำเภอเมื อ ง จั ง หวั ด น่ า น สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย แต่เดิมบริเวณที่ต้ังวัดเป็นเขตศูนย์กลาง เมืองน่านในสมัยที่ย้ายเมืองจากพระบรมธาตุแช่แห้งมาตั้งอยู่ตรง ริมฝั่งตะวันตกของแม่น�้ำน่าน
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 163
163
. - 01/04/2562 10:35:21 AM
วัดมิ่งเมือง
ตั้งอยู่ ณ หมู่บ้านมิ่งเมือง ต�ำบลในเวียง อ�ำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 239
239
. - 01/04/2562 11:39:39 AM