นิตยสารแนะน�ำแหล่งท่องเที่ยวและของดีจังหวัดพังงา ประจ�ำปี 2562
Phangnga พั งงา...เมืองภูงา
นายศิ ริพัฒ พั ฒกุล ผู้ว่าราชการจังหวัดพั งงา
“เหมืองกระทะทอง”
ต�ำนาน มหา’ลัยเหมืองแร่ มหา’ลัยชีวิต พลิกชีวิตคนพั งงา
Vol.9 Issue 97/2019
www.issuu.com
.indd 3
“แร่หมื่นล้าน บ้านกลางน�้ำ ถ�้ำงามตา ภูผาแปลก แมกไม้จ�ำปูน บริบูรณ์ทรัพยากร”
2/12/2562 14:06:58
KATAT HONG GOLF RESORT SPA PHANG NGA
Transportation
75 minis by car from Phuket international airport. Shuttle bus service is available (Charged). PROMOTIONS
1. Stay & Play Promotion 5,300 baht/ golfer (Share room) 6,300 baht/ golfer (Single room) Included golf 2 rounds (36holes), Green fee, Golf cart, Caddy & Resort (1 night) with ABF 2. Sport day Promotion 2,450 baht Included Green fee + Caddy + Golf cart Only Monday, Wednesday Except Public holiday Information
0-7659-2999, 08-1979-1646 2
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
.indd 2
KATATHONG GOLF RESORT & SPA
. - 18/09/2562 10:06:30 AM
Tourist Attraction
Khaolak beach - 38.6 Km. Manora waterfall - 13.6 Km. Phung chang cave - 20.5 Km. Tham sam rock art - 18.1 Km. Wat tam pueng cave - 18.3 Km. Ao phang nga national park - 25.7 Km. Somdech phra srinagarindra parks - 20.7 Km.
Hotel Facilities
Golf Course Driving range Swimming pool Jacuzzi Spa Blue Sapphire Restaurant
Proshop Big Buddha Private balcony Parking Free wifi
Address : 51 Moo 4 Thung Kha Ngok District Mueang Phangnga, ThailandPHANGNGA 82000 Tel: +66 (0) 76 592 999, +66 (0)61 173 8338
.indd 3
I SBL บันทึกประเทศไทย
3
. - 18/09/2562 10:06:43 AM
Welcome to
Sametnangshe Boutique
We are small boutique hotel and restaurant located in new unseen beautiful spot in Phang Nga, Thailand. Where you can see the unique and fantastic view of Phang Nga Bay.
SAMET NANGSHE Samet Nangshe Viewpoint has very quickly gone from being practically unheard of to one of the most popular panoramas in Phang Nga. Located on a hilltop just a 30 minute drive from Phuket, it provides stunning views over the limestone islets of Phang Nga Bay and, being far enough away from civilisation to avoid light pollution.The sun rises between the limestone karsts at about
4
05:30 to 06:00, depending on the time of year. This is often preceded by the awe-inspiring sight of the centre of our own galaxy, clearly visible overhead, though this also depends on the season. The viewpoint and its amazing photographic potential were discovered by Thai professional photographer Theerasak Saksritawee, whose images from the hilltop outlook spread quickly among first locals and then expatriates. It is still relatively undiscovered by overseas tourists due to its location, a 25km drive from Phuket’s Sarasin Bridge along twisting country roads. However, it is easily popular enough that you can expect to share the small summit with at least 50 other people, particularly if you go for the sunrise. Your photos from Samet Nangshe Viewpoint really need to be earned as getting there is a bit of a challenge.
SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา
ver.2.indd 4
5/9/2562 15:38:46
เสม็ดนางชีบูทีค
สิ่งอ�ำนวยความสะดวก
แอร์ / ตู้เย็น / ทีวีพร้อมสัญญาณทรู / ไดร์เป่าผม / ตู้เสื้อผ้า / เครื่องท�ำน�้ำอุ่น /กาต้มน�้ำร้อน / Bathtub / ชุดคลุมอาบน�ำ้ / slipper สัญญาณ INTERNET / minibar / ชุดชา กาแฟ / ผลไม้ต้อนรับตามฤดูกาล ความสวยงามของเกาะแก่งต่างๆ จากวิวเบื้องหน้า คือ อ่าวพังงา ซึ่งเป็นจุดท่องเที่ยวระดับโลก กิจกรรมนอกเหนือจากการชมวิวดูพระอาทิตย์ขึ้น ท่านยังสามารถนั่งเรือของชาวบ้านบริเวณ ชุมชนเพื่อเที่ยวชมความงามของอ่าวพังงา ไม่ว่าจะเป็น ถ�้ำแก้ว เขาตาปู พายแคนนูเกาะพนัก เกาะห้อง พักผ่อนริมหาดสุสานหอย
ประเภทห้องพัก
เสม็ดนางชีบูทีค (Sametnangshe Boutique) Sametnangshe boutique เสม็ดนางชีบูทีค
ver.2.indd 5
Tent size s ส�ำหรับ 2 ท่าน และเต็นท์ ไซส์ L ส�ำหรับ 3 ท่าน Deluxe room ห้องพักที่อยู่บนอาคาร มีทั้งหมด 4 ห้อง (ไม่สามารถมองเห็นวิวจากในห้อง) Deluxe seaview ห้องพักอาคาร 2 ชั้น มีทั้งหมด 4 ห้อง (สามารถมองเห็นวิวจากหน้าห้องพัก) Suite Seaview Bathtub ห้องพักอาคาร 2 ชั้น มีทั้งหมด 1 ห้อง (สามารถมองเห็นวิวจากห้องพัก) Suite Seaview Jacuzzi ห้องพักอาคาร 2 ชั้น มีทั้งหมด 1 ห้อง (สามารถมองเห็นวิวจากห้องพัก) The khanhum villa วิลล่าส่วนตัวมีทงั้ หมด 4 หลัง สามารถมองเห็นวิวจากในห้องพัก มีระเบียงส่วนตัว
90 หมู่ 2 ต�ำบลคลองเคียน อ�ำเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา
SBL บันทึกประเทศไทย 5 โทรศัพท์ 064CHACHOENGSAO 926 I 5556
5/9/2562 15:38:59
Phang Nga Bay Resort “the pure living for business and leisure”
Welcome to Pha ng Nga Bay Res or t, Thailand
Summary of Guests Rooms
Situated by the bay of Phang Nga, all guest rooms are overlooking the Andaman Sea River, 2 minutes to the Andaman Sea. Our exquisite Phang Nga Bay Resort is a relaxing base from which to explore the nature and the Andaman sea. Comfort yourself in one of our intimate 88 rooms and suites, relax in the serene ambiance of our the Andaman Sea River and in the early morning colorful sky and the Sun. Our non-chlorinated swimming pool garden and flavor International dishes and delicious cocktails from our Panyee Restaurant Terrace.
Service Hours
Breakfast: 07:00 a.m. - 10:30 a.m. Lunch & Dinner: all day dining from 10:30 a.m. – midnight
Other Services
- Airport Transfer - Room services - Counter Tour - Swimming Pool - Thai Massage - Doctor on call 24 hours
Room Facilities - Cable TV and Satellite Channels - Free Wifi Internet access - In Room deposit safe box - Air Conditioning - Wake up call
6
Superior room 46 Rooms (46Twin Bed), air conditioner, telephone, Cable TV &Satellite Channels, Internet wireless, in–room safety box, Private balcony mini bar, complimentary tea/coffee making set, Shower & Bath tub, Room size approx.32 sqm. Deluxe Room 28 Rooms (17 King size Bed, 9 Twin Bed) air conditioner, telephone, Cable TV&Satellite Channels, Internet wireless, in–room. Private balcony, mini bar, complimentary tea/coffee making set, Shower & Bath tub, (standard size) toilet and Total Superior room size approx. 32 sqm. Junior Suite Room 2 Rooms (2 King size Bed, air conditioner, telephone, Cable TV &Satellite Channels, Internet wireless, in-room safety box, Private balcony, mini bar Complimentary tea/coffee making set, Shower & Bath tub, Total Junior Suite Room size approx. 64 sqm.
Panyee Restaurant Terrace - Umbrella - Coffee and Tea set - Refrigerator - Mini Bar - Bath Robe and Slippers
- Thai Herbal Toiletries - Hairdryer - Private Balcony (except Standard room)
Panyee Restaurant Terrace delivers the best of both local and western for both in-house and discerning local patrons. indulge in one of our many delectable international dishes. You will dine in a distinctive exotic atmosphere overlooking our plush swimming pool for your added dining enjoyment. Also, we do have a great coffee bar and all delightful cocktails and mock tails serve all day.
Contact Information
Hotel Website www.phangngabayresort.com Hotel E-mail reservation@phangngabayresort.com, SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน Managing Director Mr. Phonthep Thepmontha (md@phangngabayresort.com) Executive Director Mr. Sun Tantrakool (sunexecutive@gmail.com)
Telephone : +66 76 481 0167-8 Facsimile : +66 76 481 168 (Front Office) .
.indd 6
5/9/2562 15:51:12
“A GUEST IS A GIFT FROM GOD”
“แขกผู้มาเยือนคือคนพิเศษ” “เราต้อนรับคนพิเศษด้วยสิ่งที่ดีที่สุดที่เรามี เพื่อที่เราจะได้รับรอยยิ้มที่กว้างที่สุดกลับมา”
สถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียง สิ่งอ�ำนวยความสะดวก
BEACH CLUB (บีชคลับ) KID CLUB (คิดส์คลับ) CAFÉ & LIBRARY(คาเฟ่ และห้องสมุด) SERVICE LAUNDRY(บริการซักผ้า) SERVICE PRIVATE TRANSFER(บริการรถรับ-ส่ง)
RESTAURANTS(ห้องอาหาร) POOL BARS(บาร์), SPA(สปา) SWIMMING POOLS(สระว่ายน�ำ้ ) FITNESS CENTER(ฟิ ตเนส) WATER SPORTS(กิจกรรมกลางแจ้งและกีฬาทางน�ำ้ )
ย่านเมืองเก่าตะกัว่ ป่ า จุดชมทะเลหมอกเขาไข่นยุ้ คลองสังเน่ห์ ตะกัว่ ป่ า น�ำ้ ตกสายรุง้ ประภาคาร เขาหลัก เมมโมรี่บีช แหลมปะการัง เรือ ต.13
โรงแรม ลา เวล่า เขาหลัก (LA VELA KHAOLAK) 98/9 หมู่ที่ 5 ต�ำบลคึกคัก อ�ำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา 82220 NAN : lavelakhaolak : www.lavelakhaolak.com
I SBL บันทึกประเทศไทย
7
Tel : +66(0)76 428-555 ,Fax : +66(0)76 428-500
LA VELA KHAO LAK.indd 7
5/9/2562 16:01:25
“
Tree CupsonisTheTheGiant Original Phang-Nga Coffee and Coffee shop Tree at Phang-Nga . Unseen Phang Nga”
ร้านกาแฟบนต้นไม้
นอกจากคอกาแฟจะได้ลิ้มรสกาแฟแสนอร่อย ละมุนลิ้น ยังได้สัมผัสกับธรรมชาติ และชมวิวอ่าว พังงา บนต้นไม้เก่าแก่อายุกว่า 300 ปี เปิดบริการทุกวัน เวลา 11:00 - 17:00 น.
Tree Cups Phang Nga Coffee 2/6 หมู่ 5 บ้านเขาเปาะ ต�ำบลกระโสม อ�ำเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา Tree Cups Phang Nga Coffee ร้านกาแฟบนต้นไม้ ทรีคัพ
Tel : 080-921-5081
8
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
Tree Cups Phang Nga Coffee.indd 8
5/9/2562 16:09:04
ร้านอาหารเรือนแพ
สามช่องซีฟูด้
เมนูแนะน� ำ
อาหารทะเล ซีฟู้ด บนเรือนแพ “อร่อยออยคอนเฟิ ร์ม”
“ หอยแครงลวก
กุ้งผัดพริกเกลือ
หอยโข่งทะเลต้ม
แกงส้มปลากะพงยอดมะพร้าว
บริการ
อาหารทะเล ซีฟู้ด อาหารพื้นบ้าน หลากหลายเมนู ให้เลือก รับประทานในบรรยากาศบนเรือนแพ อากาศดี อาหารอร่อย นั่งรับลมเย็นๆ พร้อมรองรับนักท่องเที่ยว กรุ๊ปทัวร์ จัดเลี้ยงต่างๆ ได้ถึง 300 ท่าน บริการเป็นกันเอง ที่จอดรถสะดวก มีเรือล่องอ่าวพังงา
*** เปิดบริการทุกวัน 10.00-21.00 น.*** (1
).indd 9
แกงกะทิหอยจุ๊บแจ
ปลากะพงทอดสองใจ
ร้านอาหารเรือนแพสามช่องซีฟู้ด 39/1 หมู่ 9 ต�ำบลกะไหล อ�ำเภอตะกัว่ ทุง่ จังหวัดพังงา 82130 ร้านเรือนแพสามช่องซีฟู้ด
NAN I SBLคุบัณ นทึกออย ประเทศไทย 9 Tel : 080-875-1942 080-145 -2550 คุณธานินทร์
5/9/2562 16:18:16
T
THE
ตื่นรับแสงแดดยามเชาพรอมสูดอากาศบริสุทธิ์ใหเต็มปอด ทามกลางธรรมชาติแหงขุนเขา ทองเที่ยว กิจกรรม สังสรรค พักผอน มีครบจบในที่เดียว ตำบลหลอยูง จังหวัดพังงา หางจากสะพานสารสินเพียง 12 กิโลเมตร ความสุขทามกลางทะเลหมอกแบบ 360 องศา บนยอดเขา รอคุณอยูที่ 10
THE ADVENTURE MOUTAIN CLUB
SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา
The Adventure Mountain Club.indd 10
10/9/2562 13:53:24
089 - 026 - 9070 081 - 693 - 4608 MARKETING@TAMC.ASIA The Adventure Mountain Club
HTTP://THEADVENTUREMOUNTAINCLUB.COM/ CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย
11
99/9 ม.1 ต. หลอยูง อ. ตะกั่วทุง จ. พังงา 82140
The Adventure Mountain Club.indd 11
10/9/2562 13:53:24
EDITOR’S TALK
TALK
EDITOR’S
จังหวัดพังงา เมืองที่เที่ยวได้ตลอดทั้งปี เที่ ย วพั ง งา เมื อ งท่ อ งเที่ ย วสุ ด ฮอต พร้ อ มสั ม ผั ส ความสวยงามทางธรรมชาติและศิลปวัฒนธรรม ที่เปี่ยม ไปด้วยเสน่ห์ที่น่าค้นหา จังหวัดที่เต็มไปด้วยแหล่งท่องเที่ยว ทางธรรมชาติ ที่ มี เ อกลั ก ษณ์ เป็ น ที่ รู ้ จั ก ไปทั่ ว โลก ทั้ ง หมู่เกาะสิมิลัน หมู่เกาะสุรินทร์ แต่จริงๆ แล้วยังมีที่เที่ยว ทัง้ บนบกและใต้นำ�้ อยากให้ทกุ ท่านได้มาสัมผัสความอัศจรรย์ ของธรรมชาติ และเอกลักษณ์ ที่โดดเด่น ของจังหวัดพังงา กันครับ
อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์
บรรณาธิการอ�ำนวยการ นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
Editor's talk
.indd 12
9/9/2562 14:20:07
เสม็ดนางชี @ตะกั่วทุ่ง
PHANGNGA ฉบับที่ 97 จังหวัดพังงา พ.ศ. 2562
ถ้ากล่าวถึงความโดดเด่นของจังหวัดพังงาในปัจจุบัน คงต้องยกให้กับการท่องเที่ยวทางทะเลที่จัดอยู่ใน ล�ำดับต้นๆ ของประเทศ และครองใจนักท่องเที่ยวทั่วโลกมาอย่างยาวนาน แต่ในอดีตหลายท่าน อาจจะยังไม่ทราบว่าจังหวัดพังงาเคยเป็นแหล่งผลิตแร่ดีบุกที่ส�ำคัญของประเทศไทยมาก่อน การพัฒนาจังหวัดพังงา โดยท่าน “ศิริพัฒ พัฒกุล” ผู้ว่าราชการจังหวัดพังงา จึงเน้นเรื่องการท่องเที่ยว เป็นหลัก เพื่อให้พังงาเป็น “ศูนย์กลางการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ และเกษตรกรรมที่ยั่งยืน” ตามโนบายการพัฒนา และวิสัยทัศน์ของจังหวัด และต้องการให้ “พังงา เป็น WORLD CLASS DESTINATION” ที่สามารถแข่งขันได้ ในระดับสากล ซึ่งมีทั้งการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวและกิจกรรมการท่องเที่ยวต่างๆ เช่น จัดท�ำประติมากรรม อุทยานการเรียนรู้ ใต้ท้องทะเล ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี “รักจัง...พังงา” ส่งเสริมอัตลักษณ์ศิลปะการแสดงทางวัฒนธรรม เป็นต้น
Editor's talk
.indd 13
9/9/2562 14:20:11
TALK
EDITOR’S
พังงา เป็นจังหวัดหนึ่งที่ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศไทย มีพื้นที่ติดชายฝั่งทะเลอันดามันที่มีความสวยงามเป็นอย่างมาก ซึ่งเรียกได้ว่าเป็นเมืองที่เต็มไปด้วยกลิ่นไอของธรรมชาติและเสน่ห์ ของผู้คนท้องถิ่น จึงท�ำให้ที่นี่เป็นหนึ่งในสถานที่ ที่นักท่องเที่ยว ทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติพากัน มาท่องเที่ยวอย่างมากมาย เพื่ อ ชื่ น ชมความสวยงามของทะเลไทยที่ ส วยไม่ แ พ้ ท่ี ใ ดในโลก แต่จังหวัดพังงา ไม่ได้มีเฉพาะสถานที่ท่องเที่ยงเพียงอย่างเดียว พั ง งา ยั ง มี ร ้ า นอาหาร โรงแรม รี ส อร์ ท ที่ พั ก ไว้ ค อยบริ ก าร นักท่องเที่ยวไว้อย่างมากมาย ออกมาสัมผัส ความสุข ความสงบ อีกมุมหนึ่งของประเทศไทย กันครับ
ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ
บรรณาธิการการตลาด นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
Editor's talk
.indd 14
9/9/2562 14:20:12
PHANGNGA ฉบับที่ 97 จังหวัดพังงา พ.ศ. 2562
คณะผู้บริหาร
นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
คณะที่ปรึกษา ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์ พลเอกสรชัช วรปัญญา ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์ ดร.ประยุทธ คงเฉลิมวัฒน์ ดร.ชาญ ธาระวาส ดร.สุมิท แช่มประสิท ดร.วัลลภ อารีรบ ดร.พิชัย ทรัพย์เกิด ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์ ดร.สุเทษณ์ จันทรุกขา ดร.อรรถสิทธิ์ ตันติวิรัชกุล
บรรณาธิการอ�ำนวยการ อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการงานบุคคล พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการการตลาด ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ ฝ่ายกฎหมาย สมคิด หวังเชิดชูวงศ์ ทวิช อมรนิมิตร
กองบรรณาธิการ
นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
ฝ่ายประสานงานโครงการ ภาครัฐและเอกชน
ผู้จัดการ
อัครกฤษ หวานวงศ์
คณะทีมงาน
นิรุจน์ แก้วเล็ก สุษฎา พรหมคีรี
ฝ่ายประสานงานข้อมูล
ผู้จัดการฝ่ายประสานงานข้อมูล นันท์ธนาดา พลพวก
หาดท้ายเหมือง @อ�ำเภอท้ายเหมือง
ฝ่ายประสานงานข้อมูล
ศุภญา บุญช่วยชีพ นลัชนันท์ เทียมเกตุทวีโชค
นักเขียน
คุณิตา สุวรรณโรจน์
ฝ่ายศิลปกรรม
ผู้จัดการฝ่ายศิลปกรรม พัชรา ค�ำมี
กราฟิกดีไซน์
พิมพ์พิสุทธิ์ พังจูนันท์ วรเชษฐ สมประสงค์ ธีระวัฒน์ ระวาดชัย
ช่างภาพ
ปณต ปิติจารุวิศาล กิติวัฒน์ ทิศมั่ง วิทยา ประเสริฐสังข์
ตัดต่อวีดีโอ
วัชรกรณ์ พรหมจรรย์ ฝ่ายบัญชี / การเงิน
บัญชี
ปัฐมาภรณ์ แสงบุราณ
ผู้จัดการฝ่ายการเงิน สุจิตรา แดนแก้วนิต Website
การเงิน
บริษัท สมาร์ท บิซิเนส ไลน์ จ�ำกัด
ชวัลชา นกขุนทอง วนิดา ศรีปัญญา
9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 0-2522-7171 แฟกซ์. 0-2971-7747 FACEBOOK : SBL บันทึกประเทศไทย
Editor's talk
.indd 15
EMAIL : sbl2553@gmail.com
www.sbl.co.th
9/9/2562 14:20:14
พังงาคือความสงบ ชุ่มเย็นของเมืองเล็กๆ เมืองหนึ่ง ที่แวดล้อมไปด้วยธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ หลากหลายและสวยงาม สะพานไม้เขาปิหลาย อ�ำเภอตะกั่วทุ่ง
EBOOK PHANGNGA
.indd 16
9/9/2562 18:31:38
ฉบับที่ 97 จังหวัดพังงา พ.ศ. 2562
Phangnga พังงามีดี...ที่ไม่ใช่แค่ดีบุก
พังงา...อดีตเมืองภูงา
จังหวัดพังงาเคยเป็นที่อาศัยของมนุษย์โบราณยุคก่อนประวัติศาสตร์ เนื่องจากพบ หลักฐานทางโบราณคดี เช่น เศษเครื่องปั้นดินเผา ก�ำไลหิน และเปลือกหอยบริเวณ ถ�้ำในวัดสุวรรณคูหา อ�ำเภอตะกั่วทุ่ง และภาพเขียนสีที่ผนังเขาเขียน อุทยานแห่งชาติอ่าวพังงา ต�ำบลเกาะปันหยี อ�ำเภอเมือง
เกาะไข่นุ้ย
อ�ำเภอเก
าะยาว
ถ�ำ้ พ ุ งช้า
งอ ําเภ
อเม
ืองพ ั งงา
WWW.SBL.CO.TH บริษัท สมาร์ท บิซิเนส ไลน์ จ�ำกัด 9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 0-2522-7171 แฟกซ์. 0-2971-7747
.indd 17
9/9/2562 18:31:43
CONTENTS สารบัญจังหวัดพังงา ฉบับที่ 97 จังหวัดพังงา พ.ศ. 2562
เมืองพังงา
24
ใต้ร่มพระบารมี “ โครงการฝายทดน�้ำคลองใน อันเนื่องมาจาก พระราชด�ำริ ” เพื่อช่วยเหลือราษฎรให้มีน�้ำอุปโภค - บริโภค ตลอดปี จ�ำนวน 3 หมู่บ้าน 150 ครอบครัว และช่วยเหลือพื้นที่การเกษตร สวนผลไม้ ประมาณ 500 ไร่
SPECIAL INTERVIEW
40
บันทึกเส้นทางพบท้องถิ่นจังหวัดพังงา นางสาวสุดินา แก้วดี
42
บันทึกเส้นทางพบส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดพังงา
EXCLUSIVE INTERVIEW
นายธวัฒชัย ทองสุกนอก
31
44
นายศิริพัฒ พัฒกุล
นางปิยนุช ศรีสุข
บันทึกเส้นทางพบผู้ว่าราชการจังหวัดพังงา 18
บันทึกเส้นทางพบวัฒนธรรมจังหวัดพังงา
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
.indd 18
9/9/2562 18:31:48
46
108
50
110
62
112
64
116
72
122
74
124
80
126
83
128
84
130
86
132
88
136
90
140
94
144
96
148
98
150
100
153
104
154
106
160
บันทึกเส้นทางความเป็นมา บันทึกเส้นทางท่องเที่ยว ประธานหอการค้าจังหวัดพังงา เหมืองแร่กระทะทอง
64
อบต.เกาะปันหยี วัดประชุมโยธี พระอารามหลวง วัดประพาสประจิมเขต
72
116
วัดมะปริง อบต.ทุ่งมะพร้าว อบต.บางทอง อบต.ล�ำภี วัดนิคมสโมสร (บางคลี) วัดประชุมศึกษา ที่ว่าการอ�ำเภอตะกั่วทุ่ง ทต.กระโสม อบต.กระโสม ทต.โคกกลอย
154
อบต.โคกกลอย
อบต.กะไหล อบต.หล่อยูง วัดควนกะไหล (ธ) วัดสุวรรณคูหา (วัดถ�้ำ) ที่ว่าการอ�ำเภอคุระบุรี ทต.คุระบุรี อบต.เกาะพระทอง อบต.บางวัน อบต.แม่นางขาว วัดสามัคคีธรรม วัดบางครั่ง อบต.โคกเจริญ อบต.บางเหรียง วัดโคกสวย วัดอุทัยราษฎรบ�ำรุง วัดพิทักษ์ธรรมาราม ทม.ตะกั่วป่า อบต.คลองเคียน
PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 19
19
9/9/2562 18:31:53
“ นึกถึงรีสอร์ทดีๆ นึกถึงเรา เนินเขารีสอร์ท”
เนิNERNKHAO น เขารีRESORT ส อร์ท เนินเขารีสอร์ท
159 หมู่ 4 ต�ำบลโคกกลอย อ�ำเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา เนินเขารีสอร์ท
ส�ำรองห้องพักได้ที่ โทร. 076-670355 076-670356 20
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
-
.
.indd 20
6/9/2562 9:14:14
“ ที่นี่บรรยากาศดี อาหารอร่อย ”
Nern Khao View Talay สวนอาหารเนินเขาวิวทะเล
เมนูแนะนำ�
ส้มตำ�สาหร่ายพวงองุ่น
เปิดให้บริการทุกวันตั้งแต่ 10.00 น. – 21.00 น. สวนอาหารเนินเขาวิวทะเล
ลาบปลากระพง ใบเหลียงผัดไข่
18/16 หมู่ 10 ต�ำบลโคกกลอย อ�ำเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา 82140 เนินเขา วิวทะเล
แกงส้มยอดมะพร้าว สะตอผัดกุ้ง ติดต่อสอบถาม โทร. 076-582-182
-
.
.indd 21
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
21
6/9/2562 9:14:28
Sunshine Inn Resort
ซันชายน์ อินน์ รีสอร์ท
34
บริการห้องพักท่ามกลางธรรมชาติ บรรยากาศ เงียบ สงบ เหมาะแก่การพักผ่อน ห่างจากทะเลเพียง 500 เมตร ภายใน ห้องพักกว้าง สะอาด พร้อมสิง่ อ�ำนวยความสะดวก ทีวี แอร์ ตูเ้ ย็น น�้ำอุ่น Wi-fi การเดินทางสะดวก ติดถนนเพชรเกษม มีที่จอดรถสะดวก มีบริการด�ำน�ำ ้ ตกปลา
SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา
.indd 34
6/9/2562 9:40:19
สถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียง
- เขาหลักพลาซ่า ระยะทาง 200 ม. - ชายทะเลหาดนางทอง ระยะทาง 500 ม. - อุทยานแห่งชาติ เขาหลักล�ำรู่ ระยะทาง 2 กม. - ท่าเทียบเรือ สิมิลัน ระยะทาง 7.5 กม. - อนุสรณ์สถานเรือ ต.813 ระยะทาง 1 กม. - ชายทะเลหาดบางเนียง ระยะทาง 1.5 กม. - แหลมปะการัง ระยะทาง 7 กม.
สิ่งอ�ำนวยความสะดวกภายในโรงแรม
- ร้านนวดสปา - ร้านเสริมสวย - สระว่ายน�ำ้ กลางแจ้ง
Sunshine Inn Resort
5/55 หมู่ 7 ต�ำบลคึกคัก อ�ำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา 82220 ส�ำรองห้องพักโทร.
076-485900 081-326-9509
davidsaelao@gmail.com CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย 35
.indd 35
6/9/2562 9:40:30
UNDER HIS GRACIOUSNESS บันทึกเส้นทางใต้ร่มพระบารมี
HIS MAJESTY PROJECT FORBETTER LIFE OF COUNTRYPEOPLE โครงการฝายทดน�้ำคลองใน อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ อ�ำเภอกะปง จังหวัดพังงา
พ
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ รั บ “โครงการ ฝายทดน�้ำคลองใน” พร้อมระบบส่งน�้ำไว้เป็น โครงการอั น เนื่ อ งมาจากพระราชด� ำ ริ ตามที่ องค์การบริหารส่วนต�ำบลรมณีย์ อ�ำเภอกะปง จังหวัดพังงา ขอพระราชทานพระมหากรุณาใน การก่อสร้างฝายน�้ำล้นคลองใน บ้านปากคลอง หมู ่ ที่ 3 ต� ำ บลรมณี ย ์ เพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ ราษฎร ต�ำบลรมณีย์ ซึ่งขาดแคลนน�้ำส�ำหรับอุปโภค – บริโภค และท�ำการเกษตร จุดประสงค์โครงการ เพื่อช่วยเหลือราษฎรให้มีน�้ำอุปโภค – บริโภค ตลอดปี จ�ำนวน 3 หมู่บ ้าน 150 ครอบครั ว และ ช่ ว ยเหลื อ พื้ น ที่ ก ารเกษตร สวนผลไม้ ประมาณ 500 ไร่
24
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
...
(4
).indd 24
9/9/2562 18:38:48
ด้วยพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้น จึงท�ำให้ราษฎรในพื้นที่ อ�ำเภอกะปง ที่ขาดแคลนน�้ำ ได้กลับมามีน�้ำกินน�้ำใช้และ ท�ำการเกษตร มีอาชีพ มีรายได้เลี้ยงครอบครัวตลอดมา
PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
...
(4
).indd 25
25
9/9/2562 18:38:49
UNDER HIS GRACIOUSNESS บันทึกเส้นทางใต้ร่มพระบารมี
ผลการด�ำเนินงาน ปี พ.ศ.2551 กรมชลประทาน ได้ ด� ำ เนิ น การก่ อ สร้ า งฝายทดน�้ ำ คอนกรีตเสริมเหล็ก ขนาดสันฝายสูง 2.50 เมตร ยาว 32.00 เมตร และ ท่ อ ส่ ง น�้ำ ความยาวรวม 720 เมตร พร้ อ มอาคารประกอบท่อ ส่งน�้ำ ปี พ.ศ.2552 กรมชลประทานได้ ด�ำเนินการก่อสร้างท่อส่งน�้ำเพิ่มเติม จ�ำนวน 4,560 เมตร รวมทั้งก่อสร้าง อาคารประกอบท่อส่งน�้ำ พร้อมกันนี้ ได้มีการจัดตั้งกลุ่มผู้ใช้น�้ำชลประทาน 80 พรรษาในหลวงรัชกาลที่ 9 เมื่อ วั น ที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2550 เพื่อ ให้ ร าษฎรได้ บ ริ ห ารจั ด การการใช้ น�้ ำ กั น เองเพื่อก่อ ให้เ กิดประโยชน์สูงสุด อาคารประกอบท่อส่งน�้ำ 1. อาคาร Air Valve จ�ำนวน 2 แห่ง 2. อาคารจ่ายน�้ำทางเดียว จ�ำนวน 2 แห่ง 3. อาคารบ่อพัก Gate Valve จ�ำนวน 1 แห่ง พื้ น ที่ โ ครงการ 500 ไร่ พื้ น ที่ ชลประทาน 500 ไร่ หมายเลขแบบ สพน.5-4-100185-93 งบประมาณ 22,650,000.00 บาท
ประโยชน์ที่ ได้รับ ทั้ ง นี้ ส ามารถส่ ง น�้ ำ ให้ กั บ ราษฎร บ้ า นคลองใน หมู ่ ที่ 2 และบ้ า นปาก คลองหมู ่ ที่ 3 ต� ำ บลรมณี ย ์ อ� ำ เภอ กะปง จั ง หวั ด พั ง งา จ� ำนวน 150 ครัว เรื อ น 540 คน รวมทั้ ง ส่ ง น�้ ำ ให้ แ ก่ พื้ น ที่ การเกษตร จ� ำนวน 500 ไร่ ให้มี น�้ำใช้ อ ย่ า งเพี ย งพอตลอดทั้ง ปี ขอบคุณข้อมูล : ส�ำนักงาน กปร.
26
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
...
(4
).indd 26
9/9/2562 18:38:51
White house Hotel
สถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียง
• วัดถ�้ำพุงช้าง • สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์พังงา • วัดถ�้ำสุวรรณคูหา • ท่าเรือท่าด่าน
ห้องพักเตียงคู่
โรงแรมไวท์เฮ้าส์ (white house Hotel) ที่อยู่ 701/9 ถ.เพชรเกษม ต.ท้ายช้าง อ.เมือง จ.พังงา 82000 white house phang nga
Tel : 076-481889
ห้องพักเตียงเดี่ยว สิ่งอ�ำนวยความสะดวก แอร์, ทีวี, ตู้เซพในห้อง, wi-fi, สะดวกสบาย ติดกับปั๊ม ปตท.
.
.indd 27
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
27
9/9/2562 18:35:11
Thaweesuk hotel
โรงแรมทวีสุข เป็นอาคารชิโนยูโรเปียน หลังแรกๆ ของเมืองพังงา ได้ปรับและปรุง ใหม่ ใ ห้ ค งความงามดั้ ง เดิ ม แบบคลาสสิ ก ร่วมสมัยต่อความสะดวก ผ่อนคลายสบาย อารมณ์เฉกเช่น การเยือนเรือนคุณปู่ของ มิตรสหาย ทวี สุ ข เปิ ด ห้ อ งรองรั บ ทั้ ง ครอบครั ว ห้ อ งเตี ย งคู ่ ห้ อ งเตี ย งเดี่ ย ว และโถงที่ โปร่งโล่งพอเหมาะกับการพบปะสังสรรค์ รวมหมู่คณะ
โรงแรมทวีสุข ย่านชุมชนตลาดเก่าแห่งเมืองพังงา แวดล้อมด้วยความหลากหลายมุมมองที่ท่องเที่ยว ที่ไม่ควรพลาด อาทิ ศาลเจ้าม่าจ้อโป้ที่แวะเวียนมาไหว้ขอพรได้ทุกครา ศาลเจ้าจีนเก่าแก่และศักดิ์สิทธิ์ จิตรกรรมภาพวาดโบราณผนังถ�้ำซ�ำ เจดีย์เขาล้างบาศก์ที่มายลได้จากมุมสูง หินงอกหินย้อยที่ไม่เคย หลับไหลในถ�้ำพุงช้าง ธรรมชาติแห่งป่าโกงกางระบบนิเวศน์ที่สมบูรณ์มากผืนหนึ่งของเมืองไทย และจาก ที่นี่จากที่ท่องเที่ยวบนผืนดิน สู่ผืนน�้ำอ่าวพังงาที่ใกล้และควรค่าที่สุด 28
โรงแรมทวีสุข (Thaweesukhotel) Thaweesukhotel
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
เลขที่ 79 ถนนเพชรเกษม ต�ำบลท้ายช้าง อ�ำเภอเมือง จังหวัดพังงา 82000 www.thaweesuk.com thaweesukhotel@gmail.com
Tel : 076-412100, 089-489-6842
.
.indd 28
6/9/2562 9:55:51
“ รีสอร์ทฮาลาล ท่ามกลางสวนผลไม้ ร่มรื่น เป็นส่วนตัว แวดล้อมด้วย ภูเขาและธรรมชาติที่สวยงาม ”
TONHARD Resort ต้นหาดรีสอร์ท
ทีวี / แอร์ / น�้ำอุ่น / ฟรี Wi-fi / บริการฟรี อาหารเช้า
สถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียง
- ตลาดนัดชุมชนเขาโต๊ะด�ำ 1 กม. - น�้ำตกเต่าทอง 3 กม. - ชายทะเลบ้านโคกไคร 5 กม. - ชายทะเลบางพัฒ 10 กม. - ตลาดน�้ำคลองงา 13 กม.
ต้นหาด รีสอร์ท (TONHARD RESORT) ที่อยู่ 27/6 ม.1 ต.บ่อแสน อ.ทับปุด จ.พังงา 82180 ต้นหาดรีสอร์ท บ่อแสน
Tel : 061-012-8915
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 29
29
6/9/2562 10:03:03
“เฮือนไทย โฮมสเตย์ & รีสอร์ท อุดรธานี”
KAPONG GARDEN Resort “ Special place For Special People” “ที่พิเศษ ส�ำหรับคนพิเศษ”
กะปงการ์เด้นรีสอร์ท ห้องพักท่ามกลางธรรมชาติ สั ม ผั ส กั บ สายหมอกยามเช้ า สไตล์สโลว์ ไลฟ์ พร้อมสิ่งอ�ำนวย ความสะดวก wifi,แอร์,พัดลม,ทีวี, ตู้เย็น,เครื่องท�ำน�้ำอุ่น,กาน�้ำร้อน และอย่ า ลื ม แวะมาอิ่ ม อร่ อ ยกั บ ครัวร่มข้าวบริการอาหารพื้นบ้าน เครื่องดื่ม กาแฟสด
30
สถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียง • บ่อน�้ำพุร้อนปลายพู่ • บ่อน�้ำพุร้อนรมณีย์ • น�้ำตกหินลาด • กะปงแกรนด์แคนยอน • วัดอินทภูมิสักการะหลวงพ่อเซ่ง • ตลาดในหมอก (วันอาทิตย์)
กะปงการ์เด้นรีสอร์ท (Kapong Garden Resort) 201/9 หมู่ที่ 2 ต�ำบลท่านา อ�ำเภอกะปง จังหวัดพังงา 82170 : กะปงการ์เด้นรีสอร์ท พังงา : Kapong garden resort : Kaponggr@hotmail.com
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
Tel : 076-499666, 095-257-2214, 089-870-1814 .indd 30
6/9/2562 10:42:27
สารจากผู้ว่าราชการ
จังหวัดพังงา
ด้วยทรัพยากรธรรมชาติ ภูเขา ป่าไม้ น�้ำตก แม่น�้ำล�ำคลอง ป่าชายเลน หาดทราย และ ท้องทะเล ที่มีความสวยสดงดงามระดับโลก ท�ำให้จังหวัดพังงาคือจุดหมายปลายทางของ นักท่องเที่ยวทั้งไทยและต่างประเทศทั่วโลก จั ง หวั ด พั ง งามุ ่ ง พั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย ว เพื่ อ ให้ เ ป็ น “ศู น ย์ ก ลางการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง นิ เวศ เกษตรกรรมยัง่ ยืน” และเป็น WORLD CLASS DESTINATION ทีส่ ามารถแข่งขันได้ในระดับสากล เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ สู่คุณภาพชีวิตที่ดี พัฒนาภาคการเกษตร ทั้งยางพารา ปาล์มน�้ำมัน ผลไม้ ปศุสัตว์ ประมง และอุตสาหกรรมภาคเกษตร อนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมสู่ความสมดุลอย่างยั่งยืน สังคมน่าอยู่ มีความมั่นคง ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ผมขอขอบคุณพี่น้องชาวจังหวัดพังงาและทุกภาคส่วน ที่ร่วมกันพัฒนาจังหวัดของเราให้มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืนภายใต้จิตส�ำนึก รักจัง พังงา
นายศิริพัฒ พัฒกุล
ผู้ว่าราชการจังหวัดพังงา
เสม็ดนางชี อ�ำเภอตะกั่วทุ่ง PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 31
31
10/9/2562 9:19:24
EXC LUS IVE I N TE RVI EW
ศูนย์กลางการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ เกษตรกรรมยั่งยืน สังคมแห่งการเรียนรู้ สู่คุณภาพชีวิตที่ดี เพื่อให้จังหวัดพังงาเป็น WORLD CLASS DESTINATION TOURISM FOR ALL AND TOURISM BY ALL ที่สามารถแข่งขันได้ ในระดับสากล นายศิริพัฒ พัฒกุล
ผู้ว่าราชการจังหวัดพังงา
32
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
อนุสรณ์ .inddสถานท้ 32 าวสุรนารี (ย่าโม) อ�ำเภอเมือง
10/9/2562 9:19:35
PHANGNGA
GOVERNOR ผู้ว่าราชการจังหวัดพังงา
นายศิริพัฒ พัฒกุล
เสริมระบบการผลิต แปรรูป การบริโภค การค้า การบริหารจัดการ ด้านการเกษตรอย่างเป็นระบบและยั่งยืน เพื่อมูลค่าสินค้าภาคเกษตรที่เพิ่มขึ้นและปลอดภัยได้มาตรฐาน เกษตรกรมีคุณภาพชีวิตที่ดี และ อาชีพมั่นคง นายศิ ริ พั ฒ พั ฒ กุ ล มาด� ำ รงต� ำ แหน่ ง ผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด พั ง งา เมื่ อ วั น ที่ 1 ตุ ล าคม 2561 ส� ำ เร็ จ การศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาโท รัฐประศาสนศาสตร์จากรั้วสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) หลักสูตรนายอ�ำเภอรุ่นที่ 36 หลักสูตรนักปกครองระดับสูง รุ่นที่ 39 หลั ก สู ต รวิ ท ยาลั ย ป้ อ งกั น ราชอาณาจั ก ร รุ ่ น ที่ 58 ต� ำ แหน่ ง ส� ำ คั ญ ในอดีต เช่น ปลัดอ�ำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช นายอ�ำเภอ เกาะพะงั น จั ง หวั ด สุ ร าษฎร์ ธ านี นายอ� ำ เภอกะทู ้ จั ง หวั ด ภู เ ก็ ต ปลัดจังหวัดสุราษฎร์ธานี ปลัดจังหวัดนครศรีธรรมราช รองผู้ว่าราชการ จังหวัดนครศรีธรรมราช ผู้ว่าราชการจังหวัดตรัง
ปัจจุบัน ด�ำรงต�ำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดพังงา และก�ำลังจะไป ด�ำรงต�ำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช 11 เดือนแล้วทีท่ า่ นศิรพิ ฒ ั พัฒกุล ก้าวเข้ามารับหน้าทีด่ แู ล บ�ำบัดทุกข์ บ�ำรุงสุข ให้กบั พีน่ อ้ งประชาชนชาวจังหวัดพังงา ตลอดระยะเวลาทีผ่ า่ นมา ท่านผู้ว่าฯ ได้ขับเคลื่อนแผนและนโยบายการพัฒนาจังหวัดอย่างต่อเนื่อง เพือ่ ให้ “จังหวัดพังงา เป็นศูนย์กลางการท่องเทีย่ วเชิงนิเวศ เกษตรกรรมยัง่ ยืน สังคมแห่งการเรียนรู้ สู่ความเป็นเมืองน่าอยู่ เมืองแห่งความสุข” ซึ่งเป็น เป้าหมายการพัฒนาสูงสุด โดยกระตุ้นให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วม ภายใต้จิตส�ำนึก “รักจัง พังงา”
PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 33
33
10/9/2562 9:19:38
แผนพัฒนาจังหวัดพังงา 5 ปี (พ.ศ. 2561 - 2565) ยุทธศาสตร์ที่ 1 : ส่งเสริมคุณภาพการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ แบบครบวงจร
จากสถานการณ์การท่องเทีย่ วของจังหวัดพังงา ในช่วง 3 ปี ที่ผ่านมา พ.ศ. 2558 - 2560 โดย ในปี 2560 มีรายได้จากการท่องเทีย่ ว 46,758.39 ล้านบาท ขยายตัวเพิม่ ขึน้ จากปี 2559 ซึง่ มีรายได้ จากการท่องเที่ยว จ�ำนวน 44,619.73 ล้านบาท หรือเติบโต ร้อยละ 4.57 และมีจำ� นวนนักท่องเทีย่ ว 4,740,683 คน เพิ่ ม ขึ้ น จากปี 2559 ที่ มี 4,477,266 คน และปี 2558 จ�ำนวน 4,176,738 คน หรือร้อยละ 5.56 และร้อยละ 6.71 มีอัตรา การขยายตัวทั้งรายได้และจ�ำนวนนักท่องเที่ยว ในสัดส่วนที่เพิ่มขึ้น และคาดการณ์ว่าแนวโน้ม การขยายตัวต่อเนือ่ งจากการด�ำเนินงานในเชิงรุก ของจังหวัด แต่ทั้งนี้ก็ยังขึ้นอยู่กับสภาวะทาง การเมืองและสถานการณ์ภายในภาคใต้ด้วย
เช่นกัน ดังนี้แนวทางการพัฒนา ได้แก่ 1. ส่งเสริมและพัฒนาระบบโครงสร้างพืน้ ฐาน สาธารณูปโภคและบริหารจัดการแหล่งท่องเทีย่ ว ให้ได้มาตรฐาน 2. พัฒนาบุคลากรทางการท่องเทีย่ วให้สามารถ แข่งขัน รองรับประชาคมอาเซียน และนักท่องเทีย่ ว กลุ่มเป้าหมาย 3. พั ฒ นาสิ น ค้ า บริ ก าร การตลาดและ ประชาสัมพันธ์การท่องเทีย่ วอย่างมีประสิทธิภาพ 4. พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นเอกลักษณ์ ของจังหวัดพังงาให้มีคุณภาพ 5. เสริมสร้างคุณภาพการท่องเทีย่ วเชิงนิเวศ บนความหลากหลายอย่างปลอดภัย
พัฒนาเส้นทางและสิ่งอ�ำนวยความสะดวก 1. โครงการพั ฒ นาเส้ น ทางคมนาคมสู ่ แหล่งท่องเทีย่ วเชิงสุขภาพ สปาโคลน “คลองมะรุย่ ” ถนนสายบ้านมะรุ่ย 2. โครงการทุน่ ท่าเทียบเรือลอยน�ำ้ จังหวัดพังงา 3. พัฒนาเส้นทางคมนาคมสูแ่ หล่งท่องเทีย่ ว เชิงนิเวศและผจญภัยบ้านสองแพรก ถนนสาย บ้านบางบ้า - บ้านสองแพรก (พง.ถ. 10013) 4. พัฒนาเส้นทางคมนาคมสูแ่ หล่งท่องเทีย่ ว ทางทะเล ถนนสายบ้านนางย่อน - บ้านบางแดด (พง.ถ. 10018) 5. พัฒนาเส้นทางคมนาคมสูแ่ หล่งท่องเทีย่ ว ตลาดนัดประชารัฐ คนไทยยิม้ ได้ “หลาด ลองแล @บางนุ ” สายบ้ า นบางนุ - บ้ า นบางทราย อ�ำเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา - บ้านโคกไคร (พง.ถ. 10002)
6. พัฒนาศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยวและ สร้างเสริมสุขภาพในพื้นที่จังหวัดพังงา ปัจจุบนั มีนักท่องเที่ยวและประชาชนทั่วไป เข้ามาใช้ บริ ก ารท่ อ งเที่ ย วพั ก ผ่ อ นและออกก� ำ ลั ง กาย เป็นจ�ำนวนมากในพื้นที่ต�ำบลคึกคัก ซึ่งที่ดิน สาธารณะประจ�ำต�ำบลคึกคัก หมูท่ ี่ 6 อ�ำเภอตะกัว่ ป่า มีสภาพเหมาะสมด้วยมีที่ตั้งติดทะเลและล�ำน�้ำ สาธารณะคลองบางเนียง ควรแก่การก่อสร้าง ให้เป็นสวนสุขภาพ พัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยว แห่งใหม่ของอ�ำเภอตะกัว่ ป่า หากมีการปรับปรุง พัฒนาให้เหมาะสม จะสามารถแก้ปัญหาความ ต้องการของประชาชนและพัฒนาแหล่งท่องเทีย่ ว ในพืน้ ทีด่ งั กล่าว ดึงดูดพร้อมรองรับนักท่องเทีย่ ว ประชาชนทั่ ว ไปให้ เข้ า มาท่ อ งเที่ ย วพั ก ผ่ อ น ออกก�ำลังกาย พร้อมสร้างความประทับใจได้ เป็นอย่างดี พร้อมกับเพิม่ มูลค่าทางธุรกิจ สร้างงาน สร้างรายได้แก่ประชาชนในพื้นที่ 34
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
.indd 34
10/9/2562 9:19:44
พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวและกิจกรรมท่องเที่ยว 1. จัดท�ำประติมากรรมอุทยานการเรียนรู้ ใต้ทอ้ งทะเล เพือ่ ส่งเสริมการท่องเทีย่ วจังหวัดพังงา 2. ส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาศั ก ยภาพชุ ม ชน ท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี “รักจัง...พังงา” 3. โครงการส่ ง เสริ ม และเพิ่ ม ศั ก ยภาพ ทางการแข่งขันด้านการท่องเที่ยวจังหวัดพังงา 4. ส่งเสริมอัตลักษณ์ศิลปะการแสดงทาง วัฒนธรรม สู่การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 5. สนับสนุน การด�ำเนินงานของเครือข่าย ทางด้านศิลปะ ศาสนา วัฒนธรรม และอนุรักษ์ ฟื ้ น ฟู ข นบธรรมเนี ย มประเพณี จั ง หวั ด พั ง งา เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 6. โครงการปรั บ ปรุ ง สวนประวั ติ ศ าสตร์ ทางวัฒนธรรม อ�ำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา
ยุทธศาสตร์ที่ 2 : สร้างเสริมระบบการผลิต แปรรูป การบริโภค การค้าการบริหารจัดการ ด้านการเกษตร อย่างเป็นระบบและยั่งยืน
ส่งเสริมระบบการผลิต แปรรูปการบริโภค การค้าการบริหารจัดการ ด้านการเกษตรอย่าง เป็นระบบและยัง่ ยืน เพือ่ มูลค่าสินค้าภาคเกษตร ที่เพิ่มขึ้นและปลอดภัยได้มาตรฐาน เกษตรกร มีคุณภาพชีวิตที่ดีอาชีพมั่นคงและรายได้จาก ภาคเกษตรเพิ่มขึ้น ทรัพยากรทางการเกษตร มีการน�ำไปใช้เพื่อพัฒนาการเกษตรได้อย่างมี ประสิทธิภาพคุม้ ค่า ซึง่ มีแนวทางการพัฒนา ได้แก่ 1. ผลิ ต สิ น ค้ า เกษตรให้ มี ค วามปลอดภั ย และได้มาตรฐานเพื่อการส่งออก 2. ส่งเสริมการแปรรูปสินค้าเกษตรให้ได้ มาตรฐานโดยใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม
3. พั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐานและอนุ รั ก ษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรการเกษตรอย่างเหมาะสม 4. ส่งเสริมผลผลิตทางการเกษตรตามแนว เศรษฐกิจพอเพียง 5. พัฒนากลไกการกระจายสินค้าเกษตร สู่ตลาดอย่างเหมาะสม การบรรจุภัณฑ์ การเพิ่ม มู ล ค่ า สิ น ค้ า เกษตรโดยการเชื่ อ มโยงตลาด ทั้งภายในและภายนอกประเทศ 6. ส่งเสริมพัฒนาองค์ความรู้ในการจัดการ การผลิ ต ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและได้ คุ ณ ภาพ พัฒนากลุ่มสถาบันเกษตรกรสหกรณ์ให้เข้มแข็ง รองรับการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยได้มาตรฐาน 7. ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 35
35
10/9/2562 9:19:50
EXC LUS IVE I N TE RVI EW
เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและเพิ่มมูลค่าสินค้า เกษตร / เกษตรอุตสาหกรรม 1. โครงการเกษตรผสมผสาน ตามศาสตร์ พระราชา พังงาโมเดล 2. โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตร ปลอดภัย เพื่อรองรับการเป็นเมืองสุขภาพ และ เมืองท่องเที่ยวเชิงคุณภาพในอนาคต 3. ส่งเสริมเกษตรกรให้มีรายได้เสริมโดย การปลู ก ทุ เรี ย นพั น ธุ ์ ส าลิ ก า พื ช อั ต ลั ก ษณ์ จังหวัดพังงา 4. เกษตรเพื่ออาหารกลางวันในโรงเรียน ตามแนวพระราชด�ำริ 5. การสร้ า งแหล่ ง เรี ย นรู ้ ดู ง านและ ส่งเสริมการสร้างรายได้เพือ่ รองรับการท่องเทีย่ ว ของจังหวัดพังงา 6. การส่งเสริมและเชือ่ มโยงตลาดจังหวัดพังงา 7. โครงการเพิ่ ม ทรั พ ยากรสั ต ว์ น�้ ำ และ อนุรักษ์สัตว์ทะเลคืนถิ่นอันดามัน 8. พั ฒ นายกระดั บ ผู ้ ผ ลิ ต ผู ้ ป ระกอบการ OTOP สู่การเป็น Smart Business Solution 9. โครงการส่งเสริมองค์กรชุมชนประมง ท้องถิ่นจังหวัดพังงาสู่การพัฒนาอาชีพประมง พื้นบ้านอย่างยั่งยืน 10. โครงการเพิม่ ประสิทธิภาพธนาคารปูมา้ 11. ยกระดับการผลิตสินค้าปศุสัตว์ (แพะ เพิ่มมูลค่าให้สวนยางพาราและปาล์มน�้ำมัน) ส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทน ภาคเกษตร 1. โครงการส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ พลั ง งานทดแทน เพื่ อ ลดต้ น ทุ น และพั ฒ นา ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร 2. โครงการส่งเสริมอาชีพให้แก่ประชาชน เขตพื้นที่จังหวัดพังงา
บ้านท่าเขา อ�ำเภอเกาะยาว
36
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
.indd 36
10/9/2562 9:19:52
เครดิตภาพ : คุณดุสิต อุปถัมภ์
ยุทธศาสตร์ที่ 3 : สร้างเสริมระบบการจัดการ ทรั พ ยากรธรรมชาติ และสิ่ ง แวดล้ อ มให้ มี ประสิทธิภาพและสมดุล สร้ า งเสริ ม ระบบการจั ด การทรั พ ยากร ธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ มให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และสมดุ ล เพื่ อ อนุ รั ก ษ์ แ ละฟื ้ น ฟู ท รั พ ยากร ธรรมชาติสู่ความสมดุลและยั่งยืน ซึ่งแนวทาง การพัฒนา ได้แก่ 1. ส่งเสริมและขยายผลกระบวนการเรียนรู้ และสร้างจิตส�ำนึกให้มีส่วนร่วมในการบริหาร จั ด การทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม อย่างสมดุล 2. ก�ำหนดเขตการใช้พื้นที่ประโยชน์ที่ดิน และแหล่งน�้ำให้เหมาะสม 3. ส่ ง เสริ ม ฟื ้ น ฟู แ ละอนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน 4. การบริหารจัดการสิง่ แวดล้อมได้รบั การแก้ไข อย่างมีประสิทธิภาพ
อนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 1. โครงการรักษ์พังงา รักษาสิ่งแวดล้อม 2. โครงการฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลและ ชายฝั่งจังหวัดพังงาโดยใช้ระบบประชารัฐ 3. ปรั บ ปรุ ง ภู มิ ทั ศ น์ ริ ม ฝั ่ ง คลองบริ เวณ ศูนย์ราชการ (ระยะที่ 2) หมู่ที่ 3 ต�ำบลถ�้ำน�ำ้ ผุด อ�ำเภอเมืองพังงา จังหวัดพังงา ความยาว 420 เมตร 4. ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพภาคีเครือ ข่ า ยภาคประชาชนในการบริ ห ารจั ด การ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 5. ท�ำความดีดว้ ยหัวใจ ร่วมลดภัยสิง่ แวดล้อม 6. ปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณฝั่งคลองพังงา บ้านควน หมู่ที่ 1 ต�ำบลถ�้ำน�้ำผุด อ�ำเภอเมือง จังหวัดพังงา ความยาว 370 เมตร 7. อนุ รั ก ษ์ ฟื ้ น ฟู และบริ ห ารจั ด การ ทรัพยากรป่าชายเลนจังหวัดพังงาสู่ความยั่งยืน
เครดิตภาพ : Sign Scuba
8. โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์สระน�้ำห้วย ลานไทร หมู่ที่ 5 ต�ำบลโคกเจริญ อ�ำเภอทับปุด จังหวัดพังงา 9. โครงการป่าในเมือง สวนป่าประชารัฐ เพื่อความสุขของคนไทย 10. จ้างที่ปรึกษาเพื่อจัดท�ำแผนแม่บทการ บริหารจัดการน�้ำเสียจังหวัดพังงา 11. โ ครงการปรั บ ปรุ ง และก่ อ สร้ า งเขื่ อ น ป้องกันตลิ่งริมชายฝั่ง บ้านปากเกาะ หมู่ที่ 3 ต�ำบลเกาะคอเขา อ�ำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา 12. กินอิ่ม นอนอุ่น บนผืนดินแห่งความสุข “พังงา” PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 37
37
10/9/2562 9:19:56
ยุทธศาสตร์ที่ 4 : ยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดี ความมั่นคงปลอดภัยเพื่อสร้างสังคม ให้มั่นคงและน่าอยู่
การยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดี ความมั่นคง ปลอดภัยเพื่อสร้างสังคม ให้มั่นคงและน่าอยู่ เพือ่ ให้ประชาชนมีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ มี คี วามมัน่ คง ยั่งยืน ตามแนวทางพัฒนา ได้แก่ 1. เสริมสร้างความมั่นคงในอาชีพ 2. ส่งเสริมการให้ประชาชนเข้าถึงสวัสดิการ และบริการของรัฐ 3. โครงการส่งเสริมวัฒนธรรมประเพณีและ ภูมิปัญญาท้องถิ่น 4. ส่งเสริมสังคมแห่งการศึกษาและเรียนรู้ ตลอดชีพ 5. เพิม่ ประสิทธิภาพระบบรักษาความปลอดภัย ในชีวิตและทรัพย์สิน สาธารณภัย - อุทกภัย อุบัติภัย และอื่นๆ 6. ส่งเสริมจิตส�ำนึกและกระบวนการมีส่วน ร่วมในการแก้ไขปัญหาด้านความมั่นคง และ กิจกรรมทางสังคม
7. ส ่ ง เสริ ม และพั ฒ นาหมู ่ บ ้ า น / ชุ ม ชน เข้มแข็งพึ่งตนเองได้ สร้างความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 1. โครงการเพิม่ ประสิทธิภาพพัฒนาศักยภาพ ด้านการรักษาความปลอดภัยและความสงบเรียบร้อย 2. โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด (พังงาปลอดยาเสพติด) พั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต การเรี ย นรู ้ สู ่ สั ง คม คุณภาพ 1. โ ครงการพั ฒ นาศั ก ยภาพ TO BE NUMBER ONE จังหวัดพังงา ปี 2563 2. โครงการเสริมอาชีพ สร้างรายได้ชาวพังงา สู่เมืองน่าอยู่ และน่ายล
เกาะไข่นุ้ย อ�ำเภอเกาะยาว
38
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
.indd 38
10/9/2562 9:19:59
บรรยายพิ เ ศษ “ยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นา จังหวัดพังงา” วันที่ 7 สิงหาคม 2562 เวลา 09.30 น. นายศิริพัฒ พัฒกุล ผู้ว่าราชการจังหวัดพังงา ให้ ก ารต้ อ นรั บ พร้ อ มบรรยายพิ เ ศษในหั ว ข้ อ “ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดพังงา” แก่คณะ นักศึกษาหลักสูตรนักปกครองระดับสูง(นปส.) รุ่นที่ 73 จ�ำนวน 100 คน ณ ห้องประชุมชั้น 2 ศาลากลางจังหวัดพังงา ในโอกาสที่เดินทางมา ศึกษาดูงานในพื้นที่จังหวัดพังงา
เปิดการแข่งขัน “เขาช้าง ไนท์ รัน 2019” วันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2562 เวลา 20.00 น. นายศิริพัฒ พัฒกุล ผู้ว่าราชการจังหวัดพังงา เป็นประธานเปิดการแข่งขัน “เขาช้าง ไนท์ รัน 2019” ครั้งที่ 1 ประจ�ำปี 2562 ณ บริเวณ ถ�้ำรถลอด สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์พังงา อ�ำเภอเมืองพังงา เพือ่ ส่งเสริมการออกก�ำลังกาย และสนั บ สนุ น การท่ อ งเที่ ย วในพื้ น ที่ โ ดยใช้ เส้นทางในเขตเทศบาลเมืองพังงา ระยะทาง 6.5 กิโลเมตร มีผู้เข้าร่วมการแข่งขันจ�ำนวน 2,800 คน พร้อมมอบรางวัลแก่ผู้ชนะในแต่ละ ประเภทด้วย
จังหวัดพังงา ร่วมเป็นเกียรติน�ำเสนอผลการด�ำเนินงาน TO BE NUMBER ONE วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2562 นายศิรพิ ฒ ั พัฒกุล ผูว้ า่ ราชการจังหวัดพังงา นางสาวสุกานดา แสงวงษ์ พัฒนาการจังหวัดพังงา และหัวหน้าส่วนราชการ ร่วมเป็นเกียรตินำ� เสนอผลการด�ำเนินงานจังหวัด TO BE NUMBER ONE พังงา ระดับภาคใต้ ประจ� ำ ปี 2562 ร่ ว มพิ ธี ป ระกาศผลและ รับรางวัลพระราชทาน ณ โรงแรมไดมอนด์ พลาซ่า จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยผลการประกวด ได้แก่ จังหวัดพังงา กลุ่มต้นแบบระดับเพชร ชุมชน บางมรา-ตอตัง้ กลุม่ ต้นแบบระดับเพชร(ผ่านเข้าสู่ ยอดเพชรระดับประเทศ) ชุมชนบ้านบางหลุด กลุ่มดีเด่น วิทยาลัยเทคนิคพังงา กลุ่มต้นแบบ ระดั บ ทอง และโรงเรี ย นทุ ่ ง โพธิ์ วิ ท ยา กลุ ่ ม ต้นแบบระดับเพชร PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 39
39
10/9/2562 9:20:06
จาก
ต ผมรู้ส ภาค ประช ที่ช่วย ผ
EXC LU SI VE
PHANGNGA
PROVINCIAL OFFICE FOR LOCAL ADMINISTRATION
ท้องถิ่นจังหวัดพังงา
นางสาวสุ ดิน า แก้ ว ดี ผลการด�ำเนินงานที่โดดเด่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นร่วมกับจังหวัด จั ด ท� ำ แผนปฏิ บั ติ ก ารเพื่ อ ด� ำ เนิ น งานในการ จั ด การขยะมู ล ฝอย การด� ำ เนิ น การลดและ คัดแยกขยะมูลฝอยในพื้นที่ และจัดระบบการ เก็บรวบรวมขนส่งขยะมูลฝอย ขยะอันตราย แบบแยกประเภทเพื่ อ ส่ ง ก� ำ จั ด อย่ า งถู ก ต้ อ ง ตามหลักวิชาการ เพือ่ ให้การแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอย มีเอกภาพ จึงมีกรอบแนวคิดการจัดการขยะมูลฝอย 40
อย่างยั่งยืน คือ “ขยะมูลฝอยเกิดขึ้นในพื้นที่ใด ก�ำจัดในพื้นที่นั้น” จากการสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ และประชาชน มีหน้าที่ในการช่วยกันรณรงค์ ปลูกจิตส�ำนึกและสร้างการรับรู้ให้แก่ประชาชน เพือ่ ลดปริมาณขยะมูลฝอย การใช้ประโยชน์จาก ขยะมูลฝอย ลดภาระค่าใช้จ่ายในการให้บริการ เก็ บ ขน และก� ำ จั ด ขยะมู ล ฝอยขององค์ ก ร
ปกครองส่วนท้องถิ่น ท�ำให้จังหวัดพังงาได้รับ มอบโล่เกียรติคุณ รางวัล “ความส�ำเร็จในการ คัดแยกขยะ เปลี่ยนเพื่อประเทศไทยไร้ขยะ” Success of Waste Separation-Change for Good ให้แก่จงั หวัดพังงา ณ วันที่ 1 กรกฎาคม 2562 จากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย พลเอกอนุพงษ์ เผ่าจินดา โดยมีทา่ นศิรพิ ฒ ั พัฒกุล ผู้ว่าราชการจังหวัดพังงา เป็นผู้รับมอบโล่
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
อนุสรณ์.indd สถานท้ 40 าวสุรนารี (ย่าโม) อ�ำเภอเมือง
6/9/2562 11:06:26
ท้องถิ่นจังหวัด ต้องน�ำความรู้ ความสามารถ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และพัฒนางานยึดหลักธรรมาภิบาลเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน โดยมุ่งเน้นการพัฒนา คุณภาพ คุณธรรมและจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ควบคู่ไปกับการปรับปรุงรูปแบบและวิธีการท�ำงาน เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินเป็นไปอย่างมี ประสิ ท ธิ ภ าพ และส่ ง เสริ ม ให้ บุ ค ลากรของหน่ ว ยงานใช้ ห ลั ก การบริ ห ารกิ จ การบ้ า นเมื อ งที่ ดี เ ป็ น แนวทางในการปฏิ บั ติ ร าชการ เพื่ อ รองรั บ ยุ ท ธศาสตร์ ประเทศไทย 4.0 ซึ่งเป็นหลักการส�ำคัญที่นางสาวสุดินา แก้วดี ท้องถิ่นจังหวัดพังงา น�ำมาใช้ ในการท�ำงานร่วมกับ อปท. ทั้งหลายเพื่อประโยชน์สุขของ ประชาชนชาวพังงา
แผนพัฒนา อปท. ปี 2562 ดิ ฉั น ให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การแก้ ไขปั ญ หา ขยะมูลฝอยชุมชน และเห็นว่าเป็นปัญหาทีส่ งั่ สม มายาวนาน ขาดความตระหนักในการแก้ปัญหา ร่วมกันของทุกภาคส่วน และการบริหารจัดการขยะ ในพืน้ ทีอ่ งค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ จังหวัดพังงา ยังไม่เหมาะสมกับพื้นที่ เพื่อให้การบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน เป็นรูปธรรม และมีประสิทธิภาพอย่างยั่งยืน ดิ ฉั น จึ ง ก� ำ หนดแนวทางการบริ ห ารจั ด การ ขยะมู ล ฝอยชุ ม ชนขององค์ ก รปกครองส่ ว น ท้ อ งถิ่ น จั ง หวั ด พั ง งาเป็ น พิ เ ศษ โดยก� ำ หนด นโยบายการบริหารจัดการเบื้องต้น ดังนี้ 1. ขยะมูลฝอยชุมชน คือ ขยะมูลฝอยทีเ่ กิด จากกิจกรรมต่างๆ ในชุมชน เช่น บ้านพักอาศัย ธุรกิจ การค้า สถานประกอบการ สถานบริการ ตลาดสด สถาบันต่างๆ เศษวัสดุก่อสร้างเป็นต้น ซึ่งแบ่งเป็น 4 ประเภท ได้แก่ ขยะมูลฝอยทั่วไป ขยะมูลฝอยอินทรีย์ ขยะมูลฝอยรีไซเคิล และ ขยะมู ล ฝอยอั น ตรายชุ ม ชน และไม่ ร วมกาก ของเสียอันตรายและขยะมูลฝอยติดเชื้อ ได้รับ การบริหารจัดการอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ 2. รูปแบบการจัดการขยะมูลฝอย หมายถึง วิธีการจัดการขยะมูลฝอยเพื่อลดปริมาณขยะ มูลฝอยชุมชน มีการคัดแยกประเภทขยะก่อน ทิ้งลงถัง การจัดเก็บและขนส่ง การใช้ซ�้ำ การท�ำ ปุ๋ยหมัก และการน�ำกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ การเลือกใช้เทคโนโลยีในการจัดการขยะมูลฝอย และการจัดเก็บค่าธรรมเนียม 3. การบริหารจัดการขยะมูลฝอย หมายถึง วิธีการบริหารจัดการกับขยะมูลฝอยในชุมชน ประกอบด้วยรูปแบบการจัดการขยะ การพัฒนา บริหารจัดการขยะ พฤติกรรมการมีส่วนร่วม
ของชุ ม ชน การปลู ก ฝั ง จิ ต ส� ำ นึ ก ของชุ ม ชน ในการจัดการขยะ และการใช้เทคโนโลยีในการ จัดการขยะมูลฝอยชุมชนที่เหมาะสมในพื้นที่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 4. จุดเน้นแนวทางนโยบายในการบริหาร จัดการขยะมูลฝอยชุมชนตามข้อ 1-3 ได้แก่ ขนาดเล็ ก เน้ น การจั ด การขยะมู ล ฝอยชุ ม ชน ตั้งแต่ครัวเรือน เช่น การลด การคัดแยก และ
ใช้ ป ระโยชน์ จ ากขยะมู ล ฝอยชุ ม ชน และ ส่งเสริมรูปแบบกิจกรรมขยะมูลฝอยชุมชน เช่น ธนาคารขยะมูลฝอย ตลาดนัดรีไซเคิล เน้นการ รวมกลุ่มกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นใน การจัดการขยะมูลฝอยชุมชนหรือมอบหมายให้ หน่วยงานอื่นๆ ที่มีศักยภาพด�ำเนินการเก็บขน และก�ำจัดขยะมูลฝอยชุมชน
โทรศัพท์ 0-7641-1433-5
PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 41
41
6/9/2562 11:06:27
EXC LU SI VE I N TE RVI EW
EXC LU SI VE
PHANGNGA PROVINCIAL OFFICE OF BUDDHISM ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดพังงา
นายธวั ฒ ชั ย ทองสุ ก นอก
42
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
อนุสรณ์.indd สถานท้42าวสุรนารี (ย่าโม) อ�ำเภอเมือง
6/9/2562 11:10:24
วัดส�ำคัญด้านการท่องเที่ยว
พระพุทธศาสนามีความเจริญมั่นคง พุทธศาสนิกชนเข้มแข็งมีความสุข ด้วยหลักพุทธธรรม ส่งเสริมศีลธรรม ค�้ำจุนสังคม - วิสัยทัศน์
วั ด ที่ เ ป็ น สถานที่ ท ่ อ งเที่ ย วทางธรรมของ จังหวัดพังงา ได้แก่ วัดสุวรรณคูหา หรือทีช่ าวบ้าน เรียกกันว่า “วัดถ�้ำ” ตั้งอยู่หมู่ 2 ต�ำบลกระโสม เป็น โบราณสถานที่ส�ำคัญทางประวัติศาสตร์ และทางโบราณคดี บริเวณที่ตั้งวัดมีภูเขา ซึ่งมี ถ�้ำน้อย - ถ�้ำใหญ่จ�ำนวนมาก เป็นที่ประดิษฐาน พระพุทธไสยาสน์ส�ำคัญ
นอกจากนี้ ยังมี 1.วัดราษฎร์อุปถัมภ์ ต�ำบล บางเหรี ย ง เป็ น วั ด เก่ า แก่ ข องอ� ำ เภอทั บ ปุ ด 2.วัดมณีศรีมหาธาตุ ต�ำบลกะไหล อ�ำเภอตะกั่วทุ่ง 3.วัดประชุมโยธี พระอารามหลวง ทีม่ คี วามโดดเด่น ด้ า นสถาปั ต ยกรรม 4.วั ด เทศก์ ธ รรมนาวา (วัดท่าไทร) ต�ำบลนาเตย อ�ำเภอท้ายเหมือง ที่มี อุโบสถไม้สักทรงไทยหลังงาม ริมทะเล เป็นต้น
ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด มีหน้าที่ ในการสนองงานคณะสงฆ์ และท� ำ นุ บ� ำ รุ ง ให้การอุปถัมภ์ คุ้มครอง ส่งเสริม และพัฒนา พระพุทธศาสนา จัดการศาสนสมบัติ สนับสนุน การขับเคลื่อนกิจการพระพุทธศาสนาตามแนว นโยบายของส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ และแนวนโยบายของผู้ว่าราชการจังหวัด โดย บูรณาการการท�ำงานกับทุกภาคส่วน
จ�ำนวนวัดและส�ำนักปฏิบัติธรรม จังหวัดพังงา มีวัดจ�ำนวน 89 วัด สังกัดคณะ สงฆ์มหานิกาย 76 วัด คณะสงฆ์ธรรมยุต 13 วัด การปกครองคณะสงฆ์ สังกัดมหานิกาย จ�ำนวน 7 อ�ำเภอ สังกัดธรรมยุต 1 อ�ำเภอ และเขต การปกครองคณะสงฆ์ม หานิก าย 12 ต�ำบล คณะสงฆ์ธรรมยุต 2 ต�ำบล จ�ำนวนพระสงฆ์จำ� นวน 753 รูป สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย 593 รูป คณะสงฆ์ธรรมยุต 160 รูป (ข้อมูล พฤษภาคม พ.ศ. 2562) วัดและส�ำนักปฏิบัติธรรมในจังหวัดพังงา ที่ จั ด ตั้ ง ถู ก ต้ อ งตามระเบี ย บมหาเถรสมาคม ว่าด้วยการจัดตัง้ ส�ำนักปฏิบตั ธิ รรมประจ�ำจังหวัด พ.ศ. 2558 มีจ�ำนวน 4 แห่ง ได้แก่ แห่งที่ 1 วั ด คงคาภิ มุ ข ต� ำ บลตะกั่ ว ป่ า อ�ำเภอตะกั่วป่า แห่งที่ 2 วัดราษฎร์อปุ ถัมภ์ ต�ำบลบางเหรียง อ�ำเภอทับปุด แห่งที่ 3 วั ด ค ม นี ย เข ต ต� ำ บ ล คึ ก คั ก อ�ำเภอตะกั่วป่า แห่งที่ 4 วัดมาตุคุณาราม ต�ำบลกระโสม อ�ำเภอตะกั่วทุ่ง
โทรศัพท์ 0-7641-3910 โทรสาร 0-7641-3908
PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 43
43
6/9/2562 11:10:26
EXC LU SI VE
PHANGNGA
PROVINCIAL CULTURAL OFFICE
ส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดพังงา
นางปิ ย นุ ช ศรี สุ ข
ผลการด�ำเนินงานที่ภาคภูมิใจ ปีงบประมาณ 2562 ส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดพังงา ได้รบั งบประมาณจากงบพัฒนาจังหวัดพังงา ด�ำเนินโครงการการใช้เอกลักษณ์จากศิลปะการแสดงพื้นบ้าน สร้างสรรค์ศิลปะการแสดงพื้นถิ่น กิจกรรมจัดอบรมให้ความรูแ้ ละฝึกปฏิบตั ศิ ลิ ปะการแสดง และจัดแสดงผลงานศิลปะการแสดง 3 ประเภท คือ โขน กลองยาว และดิเกฮูลู กลุ่มเป้าหมายเป็นเยาวชนในสถานศึกษาของจังหวัดพังงา จ�ำนวน 265 คน เพือ่ สืบสาน รักษา พัฒนาและต่อยอด ศิลปะการแสดงของชาติและของท้องถิน่ ให้เป็นทีร่ บั รู้ อย่างกว้างขวาง โดยน�ำเสนอผลงานศิลปะการแสดง โขน กลองยาว ดิเกฮูลู เมื่อวันศุกร์ที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2562 ณ หอประชุมศูนย์ราชการจังหวัดพังงา ซึ่งได้รับการชื่นชมจากผู้เข้าชมเป็นอย่างดียิ่ง 44
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
อนุสรณ์.indd สถานท้ 44 าวสุรนารี (ย่าโม) อ�ำเภอเมือง
6/9/2562 11:17:35
ส่งเสริมศักยภาพวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น ส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดพังงา ตระหนัก ในคุณค่าความส�ำคัญของมรดกภูมิปัญญาทาง วัฒนธรรม อัตลักษณ์ของชุมชน และทุนทาง วัฒนธรรม โดยการสืบทอดและส่งเสริมการขึ้น ทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม พัฒนา แหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรม เช่น พิพิธภัณฑ์ เมื อ งพั ง งา แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วทางวั ฒ นธรรม ตลาดวัฒนธรรม ถนนสายวัฒนธรรม ตลอดจน การพัฒนาอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ด้วยสินค้า และบริการทางวัฒนธรรม เช่น เรือก่าบาง ผลิตภัณฑ์ จากก้านจาก ไม้ตาล เหงือกปลาหมอ ผ้าปาเต๊ะ และผ้ามัดย้อม ที่สร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่ม ทางเศรษฐกิจ เพือ่ เป็นรากฐานการพัฒนาจังหวัด ในด้านต่างๆ 1. ด้านอาหาร (Food) รวบรวมองค์ความรู้ ถ่ายทอด รณรงค์เรือ่ งอาหารไทย อาหารพืน้ บ้าน ในจังหวัดมาต่อยอดให้มมี ลู ค่าสูงขึน้ อาหารพืน้ บ้าน ทีโ่ ดดเด่นเป็นเอกลักษณ์สร้างสรรค์จากภูมปิ ญ ั ญา โดยใช้วัตถุดิบจากธรรมชาติ ได้รับอิทธิพลจาก อาหารไทย และอาหารทีส่ ร้างสรรค์ขนึ้ โดยได้รบั
อิทธิพลจากวัฒนธรรมจีนฮกเกี้ยน เช่น น�้ำพริก กุง้ เสียบ แกงพุงปลา อาจาด หมูฮอ้ ง ผัดผักเหมียง กุ้งเสียบ จอแหร้ง และขนมเต้าส้อ เป็นต้น 2. ด้านภาพยนตร์และวีดิทัศน์ (Film) โดยจัดกิจกรรมประกวดหนังสั้น คลิป ที่เล่าถึง สิ่ ง ที่ ดี ง ามของท้ อ งถิ่ น เพื่ อ เชื่ อ มโยงให้ เ กิ ด ความสนใจที่จะมาท่องเที่ยว และเชิญชวนให้ คนในจั ง หวั ด ได้ ถ ่ า ยทอดค่ า นิ ย ม สิ่ ง ที่ ดี ง าม ของบุคคล ชุมชน ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ เช่น ไลน์ เฟสบุ๊ค เว็บไซต์ 3. ด้านผ้าไทยและการออกแบบแฟชั่น (Fashion) โดยสร้างการรับรู้และความเข้าใจ เกี่ยวกับนโยบายเรื่องการรณรงค์การแต่งกาย ด้ ว ยผ้ า ไทย และผ้ า พื้ น เมื อ งในพื้ น ที่ จั ง หวั ด รณรงค์การแต่งกายด้วยผ้าไทยและชุดพื้นถิ่น (บาบ๋ า ย่ า หยา) ทุ ก วั น ศุ ก ร์ หรื อ ในโอกาส การจัดงานส�ำคัญ งานประเพณีท้องถิ่น โดย ความร่วมมือของภาคีเครือข่าย ตลอดจนประกาศ ยกย่องหน่วยงาน องค์กรภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนต้นแบบของจังหวัด
4. มวยไทยและศิลปะการต่อสู้ (Fighting) จังหวัดพังงา มีศิลปะการต่อสู้ “มวยกาหยง” เป็นการแสดงยั่วยุ ออกลีลาท่าทางกับคู่ต่อสู้ ในเชิงตลกขบขัน สนุกสนาน ได้เผยแพร่เข้ามา ในอ�ำเภอเกาะยาวไม่ต�่ำกว่า 100 ปี ส่วนใหญ่ จะเป็นการแสดงในงานมงคลสมรส ปัจจุบัน กลายเป็นศิลปะการแสดงและการละเล่นพืน้ บ้าน ต้อนรับนักท่องเที่ยว 5. เทศกาลและประเพณี (Festival) รวบรวมและเผยแพร่ วั ฒ นธรรม ประเพณี การแสดงศิลปวัฒนธรรมของจังหวัด มุ่งเน้น ความภาคภูมิใจในความเป็นไทย และตระหนัก ถึงความส�ำคัญของการรักษาวัฒนธรรม ส่งเสริม ยกระดั บ งานเทศกาล ประเพณี การแสดง ศิลปวัฒนธรรมของจังหวัด และการจัดงานมหกรรม ทางวัฒนธรรม เช่น งานสมโภชศาลหลักเมืองพังงา ประเพณีถือศีลกินผัก ประเพณีสารทเดือนสิบ ประเพณีแห่ผา้ ขึน้ พระมหาธาตุเจดียพ์ ทุ ธธรรมบันลือ ประเพณีแห่เก่ว-ไหว้เต่า และประเพณีปล่อยเต่า เป็นต้น PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 45
45
6/9/2562 11:17:39
พั ง งา... อดีตเมืองภูงา นั่งไทม์แมชชีนย้อนไปในอดีต จังหวัดพังงาเคยเป็นที่อาศัยของมนุษย์โบราณยุคก่อนประวัติศาสตร์ เนื่องจากพบหลักฐานทางโบราณคดี เช่น เศษเครื่องปั้นดินเผา ก�ำไลหิน และเปลือกหอยบริเวณถ�้ำในวัดสุวรรณคูหา อ�ำเภอตะกั่วทุ่ง และภาพเขียนสีที่ผนังเขาเขียน อุทยานแห่งชาติอ่าวพังงา ต�ำบลเกาะปันหยี อ�ำเภอเมือง ส่วนจุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์เมืองพังงาที่แท้จริงนั้นอยู่ที่บ้านทุ่งตึก ต�ำบลเกาะคอเขา อ�ำเภอคุระบุรี ซึ่งมีการค้นพบชุมชนโบราณ พบลูกปัด เศษภาชนะแตกหักจ�ำนวนมาก เป็นหลักฐาน ที่แสดงให้เห็นถึงการค้าในยุคโบราณ ซึ่งผู้เฒ่าผู้แก่ต่างเรียกบ้านทุ่งตึกว่า เมือง “ตะโกลา” หรือ “ตะกั่วป่า” ในปัจจุบัน
46
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
.indd 46
9/9/2562 17:44:56
เดิมจังหวัดพังงาชื่อว่า “เมืองภูงา” ซึ่งเป็นชื่อของ “เขางา, เขาพังงา, เขากราภูงา” หรือ “เขาพังกา” (ภาษามลายู แปลว่า ป่าน�้ำภูงา) ตามที่ชาวบ้านเรียกแตกต่างกันไป ปัจจุบันตั้งอยู่ ในตัวจังหวัดพังงา ในอดีต “เมืองภูงา” ขึ้นอยู่กับเมืองนครศรีธรรมราช สมัยพระบาทสมเด็จ พระพุทธเลิศหล้านภาลัย การตั้งชื่อเมืองภูงาอาจให้คล้องจองกับเมืองภูเก็ต เหตุที่เมืองภูงา กลายเป็นเมืองพังงานั้น สันนิษฐานว่าน่าจะมาจากเมืองภูงาเป็นเมืองที่มีแร่อุดมสมบูรณ์ มีชาวต่างชาติจ�ำนวนมากมาติดต่อซื้อขายแร่ดีบุก และการเขียนชื่อเมืองภูงาว่า Phunga หรือ Punga อ่านว่า “ภูงา, พังงา” หรือ “พังกา” จึงท�ำให้การออกเสียง “เมืองภูงา” กลายเป็น “เมืองพังงา” เพี้ยนไปนั่นเอง
PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 47
47
9/9/2562 17:44:59
สมัยอยู่กับนครศรีธรรมราช ในขณะที่มีการตั้งเมืองถลางที่พังงา พ.ศ. 2365 ร้อยเอกเจมส์ โลว์ หัวหน้าคณะทูตของผู้ว่าการเกาะปีนัง ผู้รับหน้าที่เจรจาปัญหาเมืองไทรบุรี กับเจ้าพระยานครศรีธรรมราช(น้อย) ได้เดินทางมาเยี่ยมเมืองพังงา และ ได้บันทึกเกี่ยวกับเมืองพังงาไว้ว่า “หุบเขาพังงามีความยาวประมาณ 3 ไมล์ กว้างไม่เกิน 2 ไมล์ ลักษณะดินส่วนใหญ่เป็นดินเหนียวผสมกับดินสีแดง ค่อนข้างอุดมสมบูรณ์ เมืองพังงามีผู้คนไม่เกิน 70 หลังคาเรือน ประชากร อยู่ระหว่าง 6,000 - 7,000 คน มีชาวจีนประมาณ 600 คน 2 ใน 3 เป็น ชาวหมาเก๊า มีชาวมลายูหลายร้อยคนกระจัดกระจายอยู่ในอ่าวปากน�้ำ
48
ประชาชนส่วนใหญ่ทำ� งานรับจ้างทีเ่ หมืองแร่ครึง่ ปี จากนัน้ กลับไปเก็บเกีย่ ว ข้าวตามฤดูกาล” เมื่อภัยคุกคามจากพม่าลดลง และพม่าต้องสูญเสียมณฑลอาระกันและ ตะนาวศรีให้แก่องั กฤษ รัฐบาลจึงได้ยา้ ยผูค้ นจากพังงาไปตัง้ เมืองถลางขึน้ ใหม่ ในปี พ.ศ. 2367 จากนั้นมีการเปลี่ยนแปลงระบบการปกครองส่วนภูมิภาค ทางหัวเมืองชายฝั่งตะวันตกตอนบน ยกเมืองพังงาขึ้นเป็นเมืองโท ขึ้นตรง ต่อกรุงเทพฯ และโปรดเกล้าฯ ให้เมืองถลาง ตะกั่วทุ่ง และตะกั่วป่าขึ้นตรง ต่อเมืองพังงา
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
.indd 48
9/9/2562 17:45:12
สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ - ปัจจุบัน เมืองพังงาเริม่ ขยายตัวและเจริญเติบโตตามล�ำดับมาตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2383 โดยการสนั บ สนุ น จากรั ฐ บาล เมื่ อ ปี พ.ศ. 2433 พระบาทสมเด็ จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จพระราชด�ำเนินประพาสเมืองพังงา ในขณะทีบ่ า้ นเมืองสงบสุขตามอัตภาพ ท่านได้ทรงบันทึกเรือ่ งราวเกีย่ วกับ สภาพบ้านเมืองของพังงาไว้ว่า “เมืองพังงาไม่เหมือนเมืองอื่น เห็นเขา รอบข้าง เป็นเขาสูงๆ ถึงสัก 800 ฟิต มีช่องออกไปตะกั่วป่า ทางหนึ่ง ต้องขึ้นเขาสูง ทางไปปากลาวที่ช่องเขานางหงส์ก็เป็นเขาสูงเหมือนกัน ไปมาสะดวก เมืองตะกั่วทุ่งเป็นเหมืองดีบุกที่ท�ำมาช้านาน แต่แร่ที่ดี ดันหมดไปเสียมาก โรยรามานานแล้ว เดี๋ยวนี้มีจีนท�ำอยู่ทั้งหมดประมาณ 600 คนเศษ เหมืองใหญ่มีอยู่ 2 เหมือง คนประมาณ 30 - 40 คน ว่าท�ำ เหมืองครากันโดยมาก ฝนตกมากกว่าเมืองอื่นๆ เพราะเขาสูงล่อให้ตกนา ข้างเหนือน�้ำมักจะดี ข้างใต้แล้วมักจะเสียด้วยล่มน�้ำเป็นพื้น ที่นาก็มีน้อย เหมือนเมืองอื่นๆ ข้าวพม่าเข้าเมืองปีหนึ่ง 8,000 กุหนี หรือ 527 เกวียน มากพอใช้ เราชวนให้คิดอ่านปลูกต้นไม้อื่นที่เป็นสินค้าแทนนา พระยา บริรักษ์(ข�ำ) เป็นคนแม่นย�ำและรู้การในบ้านเมืองมากจริง ถามอะไร ไม่จนและไม่คลาดเคลื่อน ระวังผิดอย่างเอก พวกผู้หญิงมาหาคือสุ่น ที่พระยาบริรักษ์ (ข�ำ) กับเป้าน้องที่เฆี่ยนคนตาย เมียชื่ออินเป็นคนในวัง กับมีพีน้องมาอีกหลายคนด้วยกัน ดูค่อยคล่องแคล่วกว่าพวกตะกั่วป่า ที่พังงาเขามีผู้หญิงมาก ท�ำกับข้าวไทยได้ดีๆ เพราะมักจะเป็นชาววังชุม ให้ตราจุลสุราภรณ์ พระยาบริรักษ์ (ข�ำ) เพราะเป็นเจ้าเมืองมานานรู้ การงานมากแล้วรักษาถนนรนแคมไม่ทรุดโทรม” พ.ศ. 2437 มีการปฏิรปู การปกครองมณฑลภูเก็ต พระยาบริรกั ษ์ภธู ร (ข�ำ) เจ้าเมืองพังงาถึงแก่อสัญกรรม จึงมีการแบ่งพืน้ ท้องทีก่ ารปกครองในเมืองพังงา ออกเป็นอ�ำเภอและต�ำบลต่างๆ โดยพระเพชรภักดีศรีพไิ ชยสงครามฯ (พลาย) พระปลัดเมืองพังงา น้องชายพระยาบริรักษ์ภูธร (ข�ำ) การแบ่งพื้นที่การปกครองได้โอนเมืองตะกั่วทุ่งมาเป็นอ�ำเภอหนึ่งของ เมืองพังงา และแบ่งเมืองพังงาออกเป็น 4 อ�ำเภอ 24 ต�ำบล อ�ำเภอกลางเมือง 12 ต�ำบล ได้แก่ ต�ำบลท้ายช้าง ตลาดใหญ่ ฝ่ายท่าตากแดด นบปริง ป่าก่อ ทับแหวน เผล่ ทุ่งคาโงก บางเตย เกาะยาวน้อย และเกาะยาวใหญ่ อ�ำเภอทุ่งมะร้าว 6 ต�ำบล ได้แก่ ต�ำบลทุ่งมะพร้าว ล�ำภี ล�ำแก่น ท่าซ่อ นาเตย และบางคลี อ�ำเภอทับปุด 7 ต�ำบล ได้แก่ ต�ำบลคลองมะรุ่ย เขาเต่า โคกซอย ใสเสียด บางเหรียง บ่อแสน และถ�้ำทองหลาง อ�ำเภอตะกั่วทุ่ง 8 ต�ำบล ได้แก่ กระโสม ถ�้ำกระไหล ท่าอยู่นากลาง โคกกลอย บางหลาน คลองตะเคียน และบางทอง
พ.ศ. 2459 มีการเปลีย่ นชือ่ เมืองพังงาเป็น “จังหวัดพังงา” เปลีย่ นต�ำแหน่ง ผู้ว่าราชการเมืองเป็นผู้ว่าราชการจังหวัด เมื่อเกิดภาวะเศรษฐกิจตกต�่ำ ในสมัยรัชกาลที่ 7 ได้ยุบตะกั่วป่า ซึ่งขณะนั้นมีฐานะเป็นจังหวัดลดลงเป็น อ�ำเภอ แล้วย้ายศาลากลางจังหวัดจากบ้านชายค่ายไปตั้งที่บ้านท้ายช้าง ในปี พ.ศ. 2473 พ.ศ. 2515 ย้ายศาลากลางจังหวัดไปตั้งที่หน้าถ�้ำพุงช้าง ซึ่งเป็นที่ตั้ง ศาลากลางในปัจจุบัน และอาคารดังกล่าวถูกใช้เป็นพิพิธภัณฑ์เมืองพังงา ส่วนอาคารศาลากลางใหม่สร้างอยูบ่ ริเวณหน้าเขารูปช้าง ส่วนชือ่ อ�ำเภอเมือง ก็ เ ปลี่ ย นเป็ น อ� ำ เภอท้ า ยช้ า ง ในปี พ.ศ. 2459 และกลั บ มาเรี ย กว่ า “อ�ำเภอเมืองพังงา” ในปี พ.ศ. 2481 จนถึงปัจจุบัน
PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 49
49
9/9/2562 17:45:16
ท่องทะเลใสๆ ใต้ ฟ ้ า สี ค ราม ที่ พั ง งา
สายเที่ยวทะเล ทั้งไทยและต่างประเทศ ต่างหลงใหลได้ปลื้มและยกนิ้วให้กับความงดงาม ของท้องทะเลสีฟ้าสดใสภายใต้ฟ้าสีครามในจังหวัดพังงา ย�้ำดังๆ กันอีกทีก็ ได้ว่าจังหวัดพังงา เขามีชื่อเสียงด้านการท่องเที่ยวทางทะเลเป็นอันดับหนึ่งของไทยและคนทั่วโลก ด้วยพื้นที่ส่วนใหญ่ ติดทะเลอันดามันและมีเกาะต่างๆ นับร้อยๆ เกาะ ธรรมชาติที่สรรค์สร้างมาให้จังหวัดพังงางดงาม โดย ไม่ต้องปรุงแต่ง เตือนไว้ก่อนว่ามองภาพอย่างเดียวไม่ฟินเท่าไปสัมผัสของจริงนะจ๊ะ...
50
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
.indd 50
9/9/2562 17:45:19
เกาะไข่นอก @เกาะยาว
แร่ ห มื่ น ล้ า น บ้ า นกลางน�้ำ ถ�้ำงามตา ภู ผ าแปลก แมกไม้ จ�ำปู น บริ บู ร ณ์ ด ้ ว ยทรั พยากร -ค�ำ ขวั ญ จั ง หวั ดพั ง งาPHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 51
51
9/9/2562 17:45:21
แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วทางวั ฒ นธรรม
คู ่ เ มื อ งพั ง งาที่ เ ต็ ม ไปด้ ว ยความรู ้ เ กี่ ย วกั บ จั ง หวั ด พั ง งา
พิพิธภัณฑ์เมืองพังงา
Phang Nga Museum พังงาเป็นเมืองที่ท่องเที่ยวได้ทุกฤดู หาก มาแล้วเจอพระพิรุณโปรยปราย ลองหลบไปที่ พิพิธภัณฑ์เมืองพังงาซึ่งอยู่ในตัวเมือง เพื่อชม ความสวยงามของสถาปัตยกรรมอาคารพิพธิ ภัณฑ์ แบบอาณานิ ค มหรื อ โคโลเนี ย ล ซึ่ ง ในอดี ต เคยเป็ น ศาลากลางจั ง หวั ด พั ง งา และศึ ก ษา ประวัตคิ วามเป็นมาของจังหวัดพังงา นักท่องเทีย่ ว สามารถเข้าชมได้ทุกวันท�ำการ เปิดบริการเวลา 08:30 - 16:30 น.
52
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ Surin Island National Park
ถ้ารักและชื่นชอบสไตล์การท่องเที่ยววิถีชุมชน บอกเลยมาฝากรอยเท้าบนพื้นทรายนุ่มๆ ที่ อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ อ�ำเภอคุระบุรี จังหวัดพังงา การันตีได้เลยว่าทริปการเดินทาง ครั้งนี้จะคุ้มสุดคุ้ม!! อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ อยู่ห่างจากชายฝั่งประมาณ 60 กิโลเมตร ประกอบด้วย เกาะ 5 เกาะ คือ เกาะสุรินทร์เหนือ เกาะสุรินทร์ใต้ เกาะรี เกาะไข่ และเกาะกลาง เสน่ห์ของ หมู่เกาะสุรินทร์นอกจากวิวทิวทัศน์และบรรยากาศที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวแล้ว ยังจะได้มาทักทาย และเรียนรู้วิถีชีวิตชาวเลของชาวมอแกน ที่มีชีวิตผูกติดอยู่กับท้องทะเลมานานแสนนาน
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
.indd 52
9/9/2562 17:45:27
อุทยานแห่งชาติเขาล�ำปีหาดท้ายเหมือง
Khao Lampi-Hat Thai Mueang National Park
อี ก หาดหนึ่ ง ที่ มี ค วามปั ง เบอร์ แรงเหมาะ ส�ำหรับการพักผ่อนหย่อนใจทีส่ ดุ ในจังหวัดพังงา คงต้องยกให้หาดท้ายเหมือง ต�ำบลท้ายเหมือง อ�ำเภอท้ายเหมือง หาดนี้อยู่ในอุทยานแห่งชาติ เขาล�ำปี-หาดท้ายเหมือง ชายหาดกว้างตัดกับ น�้ำทะเลที่ใสๆ และทิวต้นสนขนาดใหญ่ ยาวสุด ลูกหูลูกตาถึง 13.6 กิโลเมตร มีร้านอาหารและ ที่พักไว้คอยบริการนักท่องเที่ยว
ถ�้ำพุงช้าง
poong chang cave คั่นอารมณ์ฟินทะเลใสๆ ฟ้าสีครามๆ ไปที่ ถ�้ ำ พุ ง ช้ า ง ซึ่ ง อยู ่ ใ นวั ด ประพาสประจิ ม เขต ต� ำ บลท้ า ยช้ า ง อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด พั ง งา ความโดดเด่นของถ�ำ้ พุงช้างทีท่ ำ� ให้นกั ท่องเทีย่ ว ไม่ควรพลาดนัน่ ก็คอื “หินงอกหินย้อย” ธรรมชาติ ทีส่ รรค์สร้างความงดงามแปลกตาให้กบั มนุษย์โลก อย่างเราได้สัมผัสด้วยตาเนื้อ และได้จินตนาการ ตามลักษณะทีไ่ ด้เห็นคล้ายรูปช้างในอิรยิ าบถต่างๆ การเดินทางเข้าไปในถ�ำ้ พุงช้าง ต้องนัง่ เรือแคนนู เท่านั้น ตื่นเต้นผจญภัยกันเล็กน้อยพอให้หัวใจ พองโต ช่วยเพิ่มอรรถรสในการท่องเที่ยวได้ ไม่น้อยเลย
PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 53
53
9/9/2562 17:45:31
54
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
.indd 54
9/9/2562 17:45:33
สมญานาม
“ดินแดนแห่งป่าเกาะ” จังหวัดหนึ่งของประเทศไทยที่เต็มไปด้วย สถานที่ท่องเที่ยวมากมาย ทั้งธรรมชาติแบบท้องทะเล
หาดท่าเขา
Tha Khao Beach หาดท่าเขา อยู่ที่ต�ำบลเกาะยาวน้อย อ�ำเภอเกาะยาวน้อย จังหวัดพังงา ห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอเกาะยาว ประมาณ 5 กิโลเมตร เป็นหาดหินที่มี บรรยากาศชายทะเลที่เงียบสงบ เหมาะกับนักท่องเที่ยวทุกประเภท ลักษณะหาดทรายของ หาดท่าเขา เป็นหาดทรายสีน�้ำตาลอ่อนปนกรวด น�้ำทะเลสีฟ้าอมเขียวไม่ใสมากนัก มีความลาดเอียงของพื้นทรายใต้ทะเล น้อยกว่าหาดป่าทราย และหาดคลองจาก จึงสามารถเดินจากชายหาด ออกไปในท้องทะเลได้ไกลเกินกว่า 100 เมตร ช่วงเวลาน�้ำลงจะปรากฏ แนวสันทรายเชื่อมต่อระหว่างชายหาดกับ “เกาะนก” ซึ่งเป็นเกาะเล็กๆ ที่ตั้งอยู่ด้านหน้าชายหาด ปรากฏการณ์ดังกล่าวเป็นปรากฏการณ์ ในลักษณะเดียวกันกับทะเลแหวกที่เกาะหม้อ เกาะทับและเกาะไก่จังหวัดกระบี่
PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 55
55
9/9/2562 17:45:34
56
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
.indd 56
9/9/2562 17:45:42
ทะเลหมอกเขาไข่นุ้ย
KHAI NUI MOUNTAIN ใครว่าถ้าจะชมทะเลหมอกทีส่ วยงามต้องไปทีภ่ าคเหนือเท่านัน้ คงจะ Out ไปแล้วจริงๆ เพราะทีน่ ี่ เขาไข่นุ้ย ต�ำบลทุ่งมะพร้าว อ�ำเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงา ต้องบอกกันให้ดังๆ ว่าที่นี่คือจุดชมวิว ทะเลหมอกที่สวยที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศไทยกันเลยทีเดียว ที่เลิศไปกว่านั้นคือมีให้ชมกันทุกฤดู นอกจากจะได้ ช มความพริ้ ว ไหวของทะเลหมอกอั น กว้ า งใหญ่ ท่ า มกลางแสงสี ส ้ ม ที่ ม าทั ก ทาย ในยามเช้าแล้ว ยังมองเห็นทะเลอันดามัน ทิวเขาสลับซับซ้อน และพระอาทิตย์ตกยามเย็นก็งดงาม ไม่แพ้ช่วงรุ่งอรุณเลย หากได้มาสัมผัสความนุ่มนวลของสายหมอกที่เขาไข่นุ้ย จะตกหลุมรักแน่นอน
เกาะไข่นอก
Koh Kai Nok เกาะไข่นอก อยู่ในต�ำบลพรุใน อ�ำเภอเกาะยาว จังหวัดพังงา บอกเลยว่าเป็นเกาะที่มีโหมดความ สวยงามแบบดับเบิ้ล ทั้งโหมดของโขดหินงาม โหมดน�้ำทะเลใสกิ๊กมองเห็นปะการัง ส่วนหาดทราย ก็ขาวเนียนละเอียดละเมียดละมุนละไมเหมาะกับการนั่งเล่นพักผ่อนชิลๆ หรือจะอาบแดดเพิ่มสาร เมลานินให้ผิวเป็นสีแทนก็ได้อีกด้วย...
PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 57
57
9/9/2562 17:45:47
อุทยานแห่งชาติศรีพังงา
Si Phang-nga National Park ถ้ า คุ ณ เป็ น คนที่ รั ก การเดิ น ป่ า เมื่ อ มาถึ ง เมืองพังงา ต้องไม่พลาดการดูนก ชมไม้ เทีย่ วน�ำ้ ตก สนุกตืน่ เต้นบนหน้าผา ทีอ่ ทุ ยานแห่งชาติศรีพงั งา เขตอ�ำเภอคุระบุรี และอ�ำเภอตะกั่วป่า ซึ่งมี ภูมปิ ระเทศเป็นเทือกเขาสลับซับซ้อน เหมาะเป็น สถานที่พักผ่อนหย่อนใจของคนเมืองที่ยุ่งเหยิ่ง จากชีวิตการท�ำงาน เป็นตัวเลือกส�ำหรับคนที่ เบื่อแสงสี และโหยหาธรรมชาติ ได้เป็นอย่างดี
เกาะไข่ใน
Koh Kai Nai เกาะไข่ใน อยู่ที่ตำ� บลพรุใน อ�ำเภอเกาะยาว จังหวัดพังงา เป็นเกาะเล็กๆ น่ารักกะทัดรัด แต่มีเสน่ห์ ความสวยงามของท้องทะเล และ ชายหาดที่ ไ ม่ ธ รรมดา เพราะหาดทรายที่ นี่ ขาวละเอียดนุ่มละมุนละไมไม่แพ้ที่เกาะไข่นอก บอกเลย น�้ ำ ทะเลก็ ใ สปิ ้ ง ใสกิ๊ ก สะอาดตา เกาะไข่ใน จะท�ำให้คุณไหวหวั่นและหลงใหล ในมนต์เสน่ห์ของเกาะนี้ หากต้องการออกก�ำลังขาก็สามารถเดินชม วิวรอบเกาะได้เพียงไม่กี่นาที ส่วนใครชื่นชอบ การด�ำน�ำ้ ก็สามารถด�ำน�ำ้ ตืน้ ดูปะการังและฝูงปลา ฝูงปูน้อยหอยสังข์ใต้ทะเลได้อย่างชัดเจน แล้ว อย่าลืมแชะภาพทะเลสวยๆ ใสๆ ใต้ฟ้าสีคราม บนเกาะไข่นอกไปอวดเพื่อนๆ กันด้วยนะ 58
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
.indd 58
9/9/2562 17:45:50
เกาะปันหยี
Koh Panyee ตั้งอยู่ที่ ต�ำบลเกาะปันหยี อ�ำเภอเมือง จังหวัดพังงา ชื่อนี้มีที่มา เนื่องจาก “โต๊ะบาบู” ผู้น�ำชาวอินโดนีเซียอพยพมาเมื่อ 200 ปีก่อน เมือ่ มาเจอเกาะปันหยีได้ขนึ้ ไปปักธงให้พรรคพวกทีอ่ พยพมาด้วยกัน รู้ว่าเป็นสถานที่ๆ เหมาะสมจะตั้งบ้านเรือน ค�ำว่า “ปันหยี” แปลว่า “ธง” มีลกั ษณะเป็นหมูบ่ า้ นทีต่ งั้ เรียงราย อยูบ่ นทะเลมีทดี่ นิ นิดเดียว ซึ่งเอาไว้เป็นที่ สร้างมัสยิดและกุโบร์ ชาวเกาะส่วนใหญ่นับถือ ศาสนาอิสลาม และสร้างหมู่บ้านแทบทั้งหมด ตรงด้านหน้าของ
หน้าผาหินปูนเหนือน�้ำทะเล ชาวบ้านส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ ประมง ตลอดจนมีรา้ นขายของทีร่ ะลึกและร้านอาหารมากมายบนเกาะ เป็นแหล่งที่นักท่องเที่ยวจากทั่วโลกมาแวะเยี่ยมชมมีสินค้าที่ระลึก จ�ำหน่าย เช่น ผลิตภัณฑ์จากเปลือกหอย ผ้าบาติก สร้อย ก�ำไล แหวน ที่ ท� ำ มาจากหอยมุ ก และยั ง มี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ อื่ น ๆ อี ก เช่ น น�้ำพริกกุ้งเสียบ กะปิ ฯลฯ เกาะปันหยียังเป็นจุดพักทานอาหาร ยอดนิยมของนักท่องเที่ยว
PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 59
59
9/9/2562 17:45:52
Let’s Go Pakarang Coral Cape ทะเลสวย หาดทรายขาว ป่าอุดมสมบูรณ์ อาหารการกินอันเป็นเอกลักษณ์
แหลมปะการัง
Pakarang Coral Cape แหลมปะการัง อยู่ระหว่างเส้นทางตะกั่วป่า-เขาหลัก จากตัวเมืองตะกั่วป่าเลี้ยวขวา กิโลเมตรที่ 78-79 เข้าไปอีก 5 กิโลเมตร เป็นหาดทรายที่มีซากปะการังเขากวางหักอยู่เต็มหาด เล่นน�้ำได้ บรรยากาศร่มรื่นไปด้วย แนวสน ช่วงเย็นๆ เหมาะที่จะนั่งชมพระอาทิตย์ตก และใกล้ๆ แหลมปะการั ง ยังมีที่พักสวยๆ บรรยากาศดีๆ ให้นักท่องเที่ยว ได้เลือกพักผ่อนอีกด้วย
60
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
.indd 60
9/9/2562 17:45:54
นายสมเกี ย รติ รั ต นรั ง ษิ วั ฒ น์ ประธาน หอการค้า พร้อมคณะกรรมการเข้ารับรางวัล หอการค้ า ยอดเยี่ ย มประจ� ำ ปี 2561 จาก หอการค้าไทย ในการสัมมนาหอการค้าทัว่ ประเทศ หอการค้าไทย ครั้งที่ 36 ณ ศูนย์นิทรรศการ และการประชุมไบเทคบางนา กรุงเทพฯ
นายสมเกี ย รติ รั ต นรั ง ษิ วั ฒ น์ ประธาน หอการค้าจังหวัดพังงา ในฐานะหน่วยงานและ เครื อ ข่ า ยร่ ว มผู ้ ส นั บ สนุ น การสร้ า งสุ ข ภาวะ องค์กรใน SMEs เข้าร่วมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ “การสร้างองค์ความรูแ้ ละสร้างสุขภาวะองค์กร” เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ผลิ ต ภาพและสุ ข ภาวะองค์ ก ร ในวิ ส าหกิ จ ขนาดกลางและขนาดย่ อ ม ณ โรงแรมมาร์ลิน อ.เมือง จ.สุราษฎร์ธานี
ประชุมคณะท�ำงานผังเมืองรวมจังหวัดพังงา เพือ่ หาแนวทางและพิจารณา กลัน่ กรองประเด็น ต่างๆ พร้อมเสนอแนะการแก้ไขผังเมืองรวม จังหวัดพังงา ตามมาตรา 26/1 แห่งพระราชบัญญัติ การผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ.ก่อนน�ำเสนอคณะ ทีป่ รึกษาผังเมืองรวมจังหวัดพังงา และด�ำเนินการ ตามขั้ น ตอนกฎหมายต่ อ ไป ณ ห้ อ งประชุ ม ชั้น 3 ศูนย์ราชการจังหวัดพังงา
ร่วมในพิธีเปิดงานการส่งเสริมการท่องเที่ยว เมืองตะกั่วป่า ประจ�ำปี 2562 “จากตะโกลา สู ่ ต ะกั่ ว ป่ า ” ครั้ ง ที่ 6 ซึ่ ง เป็ น ความร่ ว มมื อ ระหว่างเทศบาลเมืองตะกั่วป่า องค์การบริหาร ส่วนจังหวัดพังงา การท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย ส�ำนักงานจังหวัดพังงา และชุมชนในเขตเทศบาล เมืองตะกั่วป่า ร่วมบูรณาการจัดขึ้น
หอการค้าจัดกิจกรรรม “ ทบทวนความรูส้ มู่ หาวิทยาลัย ประจ�ำปี 2562 ” โดยหอการค้าจังหวัดพังงา ร่วมกับองค์การบริหารส่วนจังหวัดพังงา ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 14 จัดให้มี การทบทวนความรู้ให้แก่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5-6 ซึ่งกิจกรรมดังกล่าวฯ ได้ด�ำเนินกิจกรรม มาเป็นปีที่ 6 เพือ่ ให้นกั เรียนได้มโี อกาสยกระดับมาตรฐานการศึกษา และทบทวนวิชาความรูก้ อ่ นสอบ เข้ามหาวิทยาลัยเตรียมความพร้อมให้นักเรียนในจังหวัดพังงาได้มีโอกาสเข้าถึงแหล่งความรู้ใหม่ๆ เพิ่มขึ้น สร้างโอกาสทางการศึกษา เพื่ออนาคตของบุตรหลานชาวพังงา ณ ศูนย์ศึกษาวิจัยศิลปกรรม วัฒนธรรมและประเพณีแห่งอันดามัน จังหวัดพังงา
หอการค้า เราคือภาคเอกชน ภาคธุรกิจ ที่จะเข้ามาช่วยเสนอแนะแนวทาง ช่วยเป็นปาก เป็นเสียงในเรื่องเศรษฐกิจ ส่วนทางราชการการมีหน้าที่ขับเคลื่อนและสานต่อความคิด ของหอการค้าจังหวัด เพื่อน�ำไปสู่เป้าหมายและทิศทางการพัฒนาจังหวัดพังงา เพราะเราไม่มีงบประมาณ PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 61
61
9/9/2562 15:12:12
EXC LU SI VE
PHANGNGA PROVINCE CHAMBER OF COMMERCE
นายสมเกียรติ รัต นรัง ษิวัฒน์ ประธานหอการค้าจังหวัด พังงา
ร่วมกิจกรรมโครงการสืบสานและอนุรักษ์ ข้าวไร่ดอกข่าพันธุ์พื้นเมือง “วันข้าวไร่ดอกข่า ปีที่ 3 เพื่อการประชาสัมพันธ์ข้าวพันธ์ุพื้นเมือง หรือข้าวประจ�ำถิน่ จังหวัดพังงา ส่งเสริมการปลูก และอนุรักษ์ข้าวไร่ดอกข่าซึ่งสามารถปลูกแซม ในสวนยางพาราและปาล์มน�้ำมัน เป็นการสร้าง รายได้ให้เกษตรกรอีกทางหนึ่ง ณ แปลงข้าวไร่ ดอกข่า หมู่ 2 ต.บางทอง อ.ท้ายเหมือง จ.พังงา
62
นโยบาย ส่งเสริม พัฒนาเศรษฐกิจ ปี 2562 ส่งเสริมการค้า พัฒนาเศรษฐกิจ สร้างคุณค่า ให้แก่ชวี ติ คือ นโยบายของหอการค้าจังหวัดพังงา ผมในฐานะนักธุรกิจ เมือ่ เรามีฐานะทีด่ ขี นึ้ ก็อยาก จะเห็นจังหวัดพังงาของเรามีการพัฒนาไปใน ทิศทางทีด่ ี ทางคณะกรรมการเขาจึงให้ผมมาดูแล ผมมองว่าบ้านเมืองเราหากไม่ออกมาช่วยเหลือ ซึง่ กันและกัน ต่างคนต่างคิด เห็นแก่ประโยชน์สว่ นตัว แล้วอนาคตจะเป็นอย่างไร การออกมาขับเคลือ่ น ในครั้งนี้ สิ่งแรกผมอยากจะให้หอการค้าจังหวัด มีความเข้มแข็ง เป็นที่ยอมรับของคนในจังหวัด เมือ่ เราเข้ามาแล้วอยากจะท�ำอะไรให้เกิดประโยชน์ ถือว่าเป็นการสร้างความดีให้แก่สังคมส่วนรวม ให้แก่คนรุ่นหลัง นี่คือวัตถุประสงค์หลัก
สิ่งแรกคือเราต้องวางโครงสร้างพื้นฐานก่อน เรือ่ งถนนหนทาง เรือ่ งสาธารณูปโภคต่างๆ นีค่ อื หัวใจ ที่จะก้าวไปได้อีกก้าวหนึ่ง การส่งเสริม คุณธรรมจริยธรรม ท�ำให้เมืองพังงามีความสุข ซึ่งจังหวัดพังงาเป็นเมืองแห่งความสุขอันดับ 2 ของประเทศ ผูว้ า่ ราชการจังหวัดท่านนี้ ก็มนี โยบาย “รักจังพังงา” ซึง่ โดยรวมแล้วเป็นเรือ่ งทีด่ ี ขณะนี้ ในภาคธุรกิจ ทุกท่านมองเห็นความส�ำคัญที่จะ ต้องช่วยกันขับเคลื่อนสังคม ทุกคนทุกระดับ ต้องอยู่ร่วมกันได้ เมื่อก่อนเราปล่อยให้ภาครัฐ เป็นฝ่ายน�ำ ตอนนี้ภาคเอกชนต้องเดินไปพร้อม ภาครัฐ เมือ่ ความเปลีย่ นแปลงเกิดขึน้ เราต้องสร้าง ความน่าเชื่อถือ สร้างความเชื่อมั่นให้กับชาว พังงาให้ได้ครับ
ประชุมคณะกรรมการพัฒนาการท่องเที่ยว ประจ�ำเขตพัฒนาการท่องเที่ยวอันดามัน ครั้งที่ 3/2561 เพื่อรับทราบผลการด�ำเนินโครงการ ภายใต้ เขตพั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย วอั น ดามั น ประจ�ำปีงบประมาณ 2561 และการบูรณาการ ความร่วมมือในการขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่ ต้ น แบบการท่ อ งเที่ ย วโดยชุ ม ชนในปี 2562 ณ ห้ อ งประชุ ม คอซิ ม บี้ ศาลากลางจั ง หวั ด จังหวัดภูเก็ต
กิ จ กรรมงานวั น ต่ อ ต้ า นคอรั ป ชั่ น สากล ภายใต้แนวคิด “Zero Tolerance คนไทย ไม่ทนต่อการทุจริต” จังหวัดพังงา เพื่อร่วมกัน แสดงพลังระดับพื้นที่ทั้งภาคเครือข่าย ภาครัฐ และเอกชนในการประกาศเจตนารมณ์ต่อต้าน การทุจริต ณ ศาลากลางจังหวัด ศูนย์ราชการ จังหวัดพังงา
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
อนุ สรณ์62สถานท้าวสุรนารี (ย่าโม) อ�ำเภอเมือง .indd
. - 12/09/2562 08:40:22 AM
นายสมเกี ย รติ รั ต นรั ง ษิ วั ฒ น์ ประธาน หอการค้า พร้อมคณะกรรมการเข้ารับรางวัล หอการค้ า ยอดเยี่ ย มประจ� ำ ปี 2561 จาก หอการค้าไทย ในการสัมมนาหอการค้าทัว่ ประเทศ หอการค้าไทย ครั้งที่ 36 ณ ศูนย์นิทรรศการ และการประชุมไบเทคบางนา กรุงเทพฯ
นายสมเกี ย รติ รั ต นรั ง ษิ วั ฒ น์ ประธาน หอการค้าจังหวัดพังงา ในฐานะหน่วยงานและ เครื อ ข่ า ยร่ ว มผู ้ ส นั บ สนุ น การสร้ า งสุ ข ภาวะ องค์กรใน SMEs เข้าร่วมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ “การสร้างองค์ความรูแ้ ละสร้างสุขภาวะองค์กร” เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ผลิ ต ภาพและสุ ข ภาวะองค์ ก ร ในวิ ส าหกิ จ ขนาดกลางและขนาดย่ อ ม ณ โรงแรมมาร์ลิน อ.เมือง จ.สุราษฎร์ธานี
ประชุมคณะท�ำงานผังเมืองรวมจังหวัดพังงา เพือ่ หาแนวทางและพิจารณา กลัน่ กรองประเด็น ต่างๆ พร้อมเสนอแนะการแก้ไขผังเมืองรวม จังหวัดพังงา ตามมาตรา 26/1 แห่งพระราชบัญญัติ การผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ.ก่อนน�ำเสนอคณะ ทีป่ รึกษาผังเมืองรวมจังหวัดพังงา และด�ำเนินการ ตามขั้ น ตอนกฎหมายต่ อ ไป ณ ห้ อ งประชุ ม ชั้น 3 ศูนย์ราชการจังหวัดพังงา
ร่วมในพิธีเปิดงานการส่งเสริมการท่องเที่ยว เมืองตะกั่วป่า ประจ�ำปี 2562 “จากตะโกลา สู ่ ต ะกั่ ว ป่ า ” ครั้ ง ที่ 6 ซึ่ ง เป็ น ความร่ ว มมื อ ระหว่างเทศบาลเมืองตะกั่วป่า องค์การบริหาร ส่วนจังหวัดพังงา การท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย ส�ำนักงานจังหวัดพังงา และชุมชนในเขตเทศบาล เมืองตะกั่วป่า ร่วมบูรณาการจัดขึ้น
หอการค้าจัดกิจกรรรม “ ทบทวนความรูส้ มู่ หาวิทยาลัย ประจ�ำปี 2562 ” โดยหอการค้าจังหวัดพังงา ร่วมกับองค์การบริหารส่วนจังหวัดพังงา ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 14 จัดให้มี การทบทวนความรู้ให้แก่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5-6 ซึ่งกิจกรรมดังกล่าวฯ ได้ด�ำเนินกิจกรรม มาเป็นปีที่ 6 เพือ่ ให้นกั เรียนได้มโี อกาสยกระดับมาตรฐานการศึกษา และทบทวนวิชาความรูก้ อ่ นสอบ เข้ามหาวิทยาลัยเตรียมความพร้อมให้นักเรียนในจังหวัดพังงาได้มีโอกาสเข้าถึงแหล่งความรู้ใหม่ๆ เพิ่มขึ้น สร้างโอกาสทางการศึกษา เพื่ออนาคตของบุตรหลานชาวพังงา ณ ศูนย์ศึกษาวิจัยศิลปกรรม วัฒนธรรมและประเพณีแห่งอันดามัน จังหวัดพังงา
หอการค้า เราคือภาคเอกชน ภาคธุรกิจ ที่จะเข้ามาช่วยเสนอแนะแนวทาง ช่วยเป็นปาก เป็นเสียงในเรื่องเศรษฐกิจ ส่วนทางราชการการมีหน้าที่ขับเคลื่อนและสานต่อความคิด ของหอการค้าจังหวัด เพื่อน�ำไปสู่เป้าหมายและทิศทางการพัฒนาจังหวัดพังงา เพราะเราไม่มีงบประมาณ PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 63
63
. - 12/09/2562 08:40:25 AM
64
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
อนุ สรณ์64สถานท้าวสุรนารี (ย่าโม) อ�ำเภอเมือง .indd
10/9/2562 10:58:33
“เรือขุดแร่” ที่อ่าวพังงา จังหวัดพังงา ราวปี พ.ศ. 2497
PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 65
65
เรือขุดแร่ของบริษัททุ่งคาฮาร์เบอร์ที่หาดแสนสุข
10/9/2562 10:58:35
MINE KATATHONG เหมืองแร่กระทะทอง ในต�ำนาน
เหมืองแร่...ในต�ำนาน ยุคสมัยทีเ่ หมืองแร่ดบี กุ รุง่ เรือง มีชาวต่างชาติมาลงทุนท�ำธุรกิจเหมืองแร่ ในทะเล นักธุรกิจชาวไทยท�ำเหมืองแร่บนบก บนทีร่ าบ ส่วนชาวบ้านรับจ้าง ร่อนแร่ ซึ่งเป็นรายได้หลักใช้เลี้ยงครอบครัว จากนั้นชาวพังงาเริ่มหันมา ประกอบอาชีพเกษตร เช่น สวนยางพารา สวนปาล์ม สวนผลไม้ ประมง และการท่องเที่ยว ปัจจุบันธุรกิจการท�ำเหมืองแร่ก็จางหายไป เนื่องจาก แร่ดบี กุ น้อยลงและเป็นการท�ำลายสิง่ แวดล้อม และขัดแย้งกับธุรกิจท่องเทีย่ ว ที่ต้องมีแต่สิ่งสวยงาม มีความสะอาดและปลอดภัย
66
ปัจจุบันปฏิเสธไม่ได้ว่าธุรกิจท่องเที่ยว สามารถท�ำให้การขับเคลื่อน ในภาพรวมด้านเศรษฐกิจของจังหวัดพังงาดีขนึ้ แต่ธรุ กิจแร่กย็ งั พอมีอยูบ่ า้ ง เพราะแร่ยงั เป็นสิง่ จ�ำเป็นทีต่ อ้ งใช้ในการผลิตเทคโนโลยีตา่ งๆ เช่น โทรศัพท์ รถไฟความเร็วสูง สุขภัณฑ์ตา่ งๆ หรือถ้วยชามก็ทำ� จากแร่ ทุกอย่างทีเ่ ป็นโลหะ ล้วนผลิตจากแร่ทั้งนั้น ขึ้นอยู่กับว่าเป็นแร่ชนิดไหน โรงงานผมก็มีน�ำแร่ จากอดีตมาบ้าง ต่างประเทศบ้าง ในอดีตแร่บางตัวไม่มีค่านอกจากแร่ดีบุก ปั จ จุ บั น เมื่ อ เทคโนโลยี สู ง ขึ้ น แร่ ช นิ ด ต่ า งๆ ก็ มี ค วามจ� ำ เป็ น และ ความต้องการมากขึ้น
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
.indd 66
10/9/2562 10:58:40
เหมืองกระทะทอง
ต�ำนานมหา’ลัย เหมืองแร่ มหาลัยชีวิต พลิกชีวิตคนพังงา
“เมืองพังงาไม่เหมือนเมืองอื่น เห็นเขารอบข้าง เป็นเขาสูงๆ ถึงสัก 800 ฟิตก็มี ช่องออกไปตะกั่วป่าทาง 1 ต้องขึ้นเขาสูง ทางไปปากลาวที่ช่องเขานางหงส์ก็เป็นเขาสูงเหมือนกัน ไปมา สะดวกแต่อยู่ตะกั่วทุ่ง เหมืองดีบุกที่นี่ท�ำมาช้านาน แต่แร่ที่ดี หมดไปเสียมาก โรยมานานแล้ว เดี๋ยวนี้มีจีนท�ำอยู่หมดด้วยกัน 600 คนเศษ เหมืองใหญ่มีอยู่ 2 เหมือง คนประมาณ 30-40 คน ว่าท�ำเหมืองครากันโดยมาก” นี่คือข้อความบางช่วงบางตอน ในบันทึกของ พระบาทสมเด็จฯ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว ในหลวงรั ช กาลที่ 5 ขณะเสด็ จ พระราชด�ำเนินประพาสเมืองพังงา และได้ทรงบันทึกเกี่ยวกับสภาพ เมืองพังงาไว้เมื่อปี พ.ศ. 2433 นับเป็นหลักฐานที่ยืนยันได้ว่า ในอดีต แผ่นดินจังหวัดพังงานั้นเต็มไปด้วยแร่ดีบุกจ�ำนวนมาก โดยเฉพาะ ในเขตอ�ำเภอตะกั่วป่า จึงมีการท�ำอุตสาหกรรมเหมืองแร่ดีบุกกันมา อย่างยาวนาน และแร่ดบี กุ นีเ่ องทีส่ ร้างรายได้ให้ชาวพังงาอย่างมหาศาล ย้อนไปกว่า 150 ปี จังหวัดพังงาเริ่มมีการท�ำเหมืองแร่ดีบุก มาตั้ ง แต่ ป ี พ.ศ. 2404 โดยชาวจี น ที่ อ พยพเข้ า มา แต่ ด ้ ว ย ผลประโยชน์ที่ไม่เข้าใครออกใคร ท�ำให้เกิดการแบ่งพรรคแบ่งพวก ทะเลาะวิวาทก่อความวุ่นวายกลายเป็นการสู้รบของ “กลุ่มอั้งยี่” ที่ทางการต้องปราบปราม จนมีชาวจีนบางส่วนต้องอพยพหนีภัย กลับประเทศ ท�ำให้กิจการเหมืองแร่ซบเซาลง สมั ย ที่ จ อมพลสฤษดิ์ ฯ เป็ น นายกรั ฐ มนตรี (พ.ศ. 2506) อุตสาหกรรมเหมืองแร่ได้เติบโตอย่างกว้างขวาง จนถึงปี พ.ศ. 2528 ราคาดีบุกในตลาดโลกตกลงอย่างมาก ท�ำให้กิจการการท�ำเหมืองแร่ ซบเซาลงอีก แม้กาลเวลาจะผ่านมาเนิ่นนาน จนกิจการเหมืองแร่หลายแห่ง ปิดกลายเป็นต�ำนานไป แต่ก็พูดได้อย่างเต็มปากว่าในยุคสมัยหนึ่ง “แร่ดีบุก” คือสินทรัพย์ใต้ดินที่ท�ำให้ชาวพังงามีอาชีพท�ำมาหากิน
ลั ก ษณะของแร่ ดี บุ ก จะเป็ น ก้ อ นแข็ ง คล้ า ยหิ น ควอทซ์ หรื อ หิ น เขี้ ย วหนุ ม าน มี สี เ ทาด� ำ เมื่ อ ขู ด ขี ด จะเป็ น รอยสี ข าวเผาไฟ ไม่ละลายต้องบดเป็นผงผสมกับถ่านและหลอมออกมา จึงจะได้ “เนือ้ ดีบกุ ” สมัยก่อนจะน�ำแร่ดบี กุ ไปผสมกับทองแดงจนกลายเป็นส�ำริด ส�ำหรับท�ำเป็นเครื่องใช้ไม้สอย หรือหล่อพระพุทธรูป ต่อมามีการ น� ำ ไปใช้ เ ป็ น ส่ ว นผสมในการท� ำ อาวุ ธ สงคราม ใช้ เ คลื อ บสั ง กะสี มุงหลังคา หรือน�ำไปท�ำเป็นเงินตรา ส่วนวิธีการท�ำเหมืองแร่นั้น มีหลากหลายรูปแบบ เช่น “เหมืองฉีด” (Hydrau Lieking) เป็น วิธีการที่ต้องใช้น�้ำมีปริมาณมาก และมีก�ำลังแรงดันสูง เพื่อพังทลาย ดินทรายปนแร่ จึงต้องใช้กระบอกฉีดหรือเครือ่ งฉีดเพือ่ แยกเอาเนือ้ แร่ ออกมา ส่วน “เหมืองสูบ” (Graval Pumping) เป็นวิธีการที่ใช้ เครือ่ งสูบทรายสูบเอาดินปนแร่ขนึ้ มาล้าง ในรางล้างแร่ วิธนี เี้ ป็นทีน่ ยิ ม ในภาคใต้ เพราะมีประสิทธิภาพประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย เหมาะ กับพื้นที่ที่มีน้�ำน้อย แม้แร่ดีบุกจะหมดไปนานแล้ว แต่ก็มีช่วงหนึ่ง ทีช่ าวพังงาหันมาท�ำเหมืองแร่ในทะเล แต่ปจั จุบนั ไม่มกี จิ การเหมืองแร่ ให้เห็นอีกแล้ว ชุมชนท้องถิ่นต่างปรับพื้นที่และเปลี่ยนอาชีพ หันไป ท�ำการเกษตร ปลูกยางพารา สวนปาล์ม สวนผลไม้ เพาะเลี้ยงสัตว์ น�้ำชายฝั่งทะเล และท�ำธุรกิจท่องเที่ยว เป็นหลัก
PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 67
67
10/9/2562 10:58:47
ภาพยนตร์ “มหา’ลัย เหมืองแร่” จุดเริ่มต้นชื่อเสียง เหมืองแร่กระทะทอง
ถ้าเอ่ยถึง “เหมืองกระทะทอง” มีนอ้ ยคนนักทีจ่ ะรูจ้ กั แต่ถา้ เป็นชาวจังหวัดพังงา ล่ะก็เชื่อได้เลยว่าต้องรู้จักที่นี่เป็นอย่างดี ท�ำไมชาวพังงาถึงได้รู้จักเป็นอย่างดี ก็เพราะว่า เหมืองแร่กระทะทอง เคยเป็นเหมืองแร่ทมี่ กี จิ การรุง่ เรืองมาตัง้ แต่ครัง้ อดีต และถือว่าเป็นเหมืองแร่ที่เปิดกิจการใหม่อีกครั้งเมื่อปี พ.ศ. 2500 และเคยเป็น สถานที่ถ่ายท�ำภาพยนตร์เรื่อง “มหา’ลัย เหมืองแร่” ที่ออกฉายไปเมื่อ 14 ปี ก่อน จากพื้นที่ที่โอบล้อมไปด้วยภูเขาล�ำเนาไพร ท�ำให้บริเวณเหมืองกระทะทอง มีแหล่งน�้ำอุดมสมบูรณ์ที่สุดแห่งหนึ่งของจังหวัดพังงา เหมืองกระทะทองจึงถูก ออกแบบให้เป็นเหมืองระบบพลังน�้ำ (Hydraulic mine system) โดยดัดแปลง ระบบมาจากการท�ำเหมืองทองในอเมริกา เหมืองกระทะทองยุคแรกด�ำเนินกิจการ โดยบริษัท ประมงวิชิต จ�ำกัด ที่ชาวบ้านรู้จักในนาม “เหมืองก๊องเสง (เอกวาณิช)” จากวิกฤติแร่ดีบุกตกต�่ำมาตั้งแต่ปี 2528 ท�ำให้กิจการท�ำเหมืองโดยทั่วไป อยู่ในช่วงขาลงตามล�ำดับ เหมืองกระทะทองก็หนีไม่พ้นวิกฤตินี้เช่นกัน ท�ำให้ต้อง ปิดตัวเองลงในปี 2536 และตกอยู่ในสภาพของเหมืองร้างอยู่หลายปี
68
ภาพยนตร์ มหา’ลัย เหมืองแร่ The Tin Mine (2005)
ระบบพลังน�้ำ Hydraulic mine system
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
.indd 68
10/9/2562 10:58:53
ปี 2547 ทีมงานภาพยนตร์เรื่อง “มหา’ลัยเหมืองแร่” ได้มาหาสถานที่ถ่ายภาพยนตร์ ในจังหวัดพั งงา และได้มาติดต่อขอใช้สถานที่ถ่ายท�ำภาพยนตร์เรื่องนี้ ที่ “เหมืองกระทะทอง” อ�ำเภอเมือง จังหวัดพั งงา
ปี 2541 ที่ดินแปลงนี้ก็ถูกขายให้ คุณสมเกียรติ รัตนรังษิวัฒน์ นั ก ธุ ร กิ จ ท้ อ งถิ่ น รุ ่ น ใหม่ ไ ฟแรงที่ เข้ า มาเปลี่ ย นแปลง และฟื ้ น ฟู การท�ำเหมืองแร่ขึ้นใหม่อีกครั้ง โดย เหมืองกระทะทองยุคใหม่นี้ ได้รบั อนุญาตให้เปิดกิจการท�ำเหมืองอีกครัง้ ในปี พ.ศ. 2541 แต่เนือ่ งจาก ปริมาณน�้ำในขณะนั้นไม่อุดมสมบูรณ์เหมือนในอดีต จึงได้เปลี่ยนวิธี การเดินเหมืองมาเป็นระบบเหมืองแห้ง (Open cast Mine หรือ Open pit Mine) ท� ำ ให้ ก ารท� ำ เหมื อ งใหม่ ต ้ อ งใช้ เ งิ น ลงทุ น สู ง เพื่อน�ำเครื่องจักรกลหนักมาเปิดผิวดินแล้วน�ำดินปนสินแร่ข้างล่าง มาขึ้นรางแยก เหมืองกระทะทองด�ำเนินการมาตั้งแต่ปลายปี พ.ศ. 2541 - ต้นปี พ.ศ. 2545 ท�ำเหมืองอยู่ประมาณ 4 ปี ก็ต้องหยุดกิจการลงอีกครั้ง เพราะสภาวะราคาแร่ดีบุกที่ตกต�่ำ และแร่ดีบุก ก็ลดจ�ำนวนลงมาก จนไม่สามารถด�ำเนินกิจการต่อได้อีก เหมืองกระทะทองยุคที่สอง จึงซบเซาลงอีกครั้ง แต่เจ้าของกิจการยังคงคนงานไว้ดูแลรักษาพื้นที่ อย่างต่อเนื่องอยู่หลายปี
PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 69
69
10/9/2562 10:58:59
KATATHONG LEGENDARY MOUNTAIN GOLF RESORT SPA
70
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
.indd 70
10/9/2562 10:59:01
กระทะทอง กอล์ฟ รีสอร์ท แอนด์ สปา จังหวัดพั งงา อยากให้เป็นสมบัติของทุกคน ให้มีความสุ ขร่วมกัน นอกจากจะเป็นแหล่งท่องเที่ยว โดยเฉพาะนักกอล์ฟในจังหวัดใกล้เคียงและต่างชาติแล้ว ยังเป็นแหล่งสร้างงาน สร้างรายได้ให้กับคนในชุมชน
จากเหมืองกระทะทอง สู่
กระทะทอง กอล์ฟ รีสอร์ท แอนด์ สปา ต่อมาปี พ.ศ. 2550 บริษัท กระทะทอง จ�ำกัด มีโครงการพัฒนาที่ดินแปลงนี้เพื่อท�ำการเกษตร และซื้อที่ดินใกล้เคียง เพิ่มเติมอีกกว่า 200 ไร่ เมื่อธุรกิจการท่องเที่ยวในจังหวัดพังงาเติบโตตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555 เป็นต้นมา คุณสมเกียรติ รัตนรังษิวัฒน์ มีแนวคิดพัฒนาพื้นที่ดังกล่าวเพื่อตอบโจทย์ ธุรกิจการท่องเทีย่ วทีก่ ำ� ลังมาแรง ให้เป็นสนามกอล์ฟและรีสอร์ท ในโครงการ “กระทะทอง กอล์ฟ รีสอร์ท แอนด์ สปา จังหวัดพังงา” บนพื้นที่กว่า 400 ไร่ โดยนายสมเกียรติ อยากให้เป็นสมบัติของทุกคน ให้มีความสุขร่วมกัน นอกจากจะเป็นแหล่งท่องเที่ยว โดยเฉพาะนักกอล์ฟในจังหวัดใกล้เคียงและ ต่างชาติแล้ว ยังเป็นแหล่งสร้างงาน สร้างรายได้ให้กับคนในชุมชนอีกด้วย PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 71
71
12/9/2562 16:41:05
WO R K LI FE
องค์การบริหารส่วนต�ำบลเกาะปันหยี “ แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง นิ เ วศชั้ น น� ำ อุ ด มด้ ว ยทรั พ ยากรธรรมชาติ ส วยงาม ประชาชนมี คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ” วิสัยทัศน์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนต�ำบลเกาะปันหยี
นายด�ำรง สิ น โต
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลเกาะปันหยี
ประวัติต�ำบลเกาะปันหยี ย้อนหลังกลับไปนับร้อยปี บรรพบุรษของ คนปั น หยี ซึ่ ง เป็ น ครอบครั ว ชาวชวา จ� ำ นวน 3 ครอบครั ว อพยพมาจากอิ น โดนี เซี ย โดย เรือใบ 3 ล�ำ เพือ่ ค้นหาแหล่งท�ำกินทีด่ กี ว่าเดิม
พวกเขาตกลงกันว่าหากใครพบทีท่ ำ� กินก่อน ให้สง่ สัญญาณด้วยการปักธงที่ยอดเขาและในที่สุด ครอบครัว “โต๊ะบาบู” ก็พบเกาะหนึ่งก่อนใคร จึ ง ขึ้ น ไปปั ก ธงไว้ ที่ ย อดเขา และตั้ ง ชื่ อ เกาะ นั้นว่า “ปันหยี” ซึ่งแปลว่า “ธง” มาจากภาษา อินโดนีเซีย ต�ำบลเกาะปันหยี มีพื้นที่ประมาณ 108.09 ตารางกิโลเมตร (68,007.50 ไร่) มีลักษณะ ภู มิ อ ากาศแบบร้ อ นชื้ น มี ฝ นตกเกื อ บตลอด ทัง้ ปี การปกครองมี 4 หมูบ่ า้ น มีประชากรจ�ำนวน 4,266 คน (ชาย 2,108 คน หญิง 2,158 คน) ลั ก ษณะโดยทั่ ว ไปของต� ำ บลเกาะปั น หยี พื้นที่ส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในทะเลอ่าวพังงา ลักษณะ
ภูมปิ ระเทศจะมีสภาพเป็นเขาหินปูนทีม่ ลี กั ษณะ แปลกตาและป่ า ชายเลนอั น อุ ด มสมบู ร ณ์ ซึ่ ง เป็นแหล่งเพาะพันธุ์และอยู่อาศัยของสัตว์น�้ำ ประชากรส่วนใหญ่จึงยึดอาชีพประมงเป็นหลัก โดยสั ต ว์ น�้ ำ ที่ จั บ ได้ จ ะมี ทั้ ง กุ ้ ง ปู แ ละปลา หลากหลายชนิด จุดเด่นของพื้นที่เป็นสถานที่ ท่องเที่ยวเชิงนิเวศของจังหวัดพังงา ในแต่ละปี จะมีนักท่องเที่ยวจากทั่วโลก ประมาณ 5,00010,000 คนต่ อ วั น มาแวะเยี่ ย มชมและพั ก รับประทานกลางวันและเป็นแหล่งผลิตอาหาร ทะเลที่มีคุณภาพ
เกาะปันยี @เมืองพังงา
บ้านกลางน�้ำ เป็นหมู่บ้านที่ปลูกสร้างอยู่กลางทะเลโดยมี พื้นที่เพียง 1 ไร่เศษเป็นชุมชนมุสลิมตั้งอยู่กลาง ทะเลมานานกว่า 200 ปี อีกทัง้ ยังเป็นสนามฟุตบอล ลอยน�ำ้ แห่งเดียวในประเทศไทยและเป็นสถานที่ ที่ ใ นหลวงรั ช กาลที่ 9 ทรงเสด็ จ มาเยี่ ย ม ประชาชน 72
.
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
อนุ สรณ์ .indd 72 สถานท้าวสุรนารี (ย่าโม) อ�ำเภอเมือง
9/9/2562 13:29:14
สถานที่ท่องเที่ยวของต�ำบลเกาะปันหยี
เกาะไม้ ไผ่
หมู่บ้านท่องเที่ยวชุมชน เป็นชุมชนมุสลิมมี แหล่งท่องเทีย่ วทีส่ ำ� คัญ เช่น ชมรอยพระพุทธบาท หินแปลก ป่าชายเลนและแหล่งชมสัตว์หายาก เช่น นกเงือก ค่างแว่นและนกทะเลต่างๆ
เขาหมาจู
เป็นภูเขาหินปูนขนาดเล็กที่ตั้งโดดเด่นอยู่ มี แ มกไม้ ขึ้ น ปกคลุ ม ตามซอกหิ น ท� ำ ให้ ม องดู เหมือนสุนัขพัน ธุ์พุดเดิ้ล
เขาเขียน
มีภาพเขียนโบราณเป็นรูปคนและสัตว์ต่างๆ เช่น ลิง ปลาโลมา จระเข้ ฯลฯ อยู่บริเวณผนังถ�้ำ จากการส�ำรวจของกรมศิลปากร พบว่าเป็น ภาพเขียนสมัยก่อนประวัตศิ าสตร์ มีความเก่าแก่ มีอายุประมาณ 3,000 ปี
เกาะหมากน้อย
สภาพพื้ น ที่ เ ป็ น เกาะขนาดใหญ่ มี น�้ ำ ทะเล ล้อมรอบ มีชายหาดซึ่งสามารถเล่นน�้ำได้บนเกาะ มีโฮมสเตย์ส�ำหรับรองรับนักท่องเที่ยวที่ต้องการ พักค้างคืนตั้งอยู่ในบริเวณโรงเรียนเกาะหมากน้อย
PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 73
73
9/9/2562 13:29:19
H I STORY OF BU DDHI S M
History of buddhism
วัดประชุมโยธี พระอารามหลวง
พระเทพปัญญาโมลี (วิศิษฏ์ กนฺตสิริ ป.ธ.9)
เจ้าอาวาสวัดประชุมโยธี พระอารามหลวง รองเจ้าคณะภาค 17
วั ด ประชุ ม โยธี เดิ ม ชื่ อ ว่ า “วั ด ควน” ตั้ ง อยู ่ ใ นเขตเทศบาล ต�ำบลท้ายช้าง อ�ำเภอเมือง จังหวัดพังงา ที่ได้ชื่อว่าวัดควน เพราะ สถานทีต่ งั้ วัดอยูบ่ นเนินติดภูเขา ริมถนนเพชรเกษม ช่วงพังงา-กะปง เดิมมีเนื้อที่ทั้งหมด 10 ไร่ 2 งาน 48 ตารางวา ปัจจุบันเหลือ 8 ไร่ 2 งาน 27 ตารางวา เนื่ อ งจากถู ก เวนคื น เพื่ อ สร้ า งถนน เมื่ อ พ.ศ. 2481 ตามราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 248 เดิมเป็นทีพ่ ำ� นักสงฆ์ ประชาชนในตลาดพังงา (ปัจจุบนั เรียกว่า ตลาดเหนือ ถูกไฟไหม้เมื่อปีมะเส็ง พ.ศ. 2460) และประชาชน ในละแวกใกล้ เ คี ย ง ได้ ป ลู ก ที่ พั ก สงฆ์ ไ ว้ บ นเนิ น เขา (ที่ ตั้ ง วั ด ปัจจุบัน) เพื่อเป็นที่พักของพระภิกษุธุดงค์ที่เดินทางไกล คือ หลังออกพรรษาจะจาริกเพื่อปฏิบัติธรรม และสั่งสอนธรรมแก่ ประชาชน โดยพระสงฆ์บางรูป ที่ป ระชาชนซึ้ ง ถึ ง รสพระธรรม ก็จะนิมนต์ท่านอยู่นานๆ หรือให้อยู่จ�ำพรรษาก็มี ทีพ่ กั สงฆ์ชวั่ คราวจึงได้รบั การก่อสร้างและต่อเติมเรือ่ ยมา จาก กุฏิหลังเดียว เป็น 2-3 หลัง และสถานที่ฟังธรรม สนทนาธรรม ก็ขยับขยายจากกุฏเิ ล็กๆ เป็นศาลาโถงพอจะบรรจุผคู้ นผูม้ จี ติ ศรัทธา เป็นจ�ำนวนมากได้ เมือ่ ประชาชนเกิดความเลือ่ มใสศรัทธามากขึน้ จึงให้บุตรหลานของตนเข้ามาอยู่ที่วัดและบรรพชาอุปสมบทกัน เป็นประจ�ำทุกๆ ปี พ.ศ. 2392 ปลายรัชสมัยรัชกาลที่ 3 เจ้าจอมยี่สุ่น ณ นคร ซึ่งเป็นธิดาคนโตของพระยาบริรักษ์ภูธร (แสง ณ นคร) เจ้าเมืองพังงาและเป็นพี่สาวของ พระยาบริรักษ์ภูธร (ข�ำ ณ นคร) เจ้าเมืองพังงา คนต่อมา ได้ลาออกจากราชการมาอยู่บ้านเดิม ที่พังงา และทราบว่ าพระที่ ส�ำนั กวั ด ควน ปฏิบัติเคร่งครัด มีผู้คนเคารพนับถือมาก และได้มาเห็นวัตรปฏิบัติของพระภิกษุ สามเณรของวัดนี้เป็นจริงตามค�ำที่เขา บอกเล่า จึงเกิดศรัทธารับเป็นผูอ้ ปุ ถัมภ์ บ�ำรุง โดยได้กอ่ สร้างกุฏิ เสนาสนะอืน่ ๆ ตลอดจนสร้างศาลาทีบ่ ำ� เพ็ญกุศล อุโบสถ โดยใช้เสาและโครงหลังคาเป็นไม้แก่นล้วน ต่อ มามีการเปลี่ ย นชื่ อวั ด ใหม่ เพื่อเป็นมงคลแก่สถานที่วา่ “วัดประชุมโยธี” 74
6
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
.indd 74
6/9/2562 11:37:50
PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
6
.indd 75
75
6/9/2562 11:37:51
พระพุทธวิชัยไตรโลกนาถ พระประธานในพระอุโบสถ วั ด ประชุ ม โยธี มี ก ารผู ก พั ท ธสี ม าในสมั ย ใดไม่ มี ห ลั ก ฐาน ปรากฏแน่ชัด เท่าที่สืบทราบจากคนเฒ่าคนแก่ก็เห็นพัทธสีมาอยู่ แล้ว ตัวอุโบสถเป็นเสาไม้แก่น โครงหลังคาเป็นไม้แก่น แต่หลังคา มุงด้วยจาก เจ้าอาวาสคือ พระใบฎีกาปีด ท่านพักอยูท่ างด้านหลัง อุโบสถ สันนิษฐานได้ว่า การผูกพัทธสีมาคงจะผูกในสมัยพระใบ ฎีกาปีด เป็นเจ้าอาวาส ท่านเป็นพระวิปสั สนาทีป่ ระชาชนให้ความ เคารพนับถือเป็นจ�ำนวนมาก ล�ำดับเจ้าอาวาส 1. พระใบฎีกาปีด พ.ศ. 2392-2434 2. พระอธิการแก้ว (ธมฺมโชโต) พ.ศ. 2434-2448 3. พระปลัดหมุด พ.ศ. 2448-2463 4. พระศรีพิพัฒนธรรมวาที (เบ่งซ้วน สิริวณฺโณ) พ.ศ. 2463-2506 5. พระปฏิภาณธรรมคณี (ธวัช ธมฺมสโร) พ.ศ. 2506-2540 6. พระเทพปั ญ ญาโมลี (วิ ศิ ษ ฏ์ กนฺ ต สิ ริ ป.ธ.9,พธ.บ., MBA,พธ.ด.กิตติมศักดิ์) พ.ศ. 2540-ปัจจุบัน 76
6
วัดประชุมโยธี ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ยกฐานะเป็น พระอารามหลวงชัน้ ตรี ชนิดสามัญ เมือ่ วันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2525
SBL SBLบับันนทึทึกกประเทศไทย ประเทศไทย I Iพัพังงา งงา
.indd 76
6/9/2562 11:37:59
พระเทพปัญญาโมลี (วิศิษฏ์ กนฺตสิริ ป.ธ.9) เจ้าอาวาสวัดประชุมโยธี พระอารามหลวง รองเจ้าคณะภาค 17
พระเทพปัญญาโมลี (วิศิษฏ์ กนฺตสิริ ป.ธ.9) นามเดิม วิศิษฏ์ วงค์แฝด เกิดเมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2507 บิดาชื่อ นายวิวัฒ วงค์แฝด มารดาชื่อ นางหนู พัฒแก้ว บ้านเลขที่ 30/1 หมู่ 3 ต�ำบลป่ากอ อ�ำเภอเมืองพังงา จังหวัดพังงา บรรพชา เมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2522 ณ วัดมงคลสถิต ต�ำบลป่ากอ อ�ำเภอเมืองพังงา จังหวัดพังงา โดยมี พระราชปฏิภาณมุณี วัดชนา ธิการาม ต�ำบลนบปริง อ�ำเภอเมืองพังงา จังหวัด พังงา เป็นพระอุปัชฌาย์ อุปสมบท เมือ่ วันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 ณ วัดประชุมโยธี ต�ำบลท้ายช้าง อ�ำเภอเมืองพังงา จังหวัดพังงา โดยมีพระปฏิภาณธรรมคณี วัดประชุม โยธี ต�ำบลท้ายช้าง อ�ำเภอเมืองพังงา จังหวัดพังงา เป็นพระอุปัชฌาย์ พระครูมงคลกิตติคุณ วัดมงคล สถิต ต�ำบลป่ากอ อ�ำเภอเมืองพังงา จังหวัดพังงา เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระครูมงคลธรรมรัต วัดมงคลสุทธาวาส ต�ำบลท้ายช้าง อ�ำเภอเมือง พังงา จังหวัดพังงา เป็นพระอนุสาวนาจารย์ พระพุทธมงคลส�ำริดศากยมุนีศรีพังงา PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
6
.indd 77
77
6/9/2562 11:38:05
การศึกษา • พ.ศ. 2525 สอบได้นักธรรมชั้นเอก ส�ำนักศาสนศึกษา วัดกะพังสุรินทร์ ส�ำนักเรียนคณะจังหวัดตรัง • พ.ศ. 2528 ส�ำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จาก โรงเรียนผูใ้ หญ่วดั คลองโพธิ์ อ�ำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ • พ.ศ. 2535 สอบได้เปรียญธรรม 9 ประโยค ส�ำนักเรียน วัดดุสิดารามวรวิหาร กรุงเทพมหานคร • พ.ศ. 2536 ส�ำเร็จปริญญาตรี พุทธศาสตรบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร • พ.ศ. 2551 ส�ำเร็จปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต เกียรติคุณ • พ.ศ. 2555 ได้รบั ปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ (สาขาพุทธศาสนา) จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ต�ำแหน่ง • พ.ศ. 2540 รักษาการแทนเจ้าคณะจังหวัดพังงา 78
6
• พ.ศ. 2540 รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดประชุมโยธี พระอารามหลวง • พ.ศ. 2541 เจ้าคณะจังหวัดพังงา • พ.ศ. 2542 พระอุปัชฌาย์วิสามัญ • พ.ศ. 2543 เจ้าอาวาสวัดประชุมโยธี พระอารามหลวง • พ.ศ. 2557 รองเจ้าคณะภาค 17 • รองหัวหน้าพระธรรมทูต สายที่ 9 สมณศักดิ์ • พ.ศ. 2535 เปรียญธรรม 9 ประโยค • 5 ธันวาคม พ.ศ. 2542 พระราชาคณะชั้นสามัญเปรียญ ที่ พระศรีปฏิภาณธรรมคณี • 12 สิงหาคม พ.ศ. 2547 พระราชาคณะชั้นราช ที่ พระราช ปัญญาสุธี ตรีปิฎกบัณฑิต มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี • 5 ธันวาคม พ.ศ. 2554 พระราชาคณะชั้นเทพ ที่ พระเทพปัญญาโมลี ศรีสังฆนายก ตรีปิฎกบัณฑิต มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี
SBL SBLบับันนทึทึกกประเทศไทย ประเทศไทย I Iพัพังงา งงา
.indd 78
6/9/2562 11:38:11
PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
6
.indd 79
79
6/9/2562 11:38:19
H I STORY OF BU DDHI S M
History of buddhism
วัดประพาสประจิมเขต อดีตรัชกาลที่ 5 ทรงสร้าง
พระปลัดจิรวัฒน์ อภินนฺโท ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดประพาสประจิมเขต
วั ด ประพาสประจิ ม เขต เดิ ม ชื่ อ วั ด ถ�้ ำ พุ ง ช้ า ง ตั้ ง อยู ่ บ้ า นหั ว ช้ า ง ในเขตเทศบาล ต.ท้ า ยช้ า ง อ� ำ เภอเมื อ งพั ง งา ที่ ไ ด้ ชื่ อ ว่ า วั ด ถ�้ ำ พุ ง ช้ า ง เพราะที่ ตั้ ง วั ด อยู ่ ติ ด กั บ เขาช้ า ง ซึ่ ง มี น�้ ำ ที่ พุ ง ของเขาช้ า ง และมี น�้ ำ ไหลตลอดปี ที่ ตั้ ง วั ด มี เนื้ อ ที่ ทั้ ง หมด 52 ไร่ 2 งาน 40 ตารางวา โดยในวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2474 ได้มีการวางฤกษ์ เพื่อสร้างกุฏิเจ้าอาวาส 2 ชั้น โดยมีพระยาบริรักษ์ภูธร ผู้ว่า ราชการจังหวัดพังงาในขณะนั้นเป็นผู้วาง และได้สร้างเสร็จ สิ้นในปี พ.ศ. 2476
80
ต่อมาในปี พ.ศ. 2477 พระครูปฏิภานพังงารัฐ เจ้าอาวาส วัดมงคลสุทธาวาส และเจ้าคณะจังหวัดพังงา ในขณะนั้น ได้ย้ายมาเป็นเจ้าอาวาสวัดประพาสประจิมเขต และใน วันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2480 ได้มีการจัดงานผูกพัทธสีมา วัดประพาสประจิมเขต โดยมีพระวิสุทธิวงศาจารย์ เจ้าคณะ จังหวัดภูเก็ตเป็นประธาน จากประวัติการก่อสร้างศาสนสถาน ของ วัดประพาส ประจิมเขต นั้นบ่งบอกได้ว่า เป็นวัดที่มีความเก่าแก่โบราณ และทรงคุณค่าทางศาสนาและวัฒนธรรมนอกจากเป็นศาสน สถาน ที่สร้างขึ้นเพื่อให้พุทธศาสนิกชนได้เข้ามาท�ำบุญแล้ว วัดประพาสประจิมเขตยังเป็นศาสนสถานที่ทรงคุณค่าทาง ประวัติศาสตร์ เพื่อที่คนรุ่นหลังจะได้เขามาศึกษาค้นคว้า หาความรู้ต่อไป
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
2
.indd 80
6/9/2562 11:49:50
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส
1. พระราชปฏิภานมุณี (เขิม เกสโร) พ.ศ. 2477-2509 2. พระครูอรรถธรรมสุนทร (รักษาการแทน) พ.ศ. 2509-2517 3. พระครูสุนทรธรรมคุณ (ประทีป คุณธมฺโม) พ.ศ. 2517-2539 4. พระครูพิพัฒน์ประจิมเขต (นิคม ชุตินฺธโร) พ.ศ. 2539-2561 5. พระปลัดจิรวัฒน์ อภินนฺโท พ.ศ. 2561-ปัจจุบัน
อาคารเสนาสนะและปูชนียวัตถุ
กุฏิอดีตเจ้าอาวาส ศาลพ่อตาเขาช้าง
• อุโบสถ กว้าง 18 เมตร ยาว 24 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2516 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก • ศาลาการเปรียญ กว้าง 17.50 เมตร ยาว 26 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2497 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก • กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 12 หลัง เป็นอาคารไม้, เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก และครึ่งตึกครึ่งไม้ • พระประธานประจ�ำอุโบสถ
กิจกรรมที่ส�ำคัญ
- กิจกรรมส่งเสริมพระพุทธศาสนา เช่น วันส�ำคัญต่างในทาง พระพุทธศาสนา - งานสมโภชพ่อตาเขาช้าง สิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองประจ�ำ จังหวัดพังงา - ประเพณีวันสารทเดือนสิบ วันสงกรานต์ เป็นต้น โดยทางวัดจะเน้นให้เหล่าคณะพุทธบริษทั ได้มสี ว่ นร่วมในการ ท�ำกิจกรรมและพัฒนาวัดไปด้วยกัน
PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 81
81
6/9/2562 11:49:58
If you love
HISTORY OF THAILAND you'll adore SBL MAGAZINE
www.sbl.co.th
SBL บันทึกประเทศไทย SBL MAGAZINE SBL บันทึกประเทศไทย
วั ด ภู เ ขาพระอั ง คาร ตั้งอยู่ในท้องที่ อ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ
และเขตของอ� ำ เภอนางรอง จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ เป็ น ภู เ ขาไฟที่ ดั บ สนิ ท แล้ ว ห่ า งจากภู เ ขาพนมรุ ้ ง ไปทางทิ ศ ตะวั น ตกประมาณ 10 กิ โ ลเมตร ห่ า งจาก จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ ป ระมาณ 72 กิ โ ลเมตร ตามเส้ น ทางบุ รี รั ม ย์ - นางรอง
Book of sbl.indd 82
. - 10/09/2562 10:50:20 AM
History of buddhism
วัดมะปริง
วัดเก่าแก่ อายุกว่า 200 ปี พระครูฉันทธรรมาภิยุต ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดมะปริง
วัดมะปริง ตั้งอยู่หมู่ที่ 4 ต�ำบลนบปริง อ�ำเภอเมือง จังหวัดพังงา คณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งเมื่อ พ.ศ.2355 ซึง่ มีพระสมเด็จเจ้าสองพีน่ อ้ งธุดงค์โปรดสัตว์มาปักกลด อยู่ ณ ที่แห่งนี้ เดิมเป็นที่ของนายฮง ได้ถวายที่ดินให้แก่ สมเด็จเจ้า และช่วยกันบุกเบิกตั้งเป็นส�ำนักสงฆ์ ต่อมา พระสมเด็ จ เจ้ า จึ ง คิ ด ริ่ เ ริ่ ม สร้ า งวั ด มะปริ ง ขึ้ น สั ง กั ด โบราณสถานของวัดที่ส�ำคัญ เช่น หอสวดมนต์ ศาลา การเปรียญ
ประวัติ พระครูฉันทธรรมาภิยุต
พระครูฉันทธรรมาภิยุต นามเดิม ชื่อนายเสวียง โลหะกิจ ท่านเป็นชาวจังหวัดพังงา โดยอาศัยอยู่ที่ บ้านบางตง ต�ำบลนบปริง อ�ำเภอเมือง จังหวัดพังงา อุปสมบทที่วัดสามกอง จังหวัดภูเก็ต ชาวบ้านได้ไป นิมนต์ท่านมาเป็นเจ้าอาวาสที่วัดมะปริง
PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
1
.indd 83
83
6/9/2562 11:53:37
WO R K LI FE
องค์การบริหารส่วนต�ำบลทุ่งมะพร้าว “ สาธารณู ป โภคพร้ อ ม เศรษฐกิ จ ดี มี ก ารศึ ก ษา ใส่ ใ จประชา พั ฒ นาสิ่ ง แวดล้ อ ม อนุ รั ก ษ์ ป ระเพณี วั ฒ นธรรม ท้ อ งถิ่ น ” วิสัยทัศน์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนต�ำบลทุ่งมะพร้าว
นายกฤชธนา จิ น ตรั ก ษ์ ปลัดองค์การบริหารส่วนต�ำบล ปฏิบัติหน้าที่ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลทุ่งมะพร้าว
ข้อมูลทั่วไป
กิจกรรมเดิน-วิ่ง เขาไข่นุ้ย
84
.
ตั้ ง อยู ่ ใ นเขตท้ อ งที่ อ� ำ เภอท้ า ยเหมื อ ง จังหวัดพังงา มีพื้นที่ประมาณ 105.91 ตาราง กิโลเมตร หรือประมาณ 66,193 ไร่ 3 งาน อยู่ ห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอท้ายเหมืองประมาณ 17 กิโลเมตร ห่างจากจังหวัดพังงาประมาณ 35 กิโลเมตร ตั้งอยู่บนชายฝั่งทะเลอันดามัน
ลักษณะภูมิประเทศ ภูมิประเทศเป็นที่ราบ ที่ราบลุ่มน�้ำและมี เทือกเขาเป็นแนวยาวโดยรอบ มีป่าไม้ค่อนข้าง สมบูรณ์ เป็นป่าดิบชืน้ ป่าดิบเขา และป่าแน่นทึบ ประกอบด้วยพันธุ์ไม้มีค่าหลายชนิด ฤดูฝนมี แหล่ ง น�้ ำ อุ ด มสมบู ร ณ์ ฝนตกทั่ ว ไปทุ ก พื้ น ที่ ที่ดินเหมาะส�ำหรับการเพาะปลูก ท�ำการเกษตร แบบสวนผสม ท�ำสวนผลไม้ ท�ำสวนยางพารา และท�ำสวนปาล์ม
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
อนุ สรณ์84สถานท้าวสุรนารี (ย่าโม) อ�ำเภอเมือง .indd
6/9/2562 17:50:59
สถานที่ท่องเที่ยว ดอนหอยหวาน ล่องเรือแคนนูชมระบบนิเวศป่าชายเลน และคลองทุ่งมะพร้าว สุสานไทยใหม่ สวนผลไม้ของชาวสวน น�้ำตกขนิม จุดชมวิวเกาะนก น�้ำตกบางปอ หานนาลอม ท่าเทียบเรือขนาดเล็กบ้านขนิม ทะเลหมอกเขาไข่นุ้ย ล่องแพชมป่าโกงกาง
ฝึกอาชีพสานตะกร้า
น�้ำตกขนิม
พิธีเปิดสนามกีฬา แข่งขันกีฬากีฑา ต้านภัยยาเสพติด ปี 2562
ปลูกป่าชายเลน
วัฒนธรรม ประเพณี
ประเพณีวันสารทเดือนสิบ เทศกาลถือศีลอด (รอมฎอน) ประเพณีถือศีลกินเจ ประเพณีวันสงกรานต์ ประเพณีส่งหาบคอน (ชาวไทยใหม่) การแข่งขันกีฬาประจ�ำปี อบต.คัพ ประเพณีลอยกระทง งานประเพณีวันขึ้นปีใหม่ งานประเพณีวันผู้สูงอายุ ประเพณีทอดกฐิน - ผ้าป่า
เขาไข่นุ้ย
คลองเจริญ PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 85
85
6/9/2562 17:51:13
WO R K LI FE
องค์การบริหารส่วนต�ำบลบางทอง ที่อยู่ 21/11 หมู่ 4 ต�ำบลบางทอง อ�ำเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงา
“ ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง นิ เ วศน์ เกษตรกรรมก้ า วหน้ า พั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐานมาตรฐานคุ ณ ภาพชี วิ ต ” วิสัยทัศน์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนต�ำบลบางทอง
บางทองต� ำ บลน่ า อยู ่ อู ่ ข ้ า วดอกข่ า บู ช าหลวงพ่ อ แดง แหล่ ง อารยธรรมวั ด ราชา เพลิ น ตาน�้ ำ ตกทรายขาว ชมภู ต ายมดึ ง ค�ำขวัญขององค์การบริหารส่วนต�ำบลบางทอง
นายนิ โ รจน์ เกตุ แ ก้ ว นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลบางทอง
ประวัติต�ำบลบางทอง เล่ากันว่าเดิมพื้นที่ต�ำบลบางทองเป็นพื้นที่ ป่าไม้มีผู้คนอยู่อาศัย ชาวบ้านต�ำบลตะกั่วทุ่ง ใช้ พื้ น ที่ แ ห่ ง นี้ เ ป็ น เส้ น ทางเดิ น ทางติ ด ต่ อ ไป มาระหว่างอ�ำเภอตะกั่วป่ากับอ�ำเภอตะกั่วทุ่ง โดยเดินทางผ่านเขาหินลับเข้ามาตามเส้นทาง 86
.
แต่ ง ตั้ ง เป็ น นายบ้ า นปกครองชุ ม ชนแห่ ง นี้ นายวันท�ำหน้าที่เป็นนายบ้านปกครองหมู่บ้าน มาด้วยความสงบ จนได้รับการแต่งตั้งให้เป็น ขุนสวรรค์ ต่อมาผู้คนที่อาศัยอยู่พื้นที่บริเวณนี้ ได้คิดตั้งชื่อหมู่บ้าน จึงลงความเห็นกันว่าน่าจะ ตั้งชื่อหมู่บ้านตามชื่อของบังทอง ซึ่งเป็นเพื่อน คนเดียวของขุนสวรรค์ที่มาตั้งบ้านเรือนอยู่ โดย ไม่คิดอพยพกลับบ้านเดิมของตนเหมือนบังแดง บังเขียว และบังจัน ชุมชนแห่งนี้จึงได้รับการ ขานว่า ต�ำบลบางทอง ตามชื่อของบังทองแต่ เพี้ยนมาเป็นบางทองในปัจจุบัน
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
อนุสรณ์สถานท้าวสุรนารี (ย่าโม) อ�ำเภอเมือง
.indd 86
แห่งนี้ ต่อมานายวันซึง่ เป็นชาวบ้านต�ำบลบ่อแสน อ�ำเภอทับปุด ได้เดิน ทางผ่านเส้น ทางสายนี้ เห็นว่าพื้นที่แห่งนี้เหมาะสมที่จะตั้งบ้านเรือน อาศัย จึงได้ไปชักชวนบังแดง บังทองชาวมุสลิม ซึ่งตั้งบ้านเรือนอยู่ที่บ้านบ่อแสนมาอยู่ด้วยกัน นี้ได้ไปชวนบังจันและบังเขียว ซึ่งตั้งบ้านเรือน อยูท่ บี่ า้ นสามช่องมาอยูด่ ว้ ยอีกพวกหนึง่ นายวัน เมื่อเข้ามาอยู่ในพื้นที่บริเวณนี้ได้ไปรับนางกลับ ซึ่งเป็นภรรยามาอยู่ด้วย จนมีลูกด้วยกันสามคน คือ นายอุดม นายแหวง และนายเทียน ต่อมา ชุมชนแห่งนี้ได้ขยับขยายใหญ่ขึ้น นายวันได้รับ
6/9/2562 18:04:15
สถานที่ส�ำคัญ
ข้อมูลพื้นฐาน
วั ด สุ ว รรณาวาส (วัด แร่) ตั้งอยู่ หมู่ที่ 3 ต�ำบลบางทอง อ�ำเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงา
องค์การบริหารส่วนต�ำบลบางทอง อยู่ทาง ทิศตะวันออกของที่ว่าการอ�ำเภอท้ายเหมือง ระยะทางห่างประมาณ 11 กิโลเมตร ห่างจาก จังหวัดพังงา เป็นระยะทางประมาณ 28 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมด 28,206 ไร่ หรือประมาณ 45.13 ตารางกิโลเมตร ต�ำบลบางทอง แบ่งเป็น 7 หมู่บ้าน หมู่ที่ 1 บ้านกลาง หมู่ที่ 2 บ้านบางทอง หมู่ที่ 3 บ้านแร่
หมูท่ ี่ 4 บ้านใหญ่ หมูท่ ี่ 5 บ้านราชา หมูท่ ี่ 6 บ้านค่าย หมู่ที่ 7 บ้านหาดทรายขาว มีประชากรทั้งสิ้น 5,321 คน แยกเป็นชาย 2,631 คน หญิง 2,690 คน 2,092 ครั ว เรื อ น ส่ ว นใหญ่ ป ระกอบอาชี พ เกษตรกรรม สวนผลไม้ สวนยางพารา ปลูก ปาล์มน�้ำมัน และนิยมปลูกไม้ผล เช่น เงาะ ลองกอง มังคุด ลางสาด เป็นต้น อาชีพรองลงมา คือ ค้าขาย ปลูกผักสวนครัว
ภาพโครงการต่างๆ
ผลิตภัณฑ์ ต�ำบลบางทอง “ข้าวไร่ดอกข่า” ข้าวไร่ดอกข่า เป็นพันธุ์ข้าวไร่พื้นเมือง และ เป็นพันธุ์ข้าวเฉพาะถิ่น มีแหล่งปลูกดั้งเดิมอยู่ ในจังหวัดพังงา ปลูกกันมานานไม่นอ้ ยกว่า 100 ปี ลักษณะเด่น เป็นข้าวไร่พันธุ์พื้นเมืองที่มี ความต้านทานต่อโรค เมล็ดยาว สีของเมล็ด ข้าวสารมีสีน�้ำตาลแดงอมม่วง เมื่อสุกจะมีกลิ่น หอม คล้ายกลิ่นใบเตย รสชาติอร่อย ข้าวไม่แข็ง หุงขึ้นหม้อ
โครงการ “ปลูกกล้วยไม้ คืนธรรมชาติสู่ป่ายาง”
โครงการ ปั่น ท่อง ชมสวนไร่ ในวิถีบางทอง นครแห่งความสุข
ประเพณีเข้าพรรษา
OTOP ประจ�ำต�ำบล “ข้าวกล้อง ศรีบางทอง”
กิจกรรมปลูกต้นไม้ 12 สิงหา PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 87
87
6/9/2562 18:04:20
WO R K LI FE
องค์การบริหารส่วนต�ำบลล�ำภี “ คุ ณ ภาพชี วิ ต ดี เกษตรกรรมก้ า วหน้ า สิ่ ง แวดล้ อ มยั่ ง ยื น ” วิสัยทัศน์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนต�ำบลล�ำภี
นายสุ ร วิ ท ย์ สิ น ทนุ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลล�ำภี
ประวัติความเป็นมา ต�ำบลล�ำภี ยกฐานะจากสภาต�ำบลล�ำภี เป็น องค์การบริหารส่วนต�ำบลล�ำภี ตามที่กระทรวง มหาดไทย ได้มปี ระกาศลงวันที่ 19 มกราคม 2539 จัดตั้งเป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบล และมีผล บังคับใช้ในวันที่ 30 มีนาคม 2539 อาณาเขต ต�ำบลล�ำภีเป็นต�ำบลหนึ่งในจ�ำนวน 6 ต�ำบล ของอ� ำ เภอท้ายเหมือง จังหวัด พังงา มีพื้นที่ ประมาณ 101 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ
88
.
63,125 ไร่ ตัง้ อยูท่ างตอนบนของอ�ำเภอท้ายเหมือง อยู่ห่างจากอ�ำเภอท้ายเหมือง ประมาณ 25 กิโลเมตร ต�ำบลล�ำภี แบ่งพื้นที่การปกครองออกเป็น 7 หมู่บ้าน ประกอบด้วย หมู่ที่ 1 บ้านบกปุย หมู ่ ที่ 2 บ้ า นตี น เป็ ด หมู ่ ที่ 3 บ้านช้างนอน หมู ่ ที่ 4 บ้ า นล� ำ ภี หมู่ที่ 5 บ้านเชี่ยวหลอด หมู่ที่ 6 บ้านเก้าเจ้า หมู่ที่ 7 บ้านคลองห้าง
จ�ำนวนประชากรทั้งสิ้น 5,153 คน แยกเป็น ชาย 2,539 คน หญิง 2,614 คน จ�ำนวนหลังคา เรือนทั้งหมด 2,036 ครัวเรือน มีความหนาแน่น เฉลี่ย 51.01 คน/ ตารางกิโลเมตร ส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม รายได้บุคคล เฉลีย่ ต่อปีประมาณ 64,014.78 บาท (ข้อมูล จปฐ. ปี 2562)
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
อนุสรณ์สถานท้าวสุรนารี (ย่าโม) อ�ำเภอเมือง
.indd 88
รับมอบโล่เกียรติยศ
6/9/2562 18:13:38
สถานที่ท่องเที่ยว/กิจกรรมเด่นในต�ำบล
วัดบ้านบกปุย หมู่ที่ 1 บ้านบกปุย ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนบ้านตีนเป็ด หมู่ที่ 2 บ้านตีนเป็ด
ต้นจามจุรีร้อยปี หมู่ที่ 4 บ้านล�ำภี
น�้ำตกช้างนอน หมู่ที่ 3 บ้านช้างนอน PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 89
89
6/9/2562 18:13:56
H I STORY OF BU DDHI S M
90
4
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
.indd 90
6/9/2562 12:00:34
History of buddhism
วัดนิคมสโมสร วัดเก่าแก่ อายุมากกว่า 200 ปี พระครูวิสิฐศาสนการ
ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดนิคมสโมสร เจ้าคณะจังหวัดพังงา
วัดนิคมสโมสร ตั้งอยู่ในเขตต�ำบลนาเตย อ�ำเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงา สันนิษฐานว่าสร้างมาแล้วไม่น้อยกว่า 200 ปี เดิมชื่อ “วัดบางคลี” สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2356 ที่ตั้งวัดตั้งอยู่ด้านในใกล้ คุ้งน�้ำซึ่งถูกน�้ำกัดเซาะตลิ่งพังอยู่เสมอ ต่อมาสมัยท่านอาจารย์ เปียเป็นเจ้าอาวาสจึงได้ย้ายวัดมาตั้งใหม่ติดกับถนนเพชรเกษม เพือ่ สะดวกในการสัญจร และเปลีย่ นชือ่ วัดใหม่เป็น “วัดนิคมสโมสร” ในปี พ.ศ. 2486 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2497 ผูกพัทธสีมา เมื่อ พ.ศ. 2500
อุโบสถหลังเก่า มีลักษณะคล้ายศาลาทรงไทย ตัวโบสถ์ ส่วนล่าง ก่ออิฐถือปูน ส่วนบนตัง้ แต่กลางผนังขึน้ ไปเป็นไม้หลังคา มุงกระเบื้องแผ่นเล็กๆ รูปสี่เหลี่ยมประดับช่อฟ้าใบระกา หน้าบัน ประดับภาพไม้แกะสลักรูป พระพุทธเจ้าและพระสาวก ทาสี สวยงาม พระประธานในโบสถ์ท�ำด้วยปูนปั้นทาสีทอง พระสาวก ปูนปัน้ สามองค์และประดับภาพพิมพ์พทุ ธประวัตฝิ มี อื เหม เวชกร รอบผนั ง ภายในโบสถ์ ลั ก ษณะที่ แ ปลกและเด่นของโบสถ์คือ ด้านหน้าของโบสถ์เปิดโล่ง เหมือนกับศาลาทั่วๆ ไป และใช้ไม้ ตีเป็นซี่ลูกกรงโปร่งแทนผนัง อุโบสถหลังเก่าสร้างในสมัยของ พระครูประสารนวกิจ (พ่อท่านหีด)
PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 91
91
6/9/2562 12:00:36
1 มกราคม ของทุกปี ท�ำบุญตักบาตร ข้าวสาร อาหารแห้ง เริ่มต้นปีใหม่ เริ่มต้นชีวิตใหม่
ทางวัดจะจัดบรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อนทุกปี เนื่องใน วันคล้ายวันพระราชสมภพสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
ปฏิบัติธรรมวันส�ำคัญในทางพระพุทธศาสนา วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอาสาฬหบูชา ตักบาตรเทโวโรหณะวันออกพรรษา
บันทึก ลูกคลี สมั ย ก่ อ นมี เ รื่ อ งเล่ า ว่ า คณะมโนราห์ ที่ เ ดิ น ทางผ่ า นวั ด นี้ จะต้องมาเล่นถวายก่อนเสมอ จึงจะเดินทางต่อไปได้ มิฉะนัน้ จะมี เหตุตดิ ขัดเสมอ ห่างจากวัดไปทางท้ายเหมืองประมาณ 200 เมตร มีโบราณวัตถุที่ส�ำคัญคือ “ลูกคลี” อยู่สองลูกตั้งอยู่กลางทุ่งนา ซึ่งเป็นที่ลุ่มรกร้าง ชาวบ้านเชื่อว่าเป็นลูกคลีศักดิ์สิทธิ์ที่พระสังข์ ในเรื่องสังข์ทองตีคลีกับพระอินทร แล้วลูกคลีมาตกที่นี่ ลักษณะ ของลูกคลีเป็นหินที่ผุดขึ้นมาจากพื้นดิน มีลักษณะกลมรีกว้าง ประมาณ 2 เมตร ยาวประมาณ 4 เมตร ลูกคลีและความเชื่อ เรือ่ งการตีคลี ของพระสังข์กบั พระอินทร์ตามท้องเรือ่ งของสังข์ทอง ท�ำให้ชื่อของวัดนี้เกี่ยวข้องกับการตีคลี คือ ได้ชื่อว่าวัดบางคลี 92
4
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
.indd 92
6/9/2562 12:00:48
พระครูวิสิฐศาสนการ
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส
1. พระอาจารย์ขาว พ.ศ. 2458-2463 2. พระอาจารย์แดง พ.ศ. 2463-2470 3. พระอาจารย์นุ้ย พ.ศ. 2470-2475 4. พระอาจารย์อินทร์ พ.ศ. 2475-2478 5. พระอาจารย์แดง พ.ศ. 2478-2486 6. พระอาจารย์เปีย พ.ศ. 2486-2489 7. พระอาจารย์พรั่ง พ.ศ. 2489-2491 8. พระครูประสารนวกิจ(หีด) พ.ศ. 2491-2532 9. พระครูวิสิฐศาสนการ พ.ศ. 2532-ปัจจุบัน
พระครูวิสิฐศาสนการ ฉายา กนฺตสีโล อายุ 71 ปี พรรษา 47 วุฒิการศึกษา ม.ศ.3,นักธรรมชั้นเอก ที่อยู่ วัดนิคมสโมสร 56 หมู่ 8 ต�ำบลนาเตย อ�ำเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงา โทรศัพท์ 084-184-1097 ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดนิคมสโมสร เจ้าคณะจังหวัดพังงา และกรรมการสงฆ์จังหวัดพังงา สถานะเดิม ชือ่ สมบูรณ์ เสือณรงค์ เกิดวันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ.2491 บิดานายเซ่ง มารดา นางกั่ว บ้านเลขที่ 41 หมู่ 8 ต�ำบลนาเตย อ�ำเภอ ท้ายเหมือง จังหวัดพังงา อุปสมบท เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2515 วัดนิคมสโมสร ต�ำบลนาเตย อ�ำเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงา พระอุปชั ฌาย์ พระครูบริบาล ธรรมกิจ วัดประชาธิการาม ต�ำบลนาเตย อ�ำเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงา พระกรรมวาจาจารย์ พระครูถาวรธรรมวินิจ วัดเหมืองประชาราม ต�ำบลท้ายเหมือง อ�ำเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงา พระอนุสาวนาจารย์ พระครูปลัดปาน ถิรปุญฺโญ วัดประชาธิการาม ต�ำบลนาเตย อ�ำเภอ ท้ายเหมือง จังหวัดพังงา วิทยฐานะ • พ.ศ. 2520 ส�ำเร็จหลักสูตรการศึกษาผู้ใหญ่ระดับ 4 (ม.ศ.3) โรงเรียนศึกษาผู้ใหญ่วัดดาวคะนอง กรุงเทพมหานคร • พ.ศ. 2521 สอบได้นกั ธรรมชัน้ เอก ส�ำนักศาสนศึกษาวัดลุมพินี ต�ำบลนาเตย อ�ำเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงา • ความช�ำนาญการ บรรยายธรรม งานพิมพ์ดีด ผลงานด้านการส่งเสริมเผยแผ่ อุปถัมภ์พระพุทธศาสนา • ประธานพระธรรมทูต ในเขตจังหวัดพังงา • จัดอบรมพระภิกษุ-สามเณร ในเทศกาลเข้าพรรษาเป็นประจ�ำทุกปี • ประธานจั ด การปฏิ บั ติ ธ รรม เวี ย นเที ย น ในวั น ส� ำ คั ญ ของ พระพุทธศาสนา และวันส�ำคัญของชาติ เป็นประจ�ำตลอดทั้งปี • จัดบรรพชาสามเณรภาคฤดูรอ้ น ณ วัดนิคมสโมสร ต�ำบลนาเตย อ�ำเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงา เป็นประจ�ำทุกปี • ประธานจัดเข้าค่ายอบรมคุณธรรมให้กบั เยาวชนนักเรียนในเขต อ�ำเภอท้ายเหมือง ณ วัดประชุมศึกษา อ�ำเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงา เป็นประจ�ำทุกปี • ประธานจัดสวดมนต์ข้ามปี ท�ำความดีข้ามปี เป็นประจ�ำทุกปี PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 93
93
6/9/2562 12:00:53
H I STORY OF BU DDHI S M
History of buddhism
วัดประชุมศึกษา พระครูสันติจิตตาภรณ์ (บุญรัตน์ สนฺตจิตฺโต )
ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดประชุมศึกษา เจ้าคณะต�ำบลทุ่งมะพร้าว
วัดประชุมศึกษา ตั้งอยู่เลขที่ 18 หมู่ 1 ต�ำบลทุ่งมะพร้าว อ�ำเภอ ท้ายเหมือง จังหวัดพังงา สังกัด มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัด 24 ไร่ 80 ตารางวา เริ่มแรกท่านเจ้าคุณเทษาพระยารัษฎา เจ้าเมืองภูเก็ต เป็น ผูก้ อ่ ตัง้ ส�ำนักนี้ ในปี พ.ศ. 2443 ท่านได้นงั่ แคร่ผา่ นมา ทีบ่ า้ นโรงกรวง (บ้านทุ่งมะพร้าวในปัจจุบัน ) ท่านด�ำริว่า วัดอื่นๆอยู่ไกล เดินทาง ไม่สะดวก จึงให้พอ่ ท่านแดง เจ้าอาวาสวัดสุวรรณาวาส จัดตัง้ โรงทาน และจัดตั้งเป็นวัด โดยน�ำชาวบ้าน มาถางหญ้า ปลูกศาลา สร้างกุฏิ และได้นมิ นต์ หลวงพ่อพรหมแก้ว พรหมวณฺโณ จากวัดดอนโคกกลอย มาบริ ห ารวั ด และเป็ น เจ้ า อาวาสรู ป แรก จนท่ า นมรณภาพลง ด้วยโรคชรา เมื่อ พ.ศ. 2448
ประวัติ พระครูโสภณนวกิจ (อดีตเจ้าอาวาส)
พระครูโสภณนวกิจ หรือที่ชาวบ้านเรียกว่า “พ่อท่านละมูล” เป็นที่เคารพนับถือของชาวบ้านทุ่งมะพร้าว และชาวจังหวัดพังงา และจังหวัดใกล้เคียง ท่านได้รบั นิมนต์จากวัดสุวรรณาวาส มาเป็น รักษาการเจ้าอาวาสวัดประชุมศึกษา เมือ่ พ.ศ. 2500 และได้แต่งตัง้ เป็นเจ้าอาวาส เป็นเจ้าคณะต�ำบลทุ่งมะพร้าว มาโดยล�ำดับ ท่านได้ มรณภาพลง เมื่อวันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2524 ปัจจุบันวัดประชุมศึกษา มีพระครูสันติจิตตาภรณ์ (บุญรัตน์ สนฺตจิตฺโต)เป็นเจ้าอาวาส และเป็นเจ้าคณะต�ำบลทุ่งมะพร้าว ท่านได้พัฒนาวัดทั้งในด้านถาวรวัตถุ และในด้านการศึกษา โดยมี การก่อสร้างกุฏสิ งฆ์อกี หลายหลัง ก่อสร้างลานปฏิบตั ธิ รรม จัดการ เรียนการสอนตามโรงเรียนต่างๆในเขตต�ำบลทุ่งมะพร้าว และมี การจัดอบรมธรรมะ ค่ายพุทธบุตร ธรรมจาริณี ให้กับโรงเรียน ต่างๆ ในจังหวัดพังงา
ต่อมา พ่อท่านแดง ธมฺมสโร ได้มาช่วยบริหารวัด จนมาถึง พ.ศ. 2450 จึงรับตราตั้งเป็นเจ้าอาวาส และในปี พ.ศ. 2455 ท่านได้ เปิดโรงเรียนส�ำหรับเด็กมาเรียนหนังสือในศาลาธรรม ในปีนั้นจึง เปลี่ยนชื่อวัดทุ่งมะพร้าว เป็น “วัดประชุมศึกษา” 26
2
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
.indd 26
6/9/2562 13:30:05
ประวัติ พระครูสันติจิตตาภรณ์
พระครูสนั ติจติ ตาภรณ์ ชือ่ (เดิม) พระบุญรัตน์ ฉายา สนฺตจิตโฺ ต นามสกุล ฉ่างฉาย อายุ 57 ปี พรรษา 15 วุฒกิ ารศึกษา นักธรรมเอก ทางโลก พธ.บ. สังกัดวัด ประชุมศึกษา หมู่ที่ 1 ถนนเพชรเกษม ต�ำบลทุ่งมะพร้าว อ�ำเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงา โทรศัพท์ 088-7511691 โทรสาร 076-473551 E-mail : Watphachomsuksa@gmail.com หน้าที่การงานที่รับผิดชอบ • พ.ศ. 2551 ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดประชุมศึกษา • พ.ศ. 2551 ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าส�ำนักศาสนศึกษา วัดประชุมศึกษา • พ.ศ. 2551 ด�ำรงต�ำแหน่ง ครูสอนพระปริยัติธรรม แผนกธรรม • พ.ศ. 2551 ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการสอบธรรมสนามหลวง ประจ�ำสนามสอบ วัดนิคมสโมสร อ�ำเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงา • พ.ศ. 2560 ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าคณะต�ำบลทุ่งมะพร้าว อ�ำเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงา • พ.ศ. 2561 ด�ำรงต�ำแหน่ง พระวินยาธิการ ประจ�ำอ�ำเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงา • ได้รับรางวัลพระราชทาน “เสาเสมาธรรมจักร” ประจ�ำปี 2562 PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 27
27
6/9/2562 13:30:26
WO R K LI FE
ที่ว่าการอ�ำเภอตะกั่วทุ่ง “ แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วทางเลื อ กใหม่ ชุ ม ชนเกษตรตามแนวพระราชด� ำ ริ เ ศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ธรรมชาติ ส ะอาดงามตา ความสุ ข ที่ ยั่ ง ยื น คนมี คุ ณ ภาพ สั ง คมน่ า อยู ่ แ ละปลอดภั ย ” วิสัยทัศน์การพัฒนาของที่ว่าการอ�ำเภอตะกั่วทุ่ง
ประวัติความเป็นมาของอ�ำเภอ เมืองตะกัว่ ทุง่ ในต�ำนานเมืองนครศรีธรรมราช เรียกดินแดนแถบนีว้ า่ ตะกัว่ กลาง สันนิษฐานว่า หมายถึ ง ทุ ก กลุ ่ ม ชุ ม ชนที่ มี ก ารขุ ด แร่ ดี บุ ก ในแถบนี้ ซึ่งน่าจะประกอบด้วยเมืองตะกั่วป่า เมื อ งตะกั่ ว ทุ ่ ง เมื อ ง กระบุ รี เมื อ งเกาะระ เมืองถลาง ฯลฯ บริเวณทีเ่ รียกว่า เมืองตะกัว่ ทุง่ ในสมัยโบราณ คือ บริเวณต�ำบลนาเตย อ�ำเภอท้ายเหมือง และ บริเวณอ�ำเภอตะกั่วทุ่งในปัจจุบัน เดิมเมืองนี้ ตั้งอยู่บริเวณที่ราบริมทะเลด้านนอก ภายหลัง ได้แยกไปตั้งเป็นเมืองบางคลี่ ที่ปากน�้ำบางคลี เพื่อเป็นสถานีค้าขายกับต่างประเทศ ต่อมา ได้มีการย้ายเมืองหลายครั้งโดยย้ายเข้ามาตาม คลองบางคลีถึงบ้านนาแฝกข้ามทุ่งหญ้า โดย เอาแม่น�้ำนาเตยเป็นเส้นทาง ส่วนเมืองบางคลี ยังคงตั้งอยู่ที่ปากน�้ำบางคลี เป็นเมืองท่าของ เมืองตะกั่วทุ่ง
นายบั ญ ชา ธนู อิ น ทร์ นายอ�ำเภอตะกั่วทุ่ง
พ.ศ. 2328 พม่าได้มาตีเมืองตะกั่วทุ่งแตก ผู ้ ค นจึ ง อพยพย้ า ยเมื อ งที่ อ ยู ่ ริ ม ทะเลไปรวม กับเมืองที่บางคลี่เป็นเมืองเดียวกัน พ.ศ. 2352 หลังจากที่พม่ายกกองทัพมาตี หัวเมืองปักษ์ใต้ด้านนอก (ฝั่งทะเลตะวันตก) ผู้คนจึงพากันอพยพหลบหนีไปอยู่ทะเลด้านใน ริมอ่าวพังงาทีบ่ า้ นกระโสม เมือ่ ศึกพม่าเสร็จสิน้ ลง พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยฯ จึงได้ โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งเมืองตะกั่วทุ่งที่บ้านกระโสม และ พระยาโลหะภูมิพิสัย (เจ้าขุนด�ำ) เป็น 96
เจ้าเมืองตะกั่วทุ่ง ส่วนราษฎรบางพวกก็กลับมา อยู ่ ท างบางคลี ต ามเดิ ม เพราะเป็ น ที่ ตั้ ง ที่ มี แหล่งแร่อดุ มสมบูรณ์กว่า จึงปรากฏชือ่ ในท�ำเนียบ ข้าราชการเมืองนครศรีธรรมราชทัง้ เมืองตะกัว่ ทุง่ และเมืองบางคลี พ.ศ. 2383 เมือ่ มีการจัดตัง้ หัวเมืองขึน้ ใหม่ เมืองตะกัว่ ทุง่ ยังคงตัง้ อยูท่ บี่ า้ นกระโสมตามเดิม และเมืองบางคลียงั เป็นเมืองทีข่ น้ึ กับเมืองตะกัว่ ทุง่ ที่กระโสม พ.ศ. 2440 ต่ อ มาได้ มี พ ระบาทสมเด็ จ
พระจุลจอมเกล้าฯ ทรงมีพระบรมราชโองการ ว่าเมืองพังงากับเมืองตะกัว่ ทุง่ ต่างก็เป็นเมืองเล็ก มีพลเมืองไม่มากทั้งสองเมืองทั้งยังอยู่ใกล้ชิด ติดต่อกัน เพื่อให้เป็นการง่ายและสะดวกในการ ปกครอง จึงให้ยกเมืองตะกั่วทุ่งไปรวมเข้ากับ เมื อ งพั ง งา ดั ง นั้ น เมื อ งตะกั่ ว ทุ ่ ง จึ ง มี ฐ านะ เป็ น อ� ำ เภอหนึ่ ง ของพั ง งาตั้ ง แต่ นั้ น มา โดยมี หลวงโลหะภูมิพิทักษ์เ ป็นนายอ�ำเภอคนแรก ของอ�ำเภอตะกั่วทุ่ง
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
อนุสรณ์สถานท้ .inddาวสุ 96 รนารี (ย่าโม) อ�ำเภอเมือง
6/9/2562 18:19:42
สถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจ
วั ด สุ ว รรณคู ห า หรือวัดถ�้ำ ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 ต�ำบลกระโสม อ�ำเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา เป็นวัดทีน่ า่ สนใจและมีความส�ำคัญมาก วัดหนึ่งของจังหวัดพังงา เนื่องจากเป็นโบราณสถาน ที่ส�ำคัญทางประวัติศาสตร์
เสม็ ด นางชี เป็นหนึ่งในสถานที่ท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยม ของพั ง งาคื อ การได้ สั ม ผั ส กั บ จุ ด ชมวิ ว ที่ ตั้ ง อยู ่ บนยอดเนินเขา มองเห็นภาพความสวยงามของ ธรรมชาติกว้างไกลสุดสายตา มองเห็นวิวอ่าวพังงา
บ้ า นสามช่ อ งเหนือ เป็นหมู่บ้านที่มีเอกลักษณ์ที่โดดเด่นหลายด้าน ทั้ ง ลั ก ษณะของที่ ตั้ ง ซึ่ ง อยู ่ บ นเกาะในทะเลห่ า ง จากฝัง่ ประมาณ 500 เมตร ตลอดทางเดินในหมูบ่ า้ น มี เรื่ อ งราวและวิ ถี ชี วิ ต ของหมู ่ บ ้ า นมุ ส ลิ ม แฝงอยู ่ และได้รบั การคัดเลือกเป็น 1 ใน 50 ชุมชนท่องเทีย่ ว OTOP นวัตวิถีต้นแบบระดับประเทศ
.indd 97
เกาะพนัก พื้นที่ประมาณ 5 ไร่ ประกอบด้วย ป่าชายเลน หาดทรายและน�ำ้ ทะเล ทีเ่ งียบสงบปราศจากคลืน่ ลม การที่ ไ ด้ ชื่ อ ว่ า เกาะพนั ก เพราะมี ก� ำ แพงภู เขา ล้อมรอบคล้ายพนักเก้าอี้
ชายหาดเขาปิห ลาย - นาใต้ เป็นชายหาดที่มีความสวยงาม และเป็นที่ตั้ง ของสะพานไม้เก่าแก่แห่งหนึ่ง ซึ่งเป็นสถานที่ถ่าย Pre-wedding ระดับโลก และสะพานเรือประมง บริเวณหาดนาใต้
หลาดลองแล @บางนุ ตลาดแห่งนีถ้ อื เป็นตลาดประชารัฐ “คนไทยยิม้ ได้” ของอ�ำเภอตะกั่วทุ่ง โดยมีกระบวนการจัดการโดย คนในชุมชนเองทัง้ หมด สะท้อนถึงวิถชี วี ติ อัตลักษณ์ ของคนชาวบ้านบางนุ และชาวต�ำบลกะไหลได้อย่างดี
เขาพิงกัน เป็นแหล่งท่องเทีย่ วทีส่ ำ� คัญของพังงา มีลกั ษณะ ทางธรรมชาติ ที่เ ป็ นเอกลั ก ษณ์ จุ ด เด่ น คื อ เป็ น ภู เขาหิ น ขนาดใหญ่ ก ลางทะเล ซึ่ ง เกิ ด จากการ เลื่อนตัวของเปลือกโลก
เขาตาปู เป็นภูเขาหินปูนสูงประมาณ 15 เมตร ลักษณะ พิเศษมีรูปทรงคล้ายตาของปูที่โผล่ขึ้นมาจากทะเล หรื อ เหมื อ นตะปู ข นาดยั ก ษ์ ที่ ต อกลงไปในทะเล กลายเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงและได้รับ ความนิยมของจังหวัดพังงาและประเทศไทย
ศูนย์เ รียนรู้เ ศรษฐกิจพอเพีย งบ้านนากลาง เป็ น หมู ่ บ ้ า นต้ น แบบด้ า นเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง เน้นการท่องเที่ยวเชิงเกษตรสุขภาพ เป็นหนึ่งใน ชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี 33 หมู่บ้านของ จั ง หวั ด พั ง งา ปั จ จุ บั น มี ค ณะศึ ก ษาดู ง านจากทั่ ว ประเทศมาเรียนรู้แนวทางการพัฒนาหมู่บ้าน PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย 97
6/9/2562 18:19:44
WO R K LI FE
เทศบาลต�ำบลกระโสม “ ชุ ม ชนน่ า อยู ่ เลื่ อ งลื อ ประเพณี วั ฒ นธรรม การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง นิ เ วศ ” วิสัยทัศน์การพัฒนาของเทศบาลต�ำบลกระโสม
ประวัติความเป็นมา เทศบาลต�ำบลกระโสม อยู่ห่า งจากศูนย์ ราชการจังหวัดพังงา ประมาณ 12 กิโลเมตร ได้รับการยกฐานะมาจากสุขาภิบาล เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2542 ตามพระราชบั ญ ญั ติ เปลี่ยนแปลงฐานะสุขาภิบาลเป็นเทศบาล พ.ศ. 2542 มีจ�ำนวน 2 ชุมชน คือ ชุมชนตลาดเหนือ และชุมชนตลาดใต้
นายอนุ รัก ษ์ อั น ติ ม านนท์
เขตเทศบาลต�ำบลกระโสม เป็นที่ตั้งของ ศูนย์ราชการอ�ำเภอตะกั่วทุ่ง และเป็นที่ตั้งของ เมืองตะกั่วทุ่งในอดีต พื้นที่โดยส่วนใหญ่ติดกับ ชายฝั่งทะเลมีอาณาเขตติดต่อกับอุทยานแห่ง ชาติ อ ่ า วพั ง งา ประชาชนส่ ว นใหญ่ ป ระกอบ อาชีพรับจ้าง เกษตรกรรม ประมงและอาชีพ เกี่ยวเนื่องกับการท่องเที่ยว น�ำนักท่องเที่ยว เดินทางไปเที่ยวอ่าวพังงา เช่น เขาตาปู เขาพิง กัน เกาะปันหยี ถ�้ำลอดฯลฯ
นายกเทศมนตรีต�ำบลกระโสม
ศูนย์บริการผู้สูงอายุ วัดมาตุคุณาราม 98
.
ประเพณีชักพระและสวดตลาด
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
อนุสรณ์สถานท้าวสุรนารี (ย่าโม) อ�ำเภอเมือง
.indd 98
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก วัดมาตุคุณาราม
6/9/2562 18:26:05
สถานที่ส�ำคัญ วัดมาตุคุณาราม เดิมชื่อ “วัดหน้าเมือง” ตามสถานที่ตั้งซึ่งอยู่ตรงหน้าเมืองตะกั่วทุ่ง หรือ “วัดใหม่” สร้างแทนวัดบูรณาราม เมื่อ ประมาณ พ.ศ. 2330 โดยพระยาโลหภูมิพิสัย (ขุนด�ำ ณ ตะกั่วทุ่ง) เป็นผู้สร้าง เพื่อตอบแทน พระคุณมารดาทีเ่ สียชีวติ และได้สร้างพระธาตุเจดีย์ ขึ้ น ภายในวั ด บริ เ วณเผาศพมารดาไว้ เ ป็ น อนุสรณ์สถาน เรียกว่า “พระธาตุเจดียเ์ จ้าแม่ทองค�ำ” โดยน�ำพระพุทธรูปและของมีค่าอื่นๆ บรรจุไว้ ในเจดีย์เพื่อถวายเป็นพุทธบูชา ต่อมาเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 สมด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช ได้เสด็จมาเป็นองค์ประธาน ประกอบพิธอี ญ ั เชิญ พระบรมสารีริกธาตุจ�ำนวน 5 องค์มาบรรจุไว้ส่วนยอดเจดีย์ส่วนบนของ องค์ระฆัง เป็นทีส่ กั การบูชาของประชาชนสืบมา
ท่าเทียบเรือสุระกุล เดิมท่าเรือสุระกุลเป็นท่าเรือประมงที่ชาวบ้านใช้เทียบเรือประมงขนาดเล็ก ต่อมาเมื่อปี พ.ศ.2516 นายวิจิตร สุระกุล ซึ่งเป็นนายอ�ำเภอตะกั่วทุ่งในขณะนั้น ได้คิดริเริ่มก่อสร้างเป็นท่าเทียบเรือ เพื่อการท่องเที่ยว โดยใช้ชื่อสกุลของท่านมาเป็นชื่อท่าเทียบเรือ และได้ท�ำการปรับปรุงเรื่อยมาจนถึง ปี 2560 กรมเจ้าท่าได้ด�ำเนินการปรับปรุงท่าเทียบเรือให้เป็นไปตามมาตรฐานและมีความสวยงาม งบประมาณ 36,580,000 บาท ท่าเทียบเรือสุระกุลเป็นท่าเทียบเรือที่น�ำนักท่องเที่ยวเดินทางไปท่องเที่ยวในอ่าวพังงา เช่น เขาตาปู เขาพิงกัน เกาะปันหยี ถ�้ำลอด ฯลฯ โดยเดินทางด้วยเรือหางยาวเช่าเหมาล�ำ ซึ่งอ่าวพังงา มีภูมิทัศน์ที่สวยงาม มีความปลอดภัยเหมาะกับการเดินทางท่องเที่ยวได้ตลอดปี
อาคารนิทรรศการแหล่งท่องเที่ยวตามรอย ภาพยนตร์ James Bond 007: The Man with The Golden Gun ก่อสร้างเมือ่ ปี พ.ศ. 2556 กรมการท่องเทีย่ ว ได้ ด� ำ เนิ น การก่ อ สร้ า งโดยขอใช้ พื้ น ที่ จ าก เทศบาลต�ำบลกระโสม เพื่อปรับปรุงเป็นแหล่ง ท่องเทีย่ วตามรอยเส้นทางการถ่ายท�ำภาพยนตร์ เรื่อง James Bond 007: The Man with The Golden Gun ซึ่งในอดีตเคยมาถ่ายท�ำในพื้นที่ อ่าวพังงา เขาตาปู เขาพิงกัน นักท่อ งเที่ยว มักเรียกเขาตาปูว่า “James Bond Iceland” ภายในมี นิ ท รรศการและประวั ติ ก ารถ่ า ยท� ำ ภาพยนตร์ รวมทั้งของเก็บสะสมที่เกี่ยวกับการ จัดท�ำภาพยนตร์เรื่องดังกล่าวมากมาย PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 99
99
6/9/2562 18:26:20
WO R K LI FE
องค์การบริหารส่วนต�ำบลกระโสม “กระโสมเมื อ งประวั ติ ศ าสตร์ พระพุ ท ธไสยาสน์ ง ามตา เที่ ย วถ�้ ำ ล�้ ำ ค่ า เพลิ น ตาน�้ ำ ตกรามั ญ ” ค�ำขวัญขององค์การบริหารส่วนต�ำบลกระโสม
นายสุ วั ช ร์ ศรี เ พชรพู ล นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลกระโสม
ข้อมูลพื้นฐาน
ลักษณะภูมิประเทศ
ด้านเศรษฐกิจ
“ต�ำบลกระโสม” สมัยสงครามเก้าทัพพม่า ได้ยกทัพมาตีเมืองถลาง ชาวบ้านได้ถอยกระจัด กระจายมาตั้งบ้านเรือนอยู่บริเวณที่ตั้งต�ำบล ปัจจุบัน จนได้ชื่อว่า “บ้านชาวหลาง” และได้ ขยายอาณาเขตพืน้ ทีอ่ อกไปเรือ่ ยๆ และได้สร้างวัด ขึ้ นมาชื่ อ ว่า “วัด มาตุคุณาราม” ในปัจ จุบัน มีเจ้าเมืองครองเมืองตะกัว่ ทุง่ มีลกู สาวชือ่ “โสม” ซึง่ มีเชือ้ สายมุสลิม จึงได้ตงั้ ชือ่ ต�ำบลนีว้ า ่ “กะโสม” ซึ่ ง หมายถึ ง “พี่ ผู ้ มี อ าวุ โ สที่ เ ป็ น หญิ ง ” และ ต่อมาเรียกเปลีย่ นเป็น “กระโสม” จนถึงปัจจุบนั
องค์การบริหารส่วนต�ำบลกระโสม มีพื้นที่ ส่วนใหญ่เป็นทีร่ าบค่อนข้างสูง อยูท่ างตอนเหนือ ของต�ำบล และมีที่ราบลาดต�่ำลงมาทางตอนใต้ ของต�ำบล ทิศตะวันออกอยู่ติดกับทะเล สภาพ โดยทั่วไปสรุปได้ ดังนี้ 1. เป็นทีร่ าบน�ำ้ ท่วมไม่ถงึ ประมาณ 23.75% 2. เป็นที่ราบน�้ำท่วมถึง ประมาณ 58.75% 3. เป็นภูเขา ประมาณ 17.50% นอกจากนี้ ยั ง มี แ หล่ ง น�้ ำ ที่ ส� ำ คั ญ ซึ่ ง เป็ น แหล่งอุปโภค บริโภค ของประชาชนในพื้นที่
พื้นที่ส่วนใหญ่ในเขตองค์การบริหารส่วน ต�ำบลกระโสม มีพื้นที่การเกษตรทั้งสิ้น 23,707 ไร่ ซึ่งประชากรส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 80 ประกอบอาชี พ เกษตรกรรม เช่ น ท� ำ สวน ยางพารา ปลูกผลไม้ ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีการ ประกอบอาชีพประมง เช่น การเลี้ยงกุ้งกุลาด�ำ การจั บ สั ต ว์ น�้ ำ ฯลฯ และยั ง มี บ างส่ ว นที่ ท� ำ หัตถกรรมและอุตสาหกรรมในครัวเรือน ได้แก่ การท�ำใบยาสูบ การเย็บจากมุงหลังคาบ้าน การ ท�ำไอศกรีม เป็นต้น
100
.
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
อนุสรณ์สถานท้าวสุรนารี (ย่าโม) อ�ำเภอเมือง
.indd 100
6/9/2562 18:36:15
โครงการ “1 อปท. 1 ถนนสวยงาม”
โครงการยุวชนเจ้าบ้านอาสา
กิจกรรมฝึกอบรมท�ำผ้ามัดย้อม
กิจกรรม “แยกก่อนทิ้ง”
โครงการเยาวชนอนุรักษ์ทะเล
PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 101
101
6/9/2562 18:36:22
แหล่งท่องเที่ยว
WO R K LI FE
วนอุทยานน�้ำตกรามัญ เป็นน�้ำตกขนาดกลาง ตั้งอยู่หมู่ที่ 6 บ้าน หินสามก้อน ต�ำบลกระโสม อ�ำเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา ใกล้กับวัดสุวรรณคูหา ในสมัย สงครามเก้าทัพมีชาวมอญกลุ่มหนึ่งหนีทัพพม่า ขึ้นไปตั้งชุมชนตรงชั้นบนสุดของน�้ำตกแห่งนี้
ชาวบ้ า นจึ ง เรี ย กว่ า “น�้ ำ ตกรามั ญ ” บริ เวณ ต้น น�้ำของวนอุท ยานมีลักษณะเป็น เทือกเขา เรียงราย สภาพป่าค่อนข้างอุดมสมบูรณ์ น�้ำตก มี ลั ก ษณะเป็ น ธารน�้ ำ ขนาดกลาง ไหลผ่ า น หุบเขาและพื้นที่ต่างระดับ ท�ำให้เกิดน�้ำตก 8 ชั้นด้วยกัน
ถ�้ำนาค เป็นแหล่งศิลปะบนผนังหินปูน ตัง้ อยูท่ อี่ ทุ ยานแห่งชาติอา่ วพังงา เกาะเขาสองพีน่ อ้ ง ต�ำบลกระโสม อ�ำเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา ซึ่งประวัติความเป็นมาของถ�้ำนาค เป็นแหล่งศิลปะบนผนังหินปูน เป็น ภาพเขียนสีแบบดัง้ เดิม โดยใช้สแี ตกต่างกัน โดยมีสแี ดงชนิดสีเปียก สีแดงเข้มและสีดำ� เป็นรูปขบวนเรือ และปลา มีกระดูกมนุษย์และกระดูกสัตว์ และเครื่องท�ำมาหากิน และภาพเขียนสีแบบดั้งเดิม
102
.
.indd 102
น�้ำตกรามัญ เป็นร่องรอยการอาศัยและกองกระดูกสัตว์ทพี่ บ ในคูหาที่ 3 หลักฐานทั้ง 3 ประเภทนี้ น่าจะมี ความสัมพันธ์กันมากที่สุด อาจจะเกิดจากคน กลุ่มเดียวกันในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ความส�ำคัญ ของคูหาที่ 3 นี้เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ที่ใช้เฉพาะ การฝังศพของกลุ่มคนที่อาศัยอยู่บริเวณนี้ แหล่งโบราณคดีถ�้ำนาค เป็นแหล่งศิลปะ บนผนังหินปูนของคูหาเล็กของถ�้ำนาคบนเกาะ สองพี่น้อง หรือเขาสองพี่น้อง ระยะห่างจากเขา มาทางใต้ ประมาณ 1 กิโลเมตร เป็นแหล่งศิลปะ ถ�้ำสมั ย ก่ อ นประวั ติ ศ าสตร์ มี อ ายุ ป ระมาณ 1,000 - 4,000 ปี มาแล้ว ถ�้ำนาคมีคูหา 3 คูหา คูหาทีใ่ หญ่มากมี 2 คูหา กว้างยาวประมาณ 100 เมตร เพดานถ�้ำสูงมากกว่า 50 เมตร นอกจาก นี้ ยั ง มี ซอกหลืบมากมาย บริเวณพื้นถ�้ำมีกอง เปลือกหอยมากมาย ภาพเขียนสีเป็นแบบดัง้ เดิม ซึง่ มีภาพเขียนด้วยสีแดง ชนิดสีเปียก เขียนด้วย สีแดงเข้มและสีด�ำ โดยจะมีรูปขบวนเรือ 2 แถว และรู ป ปลาแทรกอยู ่ ร ะหว่ า งเรื อ ในแถวล่ า ง และพบกระดูกมนุษย์ กระดูกสัตว์ เศษภาชนะ ดินเผา และเครื่องมือกระดูกปลายแหลม
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
6/9/2562 18:36:32
วัดสุวรรณคูหา(วัดถ�้ำ) ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 2 ต�ำบลกระโสม อ�ำเภอตะกัว่ ทุง่ จั ง หวั ด พั ง งา ชาวบ้ า นเรี ย กกั น ว่ า “วั ด ถ�้ ำ ” เป็ น วั ด ที่ ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด วั ด หนึ่ ง ในจั ง หวั ด พั ง งา เนื่ อ งจากเป็ น โบราณสถานที่ ส� ำ คั ญ ทาง ประวัติศาสตร์และโบราณคดี ภายในวัดมีถ�้ำ ขนาดใหญ่ ประดิ ษ ฐานพระพุ ท ธรู ป และมี หินงอกหินย้อยสวยงาม เป็นสถานที่ท่องเที่ยว
มาตั้งแต่โบราณ นอกจากนี้ยังมีถ�้ำน้อยใหญ่อยู่ อีกหลายแห่ง ได้แก่ ถ�้ำใหญ่ ถ�้ำแจ้ง ถ�้ำมืด ถ�ำ้ แก้ว ถ�ำ้ ผึง้ ถ�ำ้ ครัวและถ�ำ้ บน เป็นถ�ำ้ ทีส่ งู ทีส่ ดุ แต่ส่วนใหญ่นักท่องเที่ยวมักนิยมเข้าไปไหว้พระ ในถ�้ำใหญ่ ซึ่งมีขนาดใหญ่กว่าถ�้ำอื่นๆ ภายในถ�้ำ มีพระพุทธรูปปูนปัน้ ต่างๆ ประดิษฐานอยูห่ ลายองค์ โดยเฉพาะพระพุทธไสยาสน์ ซึง่ มีความงดงามมาก
มีพพิ ธิ ภัณฑ์ ซึง่ พระครูวนิ ยั สารนิเทศ เจ้าอาวาส ได้จัดท�ำไว้บริเวณกุฏิ มีวัตถุโบราณที่เรียกว่า “หินขวานฟ้า” โดยได้รวบรวมมาจากสถานที่ ต่างๆ ประมาณกว่าร้อ ยชิ้น นอกจากนี้ยังมี พระปรมาภิไธยย่อของพระเจ้าแผ่นดิน และ พระราชวงศ์อกี หลายพระองค์อยูภ่ ายในถ�ำ้ อีกด้วย
PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 103
103
6/9/2562 18:36:39
WO R K LI FE
เทศบาลต�ำบลโคกกลอย “ บ้ า นเมื อ งสะอาด สร้ า งมาตรฐานคุ ณ ภาพชี วิ ต สั ง คมปลอดพ้ น ยาเสพติ ด อนุ รั ก ษ์ วิ ถี ป ระเพณี ท ้ อ งถิ่ น ” วิสัยทัศน์การพัฒนาของเทศบาลต�ำบลโคกกลอย
นายวิ บูล เกี ย รติ ทองตั น นายกเทศมนตรี
เทศบาลต� ำ บลโคกกลอย ตั้ ง อยู ่ ที่ 122 หมู ่ ที่ 1 ต� ำ บลโคกกลอย อ� ำ เภอตะกั่ ว ทุ ่ ง จังหวัดพังงา มีพื้นที่ 1 ตารางกิโลเมตร เ ท ศ บ า ล ต� ำ บ ล โ ค ก ก ล อ ย ไ ด ้ รั บ ก า ร เปลี่ยนแปลงฐานะจากสุขาภิบาลเป็นเทศบาล ต�ำบลเมื่อ วันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2542 เทศบาลต�ำบลโคกกลอยตั้งอยู่ในเขตอ�ำเภอ ตะกั่ ว ทุ ่ ง จั ง หวั ด พั ง งา เป็ น เขตชุ ม ชนที่ มี ประชากรอาศั ย อยู ่ ห นาแน่ น มากที่ สุ ด ในเขต อ�ำเภอตะกัว่ ทุง่ ห่างจากทีว่ า่ การอ�ำเภอตะกัว่ ทุง่ ประมาณ 25 กิโลเมตร ห่างจากศาลากลาง จั ง หวั ด พั ง งา 37 กิ โ ลเมตร และห่ า งจาก กรุงเทพมหานคร ประมาณ 870 กิโลเมตร
104
.
• ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านเศรษฐกิจ • ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านความปลอดภัย ในชีวิตและทรัพย์สิน • ยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาด้ า นคุ ณ ภาพชี วิ ต และสังคม • ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านศาสนา วัฒนธรรม และประเพณีต่างๆ • ยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาด้ า นการเมื อ งการ บริหาร • ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านโครงสร้างพืน้ ฐาน
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
อนุสรณ์สถานท้าวสุรนารี (ย่าโม) อ�ำเภอเมือง
.indd 104
ยุทธศาสตร์การพัฒนา
กิจกรรมคลองสวยน�้ำใส
6/9/2562 18:42:40
การท่องเที่ยว วัดไตรมารคสถิต(วัดโคกกลอย) หลวงพ่อวัดน�้ำรอบ สิ่งศักดิ์สิทธิ์แห่งโคกกลอย หลวงพ่อวัดน�้ำรอบ ประดิษฐานอยู่ภายใน วิหารจัตุรัสมุข เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัยห่ม จีวรสีส้มสูงประมาณ 1.5 เมตร เศียรท�ำด้วย โลหะส�ำริด เป็นศิลปะสมัยอยุธยาตอนปลาย ส่ ว นองค์ พ ระท� ำ จากปู น ปั ้ น ซึ่ ง ปั ้ น ขึ้ น มา
ภายหลังราวๆ สมัยรัชกาลที่ 3-4 ท�ำไมถึงไม่ชื่อ ว่า “หลวงพ่อวัดน�้ำรอบ” นั่นก็เพราะแต่เดิม หลวงพ่อวัดน�้ำรอบประดิษฐานอยู่ที่วัดน�้ำรอบ ซึ่งเป็นวัดเก่าก่อนย้ายมาสร้างเป็นวัดโคกกลอย ในปี พ.ศ. 2288 ประดับประดาไปด้วย กระเบือ้ ง เครื่องลายครามหลากสีท�ำเป็นรูปมังกรสองตัว ตกแต่งลวดลายปูนปั้นแบบ ไทยผสมจีน
นโยบายการพัฒนาด้านคุณภาพชีวิตและ สังคม ถือเป็นนโยบายหลักของเทศบาลต�ำบล โคกกลอย ซึ่งได้ด�ำเนินการเพื่อตอบสนองความ ต้ อ งการของประชาชนในท้ อ งถิ่ น ยกระดั บ คุณภาพชีวิต ดังนี้ - โรงเรียนเทศบาลโคกกลอย เปิดสอนระดับ อนุบาลและประถมศึกษา โดยท�ำการเรียนการ สอนสามภาษา ไทย-จี น -อั ง กฤษ อย่ า งเป็ น ระบบเพื่อปรับการศึกษาไทยให้ทันยุคสมัยใน การเปิดประเทศสอดคล้องกับเศรษฐกิจและ กระแสการเปลี่ยนแปลงทั่วโลก ในปีการศึกษา 2562 มีนักเรียนทั้งสิ้น 482 คน - สนามหญ้าเทียมเทศบาลต�ำบลโคกกลอย และอาคารฟิ ต เนสเทศบาลต� ำ บลโคกกลอย เพื่ อ มุ ่ ง เน้ น การออกก� ำ ลั ง กายของเยาวชน ประชาชนในพื้นที่
ประเพณีถือศีลกินเจ
ประเพณีถือศีลกินเจ
เป็นงานประเพณีทคี่ นไทยเชือ้ สายจีนนับถือ มาช้านาน จุดเด่นของประเพณีถือศีลกินเจ คือ การแห่พระรอบเมือง การตัง้ โต๊ะหมูบ่ ชู าหน้าบ้าน การกินเจจ�ำนวน 9 วัน
ประเพณีลอยแพ
ประเพณีนี้เกิดมาไม่ต�่ำกว่าร้อยปี เนื่องจาก ท�ำมาตั้งแต่รุ่นปู่ทวด เป็นเอกลักษณ์ประจ�ำ ท้องถิ่นโดยยึดเอาวันขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 12 ตอน กลางวันของทุกปี ซึ่งงานประเพณีลอยแพนั้น ได้ ส ะท้ อ นให้ เ ห็ น ถึ ง ความร่ ว มมื อ สร้ า งเสริ ม ความสั ม พั นธ์สามัคคีข องชุม ชน และวิถีการ ด�ำรงชีวิตที่ด�ำเนินรอยตามบรรพบุรุษมาเป็น เวลายาวนาน ความเคารพศรัทธาต่อธรรมชาติ ซึ่ ง เป็ น แหล่ ง ทรั พ ยากรทางทะเล ในการ ประกอบอาชีพท�ำมาหากินของชุมชน
ประเพณีลอยแพ
PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 105
105
6/9/2562 18:42:47
WO R K LI FE
องค์การบริหารส่วนต�ำบลโคกกลอย “ พั ฒ นาคุ ณ ภาพการด� ำ รงชี วิ ต ส่ ง เสริ ม เศรษฐกิ จ อย่ า งยั่ ง ยื น ฟื ้ น คื น สั ง คมแห่ ง การเกื้ อ กู ล บริ บู ร ณ์ ด ้ ว ยทรั พ ยากรสิ่ ง แวดล้ อ มที่ ส มดุ ล ” วิสัยทัศน์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนต�ำบลโคกกลอย
สืบสานประเพณี ตักบาตรเทโวโรหณะ
นายสมบั ติ จิ น ดาพล นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลโคกกลอย
ประเพณีถือศีลกินเจ เดือนกันยายน-ตุลาคม
งานประเพณีลอยแพลอยกระทง เดือนพฤศจิกายน
โครงการท้องถิ่นสวยด้วยมือเรา
โครงการชุมชนจักรยานเพื่อสุขภาวะ ประจ�ำปี 2562
ข้อมูลพื้นฐาน องค์การบริหารส่วนต�ำบลโคกกลอย ตั้งอยู่ เลขที่ 99 หมูท่ ี่ 3 ต�ำบลโคกกลอย อ�ำเภอตะกัว่ ทุง่ จังหวัดพังงา ต�ำบลโคกกลอยเป็นหนึง่ ใน 7 ต�ำบล ของอ�ำเภอตะกัว่ ทุง่ ตัง้ อยูห่ า่ งจากทีว่ า่ การอ�ำเภอ ประมาณ 25 กิโลเมตร ห่างจากจังหวัด 42 กิโลเมตร องค์การบริหารส่วนต�ำบลโคกกลอย มีพื้นที่ ทั้งหมดประมาณ 90.41 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 56,506.25 ไร่
106
.
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
อนุสรณ์สถานท้าวสุรนารี (ย่าโม) อ�ำเภอเมือง
.indd 106
มีหมูบ่ า้ นในเขต อบต. 13 หมูบ่ า้ น ประกอบด้วย หมู่ที่ 1 บ้านหัวนอน หมู่ที่ 3 บ้านปากช่อง หมู่ที่ 4 บ้านดอน หมู่ที่ 5 บ้านหานบัว หมู่ที่ 6 บ้านนาใต้ หมู่ที่ 7 บ้านท่านุ่น หมู่ที่ 8 บ้านต้นแซะ หมู่ที่ 9 บ้านนากลาง หมู่ที่ 10 บ้านวัดเขา หมูท่ ี่ 11 บ้านท่าปากแหว่ง หมู่ที่ 12 บ้านฝรั่ง หมูท่ ี่ 13 บ้านตะวันออก หมู่ที่ 14 บ้านเขาปิหลาย
6/9/2562 18:50:34
น�้ำตกวัดเขา
หาดนาใต้
หาดเขาปิหลาย
กลุ่มภูตาล เป็นชื่อกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดพังงา ตั้งขึ้นโดยการรวมกลุ่มกันของสมาชิกที่สนใจ ในงานหัตถกรรม และเล็งเห็นถึงประโยชน์ที่ได้จากส่วนต่าง ๆ ของต้นตาลซึ่งพบมากในพื้นที่ ต�ำบลโคกกลอย โดยแรกเริ่มได้มีการน�ำล�ำต้น ใบ งวงตาลมาใช้ประโยชน์ในครัวเรือน และต่อมา ได้พัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีความทนทานและคงเอกลักษณ์ความเป็นไทยไว้อย่างสวยงาม สามารถ จ�ำหน่ายออกสู่ท้องตลาดได้ “ภู” นั้น ทางกลุ่มเห็นว่าในท้องถิ่นหรือสถานที่ที่มีชื่อเสียงส่วนใหญ่ ต่างมีชื่อที่มีค�ำว่าภูด้วยกัน ทั้งนั้น เช่น ภูเก็ต ภูงา ภูพิงค์ ภูพาน โดยเฉพาะ ภูงา เป็นชื่อโบราณของเมืองพังงา นอกจากนี้ ความหมายของค�ำว่า ภู ในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถานนั้นหมายถึง เนินที่สูงขึ้น หรือ แผ่นดิน ซึ่งเหมาะที่จะน�ำมาตั้งเป็นชื่อกลุ่มอย่างยิ่ง เนื่องจากมีความหมายที่แสดงให้เห็นถึงความมั่งคงเป็น ปึกแผ่นนั่นเอง “ตาล” มาจากต้นตาล ต้นไม้สารพัดประโยชน์ที่มีมาแต่โบราณ สามารถน�ำส่วนต่างๆ ของต้นตาล มาใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย รวมทั้งน�ำมาสร้างสรรค์เป็นผลงานหัตถกรรมให้แก่กลุ่มได้อย่าง สวยงามและเป็นเอกลักษณ์ที่โดดเด่น ภูตาล จึงหมายถึงกลุ่มที่รวมกันเป็นปึกแผ่นเพื่อสร้างสรรค์ งานหัตถกรรมจากต้นตาล นั่นเอง ผลิตภัณฑ์จากไม้ตาล มีของใช้ในครัว จาน, แก้วน�้ำ, ช้อน, ตะเกียบ, ตะหลิว, ครก, เรือน เชิงเทียนแบบใช้ครอบแก้ว เป็นต้น
PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 107
107
6/9/2562 18:50:39
WO R K LI FE
องค์การบริหารส่วนต�ำบลกะไหล “ ต� ำ บลน่ า อยู ่ เชิ ด ชู ก ารศึ ก ษา พั ฒ นาแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย ว บริ ห ารจั ด การโปร่ ง ใส ปลอดภั ย ในชี วิ ต เศรษฐกิ จ พั ฒ นา สาธารณู ป โภคครบครั น ” วิสัยทัศน์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนต�ำบลกะไหล
นายวิ ชัช ไตรรั ต น์
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลกะไหล โครงการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า มหาวิทยาลัยความสุข (โรงเรียนผู้สูงอายุ)
108
.
ต�ำบลกะไหล ตั้งอยู่เลขที่ 15/5 หมู่ที่ 1 ต� ำ บลกะไหล อ� ำ เภอตะกั่ ว ทุ ่ ง จั ง หวั ด พั ง งา 82130 ต�ำบลกะไหล เป็นต�ำบลหนึ่งในเจ็ดต�ำบล ของอ�ำเภอตะกัว่ ทุง่ จังหวัดพังงา ได้รบั การยกฐานะ เป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบล เมือ่ ปี 2539 อยูห่ า่ ง จากทีว่ า่ การอ�ำเภอตะกัว่ ทุง่ ประมาณ 9 กิโลเมตร มีพื้นที่ประมาณ 93.79 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 58,619 ไร่
ตลาดประชารัฐท้องถิ่นสุขใจ
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
อนุสรณ์สถานท้าวสุรนารี (ย่าโม) อ�ำเภอเมือง
.indd 108
ข้อมูลพื้นฐาน
6/9/2562 18:57:53
สถานที่ท่องเที่ยวและสินค้าในต�ำบลกะไหล
บ้านสามช่องเหนือ ที่ ม าของล� ำ คลองสามสายที่ ไ หลผ่ า นเหนื อ หมู่บ้าน คือ คลองบางหลาม คลองเชียงใหม่ และคลองตาจอ และไหลมารวมกั น เรี ย กว่ า คลองสามช่อง บ้านสามช่องเหนือมีชื่อเสียง ในเรื่ อ งของอาหารทะเลรสเลิ ศ ทั้ ง สด ใหม่ สะอาด เพราะอยู่ถึงแหล่งผลิตกลางทะเล
วัดมณีศรีมหาธาตุ พิพิธภัณฑ์หุ่นขี้ผึ้งพระเกจิอาจารย์ อาคาร ทรงไทยพิพธิ ภัณฑ์หนุ่ ขีผ้ งึ้ แสดงพระเกจิอาจารย์ และพระทีม่ ชี อื่ เสียงในประเทศไทย ห้องหุน่ ใหญ่ เป็ น พระเกจิ อ าจารย์ แ ละพระที่ มี ชื่ อ เสี ย ง ในประเทศไทย เช่ น พระพุ ท ธทาส สมเด็ จ พระพุ ฒ าจารย์ โ ต พรมรั ง สี , หลวงพ่ อ คู ณ , หลวงพ่อทวด, หลวงพ่อเงิน, หลวงพ่อปู่สุข, หลวงพ่ อ แช่ ม ถั ด ไปอี ก ห้ อ งเป็ น หุ ่ น ของ พระนารายณ์ และพระพุทธรูปปางต่างๆ
ตลาดลองแล @บ้านบางนุ หมู่บ้านแห่งความสุข เป็นตลาดของชุมชนที่เกิดจากความร่วมแรงร่วมใจกันของชาวบ้านในชุมชน เปิดให้บริการในวัน อาทิตย์ตั้งแต่เวลา 09.00-18.00 น. ภายในตลาดมีบรรยากาศที่ร่มรื่น โดยได้จัดซุ้มจ�ำหน่ายทั้งพืช ผัก ผลไม้ในท้องถิ่น อาหารการกิน และขนมพื้นบ้านที่มีการตกทอดกันมาจากรุ่นสู่รุ่น
บ้านสามช่องใต้ เป็นทีร่ จู้ กั กันดีในกลุม่ ช่างภาพ และนักเดินทาง เนื่องจากวิถีชีวิตที่เรียบง่ายของชาวบ้าน รวม ไปถึงทัศนียภาพยามเช้าที่ตราตรึงใจหลายๆ คน เพือ่ เป้าหมายในการเก็บภาพแสงสีทองแรกของวัน ภาพทิวเขาสูงทีอ่ ยูด่ า้ นหลังของกระชังเลีย้ งปลา มี ร้ิ ว หมอกไหลเอื่ อ ยละเลี ย ดกั บ ผิ ว น�้ ำ สี ท อง เดินลึกเข้าไปด้านในของหมู่บ้าน ก็พบกับร้าน กาแฟกลางน�ำ้ เป็นร้านกาแฟทีส่ ร้างขึน้ แบบง่ายๆ ตามสไตล์ชาวประมง
น�้ำพริกกุ้งเสียบ กลุ่มสตรีแปรรูปอาหาร 0-7644-4217, 08-1893-6479 แกงไตปลาส�ำเร็จรูป 0-7644-4075, 08-1271-8397 ดอกไม้จากใบมังคุด กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร บ้านกะไหลรวมใจ 0-7644-4033, 08-5068-5688 ดอกไม้จากใบยางพารา กลุ่มดอกไม้ศรีพังงา 0-7644-4231, 08-1370-4018
PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 109
109
6/9/2562 18:58:04
WO R K LI FE
องค์การบริหารส่วนต�ำบลหล่อยูง “ โครงสร้ า งพื้ น ฐานสะดวก การศึ ก ษาเข้ ม แข็ ง เศรษฐกิ จ มั่ น คง แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง อนุ รั ก ษ์ ชุ ม ชนน่ า อยู ่ ” วิสัยทัศน์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนต�ำบลหล่อยูง
นางสาววิ มลา ถิ่ นทั บปุ ด
หัวหน้าส�ำนักปลัด รักษาราชการแทนปลัด ปฏิบัติหน้าที่นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลหล่อยูง
สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน เกี่ยวกับที่มาของต�ำบลหล่อยูงนั้นคนเฒ่า คนแก่ พื้ น ที่ แ ห่ ง นี้ เ ต็ ม ไปด้ ว ยต้ น หล่ อ ซึ่ ง เป็ น ไม้เนื้ออ่อนบางจากใบหล่อสามารถน�ำมารักษา โรคซางที่เกิดกับเด็กได้ 110
.
ต�ำบลหล่อยูง อ�ำเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา เป็นต�ำบลหนึ่งในเขตอ�ำเภอตะกั่วทุ่ง ตั้งอยู่ทาง ทิศตะวันตกของอ�ำเภอ ระยะทางห่ า งจากตั ว อ� ำ เภอประมาณ 20 กิ โ ลเมตร และอยู ่ ห ่ า งจากจั ง หวั ด พั ง งา (ศาลากลางจังหวัดพังงา)ประมาณ 47 กิโลเมตร ในต�ำบลหล่อยูงมีหมู่บ้านทั้งหมด 10 หมู่บ้าน
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
อนุสรณ์สถานท้าวสุรนารี (ย่าโม) อ�ำเภอเมือง
.indd 110
และสมั ย ก่ อ นบริ เวณนี้ มี ก ารท� ำ นาอย่ า ง แพร่ ห ลาย ซึ่ ง ให้ บั ง เอิ ญ ว่ า ต้ น หล่ อ ต้ น หนึ่ ง ยื น ต้ น อยู ่ ข ้ า งชายนา นกยู ง ซึ่ ง ลงมากิ น ข้ า ว ช่ ว งข้ า วออกรวง บิ น ขึ้ น ไปเกาะบนต้ น หล่ อ ชาวบ้านที่ท�ำงานอยู่แถวนั้นเห็นเข้าก็ชี้ชวนกัน ดูนกยูงบนต้นหล่อ เรียกไปเรียกมาเพี้ยนเป็น หล่อยูงจนถึงทุกวันนี้ องค์การบริหารส่วนต�ำบลหล่อยูง อยู่ใน เขตภาคใต้ของประเทศไทย ตั้งอยู่ 89/8 หมู่ที่ 1
6/9/2562 19:08:11
กิจกรรมของ อบต.หล่อยูง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
ที่เที่ยวในต�ำบลหล่อยูง The Adventure Mountain Club
1. โครงการเข้าพรรษา เพือ่ เป็นการส่งเสริม บ� ำ รุ ง พระพุ ท ธศาสนา สื บ ทอดและอนุ รั ก ษ์ วัฒนธรรมประเพณีที่ดีงามของชุมชน 2. โครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัย จาก โรคพิษสุนัขบ้า ตามพระปณิธาน ศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ประจ�ำปีงบประมาณ 2562 ของ องค์การบริหารส่วนต�ำบลหล่อยูง อ�ำเภอตะกัว่ ทุง่ จังหวัดพังงา 3. โครงการฝึกอบรมส่งเสริมการพัฒนาอาชีพ ให้แก่ประชาชนหมู่ 1-10 ต�ำบลหล่อยูง ประจ�ำ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 (หลักสูตร การเพ้นท์ ผ้าปาเต๊ะ) 4. โครงการอบรมความรู้พิษภัยยาเสพติด ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ.2562 5. โครงการรณรงค์ คั ด แยกขยะต้ น ทาง ภายในต�ำบลหล่อยูง รุ่นที่ 2 6. โครงการแข่งขันกีฬาเยาวชนต�ำบลหล่อยูง เพื่อพัฒนาร่างกาย จิตใจ สังคมและอารมณ์ รวมทั้งพัฒนาคุณธรรมในการอยู่ร่วมกันอย่าง มี ค วามสุ ข ดั ง ค� ำ ขวั ญ ที่ ว ่ า “กี ฬ าพั ฒ นาคน คนพัฒนาชาติ” 7. โครงการถือศีลอดเดือนรอมฎอน เพื่อ ศึกษาถึงสิ่งที่ พระเจ้าต้องการให้มนุษย์รู้ว่าการ เป็ น อยู ่ ใ นโลกนี้ แ ละโลกหน้ า จะเป็ น อย่ า งไร และจะต้องท�ำตัวอย่างไร 8. โครงการอบรมจริยธรรม เพื่อเป็นการ ให้ความรูใ้ นหลักคุณธรรมจริยธรรมในกลุม่ เยาวชน ให้นักเรียนสามารถน�ำหลักคุณธรรมมาปรับใช้ ในการด�ำรงชีวิตประจ�ำวัน 9. โครงการฝึ ก อบรมค่ า ยภาษาอั ง กฤษ องค์การบริหารส่วนต�ำบลหล่อยูง มองเห็นถึง ความความส� ำ คั ญ และความจ� ำ เป็ น ดั ง กล่ า ว จ�ำเป็นต้องเตรียมความพร้อมเยาวชนให้มคี วามรู้ ความสามารถด้านการสื่อสาร 10. โครงการส่งเสริมพัฒนาการเรียนรู้ของ เด็กปฐมวัย เพื่อให้นักเรียนได้มีโอกาสเรียนรู้ ประสบการณ์นอกห้องเรียน นักเรียนได้มโี อกาส รู้จักซึ่งกันและกัน ได้มีประสบการณ์ทางสังคม ร่วมกัน
PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 111
111
6/9/2562 19:08:15
H I STORY OF BU DDHI S M
112 SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
4
.indd 112
11/9/2562 11:50:33
History of buddhism
วัดควนกะไหล
ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติธรรม พระประสาธน์สารโสภณ (ชัยวัฒน์ อิสฺสรธมฺโน) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดควนกะไหล เจ้าคณะจังหวัดภูเก็ต-พังงา-กระบี่-ระนอง (ธ)
วัดควนกะไหล ตั้งอยู่เลขที่ 1/7 หมู่ที่ 2 บ้านกะไหล ต�ำบลกะไหล อ�ำเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา 82130 เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์ ฝ่ายธรรมยุตินิกาย Facebook : วัดควนกะไหล วัดควนกะไหล โทรศัพท์ 081-893-7078 วัดควนกะไหล เป็นวัดที่เริ่มตั้งเป็นที่พักสงฆ์ในปี พ.ศ. 2493 ที่หลวงปู่ครูบาอาจารย์สายปู่มั่น มีหลวงปู่เทสก์ เทสรังสี หลวงปูม่ หาปิน่ ชลิโต หลวงปูส่ าม อกิญจโณ หลวงปูห่ ลุย จันทสาโร ได้มาเผยแผ่สั่งสอนธรรมะและปฏิบัติธุดงค์วัตร เดิมนั้นมีที่ฝัง ศพชาวบ้านเรียกว่าป่าช้าอนามัยและต่อมาเมื่อชาวบ้านมั่นคงใน ศรัทธาแล้วต่อมาวันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2524 นาย ภาษิต ใจชืน่ ยกมอบทีด่ นิ ให้สร้างวัดโดยคุณแม่ ประยงค์ ใจชืน่ เป็นผูข้ ออนุญาต สร้างและตัง้ วัด ส�ำเร็จเมือ่ วันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2528 ชือ่ ว่า “วัดควนกะไหล” เป็นวัดป่าเล็กๆได้พัฒนาตามล�ำดับจนปัจจุบัน นั้นวัดอุทยานการศึกษาพระพุทธศาสนามีกิจกรรมปฏิบัติธรรม ส�ำหรับเยาวชนและผูส้ งู วัยตลอดพุทธศาสนิกชนทัว่ ประเทศได้เดิน ทางมาฟังธรรมะปฏิบัติมิขาดสายตลอดปี โดยมีศูนย์เผยแผ่ธรรมภาค17(ธ)เป็นตัวขับเคลื่อนกิจกรรม ทั้งที่วัดควนกะไหลและนอกสถานที่เพราะมีประธานศูนย์เผยแผ่ ธรรมคือ พระครูวินัยธรวุฒิชัยรัฐ ชยวุฒฺโฑ มีบุคลากร,วิทยากรที่ เป็นพระสงฆ์และฆราวาสที่มีประสบการณ์จนสามารถพัฒนาไป เป็นการเผยแผ่ธรรมะสูโ่ ลกออนไลน์โซเชียลมีเดีย(Social Media) ที่ก้าวทันกระแสโลก ท่านเจ้าคุณชัยวัฒน์ นั้นท่านมีหัวข้อธรรมะที่ง่ายๆ เช่น
" สิ่งเดียวที่ควรท�ำ คือความดี ” “ ท�ำดี ไม่ต้องเดี๋ยว ” “ สุขใจไปสวรรค์ ทุกข์ ใจไปนรก เย็นสงบใจไปนิพพาน ” PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 113
113
11/9/2562 11:50:41
ประวัติ พระประสาธน์สารโสภณ
พระประสาธน์สารโสภณ ฉายา อิสสรธมฺโม อายุ 54 พรรษา 33 น.ธ. เอก ป.ธ – วัดควนกะไหล ต�ำบลกะไหล อ�ำเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา ปัจจุบนั ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดควนกะไหล และ เจ้าคณะธรรมยุต จังหวัดภูเก็ต-พังงา-กระบี่-ระนอง สถานะเดิม ชื่อ ชัยวัฒน์ ปัญญาบวรรัตน์ เกิดวัน 1 ฯ 10 ค�ำ ่ ปีมะเส็ง วันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2508 บิดานายบุญยืน ปัญญา บวรรัตน์ มารดานางธุลี ปัญญาบวรรัตน์ บ้านเลขที่ 71 ต�ำบล ท้ายช้าง อ�ำเภอเมือง จังหวัดพังงา บรรพชา วัน 1 ฯ 8 ค�่ำ ปี เถาะ วันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ 2530 วัดประชาสันติ ต�ำบลท้ายช้าง อ�ำเภอเมือง จังหวัดพังงา พระอุ ป ั ช ฌาย์ พระครู โ พธิ ธ รรมประภาส (เชื อ น ปภสฺ ส โร) วัดประชาสันติ ต�ำบลท้ายช้าง อ�ำเภอเมือง จังหวัดพังงา อุปสมบท วัน 1 ฯ 8 ค�ำ ่ ปี เถาะ วันที่ 28 มิถนุ ายน พ.ศ. 2530 วัดประชาสันติ ต�ำบลท้ายช้าง อ�ำเภอเมือง จังหวัดพังงา พระอุ ป ั ช ฌาย์ พระครู โ พธิ ธ รรมประภาส (เชื อ น ปภสฺ ส โร) วัดประชาสันติ ต�ำบลท้ายช้าง อ�ำเภอเมือง จังหวัดพังงา วิทยฐานะ • พ.ศ. 2527 ส�ำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียน ไร่ขิงวิทยา อ�ำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม • พ.ศ. 2542 สอบได้ น.ธ. เอก สังกัดวัดควนกะไหล ส�ำนักเรียน วัดถาวรคุณาราม อ�ำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต • อบรมเป็นพระนักเผยแผ่รุ่นที่ 1 คณะธรรมยุต • ได้รับการอบรมพระกรรมวาจาจารย์คณะธรรมยุต • เป็นครูพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน และพระธรรมวิทยากร กระทรวงวัฒนธรรม • พ.ศ. 2556 ผ่านการสอบอบรมแต่งตั้งเป็นพระอุปัชฌายะ วิสามัญคณะธรรมยุต งานปกครอง • พ.ศ. 2540 เจ้าอาวาสวัดควนกะไหล ต�ำบลกะไหล อ�ำเภอ ตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา • พ.ศ. 2541 เจ้าคณะต�ำบลตลาดใหญ่ เขต 3 (ธ) จังหวัดพังงา ภาค 17 • พ.ศ. 2550 เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองพังงา (ธ) ภาค 17 • พ.ศ. 2555 เจ้าคณะธรรมยุตจังหวัดภูเก็ต-พังงา-กระบี-่ ระนอง ภาค 17
114 SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
4
.indd 114
11/9/2562 11:50:51
PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 115
115
11/9/2562 11:51:03
H I STORY OF BU DDHI S M
History of buddhism
วัดสุวรรณคูหา (วัดถ�้ำ) พระครูรัตนเขตตาภิรักษ์
ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดสุวรรณคูหา จอ. กิตติมศักดิ์
วัดสุวรรณคูหา ตั้งอยู่บริเวณเขาถ�้ำ เลขที่ 36 หมู่ที่ 2 ต�ำบล กระโสม อ�ำเภอตะกั่ว ทุ่ง จังหวัด พังงา ห่า งจากที่ ว ่ า การอ�ำเภอ 4 กิโลเมตร เมื่อเดินทางสู่สายใต้ตามถนนเพชรเกษมถึงกิโลเมตรที่ 28-29 (จากสี่แยกโคกกลอย) จะมองเห็นภูเขาโดดเดี่ยว ขนาดย่อม อยู่ข้างหน้าเยื้องไปทางขวามือเล็กน้อย จนถึงหลักกิโลเมตรที่ 30 ก็จะมีทางซอยแยกซ้ายเข้าไป 800 เมตร คือเขตวัดสุวรรณคูหา วัดสุวรรณคูหา มีเนื้อที่ตามทะเบียนทางราชการ 21 ไร่ 2 งาน 76.9 ตารางวา มีหนังสือ ส.ค.1 เลขที่ 70 เป็นหนังสือส�ำคัญ
วัดสุวรรณคูหา ตัง้ ขึน้ เมือ่ ใดและใครเป็นผูก้ อ่ ตัง้ ไม่ปรากฏแน่ชดั มีเพียงเรือ่ งเล่าสืบต่อกันมาว่ามีพระธุดงค์ 1 รูป กับสามเณร 1 รูป เดินธุดงค์มาจากภาคกลางและไปพักอยู่ที่วัดบน (ปัจจุบันเป็น วัดร้างและมีผถู้ อื สิทธิค์ รอบครองแล้ว) ซึง่ ตัง้ อยูค่ นละฝัง่ คลองกับ วัดสุวรรณคูหา ปกติพระธุดงค์ส่วนมากมักชอบพักอาศัยอยู่ตาม ถ�ำ้ ซึง่ เงียบสงบ เมือ่ ท่านเห็นเขาลูกเล็กๆ โดดเดีย่ วจึงออกไปเทีย่ ว ส�ำรวจดู และพบว่ามีถำ�้ น้อยใหญ่สวยงามอยูห่ ลายถ�ำ้ และเชิงเขา แวดล้อมไปด้วยหมู่แมกไม้อันร่มรื่น มีธารน�้ำใสสะอาดไหลผ่าน รวมถึงเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่านานาชนิด ท�ำให้ท่านเกิดความ พอใจมากกว่าวัดบนที่ได้มาพักพาอาศัย และได้เข้าไปพ�ำนักอยู่ เป็นประจ�ำ ชาวบ้านพุทธบริษัทจึงได้ติดตามไปท�ำบุญกับท่าน ที่ถ�้ำเป็นประจ�ำ ส่วนที่ถ�้ำก็ถูกปรับปรุงเป็นวัดขึ้นมา จนพระภิกษุ อาจารย์มรณภาพลง กลายเป็นสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิป์ ระจ�ำวัด จึงเรียกกันว่า “พ่อท่านเจ้าถ�้ำ” โดยไม่ทราบชื่อจริงของท่าน ฝ่ายสามเณรนั้น เล่ากันว่า ภายหลังถูกช้างป่าแทงมรณภาพ และเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ คู่กับพ่อท่านเจ้าถ�้ำ เรียกกันว่า “พ่อท่านเจ้าเณร” โดยไม่ปรากฏ ชื่อเสียงเรียงนามแท้จริงเช่นเดียวกัน บริเวณถ�้ำได้มีการพัฒนา ให้เป็นวัดเรื่อยมาตามล�ำดับ โดยเรียกกันว่า “วัดถ�ำ้ ” 116 SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
6
.indd 116
6/9/2562 14:19:02
PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
6
.indd 117
117
6/9/2562 14:19:04
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส
1. พ่อท่านเจ้าถ�ำ้ (ไม่ทราบชื่อ) 2. พระสุวรรณคูหาสังฆปาโมกย์ 3. พระอุปัชฌาย์บวย 4. พระครูสมุห์อ่อน 5. พระอธิการเทือก 6. พระอธิการแดง 7. พระสมุห์ขลุ่ย 8. พระอธิการเผือก 9. พระอธิการเพ็ง 10. พระอธิการพริ้ม
พ.ศ. 2244 พ.ศ. 2400 พ.ศ. 2412 - 2422 พ.ศ. 2423 - 2430 พ.ศ. 2430 - 2443 พ.ศ. 2443 - 2449 พ.ศ. 2449 - 2458 พ.ศ. 2460 - 2469 พ.ศ. 2469 - 2481 พ.ศ. 2487 - 2492
11. พระสมุห์รุ่ง อินฺทวณฺโน 12. พระครูวินัยสารนิเทสก์ 13. พระพิศาลสาธุกิจ 14. พระครูรัตนเขตตาภิรักษ์
พ.ศ. 2493 - 2502 พ.ศ. 2502 - 2530 พ.ศ. 2531 - 2532 พ.ศ. 2532 - ปัจจุบัน
พระครูรัตนเขตตาภิรักษ์
ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดสุวรรณคูหา จอ.กิตติมศักดิ์
พระครูรัตนเขตตาภิรักษ์ ฉายา รตนาราโม อายุ 79 พรรษา 58 นธ.เอก ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดสุวรรณคูหา และเป็น เจ้าคณะอ�ำเภอกิตติมศักดิ์ นามเดิม ราม นามสกุลเดิม สุวรรณการ เกิดวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2483 บิดา-มารดา นายชิ้ว นางนุ้ย สุวรรณการ บ้านโตนดิน เลขที่ 5 หมูท่ ี่ 9 ต�ำบลถ�ำ้ อ�ำเภอตะกัว่ ทุง่ จังหวัดพังงา บรรพชา เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2498 วัดมาตุคุณาราม ต�ำบลกระโสม อ�ำเภอตะกัว่ ทุง่ จังหวัดพังงา พระอุปชั ฌาย์ พระศรี พิพัฒน์ธรรมวาที วัดประชุมโยธี ต�ำบลท้ายช้าง อ�ำเภอเมือง จังหวัดพังงา อุ ป สมบท วั นที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2503 วัด สุวรรณคูหา ต�ำบลกระโสม อ�ำเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา พระอุปัชฌาย์ พระราชปฏิ ภ าณมุ ณี วั ด ประพาสประจิ ม เขต ต�ำบลท้า ยช้า ง อ�ำเภอเมือง จังหวัดพังงา 118 SBL SBLบันบัทึนกทึประเทศไทย กประเทศไทยI พัIงงา พังงา
6
.indd 118
6/9/2562 14:19:13
การศึกษา
• พ.ศ. 2495 ส�ำเร็จชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดราษฏร์ สโมสร ต�ำบลถ�้ำ อ�ำเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา • พ.ศ. 2502 สอบได้นักธรรมชั้นเอก ส�ำนักเรียนวัดสามพระยา แขวงบางขุนพรหม เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร • การศึกษาพิเศษ สอบได้จุลอภิธรรมเอก พ.ศ. 2504 ส�ำนักเรียนวัดระฆังโฆสิตตาราม แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร
ประวัติการท�ำงาน
• พ.ศ. 2517 เป็นผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดสุวรรณคูหา • พ.ศ. 2519 เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดมาตุคุณาราม • พ.ศ. 2520 เป็นเจ้าอาวาสวัดมาตุคุณาราม • พ.ศ. 2522 เป็นเจ้าคณะต�ำบลกระโสม • พ.ศ. 2524 เป็นพระอุปัชฌาย์ • พ.ศ. 2530 เป็นผู้รักษาการแทน เจ้าคณะอ�ำเภอตะกั่วทุ่ง • พ.ศ. 2531 เป็นเจ้าคณะอ�ำเภอตะกั่วทุ่ง • พ.ศ. 2532 เป็นเจ้าอาวาสวัดสุวรรณคูหา
PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
6
.indd 119
119
6/9/2562 14:19:22
H I STORY OF BU DDHI S M
120 SBL SBLบับันนทึทึกกประเทศไทย ประเทศไทยI Iพัพังงา งงา
6
.indd 120
6/9/2562 14:19:24
Wat Suwan Kuha Phra Khru Rattanakhettaphirak
Taking a position of abbot at Wat Suwan Kuha and honorary district monk dean
Record of Wat Suwan Kuha Wat Suwan Kuha is located at Khao Tham’s area, its address is 36 village no.2, Krasom sub-district, Takua Thung district, Phang Nga province. It is located 4 Kilometers from district office. The day Wat Suwan Kuha was established and the person who built this temple were untraceable. There is only a hearsay stated that there were one monk and one novice who were on pilgrimage travelled from central region and stayed at Wat Bon (At present, it is an abandoned temple and the land was already occupied by some people). Wat Bon is located on another side of canal bank from Wat Suwan Kuha. Normally, most of monk on pilgrimage usually reside in some quiet cave. That’s why when they saw a small and isolate hill, they went to explore that hill and discovered lots of small and big brilliant caves which the foothills were surrounded by shady wooded valley and there was clean stream flowed through this area. In addition, it was the dwelling of various kinds of wild animal. Therefore, all of the aforementioned factors made them wanted to live in the cave instead of Wat Bon that they have stayed before. Therefore, they moved to this place permanently. After that, locals always went to the cave to make merit and give alms to them. As for the cave where they lived, it was readjusted into a temple. Then, one day when the monk passed away, he became the sacred object of this temple which locals called him “Phor Tan Chao Tham” (it means Esteemed father, Lord of the cave) without knowing his true name. As for the novice, he was stabbed to death by wild elephant and became sacred object of this temple together with Phor Tan Chao Tham which locals called him “Phor Tan Chao Nen” without knowing his true name either. The cave’s area has been developing since then and it is called “Wat Tham” now.
Order of abbot 1. Phor Tan Chao Tham (True name was unknown) B.E.2244 2. Phra Suwan Kuha Sangkapamok B.E.2400 3. Phra Upatcha Buai B.E.2412-2422 4. Phra Khru Samuaon B.E.2423-2430 5. Phra Athikarn Theuak B.E.2430-2443 6. Phra Athikarn Daeng B.E.2443-2449 7. Phra Samu Khlui B.E.2449-2458 8. Phra Athikarn Pheuak B.E.2460-2469 9. Phra Athikarn Pheng B.E.2469-2481 10. Phra Athikarn Prim B.E.2487-2492 11. Phra Samu Rung Inthawanno B.E.2493-2502 12. Phra Khru Winai Sannithet B.E.2502-2530 13. Phra Phisansathukit B.E.2531-2532 14. Phra Khru Rattanakhettaphirak B.E.2532-now Biography of Phra Khru Rattanakhettaphirak Phra Khru Rattanakhettaphirak, his monk’s title is Rattanaramo, age 79 years old, has been a monk for 58 years, dhamma scholar advanced level. At present, he takes a position of abbot at Wat Suwan Kuha and Takua Thung district monk dean. His former name and surname were Ram and Suwankarn respectively. He was born on 17th April B.E.2483. His parent names are Mr. Chiw and Mrs. Nui Suwankarn. His former house is located at Ban Ton Din, 5 village no.9 Tham district, Takua Thung district, Phang Nga province.
He became Buddhist novice on 3rd July B.E.2498 at Wat Matukunaram, Krasom sub-district, Takua Thung district, Phang Nga province. The preceptor was Phra Sriphiphat Thamwathi of Wat Prachum Yothi, Thai Chang sub-district, Mueang district, Phang Nga province. After that, he went into monkhood on 29th April B.E.2503 at Wat Suwan Kuha, Krasom sub-district, Takua Thung district, Phang Nga province. The preceptor was Phra Rachapatiphan of Wat Praphat Prajimkhet, Thai Chang sub-district, Mueang district, Phang Nga province. PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
6
.indd 121
121
6/9/2562 14:19:28
WO R K LI FE
อ�ำเภอคุระบุรี “ เมื อ งท่ อ งเที่ ย วเชิ ง นิ เ วศชั้ น น� ำ แหล่ ง อาหารคุ ณ ภาพ ทรั พ ยากรสมบู ร ณ์ สั ง คมเป็ น สุ ข ” วิสัยทัศน์การพัฒนาของอ�ำเภอคุระบุรี
นายวิ จ ารณ์ จุน ทวิจิต ร นายอ�ำเภอคุระบุรี
จุดชมวิวหินเรือใบ @สิมิลัน
ประวัติความเป็นมาของอ�ำเภอ อาจารย์จำ� ลอง โพธิท์ องคะนอง ได้บนั ทึกเชิงวิเคราะห์ ประวัติศาสตร์ของเมืองคุระ ไว้ว่า ในสงคราม 9 ทัพ พ.ศ. 2328 และสงครามพม่าใน พ.ศ. 2352 ได้ถกู ก�ำลังพล ส่วนหนึง่ ของพม่าเดินทัพแยกเข้าคลองนางย่อน เผาผลาญ บ้านเรือนกวาดต้อนผู้คน ริบทรัพย์สมบัติไป ทั้ ง หมด 2 ครั้ ง เมื อ งคุ ร ะสมั ย นั้ น ตั้ ง อยู ่ ระหว่ า งคลองบางโร กั บ คลองปลาขึ้ น บริเวณที่ชาวบ้านเรียกว่าปราบนก ปัจจุบัน เรียกชื่อใหม่ว่า “บ้านนางย่อน” ตามชื่อคลอง ชือ่ นางย่อนนัน้ น่าจะเพีย้ นมาจากค�ำว่า นางร่อน 122
ทั้งนี้เนื่องจากในสมัยก่อนชาวบ้านมีอาชีพหลักคือ การหาแร่ ร่อนแร่ และส่วนใหญ่กเ็ ป็นผูห้ ญิง จึงเรียกบริเวณนีว้ า่ นางร่อน แต่เนื่องจากที่นางร่อนมีคนจีนเข้าไปประกอบอาชีพอยู่มาก เช่น ท�ำเหมืองแร่ รับซื้อแร่ เป็นกุลีโรงถลุงแร่ และค้าขาย ชาวจีนเหล่านีอ้ อกเสียงค�ำว่านางร่อนไม่ชดั เพีย้ นเป็นนางย่อน อ�ำเภอคุระบุรี จึงมีชอื่ เรียกอีกชือ่ หนึง่ ว่า “นางย่อน” ค�ำขวัญของอ�ำเภอคุระบุรี
“ตาชั ย สิ มิ ลั น สวรรค์ เ กาะสุ ริ น ทร์ วิ ถี ถิ่ น มอแกน ดิ น แดนเกาะพระทอง ชื่ อ ก้ อ งพลั บ พลึ ง ธาร แตงโมหวานคุ ร ะบุ รี คนดี ศ รี พั ง งา”
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
.indd 122
6/9/2562 19:18:53
ทะเลแหวกหนวดมังกร ทะเลแหวก หรือแนวสันทรายปากแม่น�้ำ ทอดตั ว ยาวลงสู ่ ท ะเล จะปรากฏเมื่ อ ระดั บ น�้ำลดลง ซึ่งระดับน�้ำทะเลฝั่งอันดามันจะขึ้นลง วันละ 2 ครั้ง ทะเลแหวกหนวดมังกรคุระบุรี เป็นที่รู้จักของคนท้องถิ่นมานานแล้ว เรียกว่า “โหนหน้าเกาะทุง่ นางด�ำ” ต่อมามีซนิ แสชาวจีน มาดูพื้นที่เกาะทุ่งนางด�ำ หมู่ที่ 5 ต�ำบลคุระ ว่าอยู่ในต�ำแหน่งหัวมังกร จึงได้มาสร้างวิหาร เซียนไว้ ส�ำหรับแนวสันทรายหน้าเกาะทุง่ นางด�ำ มีลักษณะเหมือนหนวดมังกร จึงเรียกบริเวณนี้ ว่า “ทะเลแหวกหนวดมังกร” มีระยะทางยาว กว่า 3 กิโลเมตร พื้นทรายนุ่มละเอียด มีความ สวยงาม
คลองนางย่อน
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสิมิลัน อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสิมิลัน สิมิลันเป็น ภาษายาวี หรือ มลายู แปลว่า เก้า หมูเ่ กาะสิมลิ นั เป็นหมูเ่ กาะเล็กๆ ในทะเลอันดามัน มีจำ� นวน 9 เกาะ ครอบคลุมอาณาบริเวณ หมู่เกาะที่เรียงตัวกัน เป็นแนวเหนือใต้ คือ เกาะบอน เกาะบางู เกาะสิมลิ นั กองหินปูนหรือหินหัวกะโหลก เกาะปายู เกาะเมียง เกาะปาหยัน เกาะปายังและเกาะหูยง นอกจากนี้ หาดทรายบนเกาะต่างๆ ล้วนมีลกั ษณะขาวสะอาด บริสุทธิ์ สิมิลันยังได้ช่ือว่าเป็นจุดด�ำน�้ำลึกที่มี ปะการังน�ำ้ ลึกสวยงาม ติดอันดับ 1 ใน 10 ของโลก
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ ตั้งอยู่ใน ต�ำบลเกาะพระทอง อ�ำเภอคุระบุรี จังหวัดพังงา ได้รับการประกาศให้เป็นอุทยานแห่งชาติ เมื่อ วันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2524 นับเป็นอุทยาน แห่งชาติล�ำดับที่ 30 ของประเทศไทย มีเนื้อที่ 141.25 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยเกาะ ต่างๆ 5 เกาะ คือ เกาะสุรินทร์เหนือ เกาะ สุ ริ น ทร์ ใ ต้ เกาะรี (เกาะสต็ อ ค) เกาะกลาง (เกาะปาจุมบา) และเกาะไข่ (เกาะตอรินลา)
พลับพลึงธาร
หมู่บ้านชาวเลหรือมอแกน หมู่บ้านชาวเลหรือมอแกน ตั้งบ้านเรือนอยู่ ใกล้ ช ายหาดบริ เวณอ่ า วบอน เกาะสุ ริ น ทร์ เป็ น กลุ ่ ม ชาติ พั น ธุ ์ ที่ มี วิ ถี ก ารด� ำรงชี วิ ต แบบ ดั้ ง เดิ ม หาเลี้ ย งชี พ โดยการงมหอย แทงปลา เรือที่แสดงสัญลักษณ์ของชาวมอแกน คือ เรือ “กาบาง” เป็ น เรื อ ขุ ด ที่ เ สริ ม กาบเรื อ ด้ ว ย ไม้ ร ะก� ำ ใช้ ใ บเตยทะเลเย็ บ เข้ า ด้ ว ยกั น เป็ น ใบเรือและหลังคา
อุทยานแห่งชาติศรีพังงา อยู ่ ใ นเขตอ� ำ เภอคุ ร ะบุ รี และอ� ำ เภอ ตะกั่วป่า ครอบคลุมพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ป่า เทือกเขานมสาว มีเนื้อที่ 153,800 ไร่ เป็น อุทยานแห่งชาติที่มีป่าไม้สมบูรณ์เป็นประเภท ป่าดิบชื้น มีพันธุ์ไม้ที่ส�ำคัญ เช่น ไม้ยาง ไม้ ตะเคียนทอง ปาล์มสกุลต่าง ๆ กระ พ้อหนู และยังสามารถพบสัตว์ป่า และนกต่างๆ หลายชนิด ได้แก่ สมเสร็จ เลียงผา วัวแดง เก้ง เสือ นกเงือก นกเขียวคราม นกชนหิน ปลาพลวง เป็นต้น สถานที่ท่องเที่ยวภายในเขต อุทยานฯ ได้แก่ น�้ำตกต�ำหนัง น�้ำตกโตนต้นเตย น�้ำตกโตนต้นไทร PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 123
123
6/9/2562 19:19:02
WO R K LI FE
เทศบาลต�ำบลคุระบุรี “ เมื อ งน่ า อยู ่ ประชาชนเป็ น สุ ข ” วิสัยทัศน์การพัฒนาของเทศบาลต�ำบลคุระบุรี
นายสาโรจน์ จั น ทร์ แ ก้ ว นายกเทศมนตรีต�ำบลคุระบุรี
นายชาตรี สั ง ข์ ศิ ล ป์ ชั ย ปลัดเทศบาลต�ำบลคุระบุรี
124
.
หัวหน้าส�ำนักปลัด
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
อนุสรณ์สถานท้าวสุรนารี (ย่าโม) อ�ำเภอเมือง
.indd 124
นางสาวดรุ ณี บุ ญฮวด
เทศบาลต�ำบลคุระบุรี ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 999 ถนนเพชรเกษม ต�ำบลแม่นางขาว อ�ำเภอคุระบุรี จังหวัดพังงา เป็นชุมชนสองข้างทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 4 (สายเพชรเกษม) โดยประชาชน อพยพมาจากหลายจังหวัดรวมเป็นกลุ่ม เขต การปกครองและการบริหารเทศบาลต�ำบลคุระบุรี มีเนือ้ ที่ 6 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพืน้ ที่ 5 หมูบ่ า้ น (บางส่วน) ของ 2 ต�ำบล(บางส่วน) ดังนี้ 1. ต�ำบลคุระบุรี ครอบคลุมพื้นที่บางส่วน ของหมู่ที่ 1 และ หมู่ที่ 8 2. ต�ำบลแม่นางขาว ครอบคลุมพืน้ ทีบ่ างส่วน ของหมู่ที่ 2, 3, 4
6/9/2562 19:24:04
ประเพณีชักพระ เป็นประเพณีทอ้ งถิน่ ของชาวใต้ เป็นการท�ำบุญ ในวันออกพรรษา ตรงกับวันแรม 1 ค�ำ ่ เดือน 11 ซึ่ ง เชื่ อ กั น ว่ า เมื่ อ ครั้ ง ที่ พ ระพุ ท ธเจ้ า เสด็ จ ไป จ� ำ พรรษา ณ สวรรค์ ช้ั น ดาวดึ ง ส์ เ พื่ อ โปรด พระมารดาเมื่ อ ครบพรรษาจึ ง เสด็ จ มายั ง โลกมนุษย์ พุ ท ธศาสนิ ก ชนจึ ง มารอรั บ เสด็ จ แล้วอัญเชิญพระพุทธเจ้าขึ้นประทับบนบุษบก แล้วแห่ไปรอบเมือง
ระบบการจัดการขยะมูลฝอย เทศบาลต�ำบลคุระบุรี โครงการคัดแยกขยะและเก็บรวบรวม ขยะอินทรีย์หรือขยะเปียก(ถังข้าวหมู) โครงการจัดท�ำปุ๋ยหมัก น�้ำหมักชีวภาพ และแก๊สชีวภาพจากขยะอินทรีย์ โครงการลดและคัดแยกถุงพลาสติกแลกไข่ โครงการจัดท�ำถุงผ้าจากขยะรีไซเคิล โครงการเรียกคืน วัส ดุอะลูมิเนียมเพื่อ จัดท�ำขาเทียมพระราชทาน โครงการรับบริจาคกล่องเครือ่ งดืม่ กล่องนม เพื่อจัดท�ำหลังคาเขียว
ประเพณีท�ำบุญตักบาตรวันขึ้นปีใหม่ เป็ น ประเพณี ท ้ อ งถิ่ น ของอ� ำ เภอคุ ร ะบุ รี เป็นการท�ำบุญตักบาตรในวันขึ้นปีใหม่ วันที่ 1 มกราคม ของทุกปี โดยเทศบาลต�ำบลคุระบุรี จะจัดกิจกรรมท�ำบุญตักบาตรข้าวสารอาหารแห้ง ณ ถนนคู่ขนานด้านหน้าที่ว่าการอ�ำเภอคุระบุรี เพื่อให้ประชาชนได้ท�ำบุญต้อนรับปีใหม่เพื่อ ความเป็นสิริมงคลแก่ตัวเองและครอบครัว
คุ ร ะบุ รี
เมื อ งน่ า อยู ่ . .อย่ า งยั่ ง ยื น
.
.indd 125
PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
125
6/9/2562 19:24:11
WOR K L IFE
องค์การบริหารส่วนต�ำบลเกาะพระทอง “ พั ฒ นาเกาะพระทอง รองรั บ การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง นิ เ วศ เขตปลอดยาเสพติ ด วิ ถี ชี วิ ต ชาวเล รั ก ษาและหวงแหนธรรมชาติ ปราศจากมลพิ ษ เศรษฐกิ จ พอเพี ย งและยั่ ง ยื น ” วิสัยทัศน์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนต�ำบลเกาะพระทอง
แหล่งหากินของสัตว์ทะเลนานาชนิด รวมทั้งพะยูนและเต่าตะนุที่จะขึ้นมาวางไข่บนชายหาดเกือบ ทุกปี และเป็นแหล่งด�ำน�้ำชมความงามใต้ท้องทะเลที่สวยงามอีกแห่งหนึ่ง เครดิตภาพ อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์
นายอรรถพล มี เ พี ย ร นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลเกาะพระทอง และคณะข้าราชการพนักงาน
องค์การบริหารส่วนต�ำบลเกาะพระทอง ตั้ง
อยู่ที่ ต.เกาะพระทอง อ.คุระบุรี จ.พังงา เขต พืน้ ทีร่ บั ผิดชอบดูแลประกอบด้วยเกาะขนาดใหญ่ ที่ส�ำคัญ 5 เกาะ ได้แก่ เกาะพระทอง, เกาะระ, เกาะทุ่งทุ, หมู่เกาะสุรินทร์ และหมู่เกาะสิมิลัน เกาะพระทอง เป็นเกาะที่ใหญ่ท่ีสุดในพังงา และใหญ่เป็นอันดับ 5 ของเมืองไทย เป็นเกาะ ทีม่ ภี มู ปิ ระเทศแปลกตา มีลกั ษณะแบนราบไม่มี ภูเขา ด้านตะวันออกสมบูรณ์ดว้ ยแนวป่าโกงกาง ด้านตะวันตกเป็นหาดทราย บริเวณกลางเกาะ เป็ น ทุ ่ ง หญ้ า สี ท องกว้ า งไกลสุ ด ลู ก หู ลู ก ตา บรรยากาศคล้ า ยทุ ่ ง หญ้ า ซาฟารี ใ นแอฟริ ก า ท�ำให้เกาะพระทองได้รับคัดเลือกให้เป็นส่วน หนึ่งของแหล่งท่องเที่ยวในโครงการ Unseen Thailand ของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ด้วยสมญานาม “สะวันนาเมืองไทย” เกาะระ เป็นเกาะที่มีผืนป่าที่อุดมสมบูรณ์ ทอดตัวเป็นแนวยาว ทิศใต้เป็นแนวเขาสูงชัน ทิศตะวันออกเป็นแนวป่าชายเลน ทิศตะวันตก ติดทะเลอันดามัน มีแหล่งหญ้าทะเลกระจายตัว อยู่ทั่วไปทางทิศตะวันออก เป็นแหล่งหลบซ่อน 126
.
เครดิตภาพ อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์
หมู่เกาะสุรินทร์ ถือเป็นแหล่งด�ำน�้ำที่สวยงามระดับโลก ด้วยสภาพแวดล้อมที่เหมาะแก่การ พัฒนาของแนวปะการัง ความอุดมสมบูรณ์ของแพลงก์ตอน ซึ่งเป็นอาหารส�ำหรับปลาและสัตว์อื่นๆ และเป็นแหล่งก�ำเนิดของแนวปะการังน�้ำตื้นขนาดใหญ่และสมบูรณ์ที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศไทย รวมถึ ง เป็ น ที่ อ ยู ่ ข องกลุ ่ ม ชาติ พั น ธุ ์ เ ดิ ม ที่ อ าศั ย อยู ่ ต ามเกาะในบริ เวณภาคใต้ ข องไทยคื อ ชาว “มอแกน” นอกจากความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรใต้ทะเลแล้ว ยังมีเส้นทางศึกษาธรรมชาติ ที่จะน�ำท่านไปสัมผัสระบบนิเวศบนบกที่หลากหลายด้วยเช่นกัน
เครดิตภาพ อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสิมิลัน
เครดิตภาพ อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสิมิลัน
หมู่เกาะสิมิลัน หมู่เกาะกลางมหาสมุทรอินเดีย หนึ่งในสุดยอดทะเลไทยที่มีความสวยงาม ติดอันดับโลก “หมู่เกาะสิมิลัน” เปรียบได้กับสวรรค์ใต้ทะเลที่อุดมไปด้วย หาดทรายขาวละเอียด ใต้ทะเล ปะการังหลายชนิด ปลาหลากสีสันและหายาก เช่น กระเบนราหู ปลาวาฬ ปลาโลมา ปลาไหลมอนเร่ ปลาการ์ตูน ในขณะที่บนฝั่งนั้นก็รายล้อมไปด้วยหาดทรายเนียนละเอียด จนชาวโลก ยกย่องให้หมู่เกาะแห่งนี้มีความงดงามติดอันดับ 1 ใน 10 ของโลก โดยในช่วงเดือนพฤศจิกายนถึง เดือนเมษายน เป็นช่วงที่น่าท่องเที่ยวมากที่สุด ทั้งนี้ผู้บริหาร คณะท�ำงาน นายอรรถพล มีเพียรและสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนต�ำบล เกาะพระทองมีนโยบายด้านการพัฒนาส่งเสริมการท่องเที่ยว เพื่อรองรับและเตรียมความพร้อม ในการรับมือกับการท่องเที่ยวที่มีแนวโน้มเติบโตขึ้นรวมถึงการสร้างอาชีพ กระจายรายได้สู่ชุมชน ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีและยั่งยืน องค์การบริหารส่วนต�ำบลเกาะพระทอง 39 หมู่ 2 ต�ำบลเกาะพระทอง อ�ำเภอคุระบุรี จังหวัดพังงา 82150 081-7976566 www.kohprathong.go.th องค์การบริหารส่วนต�ำบลเกาะพระทอง
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
อนุ สรณ์ .indd 126สถานท้าวสุรนารี (ย่าโม) อ�ำเภอเมือง
10/9/2562 10:26:33
สถานที่ท่องเที่ยว จุดชมวิวอ่าวตาแดง หรือ ที่ชาวบ้านเรียกว่า “อ่าวตาฉุย” เพราะ เรี ย กชื่ อ ตามรี ส อร์ ท “ทั บ ตาฉุ ย ” ที่ ตั้ ง อยู ่ ห ลั ง แนวหาดนี้ เป็ น จุ ด ชมพระอาทิตย์ตกอันสวยงาม เมือ่ มองออกไปในทะเลจะเห็นเกาะปลิงใหญ่ ปลิงเล็ก ทอดตัวอยู่คู่กันนอกจากนี้ยังมีแนวโขดหิน “พ่ อ ตาหิ น กอง” โดยมี ก ารตั้ ง ศาลไว้ คู ่ กั บ ต้ น สนโดดเด่ น เป็ น สง่ า เป็ น จุ ด ชมวิ ว ที่ มี ทั้ ง ความงดงามและความศักดิ์สิทธิ์ ที่หาได้อยากในเมืองไทย เครดิตภาพ domsuanyai Photography
ทุ ่ ง หญ้ า สะวั น นา หรื อ ทุ ่ ง หญ้ า ซาฟารี ส่ ว นคนที่ เ กาะจะเรี ย กว่ า “หญ้าเสือหมอบ” ที่มีขนาดกว้างใหญ่สุดลูกหูลูกตา เป็นทุ่งหญ้าสีทอง อร่าม สลับกับต้นเสม็ดแคระขาวรูปร่างแปลกตา เป็นจุดท่องเที่ยวส�ำคัญที่ ท�ำให้เกาะพระทองเป็นที่พูดถึงในหมู่ของนักท่องเที่ยวช่วงทีแ่ นะน�ำคือช่วง เดือน พ.ย. – ก.พ. ของทุกปีเพราะทุ่งหญ้าจะกลายเป็นทุ่งหญ้าสีเหลืองทอง อีกทั้งยังมีเอื้องปากนกแก้ว กล้วยไม้พันธุ์หายากให้ชมด้วยเช่นกัน
เครดิตภาพ domsuanyai Photography
ป่าเสม็ดแคระ ประกอบด้วยต้นเสม็ดแคระ อายุหลายสิบปี รูปร่างแปลกตาจ�ำนวนมากขึ้นแซมในทุ่งหญ้าอันกว้างใหญ่ไกลสุดตา เป็นจุดดึงดูดนักท่องเที่ยวที่ต้องการถ่ายภาพแปลกและแตกต่าง ไม่ซ�้ำกัน เครดิตภาพ domsuanyai Photography
บัวบาหรือบัวจิ๋ว พืชลอยน�้ำอายุหลายปี ล�ำต้นเป็นไหลกลมยาว ใบเป็นใบเดี่ยว รูปไข่ กว้างหรือรูปกลม โคนใบรูปหัวใจ ขอบใบเรียบ ดอกสีขาวและมีสีเหลืองที่กลางดอก นิยมปลูก ในอ่างน�้ำ แต่ที่เกาะพระทอง สามารถพบเห็น ได้โดยธรรมชาติในแอ่งน�้ำทั่วไปซึ่งเกิดมาจาก การท�ำเหมืองแร่ของชาวบ้านในสมัยก่อน
ต้นหยาดน�ำ้ ค้าง พบได้ทวั่ ไปในทีโ่ ล่งบริเวณ ภูเขาหินทราย ทุง่ หญ้า หรือบริเวณล�ำธาร มีการ กระจายพันธุ์ทั่วไปในเขตร้อนของทวีปแอฟริกา เอเชีย และออสเตรเลีย ส�ำหรับในประเทศไทย สามารถพบเห็นได้ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น เขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ปา่ ภูหลวง อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง ในภาคใต้สามารถพบได้ทเี่ กาะพระทอง ที่นี่ที่เดียว
กวางม้ า หรื อ กวางป่ า มี อ ยู ่ จ� ำ นวนมาก บนเกาะพระทอง อาศัยอยู่ตามป่าพรุ บริเวณ ทีม่ คี วามชืน้ สูง ปัจจุบนั ชาวบ้านได้ตงั้ กลุม่ อนุรกั ษ์ ไม่ล่า ปล่อยให้มันอยู่ตามธรรมชาติ เพื่ออนุรักษ์ กวางม้ามิให้สูญพันธ์ สามารถพบเห็นกวางม้า ได้ ทั้ ง กลางวั น และกลางคื น แต่ จ ะพบบ่ อ ย ในเวลากลางคืน เพราะเป็นช่วงที่กวางมักจะ ออกมาหากิน PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 127
127
10/9/2562 10:26:39
WO R K LI FE
องค์การบริหารส่วนต�ำบลบางวัน “ มุ ่ ง พั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คม โดยยึ ด หลั ก ธรรมาภิ บ าล บริ ห ารแบบมี ส ่ ว นร่ ว ม สู ่ ต� ำ บลน่ า อยู ่ อ ย่ า งยั่ ง ยื น ” วิสัยทัศน์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนต�ำบลบางวัน
นายทรงวุ ฒิ อิ น ทรสวั ส ดิ์ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลบางวัน
เช้าตักบาตรที่สะพานบางครั่ง
มาต�ำบลบางวั น เที่ ย วได้ ทุก วั น 128
.
.indd 128
น�้ำตกต�ำหนัง
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
9/9/2562 13:25:46
มาต�ำบลบางวันเที่ยวได้ทุกวัน
ร้ า นอาหาร
กิ จ กรรมต�ำบลบางวัน 1. เช้าตักบาตรที่สะพานบางครั่ง 2. เที่ยวน�้ำตกต�ำหนัง 3. กิจกรรมร่อนแร่ 4. ร้านอาหารบางครั่งฟาร์มสเตย์ 5. ร้านบ้านในเหมือง 6. ร้านหัวท่าบางครั่ง 7. ร้านครัวนอกบ้าน (คุรอดฟาร์มสเตย์) 8. ไทรงามคอฟฟี่ 9. ร้านครัวร่มไม้ 10. พักโฮมสเตย์ 11. คุรอดฟาร์มสเตย์
โฮมสเตย์
โฮมสเตย์
PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
.
โฮมสเตย์
.indd 129
129
9/9/2562 13:25:50
WO R K LI FE
องค์การบริหารส่วนต�ำบลแม่นางขาว “ โครงการพื้ น ฐานดี ประชาชนมี คุ ณ ภาพ เศรษฐกิ จ ก้ า วหน้ า มุ ่ ง สู ่ ก ารพั ฒ นาแบบยั่ ง ยื น ” วิสัยทัศน์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนต�ำบลแม่นางขาว
นายทศพิ ธ กิ่งถาวร นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลแม่นางขาว
ประวัติความเป็นมา
นายธิ ว า ไทยแท้ ปลัดองค์การบริหารส่วนต�ำบลแม่นางขาว 130
.
ต�ำบลแม่นางขาว เป็นต�ำบลๆหนึ่งในอ�ำเภอ คุระบุรี จากทั้งหมด 4 ต�ำบล ได้แยกเขตการ ปกครอง ออกมาจากต�ำบลคุระ เมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2539 มีหมู่บ้านทั้งหมด 8 หมู่บ้าน ซึ่ ง มี ป ระวั ติ เรื่ อ งเล่ า ต่ อ ๆกั น มาว่ า มี ห ญิ ง สาว นางหนึ่งนามว่า “นางขาว” เป็นหญิงที่มีรูปงาม น่ารัก กิริยาอ่อนหวานสุภาพเรียบร้อย จนเป็น ทีก่ ล่าวขานกันทัว่ ทุกสารทิศ ท�ำให้เป็นทีห่ มายปอง ของชายทั่ ว ไป มี ช ายหนุ ่ ม ไปสู ่ ข อมากมาย
แต่ น างขาวไม่ ต กลงรั บ รั ก ชายใด กิ ต ติ ศั พ ท์ ความงามของนางขาวเรื่องลือไปถึงหูพ่อตารัศมี ท�ำให้เกิดหลงรักนางขาวทันที ทั้งที่ยังไม่เคย เห็น หน้า จึงประกาศจะแต่งงานกับนางขาว และให้ ผู ้ ใ หญ่ ไ ปสู ่ ข อ แต่ น างขาวก็ ป ฏิ เ สธ พ่อตารัศมีจึงตามเฝ้าขอความรักจากนางขาว มาตลอด จนท� ำ ให้ น างขาวต้ อ งแอบหนี ไ ป บ�ำเพ็ญพรตอยู่บนภูเขาจนสิ้นชีวิต ภูเขาแห่งนี้ จึ ง ได้ ชื่ อ ว่ า “เขาแม่ น างขาว”จนถึ ง ปั จ จุ บั น และใช้ชื่อนี้เป็นชื่อของต�ำบลแม่นางขาว
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
อนุสรณ์สถานท้าวสุรนารี (ย่าโม) อ�ำเภอเมือง
.indd 130
9/9/2562 12:01:13
กิจกรรมเด่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลแม่นางขาว ได้รับ รางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ทีม่ กี ารบริหาร จัดการที่ดี ประจ�ำปี 2550 โดยได้รับมอบจาก พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ นายกรัฐมนตรี
น�้ำตกนายทุย ตั้งอยู่หมู่ที่ 4 บ้านนายทุย ต�ำบลแม่นางขาว อ�ำเภอคุระบุรี จังหวัดพังงา น�้ำตกนายทุยมีต้น ก� ำ เนิ ด มาจากยอดเขาลั ก ษณะเป็ น สายน�้ ำ ที่ ไหลผ่านโขดหินน้อยใหญ่คล้ายกับแก่งในล�ำธาร เป็ น น�้ ำ ตกขนาดเล็ ก ที่ มี ค วามสวยงามตาม ธรรมชาติมาก มีนำ้� ไหลตลอดปี ในระหว่างเดินทาง ขึน้ น�ำ้ ตกจะเพลิดเพลินกับความสวยงามของล�ำธาร และสภาพป่าที่ร่มรื่นและเขียวขจีตามธรรมชาติ
หัวเขาแม่ยาย ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 6 ต�ำบลแม่นางขาว อ�ำเภอคุระบุรี จั ง หวั ด พั ง งา หั ว เขาแม่ ยายนั้ น เป็ น จุ ด ชมวิ ว ที่สามารถมองเห็นทัศนียภาพที่สวยงาม มอง เห็นสายน�้ำที่ใช้หล่อเลี้ยงชีวิตชาวคุระบุรี อีกทั้ง ยั ง มี ป ่ า ชายเลนขนาบสองฝั ่ ง น�้ ำ ที่ มี ค วาม อุดมสมบูรณ์ของระบบนิเวศเกือบร้อยเปอร์เซ็นต์
สถานที่ท่องเที่ยว โครงการหมู่บ้านชัยพัฒนา-กาชาดไทย ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 6 ต�ำบลแม่นางขาว อ�ำเภอคุระบุรี จั ง หวั ด พั ง งา สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุมารี องค์ประธานมูลนิธชิ ยั พัฒนา ทรงมีพระราชกระแสรับสั่งให้ ส�ำนักงานมูลนิธิ ชัยพัฒนา และสภากาชาดไทย ร่วมกับหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องด�ำเนินการจัดหาพื้นที่ที่เหมาะสม และจัดสร้างเป็นชุมชนตัวอย่าง มีการจัดสร้าง สาธารณูปโภคพืน้ ฐาน บ้านพักถาวร การส่งเสริม และพัฒนาอาชีพ การพัฒนาคุณภาพชีวิต และ การฟื้นฟูและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดล้อม เพือ่ ให้ราษฎรสามารถอยูอ่ าศัยและ ประกอบอาชีพได้อย่างยัง่ ยืน โดยราษฎรส่วนใหญ่ เป็นผูป้ ระสบภัยพิบตั สิ นึ ามิ เมือ่ วันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547 ทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากภัยพิบตั ดิ งั กล่าว
ทุ่งดอกรัก (หมู่บ้านทุ่งรัก) ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 6 ต�ำบลแม่นางขาว อ�ำเภอคุระบุรี จังหวัดพังงา เหตุทชี่ าวบ้านเรียกว่า “บ้านทุง่ รัก” เนื่องจากพื้นที่ในหมู่บ้านนั้นเต็มไปด้วยต้นไม้ ที่ มี ด อกคล้ า ยดอกรั ก จากนั้ น ชาวบ้ า นจึ ง เรี ย กขานกั น ว่ า “บ้ า นทุ ่ ง รั ก ” แต่ เ นื่ อ งจาก คนใต้ภาษาพูดห้วนๆสั้นๆ จากค�ำว่า บ้านทุ่ง ดอกรั ก จึ ง เหลื อ เพี ย ง บ้ า นทุ ่ ง รั ก ซึ่ ง เป็ น ชื่อเรียกหมู่บ้านจนถึงปัจจุบัน
พลับพลึงธาร ตัง้ อยูท่ คี่ ลองบางปง หมูท่ ี่ 3 ต�ำบลแม่นางขาว อ�ำเภอคุระบุรี จังหวัดพังงา ดอกพลับพลึงธาร (ราชิ นี แ ห่ ง สายน�้ ำ ) เป็ น พื ช ใต้ น�้ ำ ที่ พ บได้ ใ น ประเทศไทยเพียงแห่งเดียวบนโลกแถบจังหวัดพังงา และจังหวัดระนอง พลับพลึงธารสามารถใช้เป็น ดัชนีบ่งบอกคุณภาพน�้ำได้ เนื่องจากจะเติบโต ได้ดเี ฉพาะในแหล่งน�ำ้ สะอาดเท่านัน้ พลับพลึงธาร จะออกดอกบานสะพรัง่ ในช่วงกันยายน - ธันวาคม PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 131
131
9/9/2562 12:01:18
H I STORY OF BU DDHI S M
132 SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
(
)4
.indd 132
6/9/2562 16:55:41
History of buddhism
วัดสามัคคีธรรม พระภาวนาธรรมาภิราม วิ.
ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดสามัคคีธรรม เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองพังงา
วัดสามัคคีธรรม ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 297 หมู่ 2 ต�ำบลแม่นางขาว อ�ำเภอ คุระบุรี จังหวัดพังงา โทรศัพท์ / โทรสาร 076-491613 เนื้อที่ตั้งวัด 36 ไร่ 3 งาน 20 ตารางวา เป็นวัดราษฎร์ มีชื่อเรียกตามท้องถิ่นว่า “วัดป่าส้าน” เนือ่ งจากบริเวณทีต่ งั้ วัดอยูใ่ นปัจจุบนั เดิมเป็นป่าทึบมี ไม้ยืนต้นเนื้อแข็งชนิดหนึ่ง เรียกว่าต้นส้านอยู่เป็นจ�ำนวนมาก จากค�ำบอกเล่าได้ความว่า แต่เดิมบริเวณทีต่ งั้ วัดอยูใ่ นปัจจุบนั เป็นพืน้ ทีส่ าธารณะประโยชน์ทที่ างราชการจัดสรรส�ำหรับสร้างวัด ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2509-2513 ได้มพี ระภิกษุเดินทางสัญจรผ่านแวะพัก อยู่เสมอ แต่ในขณะนั้นยังไม่มีการด�ำเนินการสร้างวัดแต่อย่างใด มีเพียงกุฏทิ พี่ กั ชัว่ คราว ส�ำหรับพระภิกษุทเี่ ดินทางสัญจรผ่านทาง ได้แวะพักเท่านัน้ จัดสร้างเป็นส�ำนักสงฆ์ ปี พ.ศ. 2515 ได้รบั การ อนุญาตให้สร้างวัดเมือ่ วันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2519 ได้รบั ประกาศตัง้ วัดในพระพุทธศาสนา ให้นามชือ่ ว่า “วัดสามัคคีธรรม” เมือ่ วันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2520 ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า เมื่ อ วั น ที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2521
ปูชนียวัตถุ 1. พระพุทธกิตติญาณโสภิต พระพุทธรูปปางสมาธิ ประทับ นั่งบนฐานบัว พร้อมพระอัครสาวกนั่ง 2 องค์ เนื้อทองเหลือง ปิดทองค�ำแท้ ขนาดหน้าตัก 32 นิว้ ผ้าทิพย์ประดับตราสัญลักษณ์ พระราชพิธีมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2542 ประดิษฐาน ณ อุโบสถวัดสามัคคีธรรม (ป่าส้าน) 2. พระพุทธรูปปางประจ�ำพระชนมวาร ปางห้ามสมุทร ประทับยืน บนฐานบัว ยกพระหัตถ์ 2 ข้าง เสมอพระอุระ เนื้อทองเหลือง พ่นเคลือบสีทอง ขนาดความสูง 72 นิ้ว ฐานองค์พระประดับตรา สัญลักษณ์พระราชพิธีมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2542 ประดิษฐาน ณ หน้ามุขด้านทิศตะวันออก อุโบสถวัดสามัคคีธรรม (ป่าส้าน) 3. พระศรีทศพลญาณภูมิพลบพิตร พระพุทธรูปปางมารวิชัย ประทับนั่งบนฐานบัว พร้อมพระอัครสาวกยืน 2 องค์ เนื้อทอง เหลืองพ่นเคลือบสีทอง ขนาดหน้าตัก 49 นิ้ว ประดิษฐาน ณ ศาลาการเปรียญ ชั้นล่าง วัดสามัคคีธรรม (ป่าส้าน) 4. พระพุทธปฐมธรรมิกราชสีหนาทมงคล พระพุทธรูปปาง ปฐมเทศนา ประทับนั่งบนฐานบัว พร้อมพระสาวกปัญจวัคคีย์นั่ง 5 องค์ เนื้อทองเหลืองพ่นเคลือบสีทอง ขนาดหน้าตัก 49 นิ้ว ประดิษฐาน ณ ศาลาการเปรียญ ชัน้ บน วัดสามัคคีธรรม (ป่าส้าน)
บันทึก วัดสามัคคีธรรม
วัดสามัคคีธรรม ก�ำหนด “เป้าหมาย” และ “แนวทาง” การพั ฒ นาวั ด เพื่ อ ให้ วั ด สามารถอ�ำนวยประโยชน์ต่อชุมชนให้ได้ มากที่สุด โดยน�ำเอาจุดเด่นของวัด คือ การเป็นศูนย์กลางของชุมชน จัดกิจกรรม ต่ า งๆ เท่ า ที่ ท รั พ ยากรและศั ก ยภาพ ของวัดจะสามารถด�ำเนินการได้ โดยอาศัย การประสานงานขอความร่วมมือ จาก หน่วยงาน องค์กรต่างๆ และประชาชน เพื่อร่วมรับผิดชอบด�ำเนินการ
PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
(
)4
.indd 133
133
6/9/2562 16:55:51
134 SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
(
)4
.indd 134
6/9/2562 16:56:00
พระภาวนาธรรมาภิราม
ฉายา กิตฺติญาโณ อายุ 58 พรรษา 31 นามเดิม พงษ์สวัสดิ์ นามสกุล โกศลกาญจน์ ที่อยู่ วัดสามัคคีธรรม (ป่าส้าน) 297 ถนนเพชรเกษม หมู่ที่ 2 ต�ำบลแม่นางขาว อ�ำเภอคุระบุรี จังหวัด พังงา ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดสามัคคีธรรม เจ้าคณะ อ�ำเภอเมืองพังงา พระอุปัชฌาย์ ประธานคณะกรรมการฝ่ายการ ปกครองคณะสงฆ์จังหวัดพังงา และคณะกรรมการขับเคลื่อน โครงการสร้างความปรองดองสมานฉันท์โดยใช้หลักธรรมทาง พระพุทธศาสนา “หมูบ่ า้ นรักษาศีล 5” (ตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี) ประจ�ำหนใต้ การศึกษา มัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี ศึกษาต่อคณะ วิ ศ วกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ศึกษาต่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขา วิศวกรรมโยธา Angeles University Foundation;Philippines รั ฐ ศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าเทคนิ ค และทฤษฎี ท างรั ฐ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สถาบั น บั ณ ฑิ ต พั ฒ นบริ ห ารศาสตร์ (NIDA) พุ ท ธศาสตร มหาบั ณ ฑิ ต (กิต ติมศักดิ์) สาขาวิช าสังคมสงเคราะห์ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และนักธรรมชั้นเอก ผลงานที่ได้รับการยกย่องประกาศเกียรติคุณ • พ.ศ. 2535 ได้รับการคัดเลือกเป็น เจ้าอาวาสวัดพัฒนา ตัวอย่างที่มีผลงานดีเด่น • พ.ศ. 2536 ได้รับการคัดเลือกเป็น ผู้ท�ำคุณประโยชน์ต่อ พระพุทธศาสนา
• พ.ศ. 2538 ได้รับโล่รางวัล บุคคลเครือข่ายการศึกษานอก โรงเรียนดีเด่น • พ.ศ. 2540 ได้รับโล่รางวัล ศูนย์การเรียนดีระดับประเทศ กรมการศึกษานอกโรงเรียน กระทรวงศึกษาธิการ • พ.ศ. 2541 ได้รับโล่ประกาศเกียรติคุณ “คนดีศรีพังงา” จากจังหวัดพังงา • พ.ศ. 2543 ได้รับประกาศเกียรติคุณ ผู้มีผลงานด้านการ ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ส�ำนักนายกรัฐมนตรี • พ.ศ. 2545 ได้รับโล่ประกาศเกียรติคุณ การเสริมสร้าง ความเข้มแข็งให้กับองค์กรชุมชน • พ.ศ. 2545 ได้รบั การคัดเลือกให้เป็น หน่วยอบรมประชาชน ประจ�ำต�ำบลดีเด่น • พ.ศ. 2547 ได้ รั บ การคั ด เลื อ กเป็ น ผู ้ ด� ำ รงตนอยู ่ ใ น คุ ณ ธรรมจริ ย ธรรมและบ� ำ เพ็ ญ ประโยชน์ ต ่ อ สั ง คม โครงการ “เมืองไทยเมืองคนดี” • พ.ศ. 2548 ได้รบั การถวายปริญญา พุทธศาสตรมหาบัณฑิต กิตติมศักดิ์ • พ.ศ. 2553 ได้รบั การคัดเลือกให้เป็น หน่วยอบรมประชาชน ประจ�ำต�ำบลดีเด่น • พ.ศ. 2555 ได้รับการคัดเลือกเป็น ผู้ท�ำคุณประโยชน์ต่อ กระทรวงศึกษาธิการ • พ.ศ. 2556 ได้รับการคัดเลือกเป็น คนดีศรีคุระ • พ.ศ. 2558 ได้รับประกาศเกียรติคุณบัตร เป็นประธาน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานดีเด่น ประจ�ำปี 2558 • พ.ศ. 2562 ได้รับ “พระปฐมเจดีย์ทอง” รางวัลผู้อุปถัมภ์ และคุ้มครองพระพุทธศาสนา ด้านเผยแผ่พระพุทธศาสนา สมณศักดิ์ • พ.ศ. 2534 ได้รับแต่งตั้งเป็น พระใบฎีกา ฐานานุกรมใน พระครูวรดิตถ์คณาภิบาล เจ้าคณะอ�ำเภอกะปง วัดอินทภูมิ ต�ำบล ท่านา อ�ำเภอกะปง จังหวัดพังงา • พ.ศ. 2534 ได้รับแต่งตั้งเป็น พระปลัด ฐานานุกรมใน พระครูบญ ุ เขตคณาภรณ์ เจ้าคณะอ�ำเภอตะกัว่ ป่า วัดราษฎร์นริ มิต ต�ำบลบางม่วง อ�ำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา • พ.ศ. 2541 ได้ รั บ พระราชทานสมณศั ก ดิ์ เป็ น พระครู สัญญาบัตร เจ้าคณะต�ำบลชัน้ โท ราชทินนามที่ พระครูสวุ ตั ถิธรรมรัต • พ.ศ. 2542 ได้ รั บ พระราชทานปรั บ พั ด ยศ เป็ น พระครู สัญญาบัตร เจ้าคณะอ�ำเภอชั้นโท • พ.ศ. 2546 ได้รบั พระราชทานเลือ่ นสมณศักดิ์ เป็นพระครู สัญญาบัตร เจ้าคณะอ�ำเภอชั้นเอก • พ.ศ. 2548 ได้รบั พระราชทานเลือ่ นสมณศักดิ์ เป็นพระครู สัญญาบัตรเจ้าคณะอ�ำเภอชั้นพิเศษ • พ.ศ. 2559 ได้รับพระราชทานตั้งสมณศักดิ์ เป็นพระราชา คณะชั้นสามัญยก ฝ่ายวิปัสสนาธุระ ราชทินนาม ที่ พระภาวนา ธรรมาภิราม PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
(
)4
.indd 135
135
6/9/2562 16:56:03
H I STORY OF BU DDHI S M
History of buddhism
วัดบางครั่ง
อุโบสถทรงปั้นหยาสองชั้น พระมหานครินทร์ อนาลโย
ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบางครั่ง เจ้าคณะอ�ำเภอคุระบุรี
วัดบางครั่ง ตั้งอยู่เลขที่ 8/8 หมู่ 3 ต�ำบลบางวัน อ�ำเภอคุระบุรี จังหวัดพังงา เริ่มก่อสร้างเมื่อ พ.ศ. 2512 โดยมีหลวงตาค�ำฟอง ได้ ม าพ� ำ นั ก ชาวบ้ า นจึ ง ได้ บ ริ จ าคที่ ดิ น ติ ด ถนนเพชรเกษม เพือ่ สร้างเป็นวัดและช่วยกันพัฒนาอย่างต่อเนือ่ ง สมัยนัน้ ความเป็นอยู่ ของชาวบ้านและการเดินทางล�ำบาก บางปีมพ ี ระจ�ำพรรษามากบ้าง น้อยบ้างตามความศรัทธาของผูท้ จี่ ะบวช แต่การพัฒนาวัดก็ยงั เป็น ไปตามล�ำดับเรื่อยมา
กระทั่งเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 ตรงกับวันอังคาร ขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 8 ปีฉลู (วันอาสาฬหบูชา) พระมหานครินทร์ อนาลโย มาอยูจ่ ำ� พรรษา ชักชวนชาวบ้านพัฒนาเสนาสนะภายในวัด และด�ำเนินการขออนุญาตสร้างวัด และตัง้ ชือ่ ว่า “วัดบางครัง่ ” เมือ่ วันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2556 และได้ด�ำเนินการสร้างอุโบสถ ทรงปั้นหยาสองชั้นขึ้น โดยมีเจ้าภาพอุปถัมภ์คือ ดร.ชาตา บุญสูง เป็นประธานในการวางศิลาฤกษ์ เมือ่ วันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2557 ใช้เวลาในการก่อสร้าง 770 วัน งบประมาณในการก่อสร้างจ�ำนวน 22,455,200 บาท วัดบางครั่ง ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 และด�ำเนินการจัดงานฝังลูกนิมิต เมื่อ วันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2560 136 SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
4
.indd 136
6/9/2562 16:41:08
PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 137
137
6/9/2562 16:41:09
พระมหานครินทร์ อนาลโย
พระมหานครินทร์ อนาลโย เกิดเมือ่ วันอาทิตย์ที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2515 เดิมชื่อ นายนครินทร์ สุขราช เป็นบุตรของ นายชม และนางเฉียว สุขราช เป็นบุตรคนสุดท้องในจ�ำนวนพี่น้องทั้งหมด 6 คน เดิมอยู่บ้านเลขที่ 44 หมู่ 3 ต�ำบลบางวัน อ�ำเภอคุระบุรี จังหวัดพังงา จบการศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนบ้านคุรอด และ ไม่ได้ศกึ ษาต่อเพราะฐานะทีบ่ า้ นยากจน เมือ่ อายุ 19 ปี ได้บรรพชา ที่วัดบางมรา ต�ำบลตะกั่วป่า อ�ำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา เมื่อ วันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2534 โดยมีพระครูอดุลธรรมวิจิตร วัดโฆสิตาราม อ�ำเภอกะปง จังหวัดพังงา เป็นพระอุปัชฌาย์ และ สอบได้นักธรรมชั้นตรี ต่อมาอายุครบอุปสมบท ได้อุปสมบท เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535 ณ วัดบางมรา โดยมี พระครูอดุลธรรมวิจิตร เป็นพระอุปัชฌาย์ การท�ำงาน มีการอบรมจริยธรรมแก่นกั เรียนในสถานศึกษาทุกปี บรรยายธรรม การอุปสมบท และบวชศีลจาริณีเฉลิมพระเกียรติฯ มีการเทศนา ในวันส�ำคัญทางศาสนา ฯลฯ วิทยฐานะ • พ.ศ. 2536 สอบได้นกั ธรรมชัน้ เอก ส�ำนักศาสนศึกษา วัดเลียบ ส�ำนักเรียนคณะจังหวัดสงขลา • พ.ศ. 2547 สำ� เร็จการศึกษา ปริญญาตรี พธ.บ. มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช • พ.ศ. 2548 ไ ด้ ส อบ ป.ธ.7 ส� ำ นั ก เรี ย นวั ด เทพธิ ด าราม กรุงเทพมหานคร • พ.ศ. 2551 สำ� เร็จการศึกษา ปริญญาโท ศศ.ม. มหาวิทยาลัย รามค�ำแหง • ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดสามัคคีธรรม เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 • ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดบางครั่ง เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2556 • ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะอ�ำเภอคุระบุรี เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 วัดบางครั่ง ตั้งอยู่เลขที่ 8/8 หมู่ 3 ต�ำบลบางวัน อ�ำเภอคุระบุรี จังหวัดพังงา โทรศัพท์ : 096-160-1506 138 SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
4
.indd 138
6/9/2562 16:41:23
PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 139
139
6/9/2562 16:41:36
WO R K LI FE
องค์การบริหารส่วนต�ำบล
โคกเจริญ
“ เมื อ งช้ า งผ่ า น ธารน�้ ำ ใส ใบบั ว สวย ต้ น ซวยใหญ่ สายใยพ่ อ ท่ า นรั ก ษ์ ผู ้ ค นน่ า รั ก คื อ โคกเจริ ญ ” ค�ำขวัญขององค์การบริหารส่วนต�ำบลโคกเจริญ
นายไพโรจน์ ช่ ว ยชนะ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลโคกเจริญ
องค์การบริหารส่วนต�ำบลโคกเจริญ ตั้งอยู่ เลขที่ 20/9 หมูท่ ่ี 7 ต�ำบลโคกเจริญ อ�ำเภอทับปุด จังหวัดพังงา มีพนื้ ทีท่ งั้ หมด 57.98 ตารางกิโลเมตร โดยได้ท�ำการปกครองแยกออกเป็น 8 หมู่ ซึ่งมี ดังต่อไปนี้ คือ หมู่ที่1 บ้านหัวนอนวัด หมู่ที่ 2 บ้านทุง่ ต่อเรือ หมูท่ ี่ 3 บ้านตีนวัด หมูท่ ี่ 4 บ้านหูนบ หมู่ท่ี 5 บ้านลานเจริญ หมู่ท่ี 6 บ้านตลิ่งชัน หมู่ที่ 7 บ้านหัวสะพาน หมู่ที่ 8 บ้านสวนพลู จ�ำนวนประชากรในเขต อบต. 3,044 คน เดิ ม นั้ น ผู ้ ค นโบราณจะรู ้ จั ก “โคกเจริ ญ ” ในนามของ “ต�ำบลโคกสวย” โดยได้มกี ารจัดตัง้ ขึน้ 140
.
ขอเปลี่ยนชื่อจากต�ำบลโคกสวย มาเป็นต�ำบล โคกเจริญ มาจนถึงกระทั่งทุกวันนี้ “องค์การบริหารส่วนต�ำบลโคกเจริญ เป็น องค์กรทีม่ ผี ลคะแนนอับดับที่ 1 ของจังหวัดพังงา ในการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิน่ (Local Performance Assessment : LPA) ประจ�ำปี 2561 ซึ่งเกิดจากผลงานการ บริหารจัดการด้านประสิทธิภาพภายในองค์กร และการบริการ การบริหาร รวมถึงการพัฒนา ชุมชนในด้านต่างๆ ให้มคี วามก้าวหน้าอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ให้ประชาชนได้เข้าถึงสาธารณะพืน้ ฐานอย่าง เท่าเทียมกัน”
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
อนุสรณ์สถานท้าวสุรนารี (ย่าโม) อ�ำเภอเมือง
.indd 140
เป็ น ต� ำ บลตั้ ง แต่ เ มื่ อ ปี พ.ศ. 2440 ในขณะ เดียวกันยังได้มีการจัดตั้งที่ว่าการอ�ำเภอทับปุด ส� ำ หรั บ ที่ ม าของค� ำ ว่ า “โคกสวย” หรื อ “โคกซวย” เป็นชื่อเรียกต้นไม้ชนิดหนึ่ง ซึ่งเป็น ต้นไม้ประเภทยืนต้นเป็นไม้เนือ้ แข็งชาวบ้านเรียก “ไม้สวย” หรือ “ไม้ซวย” ที่ขึ้นอยู่บนเนิน หรือ ภาษาถิน่ เรียกว่า “โคก” ในเวลาต่อมามีการสร้างวัด เรียกว่า “โคกสวย” หรือ “โคกซวย” และเมื่อ พ.ศ. 2495 ทางต�ำบลเห็นว่าต�ำบลโคกสวยนั้น ภาษาถิน่ ออกเสียงเพีย้ นเป็น “ซวย” ซึง่ ภาษาจีน เป็นค�ำที่ไม่สิริมงคล แปลว่าไม่ดี จึงได้มีการ
9/9/2562 11:41:38
โครงการด้านการส่งเสริม พัฒนาอาชีพ
วิ่งมินิมาราธอน
ทักษะฟุตบอล
OTOP นวัตวิถีชุมชน ต�ำบลโคกเจริญ
กิจกรรมโครงการเด่นของหน่วยงาน
ผลิตภัณฑ์ชุมชน
นวัตวิถตี ำ� บลโคกเจริญ ตัง้ อยูใ่ นพืน้ ทีห่ มูท่ ี่ 3 บ้ า นตี น วั ด ต.โคกเจริ ญ อ.ทั บ ปุ ด จ.พั ง งา จั ด ตั้ ง ขึ้ น ตามโครงการของพั ฒ นาชุ ม ชน อ�ำเภอทับปุด และ อบต.โคกเจริญได้ให้การ สนับสนุนส่งเสริมเพือ่ ให้เป็นทีร่ จู้ กั แก่นกั ท่องเทีย่ ว ส่งเสริมด้านเศรษฐกิจของชุมชน ปรับปรุงตกแต่ง สถานที่รวมถึงจัดงานประเพณีส�ำคัญในพื้นที่ ดังกล่าวเช่น ประเพณีลอยกระทง
โครงการกีฬาต้านยาเสพติด เป็นโครงการ ส่งเสริมด้านกีฬาให้กับชุมชนทุกช่วงวัย ซึ่งมี กิจกรรมการอบรมทักษะฟุตบอลให้กับเยาวชน การแข่งขันเดินวิ่งมินิมาราธอนรอบบึงนบหลวง 6 กิโลเมตร การแข่งขันฟุตบอลโคกเจริญคัพ รุ่นเยาวชน ประชาชนทั่วไปและอาวุโส การ แข่งขันกีฬาพื้นบ้านผู้สูงอายุและอาสาสมัคร สาธารณสุข(อสม.ต�ำบลโคกเจริญ)
ขนมทองม้วนโบราณ กล้วยฉาบ “ฉาบจัง” ข้าวเกรียบปลา “กรอบมัน”
นางสาวนิ ต ยา สุ ด ชู ปลัดองค์การบริหารส่วนต�ำบลโคกเจริญ PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 141
141
9/9/2562 11:41:45
WO R K LI FE
ประเพณีสมโภชพ่อท่านรักษ์ อบต.โคกเจริญ ได้จัดท�ำโครงการประเพณี สมโภชพ่อท่านรักษ์ วัดโคกสวยมาอย่างต่อเนือ่ ง และจังหวัดพังงาได้ประกาศให้เป็นประเพณีทอ้ งถิน่ ของต�ำบลโคกเจริญ เพือ่ สืบสานประเพณีทดี่ งี าม ของชุ ม ชนต่ อ ไป โดยพิ ธี ส มโภชจะจั ด ขึ้ น ใน วันที่ 12 เมษายน ของทุกปี
วัดโคกสวย เดิ ม เรี ย ก “วั ด โคกซวย” ตั้ ง เป็ น วั ด เมื่ อ พ.ศ. 2420 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อ วันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2465 ต่อมาเปลี่ยนชื่อ เป็น “วัดโคกสวย” เนื่องจากชาวบ้านเข้าใจว่า ค� ำ ว่ า “ซวย” ไม่ ดี จึ ง ได้ เ ปลี่ ย นชื่ อ เพื่ อ ให้ มี ความหมายเป็ น สิ ริ ม งคล แท้ จ ริ ง แล้ ว ค� ำ ว่ า “ซวย” หมายถึง ไม้ตะเคียนซวย ได้รบั พระราชทาน 142
.
.indd 142
วิสุงคามสีมา ครั้งที่ 2 เจ้าอาวาสรูปแรกคือ พ่ อ ท่ า นรั ก ษ์ ซึ่ ง เป็ น ที่ นั บ ถื อ ของชาวพั ง งา ภูเก็ต กระบี่ สิ่งส�ำคัญในศาสนสถาน ได้แก่ อุโบสถหลังเก่าพระประธานในอุโบสถพร้อมด้วย พระอั ค รสาวก รู ป เหมื อ นพระครู สิ ริ วั ฒ นกิ จ (พ่อท่านรักษ์) และรูปหล่อพ่อท่านคล้าย ได้เข้าร่วม โครงการลานบุญ ลานปัญญา เมื่อปีพ.ศ. 2554 ปัจจุบันเจ้าอาวาสคือ พระครูกิตติธรรมธัช และ
เป็นเจ้าคณะต�ำบลทับปุด อ�ำเภอทับปุด จังหวัด พังงา วัดโคกสวย เป็นวัดหลักของชุมชนต�ำบล โคกเจริ ญ ชาวบ้ า นในพื้ น ที่ ต ่ า งช่ ว ยกั น ดู แ ล ส่งเสริมรักษาวัฒนธรรมประเพณีต่างๆ รวมถึง อบต.โคกเจริ ญ ที่ ใ ห้ ก ารสนั บ สนุ น ส่ ง เสริ ม กิจกรรมประเพณีวัฒนธรรมทางศาสนา เพื่อให้ ผู้คนชุมชนได้ร่วมสืบสานจากรุ่นสู่รุ่น
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
9/9/2562 11:41:50
วั ด ราษฎร์ อุ ป ถั ม ภ์ (วั ด บางเหรี ย ง)
แหล่งท่องเที่ยว
ต�ำบลโคกเจริญ ครั้งเมื่อกรมชลประทานได้โอน พืน้ ทีบ่ งึ นบหลวงให้ อบต.โคกเจริญ บริหารจัดการ และดู แ ลรั ก ษา จึ ง ได้ จั ด ท� ำ เส้ น ทางวิ่ ง และ ปั่นจักรยานรอบบริเวณบึงนบหลวงระยะทาง 3 กิโลเมตร บึงนบหลวงจึงกลายเป็นสวนสาธารณะ ต�ำบลโคกเจริญ มีผู้คนในอ�ำเภอทับปุดเข้ามา ท่องเทีย่ วพักผ่อน ออกก�ำลังกาย เป็นจ�ำนวนมาก และในปัจจุบัน บึงนบหลวง ได้ตั้งให้เป็น สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวโรกาส พระราชพิธีบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 10
สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ(ร.10) บึงนบหลวง บึงนบหลวง ตั้งอยู่ในพื้นที่หมู่ที่ 4 บ้านหูนบ ต.โคกเจริญ อ.ทับปุด จ.พังงา ในสมัยก่อนเป็น ล�ำห้วยธรรมชาติ จ�ำนวน 5 สายไหลมาบรรจบกัน ในขณะนั้นชาวบ้านยังไม่ได้ใช้ประโยชน์จากน�้ำ ในล�ำห้วย ต่อมาทางอ�ำเภอทับปุด ได้เกณฑ์ชาวบ้าน มาท�ำการกั้นน�้ำขึ้นเป็นเขื่อนดิน พร้อมทั้งสร้าง คลองส่งน�ำ ้ เพือ่ ส่งน�ำ้ ไปใช้ทำ� นารอบๆ บริเวณนัน้
ซึ่งที่นาส่วนใหญ่เป็นของข้าราชการบนอ�ำเภอ เกือบทั้งหมด ชาวบ้านจึงเรียกว่า เขื่อนท�ำนบ นั้นว่า “นบหลวง” มาจนปัจจุบัน ต่อมาพืน้ ทีโ่ ดยรอบนบหลวงไม่ได้ทำ� นาแล้ว ได้เปลีย่ นมาปลูกยางพาราและปาล์มน�ำ้ มันแทน ในปี พ.ศ. 2539 กรมชลประทานได้ อ นุ มั ติ งบประมาณในการบูรณะปรับปรุงรอบบริเวณ จนเป็นบึงทีม่ คี วามเป็นธรรมชาติ มีสตั ว์นำ�้ ชุกชุม และมีดอกบัวที่บานทั่วบึงตลอดทั้งปี จนกลาย เป็นสถานที่ท่องเที่ยวและพักผ่อนที่ส�ำคัญของ
PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 143
143
9/9/2562 11:41:54
WO R K LI FE
องค์การบริหารส่วนต�ำบลบางเหรียง “ โครงสร้ า งพื้ น ฐานครอบคลุ ม ชุ ม ชนเข้ ม แข็ ง แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วเลื่ อ งลื อ ยึ ด ถื อ วิ ถี เ ศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ” วิสัยทัศน์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนต�ำบลบางเหรียง
ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะภูมิประเทศของต�ำบลบางเหรียง พื้ น ที่ โ ดยทั่ ว ไปเป็ น เทื อ กเขายาวตลอดแนว ทั้งสองด้านของต�ำบล พื้นที่ราษฎรอาศัยเป็น ที่ราบเชิงเขา และมีความชื้นเหมาะสมส�ำหรับ การเกษตรและเป็ น แหล่ ง ต้ น น�้ ำ คลองมะรุ ่ ย พื้นที่ป่าไม้ที่ส�ำคัญ ได้แก่ เทือกเขาสูง ส่วนใหญ่ อยู่ในเขตป่าสงวน มีเนื้อที่ประมาณ 43,516 ไร่ เป็นแหล่งต้นน�้ำคลองมะรุ่ยที่ไหลผ่านต�ำบล ต่างๆ ในอ�ำเภอ อากาศอบอุ่นตลอดปี มี 2 ฤดู คือฤดูรอ้ น ระหว่างเดือน กุมภาพันธ์ - พฤษภาคม และฤดู ฝ น จะมี ฝ นตกชุ ก เดื อ น มิ ถุ น ายน พฤศจิกายน
ทรัพยากรธรรมชาติ
นายไพฑู ร ย์ กล�่ำ มาศ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลบางเหรียง
144
.
พื้ น ที่ ป ่ า ที่ ส� ำ คั ญ ได้ แ ก่ เทื อ กเขาสู ง ส่วนใหญ่อยู่ในเขตป่าสงวน มีเนื้อที่ประมาณ 43,516 ไร่ เป็ น แหล่ ง ต้ น น�้ ำ คลองมะรุ ่ ย ที่ ไหลผ่านต�ำบลต่างๆ ในอ�ำเภอ
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
อนุสรณ์สถานท้าวสุรนารี (ย่าโม) อ�ำเภอเมือง
.indd 144
9/9/2562 11:55:45
ประวัติความเป็นมา บางเหรียง เป็นชื่อต�ำบลที่ใช้เรียกขานกัน ตามลั ก ษณะธรรมชาติ จากค� ำ บอกเล่ า ของ ผู้อาวุโสว่า เดิมชาวบ้านเข้ามาอาศัยอยู่โดย ประกอบอาชีพท�ำไร่ ปลูกผัก ท�ำสวนหาของป่า ซึง่ ชาวบ้านพักอาศัยอยูบ่ ริเวณเชิงห้วย (ปัจจุบนั คือ คลองมะรุ่ย) ซึ่งชาวบ้าน เรียกว่า “บาง” หมายถึง สายน�ำ้ ขนาดเล็ก ก่อนจะไหลมารวมกัน ในล�ำคลอง และบริเวณนั้นมีต้นไม้ขนาดใหญ่
ความเป็นมางานกินเจต�ำบลบางเหรียง เนือ่ งจากช่วงวันขึน้ ปีใหม่ ประชาชนส่วนใหญ่ มีการจัดงานฉลองและมีอบายมุขมาเกี่ยวข้อง ประกอบกั บ มี ป ั ญ หาการเกิ ด อุ บั ติ เ หตุ บ น ท้องถนนเพิม่ ขัน้ เป็นจ�ำนวนมาก ในปี พ.ศ.2553 พระอาจารย์ชยั (ท่านเจ้าคุณพระวิสฐิ พัฒนาวิธาน) เจ้ า คณะอ� ำ เภอปลายพระยา เจ้ า อาวาส วัดมหาธาตุวชิรมงคล (วัดบางโทง) อดีตเจ้าอาวาส วัดราษฏร์อุปถัมภ์ ได้ร่วมกับประชาชน และ องค์การบริหารส่วนต�ำบลบางเหรียง ก�ำหนด ให้มีการจัดงานที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา โดยให้ มี กิ จ กรรมเกี่ ย วกั บ การปฏิ บั ติ ธ รรม เนือ่ งในโอกาสวันขึน้ ปีใหม่ ซึง่ ในช่วงระหว่างของ
เรียกว่า “ต้นเหรียง” หมายถึง ไม้ยนื ต้นขนาดใหญ่ ขึน้ ตามบริเวณริมบึง ล�ำคลอง หนองน�ำ้ มีลกั ษณะ ต้นสูงใหญ่ ใบคล้ายสะตอ เมล็ดอ่อน มีกลิ่นฉุน น�ำเมล็ดแก่มาเพาะเรียกว่า “ลูกเหรียง” จากท�ำเล ที่ตั้งของต�ำบลมีต้นเหรียงขึ้นมากมายโดยรอบ จึงได้ตงั้ ชือ่ หมูบ่ า้ นว่า “บางเหรียง” และได้ขยาย หมู่บ้านมีความเจริญขึ้น จึงยกฐานะเป็นต�ำบล ต่อมาก็ได้ยกฐานะมาเป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบล เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2539
ต�ำบลบางเหรียงเป็น 1 ใน 6 ต�ำบลของ อ�ำเภอทับปุด จังหวัดพังงา องค์ก ารบริหาร ส่วนต�ำบลบางเหรียง ตั้งอยู่ห่างจากที่ว่าการ อ�ำเภอทับปุดมาทางทิศเหนือของอ�ำเภอทับปุด มาประมาณ 11 กิ โ ลเมตร การเข้ า สู ่ พื้ น ที่ ทางรถยนต์ โดยใช้เส้นทางสาย ทับปุด - พนม มีเนือ้ ทีท่ งั้ หมดประมาณ 84,813 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 57,520 ไร่
การปฏิ บั ติ ธ รรมข้ า งต้ น ได้ มี ก ารส่ ง เสริ ม ให้ พุทธศาสนิกชน ถือศีล กินเจ พร้อมกันไปด้วย โดยก�ำหนดให้จดั ขึน้ ในระหว่าง วันที่ 1-9 มกราคม ของทุกปี และได้จดั ต่อเนือ่ งกันมาจนถึง ปัจจุบนั กลายเป็นประเพณีทมี่ ผี เู้ ลือ่ มใสและเข้าร่วมงาน เป็นจ�ำนวนมากสืบมาตัง้ แต่นนั้
PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 145
145
9/9/2562 11:55:51
แหล่งท่องเที่ยว วัดราษฎร์อุปถัมภ์ (วัดบางเหรียง) ตั้งอยู่บน ยอดเขาล้าน เป็นที่ตั้งของพระมหาธาตุเจดีย์ พุทธธรรมบันลือ ซึง่ ภายในบรรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุ ทางขึ้นไปยังพระธาตุบนยอดเขา เป็นทางชัน ขึ้นเขาตลอดระยะทาง1.3 กิโลเมตร ก่อนถึง พระธาตุ ท างด้ า นซ้ า ยมื อ เป็ น ที่ ป ระดิ ษ ฐาน พระร่วง 3 พี่น้อง เป็นพระพุทธรูปประทับยืน และในส่ ว นบนยอดเขาล้ า น ซึ่ ง มี ส ภาพป่ า อุดมสมบูรณ์ อากาศบริสุทธิ์ เป็นที่ประดิษฐาน พระมหาธาตุเจดีย์พุทธธรรมบันลือ สัณฐาน เป็นเจดียท์ รงระฆัง ศิลปะผสมระหว่างพระบรมธาตุ เมืองนครศรีธรรมราชทางใต้และพระบรมธาตุ ทางเหนื อ มี พ ระพุ ท ธรู ป ล้ อ มฐานโดยรอบ ภายในบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ และในวัดยัง มี เจ้ า แม่ ก วนอิ ม และพระพุ ท ธอั ฐิ ม งคลชั ย นาคปรก สร้ า งไว้ เ พื่ อ ปกป้ อ งภั ย ธรรมชาติ สามารถเดินลงไปไหว้ได้ วั ด นี้ จั ด เป็ น วั ด เก่ า แก่ ข องอ� ำ เภอทั บ ปุ ด ที่ ช าวบ้ า นนิ ย มเรี ย กกั น ว่ า “วั ด บางเหรี ย ง” โดยก่ อ ตั้ ง เมื่ อ ปี พ.ศ. 2453 คนเฒ่ า คนแก่ มักเล่ากันว่า เดิมวัดบางเหรียงนัน้ ตัง้ อยูท่ างด้าน ทิศตะวันออกของคลองมะรุ่ย บริเวณเชิงเขาอัน ทีป่ ระดิษฐานพระมหาธาตุเจดียพ์ ทุ ธธรรมบันลือ ในปั จ จุ บั น แต่ เ พราะการเดิ น ทางไม่ ส ะดวก ต้องลุยน�้ำข้ามคลอง ประกอบกับที่ตั้งเดิมถูกน�้ำ กัดเซาะ ยากแก่การบูรณะซ่อมแซม “พ่อท่านเกตุ” ซึง่ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะอ�ำเภอสมัยนัน้ พร้อมกับ ชาวบ้าน ได้ร่วมกันย้ายวัดมาตั้ง ณ สถานที่ใหม่ ซึ่งตั้งอยู่บนเนื้อที่ 6 ไร่เศษ และเป็นที่ตั้งวัด ในปัจจุบัน ต่อมาปี พ.ศ. 2529 พระอาจารย์ชัย (พระครูไพศาลพัฒนานุยุต ปัจจุบัน) ซึ่งเป็น เจ้าอาวาสวัดราษฎร์อุปถัมภ์ในสมัยนั้น ได้มี การพั ฒ นาวั ด บางเหรี ย งให้ มี ค วามเจริ ญ ขึ้ น ในทุกด้าน ยังมีผลให้พุทธศาสนิกชนทั้งในและ ต่างประเทศ เดินทางมาร่วมปฏิบัติศาสนกิจที่นี่ เป็นจ�ำนวนมาก ท�ำให้วัดแห่งนี้มีชื่อเสียงในด้าน การเป็นสถานที่ปฏิบัติธรรมของอ�ำเภอทับปุด
146
.
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
.indd 146
9/9/2562 11:55:58
พระมหาธาตุเจดีย์พุทธธรรมบันลือ วั ด ราษฎร์ อุ ป ถั ม ภ์ (วั ด บางเหรี ย ง)
PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 147
147
9/9/2562 11:56:00
H I STORY OF BU DDHI S M
148 SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
2
.indd 148
6/9/2562 15:59:31
History of buddhism
วัดโคกสวย สอนพระปริยัติธรรม
พระครูกิตติธรรมธัช ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดโคกสวย
วัดโคกสวย ตั้งอยู่เลขที่ 46 บ้านโคกเจริญ หมู่ที่ 3 ต�ำบลโคก เจริญ อ�ำเภอทับปุด จังหวัดพังงา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดิน ตั้งวัด 12 ไร่ 7 ตารางวา น.ส.3 เลขที่ 710 มีที่ธรณีสงฆ์ 2 แปลง เนื้อที่ 9 ไร่ 43 ตารางวา น.ส.3 เลขที่ 708,710 พื้นที่ตั้งวัดเป็น ที่ราบสูง สภาพแวดล้อมร่มรื่น เนื่องจากมีป่าไม้ ล�ำคลอง ให้ความ ร่มเย็นโดยรอบบริเวณวัด วัดโคกสวย สร้างขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ.2420 โดยพ่อท่านรักษ์ ซึง่ เป็น พระธุดงค์จากจังหวัดพัทลุง มาพ�ำนักอยูท่ ใี่ ต้ตน้ ตะเคียนซวยและ ท�ำเป็นทีพ่ กั สงฆ์ ต่อมานายเถือ่ น นางทรัพย์ ณ ตะกัว่ ทุง่ เป็นผูน้ ำ� ชาวบ้านร่วมกันสร้างเป็นวัดขึ้นและตั้งชื่อว่า “วัดโคกซวย” ต่อมา เปลีย่ นชือ่ ใหม่เป็น “วัดโคกสวย” เพือ่ ให้มคี วามหมายทีไ่ พเราะยิง่ ขึน้ วัดโคกสวยได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อ วันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2465 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 10 เมตร ยาว 18 เมตร ผูก พัทธสีมาเมื่อ วันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2468 การศึกษา ทางวัดเปิดสอนพระปริยัติธรรมตั้งแต่พ.ศ. 2475 เป็นต้นมา นักธรรมแต่ละปีมกี ว่า 10 รูปขึน้ ไป นอกจากนีย้ งั ได้ให้ ทางราชการสร้างโรงเรียนประถมศึกษาขึ้นในที่วัดอีกด้วย อาคารเสนาสนะ 1. อุโบสถ 2. ศาลาการเปรียญ 3. หอฉัน 4. กุฏิสงฆ์ ปูชนียวัตถุ 1. พระประธานในอุโบสถ พร้อมด้วยพระอัครสาวก สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2455 2. รูปเหมือนพระครูสิริวัฒนกิจ (พ่อท่านรักษ์) อดีตเจ้าอาวาส รายนามเจ้าอาวาส 1. พ่อท่านรักษ์ พ.ศ.2420-2427 2. พระครูกัลยาณวิจารณ์ (ท่านเกตุ) พ.ศ. 2447-2469 3. พระครูสิริวัฒนกิจ (พ่อท่านรักษ์) พ.ศ. 2469-2498 4. พระครูพทิ กั ษ์ธรรมวงค์ (พระมหาอนันต์) พ.ศ. 2500-2524 5. พระปลัดแข้ง ธมฺมโชโต พ.ศ. 2524-2549 6. พระครูกิตติธรรมธัช พ.ศ. 2549-ปัจจุบัน PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 149
149
6/9/2562 15:59:38
History of buddhism
วัดอุทัยราษฎรบ�ำรุง ลอยกระทงรอบอุโบสถ หนึ่งเดียวในภาคใต้ พระครูสมุห์ถาวร ปัญญาวชิโร
ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดอุทัยราษฎรบ�ำรุง
วัดอุทัยราษฎรบ�ำรุง (วัดโคกเลือด) ตั้งอยู่ที่หมู่ 7 ต�ำบลมะรุ่ย อ�ำเภอทับปุด จังหวัดพังงา วัดอุทัยราษฎรบ�ำรุง อยู่ห่างจากตัว จังหวัดพังงา ระยะ 17 กิโลเมตร และอยู่ห่างตัวอ�ำเภอทับปุด ระยะ 5 กิโลเมตร การคมนาคมสะดวกเป็นถนนลาดยางตลอดสาย เดิมเป็น “ส�ำนักสงฆ์บ้านโคกเลือด” สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2505 โดยชาวบ้าน ร่วมกันสร้างขึ้นเนื่องจากบ้านโคกเลือดอยู่ห่างไกลจากวัดอื่นเป็น ระยะไกลพอสมควร
วัดอุทัยราษฎรบ�ำรุง ก�ำลังด�ำเนินการสร้างอาคารปฏิบัติธรรม และสร้างพระประธานหน้าตัก กว้าง 6 เมตร สูง 9 เมตร ผู้มีจิตศรัทธาสามารถร่วมบริจาคทรัพย์ได้ที่ วัดอุทัยราษฎรบ�ำรุง (วัดโคกเลือด)
ต่อมาปี พ.ศ.2511 สมัยนายอ�ำเภอทับปุด นายอุทยั อินทรสกุล ได้ช่วยเหลือปรับปรุงส�ำนักสงฆ์ชาวบ้านจึงขอเปลี่ยนชื่อใหม่ว่า “ส�ำนักสงฆ์อุทัยราษฎรบ�ำรุง” โดยมีนายมานิต ผลทวี นายรุ่ม นายลอย จิตรชุ่ม เป็นผู้บริจาคที่ดินจ�ำนวน 6 ไร่ ต่อมา นายไสว นางขนิษฐา นิระโส นายทวีสนิ ผลทวี ได้บริจาคทีด่ นิ เพิม่ เติมให้กบั วัด โดยได้ประกาศตั้งเป็น “วัดอุทัยราษฎรบ�ำรุง” เมื่อปี พ.ศ. 2544 ปัจจุบันพระครูสมุห์ถาวร ปัญญาวชิโร เป็นเจ้าอาวาสวัดอุทัย ราษฎรบ�ำรุง ได้ท�ำการบูรณะวัดอุทัยราษฎรบ�ำรุง ร่วมกับคณะ กรรมการวัดตลอดจนพุทธศาสนิกชนบ้านโคกเลือดและบริเวณ ใกล้เคียง พัฒนาสร้างเสนาสนะภายในวัดและจัดระเบียบการ ปกครองอย่างรัดกุม ปัจจุบันมีพระภิกษุมาจ�ำพรรษาที่วัด 6 รูป สามเณร 1 รูป เด็กวัด 1 คน
150 SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
(
)2
.indd 150
6/9/2562 15:32:53
อาคารเสนาสนะ • อุโบสถ จ�ำนวน 1 หลัง • ศาลาการเปรียญ จ�ำนวน 1 หลัง • โรงครัว จ�ำนวน 1 หลัง • กุฏิ จ�ำนวน 12 หลัง • เจดีย์ จ�ำนวน 1 องค์ • ห้องน�ำ้ จ�ำนวน 16 ห้อง งานประจ�ำปี • ลอยกระทงรอบอุโบสถหนึ่งเดียวในภาคใต้ • นาวาพาโชค • ร�ำวงเวียนครก • สักการะองค์ พระประธาน ขอพรสิ่งศักดิ์สิทธ์เพื่อเป็นสิริมงคล ให้กับชีวิต • สักการะองค์หลวงพ่อขาว ขอพรได้ดั่งใจสมปรารถนา • และมีมหรสพ อื่นๆอีกมากมายฯ ตรงกับวันลอยกระทงของ ทุกปี 3 วัน 3 คืน บันทึก ร่วมสร้างเส้นทางบุญ ขณะนีว้ ดั อุทยั ราษฎรบ�ำรุง ก�ำลังด�ำเนินการสร้างอาคารปฏิบตั ิ ธรรมและสร้างพระประธานหน้าตัก กว้าง 6 เมตร สูง 9 เมตร ผู้มีจิตศรัทธาสามารถร่วมบริจาคทรัพย์ได้ที่ วัดอุทัยราษฎรบ�ำรุง (วัดโคกเลือด) หรือเลขทีบ่ ญ ั ชี 0-2023-0298-65-3 ธนาคารออมสิน สาขาทับปุด 0-9940-02155-06-6 พร้อมเพย์ PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
(
)2
.indd 151
151
6/9/2562 15:33:04
Let’s Go Thailand With SBL บันทึกประเทศไทย
HISTORY OF THE PROVINCE
TOURIST ATTRACTIONS SBL บันทึกประเทศไทย
Let's go thailand.indd 152
www.sbl.co.th SBL MAGAZINE
THE VILLAGERS IN THE PROVINCE SBL บันทึกประเทศไทย
. - 10/09/2562 10:52:25 AM
History of buddhism
วัดพิทักษ์ธรรมาราม พระอธิการอรรถสิทธิ์ ภูริปญฺโญ
ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดพิทักษ์ธรรมาราม
วัดพิทักษ์ธรรมาราม ชาวบ้านเรียกว่า “วัดโคกงิ้ว” เพราะ เดิมเป็นฌาปนสถานที่ชาวบ้านเรียกว่าโคกงิ้ว เริ่มสร้างวัดและ มีพระสงฆ์ อยู่จำ� พรรษา เมื่อ พ.ศ. 2503 ผู้ด�ำเนินการสร้างวัด คือ นายล�ำดับ ชูวงศ์ ผู้ริเริ่มและสนับสนุน คือ พระครูพิทักษ์ธรรมวงศ์ (พระมหาอนันต์ ปทุโม) เจ้าคณะอ�ำเภอทับปุด บันทึก วัดพิทักษ์ธรรมาราม ได้รับอนุญาตให้สร้างวัด เมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2514 กระทรวงศึกษาธิการประกาศตั้งเป็นวัด เมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2515 โดยมีนามวัดสอดคล้องกับราชทินนามของผูร้ เิ ริม่ สร้างวัด ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2517 เจ้ า อาวาสรู ป แรก พระครู พิ ทั ก ษ์ ธ รรมวงศ์ (อนั น ต์ ปทุ โ ม) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะอ�ำเภอทับปุด เจ้าอาวาสรูปปัจจุบนั พระอธิการ อรรถสิทธิ์ ภูริปญฺโญ PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
1
.indd 153
153
6/9/2562 15:03:04
WO R K LI FE
เทศบาลเมืองตะกั่วป่า “ ตะกั่ ว ป่ า น่ า อยู ่ เมื อ งมนต์ เ สน่ ห ์ แ ห่ ง วั ฒ นธรรม สั ง คมเป็ น สุ ข ” วิสัยทัศน์การพัฒนาของเทศบาลเมืองตะกั่วป่า
นายชั ย ณรงค์ มหาแร่ นายกเทศมนตรีเมืองตะกั่วป่า
ประวัติความเป็นมา จากข้อมูลทางประวัติศาสตร์พบว่าเดิมเมืองตะกั่วป่า เป็นเมืองเก่าและเป็นศูนย์กลาง การค้าแร่ขนาดใหญ่ ซึง่ มีความเจริญรุง่ เรืองมาก ในสมัยโบราณได้กล่าวถึงเมืองท่าที่ส�ำคัญ ทางตะวันออก “สุวรรณภูมิ” อยู่บริเวณแหลมมลายูหรือแหลมทองทางตะวันตกตั้งแต่ ตะโกลา (Takola) มีเมืองท่าตะโกลา (Takola) วรรณคดีอินเดียโบราณเรียกว่า “สุวรรณ ทวีป” เมืองท่าส�ำคัญที่นักโบราณคดีกล่าวไว้ได้แก่ “เมืองตะกั่วป่า” (Takuapa) เมืองตะกั่วป่า หรือ เมืองตะโกลา ในสมัยโบราณเป็นเมืองที่ส�ำคัญของฝั่งทะเล ตะวันตกภาคใต้มีความเจริญรุ่งเรืองมาพร้อมๆกับเมืองนครศรีธรรมราชและเมืองไทรบุรี ชาวพื้นเมืองเดิมเป็นชาวป่า เรียกว่า “ซาไก” ต่อมาชาวมลายูได้อพยพเข้ามาตั้งหลักแหล่ง ในดินแดนแถบนี้ประมาณ พ.ศ. 200-300 พระเจ้าอโศกมหาราชจักรพรรดิแห่งประเทศอินเดีย ได้ยกกองทัพมาปราบแคว้นกลิงคราษฎร์ ในดินแดนตะวันออกเฉียงใต้ ชาวกลิงคราษฎร์ บางกลุ่มได้อพยพมาขึ้นที่เมืองตะกั่วป่า และเมืองใกล้เคียง โดยได้นำ� ความรูต้ า่ งๆ มาเผย แพร่ในดินแดนแถบนีด้ ว้ ยเมืองตะกัว่ ป่าเป็นทีร่ จู้ กั ของชาวตะวันตกเป็นอย่างดี โดยเฉพาะ ชาวอินเดีย ที่เข้ามาก่อนชนชาติอนื่ ๆ ดังปรากฏหลักฐานในหนังสือมิลนิ ทปัญหาที่ได้เขียน ไว้เมื่อประมาณ พ.ศ. 500 ว่าชาวอินเดียเรียกเมืองตะกั่วป่าว่า “เมืองตกุโกล” หรือ “ตกโกล” แปลว่า “กระวาน” เนื่องจากเป็นดินแดนที่อุดมสมบูรณ์ด้วยเครื่องเทศ นอกจากนี้ ยังมีชาวจีนได้น�ำเครื่องกระเบื้องเข้ามาค้าขาย และชนชาติต่างๆ ก็เริ่มเข้ามา ติดต่อค้าขายกันมากขึ้น เมืองตะกั่วป่า เดิมขึ้นอยู่ในปกครองของเมืองนครศรีธรรมราช เมืองเอกราชของ ประเทศศรีวิชัย แต่เมื่อ พ.ศ. 1832 ชนชาติไทยได้อพยพมาตั้งถิ่นฐานในแคว้นสุวรรณภูมิ เมื่อมีอ�ำนาจมากขึ้นจึงตีเมืองนครศรีธรรมราชและเมืองตะกั่วป่า ต่อมา พ.ศ. 2437 ได้ แบ่งการปกครองหัวเมืองต่างๆ ออกเป็นมณฑลและจังหวัด เมืองตะกั่วป่าจึงมีฐานะเป็น จังหวัดขึ้นกับมณฑลภูเก็ต ในสมัยรัชกาลที่ 7 เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต�่ำ เมืองตะกั่วป่าจึง ถูกลดล�ำดับความส�ำคัญจากจังหวัดลงมาเป็นอ�ำเภอตะกั่วป่า ขึ้นกับจังหวัดพังงา
154
.
พระราชกรณียกิจ ของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ รัชกาลที่ 9 ทางอ�ำเภอตะกั่วป่าได้เตรียมการต้อนรับ พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าพระบรม ราชินีนาถ รัชกาลที่ 9 ซึ่งเสด็จเยี่ยมราษฎรภาคใต้เมื่อ วันที่ 8 มีนาคม 2502 ซึ่งตรงกับวันที่เทศบาลจะท�ำ พิธีเปิดอาคารเทศบาลใหม่ แต่ทางอ�ำเภอตะกั่วป่าได้ใช้ ส�ำนักงานเทศบาลเมืองตะกั่วป่าเป็นสถานที่รับเสด็จ และ ประทับเสวยพระกระยาหารกลางวัน ซึ่งถือเป็นศุภนิมิต มงคลอันยิ่งใหญ่ ทางเทศบาลจึงต้องเลื่อนวันก�ำหนด ท�ำพิธีเปิดอาคารโดยย้ายจากอาคารชั่วคราวมาด�ำเนิน กิจการในสถานที่แห่งใหม่นี้ เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2502
ข้อมูลทั่วไป เทศบาลเมืองตะกั่วป่า จัดตั้งตามพระราชกฤษฎีกา จัดตั้งเทศบาลเมืองตะกั่วป่า จังหวัดพังงา พุทธศักราช 2480 โดยที่เห็นสมควรให้ยกฐานะบางส่วนของต�ำบล ตลาดเหนือ ต�ำบลตลาดใต้ และต�ำบลย่านยาว อ�ำเภอ ตะกั่วป่า จังหวัดพังงา ขึ้นเป็นเทศบาลเมืองมีนามว่า เทศบาลเมื อ งตะกั่ ว ป่ า จั ง หวั ด พั ง งา ตั้ ง แต่ วั น ที่ 11 มีนาคม พุทธศักราช 2480 เทศบาลเมืองตะกั่วป่า มีดวงตราสัญลักษณ์เป็นรูป “พระนารายณ์” ส�ำนักงานเทศบาลเมืองตะกั่วป่า ตั้งอยู่ที่ 333 ถนน ราษฎร์ บ� ำ รุ ง ต� ำ บลตะกั่ ว ป่ า จั ง หวั ด พั ง งา มี เ นื้ อ ที่ ประมาณ 8 ไร่ ห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอตะกั่วป่า ประมาณ 350 เมตร อาณาเขต เทศบาลเมืองตะกั่วป่า มีพื้นที่ทั้งหมด ประมาณ 3.019 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 1,887 ไร่
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
.indd 154
10/9/2562 10:20:30
HISTORY OF TAKUA PA
According to historical information, it stated that Takua Pa was an old city and the grand center of mineral trading which is extremely prosperous. Refer to an ancient record, there was an important port in the east “Suvarnabhum” (an ancient kingdom in south-east Asia) which was situated in the west of Malay Peninsula or known as Golden Peninsula. The name of this port was Takola. In ancient Indian literature, the area where this port is located were called “Suwan Thawip” (Another name of Malay Peninsula) and the significant port that was mentioned by archeologist was “Takua Pa” Takua Pa or Takola was an important city of the west sea of Southern region in ancient time. Its prosperity was on a par with Nakhon Si Thammarat and Saiburi at that time. Formerly, native of this city were foresters called “Sagai”. After that, people of Melayu migrated to this area to settle down around B.E.200-300 which is the time when Ashoka the great, emperor of India at that time, marched an army to subdue the state of Kalinga that is located in southeastern land. Them, some group of Kalinga’s people evacuated to Takua Pa and nearby cities which they brought
various kinds of knowledge along their evacuation and propagated it on this land. Due to the fact that Takua Pa was well known by many westerners at that time especially Indian, the first nation that came to this land before other nation as mentioned in Milinda Panha (Buddhist text) which dates from approximately B.E.500 that Indian called Takua Pa as “Takukol” or “Tokkol” which means “Cardamom” because it was a land with abundant spices. Moreover, there were some Chinese who brought chinaware to do business in this city. Then, more and more nations started their trading with this city accordingly.
Takua Pa was under the administration of Nakhon Si Thammarat, an independent city of Srivijaya state. However, in B.E.1832, Thais had immigrated to settle down at Suvarnbhum, then, when they became more powerful and dominant, they started attacking Nakhon Si Thammarat and Takua Pa. After that, in B.E.2437, the administration was divided from counties to precincts and provinces. Therefore, Takua Pa’s status was changed from city to province which under Phuket precinct. During King Rama VII, economy was declined, then, order of magnitude of Takua Pa also went down from province to district which under Phang Nga province. PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 155
155
10/9/2562 10:20:42
ท่องตะกั่วป่า ตะกัว่ ป่า เคยเป็นเมืองทีม่ คี วามเจริญรุง่ เรือง มาตั้งแต่สมัยโบราณ เป็นที่รู้จักของชนหลาย เชือ้ ชาติ ทัง้ จีน อินเดีย อาหรับ ในชือ่ เมืองตะโกลา (Takola) เป็นศูนย์กลาง การค้าขาย และเป็น เส้นทางลัดขนส่งสินค้า ข้ามคาบสมุทรมลายูจาก ฝัง่ ทะเลอันดามันไปยังอ่าวไทย ในสมัยรัตนโกสินทร์ ตะกั่วป่ายังคงมีความส�ำคัญทางด้านเศรษฐกิจ สามารถผลิตแร่ดีบุกได้มากที่สุดและท�ำรายได้ เป็นอันดับหนึ่งของประเทศไทย จนถึงวันนี้ แม้ยุคเหมืองแร่จะจางหายแต่ ความงดงามของตะกั่วป่า มิเคยลดลงยังคงไว้ ซึ่งเสน่ห์แห่งอารยะที่รุ่งเรือง ร�่ำรวยในอดีต ขอเชิญทุกท่านมาสัมผัสมนต์เสน่หแ์ ห่งอารยะ ที่งดงามแห่งหนึ่งของภาคใต้ที่พรั่งพร้อมด้วย บรรยากาศแห่งความสุขโดยสามารถสัมผัสอากาศ แสนบริสุทธิ์สีเขียวชอุ่มของแมกไม้และภูเขา บ้ า นเมื อ งเงี ย บสงบและร่ อ งรอยแห่ ง อารยะ ที่ เ คยรุ ่ ง เรื อ งที่ สุ ด ในประเทศซึ่ ง ครั้ ง หนึ่ ง ยุ ค ที่เหมืองแร่ยังเป็นลมหายใจของตะกั่วป่า ตะกั่ ว ป่ า ถิ่ น มนต์ ข ลั ง ที่ ยั ง คงแอบแฝง มนต์เสน่ห์แห่งความรัก ความประทับใจอย่าง ไม่เสื่อมคลาย พวกเราชาวตะกั่วป่าขอต้อนรับทุกท่านด้วย มิตรไมตรี
Everlasting Charms and Memories In the past, Takuapa was an important economic center on a trade route from the Andaman Sea across the Malay Peninsula to the Gulf of Thailand. It was known in many countries, including China, India, and Arabia, as Takola. During the Rattanakosin period, Takuapa still had economic significance because of its hight production of tin, which was Thailand’s primary export product. Welcome everyone, to one of the charming town of Southern Thailand, a town that is filled with peace, happiness and the greenness of nature. Here you can find the heritage of Takuapa’s economic prosperity, when tin mining was the life of its people. Takuapa, Place of Everlasting Charms and Memories. A warm welcome from the friendly people of Takuapa
สะพานเหล็กบุญสูง BOON SUNG STEEL BRIDGE
บริเวณริมถนนราษฎร์บำ� รุง จะมีสะพานเหล็ก ที่เป็นสัญลักษณ์แห่งเมืองตะกั่วป่า มีมาตั้งแต่ ยุคสมัยที่ตะกั่วป่ารุ่งเรืองด้วยเหมืองแร่ดีบุก โดยโรงถลุงแร่ดีบุกเก่าแก่แห่งหนึ่ง สร้างขึ้นเพื่อ ให้สามารถเดินทางมาที่เหมืองแร่แห่งนี้ได้อย่าง สะดวกสบาย ปัจจุบันสะพานแห่งนี้ยังคงเป็น ร่องรอยแห่งอดีตที่งดงาม และลงตัว As you drive along Radbumrung Road you will find an old iron suspension bridge, it is a symbol of the prosperous mining industry of the past. Built by the owner of the tin processing plant, it was a short cut for workers from Takuapa town. Today it still reflects on the better days of the past. 156
.
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
.indd 156
10/9/2562 10:20:47
วัดเสนานุชรังสรรค์ SENANUCH RANGSUN TEMPLE
ชมความงดงามของพระอุโบสถที่สร้างขึ้น ตามแบบวัดมหรรณพาราม กรุงเทพฯ ภายใน มีพระประธาน ศิลปะสมัยรัตนโกสินทร์ พระพุทธรูป หินอ่อนสีขาว ศิลปะพม่า ธรรมมาสน์ ตูพ้ ระธรรม สมัยรัชกาลที่ 5 ขันราหู เป็นพระอารามหลวง เดิม ชาวบ้านเรียก วัดใหม่กำ� แพง โดยพระยาเสนานุชติ (นุช ณ นคร) ผู้ส�ำเร็จราชการเมืองตะกั่วป่าเป็น ผู้สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2390 ในสมัยรัชกาลที่ 3 และ กรมศิลปากรขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถาน เมื่อปี พ.ศ. 2539 Admire the beauty of this temple, which has the same architecture as Mahannaparam Temple in Bangkok. Inside the temple you can find a Rattanakosin style Buddha image, a pulpit of King Rama V, a marble Buddha from Myanmar, and many other interesting and priceless artifacts. This royal temple was built in 1847 during the reign of King Rama III by Praya Senanuchit (Nuch Na Nakorn). It was registered as a historical site by the Fine Arts Department in 1996.
วัดพระธาตุคีรีเขต PRATHADKHEREEKATE TEMPLE
ชาวบ้านเรียกกันว่า “วัดลุ่ม” วัดเก่าแก่ของ เมืองตะกั่วป่า ตั้งอยู่บนถนน กลั่นแก้ว ย่าน ตลาดเก่า ชมอุโบสถโบราณ เคียงคูอ่ โุ บสถหลังใหม่ ที่งดงามตามแบบฉบับ ชาวใต้ ภายในมีรอย พระพุทธบาทจ�ำลอง พ่อท่านแก่นรักศักดิ์สิทธิ์ และพระพุ ท ธรู ป หิ น หยกซ้ อ นอยู ่ ด ้ า นหลั ง พระประธาน
This ancient temple is known to the locals as WatLum. You must see the old southern style temple built next to a new modern one. Inside the temple you will find a model of Lord Buddha’s footprint, sainted monk Khenrak and hidden white jade Buddha.
วัดคงคาภิมุข KONGKAPIMUK TEMPLE
นมัสการพ่อท่านเจ้าฟ้า อันศักดิ์สิทธิ์ ร�่ำลือ กั น หลายชั่ ว อายุ ค น และเกจิ อ าจารย์ ดั ง ณ วัดคงคาภิมขุ วัดเก่าแก่ทสี่ ร้างขึน้ เมือ่ พ.ศ. 2305 ปัจจุบันได้รับการบูรณะตกแต่ง ให้งดงาม ตั้งอยู่ ถนนราษฎร์บ�ำรุง Pay homage to the sainted monk, Paw than Chao Fa, and other statuettes of famous reverend monks at Kongkapimuk Temple. This ancient temple, built in 1762, has been renovated to retain its timeless beauty.
PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 157
157
10/9/2562 10:20:57
ศาลเจ้าพ่อกวนอู (ซิ่นใช่ตึ๋ง)
ศาลเจ้า กู่ ใช่ ตึ๋ง จัดตัง้ ขึน้ โดยจดทะเบียน ศาลเจ้า เมือ่ ปี พ.ศ. 2410 โดย นายงอจ๊ก หงอสกุล ได้ มี จิ ต ศรั ท ธาบริ จ าคที่ ดิ น ให้ 1 ห้ อ ง คื อ บ้านเลขที่ 103 ถนนศรีตะกัว่ ป่า จนถึงปัจจุบนั นี้ ชือ่ ศาลเจ้ากูใ่ ช่ตงึ๋ แปลว่า “ศาลเจ้ากินผักเก่า” คือ “กู”่ แปลว่าเก่า “ใช่” แปลว่าผัก “ตึง๋ ” แปลว่า ศาลเจ้า ศาลเจ้ากู่ใช่ตึ๋งเป็นศาลเจ้าแรกๆ ที่จัด งานกินผัก ไม่เป็นล�ำดับที่ 1 ก็เป็นล�ำดับที่ 2 ของ ประเทศ Ku Chai Tueng shrine was established and officially registered in B.E.2410 which Mr. Ngojok Ngosakul had fatefully donated 100 square meters of land which it was house no. 103, Si Takua Pa road and remain the same until now. The name Ku Chai Tueng shrine means “old shrine for vegetable-eating” which “Ku” means old, “Chai” and “Tueng” means vegetable and shrine respectively. Ku Chai Tueng shrine is one of the earliest shrine that arrange vegetarian festival, if it is not the first place, it will be second place in this country.
GUAN OU SHRINE
ศาลเจ้าแห่งความซื่อสัตย์และเมตตาธรรม ที่เกิดขึ้นจากความศรัทธา ของชาวจีนเชื้อสาย ฮกเกี้ยนในเมืองตะกั่วป่า มีอายุนับร้อยปี ตั้งอยู่ บนถนนศรีตะกัว่ ป่าย่านตลาดเก่ามีเทพเจ้ากวนอู และเจ้าแม่กวนอิม เป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจและ เป็นศาลเจ้าที่มีการยึดถือปฏิบัติพิธีกรรมกินผัก ตามแบบฉบับโบราณ มาจนถึงปัจจุบัน และ ได้จัดประเพณีกินผักอย่างยิ่งใหญ่ตระการตา The shrine of Guan Ou, representing loyalty and mercy, was built by faithful Chinese immigrants over one hundred years ago. It is located on Sri Takuapa Road in the old market area. The faithful still worship Guan Ou and Guan Im at the shrine where the annual Vegetarian Festival has been celebrated for generations.
ประเพณีกินผัก TAKUAPA VEGETARIAN FESTIVAL
ประเพณีกนิ ผัก หรือเจีย๊ ะกิวอ่องฉ่าย ถือเป็น ประเพณียิ่งใหญ่ของชาวตะกั่วป่า ที่เป็นมรดก ตกทอดมานานนับศตวรรษและได้ด�ำรง รักษา ประเพณีดั้งเดิมไว้เป็นอย่างดี จัดขึ้นเป็นประจ�ำ ทุกปีในวันขึ้น 1 - 9 ค�่ำ เดือน 11 หรือช่วงเดือน กันยายน - เดือนตุลาคมของทุกปี นักท่องเที่ยว นิยมร่วมพิธีท�ำบุญช�ำระล้างจิตใจ และร่างกาย ให้สะอาดและรับพระขอพรที่แห่ ไปรอบเมือง ตามขนบธรรมเนียมดั้งเดิม “งานประเพณีกินผักเมืองตะกั่วป่า” เป็น ประเพณีที่ทรงคุณค่ายิ่งของท้องถิ่น ซึ่งเป็น เอกลักษณ์ของเมืองตะกั่วป่า ก็คือ การรักษา พิธีกรรม การจัดงานประเพณีกินผักแบบดั้งเดิม ไว้อย่างเหนียวแน่น ไม่ผิดเพี้ยนไปจากเดิม จึง ท�ำให้พิธีกรรมประเพณีกินผักเมืองตะกั่วป่าเป็น ที่ ศ รั ท ธาเชื่ อ ถื อ ของผู ้ ที่ เข้ า มาร่ ว มกิ จ กรรม 158
.
อย่างต่อเนือ่ ง ส่งผลดีตอ่ การส่งเสริมการท่องเทีย่ ว ได้ อี ก ทางหนึ่ ง ด้ ว ย นอกจากนี้ ยั ง เป็ น ผลดี ต่อการกระตุ้นเศรษฐกิจของท้องถิ่น เป็นการ สร้างงาน สร้างรายได้ ส่งเสริมอาชีพของชุมชน ในท้องถิ่น “Jia Kew Ong Chai” (Chainese for Vegetarian Celebration) is passed on from one generation to the next over the centuries. The festival is held annually in September or October according to the luner calendar. Tourists can participate along with most locals in giving donations and eating only vegetables (refraining from taking life from animals for food) for a period of ten days to cleanse their minds and bodies.
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
.indd 158
10/9/2562 10:21:12
พระบรมธาตุเจดีย์ PHRA BOROM THAT CHEDI
ศิลปะขององค์พระบรมธาตุเจดีย์ สร้างในแบบศิลปะศรีวิชัย เพื่อ ให้เป็นเอกลักษณ์เฉพาะถิ่น เจดีย์เป็นรูปทรงเจดีย์สี่เหลี่ยมย่อมุม มีประตู เข้า - ออกองค์เจดีย์ได้สี่ทิศ ด้านบนองค์พระบรมธาตุเจดีย์ออกแบบ เป็นรูปบาตรซ้อนกัน 5 ใบ หมายถึงพระพุทธเจ้า 5 พระองค์ ต่อด้วย ปล้องไฉนและยอดฉัตร องค์พระบรมธาตุเจดียต์ งั้ อยูบ่ นฐาน ประทักษิณ 3 ชั้น มีบันไดขึ้นลงฐานประทักษิณทั้ง 4 ทิศ โดยทางทิศเหนือเชื่อมต่อ กับบันไดทางขึน้ - ลง องค์พระบรมธาตุเจดีย์ ทีต่ รงกับลานบ่อเงิน - บ่อทอง ด้านล่าง ส�ำหรับภายในองค์พระบรมธาตุเจดีย์ออกแบบเป็นห้องโถง มีเจดีย์องค์เล็ก จ�ำลองแบบมาจากพระธาตุไชยา ตั้งอยู่กลางห้อง วางปิดทับบริเวณอุโมงค์ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ Phra Borom That Chedi was built by using Srivijaya art in order to show local trait. The pagoda is recessed square pagoda. There
are 4 entrances which is one entrance for one direction. The top of this pagoda are five monk’s alms-bowls that each bowl was overlapped on other bowl which means 5 great Buddhas. Above the bowls are extended segment and many-tiered umbrella. Phra Borom That Chedi is situated on the three-story base which is built for clockwisely walking. There are 4 staircases connect to this base, one for each direction which the north staircase connected with staircase to silver pond - gold pond ground. As for an internal of Phra Borom That Chedi, it is a hall where 4 small pagodas are located inside which all pagodas were imitated from Phra That Chaiya. These pagodas are situated at middle of the hall and placed on the tunnel where Buddha’s relic was enshrined.
PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 159
159
10/9/2562 10:21:15
WO R K LI FE
องค์การบริหารส่วนต�ำบลคลองเคียน “ แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง นิ เ วศน์ เกษตรก้ า วไกล ใส่ ใ จการศึ ก ษา พั ฒ นาคนสู ่ สั ง คมแห่ ง การเรี ย นรู ้ อ ย่ า งยั่ ง ยื น ” วิสัยทัศน์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนต�ำบลคลองเคียน
ข้อมูลพื้นฐาน ในอดีตได้เล่าขานกันว่า พื้นที่ของหมู่ที่ 1 จะมีล�ำคลองไหลผ่านเนินเขาลงสู่ทะเล บริเวณ ของล� ำ คลองจะมี ต ้ น ตะเคี ย นขึ้ น จ� ำ นวนมาก เดิมเรียกหมู่บ้านนี้ว่า “คลองตะเคียน” ต่อมา มีการกร่อนเสียงเป็น “คลองเคียน” กลุ่มแรก ที่ เข้ า มาตั้ ง ถิ่ น ฐานมาจาก อ.ละงู จ.สตู ล โดยมีท่านขุน “คลองเคียนคณานนท์” เป็น หัวหน้าฝ่ายปกครองคนแรกและเป็นต้นตระกูล “นั น ทบุ ต ร” ในปั จ จุ บั น ต� ำ บลคลองเคี ย น มีทงั้ หมด 8 หมูบ่ า้ น ได้แก่ หมู่ 1 บ้านคลองเคียน หมู่ 2 บ้านหินร่ม หมู่ 3 บ้านเจ้าขรัว หมู่ 4 บ้านย่านสะบ้า หมู่ 5 บ้านติเต๊ะ หมู่ 6 บ้านคลองไส หมู ่ 7 บ้านหาดทรายเปลือกหอย หมู่ 8 บ้านอ่าว มะขาม ต�ำบลคลองเคียน ตั้งอยู่ฝั่งตะวันตกของ อ่าวพังงา มีพื้นที่ 81,875 ไร่
นายอุ ทิศ มั จ ฉาเวช
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลคลองเคียน
องค์การบริหารส่วนต�ำบลคลองเคียน เลขที่ 55 หมู่ 1 ต�ำบลคลองเคียน อ�ำเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา 82140 ติดต่อ โทรศัพท์ 076-410-878 โทรสาร 076-410-877 เว็บไซต์ : www.klongkhian.go.th Facebook : องค์การบริหารส่วนต�ำบลคลองเคียน เพจ : อบต.คลองเคียน
กิจกรรมที่ยิ่งใหญ่ของทุกปี
งานเมาว์ลิดกลางต�ำบลคลองเคียน 160
.
เทศกาลชิมกุ้งแชบ๊วยลองแลอาหารเล@คลองเคียน
SBL บันทึกประเทศไทย I พังงา
อนุสรณ์สถานท้าวสุรนารี (ย่าโม) อ�ำเภอเมือง
.indd 160
6/9/2562 14:44:32
สถานที่ท่องเที่ยวภายในต�ำบลคลองเคียน
ท่าเทียบเรือบ้านคลองเคียน
ทะเลแหวกบ้านหินร่ม
ท่าเทียบเรือบ้านคลองหงิน จุดชมวิวเสม็ดนางชี
จุดชมวิวอ่าวโต๊ะหลี เกาะพนัก
หาดอ่าวหมาน กุง้ แชบ๊วย
เกาะห้อง พิพธิ ภัณฑ์เบญญารัญ ท่าเทียบเรือบ้านหินร่ม เกาะละวะใหญ่
ทะเลแหวกเกาะนก(เกาะบุหรง) ท่าเรือน�้ำลึกบ้านคลองหงิน
PHANGNGA I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 161
161
6/9/2562 14:44:37
2.indd 999
3/8/2561 9:24:03
Buddhism
in Thailand
SBL บันทึกประเทศไทย น�ำเสนอเรื่องราวของจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศไทย อย่างเจาะลึกและครอบคลุมทุกมิติ อาทิ มิติด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ จากหน่วยงานราชการส�ำคัญในจังหวัด มิติด้านการท่องเที่ยวที่สดใหม่ทันสมัย ทั้งสถานที่เที่ยว ที่พัก ร้านอาหาร ร้านกาแฟ แหล่งช็อปปิ้งใหม่ๆ ฯลฯ มิติด้านอุตสาหกรรม-การค้าการลงทุนที่เป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ตลอดจนมิติด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม และวิถีชีวิต ที่มีจุดเด่นและมีเอกลักษณ์น่าสนใจ
AD.indd 148
2/12/2562 16:23:11