นิตยสารแนะน�ำแหล่งท่องเที่ยวและของดีจังหวัดเพชรบูรณ์ ประจ�ำปี 2562
Magazine
PHET CHABUN ดินแดนแห่งพุ ทธศรัทธาเหนือกาลเวลา SPECIAL INTERVIEW
นายอัครชัย ได้ผลธัญญา ผอ.พศจ.เพชรบูรณ์ “สันติสุขสร้างได้ ใต้ร่มกาสาวพั สตร์” สักการะสมเด็จองค์ปฐม ชมพญานาคพ่ นสายรุ้ง ณ วัดธรรมยาน ต.นาเฉลียง อ.หนองไผ่
Vol.9 Issue 91/2019
www.issuu.com
.indd 1
19/4/2562 10:15:25
TAMARIND PLACE แทมมารินด์ เพลส...โรงแรมสุดเดิร์น ห้องพักสุดชิล
TAMARIND PLACE
TAMARIND PLACE
TAMARIND PLACE แทมมาริ น ด์ เพลส แทมมารินด์ เพลส โรงแรมใหม่บรรยากาศสบาย ๆ ใจกลางเมือง เพชรบูรณ์ รายล้อมด้วยขุนเขาอันสวยงาม ใกล้สถานที่ท่องเที่ยว ที่มีชื่อเสียงมากมายหลายแห่ง และใกล้แหล่งช็อปปิ้ง ห้องพักสุดชิล สะอาด บรรยากาศสดชืน่ พร้อมสิง่ อ�ำนวยความสะดวก อาทิ ตูเ้ ย็น .แอร์, ทีวี LED, เคเบิ้ลทีวี, เครื่องท�ำน�้ำอุ่น, ฟรี WIFI, บริการกาแฟ โอวั ล ติ น และขนมทุ ก เช้ า และอุ ่ น ใจด้ ว ยระบบคี ย ์ ก าร์ ด และยาม รักษาความปลอดภัย หลากหลายรูปแบบการบริการ ด้วยห้องพัก แบบเตียงเดีย่ ว-เตียงคู่ และแบบรายวัน-รายเดือน พร้อมเฟอร์นเิ จอร์ ครบครัน เพียงท่านมาแต่ตัว ก็เข้าพักได้ทันที พิเศษสุด ! บริการ ท�ำความสะอาดและเปลี่ยนเครื่องนอนให้ทุกสัปดาห์
โรงแรมแทมมาริ น ด์ เ พลส ( TAMARIND PLACE ) ที่ อ ยู ่ : 115 หมู ่ 2 ต.สะเดี ย ง อ.เมื อ ง จ.เพชรบู ร ณ์ 67000
1
.indd 3
PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย
โทร : 056-713747 , 065-269-2829
3
19/4/2562 17:58:17
บ้ า นพนมไพรสุ ข สบายรี ส อร์ ท ...บริ ก ารครบวงจรทั้ ง ที่ พั ก -ห้ อ งจั ด เลี้ ย ง
บ้ า นพนมไพร สุ ข สบายรี ส อร์ ท เพชรบู ร ณ์
บ้ า นพนมไพร สุ ข สบายรี ส อร์ ท
บ้ า นพนมไพรสุ ข สบายรี ส อร์ ท เพชรบู ร ณ์ • ให้บริการบ้านพักเป็นหลัง 2 รูปแบบ มีทงั้ แบบเตียงคู่ - เตียงเดีย่ ว ในราคาสบาย ๆ • สิง่ อ�ำนวยความสะดวกครบครัน อาทิ แอร์ ทีวี ตูเ้ ย็น เครือ่ งท�ำน�ำ้ อุน่ โซฟา ฯลฯ • บริการห้องจัดเลีย้ ง ห้องประชุม ห้องรับรอง ในราคาเป็นกันเอง • บริการอาหารเช้า กาแฟ-ขนมปัง
...บริ ก ารห้ อ งพั ก บรรยากาศเยี่ ย ม ที่ คุ ณ จะสั ม ผั ส ถึ ง ความงาม ของทุ ่ ง นาและทิ ว เขาได้ จ ากหลั ง ห้ อ งพั ก ท� ำ ให้ คุ ณ รู ้ สึ ก ผ่ อ นคลาย หายเหนื่ อ ยล้ า จากการท� ำ งาน
บ้ า นพนมไพรสุ ข สบายรี ส อร์ ท เพชรบู ร ณ์
4
: เลขที่ 143 หมู ่ 9 ถนน สระบุ รี - หล่ ม สั ก ต� ำ บล ห้ ว ยสะแก อ� ำ เภอเมื อ งเพชรบู ร ณ์ เพชรบู ร ณ์ 67210 : 089 439 9408, 087-731-7930, 056-029-849 : บ้ า นพนมไพรสุ ข สบายรี ส อร์ ท
SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร
1
.indd 4
19/4/2562 17:59:47
...ส
เอ็มจี เพชรบูรณ์
โชว์รมู และศูนย์บริการมาตรฐาน เป็นผูจ้ ำ� หน่ายรถยนต์ MG อย่างเป็นทางการ
ใส่ใจในทุกรายละเอียด งานบริการคุณภาพ โดยผูช้ ำ� นาญงาน
มีรถ MG ทุกรุน่ ให้เลือกสรร
ห้องรับรองลูกค้า สะดวกสบาย
ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด มิตรศิลป์ เอ็มจี ออโต้
: 129 หมู่ 2 ต�ำบลบ้านโตก อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ 67000 : 056-911-711, 056-911-722 : 056-911-700 : MGPcb : MGPhetchabun : www.mgcars.com มุง่ มัน่ ให้บริการ ยินดีให้คำ� ปรึกษา
.
.indd 5
19/4/2562 16:56:50
โรงแรมบู ร พา เพชรบู ร ณ์ (BURAPHA HOTEL) BURAPHA HOTEL
โรงแรมบู ร พา เพชรบู ร ณ์ โฮเต็ ล ...พั ก สบายเหมื อ นได้ ช าร์ ต แบต โรงแรมบู ร พา เพชรบู ร ณ์ (BURAPHA HOTEL) ตั้ ง อยู ่ บ น ถนนสระบุ รี - หล่ ม สั ก ในเขตอ� ำ เภอเมื อ ง ยิ น ดี ต ้ อ นรั บ ทุ ก ท่ า น สู ่ ห ้ อ งพั ก ที่ เ พี ย บพร้ อ มด้ ว ยสิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวกมากมาย อี ก ทั้ ง ยั ง มี WI-FI ฟรี ทั่ ว ทั้ ง โรงแรม
BURAPHA HOTEL
“เลือกความสะดวกสบาย พร้อมบริการที่อบอุ่นเป็นกันเอง” • บริการห้องพัก พร้อมเครือ่ งอ�ำนวยความสะดวกครบครัน เช่น แอร์ ทีวี ตู้เย็น อินเตอร์เน็ต • การตกแต่งภายในที่พัก เป็นแบบโปร่งโล่ง ได้รับการตกแต่งเป็น อย่ า งดี ให้ ค วามรู ้ สึ ก เสมื อ นอยู ่ ใ นสถานที่ พิ เ ศษ ท่ า มกลาง บรรยากาศที่สดชื่น • บริการห้องจัดเลี้ยง-ประชุมสัมมนา ห้องอาหาร และสถานบันเทิง
ส� ำ รองห้ อ งพั ก ติ ด ต่ อ : เลขที่ 308 ถนนสระบุ รี - หล่ ม สั ก ต� ำ บลในเมื อ ง อ� ำ เภอเมื อ งเพชรบู ร ณ์ จั ง หวั ด เพชรบู ร ณ์ 67000
โทร : 056 711 155-9 6
1
SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร
.indd 6
19/4/2562 18:02:36
MSC
มิตรศิลปคอนกรีต ผลิตและจ�ำหน่ายสินค้ามาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
คอนกรีตผสมเสร็จ ท่อระบายน�้ำ แผ่นพื้นส�ำเร็จรูป โดยวิศวกรและเครื่องจักรมาตรฐาน
MSC มิตรศิลปคอนกรีต
149 หมู่ 2 ต�ำบลหนองไขว่ อ�ำเภอหล่มสัก จังหวัด เพชรบูรณ์ 67110 056-704880 , 056-701241 056-704881 .
.indd 7
19/4/2562 16:57:33
มาเยือนเพชรบูรณ์ครั้งใด ให้กลางเมืองริเวอร์โฮม (Klangmuang River Home) บริการคุณนะคะ
กลางเมื อ งริ เ วอร์ โ ฮม
กลางเมื อ งริ เ วอร์ โ ฮม
Klangmuang River Home ...สะดวกสบาย ใจกลางเมืองเพชรบูรณ์
8
SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา
������������������� �.����� 2����.indd 8
...ที่พักสุดแสนประทับใจ แห่งเมืองมะขามหวาน เพชรบูรณ์ อบอุ่นเสมือนบ้าน มาตรฐานโรงแรม
นอนกลางเมืองริเวอร์โฮม 1 คืน อายุยืน 1 ปี
19/4/2562 17:52:54
กลางเมืองริเวอร์โฮม
(Klangmuang River Home)
ที่ พั ก ส� ำหรับนักเดินทาง ที่ต้องการความสะดวกสบายและ อยู ่ ใ กล้ ย่า นเศรษฐกิจ ของเมืองเพชรบูรณ์ • ห่างจากสถานีขนส่งจังหวัดเพชรบูรณ์ 500 เมตร • ห่างจากห้างสรรพสินค้าท็อปแลนด์ • ห่างจากแม่นำ�้ ป่าสัก 800 เมตร • ห่างจากร้านอาหารท้องถิน่ หลายแห่ง • ศูนย์กลางตลาดสด ตลาดนัดเมืองมะขามหวาน • ศูนย์กลางไนท์พลาซ่าเมืองมะขามหวาน • กลางเมืองริเวอร์โฮม ให้บริการห้องพักปรับอากาศ พร้อมเครื่องอ�ำนวย ความสะดวกครบครัน บริการอินเทอร์เน็ตไร้สาย (Wi-Fi) ฟรี ทีจ่ อดรถส่วนตัวฟรี และเครื่องซักผ้าแบบหยอดเหรียญ
Klangmuang River Home Hotel
53/31 Klangmuangpattana Road, Tumbon Naimuang, Muang Phetchabun Diatrict, Phetchabun Province 67000 Thailand “ Clean convenient, safety, excellent service… We will take care every customers as our family ”
กลางเมืองริเวอร์โฮม (Klangmuang River Home) : 53/31 ถนนกลางเมืองพัฒนา ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ 67000 : 056-712456, 081-533-1827, 081-953-6305 : กลางเมืองริเวอร์โฮม เพชรบูรณ์ CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย
������������������� �.����� 2����.indd 9
9
20/4/2562 15:26:24
“ชญาปาร์ค รีสอร์ท” คงจะดีไม่นอ้ ย หากการเดินทางเพือ่ การท่องเทีย่ ว หรือ เพือ่ การท�ำงานของคุณ จะมีหอ้ งพักทีส่ ะอาดสะอ้าน สะดวกสบาย เพือ่ ให้คณ ุ ได้ผอ่ นคลายอย่างแท้จริง
Chayapark Resort
....ค�ำตอบที่ใช่ส�ำหรับคุณ 10
SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา
2
.indd 10
22/4/2562 16:47:47
สะดวกสบาย เราตัง้ อยูใ่ จกลางเมืองเพชรบูรณ์ คุณจึงเดินทาง
ไปยังสถานที่ต่าง ๆ ได้อย่างสะดวกและง่ายดาย
ใกล้ชิดกับธรรมชาติ
ห้องพักของเราบรรยากาศดี มีระเบียงชมวิว และมีแม่บ้านบริการท�ำความสะอาดให้ - ทุกห้องมีเครื่องปรับอากาศ ทีวีช่องเคเบิ้ล ตู้เย็น และห้องน�้ำส่วนตัว พร้อมเครื่องท�ำน�ำ้ อุ่น
บริ ก ารครบจบที่ เ ดี ย ว
เพียบพร้อมด้วยสิ่งอ�ำนวยความสะดวกอื่น ๆ อาทิ ที่จอดรถ และสวนกว้างขวาง มีบริการร้านอาหาร อินเทอร์เน็ตไร้สายบริการทั่วบริเวณ มุมกาแฟ และอื่น ๆ
พิเศษสุด!!
ตั้งอยู่ใกล้สถานที่ท่องเที่ยว และสถานที่ส�ำคัญต่างๆ อาทิ * วัดมหาธาตุ * โรงพยาบาลเพชรรัตน์ * วัดพระแก้ว เพชรบูรณ์ * ใกล้ตลาดโต้รุ่งโพธิ์จันทร์ * ศาลเจ้าพ่อหลักเมืองเพชรบูรณ์ * สถานีต�ำรวจภูธรอ�ำเภอเมืองเพชรบูรณ์
ชญาปาร์ค รีสอร์ท CHAYAPARK RESORT : 36/1 ถ.บูรกรรมโกวิท ต.ในเมือง อ.เมือง จ.เพชรบูรณ์ : 056 713 638, 081 953 8162
ชญาปาร์ค รีสอร์ท
: โรงแรม ชญาปาร์ค เพชรบูรณ์ CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย
2
มั่นใจในบริการที่ดีเยี่ยม ต้องไปที่ “อี๊ฟกะแอมป์ รีสอร์ท & สปา นครไทย” เท่านั้น
.indd 11
11
22/4/2562 16:48:01
มาหล่มสัก ต้องพักที่...“ศรีภูมิ รีสอร์ท”
บ้านพักอุ่นใจในอ้อมกอดของแมกไม้
Sripoom Resort
ศรีภูมิ รีสอร์ท อ�ำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ เราให้คุณมากกว่าบ้านพักทั่วไป เพราะเราไม่ได้เป็นแค่ที่พัก แต่เราเป็นสวนริมทาง เราไม่ได้มีบา้ นพักเต็มพื้นที่ แต่เรามีไม้ดอกและไม้ยืนต้นกว่า 70% เราไม่มีภัตตาคารใหญ่โต แต่เรามีอาหารจานเดียวที่อร่อยถูกปาก เราไม่มีประชาสัมพันธ์ที่เคาน์เตอร์ แต่เรามีความเป็นกันเองทุกมุมบ้าน
ศรีภูมิ รีสอร์ท มีห้องพักให้คุณเลือกทั้งบ้านพักเป็นหลัง 9 หลัง และเรือนแถว 7 ห้อง ที่รายล้อมด้วยไม้ดอกตลอดทั้งปี บรรยากาศของที่นี่จึงบริสุทธิ์ สดชื่น และเย็นสบาย พร้อมสิ่งอ�ำนวยความสะดวกครบครันภายในห้องพัก อาทิ ทีวีดาวเทียม ตู้เย็น เครื่องท�ำน�้ำร้อน แอร์ และน�้ำดื่มฟรี และห้องอาหาร ที่จะบริการอาหารเช้า ตั้งแต่ 6 โมงครึ่ง ถึง 10 โมงเช้า CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 13
13
19/4/2562 17:52:40
ที่ตั้งและการเดินทาง
จากกรุงเทพ ใช้เส้นทางกรุงเทพ – สระบุรี ทางหลวงหมายเลข 1 หลังจากผ่าน ตัวเมืองสระบุรี เมือ่ มาถึงพุแคจะมีทางแยกซ้ายไปลพบุรี ขวาไปเพชรบูรณ์-หล่มสัก ให้เลีย้ วขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 21 มุง่ หน้าไปตามเส้นทางนีผ้ า่ น อ. เมือง เพชรบูรณ์ ไปทาง อ. หล่มสัก ซึ่งอยู่ห่างจากอ. เมืองไปประมาณ 38 กิโลเมตร จะสังเกตเห็นป้ายและหลักกิโลแจ้งว่าอีก 8 กิโลเมตร จะถึงหล่มสัก บ้านพักศรีภมู ิ จะอยู่ทางด้านซ้ายมือ
SRIPOOM RESORT
14
สนใจส�ำรองบ้านพักติดต่อ ศรีภูมิ รีสอร์ท SRIPOOM RESORT 16 ม.5 ถ.สามัคคีชัย ต.น�้ำชุน อ.หล่มสัก จ.เพชรบูรณ์. 089-7084461 : Sripoom Resort SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา
2
.indd 14
19/4/2562 17:52:51
BANSUAN RESORT
บ้านสวนรีสอร์ท
...บ้านพักสวย บรรยากาศดี บ้านสวนรีสอร์ท BANSUAN RESORT ให้บริการห้องพักหลากหลายรูปแบบพร้อมอุปกรณ์ อ�ำนวยความสะดวกครบครัน ทีจ่ อดรถกว้างขวาง บริการเป็นกันเอง เดินทางสะดวกสบาย ราคาห้องพักเริม่ ต้นที4่ 00-700บาท
บ้านสวนรีสอร์ท
บ้านสวนรีสอร์ท (BAN SUAN RESORT)
205บันม.21 ต�ำบลท่ าพล 14 SBL ทึกประเทศไทย I ฉะเชิ งเทราอ�ำเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ 67250
1
.indd 14
โทร. 056-713-808, 081-474-7445
: BAN SUAN RESORT
20/4/2562 15:15:44
หล่ ม สั ก การ์ เ ด้ น โฮม...ที่ พั ก นั ก เดิ น ทาง บริ ก ารดุ จ ญาติ มิ ต ร
หล่ ม สั ก การ์ เ ดนโฮม
Lomsak Garden Home ...หล่มสักการ์เด้นโฮม (Lomsak Garden Home)
ทีพ ่ กั ใหม่ในอ�ำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ ทีไ่ ด้รบั การกล่าวขาน ถึงในเรื่องของการบริการที่เป็นกันเอง คุ้มค่า ในราคาประหยัด
สะดวกสบาย ในการพักผ่อน ด้วยขนาดห้องพักที่กว้างขวาง สะอาด ตกแต่งสไตล์ทันสมัย ใหม่เอี่ยมทุกห้อง พร้อมระเบียงส่วนตัว และสิ่งอ�ำนวยความสะดวกครบครัน อาทิ แอร์ ทีวี เครื่อ งท�ำน�้ ำอุ่น ฟรี WiFi พร้อมที่จอดรถกว้างขวาง นอกจากนี้เรายังมีร้านอาหาร และร้านกาแฟไว้คอยบริการลูกค้า ท�ำเลเยีย่ ม เหมาะส�ำหรับการท่องเทีย่ ว เพราะเราตัง้ อยูต่ ดิ ถนนใหญ่ ใกล้ทางขึ้นเขาค้อ-ภูทับเบิก และอยู่ ไม่ ไกลจากถนนคนเดินหล่มสัก คุณจึงเพลิดเพลินกับวิถีชีวิตที่มีสีสันของชาวหล่มสักได้อย่างง่ายดาย
สนใจส�ำรองที่พักติดต่อ หล่มสัก การ์เด้นโฮม LOMSAK GARDEN HOMEPHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย : 298 ม.5 ต.น�้ ำ ชุ น อ.หล่ ม สั ก จ.เพชรบู ร ณ์
.indd 15
: 082-543-8059, 084-593-6518
15
: หล่ ม สั ก การ์ เ ด้ น โฮม
19/4/2562 18:03:53
นนะคะ
TONKHO HOTEL โรงแรมต้ น ค้ อ
TONKHO RESORT
“...ที่พักเท่ ๆ ของผู้ที่ใส่ใจในสุขภาพดี” ที่ นี่ ... เราไม่ เ พี ย งแต่ ใ ห้ บ ริ ก ารห้ อ งพั ก ที่ ส ะอาด สะดวกสบาย พร้อมสิ่งอ�ำนวยความสะดวกครบครัน ท่ามกลางบรรยากาศของการพักผ่อนอย่างเป็นธรรมชาติ และใกล้สถานที่ท่องเที่ยวเท่านั้น แต่เรายังเป็นแหล่งรวบรวมเกษตรปลอดสาร ทีน่ ำ� เอา พืชพรรณธัญญาหารนานาชนิดจากธรรมชาติมาให้บริการ ในบรรยากาศแบบฟาร์มต้นค้อ จึงเหมาะกับการพักผ่อน อย่างมีสุขภาพที่ดี ตลอดวันหยุดอันมีค่าของทุก ๆ ท่าน นอกจากนี้ เราขอแนะน�ำ ศูนย์อาหาร ครัวต้นค้อ ส�ำหรับนักเดินทางที่ก�ำลังมองหาร้านอาหารพื้นเมืองรสชาติเข้มข้น ถึงเครื่องถึงรสจริง ๆ รับประทาน อร่อยโดยไม่ต้องปรุงก็ฟินได้ ที่ส�ำคัญคือความสดสะอาดของวัตถุดิบ และราคามาตรฐาน
โรงแรมต้นค้อ บูทิคโฮเทล เก๋ ๆ เท่ ๆ แห่งหล่มสัก โรงแรมต้นค้อ (TONKHO HOTEL) เลขที่ 300 หมู่ 4 น�ำ้ ชุน่ หล่มสัก เพชรบูรณ์ 67110 โทร. 093 282 6744 : โรงแรมต้นค้อ @TONKHORESORT SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา
16
1
.indd 16
19/4/2562 18:01:40
นนะคะ
ธนาวรรณรีสอร์ท เราใส่ใจความสะอาด เพื่อมอบความประทับใจให้ทุกท่าน
THANAWAN RESORT ธนาวรรณรีสอร์ท อบอุ่น สวยงาม สะอาด คุ้มค่า...
ธนาวรรณรีสอร์ท (Thanawan Resort)
Thanawan Resort
ที่พักระดับ 4 ดาว ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลเมืองวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์ ให้บริการบ้านพักหลากหลายสไตล์ สีสันสดใส บริการทั้งรายวัน-รายเดือน • ห้ อ งพั ก สะอาด ตกแต่ ง สวยงาม อบอุ ่ น น่ า พั ก ผ่ อ น พร้อมเฟอร์นเิ จอร์และสิง่ อ�ำนวยความสะดวกครบครัน อาทิ ทีวี บริการ WiFi ฟรี เครื่องท�ำน�้ำอุ่น • ที่จอดรถสะดวก กว้างขวาง และปลอดภัย • บรรยากาศภายในรีสอร์ทร่มรื่น เงียบสงบเป็นส่วนตัว • เป็นกันเองทั้งการบริการและราคาที่พัก • อยู่ใกล้แหล่งท่องเที่ยวต่าง ๆ จึงสะดวกต่อการเดินทาง • พิเศษบริการจักรยาน ส�ำหรับลูกค้าที่ชอบการปั่น
ธนาวรรณรีสอร์ท (Thanawan Resort) ที่อยู่329 หมู่ 4 ถนนโกเมน ซอยโกเมน 6 ต�ำบล ท่าโรง อ�ำเภอ วิเชียรบุรี เพชรบูรณ์ 67130 โทร. 087-729-6602, 089-907-3755
1
.indd 17
: ธนาวรรณรีสอร์ท วิเชียรบุรี เพชรบูCHACHOENGSAO รณ์
I SBL บันทึกประเทศไทย
17
19/4/2562 17:58:57
SP RESORTWICHIANBURI เอสพี รีสอร์ท วิ เ ชี ย รบุ รี
SP RESORT WICHIANBURI
...ห้องพักพร้อมสวนหย่อมสไตล์ โมเดิร์น
เอสพี รีสอร์ท วิเชียรบุรี (SP Resort Wichianburi) ทีพ ่ กั เปิดใหม่ให้บริการห้องพักสุดหรู สไตล์โมเดิรน์ หลากสไตล์ให้ทา่ นเลือก ในบรรยากาศทีเ่ ป็นส่วนตัวสุด ๆ เหมาะส�ำหรับการพักผ่อนอย่างแท้จริง ทีส่ ำ� คัญคือการเดินทางสะดวก ราคาเริม่ ต้นที่ 500- (2ท่าน/คืน),️มีสงิ่ อ�ำนวยความสะดวกครบครัน ,️อนิ เทอร์เน็ตไร้สาย (WiFi) ฟรี ️ที่จอดรถส่วนตัว️สวนหย่อมและห้องนั่งเล่นส่วนกลาง
เอสพี รี ส อร์ ท วิ เ ชี ย รบุ รี (SP RESORT WICHIANBURI)
18
SBL บันทึกประเทศไทย
1
.indd 18
121งเทรา หมู่ 7 ต.สระประดู่ อ.วิเชียรบุรี จ.เพชรบูรณ์ 67130 I :ฉะเชิ
: โทร. 091-0248474
: SP Resort - Wichian Buri, Phetchabun
23/4/2562 15:03:44
Bestiny Hotel & Resort
BESTINY HOTEL & RESORT
โรงแรมและรีสอร์ท เบสทินี่ BESTINY HOTEL & RESORT ทางเลือก ส�ำหรับนักเดินทางรุ่นใหม่ ที่ฉลาดเลือก ในสิ่งที่ดีที่สุด ภายใต้แนวคิดที่จะสร้างสรรค์จุดหมาย ปลายทางที่ดีท่ีสุดส�ำหรับการพักผ่อน มุ่งเน้นให้การ บริการเสมือนคนในครอบครัว ที่ใส่ใจในสุขภาพ และ สิ่ ง แวดล้ อ มที่ เ ป็ น ธรรมชาติ Bestiny Hotel & Resort จึงเพียบพร้อมไปด้วยสิง่ อ�ำนวยความสะดวก เพื่อชีวิตยุคดิจิตอล ที่มาพร้อมดี ไซน์ทันสมัย หรูหรา ทัง้ ภายในห้องพักและภายนอก อุน่ ใจกับความปลอดภัย เหนือระดับ
สิ่งอ�ำนวยความสะดวก • แผนกต้อนรับ 24 ชั่วโมง โทรศัพท์ภายใน • ระบบรักษาความปลอดภัย CCTV • ห้องอาหาร “มา เจอ กัน” พร้อมให้บริการเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ • อินเทอร์เน็ตไร้สายให้บริการทั่วโรงแรม • ที่จอดรถพร้อมระบบรักษาความปลอดภัย ตลอด 24 ชั่วโมง : Bestiny Hotel เลขที่ 828 ต�ำบลนาเฉลียง อ�ำเภอหนองไผ่ จังหวัดเพชรบูรณ์, Bestiny Resort เลขที่ 123 ต�ำบลยางงาม อ�ำเภอหนองไผ่ จังหวัดเพชรบูรณ์ CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย 19 : 056-565-111, 085-556-4494 : bestinygroup@gmail.com : bestinyhotelandresort : @bestiny
Bestiny Hotel 1
.indd 19
20/4/2562 15:03:53
โรงแรมนกยูงทอง...พร้อมสรรพทัง้ ทีพ ่ กั และงานจัดเลีย้ ง
NOKYUNGTHONG HOTEL
โรงแรม นกยู ง ทอง
โรงแรมนกยู ง ทอง โรงแรมนกยูงทอง (NOKYUNGTHONG HOTEL) ให้บริการห้องพักทีไ่ ด้มาตรฐานภายในได้รบั การตกแต่ง อย่างสวยหรู พร้อมสิ่งอ�ำนวยความสะดวกครบครัน และบริการสัญญาณ Internet Wifi Free! มอบความสุ ข ที่ เ ป็ น ส่ ว นตั ว ส� ำ หรั บ คู ่ รั ก หรื อ ครอบครั ว ด้ ว ยเรื อ นไม้ สั ก ทรงไทยแบบเป็ น หลั ง ที่ๆ คุณจะได้สัมผัสบรรยากาศอันร่มรื่นพร้อมสวน ดอกไม้และไม้ยืนต้นนานาพรรณ บริการจัดเลี้ยง ประชุม-สัมมนา พร้อมอุปกรณ์โปรเจคเตอร์ที่ทันสมัย ในบรรยากาศของสวนสวย เพื่อบริการหน่วยงานที่ต้องการจัดประชุมสัมมนา เชิญสัมผัสบรรยากาศสบาย ๆ สไตล์รีสอร์ทที่ โรงแรมนกยูงทอง ได้แล้ววันนี้
โรงแรมนกยูงทอง (NOKYUNGTHONG HOTEL)
260 หมูI่ 12 อ.ศรีเทพ จ.เพชรบูรณ์ 67170 20 SBL บันทึกประเทศไทย ฉะเชิต.สระกรวด งเทรา
1
.indd 20
โทร.090 908 5547 , 088 272 5204
: โรงแรม นกยูงทอง
22/4/2562 16:46:29
พรเสนาแลนด์ รี ส อร์ ท เขาค้ อ ...สั ม ผั ส ความงามที่ มิ อ าจซ่ อ นเร้ น
พรเสนา แลนด์ รี ส อร์ ท เขาค้ อ
พรเสนาแลนด์ รี ส อร์ ท เขาค้ อ
พรเสนาแลนด์รีสอร์ท เขาค้อ บริการที่พักและที่ส�ำหรับกางเต๊นท์ บรรยากาศสวิตเซอร์แลนด์เมืองไทย ที่ๆ คุณจะมองเห็นวิวอันสวยงาม ของวัดผาซ่อนแก้ว
พรเสนาแลนด์ รี ส อร์ ท เขาค้ อ • บริการห้องพักหลายแบบ หลากสไตล์ • บริการห้องจัดเลี้ยง ประชุม สัมมนา • บริการรถน�ำเที่ยว เขาค้อ ภูทับเบิก ภูหิน • อยูใ่ กล้เดอะบลูสกายเขาค้อ และสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วส�ำคัญ อาทิ วัดผาซ่อนแก้วเขาค้อ ร้านกาแฟพีโน่ ลาเต้ (PINO LATTE) ทุง่ กังหันลมเขาค้อ ไร่สตอเบอรี(่ ตามฤดูกาล) และอีกหลากหลายสถานที่ • อยู่ใกล้ย่านเศรษฐกิจของเขาค้อ อาทิ ตลาดสด เซเว่น-อีเลฟเว่น ร้านอาหาร และร้านขายส่งเครื่องดื่ม
ส� ำ รองห้ อ งพั ก ติ ด ต่ อ พรเสนาแลนด์ รี ส อร์ ท เขาค้ อ
: เลขที่ 55 หมู ่ 2 บ้ า นห้ ว ยไผ่ ต� ำ บลแคมป์ ส น อ� ำ เภอเขาค้ อ จั ง หวั ด เพชรบู ร ณ์ PHICHIT : 056-713-782, 065-473-9197 : พรเสนาแลนด์ แ อนด์ รี ส อร์ ท : 0654739197
1
.indd 21
I SBL บันทึกประเทศไทย
21
19/4/2562 18:04:15
“อารี รี ส อร์ ท ...เนรมิ ต ทุ ก ทริ ป ในฝั น ของคุ ณ ”
อารี รีสอร์ท
อารี รี ส อร์ ท AREE RESORT WANGPONG
“...ถ้าคุณก�ำลังมองหาสถานที่พักผ่อนโดนใจที่ใหม่ละก็ อารี รีสอร์ท อ�ำเภอวังโป่ง เพชรบูรณ์ คือค�ำตอบที่ใช่สำ� หรับคุณ ”
ไม่ว่าคุณจะเดินทางมาท�ำงานระยะยาว หรือเดินทางมาพักผ่อนระยะสั้น เรามีที่พักรองรับทุกทริปในฝัน ด้วยห้องพักที่เป็นส่วนตัว แบบบ้านเดี่ยว บรรยากาศร่มรื่น บริสุทธิ์ พร้อมอุปกรณ์อ�ำนวยความสะดวกครบครัน
แวะวังโป่ง เพชรบูรณ์ครั้งใด ให้ อารี รีสอร์ท ได้บริการคุณนะคะ 22
SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร
อารี รี ส อร์ ท (AREE RESORT WANGPONG)
: เลขที่ 199 ม.2 ต.วังโป่ง อ.วังโป่ง จ.เพชรบูรณ์ 67210
1
.indd 22
: 087-204-9262
: อารี รีสอร์ท AREE RESORT WANG PONG
19/4/2562 18:04:57
สวนอาหาร อ.กุง้ เผา อาหารไม่สด รสเพีย ้ น เปลีย ่ นคืนได้
มีร้านอาหารที่ไหนที่จะกล้าการันตี เหมือนที่ สวนอาหาร อ.กุง้ เผา บ้างคะ
“เพราะทุกเมนูทั้งกุ้ง-ปลา-ปู เราจะใช้ตัวสดๆ เป็นๆ ในการปรุง จึงกล้ารับประกันความสดใหม่ ได้มาตรฐานความอร่อยทุกจาน” จานเด่นเมนูดงั ต้องยกให้ “กุง้ เผา” ทีร่ า้ นจะใช้กงุ้ ก้ามกรามสด ๆ ตัวเป็น ๆ เผาให้ลกู ค้าทันทีทสี่ งั่ เสิรฟ ์ พร้อม น�ำ้ จิม้ สูตรเด็ดของทางร้าน ยกขบวนมาพร้อมเมนูทหี่ ลากหลายให้เลือก อาทิ เมนูกงุ้ เมนูปลาทับทิม เมนูปลากะพง เมนูปลาช่อน ปลาหมึกไข่ ปูด�ำ (ปูเนื้อ) ฯลฯ ไม่เพียงแต่เรื่องรสชาติของอาหารที่อร่อยทุกจานแล้ว บรรยากาศยังร่มรื่นเย็นสบายด้วยไม้นานาพรรณ อาณาบริเวณร้านกว้างขวาง มีเรือนรับรองและห้องจัดเลี้ยงสังสรรค์ที่รองรับได้ถึง 100 ท่าน และยังมีซุ้มนั่งแบบ สไตล์โต๊ะญี่ปุ่น และแบบนั่งหย่อนขา เหมาะส�ำหรับลูกค้าที่ชอบความเป็นส่วนตัว
มาเที่ยวเขาค้อครั้งใด ขอเชิญแวะรับประทานอาหารได้ที่ สวนอาหาร อ.กุ้งเผา นะคะ เราเปิดให้บริการทุกวัน ตั้งแต่เวลา 10:00 - 22:00 น.ค่ะ สวนอาหาร อ.กุง้ เผา OR. KUNG PHAO ส�ำรองโต๊ะล่วงหน้าติดต่อ เลขที่ 146 หมู่ 8 ต.นางั่ว อ.เมือง จ.เพชรบูรณ์ ( ก่อนทางขึ้นเขาค้อ จ.เพชรบูรณ์ ) โทร. 056-560215, 083-4881169, 08-72236009 อ.กุ้งเผา สาขา7 เพชรบูรณ์ อ.กุ้งเผา สาขา7 เพชรบูรณ์ .
1
.indd 23
PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย อ.กุ ้ ง เผา สาขา7 เพชรบู ร ณ์
23
อ.กุ ้ ง เผา สาขา7 เพชรบู ร ณ์
19/4/2562 17:56:39
Buddhism
in Thailand
SBL บันทึกประเทศไทย น�ำเสนอเรื่องราวของจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศไทย อย่างเจาะลึกและครอบคลุมทุกมิติ อาทิ มิติด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ จากหน่วยงานราชการส�ำคัญในจังหวัด มิติด้านการท่องเที่ยวที่สดใหม่ทันสมัย ทั้งสถานที่เที่ยว ที่พัก ร้านอาหาร ร้านกาแฟ แหล่งช็อปปิ้งใหม่ๆ ฯลฯ มิติด้านอุตสาหกรรม-การค้าการลงทุนที่เป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ตลอดจนมิติด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม และวิถีชีวิต ที่มีจุดเด่นและมีเอกลักษณ์น่าสนใจ
AD.indd 24
19/4/2562 16:47:16
โอ๋ไก่ บุฟเฟ่ต์กุ้งเผา-หมูกระทะ...อิ่มไม่อั้น อร่อยโคตร ๆ บุฟเฟต์ธรรมดาโลกไม่จ�ำ “โอ๋-ไก่ บุฟเฟ่ต์กุ้งเผา-หมูกระทะ..” หนึ่งเดียวในหล่มสักที่กล้าท้าพิสูจน์ความจุกที่มีพร้อมความอร่อยโคตร ๆ บุฟเฟต์ละลานตา ยกขบวนความสดใหม่ไร้สารเคมี ทั้งกุ้งสด หมึกสด และอาหารให้เลือกอีกมากมาย อร่อยไม่ยั้ง กับเมนูต้องห้าม...พลาด กุ้งเผา หมูกระทะ (หมูหมักเอง ไร้สารเคมี) พร้อมน�ำ้ จิ้มซีฟู้ดรสเด็ด!!!..
อิ ม ่ ไม่ อ น ้ ั เพี ย งท่ า นละ 169 บาท เท่านั้น เด็กส่วนสูงไม่เกิน 130 ซม. ท่านละ 99 บาท พิเศษสุด ! โอ๋ ไก่ใจดี ให้เด็กเล็กทานฟรีเลยค่ะ PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย
พิกัด : ร้านโอ๋ ไก่ ต�ำบลน�้ำชุน อ�ำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ (ตรงข้าม ปตท.ดงขวาง) เวลาเปิด : 17.00-21.00 น. โทร: 083-9622566 , 082-7216507 .indd 25
25
19/4/2562 17:52:05
EDITOR’S TALK SBL
บันทึกประเทศไทย ฉบับจังหวัดเพชรบูรณ์ เป็ น ดิ น แดนที่ พ ระพุ ท ธศาสนาเจริ ญ รุ ่ ง เรื อ ง มานานนั บ พั น ปี โดยเฉพาะที่ เ มื อ งศรี เ ทพ หรื อ ในปั จ จุ บั น คื อ “อุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ” ดังที่พบโบราณสถานและโบราณวัตถุ ทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับพระพุทธศาสนามากมาย อาทิ สถูปเจดีย์ พระธรรมจักร พระพุทธรูป และจารึกเกี่ยวกับศาสนา ก่อนที่อิทธิพลขอมจะแผ่มาถึง นอกจากนี้ในยุคสมัยต่อๆ มายังได้มีการสร้างวัดขึ้นอีกหลายแห่ง ท�ำให้จังหวัดเพชรบูรณ์มีแหล่งท่องเที่ยวเชิงศาสนาที่ส�ำคัญหลายแห่ง อี ก ทั้ ง ชาวเมื อ งเพชรบู ร ณ์ ก็ ยั ง คงยึ ด มั่ น ในหลั ก ธรรมค� ำ สอนของ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และยังสืบทอดประเพณี วัฒนธรรม และมีวถิ ชี วี ติ ทีส่ งบสุขใต้รม่ กาสาวพัสตร์มาจวบจนปัจจุบนั สมดังวิสยั ทัศน์ ของจังหวัดเพชรบูรณ์ที่ว่า “เมืองแห่งความสุขของคนอยู่และผู้มาเยือน” ในโอกาสที่ทีมงานนิตยสาร SBL ฉบับพิเศษ บันทึกวัดทั่วไทย ได้ ลงพื้นที่เพื่อบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับศาสนสถานในจังหวัดเพชรบูรณ์ เราได้รับเกียรติอย่างสูงจากท่านอัครชัย ได้ผลธัญญา ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดเพชรบูรณ์ ให้สัมภาษณ์ถึงความ คื บ หน้ า ของการด� ำ เนิ น “โครงการจั ด สร้ า งพุ ท ธมณฑลจั ง หวั ด เพชรบู ร ณ์ ” เพื่ อ ให้ เ ป็ น สถานที่ ส� ำ คั ญ ทางพระพุ ท ธศาสนา เป็ น ศูนย์กลางการเรียนรูพ ้ ระพุทธศาสนา เป็นศูนย์กลางการบริหารกิจการ พระพุ ท ธศาสนาและวั ฒ นธรรมของจั ง หวั ดเพชรบูรณ์ นอกจากนี้ เราจะพาท่านผู้อ่านไปสักการะสมเด็จองค์ปฐม พร้อมชมพญานาค พ่นน�้ำออกมาเป็นสายรุ้งที่วัดธรรมยาน เขาค้อ รวมทั้งพาไปสัมผัส บรรยากาศแห่งความสุขในสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ ที่ขึ้นชื่อมากมาย
อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์
บรรณาธิการอ�ำนวยการ นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
ท้ายนีผ้ มขอกล่าวขอบคุณผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดเพชรบูรณ์ หน่วยงานราชการ ศาสนสถาน และบริษัท-ห้าง ร้านต่างๆ ที่ให้การต้อนรับทีมงานอย่างดียิ่ง และได้สนับสนุนข้อมูล อันมีค่าในการจัดพิมพ์นิตยสารฉบับนี้ขึ้น เพื่อบันทึกความงดงาม ในวั ต รปฏิ บั ติ ข องพระภิ ก ษุ ส งฆ์ และบั น ทึ ก ความดี ง ามแห่ ง จิ ต ใจ ของชาวเมืองเพชรบูรณ์ ที่เจิดจรัสสมกับชื่อจังหวัดเพชรบูรณ์
บริษัท สมาร์ท บิซิเนส ไลน์ จ�ำกัด 9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 0-2522-7171 แฟกซ์. 0-2971-7747 FACEBOOK : SBL บันทึกประเทศไทย
Editor's Talk
.indd 26
EMAIL : sbl2553@gmail.com
Website
. - 20/04/2562 13:32:20 PM
PHETCHABUN SBL MAGAZINE 2019
คณะผู้บริหาร
นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
คณะที่ปรึกษา ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์ พลเอกสรชัช วรปัญญา ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์ ดร.ประยุทธ คงเฉลิมวัฒน์ ดร.ชาญ ธาระวาส ดร.สุมิท แช่มประสิท ดร.วัลลภ อารีรบ ดร.พิชัย ทรัพย์เกิด ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์ ดร.สุเทษณ์ จันทรุกขา ดร.อรรถสิทธิ์ ตันติวิรัชกุล
บรรณาธิการอ�ำนวยการ อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการงานบุคคล พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการการตลาด ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ ฝ่ายกฎหมาย สมคิด หวังเชิดชูวงศ์ ทวิช อมรนิมิตร
กองบรรณาธิการ
นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
ฝ่ายประสานงานโครงการ ภาครัฐและเอกชน
ผู้จัดการ
อัครกฤษ หวานวงศ์
คณะทีมงาน
กิตติชัย ศรีสมุทร สุษฎา พรหมคีรี นิรุจน์ แก้วเล็ก อมร อนันต์รัตนสุข
ฝ่ายประสานงานข้อมูล
ผู้จัดการฝ่ายประสานงานข้อมูล นันท์ธนาดา พลพวก
ฝ่ายประสานงานข้อมูล
ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ
ศุภญา บุญช่วยชีพ นงลักษณ์ เทียมเกตุทวีโชค
บรรณาธิการการตลาด นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
นักเขียน
คุณิตา สุวรรณโรจน์
ฝ่ายศิลปกรรม
ผู้จัดการฝ่ายศิลปกรรม พัชรา ค�ำมี
กราฟิกดีไซน์
พิมพ์พิสุทธิ์ พังจูนันท์ วรเชษฐ สมประสงค์ ธีระวัฒน์ ระวาดชัย
ช่างภาพ
ชัยวิชญ์ แสงใส ปณต ปิติจารุวิศาล กิติวัฒน์ ทิศมั่ง วิทยา ประเสริฐสังข์
ตัดต่อวีดีโอ
วัชรกรณ์ พรหมจรรย์ ฝ่ายบัญชี / การเงิน
บัญชี
ปัฐมาภรณ์ แสงบุราณ
ผู้จัดการฝ่ายการเงิน สุจิตรา แดนแก้วนิต
การเงิน
ชวัลชา นกขุนทอง วนิดา ศรีปัญญา
ภูทับเบิก อ�ำเภอหล่มเก่า
Editor's Talk
.indd 27
www.sbl.co.th
บริษัท สมาร์ท บิซิเนส ไลน์ จ�ำกัด
. - 20/04/2562 13:32:23 PM
ฉบับที่ 91 จังหวัดเพชรบูรณ์ พ.ศ. 2562
PHETCHABUN 2019
CONTENTS
งเทรา
จังหวัดเพชรบูรณ์
เพชรบูรณ์ 1 ใน 10 เมืองอุทยานประวัติศาสตร์ของไทย
32
ใต้ร่มพระบารมี “ โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรเขาค้อ อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ”
เพื่อส่งเสริมและพัฒนาการปลูกพืชผักและผลไม้เมืองหนาว ซึ่งเป็นอาชีพหลักของราษฎรใน อ�ำเภอเขาค้อ และพัฒนาคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนและชุมชนในพื้นที่ ให้สามารถ ประกอบอาชีพได้อย่างยั่งยืน มั่นคง
36
SPECIAL INTERVIEW
บันทึกเส้นทางพบส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดเพชรบูรณ์ นายอัครชัย ได้ผลธัญญา
42
ท�ำเนียบคณะสงฆ์
46
วัดมหาธาตุพระอารามหลวง
EBook Phetchabun
.indd 28
50
บันทึกเส้นทางท่องเที่ยว
ผามออีแ
. - 22/04/2562 12:27:44 PM
04 วัดพระธาตุผาซ่อนแก้ว @เขาค้อ
46 อุทยานแห่งชาติตาดหมอก @เมือง
ทุ่งกังหันลม @เขาค้อ
ภูทับเบิก @หล่มเก่า
74 92
70
79
86
100
71
80
88
102
72
81
92
104
74
82
94
105
76
83
96
108
77
84
97
78
85
98
วัดดงมูลเหล็ก วัดเสาธงทอง วัดโพธิ์กลาง วัดโพธิ์กลาง(บ้านโคก) วัดแสนสุข วัดสามัคคีพัฒนาราม วัดช้างเผือก
ตลาดบ้านใหม่ร้อยปี .indd 29บานประตูศาลาการเปรียญ
วัดภูเขาดิน วัดชนะชิงชัย วัดชัยพฤกษ์ วัดเนินสง่า วัดยาวีใต้ วัดประตูดาว วัดบ้านนายาว
วัดราชพฤกษ์ วัดดอกจ�ำปี วัดจันทราราม วัดซับตะเคียน วัดสว่างเนตร
วัดทรัพย์เกษตร(ใน) วัดภูเขาทอง วัดผดุงราษฏร์ วัดบุญชัย วัดสามแยก
วัดใหม่ถ�้ำแก้ว ส�ำนักปฏิบัติธรรมภูไผ่
จุดชมวิวพญากูปรี . - 22/04/2562
12:27:58 PM
ฉบับที่ 91 จังหวัดเพชรบูรณ์ พ.ศ. 2562
PHETCHABUN 2019
CONTENTS
ที่พัก/ห้าง/ร้าน จังหวัดเพชร์บูรณ์ แทมมาริน เพลส บ้านพนมไพรสุขสบายรีสอร์ท บริษัท เอ็มจี รวมกิจ จ�ำกัด(นครพนม) บูรพาเพชรบูรณ์ หจก.มิตรศิลปคอนกรีต กลางเมืองริเวอร์โฮม ชญาปาร์ค ศรีภูมิ รีสอร์ท บ้านสวน รีสอร์ท หล่มสัก การ์เด้นโฮม โรงแรมต้นค้อ ธนาวรรณ รีสอร์ท เอส พี รีสอร์ท Bestiny โรงแรมนกยูงทอง พรเสนาแลนด์รีสอร์ท อารี รีสอร์ท
EBook Phetchabun
.indd 30
สวนอาหาร อ.กุ้งเผา โอ๋-ไก่ หมูกระทะ
. - 22/04/2562 12:28:18 PM
132
109
118
126
140
110
120
127
141
112
121
128
142
113
122
130
144
114
124
131
146
116
125
132
161
วัดกระทุ่มทอง วัดใหม่ ไร่อุดม วัดโคกกรวด วัดรวมทรัพย์ วัดศรีภูมิ
วัดใหม่ ไทยพัฒนา วัดลัฏฐิวนาราม วัดราษฏร์ประดิษฐ์วนาราม วัดพระราชวรราชาทินัดดามาตุ วัดวังขาม
วัดท่ากกแก
.indd 31
วัดหนองไฮ
วัดศรีเทพ วัดน�้ำซับกุ้งกั้ง วัดน�้ำวิ่งวนาราม วัดทุ่งเรไร วัดอภัยมณีรัตน์ วัดธรรมยาน
ที่พักสงฆ์สวนไผ่ วัดศรีฐานปิยาราม วัดธาตุพลแพง วัดตาล
รายชื่อวัดจังหวัดเพชรบูรณ์ พุทธมณฑลจังหวัดเพชรบูรณ์
. - 23/04/2562 11:47:35 AM
UNDER HIS GRACIOUSNESS บันทึกเส้นทางใต้ร่มพระบารมี
HIS MAJESTY PROJECT FOR BETTER LIFE OF COUNTRY PEOPLE
โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรเขาค้อ อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ
ความเป็นมาของโครงการฯ
ในอดีต พื้นที่เขาค้อจังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นพื้นที่ อิทธิพลและฐานที่มั่นส�ำคัญแห่งหนึ่งของผู้ก่อการ ร้ายคอมมิวนิสต์(ผกค.) ภายใต้การชี้น�ำของพรรค คอมมิวนิสต์ แห่งประเทศไทย(พคท.) เขตภาคเหนือ ตั้งแต่ปี 2511 มีมวลชนและก�ำลังติดอาวุธส่วนใหญ่ เป็นชาวเขา เผ่าม้งและได้ขยายอิทธิพลสู่พื้นที่ราบ บริเวณรอบๆ พื้นที่เขาค้อ เพื่อสร้างมวลชนสนับสนุน ตามยุทธศาสตร์ป่าล้อมเมืองอยู่ตลอดเวลา ท�ำให้ กองทัพภาคที่ 3 (ทภ.3) และกองอ�ำนวยการรักษา ความมั่นคงภายในภาคที่ 3 (กอ.รมน. ภาค 3) ซึ่ง รับผิดชอบพืน้ ทีภ่ าคเหนือ ต้องจัดก�ำลังผสม พลเรือน ต�ำรวจ ทหาร และราษฎรอาสาสมัคร เข้าปฏิบตั กิ าร เรียกว่าการต่อสู้เพื่อเอาชนะคอมมิวนิสต์ ด้วยการใช้ ก�ำลังติดอาวุธเข้าปราบปราม การปฏิบัติการจิตวิทยา และการช่วยเหลือประชาชนโดยเฉพาะอย่างยิ่งการ ปฏิ บั ติ ก ารตามแผนยุ ท ธศาสตร์ พั ฒ นาตามแนว พระราชด�ำริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช ซึ่งพระราชทานให้กับกองทัพภาค ที่ 3 เมื่อปี 2519 คือการตัดเส้นทางเข้าไปยังพื้นที่ ซึ่งเป็นศูนย์กลางการควบคุมและการน�ำของพรรค คอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย 32
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
.indd 32
22/4/2562 17:05:08
ภายใต้โครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ เพื่อรับซื้อผลิตผลการเกษตรได้ในราคา ประกันและเป็นธรรม เพือ่ เป็นการประกัน ว่าราษฎรจะสามารถขายผลผลิตของ ตนได้ และมีรายได้เพียงพอต่อการเลีย้ ง ครอบครัวตลอดเวลา อันน�ำมาซึ่งความ อยู่เย็นเป็นสุขและความมั่นคงถาวรของ พื้นที่เขาค้อต่อไป
พร้อมกันนัน้ ก็ได้ทำ� การพัฒนาหมูบ่ า้ น เหล่านั้นให้ราษฎรรู้จักประกอบอาชีพ โดยเฉพาะการท�ำการเกษตรให้ได้ผลดี เพียงพอต่อการเลี้ยงชีพและครอบครัว และจัดสร้างสิ่งสาธารณูปโภคที่จ�ำเป็น ต่อการอยู่อาศัยอย่างถาวร พร้อมที่จะ ขยายเป็นชุมชนใหญ่ เช่น ประปา ไฟฟ้า โรงเรียน สถานีอนามัย ตลาด วัด ฯลฯ เพื่ อ ท� ำ ให้ เ กิ ด ความเจริ ญขึ้ น และให้ ความเจริ ญ นั้ น ชนะอิ ท ธิ พ ล และการ โฆษณาชวนเชื่อของพรรคคอมมิวนิสต์ แห่งประเทศไทย เรียกโครงการดัง กล่าวว่า โครงการพัฒนาลุม่ น�ำ้ เข็ก ตามพระราชด�ำริ ตั้งแต่ปี 2520 หลังจากจบการด�ำเนินตามโครงการ พัฒนาลุ่มน�้ำเข็กแล้ว พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 9 ทรงพระราชทาน
พระราชด�ำริแก่ พลเอกพิจติ ร กุลละวณิชย์ (ซึ่งเป็นบุคคลส�ำคัญท่านหนึ่งที่ผลักดัน บุกเบิกด�ำเนินการต่างๆ ในพื้นที่เขาค้อ ตัง้ แต่ตน้ จนกระทัง่ การต่อสูเ้ พือ่ เอาชนะ คอมมิวนิสต์ในพืน้ ทีเ่ ขาค้อประสบความ ส�ำเร็จ) ให้โครงการช่วยเหลือราษฎร ด้ ว ยการพระราชทานทุ น ทรั พ ย์ จั ด ตั้ ง โรงงานแปรรูปผลิตผลทางการเกษตรขึน้ โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรเขาค้อ เป็ น โครงการอั น เนื่ อ งมาจากพระราชด� ำ ริ จัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมและ พัฒนาการปลูกพืชผักและผลไม้เมืองหนาว ซึ่ง เป็นอาชีพหลักของราษฎรในอ�ำเภอเขาค้อ และ พัฒนาคุณภาพชีวติ ความเป็นอยูข่ องประชาชน และชุมชนในพื้นที่ ให้สามารถประกอบอาชีพได้ อย่างยั่งยืน มั่นคง
ในปี 2532 พลเอกพิจติ ร กุลละวณิชย์ ได้จดั ตัง้ โรงงานอุตสาหกรรมการเกษตร เขาค้ อ ขึ้ น ภายใต้ โ ครงการพั ฒ นา อุตสาหกรรมการเกษตรเขาค้อ อันเนือ่ ง มาจากพระราชด� ำ ริ ที่ บ ้ า นเขาย่ า ต� ำ บลสะเดาะพง อ� ำ เภอเขาค้ อ จังหวัดเพชรบูรณ์ เพื่อท�ำหน้าที่บริหาร จัดการงานด้านการผลิตและการตลาด อย่ า งเป็ น ระบบ โดยโครงการฯ มี วัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนให้เกษตรกร ปลูกพืชผักเมืองหนาว และผลไม้ เช่น เสาวรส สับประรส กาแฟ เป็นต้น หลัง จากนัน้ โครงการฯ ก็จะรับซือ้ ผลผลิตของ เกษตรกรเข้ามาแปรรูปต่อไป เป็นน�้ำ ผลไม้ ก ระป๋ อ ง เช่ น น�้ ำ เสาวรส น�้ ำ สับปะรด ฯลฯ เปิดท�ำการวันแรกเมื่อ วันที่ 23 พฤศจิกายน 2532 มีก�ำลัง ผลิ ต เต็ ม ที่ วั น ละ 12,000 กระป๋ อ ง (ชนิ ด เข้ ม ข้ น ขนาด 20 ออนซ์ ) โดย ส่งไปจ�ำหน่ายในตัวจังหวัดเพชรบูรณ์ และพื้ น ที่ ใ กล้ เ คี ย ง ท� ำ ให้ น�้ ำ ผลไม้ กระป๋ อ งที่ ผ ลิ ต จากโครงการฯ โดย เฉพาะน�้ำเสาวรสเริ่มเป็นที่รู้จักมากขึ้น PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 33
33
22/4/2562 17:05:15
UNDER HIS GRACIOUSNESS บันทึกเส้นทางใต้ร่มพระบารมี
ส�ำหรับนักท่องเที่ยวหรือผู้ที่สนใจเข้าชมกิจการ ภายในโรงงานอุตสาหกรรมการเกษตรเป็นหมู่คณะ ควรท�ำหนังสือติดต่อขอเข้าชมล่วงหน้า 1 สัปดาห์ ถึงผู้จัดการโรงงานอุตสาหกรรมการเกษตรเขาค้อ ต�ำบลสะเดาพงษ์ อ�ำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ โทร. 0 5672 8118-9
ปรัชญาการด�ำเนินงาน
นโยบายและแนวคิ ด ท่ า นฯพณฯ พลเอกพิจิตร กุลลวณิชย์ ในการพัฒนา พื้นที่บนเขาค้อ จ.เพชรบูรณ์ ที่ผ่านมา นัน้ ได้ยดึ การพัฒนาตาม “หลักเศรษฐกิจ พอเพี ย ง” ตามแนวพระราชด� ำ ริ ข อง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาล ที่ 9 มีการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพชีวิต ความเป็นอยู่ของประชาชนและชุมชน ในพื้ น ที่ ให้ ส ามารถประกอบอาชี พ เกษตรกรรมเป็ น อาชี พ หลั ก ได้ อ ย่ า ง ยั่งยืน มั่นคง ประกอบกับบนเขาค้อมี ภูมิประเทศที่เป็นป่าเขาสวยงาม และมี ภูมิอากาศหนาวเย็น อีกทั้งยังเป็นสถาน ที่ที่เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์การต่อสู้ 34
ของเหล่าวีรชนผู้เสียสละกับผู้ก่อการ ร้ายคอมมิวนิสต์ จึงเกิดแนวความคิดที่ จะส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาอาชีพด้าน การเกษตร ควบคูไ่ ปกับการพัฒนาเขาค้อ ให้เป็นแหล่งท่องเทีย่ ว เพือ่ ให้สอดคล้อง กับแผนส่งเสริมอุตสาหกรรมการท่อง เที่ยวที่ปัจจุบันทิศทางการท่องเที่ยวมี บทบาทส�ำคัญต่อเศรษฐกิจประเทศไทย น้อมน�ำแนวพระราชด�ำริ ฯพณฯ พลเอก พิจิตร กุลละวณิชย์ ได้มีนโยบายมอบ หมายให้ ผู้ที่เกี่ยวข้องด�ำเนินการศึกษา เกี่ยวกับการปรับโครงสร้างการด�ำเนิน งานในภาพรวมของโครงการฯ ที่ผา่ นมา มีการหารือและแลกเปลีย่ นความคิดเห็น กับหลายฝ่ายทีเ่ กีย่ วข้องในการจัดท�ำร่าง
กรอบยุทธศาสตร์ฯ และร่างแผนการ ปฏิ บั ติ ง าน บนพื้ น ฐานปั จ จุ บั น ของ การประเมินสถานภาพของเศรษฐกิ จ สังคมและชุมชนภายในโครงการฯ และ พื้นที่ใกล้เคียง ไปจนถึงภาพรวมภายใน ประเทศ รวมทัง้ ปัญหาและอุปสรรคการ ด�ำเนินงานในช่วง 20 ปีที่ผา่ นมา นอกจากนี้ พลเอกพิจติ ร กุลละวณิชย์ ยั ง ให้ ศึ ก ษาถึ ง การเปลี่ ย นแปลงของ บริ บ ทที่ ส ่ ง ผลกระทบต่ อ การพั ฒ นา อุตสาหกรรมการเกษตรแบบครบวงจร ที่ เ ริ่ ม ตั้ ง แต่ เ ตรี ย มปั จ จั ย เพื่ อ การผลิ ต การแปรูป ไปจนถึงการตลาด โดยต้อง ยึดแนวทาง “เศรษฐกิจพอเพียง” เพื่อ เป็นการน้อมน�ำแนวพระราชด�ำริด้าน
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
.indd 34
22/4/2562 17:05:20
การพั ฒ นาอาชี พ เกษตรกรรมอย่ า ง ยั่งยืน ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ทรงรับสั่งเสมอว่า ต้องเริ่ม จากสนับสนุนให้เกษตรกร และชุมชน ในพื้นที่สามารถพึ่งพาตนเองได้ ตลอด จนสามารถใช้ประโยชน์จากทรัพยากร และวัตถุดิบในท้องถิ่นอย่างรู้คุณค่า ซึ่ง ไม่เพียงแต่จะท�ำให้เกษตรกรและชุมชน มี ร ายได้ แ ละชี วิ ต ความเป็ น อยู ่ ที่ ดี ขึ้ น เท่านั้น แต่ยังเป็น ผลดีต่อการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติตา่ งๆ ด้วย จากนั้น เมื่อชุมชนมีความเข้มแข็ง และเรียนรู้ ที่จะสร้างงานจากทรัพยากร หรือสิ่งที่ ตนมีอยู่ได้ ก็จะน�ำไปสู่ความมั่นคงทาง เศรษฐกิจและสังคมของประเทศต่อไป ผนึกก�ำลังจากทุกภาคส่วน
หลั ง จากด� ำ เนิ น โครงการฯ มาได้ ระยะหนึ่ ง โรงงานอุ ต สาหกรร ม การเกษตรเขาค้ อ ได้ ป ระสบปั ญ หา เครือ่ งจักรและอุปกรณ์ตา่ งๆ เสือ่ มสภาพ ท�ำให้เกิดการสูญเสียจากกระบวนการ ผลิ ต มาก รวมทั้ ง ยั ง ใช้ น�้ ำ มั น เตาเป็ น เชือ้ เพลิงในการผลิต ท�ำให้ตน้ ทุนการผลิต สูงขึน้ จึงเป็นสาเหตุให้ไม่สามารถแข่งขัน ทางการตลาดได้ โครงการฯจึงได้การบู รณาการร่วมกันระหว่างภาครัฐ ภาค เอกชน และราษฎรในชุมชน ซึ่ ง ในระยะแรกได้ ด� ำ เนิ น การตาม แผนก่อสร้างและปรับปรุงโดยก�ำลังพล จากค่ายขุน ผาเมือง จ.เพชรบูรณ์ กรม พั ฒ นาพลั ง งานทดแทนและอนุ รั ก ษ์ พลังงาน กระทรวงพลังงาน ได้พัฒนา
ระบบผลิตลมร้อนพลังงานแสงอาทิตย์ พัฒนาตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์ที่ใช้กับ กระบวนการอบแห้ง พัฒนาหม้อไอน�้ำ เดิมขนาด 3 ตันที่ใช้เชื้อเพลิงน�้ำมันให้ เป็นการใช้เชือ้ เพลิงชีวมวล มีการเปลีย่ น หลอดไฟจากหลอดหลอดฟลูออเรสเซนต์ ให้เป็นหลอดไฟประสิทธิภาพสูง(LED) ภายในพืน้ ทีอ่ าคารและโรงงาน มหาวิทยาลัย นเรศวร จังหวัดพิษณุโลก ให้ความร่วมมือ ด้ า นนวั ต กรร มอุ ต สาหกรร มและ อุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์ การแปรรูป มะระหวานแช่อมิ่ อบแห้ง/เสาวรสแช่อมิ่ อบแห้ง (Processing of dried syruppreserved chayote) PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 35
35
22/4/2562 17:05:21
S P ECI A L INT E R V IE W
บันทึกเส้นทางพบส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด
PHETCHABUN PROVINCIAL OFFICE OF BUDDHISM ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดเพชรบูรณ์
นายอัค รชัย ได้ผ ลธัญญา
จัง หวัดเพชรบูร ณ์ เป็นเมืองที่พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองมานานนับพันปี ตั้งแต่สมัยทวารวดี แต่ไม่ว่าจะผ่านมากี่ยุคสมัย กษัตริย์หรือเจ้าเมืองเพชรบูรณ์ ล้วนเป็นผู้สร้างหรือให้การอุปถัมภ์วัดในพระพุทธศาสนามาโดยตลอด ยังผล ให้จังหวัดเพชรบูรณ์ ในยุคปัจจุบัน มีพระอริยสงฆ์ ผู้เป็นเนื้อนาบุญหลายรูป มี วัดวาอารามมากมายที่เป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวพุทธ และประชาชนมีวิถีชีวิต ที่สงบสุขภายใต้หลักธรรมค�ำสอนแห่งพระพุทธองค์
36
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
.indd 36
. - 23/04/2562 14:59:13 PM
PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 37
37
. - 19/04/2562 17:26:41 PM
SPECIAL INTERVIEW หน้าที่ของส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด 1. ด�ำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยคณะสงฆ์ และกฎหมายว่าด้วย การก�ำหนดวิทยฐานะ ผู้ส�ำเร็จวิชาการพระพุทธศาสนา รวมทั้ง กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง 2. รับสนองงาน ประสานงาน และถวายการสนับสนุนกิจการ และการบริหารการปกครองคณะสงฆ์ 3. เสนอแนวทางการก�ำหนดนโยบายและมาตรการในการคุม้ ครอง พระพุทธศาสนา 4. ส่งเสริม ดูแล รักษา และท�ำนุบำ� รุงศาสนสถานและศาสนวัตถุ ทางพระพุทธศาสนา 5. ดูแล รักษา และจัดการวัดร้างและศาสนสมบัติกลาง 6. พัฒนาพุทธมณฑลให้เป็นศูนย์กลางทางพระพุทธศาสนา 7. ท�ำนุบ�ำรุงพุทธศาสนศึกษาเพื่อพัฒนาความรู้คู่คุณธรรม 8. สนับสนุนและส่งเสริมการเผยแผ่พระพุทธศาสนาทัง้ ในประเทศ และต่างประเทศ รวมทั้งการเป็นศูนย์กลางพระพุทธศาสนาโลก 9. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายก�ำหนดให้เป็นอ�ำนาจหน้าที่ ของส�ำนักงานหรือตามทีน่ ายกรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย
38
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
.indd 38
. - 19/04/2562 17:26:50 PM
PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 39
39
. - 19/04/2562 17:26:53 PM
โครงการจัดสร้างพุทธมณฑลจังหวัดเพชรบูรณ์
ที่มาของโครงการ
สืบเนื่องจากมติ ค.ร.ม. ปี 2547 และมติมหาเถรสมาคม ปี 2548 รัฐบาลมีนโยบายในการปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนา การตั้งพุทธมณฑลจังหวัดถือเป็นหนึ่งในภารกิจที่จะขับเคลื่อนตาม นโยบายดังกล่าว คณะสงฆ์จังหวัดเพชรบูรณ์ ร่วมกับ จังหวัดเพชรบูรณ์ หัวหน้า ส่วนราชการ ข้าราชการ หน่วยงานทุกภาคส่วน ทหาร ต�ำรวจ และ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาศาสนาจังหวัดเพชรบูรณ์ จึงได้ด�ำเนิน โครงการจัดสร้างพุทธมณฑลจังหวัดเพชรบูรณ์ เพื่อให้เป็นสถานที่ ส�ำคัญทางพระพุทธศาสนาของจังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นศูนย์กลาง การเรี ย นรู ้ พ ระพุ ท ธศาสนา เป็ น ศู น ย์ ก ลางการบริ ห ารกิ จ การ พระพุทธศาสนาและวัฒนธรรมจังหวัดเพชรบูรณ์ และเป็นสถานที่ ประชุม อบรม สัมมนาและปฏิบัติธรรมของพระภิกษุ สามเณร และ ประชาชน
วัตถุประสงค์
เพื่อเป็นศูนย์กลางท�ำนุบ�ำรุง และเผยแผ่พระพุทธศาสนา เป็นศูนย์กลางการศึกษา ค้นคว้า อบรม สัมมนา ปฏิบัติธรรม และวิปัสสนากรรมฐานของพระภิกษุสงฆ์ และประชาชน โดยใช้ เทคโนโลยีสมัยใหม่ระบบโฮโลแกรม(Hologram) เป็นศูนย์รวม จิตใจของพุทธศาสนิกชนทัง้ ในจังหวัดเพชรบูรณ์ ในประเทศไทย และ ทัว่ โลก และเพือ่ เป็นพุทธานุสรณ์สถานเจดียธ์ รรมจักรวงแหวนเหมือน ดาวเสาร์ ทีย่ งิ่ ใหญ่ดา้ นสถาปัตยกรรมและอารยสถาปัตย์ ตลอดจน เป็นการพัฒนาด้านศิลปวัฒนธรรม การท่องเทีย่ วของจังหวัดเพชรบูรณ์ 40
ความคืบหน้าของโครงการ
โดยเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2562 ที่ผ่านมา นายสืบศักดิ์ เอีย่ มวิจารณ์ ผูว้ า่ ราชการจังหวัดเพชรบูรณ์ พร้อมด้วยคณะกรรมการ ฝ่ายสงฆ์และฆราวาส เข้าเฝ้าเจ้าพระคุณสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก เพื่อขอรับประทาน พระกรุณาทรงเจิมแผ่นศิลาฤกษ์ ไม้มงคล อิฐทอง เงิน นาก แผ่นทอง เงิน นาก และตลับนพรัตน์ สร้างพุทธมณฑลจังหวัดเพชรบูรณ์ ณ ต� ำ หนั ก สมเด็ จ พระสั ง ฆราช วั ด ราชบพิ ธ สถิ ต มหาสี ม าราม ราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร โดยผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบูรณ์ ได้ ก ล่ า วถวายรายงานว่ า คณะกรรมการฝ่ า ยสงฆ์ แ ละฆราวาส ต่างส�ำนึกในพระเมตตาคุณของใต้ฝ่าพระบาทที่ได้ทรงพระกรุณา ประทานโอกาสให้ เ ข้ า เฝ้ า ขอรั บ ประทานพระกรุ ณ าทรงเจิ ม แผ่นศิลาฤกษ์ ไม้มงคล อิฐทอง เงิน นาก แผ่นทอง เงิน นากและ ตลับนพรัตน์ ส�ำหรับใช้ประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์สร้างพุทธมณฑล จังหวัดเพชรบูรณ์ ทั้งนี้ จังหวัดเพชรบูรณ์ได้ก�ำหนดประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์ สร้างพุทธมณฑล ในวันที่ 29 มีนาคม 2562 ณ สถานที่สร้าง บริ เ วณศู น ย์ ร าชการจั ง หวั ด เพชรบู ร ณ์ โดยมี พลเอกสุ ร ยุ ท ธ์ จุลานนท์ องคมนตรี เป็นประธานประกอบพิธี ซึ่งในพิธีดังกล่าว มีพระมหาเถระ พระวิปัสสนาจารย์ จากจังหวัดเลย หนองคาย อุดรธานี ชัยภูมิ หนองบัวล�ำภู จันทบุรี และจังหวัดเพชรบูรณ์ เจริ ญ พระพุ ท ธมนต์ ก ่ อ นถึ ง พิ ธี ว างศิ ล าฤกษ์ พระภิ ก ษุ ส งฆ์ ใ น จังหวัดเพชรบูรณ์ ทัง้ มหานิกายและธรรมยุต ร่วมในพิธกี ว่า 1,000 รูป พร้อมด้วยข้าราชการตุลาการ ศาล ทหาร ต�ำรวจ ข้าราชการ และ ประชาชน เข้าร่วมเป็นจ�ำนวนมาก
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
.indd 40
. - 19/04/2562 17:27:03 PM
วัดดีน่าเที่ยว
ลักษณะสถาปัตยกรรมพระมหาเจดีย์มรรคญาณ
ฐานองค์เจดีย์ มีเส้น ผ่าศูนย์กลาง 79 เมตร สูง 119 เมตร มีสระบัวรอบองค์เจดีย์ เส้น ผ่าศูนย์กลาง 140 เมตร ในแต่ละชั้น มีสะพานเชื่อมต่อกับอาคาร 8 เส้นทาง เป็นก้านธรรมจักรทุกชั้น บนธรรมจักรทุกวงสามารถเดินจงกรมได้ ชัน้ ล่างระหว่างก้านธรรมจักร เป็นสระบัวสี่เหล่า ภายในเจดีย์บรรจุค�ำสอนขององค์พระสัมมา สัมพุทธเจ้า ที่จะน�ำพุทธศาสนิกชนไปสู่ความดับทุกข์ ตามหลัก อริยมรรคมีองค์ 8 และปฏิจจสมุปบาท องค์เจดีย์ แบ่งเป็น 5 ชั้น ชั้นที่ 1 ชั้นปุถุชนที่มีสัมมาทิฏฐิ ชั้นที่ 2 ชั้นโสดาปัตติมรรค ชั้นที่ 3 ชั้นสกิทาคามีมรรค ชั้นที่ 4 ชั้นอนาคา มีมรรค ชั้นที่ 5 ชั้นอรหันตมรรค ส่วนยอดเจดีย์ คือ พระนิพพาน โดยพระครูใบฎีกาอ�ำนาจ โอภาโส มูลนิธิปฏิจจสมุปบาท เป็น ผู้ออกแบบพระมหาเจดีย์มรรคญาณ พุทธมณฑลจังหวัดเพชรบูรณ์
ติดต่อส�ำนักงาน
ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดเพชรบูรณ์ วัดมหาธาตุ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ 67000 โทรศัพท์ : 0-5671-3174 โทรสาร : 0-5671-1824 PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 41
41
. - 19/04/2562 17:27:12 PM
ท�ำเนียบการปกครองคณะสงฆ์ จังหวัดเพชรบูรณ์
พระศรีพัชโรดม (ป.ธ.9,พธ.ด.)
เจ้าคณะจังหวัดเพชรบูรณ์ วัดมหาธาตุพระอารามหลวง ต.ในเมือง อ.เมืองเพชรบูรณ์ จ.เพชรบูรณ์ 67000 โทร 089-459-1299
พระพิศาลพัชรกิจ
รองเจ้าคณะจังหวัดเพชรบูรณ์ วัดมหาธาตุพระอารามหลวง ต.ในเมือง อ.เมืองเพชรบูรณ์ จ.เพชรบูรณ์ 67000 โทร 081-785-7611
พระครูสันติพัชรสาร
เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองเพชรบูรณ์ วัดดงมูลเหล็ก ต.ดงมูลเหล็ก อ.เมืองเพชรบูรณ์ จ.เพชรบูรณ์ 67000 โทร 087-850-6168
42
พระปริยัติพัชราภรณ์ ดร.
รองเจ้าคณะจังหวัดเพชรบูรณ์ วัดไพรสณฑ์ศักดาราม ต.หล่มสัก อ.หล่มสัก จ.เพชรบูรณ์ 67110 โทร 086-206-7705
พระครูพัชรคณาภิบาล
เจ้าคณะอ�ำเภอหล่มสัก วัดเขาค้อพัฒนาราม ต.เขาค้อ อ.เขาค้อ จ.เพชรบูรณ์ 67270 โทร 083-161-2239
พระครูอนุรักษ์ พัชรธรรม
เจ้าคณะอ�ำเภอหล่มเก่า วัดสระเกศ ต.หล่มเก่า อ.หล่มเก่า จ.เพชรบูรณ์ 67120 โทร 081-474-2161
SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา
.indd 42
22/4/2562 10:32:52
พระสุธีวชิราภรณ์ (ป.ธ.9,ดร.)
พระมหาธนินทร์ นราสโภ
พระครูปัญญาพัชราธร
เจ้าคณะอ�ำเภอวิเชียรบุรี วัดประชานิมิต ต.ท่าโรง อ.วิเชียรบุรี จ.เพชรบูรณ์ 67130 โทร 081-886-7394
เจ้าคณะอ�ำเภอหนองไผ่ วัดล�ำบัวพัฒนา ต.บัวพัฒนา อ.หนองไผ่ จ.เพชรบูรณ์ 67140 โทร 091-837-4401
เจ้าคณะอ�ำเภอชนแดน วัดวารีวงษ์ ต.ดงขุย อ.ชนแดน จ.เพชรบูรณ์ 67190 โทร 084-666-6155
พระครูสิริพัชโรภาส
พระครูถาวรพัชรโสภณ
พระครูอาทรวชิรคุณ
เจ้าคณะอ�ำเภอบึงสามพัน วัดซับสมอทอด ต.บึงสามพัน อ.บึงสามพัน จ.เพชรบูรณ์ 67160 โทร 081-379-6845
เจ้าคณะอ�ำเภอศรีเทพ วัดศิริมงคล ต.โคกสะอาด อ.ศรีเทพ จ.เพชรบูรณ์ 67170 โทร 089-267-6264
พระครูสุเขตพัชรคุณ
เจ้าคณะอ�ำเภอเขาค้อ วัดบ้านนายาว ต.ทุ่งสมอ อ.เขาค้อ จ.เพชรบูรณ์ 67270 โทร 081-0396-8260
เจ้าคณะอ�ำเภอวังโป่ง วัดสว่างสันติธรรม ต.วังหิน อ.วังโป่ง จ.เพชรบูรณ์ 67240 โทร 087-842-0658
พระครูพัชรคณาภิรักษ์
เจ้าคณะอ�ำเภอน�ำ้ หนาว วัดโคกมน ต.โคกมน อ.น�ำ้ หนาว จ.เพชรบูรณ์ 67260 โทร 090-329-9978
CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 43
43
22/4/2562 10:32:57
44
SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา
.indd 44
22/4/2562 10:32:58
คนเราทุกวันนี้ดิ้นรนไขว่คว้า
หาสิ่งที่ ไม่มีเเละสุดท้าย ทุกคนก็จะได้ ในสิ่งเดียวกัน คือไม่ ได้อะไร”
CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 45
45
22/4/2562 10:32:59
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดมหาธาตุ
สักการะ 3 มหามงคล 3 สิ่งศักดิ์สิทธิ์
พระเดชพระคุณพระพิศาลพัชรกิจ (ชูชาติ ชุติปญฺโญ) ผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสพระอารามหลวงวัดมหาธาตุ
วัดมหาธาตุ เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ ตั้งอยู่เลขที่ 29 ถนนนิกรบ�ำรุง ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีทดี่ นิ ตัง้ วัดเนือ้ ที่ 17 ไร่ 3 งาน 33 ตารางวา เป็นที่ประดิษฐานสิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองเพชรบูรณ์ 3 องค์ ได้แก่ หลวงพ่อเพชรมีชัย หลวงพ่องาม และพระมหาธาตุเจดีย์
ปลายปี พ.ศ. 2453 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 6 ภายหลัง เสด็จขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติแล้ว มีพระราชพิธีราชาภิเษก ทรงรับน�้ำจากสระมนในวัดมหาธาตุไปร่วมในพระราชพิธี (ปัจจุบัน ถมตื้นเขินหมดแล้ว)
ประวัติความเป็นมา
พระเจดียใ์ หญ่ทรงพุม่ ข้าวบิณฑ์ ก่อด้วยอิฐ ฐานศิลาแลง สันนิษฐานว่า สร้างขึ้นประมาณพ.ศ. 1926 และเป็นที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ อัฐิพระอรหันต์ พระบูชาและพระเครื่องแบบต่างๆ ยอดเจดีย์หักช�ำรุด ลักษณะเจดียค์ ล้ายกับเจดียท์ อี่ ยูใ่ นเมืองเก่าสุโขทัย คือเจดียแ์ บบดอกบัวตูม อยู่บนยอด เรียกว่าเจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์แบบสุโขทัย พระเจดีย์องค์เล็ก 2 องค์ พระพุทธรูปสมัยอู่ทองตอนต้น 2 องค์ หล่อด้วยทองสัมฤทธิ์ปางมารวิชัยหน้าตักกว้าง 36 นิ้ว องค์ที่ 1
จากลานทองจารึกที่ขุดพบในพระเจดีย์หลังพระอุโบสถ สันนิษฐานว่า พระเจ้าเพชรบูรณ์เป็นผู้สร้างวัดนี้ เมื่อประมาณปีพ.ศ. 1926 และได้ สร้างพระเจดีย์บรรจุพระพุทธรูปบูชา และพระเครื่อง ปีพ.ศ. 2447 สมเด็จกรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ เสด็จเมืองเพชรบูรณ์และรับสั่งให้ เจ้าเมืองเพชรบูรณ์ เกณฑ์ผคู้ นมาถางต้นไม้บริเวณวัด และองค์พระเจดีย์ แล้วเสด็จมานมัสการพระปฏิมากร พระเจดีย์ และกระท�ำพิธีบวงสรวง 46
4
สิ่งส�ำคัญภายในวัด
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
.indd 46
19/4/2562 17:47:02
หลวงพ่องาม ประดิษฐานเป็นพระประธานในพระอุโบสถ องค์ที่ 2 หลวงพ่อเพชรมีชัย ประดิษฐานในพระวิหารหลวง วัดมหาธาตุ มี อ าคารเรี ย นพระปริ ยั ติ ธ รรม 1 หลั ง ศาลาการเปรี ย ญ 1 หลั ง พระเทพรัตนกวี อัญมณีแห่งเมืองเพชรบูรณ์พระมหาเถระผู้เปี่ยมยิ่ง ด้วยเมตตาธรรม พระเดชพระคุณพระเทพรัตนกวี อดีตเจ้าอาวาส พระอารามหลวงวัดมหาธาตุ อดีตที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดเพชรบูรณ์ สถานะเดิม นายสุรินทร์ แย้มสุข เกิดเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2480 ตรงกับวันขึน้ 15 ค�ำ่ เดือน 3 วันมาฆบูชา ณ บ้านหาเหนือ อ�ำเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์ บิดามารดา นายนาค และ นางมณี แย้มสุข ชีวิตทางธรรม พ.ศ. 2493-2499 บิดา-มารดา ได้ยกให้เป็นบุตร บุญธรรมของพระครูอุทัยธรรมวินิจ (จิ๋ว สุขาจาโร ป.ธ.3) วัดเนินเหล็ก
อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี และได้ย้ายไปอยู่วัดเนินเหล็ก บรรพชา เป็นสามเณร เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2494 ณ วัดเนินเหล็ก 6 ปี เมื่ออายุ 13-19 ปี โดยมีพระอุดมธรรมภาณ (สม สุนทรธมโม ป.ธ.3) วัดทัพทัน อ�ำเภอทัพทัน จังหวัดอุทัยธานี เป็นพระอุปัชฌาย์
วิทยฐานะ
พ.ศ.2494 สอบได้นักธรรม ชั้นตรี ณ วัดเนินเหล็ก จังหวัดอุทัยธานี พ.ศ.2495 สอบได้นักธรรมชั้นโท ณ วัดเนินเหล็ก จังหวัดอุทัยธานี พ.ศ.2496 สอบได้นักธรรมชั้นเอก ณ วัดเนินเหล็ก จังหวัดอุทัยธานี ศึกษาพระบาลีที่วัดโพธาราม 7 ปี เมือ่ อายุ 19-25 ปี พ.ศ. 2499-2506 พระอุทยั ธรรมวินจิ ได้นำ� ไปฝาก เป็นศิษย์ศึกษาบาลี กับพระธรรมคุณาภรณ์ (เช้า ฐิตปญฺโญ ป.ธ.9) วัด โพธาราม อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ ได้เดินทางย้ายไปอยู่เมื่อวัน ที่ 16 พฤษภาคม 2499 ได้รับการศึกษาวิชาการต่างๆ พ.ศ. 24992503 ได้มกี ารเรียนบาลี, พระไตรปิฎก, พระอภิธรรม, ภาษาอังกฤษ ครูมลู , พระกรรมฐาน ปฏิบตั ศิ าสนกิจในต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดมหาธาตุ รูปที่ 10 พระมหาสุรินทร์ ชุตินธโร ได้ผ่านการจ�ำพรรษา 4 วัด 3 จังหวัด และ ได้มาหยุดอยู่ที่วัดสุดท้าย คือวัดมหาธาตุ ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ได้ปฏิบัติศาสนกิจ ดังนี้ คือ 1. วัดโพธาราม จังหวัดนครสวรรค์ พ.ศ.2503 เป็นครูสอนพระปริยัติธรรม 2. วัดโกรกพระใต้ จังหวัดนครสวรรค์ พ.ศ. 2506 เป็นครูสอนพระปริยัติธรรม เป็นพระธรรมทูต เป็น ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดโกรกใต้ ได้รับมอบหมายให้จัดตั้ง และควบคุมการเรียนการสอบนวกะภูมิ อ�ำเภอโกรกพระ ซึ่งขณะนั้นยังไม่มี ได้ รั บมอบหมายให้ จั ด ตั้ ง และควบคุ ม การอยู ่ ป ริ ว าสกรรม ณ วัดโกรกพระเหนือ ได้รับมอบหมายให้จัดตั้งและควบคุมการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน แก่ผู้รักษาอุโบสถประจ�ำในทุกๆ วันพระ ได้รับมอบหมาย ให้จัดตั้งและควบคุมการอบรมผู้สูงอายุ ได้รับมอบหมาย ให้จัดโครงการ “ พระสงฆ์เข้าถึงประชาชน ”
PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 47
47
19/4/2562 17:47:06
3. วัดมหาธาตุ จังหวัดเพชรบูรณ์ พ.ศ. 2513 เป็นครูสอนพระปริยัติธรรมวัดมหาธาตุ เป็นธรรมทูต จังหวัดเพชรบูรณ์ และเป็นผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดมหาธาตุ พ.ศ. 2514 เป็ น เจ้ า คณะอ� ำ เภอเมื อ งเพชรบู ร ณ์ และสอบไล่ ได้ เ ปรี ย ญธรรม 7 ประโยค ส� ำ นั ก เรี ย นคณะจั ง หวั ด เพชรบู ร ณ์ วัดมหาธาตุ จังหวัดเพชรบูรณ์ พ.ศ. 2515 เป็นรองประธานศูนย์ส�ำนักศาสนศึกษา วัดมหาธาตุ พ.ศ. 2517 เข้าอบรมโรงเรียนพระสังฆาธิการรุน่ ที่ 6 วัดสามพระยา กทม. ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ (ส.ป.) ในราชทินนามที่ พระศรีพัชโรดม พ.ศ. 2519 ได้รบั แต่งตัง้ เป็นพระอุปชั ฌาย์และเริม่ ก่อตัง้ มูลนิธกิ ารศึกษา วัดมหาธาตุ
48
4
พ.ศ. 2522 เป็นกรรมการตรวจใบตอบธรรมสนามหลวง และเป็น ประธานโครงการทอดกฐินเพื่อสงเคราะห์วัดยากจน พ.ศ. 2523 เป็นประธานโครงการบวชพรหมจาริณี พ.ศ. 2524 เป็นเจ้าอาวาสวัดมหาธาตุ (วัดราษฎร์) พ.ศ. 2525 เป็นผู้จัดการโรงเรียนปริยัติสามัญ วัดมหาธาตุ พ.ศ. 2526 เป็นประธานหน่วยบรรพชาสามเณรภาคฤดูรอ้ น วัดมหาธาตุ พ.ศ. 2527 เป็นเจ้าอาวาส วัดมหาธาตุ พระอารามหลวง พ.ศ. 2529 เป็นประธานชมรมผู้ปฏิบัติธรรม พ.ศ. 2530 เป็นประธานโครงการอุโบสถสัญจร พ.ศ. 2532 เป็นพระปริยัตินิเทศ จังหวัดเพชรบูรณ์ พ.ศ. 2534 เป็นครูใหญ่โรงเรียนปริยัติสามัญ วัดมหาธาตุ พ.ศ. 2535 เป็นรองประธานพระธรรมทูต จังหวัดเพชรบูรณ์ พ.ศ. 2540 เป็นเจ้าคณะจังหวัดเพชรบูรณ์ พ.ศ. 2543 ได้รบั พระราชทานเลือ่ นสมณศักดิเ์ ป็นพระราชาคณะชัน้ ราช ในราชทินนามที่ พระราชพัชราภรณ์ พ.ศ. 2546 เป็นเจ้าส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดเพชรบูรณ์ พ.ศ. 2551 ได้รบั พระราชทานเลือ่ นสมณศักดิเ์ ป็นพระราชาคณะชัน้ เทพ ในราชทินนามที่ พระเทพรัตนกวี ปฏิบัติศาสนกิจ ตามต�ำแหน่งที่ได้รับ แต่งตั้งและมอบหมายถึงปัจจุบัน ศาสนกิจและหน้าที่พิเศษอื่นๆ เป็นกรรมการพิจารณาอนุมัติสร้างวัดในเขตป่าสงวน เป็นกรรมการพิจารณาขออนุมัติเงินอุดหนุนบูรณะวัด เป็นกรรมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เป็นกรรมการที่ปรึกษามูลนิธิการศึกษา วัดมหาธาตุ เป็นกรรมการที่ปรึกษายุวพุทธิสมาคม จังหวัดเพชรบูรณ์ ได้รับเข็มเกียรติคุณ นักพัฒนาแผ่นดินธรรมแผ่นดินทอง จาก พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ พ.ศ.2529 สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆ ปริ ณ ายก (วาสน์ วาสโน) ประทานพั ด วั ด พั ฒนาตั ว อย่ า งดี เ ด่ น พ.ศ.2529 เป็ น พระสั ง ฆานุ รั ก ษ์ สิ่ ง แวดล้ อ ม จากกระทรวง วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและพลังงานแห่งชาติ พ.ศ. 2534 ได้รบั พระราชทานเสาเสมาธรรมจักร จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ พ.ศ.2540ได้รับยกย่องในแผนการส่งเสริมการปฏิบัติธรรม พ.ศ. 2542 จากสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆ ปริณายก (เจริญ สุวฑฺฒโน)
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
.indd 48
19/4/2562 17:47:12
สรีระสังขารพระเดชพระคุณหลวงปู่พระเทพรัตนกวี ได้รับโล่ผู้มีผลงานดีเด่นทางด้านวัฒนธรรม จังหวัดเพชรบูรณ์ จาก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2542 ได้รับปริญญาครุศาสตร์มหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัย ราชภัฏเพชรบูรณ์ พ.ศ. 2545 ได้รบั ปริญญาพุทธศาสตร์ดษุ ฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2554 ได้รบั อาราธนาให้แสดงธรรมประจ�ำวันพระ ณ สถานีวทิ ยุกระจายเสียง ค่ายพ่อขุนผาเมือง(พ.ท.ต.1617) อ�ำเภอหล่มสัก พ.ศ. 2521-2528 รวม 7 ปี ได้ รั บ อาราธนาให้ บ รรยายธรรม รายการพุ ท ธภาษิ ต สะกิ ด ใจ เวลา 06.00 น. ทุกวัน ณ สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย จังหวัดเพชรบูรณ์(ส.ว.ท.) พ.ศ. 2539-2547
PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 49
49
19/4/2562 17:47:17
50
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
.indd 50
19/4/2562 16:29:44
วัดสวยเขาค้อ กลางทะเลหมอก วัดพระธาตุผาซ่อนแก้ว
PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 51
51
19/4/2562 16:29:45
TRAVELING IN A PREHISTORIC บันทึกเส้นทางความเป็นมาจังหวัดเพชรบูรณ์
เพชรบูรณ์ 1 ใน 10 เมืองอุทยาน ประวัติศาสตร์ของไทย
PHETCHABUN
HISTORICAL PARK OF THAILAND 1 IN 10 จังหวัดเพชรบูรณ์มีลักษณะภูมิประเทศเป็นภูเขา เนินเขาและแม่น�้ำ และมีพื้นที่ราบเหมาะ แก่การเพาะปลูก จึงเอื้อต่อการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ และ มีพัฒนาการทางประวัติศาสตร์เรื่อยมาจนถึงยุคปัจจุบัน โดยมีเมืองโบราณศรีเทพ ที่ ได้ รับการประกาศเป็น 1 ใน 10 อุทยานประวัติศาสตร์ของไทย 52
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
.indd 52
19/4/2562 16:29:47
สมัยก่อนประวัติศาสตร์
้ ถิน ในสมัยก่อนประวัตศ ิ าสตร์ การตัง ่ ฐาน ของมนุษย์ในเขตจังหวัดเพชรบูรณ์ สามารถแบ่งย่อยออกเป็น 3 กลุ่ม
1
กลุ่มพื้นที่ด้านตะวันตก อ�ำเภอที่พบหลักฐาน การตั้งถิ่นฐานมากที่สุดคือ อ�ำเภอวังโป่ง เป็นแหล่งโบราณคดีสมัย ก่ อ นประวั ติ ศ าสตร์ ต อนกลาง แหล่ ง โบราณคดีส�ำคัญได้แก่ แหล่งโบราณคดี ถ�้ำเขาขาด แหล่งโบราณคดีดอยน�้ำโจก แหล่งโบราณคดีไร่นายโอน วังคีรี และ แหล่ ง โบราณคดี วั ด เกตุ ส ามั ค คี ธ รรม แหล่งโบราณคดีเหล่านี้ กรมศิลปากร ได้ส�ำรวจ เมื่อปี พ.ศ.2528 พบว่าเป็น ชุมชนการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ ในช่วง สั ง คมหาของป่ า ล่ า สั ต ว์ ใ นตอนปลาย ก่อนจะเข้าสู่สังคมกสิกรรม ใช้ถ�้ำเพิงผา เป็ น ที่ พั ก อาศั ย มี ก ารผลิ ต เครื่ อ งมื อ เครื่องใช้ประเภทหินขัด เช่น ก�ำไลหิน ขวานหิ น ชุ ม ชนเหล่ า นี้ ก� ำ หนดอายุ ได้ประมาณ 3,000-4,000 ปีมาแล้ว ลั ก ษณะชุ ม ชนในช่ ว งนี้ พบกระจาย อยู ่ ใ นพื้ น ที่ ด ้ า นตะวั น ตกของจั ง หวั ด เพชรบูรณ์ ซึ่งน่าจะมีความสัมพันธ์กับ แหล่งโบราณคดีสมัยก่อนประวัตศิ าสตร์ ในเขตจังหวัดพิจิตรและพิษณุโลก แหล่ ง โบราณคดี ใ นกลุ ่ ม นี้ มี ก าร พั ฒ นาอย่ า งต่ อ เนื่ อ งจนเข้ า สู ่ ส มั ย ประวัตศิ าสตร์ เพราะนอกจากเครือ่ งมือ หินแล้วยังพบเครื่องมือเครื่องใช้โลหะ เช่น ขวานส�ำริด และพบเครือ่ งปัน้ ดินเผา สมัยต่างๆ รวมถึงเครื่องถ้วยสุโขทัย ที่พบแพร่ กระจายในชุมชน และเมืองต่างๆ ในเขตจังหวัดเพชรบูรณ์มาตัง้ แต่ประมาณ พุทธศตวรรษที่ 20
กลุ่มพื้นที่ด้านตะวันออกส่วนล่าง ได้ แ ก่ พื้ น ที่ ใ นเขตอ� ำ เภอบึ ง สามพั น อ� ำ เภอวิ เ ชี ย รบุ รี และอ� ำ เภอศรี เ ทพ แหล่งโบราณคดีกลุ่มนี้ สะท้อนให้เห็น ลักษณะการตัง้ ถิน่ ฐานของมนุษย์ ในแถบ ลุ่มน�้ำป่าสัก ซึ่งมีความสัมพันธ์อย่าง ใกล้ชิดกับแหล่งโบราณคดีในเขตพื้นที่ จังหวัดลพบุรี พัฒนาการการตั้งถิ่นฐาน ของมนุษย์ในกลุ่มนี้ พบอย่างชัดเจนใน ช่วงสังคมเกษตรกรรม ก่อนทีจ่ ะเข้าสูย่ คุ ประวัตศิ าสตร์ แหล่งโบราณคดีสว่ นใหญ่ เป็นหลุมฝังศพที่พบเครื่องมือเครื่องใช้ และเครื่องประดับร่วมกับโครงกระดูก ลักษณะการเลือกพืน้ ทีต่ งั้ ถิน่ ฐาน ได้เริม่ ลงจากที่สูงมาสู่ที่ราบใกล้แหล่งน�้ำ โดย เฉพาะอย่างยิ่งแม่น�้ำป่าสัก และแม่น้�ำ สาขา
3
กลุ่มพื้นที่ส่วนบนของจังหวัดเพชรบูรณ์ ได้แก่ บริเวณอ�ำเภอหล่มสัก อ�ำเภอ หล่ ม เก่ า และอ� ำ เภอเมื อ งฯ นั บ เป็นพื้นที่ที่มีการพัฒนาการการ ตั้ง ถิ่ น ฐานในระยะหลั ง กว่ า กลุ ่ ม อื่ น โดยเข้าสู่สมัยประวัติศาสตร์ และ หลั ก ฐานเก่ า แก่ ที่ สุ ด น่ า จะเป็ น เมืองที่เจริญขึ้นในสมัยสุโขทัย เช่น เมืองเพชรบูรณ์ ตามที่มีกล่าวถึงใน ศิลาจารึกสมัยสุโขทัย เมือ่ ประมาณ กลางพุทธศตวรรษที่ 20 เมืองนี้ได้ เจริญสืบมาอย่างต่อเนือ่ ง จนกระทัง่ เป็ น ที่ ตั้ ง ของจั ง หวั ด เพชรบู ร ณ์ ปัจจุบัน และเมืองนครเติด ในเขต อ�ำเภอหล่มเก่า PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 53
53
19/4/2562 16:29:52
TRAVELING IN A PREHISTORIC บันทึกเส้นทางความเป็นมาจังหวัดเพชรบูรณ์
สมัยประวัติศาสตร์ พบหลักฐานของการติดต่อสัมพั นธ์กับ แหล่งชุมชน ซึ่งมีวัฒนธรรมแบบทราวดี
สภาพของเมืองศรีเทพปรากฎหลักฐาน ก�ำแพงเมือง คูเมืองโบราณสถาน โบราณ วั ต ถุ ใ นวั ฒนธรรมทวารวดี ซึ่ ง มี อ ายุ อ ยู ่ ประมาณพุทธศตวรรษที่ 11-12 แสดงว่า เมื อ งศรี เ ทพเป็ น แหล่ ง ชุ ม ชนขนาดใหญ่ มีความเจริญทางวัฒนธรรมอย่างสูง มีการ สร้างศาสนสถาน และศาสนวัตถุทไี่ ด้รบั การ ถ่ายทอดอิทธิพลจากทวารวดี มีจารึกที่ใช้ ภาษาสันสกฤต อักษรปัลลวะ เป็นจารึก เกี่ยวกับเรื่องราวทางศาสนา และกล่าวถึง พระเจ้าแผ่นดิน ผู้ปกครองของสังคมเมือง เมืองศรีเทพในระยะต่อมา มีศาสนสถาน ในศาสนาฮินดู คือ ปรางค์ศรีเทพ ปรางค์ สองพี่น้องและโบราณวัตถุรูปโคนนทิ รูป ศิวลึงค์ เป็นต้น นักโบราณคดีศึกษาแล้ว ก�ำหนดว่ามีอทิ ธิพลของเขมร เมือ่ ประมาณ พุทธศตวรรษที่ 16-18 อาจกล่าวได้วา่ เมือง ศรีเทพเป็นเมืองขนาดใหญ่ มีความส�ำคัญ ในลุม่ แม่นำ�้ ป่าสัก เป็นศูนย์กลางการติดต่อ 54
เดินทางของผู้คนในบริเวณลุ่มแม่น�้ำป่าสัก ลุม่ แม่นำ�้ มูล-แม่นำ�้ ชี มาตัง้ แต่พทุ ธศตวรรษ ที่ 16-18 อย่างต่อเนื่อง เมื อ งศรี เ ทพ จึ ง นั บ เป็ น แหล่ ง อารยธรรมทีส่ ำ� คัญแห่งหนึง่ ซึง่ กรมศิลปากร กระทรวงวั ฒ นธรรม ได้ จั ด ตั้ ง ขึ้ น เป็ น อุทยานประวัติศาสตร์เมื่อปี พ.ศ. 2527 และเป็นหนึ่งในสิบอุทยานประวัติศาสตร์ ของประเทศไทยในปัจจุบัน เนื่องจากยัง เป็ น พื้ น ที่ ที่ ป รากฎร่ อ งรอยหลั ก ฐานซึ่ ง สะท้อนให้เห็นถึงการตั้งถิ่นฐานอยู่อาศัย ของมนุษย์ที่มีมาอย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่ สมัยก่อนประวัตศิ าสตร์ วัฒนธรรมทวารวดี และเขมรตามล�ำดับ ซึ่งรวมระยะเวลาที่มี ความเจริญรุง่ เรืองถึงกว่า 800 ปี ก่อนทีจ่ ะ ถูกทิ้งร้างไปด้วยสาเหตุโรคระบาดร้ายแรง หรือปัญหาภัยแล้งประการใดประการหนึ่ง หรื อ ทั้ ง สองประการ ในราวปลายพุ ท ธ ศตวรรษที่ 18 - ต้นพุทธศตวรรษที่ 19 อันเป็นช่วงก่อนที่วัฒนธรรมสุโขทัยและ อยุ ธ ยาจะเจริ ญ รุ ่ ง เรื อ งขึ้ น มาแทนที่ ใ น บริเวณลุ่มแม่น�้ำป่าสัก
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
.indd 54
19/4/2562 16:29:57
สมัยสุโขทัย เมืองเพชรบูรณ์มีฐานะเป็นเมือง แว่นแคว้นด้านตะวันออกเฉียงใต้
พ่อขุนรามค�ำแหงได้แผ่ขยายอาณาเขต อย่างกว้างขวาง ซึ่งมีข้อความตอนหนึ่ง กล่าวถึงการแผ่ขยายมาถึงพืน้ ทีด่ า้ นตะวัน ออกของสุ โ ขทั ย ตามศิ ล าจารึ ก พ่ อ ขุ น รามค�ำแหงหลักที่ 1 ด้านที่ 4 และศิลา จารึกหลักที่ 93 วัดอโศการาม ด้านที่ 2 พ.ศ.1949 จากศิลาจารึกหลักที่ 1 ค�ำว่า “ลุมบาจาย” นั้น เชื่อว่าได้แก่เมืองหล่มเก่า และศิลา จารึกหลักที่ 93 ค�ำว่า “วัชชปุระ” เชื่อ ว่าเป็นเมืองเพชรบูรณ์ แสดงให้เห็นว่า อาณาเขตของกรุงสุโขทัย ในสมัยพ่อขุน รามค� ำ แหงมหาราชและสมั ย พระมหา ธรรมราชาลิ ไ ทย (พ.ศ.1911) มี เ มื อ ง เพชรบูรณ์เป็นรัฐสีมา ก่ อ นที่ ก รุ ง สุ โ ขทั ย จะรุ ่ ง เรื อ งขึ้ น มานั้ น จารึกสุโขทัยหลักที่ 2 (จารึกวัดศรีชุม) ได้ ปรากฏชื่อพ่อขุนผาเมือง (โอรสพ่อขุนนา วน�ำถุม ผู้ครองเมืองราด) ร่วมกับพ่อขุน บางกลางหาว ท�ำการยึดเมืองสุโขทัยคืน จากขอมสมาสโขลญล�ำพง และได้ให้ พ่ อ ขุ น บางกลางหาวเป็ น กษั ต ริ ย ์ ค รอง เมืองสุโขทัยต่อไป ชาวเพชรบูรณ์จึงเคารพนับถือและ ได้ ส ร้ า งอนุ ส าวรี ย ์ ข องท่ า นไว้ ที่ อ�ำเภอหล่มสัก เพื่อร�ำลึกถึงคุณความดีของ พระองค์สืบไป PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 55
55
19/4/2562 16:30:00
TRAVELING IN A PREHISTORIC บันทึกเส้นทางความเป็นมาจังหวัดเพชรบูรณ์
สมัยอยุธยา เมืองเพชรบูรณ์ขึ้นกับกรุงศรีอยุธยา ตามที่ปรากฎในพระไอยการต�ำแหน่ง นายทหารหัวเมือง
ในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ.1991-2031) ได้ทรงตั้งท�ำเนียบส่วน ราชการ โดยมี บ ทพระไอยการต� ำ แหน่ ง นายทหารหั ว เมื อ ง ก� ำ หนดศั ก ดิ น าตาม ต�ำแหน่งยศหน้าที่ ราชทินนามฝ่ายทหาร มี พระยาเพชรรัตน์สงคราม ประจ�ำเพชรบูรณ์ พื้ น ที่ จั ง หวั ด เพชรบู ร ณ์ ใ นช่ ว งเวลานั้ น 56
เมืองศรีถมอรัตน์ (ศรีเทพ) ขึน้ ท�ำเนียบเป็น หัวเมืองรวมอยู่ด้วย ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งผู้ว่า ราชการเมืองเป็นที่พระศรีถมอรัตน์ ตาม ชื่ อเขาแก้ ว หรื อเขาถมอรั ตน์ ซึ่ ง เป็ นเขา ส�ำคัญของเมือง ในรัชสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ์ ได้กล่าวถึงทัพพระไชยเชษฐา ได้สง่ กองทัพ มาช่วยกรุงศรีอยุธยาครัง้ ศึกบุเรงนอง เมือ่ ปี พ.ศ.2111 ได้ยกเข้ามาทางด่านเมืองนครไทย เข้ามาทางเมืองเพชรบูรณ์ จะลงมาทาง เมืองสุพรรณบุรีเป็นทัพกระหนาบ
ในปี พ.ศ.2112 ในรัชสมัยสมเด็จ พระมหาธรรมราชา ได้โปรดเกล้าฯ ให้ พระองค์ด�ำ (สมเด็จพระนเรศวรมหาราช) เสด็จขึ้นไปครองเมืองฝ่ายเหนืออยู่ที่เมือง พิษณุโลก หัวเมืองฝ่ายเหนือขณะนั้นมีอยู่ 8 เมือง คือ พิษณุโลก สุโขทัย สวรรคโลก พิจิตร พิชัย เพชรบูรณ์ ก�ำแพงเพชร และ นครสวรรค์ ในปี พ.ศ.2113 พระยาละแวก เจ้า แผ่นดินเขมร ยกทัพมารุกรานไทยทางเมือง นครนายก ในครัง้ นัน้ พงศาวดารบันทึกไว้วา่ เจ้าเมืองเพชรบูรณ์เอาใจออกห่าง จึงได้รบั โทษ
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
.indd 56
19/4/2562 16:30:01
สมัยรัตนโกสินทร์
รัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
การจัดตั้งมณฑลเพชรบูรณ์ และเทศาภิบาล
ชื่อเมืองเพชรบูรณ์ปรากฏอยู่ในแผนที่ ยุทธศาสตร์ เขียนรูปเมืองตัง้ คร่อมสองฝัง่ แม่นำ�้ ป่าสัก มีการเปลีย่ นชือ่ เมืองศรีเทพ เป็นเมืองวิเชียรบุรี และโปรดเกล้าฯ ให้ ยกเมืองศรีเทพเป็นเมืองตรี แล้วเปลีย่ น ชื่อเป็นวิเชียรบุรี เนื่องจากมีการเกณฑ์ หัวเมืองไปรบครัง้ ปราบกบฏเวียงจันทน์ พระศรีถมอรัตน์มคี วามชอบมากในครัง้ นั้น ได้มีการรวมเมืองชัยบาดาลและ เมืองบัวชุมมาขึ้นต่อเมืองวิเชียรบุรี
ในปี พ.ศ.2436 พระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงปฏิรูปการ ปกครอง เนื่ อ งด้ ว ยเหตุ ก ารณ์ ต าม ชายแดนของประเทศ ได้ทวีความรุนแรง ยิ่งขึ้น จึงได้แก้ปัญหาเฉพาะหน้า โดย รวบรวมหัวเมืองตามชายแดนที่ส�ำคัญ ตั้ ง ขึ้ น เป็ น เขตการปกครองเรี ย กว่ า มณฑล ได้จดั ตัง้ รวมหกมณฑลด้วยกัน เมืองหล่มสัก อ�ำเภอหล่มเก่า อ�ำเภอ วังสะพุงที่ตั้งอยู่ใกล้ชิด และสะดวก ในการเดินทางติดต่อระหว่างกัน กับ ทั้ ง ลั ก ษณะขนบธรรมเนี ย มประเพณี คล้ายคลึงกัน กับมณฑลลาวพวน ได้ไป ขึน้ กับมณฑลลาวพวน ส่วนเมืองเพชรบูรณ์ เมืองวิเชียรบุรี ทีอ่ ยูท่ างตอนใต้ การเดิน ทางติดต่อสะดวกกับมณฑลลาวกลาง จึงไปขึน้ อยูก่ บั มณฑลลาวกลาง
รัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
มีการเปลีย่ นแปลงนามเจ้าเมืองเพชรบูรณ์ และเมืองวิเชียรบุรี (ศรีเทพ) ซึง่ ใช้ชอื่ เดิม มาแต่สมัยอยุธยาคือ เมืองวิเชียร จาก นามเจ้าเมืองเดิมคือพระยาประเสริฐ สงครามฯ เป็น พระยาเลิศสงครามฯ เมืองเพชรบูรณ์ จากนามเจ้าเมืองเดิม คือพระเพชรพิชัยปลัด เป็น พระเพชร พิชภูมิปลัด
สมัยธนบุรี ในปี พ.ศ.2318 อะแซหวุ่นกี้ แม่ทัพพม่า ยกก�ำลังมาตีกรุงธนบุรี
โดยเข้ามาทางด่านแม่ละเมา เมืองตาก แล้ ว น� ำ ก� ำ ลั ง เข้ า ล้ อ มเมื อ งพิ ษ ณุ โ ลกไว้ ประมาณสี่เดือนยังตีไม่ได้ ทางฝ่ายไทยมี แม่ทัพส�ำคัญคือเจ้าพระยาจักรี (พระบาท สมเด็จพระพุทธยอดฟ้า ฯ) และเจ้าพระยา สุรสีห์ ได้ป้องกันเมืองอย่างเข้มแข็ง ต่อมา ทั้งสองท่านเห็นเหลือก�ำลังจะรักษาเมือง ไว้ได้
รัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
จังหวัดเพชรบูรณ์มีฐานะเป็นมณฑล เพชรบูรณ์ แต่เนื่องจากการเดินทาง จากกรุ ง เทพฯ ไปเพชรบู ร ณ์ มี ค วาม ยากล�ำบากมากและเต็มไปด้วยไข้ป่า (มาลาเรีย) จึงไม่คอ่ ยมีขา้ ราชการสมัคร ไปท�ำงานที่นั่น เพราะเป็นที่เลื่องลือ ว่ามีไข้มาลาเรียร้ายกาจ ใครไปเมือง เพชรบูรณ์เหมือนกับไปหาความตาย
ในช่วงระหว่างปี พ.ศ.2510-2525
บริเวณพืน้ ทีร่ อยต่อ 3 จังหวัด (เพชรบูรณ์ พิษณุโลก และเลย) พรรคคอมมิวนิสต์ แห่งประเทศไทยทีต่ อ้ งการยึดอ�ำนาจและ เปลีย่ นแปลงการปกครอง ได้แทรกซึมและ ครอบครอง มีผกู้ อ่ การร้ายเข้าต่อสูก้ บั ฝ่าย รัฐบาล หลังจากทีส่ รู้ บเป็นเวลา 14 ปีเศษ รัฐบาลจึงได้รับชัยชนะ ปัจจุบันจึงยังมี สถานทีห่ ลงเหลืออยูเ่ ป็นอนุสรณ์บนเทือก เขาค้ อ ที่ เ คยเป็ น สมรภู มิ ก ารสู ้ ร บทาง อุดมการณ์ และกลายเป็นสถานทีท่ อ่ งเทีย่ ว อีกแห่งหนึ่งในปัจจุบัน PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 57
57
19/4/2562 16:30:05
NAMNAO NATIONAL PARK
อุทยานแห่งชาติน้�ำหนาว เป็นอุทยานแห่งชาติล�ำดับที่ 5 ของประเทศไทย 58
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
.indd 58
19/4/2562 16:30:06
Nam Nao is one of more exciting areas for cave exploring. One of longest caves in Thailand among many others can be found on northern parts of the park.
PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 59
59
19/4/2562 16:30:07
TRAVEL GUIDE
บันทึกเส้นทางท่องเที่ยวจังหวัดเพชรบูรณ์
THE ATMOSPHERE OF HAPPINESS AT PHETCHABUN
จังหวัดเพชรบูรณ์ขึ้นชื่อว่ามีสภาพธรรมชาติที่แตกต่างหลากหลาย เพราะเป็นจังหวัดทางภาคเหนือ ตอนล่าง บรรยากาศและสภาพภูมิประเทศจึงคล้ายคลึงกับจังหวัดทางภาคเหนือตอนบน คือมีท้ัง ภูเขาสูง ป่าสน น�้ำตก ล�ำน�้ำ ทุ่งหญ้า และมีกิจกรรมท่องเที่ยว-เรียนรู้ ที่รอคอยให้ชาวพระนครปลีก ตัวไปเที่ยวในวันหยุดสุดสัปดาห์ ได้ง่าย ๆ เพราะระยะทางไม่ ไกลจากกรุงเทพมากนัก เพียงแค่ 346 กิโลเมตรเท่านั้น ถ้าพร้อมแล้ว...รีบเก็บกระเป๋าไปเพชรบูรณ์กันเลยนะคะ
60
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
.indd 60
19/4/2562 16:30:08
PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 61
61
19/4/2562 16:30:09
TRAVEL GUIDE
บันทึกเส้นทางท่องเที่ยวจังหวัดเพชรบูรณ์
พระต�ำหนักเขาค้อ บ้านของพ่ อผู้ทรงเป็นที่รักยิ่ง
ทุกพื้ นที่บนผืนแผ่นดินไทย ไม่ว่าจะทรุกันดารหรืออยู่บนภูสูงชันเพี ยงใด หากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงรับทราบถึง ความทุกข์ร้อนของราษฎรแล้ว พระบารมีของพระองค์ก็จะปกแผ่ไปขจัด ปัดเป่าทุกคราวไป
พระต�ำหนักเขาค้อ บ้านของพ่ อผูท ้ รงเป็นทีร่ ก ั ยิง ่
พระต�ำหนักเขาค้อ ตั้งอยู่บนจุด สูงสุดของเขาย่า อ�ำเภอเขาค้อ โดยสูงกว่า ระดับน�้ำทะเลประมาณ 1,050 เมตร เป็นอีกหนึง่ สถานทีเ่ สด็จแปรพระราชฐาน เพื่ อ ทรงงานในโครงการพระราชด� ำ ริ และทรงเยีย่ มราษฎรในพืน้ ทีแ่ ละจังหวัด 62
ใกล้เคียง ซึ่งหากดูภายนอกเราจะนึก ไม่ถงึ ว่าทีน่ คี่ อื พระต�ำหนักของพระราชา เพราะเป็นอาคารชั้นเดียวที่ดูเรียบง่าย เรียงตัวเป็นรูปครึ่งวงกลม แตกต่างจาก พระต�ำหนักอื่นๆ หลังที่เป็นสองชั้นนั้น ชั้นบนจะเป็นห้องบรรทมของพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 และ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ ชั้นล่างด้านซ้ายห้องพระราชทานเลี้ยง
ห้องเสวย และห้องเข้าเฝ้าฯ ส่วนด้านขวา เป็นห้องบรรทมของพระบรมวงศานุวงศ์ อาณาบริเวณด้านหน้าได้รับการตกแต่ง ด้วยไม้ดอกไม้ใบสีสันสดใส ไม่ไกลนักมี บ้านพักทหารม้า บริการให้นกั ท่องเทีย่ ว พักได้ หรือถ้าอยากสัมผัสธรรมชาติใกล้ชดิ ก็สามารถกางเต็นท์พักแรมบริเวณใกล้ กับบ้านพักได้ด้วย แต่กว่าจะเดินทาง มาถึงพระต�ำหนักเขาค้อได้ ก็ต้องอาศัย
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
.indd 62
19/4/2562 16:30:10
Pratamnak khaokho
พระต�ำหนักเขาค้อ
เป็นจุดสูงสุดของเขาค้อ สูงกว่าระดับ น�ำ้ ทะเลประมาณ 1,050 เมตร เมือ่ ยืนอยู่บริเวณพระต�ำหนัก จะมอง เห็นทัศนียภาพสวยงามมาก
บริเวณรอบพระต�ำหนัก
จะปลูกดอกไม้สีสันสวยงามหลาก หลายชนิดมีบ้านพักทหารม้า และ นักท่องเที่ยวสามารถกางเต็นท์พัก แรมบริเวณใกล้กับบ้านพักได้
ลักษณะตัวอาคาร พระต�ำหนักเขาค้อ
เป็นอาคารชั้นเดียวติดต่อกัน เป็น รู ป ครึ่ ง วงกลม มี อ าคารบางส่ ว น สร้างเป็นสองชั้น
เส้นทาง ส�ำหรับปีนเขาย่า
ทางขึ้นอยู่ติดกับร้านค้าสวัสดิการ ระยะทาง 300 เมตร ส�ำหรับผู้ที่ เดินพิชิตเขาย่าได้ จะมีใบประกาศ เกียรติคุณมอบให้เป็นที่ระลึก กิจกรรม พระต�ำหนักเขาค้อ - เดินชมพระต�ำหนักถ่ายภาพมุมสวยงามต่างๆ เช่น สวนดอกไม้ ใต้ต้นสน วิวมุมมอง 360 องศา บนเขาย่า
โชเฟอร์ผู้ช�่ำชองทางชันและแคบ แต่เมื่อ มาถึงแล้วก็จะรูส้ กึ ว่าคุม้ ค่ามากๆ เพราะ นอกจากเราจะได้ชนื่ ชมความงดงามของ ป่าสนที่ เหยียดต้นสูง เสียดฟ้า ดูร่มรื่น โอบล้อมพระต�ำหนักแล้ว ยังมีเขาย่าที่ เป็นจุดชมวิวที่สวยงาม และที่ส�ำคัญคือ ได้มาสัมผัสถึงความรักของพ่อหลวงแห่ง ปวงชนชาวไทยด้วย
- ปีนเขาย่าชมวิวทิวทัศน์มุมมอง 360 องศา มีใบ ประกาศเกียรติคุณมอบให้เป็นที่ระลึก
ชมได้เฉพาะภายนอก พระต�ำหนัก
หากเป็นช่วงที่มีการเสด็จแปร พระราชฐาน ไม่อนุญาตให้เข้าชม
- พักค้างคืน มีห้องพัก 2 เรือนแถว (มากกว่า 20 ห้อง) กางเต็นท์พักแรม มีลานกางเต็นท์บริเวณกว้าง มีห้องน�้ำ และอาคารขนาดใหญ่สำ� หรับจัดกิจกรรม - สิ่งอ�ำนวยความสะดวก มีห้องน�้ำ ห้องอาบน�้ำไว้บริการนักท่องเที่ยวที่มา กางเต็นท์พักแรม และมีห้องน�้ำก่อนทางขึ้นเขาย่า - มีร้านอาหาร กาแฟ บริการ เป็นพื้นที่หน่วยราชการ ทหาร จะมีทหารคอยดูแล ให้บริการนักท่องเที่ยว PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 63
63
19/4/2562 16:30:19
TRAVEL GUIDE
บันทึกเส้นทางท่องเที่ยวจังหวัดเพชรบูรณ์
ทุ่งเสลี่ยงแห้ง
3 ศูนย์การเรียนรูเ้ กษตรพอเพี ยง
อีกหนึง่ รูปแบบการท่องเทีย่ วทีเ่ ข้ากับยุคสมัย ที่หลายๆ คนต่างโหยหาความสุขที่เรียบง่าย จากธรรมชาติ และความสุขที่ได้มีส่วนร่วม สร้างรายได้ที่ยั่งยืนให้กับชุมชน
ศูนย์การเรียนรูเ้ กษตรพอเพียงและ เกษตรทฤษฎีใ หม่ “ทุ่ง เสลี่ยงแห้ง 3” ตั้งอยู่ที่อ�ำเภอเขาค้อ ที่นี่เป็นศูนย์การ เรี ย นรู ้ เ กษตรอิ น ทรี ย ์ ที่ จั ด ตั้ ง ขึ้ น โดย ชุ ม ชน พร้ อ มบริ ก ารท่ อ งเที่ ย วแบบ Home Stay ที่นอกจากจะได้ที่พักใน ราคาถูกแล้ว ยังได้รบั ประทานอาหารพืน้ บ้านที่สด สะอาด ปลอดภัยจากสารพิษ ได้สนุกกับกิจกรรมต่างๆ อาทิ ชมแปลง เพาะปลูกเกษตรอินทรีย์ที่ด�ำเนินรอย ตามเกษตรทฤษฎีใหม่ โดยเฉพาะไร่องุน่ อินทรีย์ เสาวรส อโวคาโด แมคคาเดเมีย กาแฟ ข้าวลืมผัว การเลีย้ งจิง้ หรีดอินทรีย์ ฯลฯ โดยมี ร ถต่อ พ่ว งจากเครื่อ งยนต์ 64
เพื่ อ การเกษตรพาเที่ ย ว เรี ย กว่ า ได้ บรรยากาศแบบลูกทุง่ ๆ เหมาะอย่างยิง่ กับครอบครัวชาวกรุงที่ต้องการพาบุตร หลานไปสั ม ผั ส เรี ย นรู ้ จ ากธรรมชาติ และชนบท นอกจากนี้ ใ นช่ ว งหน้ า ฝน นักท่องเที่ยว ก็จะได้สนุกกับกิจกรรม ล่องแก่งล�ำน�้ำเข็ก และเล่นน�้ำตกเสลี่ยง แห้ง ฯลฯ จากความส� ำ เร็ จ ของการบริ ห าร จัดการของศูนย์ฯ ท�ำให้พัฒนาชุมชน อ� ำ เภอเขาค้ อ ยกให้ โ ฮมสเตย์ เ สลี่ ย ง แห้ง 3 เป็นแบบอย่างให้กบั ชุมชนทีอ่ ยาก ท�ำโฮมสเตย์ใน อ.เขาค้อ ได้มาศึกษา เรียนรูก้ จิ กรรม แลกเปลีย่ นความคิดเห็น และกฎระเบียบกติกาของกลุ่ม ซึ่งหาก ใครมาศึกษาดูงานเป็นหมู่คณะ ในช่วง กลางคื น ก็ จ ะได้ ช มการแสดงของชาว บ้านทุ่งเสลี่ยงแห้งด้วย สนใจติดต่อได้ที่ คุณปรีชัย นามสิมมา โทร.085-731-2875
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
.indd 64
19/4/2562 16:30:24
ชาร์จแบตสุดสัปดาห์ ณ ทุง ่ กังหันลม เขาค้อ
เที่ ย วเมื อ งไทยก็ ส นุ ก และเท่ ไ ด้ เพี ย งแค่ ม าที่ บ ้ า นเพชรด� ำ ต.ทุ ่ ง สมอ อ.เขาค้อ เพราะสายลมเย็นจากธรรมชาติ บนยอดเขาของทีน่ ี่ จะพัดพาใบพัดกังหัน ลมทีม่ คี วามยาวทีส่ ดุ ในประเทศไทย คือ ยาวถึง 60 เมตร ให้กลายเป็นพลังงาน สะอาดให้แสงสว่างและความสะดวก สบายแก่ชุมชนชาวม้งที่นี่ ทีต่ อ้ งเรียกว่า “ทุง่ กังหันลม” เพราะ จะมีกงั หันลมยักษ์จำ� นวนมากถึง 24 ต้น ตั้ ง เรี ย งรายอวดสายตานั ก ท่ อ งเที่ ย ว บนความสูง 1,050 เมตรเหนือระดับ น�้ำทะเล การมาชาร์จพลังงานสะอาด บนนี้ จึงนับว่าคุ้มค่าจริงๆ เพราะไม่ เพียงแต่จะได้ชมวิวที่สวยงามสุดลูกหู ลูกตาแล้ว ยังมีไร่สตรอว์เบอรีส่ ดๆ ให้ชมิ ในหน้าหนาว มีทุ่งดอกคอสมอสหลาก สีสนั ดอกเวอร์บนี า่ สีมว่ งเข้ม ดอกเสีย้ น ฝรั่ง และอีกหลากหลายชนิด ที่เจ้าของ ไร่ GB จะปลูกหมุนเวียนตามฤดูกาล เพือ่ ให้นกั ท่องเทีย่ วได้มาชืน่ ชมกันตลอด ทั้งปี ให้สมกับที่เขาค้อได้รับการกล่าว ขานว่าเป็น สวิตเซอร์แลนด์เมืองไทย PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 65
65
19/4/2562 16:30:27
TRAVEL GUIDE
บันทึกเส้นทางท่องเที่ยวจังหวัดเพชรบูรณ์
ชมดาวเคล้าไอหมอก ณ อุทยานแห่งชาติตาดหมอก
อุทยานแห่งชาติตาดหมอก จังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นผืนป่าขนาดใหญ่ที่ อุดมสมบูรณ์บนเทือกเขาสูงสลับซับซ้อน ซึ่งมีความส�ำคัญกับชีวิตมนุษย์ เพราะเป็นแหล่งต้นน�้ำที่ส�ำคัญของล�ำน�้ำป่าสักและล�ำน�้ำชี และยังท�ำหน้าที่ เป็นพื้ นที่ป่ากันชนให้กับผืนป่า 3 แห่ง คือ อุทยานแห่งชาติน�้ำหนาว เขต รักษาพั นธุ์สัตว์ป่าภูเขียว และเขตรักษาพั นธุ์สัตว์ป่าตะเบาะ-ห้วยใหญ่
ชมดาวเคล้าไอหมอก ณ อุทยานแห่งชาติตาดหมอก
อุทยานแห่งชาติตาดหมอก จังหวัดเพชรบูรณ์ เป็น ผืนป่า ขนาดใหญ่ที่อุดมสมบูรณ์บนเทือกเขาสูงสลับซับซ้อน ซึ่งมี ความส�ำคัญกับชีวิตมนุษย์ เพราะเป็นแหล่งต้นน�้ำที่ส�ำคัญ ของล�ำน�้ำป่าสักและล�ำน�้ำชี และยังท�ำหน้าที่เป็นพื้นที่ป่า กันชนให้กับผืนป่า 3 แห่ง คือ อุทยานแห่งชาติน�้ำหนาว เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่ แหล่งท่องเที่ยวส�ำคัญคือ น�้ำตกตาดหมอกที่มีต้น ก�ำเนิด จากเขาตาดหมอก ลักษณะเป็นน�้ำตกจากหน้าผาสูงชัน ที่มีความสูงหลายร้อยเมตร ท�ำให้สายน�้ำกระจายเป็น ละอองน�้ำสีขาวดุจดังสายหมอก จึงเป็นที่มาของชื่อน�้ำตก ตาดหมอก ว่ากันว่าในช่วงฤดูฝนนั้น ปริมาณน�้ำตกมาก จนไม่สามารถเข้าไปยืนใกล้นำ�้ ตกได้เลย หากไปช่วงบ่ายๆ ก็จะเห็นละอองน�ำ้ กระทบแสงอาทิตย์เกิดรุง้ กินน�ำ้ สวยงาม มาก ถ้าโชคดีคุณอาจได้พบนกเงือกกรามช้างออกหากิน ลูกไทร บริเวณต้นไทรหน้าน�้ำตกด้วย นอกจากนี้ยังน�้ำตกสองนาง ซึ่งอยู่ทางเดียวกับน�้ำตก ตาดหมอก เป็นน�้ำตกที่สวยงามและมีขนาดใหญ่ถึง12 ชั้น แต่ละชั้นมีความสูงระหว่าง 5-100 เมตร 66
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
.indd 66
19/4/2562 16:30:29
ผู้ที่หลงรัก ดวงดาวบนท้องฟ้า
ส�ำหรับนักท่องเที่ยว ทีช่ นื่ ชอบการเดินเขาและ การปีนป่าย คงชอบและ สามารถเดิ น ขึ้ น ไปชม น�้ ำ ตกได้ ทุ ก ชั้ น ภายใน หนึง่ วัน ทัง้ นีท้ างอุทยาน จะปิดป่า 3 เดือน/ปี คือ เดือนกรกฎาคม-กันยายน ที่ นี่ ก็ มี ล านชมดาว ลักษณะเป็นลานโล่งแจ้ง สามารถชมวิ ว ได้ 360 องศา จึงเหมาะแก่การ ศึกษาดาราศาสตร์ และ เป็ น จุ ด ชมวิ ว ที่ ส ามารถ ชมทัศนียภาพของตัวเมือง เ พ ช ร บู ร ณ ์ ไ ด ้ ดี ที่ สุ ด บรรยากาศเย็ น สบาย ปลอดโปร่ ง สามารถ กางเต๊ น ท์ ค ้ า งแรมได้ มีหอ้ งน�ำ้ ห้องสุขาสะอาด การไปมาสะดวกเพราะ อยูห่ า่ งจากตัว จ.เพชรบูรณ์ เพียงแค่ 15 กม. PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 67
67
19/4/2562 16:30:30
PHU TUB BERK
ภูทับเบิก ที่เที่ยวหน้าหนาว ที่พักพร้อมการเดินทางไปชม “ทะเลหมอก”
68
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
.indd 68
19/4/2562 16:30:32
PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 69
69
19/4/2562 16:30:33
วัดดงมูลเหล็ก ชมอุทยานปลาเพลินใจได้บุญ
พระครูสันติพัชรสาร(เสนอ) สนฺติกโร เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองเพชรบูรณ์/ เจ้าอาวาส
ประวัติความเป็นมา วัดดงมูลเหล็ก ตั้งอยู่เลขที่ 99/1 ต�ำบลดงมูลเหล็ก อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ 67000 วัดดงมูลเหล็กได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมาเมือ่ วันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ.2557 เขตวิสุงคามสีมากว้าง 40 เมตร ยาว 66 เมตร ปัจจุบันมี พระครูสันติพัชรสาร (เสนอ) สนฺติกโร อายุ 63 พรรษา 43 วิทยฐานะ น.ธ.เอก.,ป.บส. เป็นเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองเพชรบูรณ์ และ เจ้าอาวาสวัดดงมูลเหล็ก
อุทยานปลาวัดดงมูลเหล็ก สืบเนื่องจากเมื่อปี พ.ศ. 2547 บ้านดงมูลเหล็กได้ประสบปัญหา ภัยแล้ง ท�ำให้ตอ้ งแก้ปญ ั หาโดยการสร้างแหล่งกักเก็บน�ำ้ ขึน้ มา หลังจาก นั้นภัยแล้งเริ่มทุเลาลง เจ้าคณะต�ำบลดงมูลเหล็ก ซึ่งเป็นเจ้าอาวาสวัด ดงมูลเหล็กในขณะนัน้ จึงได้นำ� พันธุป์ ลาหลากหลายชนิดมาปล่อย และ ปรับปรุงทัศนียภาพรอบ ๆ สระน�้ำ ปัจจุบันอุทยานปลาวัดดงมูลเหล็ก จึงกลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวของชาวดงมูลเหล็กและใกล้เคียง และเป็น สถานที่พักผ่อนหย่อนใจ 70
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
1
.indd 70
19/4/2562 17:27:06
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วักราบสองบู ดเสาธงทอง รพาจารย์แห่งเมืองเพชรบูรณ์ พระครูวิบูลพัชรธรรม ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดเสาธงทอง ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นนายม หมูท่ ี่ 4 ต�ำบลนายม อ�ำเภอเมือง เพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีเนื้อที่ 48 ไร่ วัดเสาธงทองเป็นวัดที่ร่มรื่น สัปปายะ เหมาะแก่การปฏิบัติธรรม เจริญกรรมฐาน และทางวัดยังเปิดสอนพระปริยัติธรรม แผนกนักธรรม และบาลี
รายนามเจ้าอาวาส
1. พระอธิการพรม พ.ศ. 2387-2446 2. พระอธิการมา พ.ศ. 2446-2462 3. พระอธิการย่อง พ.ศ. 24632475 4. พระครูวชิ ติ พัชราจารย์ (หลวงปูท่ บ) พ.ศ. 2476-2478 5. พระอธิการหลอ พ.ศ. 2478-2480 6. พระอธิการปลืม้ พ.ศ. 2480-2485 7. พระอธิการเลียบ พ.ศ. 2485-2499 8. พระครูวบิ ลู พัชรญาณ (หลวงงปูช่ ด) พ.ศ. 2499-2532 9. พระครูวบิ ลู พัชรธรรม พ.ศ. 2533-ถึงปัจจุบนั
ประวัตวิ ดั เสาธงทอง
วั ด เสาธงทอง เดิมเป็นวัดที่ร ้างมานานกว่า 700 ปี ต่อมาได้ ทรุดโทรมลง และได้มกี ารก่อสร้างให้เป็นวัดขึน้ มาอีกเมือ่ ราวปี พ.ศ. 2387 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา วันที่ 17 กันยายน พ.ศ.2519 ได้ผกู พัทธสีมาในปี 2520 โดยการน�ำของพระครูวบิ ลู พัชรญาณ (หลวงปูช่ ด) ต่อมาอุโบสถหลังเก่าทรุดโทรมลง จึงได้สร้างอุโบสถหลังใหม่ขนึ้ ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา วันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2543 ได้ผกู พัทธสีมา ใน ปี 2544 โดยการน�ำของพระครูวบิ ลู พัชรธรรม
ปูชนียวัตถุภายในวัด
หลวงพ่อเพชรนายม (พระใหญ่ประจ�ำต�ำบลนายม), พระประธาน ภายในอุโบสถ พระพุทธรูปปางห้ามญาติ, พระพุทธชินราชจ�ำลอง, รู ป หล่ อ หลวงปู ่ ท บ หลวงปู ่ ช ด, รู ป หล่ อ หลวงปู ่ ช ด (องค์ ยื น ), พระบรมสารีรกิ ธาตุ, รอยพระพุทธบาทจ�ำลอง และรูปหล่อเจ้าแม่กวนอิม PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
1
.indd 71
71
19/4/2562 17:07:24
วัดโพธิ์กลาง
ศูนย์รวมแห่งศรัทธาของชาวชุมชนท่าพล พระครูโพธิพัชรธรรม เจ้าคณะต�ำบลท่าพล / เจ้าอาวาส
วัดโพธิก์ ลาง ตัง้ อยู่ ณ บ้านท่าพลเลขที่ 195 หมูท่ ี่ 13 ต�ำบลท่าพล อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ มีเนื้อที่ตั้งวัด 9 ไร่ 1 งาน มีที่ธรณีสงฆ์จ�ำนวน 1 แปลง, มีเนื้อที่ 1 ไร่ 1 งาน 76 ตารางวา วัดนี้เป็นวัดเก่าแก่คู่บ้านคู่เมือง ของชาวต�ำบลท่าพลมาช้านาน สร้ า งขึ้ น ราวปี พ .ศ.2320 โดยสั น นิ ษ ฐานจากพระพุ ท ธรู ป ส� ำ คั ญ ประจ�ำวัดซึ่งหล่อด้วยทองสัมฤทธิ์ชาวบ้านจึงถวายนามเรียกกันว่า “หลวงพ่อสัมฤทธิ์” มีพุทธลักษณะเป็นพระพุทธรูปสมัยอยุธยา ศิลปะ สมัยอูท่ อง เดิมเรียก วัดชุมพล ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา พ.ศ. 2324 ความส�ำคัญเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ เมื่อครั้งที่เกิดสงครามโลกครั้ง ที่ 2 เมื่อปี พ.ศ. 2483 ถึงปี พ.ศ. 2484 วัดนี้ได้เป็นสถานที่ตั้งของ กองสารบัญทหารอากาศ วัดโพธิ์กลาง ได้มีเจ้าอาวาสปกครองวัดมาโดยล�ำดับ มีพระภิกษุ และสามเณรอยูจ่ ำ� พรรษามาโดยตลอดปัจจุบนั มี พระครูโพธิพชั รธรรม (พระอาจารย์เด่น) เป็นเจ้าอาวาส 72
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
2
.indd 72
ปูชนียวัตถุที่สำ� คัญ
คือ รอยพระพุทธบาทจ�ำลอง ซึ่งผู้มีจิตศรัทธาได้น�ำมาประดิษฐานไว้
ประวัติเจ้าอาวาส
พระครูโพธิพัชรธรรม (พระอาจารย์เด่น) เกิดวันอาทิตย์ที่ 17 เดือนมีนาคม พุทธศักราช 2512 ปีวอก บิดา นายประจิตร เง่าทุ่ม มารดา นางเรียม เง่าทุ่ม
29/4/2562 8:20:29
บรรพชา
วันอาทิตย์ ที่ 29 เดือนมีนาคม พุทธศักราช 2524 ปีระกา ณ วัด เทพสโมสร ต�ำบลท่าพล อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ พระอุปัชฌาย์ พระครูวินัยพัชรสิทธิ
อุปสมบท
วันจันทร์ ที่ 2 เดือนกรกฎาคม พุทธศักราช 2533 ปีมะเมีย ณ วัดเทพสโมสร ต�ำบลท่าพล อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ พระอุปชั ฌาย์ พระครูวนิ ยั พัชรสิทธิ์ พระกรรมวาจาจารย์ พระครูพศิ ษิ ฐ์พชั รโรปราการ พระอนุสาวนาจารย์ พระครูวิจัยพัชรสิทธิ์
การศึกษา
- พ.ศ.2524 ส�ำเร็จการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านท่าพล (ท่าพลวิทยาคาร) - พ.ศ.2426 สอบไล่ได้ น.ธ. เอก ส�ำนักศาสนศึกษาวัดเทพสโมสร ส�ำนักเรียนคณะจังหวัดเพชรบูรณ์ - พ.ศ.2529 สอบไล่ได้ตามหลักสูตรการศึกษานอกโรงเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จากศูนย์การศึกษาโรงเรียนวัดมหาธาตุ - พ.ศ.2553 ส�ำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรบริหารกิจการคณะสงฆ์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ต�ำแหน่งการปกครอง
- พ.ศ.2537 เป็นเจ้าอาวาสวัดโพธิ์กลาง - พ.ศ.2543 เป็นเจ้าคณะต�ำบลท่าพล - พ.ศ.2549 เป็นพระอุปัชฌาย์
สมณศักดิ์
- พ.ศ.2537 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระครูสัญญาบัตรเจ้าคณะต�ำบล ชั้นโท ในราชทินนามที่ พระครูโพธิพัชรธรรม - พ.ศ.2557 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระครูสัญญาบัตรเจ้าคณะต�ำบล ชั้นเอก ในราชทินนามที่ พระครูโพธิพัชรธรรม PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 73
73
29/4/2562 8:20:37
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดโพธิ์กลาง
วัดโบราณสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย พระครูปัญญาพัชรสิทธิ์ (พระอาจารย์ประวัติ พลญาโณ) นธ.เอก,พธ.บ.,ศษ.ม เจ้าคณะต�ำบลบ้านโคก ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดโพธิ์กลาง (บ้านโคก) ตั้งอยู่เลขที่ 19 ม.2 ต�ำบลบ้านโคก อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ มีเนื้อที่ทั้งหมดจ�ำนวน 5 ไร่
ประวัติความเป็นมา
วัดโพธิ์กลาง (บ้านโคก) ก่อตั้งขึ้นมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2306 ก่อนสมัย กรุงศรีอยุธยาแตก 4 ปี ปัจจุบันมีอายุ 256 ปี ชื่อวัดโพธิ์กลางนั้น เนือ่ งมาจากในสมัยก่อนมีตน้ โพธิเ์ ป็นจ�ำนวนมากอยูใ่ นบริเวณวัด ต่อมา ได้มีการก่อสร้างถาวรวัตถุ ศาสนสถาน และสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ จึงท�ำให้ ต้นโพธิ์นั้นหายไป เหลือคงอยู่ในปัจ จุบันจ�ำนวน 2 ต้น ด้วยเหตุนี้ จึงสันนิษฐานว่าได้น�ำมาตั้งเป็นชื่อวัดว่า “วัดโพธิ์กลาง” 74
2
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
.indd 74
26/4/2562 14:32:59
อาคารเสนาสนะ/ปูชนียวัตถุ
อุโบสถ สร้างเมื่อปี พ.ศ.2416 วิหาร สร้างเมื่อปี พ.ศ.2500 พร้อมด้วยหลวงพ่อองค์ปฐม หลวงพ่อทันใจ และรอยพระพุทธบาทจ�ำลอง มณฑปหลวงพ่อรอด (พระครูพศิ าลพัชรคุณ) สร้างเมือ่ ปี พ.ศ.2543 ศาลาการเปรียญ สร้างเมื่อปี พ.ศ.2543 พระพุทธรูปปางเปิดโลก ความสูง 999 ซม. สร้างเมือ่ ปี พ.ศ.2552 หอระฆังแปลก สร้างเมื่อปี พ.ศ.2555 ซุม้ ประตูและก�ำแพงวัด สร้างเมือ่ ปี พ.ศ.2515 บูรณะในปี พ.ศ.2547
รายนามเจ้าอาวาส
พระสังฆาธิการที่ปกครองและด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส มีจ�ำนวน 8 รูป ด้วยกัน ได้แก่ 1. หลวงพ่อศรี 2. หลวงพ่อสุข 3. หลวงพ่อกลั่น 4. หลวงพ่อกี 5 พระครูพิศาลพัชรคุณ (หลวงพ่อบุญรอด ปุณฺณโก) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสจนถึงปี พ.ศ.2523 6. เจ้าอธิการพะยอม ปัญฺญาทีโป ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส และเจ้าคณะต�ำบลดงมูลเหล็ก บ้านโคกและห้วยใหญ่ ตั้งแต่ พ.ศ.2524–2537 7. พระอธิการนนท์ กฺติญาโณ พ.ศ.2537–2538 8. พระครูปัญญาพัชรสิทธิ์ (พระอาจารย์ประวัติ พลญาโณ) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส พ.ศ.2539 จนถึงปัจจุบัน และเจ้าคณะต�ำบลบ้านโคก เมื่อ พ.ศ.2558 จนถึงปัจจุบัน PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 75
75
26/4/2562 14:33:11
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
“สังคมต้องการคนดี ไม่ใช่เพื่อเอาไว้รับรางวัล แต่เอาไว้สร้างสรรค์สังคมให้ดีงาม”
วัดแสนสุข
เสาหลักสู่ความผาสุกของสังคม เจ้าอธิการประมาณ ชินาสโก เจ้าคณะต�ำบลวังชมภู เขต 2 ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดแสนสุข ตั้งอยู่เลขที่ 444 หมู่ 2 บ้านห้วยโป่ง ต�ำบลวังชมภู อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ 67210 ได้ประกาศตั้งเป็นวัดเมื่อปี พ.ศ. 2482 ครอบคลุมเนื้อที่ประมาณ 5 ไร่
เจ้าอาวาสปกครองตามล�ำดับ ดังนี้
รูปที่ 1 หลวงพ่อส�ำอาง — (ไม่ทราบปีที่แน่ชัด) รูปที่ 2 พระอธิการศรีทัศน์ (ไม่ทราบฉายา)–2521 (มรณภาพ) รูปที่ 3 พระอธิการแปลง โกวิโท 2521–2536 (มรณภาพ) รูปที่ 4 พระอธิการวิชาญ ปริชาโน 2537–2545 (มรณภาพ) รูปที่ 5 พระอธิการชาติชาย อภิปุญฺโญ 2546–2553 (ลาสิกขา) รูปที่ 6 พระอธิการทองค�ำ อคฺคธมฺโม 2554–2555 (ลาออก) รูปที่ 7 เจ้าอธิการประมาณ ชินาสโภ 2555–ปัจจุบัน
กิจกรรมเด่นๆ ของวัด
1.หน่วยบริการประชาชน ให้บริการช่วยเหลือประชาชนผูท้ กุ ข์ยาก เดือดร้อนต่างๆ 2.ศุนู ย์ฝกึ เยาวชนต้นแบบ ฝึกอบรมเยาวชนในด้านต่างๆด้วยการ ตั้งทีมฟุตบอลเด็กวัด “จงมุง่ มัน่ ท�ำดีตอ่ ไปให้เกิดเป็นนิสยั เพราะความดีนนั้ คนดีทำ� ได้งา่ ย”
76
1
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
.indd 76
19/4/2562 17:39:11
วัดสามัคคีพัฒนาราม บ้านวัดสามัคคีชีวีร่มเย็น
พระครูสุพัชรประภากร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดสามัคคีพฒ ั นาราม เลขที่ 112 หมู่ 9 ต�ำบลบ้านโนนโรงเลือ่ ย อ�ำเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ 67210
พุทธศาสนสุภาษิต
อตีตํ นานุโสจนฺติ นปฺปชปฺปนฺติ นาคตํ ปจฺจุปฺปนฺเนน ยาเปนฺติ เตน วณฺโณ ปสีทติ ผูถ้ งึ ธรรม ไม่เศร้าโศกถึงสิง่ ทีล่ ว่ งไปแล้ว ไม่ฝนั เพ้อถึงสิง่ ทีย่ งั ไม่มาถึง ด�ำรงอยู่ด้วยสิ่งที่เป็นปัจจุบัน ฉะนั้น ผิวพรรณจึงผ่องใส
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
ขอเชิญสาธุชน ญาติโยม พุทธศาสนิกชนทั้งหลาย ร่วมสร้าง เส้นทางบุญกับวัดสามัคคีพฒ ั นาราม ชือ่ บัญชี วัดสามัคคีพฒ ั นาราม ธนาคารกรุงไทย สาขาถนนเพชรเจริญ เลขทีบ่ ญ ั ชี 643-0-42736-6 หรือติดต่อเจ้าอาวาส โทร 089-960-3293 PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
1
.indd 77
77
19/4/2562 17:38:46
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วักราบพระปางปราบพระยาชมพู ดช้างเผือก ทรงเครือ่ งหนึง่ เดียวในไทย พระครูปัญญาพัชรวิสุทธิ์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดช้างเผือก ตั้งอยู่ริมคลองตะลุก ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย
ประวัติความเป็นมา
วัดช้างเผือกแห่งนีส้ ร้างขึน้ เป็นวัดประมาณ พ.ศ.1960 เป็นระยะเวลา กว่า 602 ปี ราวสมัยกรุงศรีอยุธยา ตามต�ำนานที่เล่าขานกันมาโดย พระครูวลิ าศพัชโรทัย (พระอธิการอุทยั ยนฺตสีโล) เป็นเจ้าอาวาสตัง้ แต่ พ.ศ.2517–2546 ปัจจุบันท่านมรณภาพแล้ว
ปูชนียวัตถุที่ส�ำคัญ
พระเจดียใ์ จร้าย เจดียท์ รงระฆังคว�ำ่ ศิลปะสุโขทัย เป็นสถานทีเ่ ชือ่ ว่า บรรจุศพพระธิดาผมหอม หรือพระแม่อุทัย หรือนางเขียวค่อม พระเจดีย์ใจดี เจดีย์ทรงระฆังคว�่ำ ศิลปะสุโขทัย เป็นสถานที่เชื่อว่า บรรจุกระดูกช้างเผือกที่มาล้มตายที่วัดช้างเผือกแห่งนี้ พระเจดียย์ อ่ มุมไม้สบิ สอง ตัง้ อยูด่ า้ นหลังพระอุโบสถหลังใหม่ เป็นเจดีย์ ที่ไม่ปรากฏชื่อสันนิษฐานว่าน่าจะสร้างพร้อมกับพระเจดีย์ใจร้ายและ พระเจดีย์ใจดี หรือสร้างพร้อมวัดช้างเผือก พระพุทธรูปปางปราบพระยาชมพูทรงเครือ่ ง พระประธานองค์ใหญ่ ในพระอุโบสถหลังเก่า เป็นพระพุทธรูปปูนปัน้ ทรงเครือ่ งศิลปะสมัยอยุธยา อายุราวพุทธศตวรรษที่ 22-23 เป็นปางเดียวที่มีอยู่ในเพชรบูรณ์ หรือ อาจจะมีเพียงองค์เดียวในประเทศไทย เพราะไม่ปรากฏว่าในทีแ่ ห่งใดอีก 78
1
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
.indd 78
19/4/2562 17:08:37
วัดภูเขาดิน
ศูนย์พัฒนาคุณธรรมอ�ำเภอเขาค้อ พระครูสันติพัชรสาร สนฺติกโร เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองเพชรบูรณ์/ผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาส
วัดภูเขาดิน ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 149 บ้านคลองศาลา ถนนพุทธบาท ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์
ประวัติความเป็นมา
วัดภูเขาดินได้รับอนุญาตให้สร้างวัดเมื่อประมาณปี พ.ศ.2230 แต่เดิมวัดนี้ตั้งอยู่คลองศาลา มีพระภิกษุชาวเขมรชื่อหลวงพ่อขอม ได้ น�ำ พุ ท ธศาสนิกชนถางป่า และสร้า งเป็นวัดขึ้น ชาวบ้านเรียกว่า “วัดคลองศาลา” ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ ประมาณปี พ.ศ.2236 ได้ประกอบพิธีผูกพัทธสีมาเมื่อประมาณ พ.ศ.2239 และประกาศตั้ง เป็นวัดเมื่อ พ.ศ.2484
ปูชนียวัตถุ/โบราณวัตถุ
1. พระพุทธรูปปูนปัน้ พระประธานในโรงพระอุโบสถ สร้างขึน้ ในสมัย หลวงพ่อทัง่ เป็นเจ้าอาวาส ประมาณพ.ศ. 2237-2239 2. พระพุทธรูปหล่อด้วยทองเหลือง ปางมารวิชยั สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ พระประธานประจ�ำศาลาการเปรียญแต่เดิม 3. พระพุทธรูปหล่อด้วยทองเหลือง ปางมารวิชยั เลียนแบบศิลปะ สุโขทัย หล่อขึน้ เมือ่ พ.ศ.2519 มีชอื่ ว่า “หลวงพ่อทัง่ ” 4. พระพุทธชินราชจ�ำลอง มีผศ้ ู รัทธาสร้างถวายเมือ่ 30 ธันวาคม 2525 5. รอยพระพุทธบาทจ�ำลอง หล่อด้วยทองเหลือง พระครูเพชรบูรณ คณาวสัย (คูณ) ได้สร้างและน�ำมาเพือ่ ให้พทุ ธศาสนิกชนได้นมัสการ
อาคารเสนาสนะ
- อุโบสถ กว้าง 7.50 เมตร ยาว 17 เมตร สร้างเสร็จเมือ่ พ.ศ.2502 - ศาลาการเปรียญ กว้าง 15 เมตร ยาว 29 เมตร สร้างเสร็จเมือ่ พ.ศ. 2518 - กุฏิ จ�ำนวน 8 หลัง
การบริหารและการปกครอง
รูปที่ 1 หลวงพ่อขอม, รูปที่ 2 หลวงพ่อทัง่ รูปที่ 3 พระครูเพชรบูรณคณาวสัย (คูณ), รูปที่ 4 พระอธิการถนอม รูปที่ 5 พระครูวมิ ติ ศีลขันธ์ (สนิท), รูปที่ 6 พระอธิการเปล่ง รูปที่ 7 พระอธิการผล วาสโว พ.ศ.2499–2505 รูปที่ 8 พระมหาสมชาย ปภสฺสโร พ.ศ.2514–2520 รูปที่ 9 เจ้าอธิการเจริญ ฐิตสทฺโท พ.ศ.2520–2528 รูปที่ 10 พระครูพชั รกิจจาทร (สนิท) พ.ศ.2529 (ปัจจุบนั เลือ่ น สมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญราชทินนาม พระเพชรบูรณ คณาวสัย และเป็นรองเจ้าคณะจังหวัดเพชรบูรณ์) เกิดวันที่ 14 ตุลาคม 2478 มรณภาพ วันที่ 25 มีนาคม 2560 รูปที่ 11 พระครูสันติพัชรสาร สนฺติกโร เจ้าคณะอ�ำเภอเมือง เพชรบูรณ์/ผูร้ กั ษาการแทนเจ้าอาวาสวัดภูเขาดิน PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
1
.indd 79
79
19/4/2562 17:38:09
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัศูนย์ดรวมใจของชาวห้ ชนะชิวงยสะแกชัย พระอธิการบุญสืบ ปภากโร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วั ด ชนะชิ ง ชั ย ตั้ ง อยู ่ บ ้ า นห้ ว ยสะแก หมู ่ 5 ต� ำ บลห้ ว ยสะแก อ�ำเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัด เนื้อที่ 5 ไร่ 1 งาน 80 ตารางวา สร้างขึ้นเป็นวัดตั้งแต่ พ.ศ.2482 ชาวบ้านเรียก “วัดห้วยสะแก” ตามชื่อบ้าน พื้นที่วัดเป็น ที่ราบ มีถนนสายสระบุรี-หล่มสัก ผ่านทางด้านทิศตะวันออก
อาณาเขต
ทิศเหนือ ยาว 56 วา ติดต่อกับทีด่ นิ ของนางนิลา นายตาล และนางพร ทิศใต้ ยาว 52 วา ติดกับที่ดินของนายพาน ทิศตะวันออก ยาว 43 วา ติดกับถนนหลวง ทิศตะวันตก ยาว 42 วา ติดกับที่ดินของนายด�ำ ทองเหลือ ตาม น.ส.3 ก. เลขที่ 824
ปูชนียวัตถุ
มีพระพุทธรูปประดิษฐานในอุโบสถเป็นที่สักการบูชา
ล�ำดับเจ้าอาวาส
รูปที่ 1 พระด�ำ, รูปที่ 2 พระจันทร์แสง, รูปที่ 3 พระชื้น รูปที่ 4 พระแก้ว, รูปที่ 5 พระอธิการดา ปยตฺโต รูปที่ 6 พระอธิการบุญสืบ ปภากโร พ.ศ.2549–ปัจจุบัน
80
1
อาคารเสนาสนะ
อาคาร สิ่งปลูกสร้าง ที่เจ้าอาวาสได้สร้างขึ้นมา ในระยะเวลา 11 ปีที่ผ่านมานี้ ได้แก่ อุโบสถ, อาคาร, รอยพระพุทธบาท 4 ชั้น, พุทธลีลาและนาค 2 ตน 6 หัว ซึ่งเป็นสิ่งที่เจ้าอาวาสได้พัฒนาวัด มาตลอด
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
.indd 80
19/4/2562 17:35:09
อาคารเสนาสนะ
- ศาลาการเปรียญ 14 เมตร ยาว 25 เมตร สร้างเมือ่ ปี พ.ศ.2535 สร้างด้วยคอนกรีต - กุฏสิ งฆ์ จ�ำนวน 8 หลัง เป็นอาคารไม้และปูน ปัจจุบนั ก�ำลังด�ำเนินการก่อสร้างอุโบสถ
รายนามเจ้าอาวาส
วัดชัยพฤกษ์
ศูนย์รวมจิตใจของชาวบ้านโคก เพชรบูรณ์ พระอธิการวสุภักดิ์ ธมฺมโชโต ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดชัยพฤกษ์ ตั้งอยู่เลขที่ 121 บ้านโคก หมู่ที่ 3 ต�ำบลบ้านโคก อ�ำเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินที่ตั้งวัดเนื้อที่ 6 ไร่ 2 งาน 75 ตารางวา
เจ้าอาวาสวัดชัยพฤกษ์เท่าที่ทราบนาม มีดังนี้ 1. หลวงพ่อเมือง จนฺทวํโส 2. หลวงพ่อควร อจฺฉริยปญฺโญ 3. พระอาจารย์เฟื่อง 4. พระอาจารย์เขื่อน 5. พระอาจารย์สมศักดิ์ 6. พระอธิการสวัสดิ์ 7. พระอธิการเรือง 8. พระอธิการซอง 9. พระอธิการเซ 10. พระอธิการมนตรี มหานนฺโท 11. พระอธิการวสุภักดิ์ ธมฺมโชโต พ.ศ.2559- ปัจจุบัน
ประวัติความเป็นมา
วั ด ชั ย พฤกษ์ จั ด สร้ า งขึ้ น เป็ นวั ด นั บ ตั้ ง แต่ พ.ศ.2400 โดยมี นายแปลก ตาลสุกเรือง เป็น ผู้บริจาคที่ดินให้เป็นที่สร้างวัด ต่อมามี นายถวิล–นางส�ำอาง พรหมเกษ ได้ถวายทีด่ นิ ด้านทิศเหนือ มุมตะวันตก จ�ำนวน 3 งาน ซึง่ เป็นบริเวณสร้างเมรุในปัจจุบนั วัดชัยพฤกษ์เดิมเรียกว่า “วัดใต้” ต่อมาพระอธิการเฟือ่ ง สร้อยนาค เป็นผูต้ งั้ ชือ่ ใหม่วา่ “วัดชัยพฤกษ์”
PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
1
.indd 81
81
19/4/2562 17:11:33
วัดเนินสง่า
จากพุทธศรัทธา สู่พุทธสถานอันมั่นคงสง่างาม พระอธิการพิเชษฐ ฐานธมฺโม ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วั ด เนิ น สง่ า ตั้ ง อยู ่ ที่ บ ้ า นเนิ น สง่ า หมู ่ ที่ 6 ต�ำ บลห้ ว ยสะแก อ�ำเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 7 ไร่ 3 งาน ได้รับอนุญาตให้สร้างวัดเมื่อวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ.2525 และได้ประกาศให้ตั้งวัดเมื่อวัดที่ 23 พฤษาคม พ.ศ.2526
ประวัติความเป็นมา
เมื่อปี พ.ศ.2503 เริ่มสร้างเป็นที่พักสงฆ์ โดยนายเคน ผุยมูลตรี มี ศรัทธายกทีด่ นิ ให้จำ� นวน 1 แปลง พืน้ ที่ 7 ไร่ 2 งาน พระสุพฒ ั น์ เขมิโก เป็นหัวหน้าน�ำญาติโยมสร้างที่พักสงฆ์ ปีพ.ศ.2504-2515 พระเที่ยง อนายโญ มาอยู่แทน และท่านได้ มรณภาพในปีพ.ศ.2515 ปีพ.ศ.2516-2517 พระยง โอภาโส มาเป็นผูน้ ำ� ญาติโยมสร้างทีพ่ กั สงฆ์ต่อ ท่านได้ขอลาสิกขาบทในปีพ.ศ.2517 ปีพ.ศ.2517 -2523 พระเกษม สีลสุทฺโธ มาอยู่แทน และท่านก็ได้ ขอลาสิกขาบทในปีพ.ศ.2523
อาคารเสนาสนะ
ศาลาการเปรียญ กว้าง 16 เมตร ยาว 24 เมตร สร้างเมือ่ พ.ศ.2525 เป็นศาลาไม้พื้นคอนกรีต กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 3 หลัง เป็นอาคารไม้ 82
1
พระอธิการพิเชษฐ ฐานธมฺโม
เจ้าอาวาสวัดบ้านเนินสง่า “ บนเส้นทางสายธรรม กิจของสงฆ์ “ หลวงพ่ อ หลวงตาเพราะเก่ า แก่ พ รรษา ถ้ า บวชแล้ ว ไม่ รั ก ษาศี ล พระธรรมวินัย บ�ำรุงพระศาสนา ประกอบกิจของสงฆ์ก็จะเหมือนกับ ค�ำสอนของพระพุทธเจ้าทีว่ า่ “พระสงฆ์ คือเนือ้ นาบุญของโลก“ แต่สำ� หรับ พระอธิการพิเชษฐ ฐานธมฺโม ที่ได้อุทิศตนบวชในพระพุทธศาสนาได้ 15 พรรษา 47 ปี เป็นคนบ้านเนินสง่า เริม่ แรกบวชเป็นพระสงฆ์มาตัง้ แต่ ปี พ.ศ.2547 จนถึงปัจจุบัน ท่านก็ได้มาบูรณปฏิสังขรณ์ เสนาสนะ ภายในวัด ได้พาชาวบ้านสร้างศาลาใหม่ ท�ำก�ำแพงแก้ว อุโบสถ ในการ ก่อสร้างอุโบสถครัง้ แรกเริม่ จาก พระครูโสภณพัชรากร เจ้าอาวาสคนเก่า ที่มรณภาพท่านเป็น ผู้บุกเบิกสร้างวัดมาและท่านได้มรณะภาพไปเมื่อ ปี พ.ศ.2546 พระอธิการพิเชษฐ ฐานธมฺโม มาสานงานต่อและพัฒนา วัดมาเรื่อยๆ จนถึงปัจจุบัน ด้วยความร่วมมือจากญาติโยม ชาวบ้าน บ้านเนินสง่าทุกคน
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
.indd 82
19/4/2562 17:39:33
วัดยาวีใต้
ต�ำนาน “สระรัชดาภิเษก” จากพระเมตตา ร.9 พระฉัตรชัย อตฺตโร ผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาส
วัดยาวีใต้ ตั้งอยู่เลขที่ 99/3 หมู่ 10 ต�ำบลวังชมพู อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ วัดตั้งอยู่ติดกับถนนสระบุรี-หล่มสัก หากเดินทางมา จากกทม. วั ด จะอยู ่ ท างขวามื อ เลยสามแยกวั ง ชมภู ม าประมาณ 3 กิโลเมตร (วัดอยู่ติดกับร้านสัญญาไก่ย่างเขาสวนกวาง)
ประวัติวัดยาวีใต้
โดยแต่เดิมบ้านยาวีมีชื่อว่า บ้านยาดี เพราะคนในหมู่บ้านท�ำการ เพาะปลูกยาสูบกันมากจนภายหลังก็ได้เพี้ยนมาเป็น “บ้านยาวี” เป็น หมูบ่ า้ นใหญ่ทชี่ าวบ้านอพยพมาจากหลายแห่ง และมีวดั กลางยาวีศรีโสพล เป็นวัดแรกในบ้านยาวี เมื่อประชากรมากขึ้นจึงแบ่งหมู่บ้านออกเป็น บ้านยาวีเหนือและบ้านยาวีใต้ จึงมีวัดยาวีเหนือเกิดขึ้น ส่วนวัดยาวีใต้ ยังไม่มีการก่อสร้างที่เป็นทางการ แต่ก็มีพระมาจ�ำพรรษาอยู่และมีการ ก่อสร้างศาลาและกุฏิขึ้น ต่อมาวัดกลางยาวีศรีโสพล จึงไม่มีพระอยู่ จ�ำพรรษา ปัจจุบันกลายเป็นโรงสีขา้ วสาธารณะประจ�ำหมู่บ้านไป การก่อสร้างวัดยาวีใต้เริ่มขึ้นอย่างจริงจังในปี พ.ศ.2505 และ ต่อมาในปี พ.ศ.2514 ก็ได้มีการขุด “สระรัชดาภิเษก” ซึ่งเป็นสระที่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงเล็งเห็นว่า บ้านยาวีนี้ประสบกับปัญหาภัยแล้งเป็นประจ�ำทุกปี จึงได้พระราชทาน พระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ เพื่อขุดสระน�้ำเพื่อบรรเทาปัญหาดังกล่าว เมือ่ แล้วเสร็จจึงได้พระราชทานนามว่า “สระรัชดาภิเษก” ซึง่ ชาวบ้านใน สมัยก่อนใช้ดมื่ กิน เพราะเหตุนแี้ ต่เดิมชือ่ วัดทีป่ รากฏในใบโฉนดทีด่ นิ จึง
ใช้ชื่อว่า “วัดสระรัชดาภิเษก” แต่ชาวบ้านนิยมเรียกว่า “วัดยาวีใต้” โดยทางวัดยาวีใต้ได้รบั ทีด่ นิ จาก ผูใ้ หญ่เจริญ นิม่ นวล เป็นจ�ำนวน 25 ไร่ (ปัจจุบันเหลืออยู่เพียง 17 ไร่ 1 งาน 40 ตารางวา เท่านั้น) และได้รับ การยกขึ้นเป็นวัด ถูกต้องตามกฎหมายในปี พ.ศ.2525 ในทุกวันนี้ วัดยาวีใต้ก็เป็นอีกวัดหนึ่งที่ได้รับความเคารพนับถือจากชาวบ้านยาวี และชาวบ้ า นใกล้ เ คี ย ง ตลอดจนญาติ โ ยมที่ เ ดิ น ทางผ่ า นไปมาบน ทางหลวงสระบุรี-หล่มสัก PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
1
.indd 83
83
19/4/2562 17:48:40
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดประตูดาว
นมัสการหลวงพ่อวัดประตูดาว พระธีรวัฒน์ สุเมโธ เลขานุการเจ้าคณะต�ำบลในเมือง อ.เมืองเพชรบูรณ์ /รักษาการแทนเจ้าอาวาส
วัดประตูดาว ตั้งอยู่ที่ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ มีทดี่ นิ ตัง้ วัดเนือ้ ที่ 10 ไร่ 2 งาน 78 ตารางวา และมีทธี่ รณีสงฆ์ 2 แปลง เนื้อที่ 10 ไร่ 1 งาน มีพระภิกษุจ�ำพรรษาปีละ 9 รูป สามเณร 2 รูป
ประวัติวัดประตูดาว
วัดประตูดาว สร้างขึ้นเป็นวัดประมาณ พ.ศ. 2319 โดยมีหลวงพล หัวหน้าตุลาการเพชรบูรณ์เป็นผู้ด�ำเนินการจัดสร้าง ได้รับพระราชทาน วิสงุ คามสีมาประมาณ พ.ศ. 2445 ในอดีตวัดประตูดาวมีชอื่ ว่า วัดประตูผี เพราะเป็นที่ล�ำเลียงศพของนักโทษที่ถูกประหารชีวิต ณ. บริเวณวัด มหาธาตุพระอารามหลวงในปัจจุบัน หลังจากบ้านเมืองเลิกโทษการ ประหารชีวิต จึงได้เปลี่ยนชื่อวัดให้เป็นมงคลนามว่า “วัดประตูดาว”
ปูชนียวัตถุที่เก่าแก่และส�ำคัญ
หลวงพ่อวัดประตูดาว พระประธานปางมารวิชัย ขนาดพระเพลา กว้าง 28 นิ้ว เป็นศิลปะสมัยอยุธยา เป็นพระคู่วัดประตูดาว คาดว่า หลวงพลหัวหน้าตุลาการได้เป็นผู้น�ำมาประดิษฐานไว้
อาคารเสนาสนะ
อุโบสถกว้าง สร้าง พ.ศ. 2447 ศาลาการเปรียญ สร้าง พ.ศ. 2500 กุฎสิ งฆ์ 4 หลัง เป็นอาคารครึง่ ตึกครึง่ ปูน 2 ชัน้ 2 หลัง อาคารไม้ 2 หลัง และศาลาธรรมสังเวช ห้องน�ำ้ 4 แห่ง และห้องน�ำ้ ส�ำหรับผูพ้ กิ าร 1 แห่ง 84
1
ล�ำดับเจ้าอาวาส
1. พระสมุห์บุญมา พ.ศ. 2487-2495 2. พระมหาทองค�ำ ปสนฺโน พ.ศ. 2500-2503 3. พระอธิการฝาย กตปุญฺโญ พ.ศ. 2504-2507 4. พระอธิการสอน อภิญฺโญ พ.ศ. 2514-2527 5. พระครูพัชรสุทธิกร พ.ศ. 2527-2560 (น.ธ.เอก/พ.ธ.บ-คณะพุทธศาสตร์ สาขาวิชาศาสนา) 6. พระธีรวัฒน์ สุเมโธ เลขานุการเจ้าคณะต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมืองเพชรบูรณ์ ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นผูร้ กั ษาการแทนเจ้าอาวาส ตั้งแต่ปี พ.ศ 2560–ปัจจุบัน
ประวัติโดยย่อพระธีรวัฒน์ สุเมโธ
พระธีรวัฒน์ สุเมโธ อายุ 37 ปี วิทยะฐานะ น.ธ.เอก/พ.ธ.บ (คณะพุทธศาสตร์ สาขาวิชาศาสนา) เดิมชื่อ นายธีรวัฒน์ อสรเวช พื้ น เพท่ า นเป็ น ชาวบางกอกน้ อ ย กรุ ง เทพมหานคร เป็ น บุ ต รโทน บิดาเป็นชาวสมุทรปราการ มารดาเป็นชาวเพชรบูรณ์ พระธีรวัฒน์ สุเมโธ เป็นพระภิกษุนกั พัฒนา พระนักการศึกษา และ พระนักสังคมสงเคราะห์โดยท่านได้รว่ มกับนายกเทศบาลต�ำบลในเมือง แจกข้าวสารแก่ประชาชนทั่วไป พร้อมทั้งมอบข้าวสารอาหารแห้งและ เงินบริจาค แก่ผู้ประสบภัยน�้ำท่วมร่วมกับส�ำนักปลัดจังหวัดเพชรบูรณ์ นอกจากนี้ ท่านยังได้มอบทุนการศึกษาแก่พระเณรทีเ่ รียนพระปริยตั แิ ละ บาลีในวัดประตูดาว และวัดใกล้เคียงตามโอกาสอันสมควร พร้อมกับส่ง พระเณรเข้าสอบนักธรรมบาลีเป็นประจ�ำทุกปี ด้านการเผยแผ่ ท่านจัด อบรมความรู ้ เ กี่ ย วกั บ วั น ส� ำ คั ญ ในพระพุ ท ธศาสนาให้ แ ก่ นั ก เรี ย น นักศึกษา และอบรมความรูด้ า้ นการท�ำสมาธิแก่พระภิกษุสามเณรพร้อม ทัง้ คฤหัสถ์ ส่วนงานด้านการสาธารณูปการ ได้แก่ ปรับภูมทิ ศั น์บริเวณวัด เป็นต้น
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
.indd 84
19/4/2562 17:44:49
วัดบ้านนายาว
ศูนย์พัฒนาคุณธรรมอ�ำเภอเขาค้อ พระครูสุเขตพัชรคุณ เจ้าคณะอ�ำเภอเขาค้อ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดบ้านนายาว หมูท่ ี่ 2 ต�ำบลทุง่ สมอ อ�ำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ 67270 เริ่ ม ก่ อ ตั้ ง เป็ นวั ด ตั้ ง แต่ ป ี พ .ศ.2467 ปั จ จุ บั น เป็ น ศูนย์ พัฒนาคุณธรรม ประจ�ำอ�ำเภอเขาค้อ
กิจกรรมบวชต้นเทพทาโร ส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดเพชรบูรณ์ ร่วมกับวัดบ้านนายาว จั ด กิ จ กรรมโครงการวั ฒ นธรรมสู ่ ก ารท่ อ งเที่ ย วต้ น ไม้ ใ หญ่ รุ ก ข มรดกของแผ่นดิน ใต้ร่มพระบารมี เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เด็ก เยาวชน ประชาชน ได้เล็งเห็นความส�ำคัญของต้นไม้ ซึ่งเป็นประโยชน์ ต่ อ การส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย วทางวั ฒ นธรรมในท้ อ งถิ่ น ที่ มี ต้นไม้ ทรงคุ ณ ค่ า ท� ำ ให้ เ กิ ด เป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ยวทางวั ฒนธรรมแห่ ง ใหม่ ของชุมชน สามารถสร้างรายได้ให้กบั ชุมชนได้อกี ทางหนึง่ โดยด�ำเนินการ จัดพิธีบวชต้นเทพทาโร ซึ่งเป็นต้นไม้ที่อยู่คู่วัดบ้านนายาวมาช้านาน เมือ่ วันพุธที่ 8 สิงหาคม 2561 เวลา 14.00 น. ณ บริเวณต้นเทพทาโร วัดบ้านนายาว ต�ำบลทุง่ สมอ อ�ำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์
PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
1
.indd 85
85
19/4/2562 17:38:28
H I S T O R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัศูนย์ดการเรีราชพฤกษ์ ยนรู้-เผยแผ่พระพุทธศาสนา พระครูชัยพัชรสถิต,ดร. เจ้าคณะต�ำบลแคมป์สน และเจ้าคณะทุกต�ำบลในอ�ำเภอเขาค้อ เจ้าอาวาสวัดราชพฤกษ์
วัดราชพฤกษ์ เลขที่ 153 หมู่ 10 ต�ำบลหนองแม่นา อ�ำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นวัดที่สร้างให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ส�ำหรับนักเรียน นิสิต นักศึกษา และประชาชนทั่วไป มาใช้ประโยชน์ในการอบรมตาม โครงการต่าง ๆ ตามแนวความคิดของพระครูชัยพัชรสถิต, ดร.
ประวัติวัดราชพฤกษ์
การสร้างวัดราชพฤกษ์ เริ่มขึ้นเมื่อ พระพรชัย จันฺทวํโส ได้เดินทาง มาจากวัดแคมป์สน ต�ำบลแคมป์สน อ�ำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ มาพ�ำนัก ณ ทีแ่ ห่งนี้ เมือ่ วันที่ 17 มกราคม พ.ศ.2540 และได้นำ� ชาวบ้าน ก่อสร้างเสนาสนะต่าง ๆ ขึน้ พร้อมกับท�ำเรือ่ งขอใช้พนื้ ทีจ่ ากกรมป่าไม้ เพื่อสร้างเป็นวัดที่ถาวร จนได้รับอนุญาตให้ใช้พื้นที่เพื่อสร้างวัดจ�ำนวน 15 ไร่ และพื้นที่ปลูกป่าเป็นพุทธอุทยานจ�ำนวน 112 ไร่ ต่อมาจึงท�ำ เรื่องขออนุญาตสร้างวัดไปยังกรมการศาสนา และได้รับอนุญาตในวันที่ 26 กันยายน พ.ศ.2545 86
1
เมื่ อ สร้ า งเสนาสนะครบตามระเบี ย บของกรมการศาสนาแล้ ว จึงได้ทำ� เรือ่ งขอตัง้ วัดขึน้ ในพระพุทธศาสนา และได้รบั อนุญาตให้ตงั้ เป็น วัดเมือ่ วันที่ 18 กันยายน พ.ศ.2546 โดยมีพระอธิการพรชัย จนฺทวํโส เป็นเจ้าอาวาส ซึง่ ต่อมาได้รบั พระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระครูสญ ั ญาบัตร ที่ พระครูชยั พัชรสถิต ในวันที่ 18 เมษายน พ.ศ.2555 ได้รบั พระราชทาน วิสุงคามสีมาเป็นวัดที่ถูกต้องตามกฎหมายมีสถานะเป็นนิติบุคคล
ประวัติโดยย่อเจ้าอาวาสวัด
พระครูชัยพัชรสถิต,ดร. เจ้าคณะต�ำบลแคมป์สนและทุกต�ำบลใน อ�ำเภอเขาค้อ และเจ้าอาวาสวัดราชพฤกษ์ วุฒิการศึกษา พุทธศาสตร์บัณฑิต(พธ.บ.) สาขาศาสนา, การศึกษา มหาบัณฑิต ( กศ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา, ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ( ปร.ด.) สาขาสิ่งแวดล้อมศึกษา
รางวัลที่ได้รับ
ได้รับรางวัล “เสมาธรรมจักรทองค�ำ” พระราชทานจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี ในฐานะผู้ท�ำคุณ ประโยชน์ตอ่ พระพุทธศาสนา “เผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศ” พ.ศ.2549 ได้รับรางวัลหน่วยอบรมประชาชนประจ�ำต�ำบล ที่มีผลงานดีเด่น ระดับจังหวัด จากส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ พ.ศ.2544
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
.indd 86
19/4/2562 17:25:49
พระครูชัยพัชรสถิต,ดร. เจ้าอาวาสวัดราชพฤกษ์
PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
1
.indd 87
87
19/4/2562 17:27:21
วัดดอกจ�ำปี
สักการะเสด็จปู่ปางเปิดโลกทรงเครื่อง พระปรีชา ปุณฺณฉนฺโท ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดดอกจ�ำปี (สวนต้นบารมี) หมู่ที่ 2 บ้านดอกจ�ำปี ต�ำบลเขาค้อ อ�ำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์
ความเป็นมาของวัดดอกจ�ำปี
เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ.2526 ทางวัดได้รับถวายที่ดินจากชาว บ้านดอกจ�ำปี รวม 49 ครอบครัว ครอบครัวละ 225 ตารางวา รวม ทั้งหมด 27 ไร่ 56 ตารางวา โดยมีหลวงพ่อพระครูภาวนาวรคุณ และ หลวงพ่อมหาโกศล จนฺทวนฺโน พร้อมทั้งพระภิกษุสงฆ์รวม 49 รูป เป็น ผู้รับถวายที่ดิน ทางคณะสงฆ์ได้มอบหมายให้พระปรีชา ปุณฺณฉนฺโท เป็นประธานสงฆ์ รวมพระอีก 8 รูป ช่วยกันดูแล 88
1
นับจากนัน้ มา พระปรีชา ปุณณ ฺ ฉนฺโท เป็นประธานสงฆ์วดั ดอกจ�ำปี มาโดยตลอด รวมระยะเวลา 36 ปีมาแล้ว และมีพลโทชุติกรณ์ สัตบุต เป็นประธานกิตติมศักดิ์ฝ่ายฆราวาส
ด้านการพัฒนาวัดดอกจ�ำปี
- วันที่ 9 เมษายน พ.ศ.2531 ได้สร้างพระพุทธรูปหน้าตัก 9 ศอก 9 นิ้ว - วันที่ 5 เมษายน พ.ศ.2556 สร้างวิหาร แล้วเสร็จในวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ.2556
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
.indd 88
19/4/2562 16:58:42
SPECIAL EXPERIENCE ินทาง เด ร า ก ง า ่ ว ะห ร น ้ ึ ข ด ิ เก ค ว า ม สุ ข ง ไม่ ใช่จุดหมายปลายทา กับ ิเศษ ัสมผัสประสบการณ์สุดพ
www.sbl.co.th
SBL บันทึกประเทศไทย
Book of sbl.indd 15
SBL MAGAZINE
SBL บันทึกประเทศไทย
. - 19/04/2562 10:47:15 AM
If you love
HISTORY OF THAILAND you'll adore SBL MAGAZINE
www.sbl.co.th
SBL บันทึกประเทศไทย SBL MAGAZINE SBL บันทึกประเทศไทย
วั ด ภู เ ขาพระอั ง คาร ตั้งอยู่ในท้องที่ อ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ
และเขตของอ� ำ เภอนางรอง จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ เป็ น ภู เ ขาไฟที่ ดั บ สนิ ท แล้ ว ห่ า งจากภู เ ขาพนมรุ ้ ง ไปทางทิ ศ ตะวั น ตกประมาณ 10 กิ โ ลเมตร ห่ า งจาก จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ ป ระมาณ 72 กิ โ ลเมตร ตามเส้ น ทางบุ รี รั ม ย์ - นางรอง
Book of sbl.indd 16
. - 19/04/2562 14:30:07 PM
Let’s Go Thailand With SBL บันทึกประเทศไทย
HISTORY OF THE PROVINCE
TOURIST ATTRACTIONS SBL บันทึกประเทศไทย
Let's go thailand.indd 13
www.sbl.co.th SBL MAGAZINE
THE VILLAGERS IN THE PROVINCE SBL บันทึกประเทศไทย
. - 19/04/2562 17:32:24 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัหลอมรวม ดจัน“บวร”ทราราม ไว้เป็นหนึ่งด้วยคุณธรรมอันประเสริฐ
พระครูถาวรพัชรคุณ (หลวงพ่อสายบัว ถาวรธมฺโม) เจ้าอาวาส/ทีป่ รึกษาเจ้าคณะอ�ำเภอชนแดน
วัดจันทราราม ปัจจุบันตั้งอยู่ที่บ้านตะกุดจั่น หมู่ที่ 8 ต�ำบลท่าข้าม อ�ำเภอชนแดน จังหวัดเพชรบูรณ์
ประวัติวัดจันทราราม
ในอดีตทีห่ มูบ่ า้ นตะกุดจัน่ จะมีพระธุดงค์แวะเวียนมา และพักโปรด ญาติโยมเป็นประจ�ำ หมื่นชาญสรกิจ ต้นตระกูลกันธุ และชาวบ้าน จึงร่วมใจกันสร้างศาลาถวายเป็นที่พักสงฆ์ เมื่อ พ.ศ. 2489 และ นายฟอง กันธุ (บุตรชายหมื่นชาญสรกิจ) เป็น ผู้สร้างศาลาหลังที่ 2 โดยมี ร ้ อ ยโทพลอย นิยมไทย และคุณประภา นิยมไทย ภรรยา เป็นผู้ถวายที่ดิน มีเนื้อที่ 17 ไร่ 3 งาน 29 ตารางวา ต่อมามีพระอาจารย์เสรี และสามเณรเทือง เดินธุดงค์มาพ�ำนักอยู่ ที่สำ� นักสงฆ์ตะกุดจั่น และได้สร้างศาลาเสนาสนะ ถึงเวลาจ�ำพรรษาก็ เดิ น ทางกลั บ ไปจ� ำ พรรษาที่ บ ้ า นทั บ กฤช อ� ำ เภอชุ ม แสง จั ง หวั ด นครสวรรค์ เมือ่ สามเณรเทืองอายุครบบวช จึงได้ญตั ติเป็นพระภิกษุสงฆ์ ฉายา ฐานุตตฺ โร และท่านรูจ้ กั กับพระสายบัว ถาวรธมฺโม เมือ่ ออกพรรษา แล้ว พระอาจารย์เทือง ฐานุตฺตโร จึงได้เดินทางมากับพระอาจารย์เสรี 92
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
2
.indd 92
เพื่อมาช่วยกันสร้างที่พักสงฆ์ตะกุดจั่น เมื่อสร้างเสร็จแล้วพระอาจารย์ เสรีได้ออกธุดงค์ต่อ โดยให้พระอาจารย์เทือง ฐานุตฺตโร อยู่ปกครอง ครั้นในปี พ.ศ.2503 พระอาจารย์เทือง ฐานุตฺตโร ได้นิมนต์ พระสายบัว ถาวรธมฺโม (พระครูถาวรพัชรคุณ เจ้าอาวาสวัดจันทราราม รูปปัจจุบัน) มาช่วยสร้างศาลาเสนาสนะ และได้ปรึกษาเรื่องชื่อของ “วัดตะกุดจั่น” ว่าฟังแล้วไม่ไพเราะ จึงได้คิดชื่อใหม่ โดยพระอาจารย์ เทือง ฐานุตฺตโร ให้ชื่อว่า “วัดจันทราราม” ซึ่งเป็นที่พักสงฆ์ในสมัยนั้น ต่อมาท่านเห็นว่าพระสายบัว ถาวรธมฺโม เป็นผูม้ คี วามสามารถทีจ่ ะดูแล
19/4/2562 17:00:00
และปกครองวัดนีต้ อ่ ไปได้ จึงลาสิกขาและขอร้องให้พระสายบัวอยูด่ แู ล และพัฒนาที่พักสงฆ์ตะกุดจั่นนี้ให้ได้เป็นวัดต่อไป โดยท่านได้ลาสิกขา ที่จังหวัดสิงห์บุรี ในปี พ.ศ.2506 หลังจากนัน้ พระสายบัว ถาวรธมฺโม ก็ได้กอ่ สร้างและพัฒนาทีพ่ กั สงฆ์ มาเรือ่ ยๆ จนได้เป็นวัดอย่างถูกต้อง ในปี พ.ศ.2513 ชือ่ วัดจันทราราม และ ได้มญ ี าติโยม อ.บ้านแพรก จ.อยุธยา กรมไปรษณียไ์ ด้สร้างศาลาโดยการ เปลีย่ นจากเสาไม้เป็นเสาปูน และข้าราชการผูใ้ หญ่เขตบางรัก ได้มาสร้าง แท็งก์เก็บน�้ำฝนไว้ให้ใช้ดื่มกิน และสร้างห้องน�้ำให้แก่วัด ต่อมามีการ ก่อสร้างศาลาการเปรียญขึน้ โดยนายอินทร์ กันยนต์ เป็นนายช่างประจ�ำวัด นายบัว สังข์เมือง, นายเหรียญ ค�ำเวิน, นายทองมา ทองแบบ เป็น มัคนายก นายหวัน่ ปัสสาวัส เป็นโยมอุปฏั ฐากประจ�ำวัด พระสายบัว ถาวรธมฺโม ได้สร้างเสนาสนะและพัฒนาวัดให้รุ่งเรือง มาจนทุกวันนี้ เนื่องด้วยมีญาติโยมที่มีจิตศรัทธาถวายปัจจัยมาตลอด และได้ซื้อที่ดินเพิ่มอีก 9 ไร่เศษ
หลวงพ่อสายบัวพระอริยสงฆ์ผู้เปี่ยมล้นด้วยเมตตาบารมี
หลวงพ่อสายบัว ถาวรธมฺโม หรือ พระครูถาวรพัชรคุณ เจ้าอาวาส วัดจันทราราม และเป็นที่ปรึกษาเจ้าคณะอ�ำเภอชนแดน ท่านคือพระผู้ เป็นหนึ่งที่ถึงพร้อมด้วยความดี เป็นอริยสงฆ์ที่ชาวบ้านเคารพนับถือ เลื่อมใสศรัทธา ทั้งจริยาวัตรอันน่านับถือ มีวัตรปฏิบัติดีงามสมเป็น พระสุปฏิปันโน สร้างสรรค์บ�ำเพ็ญเพียรเพื่อจรรโลงพระพุทธศาสนา อย่างจริงจัง มากด้วยเมตตาบารมี หลวงพ่อจึงเป็นที่พึ่งยึดเหนี่ยวจิตใจ ของทุกคนให้ถึงพร้อมในบวรพุทธศาสนา หลอมรวมบ้าน วัด โรงเรียน ไว้เป็นหนึ่งด้วยคุณธรรมอันประเสริฐล�้ำเลิศ มุ่งมั่นท�ำความดีสามัคคี พร้อมเพรียง ศาสนวัตถุที่เด่นเป็นสง่าของวัดจันทราราม อันได้แก่ พระอุโบสถ จัตุรมุขซึ่งประดับประดาอย่างวิจิตรตระการตา ทั้งหน้าบรรณซึ่งวาด ลวดลายเป็นลายกนกสลักด้วยนารายณ์ทรงครุฑ บนยอดอุโบสถยังมี ยอดเจดีย์ และรอบนอกยังมีศาลาลายประดิษฐานพระสาวกจ�ำนวน 80 องค์ นอกจากนั้นยังมีรูปปั้นยักษ์และสิงห์ขนาดใหญ่ตั้งตระหง่าน ตรงทางประตูเข้าโบสถ์ทั้ง 4 ทิศ ในปี พ.ศ.2546 พระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรรา ชาทินัดดามาตุ ได้เสด็จมาเป็นองค์ประธานในพิธีผูกพัทธสีมาและ ตัดหวายลูกนิมติ ณ อุโบสถวัดจันทราราม ซึง่ มวลหมูพ่ สกนิกรได้ชนื่ ชม บารมีและอนุโมทนาบุญด้วยความปีตยิ นิ ดีในพระกรุณาธิคณ ุ กันทัว่ หน้า ทั้งนี้วัดจันทราราม ยังเป็นแหล่งเรียนรู้ทางด้านศิลปกรรม และ ประติมากรรมทีง่ ดงาม เป็นศูนย์รวมสืบสานประเพณีสำ� คัญๆ ของท้องถิน่ จนเป็นทีเ่ ลือ่ งลือของอ�ำเภอชนแดนและทุกๆ ปี ในวันขึน้ 15 ค�ำ่ เดือน 12 ทางวัดจะจัดให้มปี ระเพณีลอยกระทง โดยใช้ลานรอบอุโบสถของวัดเป็น สระน�ำ้ ขนาดใหญ่ มีการประกวดธิดาวันเพ็ญ นางนพมาศ และการแสดง พื้นเมือง จึงมีประชาชนหลั่งไหลมาจากทุกสารทิศ เพื่อมาเที่ยวชมกัน อย่างหน่าแน่น นอกเหนือจากวันส�ำคัญทางพุทธศาสนาแล้ว พุทธศาสนิกชนที่มี ความเลือ่ มใสและศรัทธาในหลวงพ่อสายบัว ถาวรธมฺโม จะร่วมกันจัดงาน “อายุวฒ ั นมงคลหลวงพ่อสายบัว ถาวรธมฺโม” เพือ่ แสดงมุทติ าสักการะ ทุกวันที่ 21 กุมภาพันธ์ ของทุกปี และร่วมอนุรักษ์ประเพณีสงกรานต์ มีการสรงน�ำ้ หลวงพ่อ ทุกวันที่ 17 เมษายน ของทุกปีเช่นกัน PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 93
93
19/4/2562 17:00:13
วัดซับตะเคียน (ภูพระธาตุ)
สักการะหลวงพ่อโต ภูพระธาตุ
พระครูภาวนาพัชรโพธิ (วิ.) (พระดิเรก อาวุธปญโญ) เจ้าอาวาส
วัดซับตะเคียน (ภูพระธาตุ) ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 444 หมู่ 21 ต�ำบลลาดแค อ�ำเภอชนแดน จังหวัดเพชรบูรณ์ วัดซับตะเคียน เป็นวัดที่มีทั้งสถานที่ ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ และที่ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เนื่องจากว่ามี ซากฟอสซิลหอยล้านปีบนยอดเขาวัดซับตะเคียน เป็นที่ประดิษฐาน พระพุทธพิชิตมารมหามงคล หรือ หลวงพ่อโต ภูพระธาตุ และมี ญาติโยมมาปฏิบัติธรรมเป็นประจ�ำ ปีพ.ศ.2524 ได้สร้างเป็นที่พักสงฆ์ ภูพระธาตุ และได้รับการ แต่งตั้งเป็นวัดซับตะเคียน (ภูพระธาตุ) เมื่อปี พ.ศ.2551 วัดได้รับ การพั ฒ นาเรื่ อ ยมา และได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า เมื่ อ ปี พ.ศ.2556 ซึ่งมีพระครูภาวนาพัชรโพธิ (วิ) เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน เป็น ผู้สร้างวัด 94
2
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
.indd 94
19/4/2562 17:43:48
เมรุ
ศาลาโดมเอนกประสงค์
ศาลาบูรพาจารย์
ศาลาอาวุธปัญโญ
ศาลาเพียรอภิธรรม PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 95
95
19/4/2562 17:44:03
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วักราบขอพรพระพุ ดสว่างเนตร ทธชินราช พระครูโอภาสพัชรสาร (คเชนทร์ จนฺทสีโร) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดสว่างเนตร ตั้งอยู่เลขที่ 444 หมู่ 3 ต�ำบลดงขุย อ�ำเภอชนแดน จังหวัดเพชรบูรณ์ (เดิมทีตั้งอยู่เลขที่ 152 หมู่ 2 ต�ำบลดงขุย) มีพื้นที่ ทัง้ หมด 7 ไร่ 2 งาน ปัจจุบนั มีพระภิกษุจำ� พรรษา 13 รูป สามเณร 2
ประวัตคิ วามเป็นมา
วัดสว่างเนตร เริ่มก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ.2492 โดยการน�ำของ นายบุญนายแก้ว จินตนา และนายไคร่ ศรีเกษตร พร้อมด้วยชาวบ้านดงขุย ได้ รวบรวมเงินเพือ่ ซือ้ ทีด่ นิ ในการสร้างทีพ่ กั สงฆ์ และได้เริม่ สร้างถาวรวัตถุ ภายในวัดเป็นล�ำดับมา และในปีเดียวกันนั้น ทางชาวบ้านดงขุยโดย การน�ำของ นายบุญ จินตนา ได้ไปกราบนิมนต์ พระเหม เตชธมฺโม หรือ หลวงปู่อ้วน เตชธมฺโม มาจ�ำพรรษาพร้อมด้วยพระภิกษุและสามเณร จ�ำนวน 3 รูป ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2494 ได้รับการประกาศให้เป็นวัดอย่างถูกต้อง นามว่ า “วั ด สว่ า งเนตร” และในปี เ ดี ย วกั น ได้ รั บ พระราชทาน วิ สุ ง คามสี ม าอุ โ บสถหลั ง แรก ปั จ จุ บั น ยั ง คงเหลื อ ซุ ้ ม อุ โ บสถและ พระพุทธชินราช ซึ่งเป็นพระประธานในอุโบสถหลังแรก และในปี พ.ศ.2499 วัดสว่างเนตรก็ได้มเี จ้าอาวาสรูปแรก คือ พระอธิการเหม เตชธมฺโม หรือหลวงปู่อ้วน เตชธมฺโม และในปี พ.ศ.2501 ได้รับพระราชทาน สมณศักดิ์ ที่ พระครูวิชานพัชรกิจ 96
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
1
.indd 96
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส
1. พระครูวิชานพัชรกิจ (หลวงพ่ออ้วน เตชธมฺโม) พ.ศ.2499-พ.ศ.2514 2. พระอธิการทองสุก สิริจนฺโท พ.ศ.2516-พ.ศ.2519 3. พระครูโอภาสพัชรญาณ (สุดใจ อิสิญาโณ) พ.ศ.2521-พ.ศ.2543 4. พระครูโอภาสพัชรสาร (คเชนทร์ จนฺทสีโร) พ.ศ. 2547 ถึงปัจจุบัน หมายเหตุ เจ้าอาวาสวัดสว่างเนตรได้เป็นพระอุปัชฌาย์ทุกรูป
19/4/2562 17:36:11
วัด้วยพลัดใหม่ ถ ้ � ำ แก้ ว งศรัทธาสู่พระบวรพุทธศาสนา พระปลัดสามารถ จนฺทสาโร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดใหม่ถำ�้ แก้ว ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 444 หมู่ 7 ต�ำบลลาดแค อ�ำเภอชนแดน จังหวัดเพชรบูรณ์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดิน 15 ไร่ ตามโฉนด เลขที่ ส.ป.ก.4-30 ออกให้ ณ วันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ.2530
ประวัติความเป็นมา
เนือ่ งจากวัดใหม่ถำ�้ แก้วเป็นวัดทีเ่ กิดมาก่อนปี พ.ศ.2483 หลักฐาน ต่างๆ จึงค่อนข้างหายากและศูนย์หาย แต่ได้มีหนังสือรับรองสภาพวัด ออกโดยทีว่ า่ การอ�ำเภอชนแดน เมือ่ วันที่ 16 พฤษภาคม 2537 โดยรับรอง ว่าวัดใหม่ถำ�้ แก้วเป็นวัดทีถ่ กู ต้อง ซึง่ จังหวัดได้สง่ เรือ่ งให้กรมการศาสนา พิจารณารับรองสภาพวัด พร้อมทัง้ ตรวจสอบทะเบียนจากกรมการศาสนา แล้ว โดยนายอ�ำเภอชนแดนขณะนั้นเป็นผู้ลงนาม
การก่อสร้างเสนาสนะ
ด้วยพลังศรัทธาของชาวบ้านถ�ำ้ แก้วทีไ่ ด้รว่ มบริจาคทรัพย์ และได้บอก ญาติๆ มาร่วมสร้างถาวรวัตถุขนึ้ ภายในวัด ได้แก่ ศาลาการเปรียญ 1 หลัง หอสวดมนต์ 1 หลัง กุฏิสงฆ์ 6 หลัง ห้องน�้ำ 2 หลัง พร้อมกันนั้นได้ สร้างอุโบสถขึ้นมา 1 หลัง โดยวางศิลาฤกษ์วันที่ 17 สิงหาคม 2538 โดยมีพระอธิการลี พลอยกลม เป็นเจ้าอาวาสขณะนัน้ ต่อมาได้ลาสิกขา เมื่อปี พ.ศ.2549 ได้มอี ธิการเอื้อ พิมพ์ศิริ มาเป็นเจ้าอาวาส ตั้งแต่ปี พ.ศ.2550–2552 และในเวลาต่อมาพระอธิการเอื้อก็ได้ลาออกจาก ต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดใหม่ถ�้ำแก้ว หลังจากนัน้ วัดใหม่ถำ�้ แก้วก็ไม่มพี ระภิกษุอยูจ่ ำ� พรรษาแม้แต่รปู เดียว ทางเจ้าคณะต�ำบลลาดแค และชาวบ้านถ�้ำแก้วก็ได้นิมนต์พระสามารถ จนฺทสาโร จากวัดลาดแค มารักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดใหม่ถ�้ำแก้ว เมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ.2553 ท่านได้พัฒนาวัดเรื่อยมาจนได้รับการ แต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาส เมื่อวันที่ 1 กันยายน พ.ศ.2556 และได้ร่วมกับ ชาวบ้านก่อสร้างอุโบสถต่อจากเจ้าอาวาสรูปเดิม จนถึงปัจจุบนั นีส้ ำ� เร็จ เรียบร้อยแล้ว อุโบสถนีร้ าคาประมาณ 8 ล้านบาท ก�ำหนดเขตกว้าง 22 เมตร ยาว 44 เมตร และมีกำ� หนดจัดงานผูกพัทธสีมา ปิดทองฝังลูกนิมติ ระหว่าง วันที่ 28 ธันวาคม - 6 มกราคม พ.ศ.2558 รวม 9 วัน 10 คืน PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
1
.indd 97
97
19/4/2562 17:35:33
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
98
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
2
.indd 98
19/4/2562 17:02:40
ส�ำนักปฏิบัติธรรมภูไผ่ สาขาวัดโคกมน 1 พระจิรโรจน์ อคคฺธมฺโม รักษาการแทนเจ้าส�ำนักปฏิบัติธรรมภูไผ่ สาขาวัดโคกมน 1
ส� ำ นั ก ปฏิ บั ติ ธ รรมภู ไ ผ่ สาขาวั ด โคกมน 1 ต� ำ บลน�้ ำ หนาว อ�ำเภอน�้ำหนาว จังหวัดเพชรบูรณ์
ประวัติการก่อตั้ง
ส�ำนักปฏิบัติธรรมภูไผ่ สาขาโคกมน 1 ตั้งมาประมาณ 15 ปีแล้ว แต่ไม่ทราบข้อมูลที่แน่ชัด มีเนื้อที่ 11 ไร่ 2 งาน ตั้งอยู่บนภูเขา สามารถมองเห็นทิวทัศน์ได้รอบด้าน 90 องศา เหมาะส�ำหรับผู้ที่ ต้องการมาปฏิบัติธรรม สูดอากาศที่บริสุทธิ์ รอบล้อมด้วยธรรมชาติ เงียบสงบ มีที่พัก สามารถรองรับญาติโยมและผู้มีจิตศรัทธาได้เพียงพอ ในช่วงเทศกาลเข้าพรรษา จะมีญาติโยมมาปฏิบัติธรรมกันเป็นประจ�ำ ทุกปี ส่วนในช่วงวันปกติธรรมดา ก็จะมีญาติโยมขึ้นไปปฏิบัติธรรม เช่นเดียวกัน แต่ไม่เยอะเท่ากับช่วงเข้าพรรษา
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
ส�ำหรับพุทธศาสนิกชนที่ประสงค์จะมาปฏิบัติธรรม ณ ส�ำนักปฏิบัติธรรมภูไผ่ สาขาโคกมน 1 ติดต่อสอบถามได้ที่ โทร. 082-905-5496 PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 99
99
19/4/2562 17:02:57
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
100
2
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
.indd 100
19/4/2562 17:43:03
วัดทรัพย์เกษตรใน
ศูนย์รวมใจของชาวบึงสามพัน
พระครูประโชติพชั รธรรม โชติปญฺโญ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดทรัพย์เกษตรใน เลขที่ 156 หมู่ที่ 9 ต�ำบลบึงสามพัน อ�ำเภอ บึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ปัจจุบันมีพระครูประโชติ พัชรธรรม โชติปญโญ เป็นเจ้าอาวาส
ประวัติโดยย่อเจ้าอาวาส
พระครู ประโชติพัช รธรรม โชติป ญฺโ ญ (อ�ำนวย ระวาดชัย) เจ้าอาวาสวัดทรัพย์เกษตรใน อ�ำเภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ์ เจ้าคณะต�ำบลกิตติมศักดิ์ และพระอุปัชฌาย์ วิทยฐานะ นธ.เอก พธ.บ. M.A. (Buddhist Studies) พุทธคุณวุฒิพิเศษ พระนักบรรยายธรรม พระสอนศีลธรรมในโรงเรียน สมณศักดิ์ พ.ศ. 2554 พระครูประโชติพัชรธรรม (อ�ำนวย) ได้รับการเลื่อนชั้น พระสังฆาธิการ เป็นพระครูสัญญาบัตร จต.ชอ.
ความส�ำคัญของวัด
วัดทรัพย์เกษตรใน ไม่เพียงแต่จะเป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวบ้าน ต�ำบลบึงสามพัน ซึ่งได้มาท�ำบุญตักบาตร ถือศีล ฟังเทศน์ฟังธรรมใน
วันส�ำคัญทางศาสนา และเพือ่ ประกอบพิธกี รรมส�ำคัญต่างๆ เท่านัน้ แต่ หน่วยงานราชการยังได้มาใช้สถานที่ภายในวัดเพื่อจัดกิจกรรมต่าง ๆ อาทิ โครงการอ�ำเภอยิ้มเคลื่อนที่ โครงการ อบต.เคลื่อนที่ เป็นต้น อีก ทั้งยังเป็นวัดที่เข้าร่วมโครงการบรรพชาสามเณรฟื้นฟูพระพุทธศาสนา ทั่วไทย ประจ�ำปี 2559 จึงนับได้วา่ วัดทรัพย์เกษตรในเป็นวัดที่มีความ ส�ำคัญอีกวัดหนึ่งในอ�ำเภอบึงสามพัน
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
สาธุชนท่านใดประสงค์จะร่วมสร้างเส้นทางบุญกับวัดทรัพย์เกษตรใน สามารถติดต่อได้ที่ พระครูประโชติพัชรธรรม โชติปญฺโญ เจ้าอาวาสวัด ทรัพย์เกษตรใน โทร.056-732393, 095-895-9441 PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 101
101
19/4/2562 17:43:19
พระพุทธมหาเมตตา
วัดภูเขาทอง วัดภูเขาทอง...กราบขอพร พระพุทธมหาเมตตา
พระครูบรรพตพัชรกิตติ์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดภูเขาทอง หมูท่ ี่ 12 ต�ำบลวังศาล อ�ำเภอวังโป่ง จังหวัดเพชรบูรณ์
ประวัติความเป็นมา
วัดภูเขาทอง เป็นวัดทีส่ ร้างขึน้ โดยได้รบั การอุปถัมภ์จากหลวงพ่อทบ พระเถระผูท้ รงคุณแห่งจังหวัดเพชรบูรณ์ ได้ให้ความเมตตาเป็นประธาน สร้างวัด ปัจจุบันพระครูบรรพตพัชรกิตติ์ เป็นเจ้าอาวาส และได้บูรณ ปฏิสงั ขรณ์เสนาสนะต่าง ๆ
งานประจ�ำปี
หลวงพ่อเจ้าสัว...พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์
ภายในอุโบสถวัดภูเขาทอง มีพระประธานนามว่า “พระพุทธมหา เมตตา” หรือทีค่ นรูจ้ กั กันในนาม “หลวงพ่อเจ้าสัว” เป็นพระพุทธรูปปาง ประทานพร หน้าตัก 9 ศอก สร้างเมือ่ คราวฉลองพุทธยันตี 2,600 ปี โดย ภายในพระพุทธรูป บรรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุของพระพุทธเจ้าไว้ให้สาธุชน ได้กราบไหว้บชู า
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
ขอเชิญพุทธศาสนิกชนและผูม้ จี ติ ศรัทธา ร่วมท�ำบุญสร้างเส้นทางบุญ กับวัดภูเขาทอง ได้ที่ ธนาคารกรุงไทย สาขาชนแดน ชือ่ บัญชี วัดภูเขาทอง เลขบัญชี 623-1-36776-2 หรือสอบถามเพิม่ เติมได้ทเี่ จ้าอาวาสวัดภูเขาทอง พระครูบรรพตพัชรกิตติ์ โทร 063-565-6551
ทุกวันที่ 14 มีนาคม ของทุกปี วัดภูเขาทองจะจัดงานบ�ำเพ็ญกุศล อุทศิ ให้ กับหลวงพ่อทบ เพือ่ ระลึกถึงคุณงามความดีของหลวงพ่อทบทีม่ ตี อ่ วัดภูเขาทอง 102
2
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
.indd 102
22/4/2562 16:45:07
แหวนหลวงพ่อทบ รุ่นเสาร์ 5 พญามังกร PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 103
103
22/4/2562 16:45:22
วัดผดุงราษฎร์ ราษฎร์สร้างวัดผดุงค�้ำจุนศาสนา
พระอธิการชัยวัช สิริจนฺโท/ศรีจันทร์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดผดุงราษฎร์ เลขที่ 251 หมู่ 1 บ้านวังชะนาง ต�ำบลท้ายดง อ�ำเภอวังโป่ง จังหวัดเพชรบูรณ์ 67240
ประวัติความเป็นมา
เมื่อประมาณปี พ.ศ.2486–2487 นายจ�ำลักษณ์ พัฒโนดม เป็นบุตรของขุนเจริญ พลรบ หรือพันตรีจรูญ พัฒโนดม จบการศึกษา จากโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า จังหวัดนครปฐม ได้พาชาวบ้าน สายดงยาง หนองน�ำ้ เต้า บ่อทราย ตลาดทับคล้อใต้ ทับคล้อเหนือ หนองอีตู้ ต�ำบลทับคล้อ อ�ำเภอตะพานหิน จังหวัดพิจติ ร มาจับจองทีด่ นิ และทีน่ า ซึ่ ง ขณะนั้ น ยั ง เป็ น พื้ น ที่ ว ่ า งเปล่ า และเป็ น ป่ า ดงดิ บ ในเขตจั ง หวั ด เพชรบูรณ์ โดยให้สิทธิ์คนละ 50 ไร่ นายจ�ำลักษณ์ ได้กันที่ดินส่วนหนึ่งเป็นที่ดินของวัดและโรงเรียน และด�ำเนินเรื่องไปยังกรมที่ดินกระทรวงมหาดไทย แต่เรื่องยังไม่อยู่ใน ช่วงระหว่างด�ำเนินการ นายจ�ำลักษณ์ได้เสียชีวิตก่อน จึงเกิดข้อพิพาท ของเขตแดน กระทั่ง พล.ต.ต.ผดุง สิงหเสนีย์ อดีตผบก.ภ.จ.พิษณุโลก ต้องเข้ามาด�ำเนินการต่อ จนเป็นฝ่ายชนะ หลังจากนั้น ผู้การฯผดุง ได้จัดการตั้งชื่อบ้านให้ใหม่ จากบ้านก้นชะนาง เป็นบ้านวังชะนาง มีนายค�ำมุ้ย ริมกระโทก เป็นผู้ใหญ่บ้านคนแรก 104
1
ส่วนวัดตั้งชื่อว่า “วัดผดุงอุปถัมภ์” ต่อมาเปลี่ยน “วัดผดุงราษฎร์” โดยมี ผู ้ ที่ บู ร ณะวั ด ต่ อ ได้ แ ก่ หลวงตาสวาท (อาภสฺ ส โร) หรื อ ท่านพระครูพชั รประชานุกลู ( อาภสฺสโร) ซึง่ ได้ทำ� นุบำ� รุงวัดผดุงราษฎร์ จนเป็นที่รู้จักจนถึงปัจจุบัน นางจุไร พัฒโนดม ภรรยาของนายจ�ำลักษณ์ พัฒโนดม ยังมีชวี ติ อยู่ ปัจจุบนั อายุ 87 ปี อยูบ่ า้ นเลขที่ 54 หมู่ 7 บ้านสายดงยาง อ�ำเภอทับคล้อ จั ง หวั ด พิ จิ ต ร คุ ณ ยายจุ รี ชั ย รั ต น์ อายุ 76 ปี อยู่บ้านเลขที่ 122 หมู่ 5 ต�ำบลท้ายดง อ�ำเภอวังโป่ง จังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นผู้ให้ข้อมูลเพื่อ ให้ทุกคนระลึกถึงคุณงามความดีของผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว นายภูมิ วงศ์บตุ รดี, นายสน ใสแก้ว ทิศตะวันตก นายหนึง่ ฟักเสือ่ ม, นายที ชุมพล ส่วนนายจ�ำลักษณ์ พัฒโนดม พร้อมกับนางจุไร พัฒโนดม ภรรยาได้มอบนาจ�ำนวน 50 ไร่ ให้กับพล.ต.ต.ผดุง สิงหเสนีย์ เป็นการ ตอบแทนพระคุณ ให้ทดี่ นิ ทีจ่ บั จองในเขตจังหวัดเพชรบูรณ์ จึงเรียกทีน่ า นั้นว่า “นาผู้การ” มาจนถึงปัจจุบัน นางจุไร พัฒโนดม ภรรยาของนายจ�ำลักษณ์ พัฒโนดม ปัจจุบัน ยังมีชวี ติ อยู่ อายุ 87 ปี อยูบ่ า้ นเลขที่ 54 หมู่ 7 บ้านสายดงยาง อ�ำเภอทับคล้อ จังหวัดพิจิตร คุณยายจุรี ชัยรัตน์ อายุ 76 ปี อยู่บ้านเลขที่ 122 หมู่ 5 ต�ำบลท้ายดง อ�ำเภอวังโป่ง จังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นผูใ้ ห้ขอ้ มูลเพือ่ ให้ทกุ คน ระลึกถึงคุณงามความดีของผูท้ ลี่ ว่ งลับไปแล้ว
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
.indd 104
19/4/2562 17:21:10
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
ประวัติพระครูพัชรปุญญาภรณ์
วัดบุญชัย
จากศรัทธาสู่ขอบขัณฑสีมาวัดบุญชัย พระครูพัชรปุญญาภรณ์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดบุญชัย หมู่ 4 บ้านกระโทก ต�ำบลท่าโรง อ�ำเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์
ประวัติความเป็นมา
วัดบุญชัย ได้สร้างขึน้ เมือ่ พ.ศ.2525 โดยได้ยา้ ยมาจากทีต่ งั้ เดิมคือ วัดซับม่วง ในปี พ.ศ.2527 ผู้ใหญ่พวง จ่ายกระโทก ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 4 บ้านกระโทก สมัยนั้นได้ท�ำเรื่องขอตั้งวัดไปยังกระทรวงศึกษาธิการ และได้รับอนุมัติให้ชื่อว่า “วัดบุญชัย” ณ วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ.2528 เหตุทไี่ ด้ชอื่ วัดบุญชัย มาจากนามสกุลของผูบ้ ริจาคทีด่ นิ คือค�ำว่า “บุญ” และส่วนมากชาวบ้านที่อยู่ใกล้และช่วยพัฒนาวัดมาตลอด เป็นผู้ที่ย้าย มาจาก อ.โชคชัย บ้าง อ.ปักธงชัย บ้าง จึงเอาค�ำว่า “ชัย” มาใส่ จึงเป็น ที่มาของชื่อ “วัดบุญชัย”
พระครู พั ช รปุ ญ ญาภรณ์ (ประจวบ พรดอนงามเมื อ งปั ก ) เกิดวันพฤหัสที่ 18 มีนาคม พ.ศ.2491 ณ บ้านเลขที่ 40 ม.5 ต.เมืองปัก อ.ปักธงชัย จ.นครราชสีมา เป็นบุตรของพ่อคง-แม่ข้อ พรดอน มีพี่น้อง 8 คน ในปี พ.ศ.2500 ได้อพยพครอบครัวมาอยู่ที่บ้านทางท่าเสา เลขที่ 40 ม.4 ต.ท่าโรง อ.วิเชียรบุรี จ.เพชรบูรณ์ (บ้านกระโทกในปัจจุบนั ) ในวัยเด็ก พระครูพัชรปุญญาภรณ์ มีความสามารถบวก ลบ คูณ หาร และอ่านเขียนได้ดี จึงได้เป็นหัวหน้าชั้นเรียนตั้งแต่ ป.1 เมื่อจบ การศึกษาชัน้ ป. 4 แล้ว ไม่มโี อกาสทีจ่ ะเรียนต่อในระดับมัธยม เนือ่ งด้วย ฐานะความเป็นอยูท่ างบ้านไม่ดี จึงท�ำไร่ไถนาไปตามประสาของลูกชาวนา อุปสมบท วันที่ 15 มีนาคม พ.ศ.2513 ณ พัทธสีมา วัดป่าเรไรทอง โดยมีพระครูวิเชียรบุรารักษ์ เจ้าคณะอ�ำเภอสมัยนั้นเป็นพระอุปัชฌาย์ มีพระขันทอง มีพระโต ผาสุโก (เผ่า อินทร์จนั ทร์) เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ฉายา ปาสาทิโก แปลว่า ผู้เลื่อมใสในความดี บวชอยู่สักพักจนเข้า พรรษาที่ 2 ก็ได้ลาสิกขาในวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ.2515 เนื่องจากมี อาการปวดศีรษะไม่หาย ท่านเลยคิดว่ามีบญ ุ บวชได้เพียงแค่นี้ จนกระทัง่ ในวันอังคารที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2519 ก็ได้เข้าอุปสมบทอีกครั้ง เมือ่ อายุ 28 ปี ณ พัทธสีมา วัดหนองไผ่พทิ ยาราม ต.กองทูล อ.หนองไผ่ จ.เพชรบูรณ์ และเมือ่ วันที่ 4 มีนาคม พ.ศ.2530 ผูใ้ หญ่พวง จ่ายกระโทก ได้นำ� คณะ เข้าไปอาราธนาพระครูพัชรปุญญาภรณ์ให้มาอยู่วัดบุญชัย เพื่อพัฒนา วัดบุญชัยให้เจริญรุ่งเรืองสืบต่อมาจนปัจจุบัน
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
สาธุชนผู้มีจิตศรัทธาทั้งหลายสามารถร่วมสร้างเส้นทางบุญ กับวัดบุญชัยได้ที่ ธนาคารกรุงไทย สาขาวิเชียรบุรี ชื่อบัญชี วัดบุญชัย เลขที่บัญชี 629-1-15673-3 PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
1
.indd 105
105
19/4/2562 17:35:51
บันทึกไทยแลนด์ 4.0 3 แนวทาง การปฏิรปู ในอนาคต ในที่ประชุมดังกล่าว ยังได้พิจารณาให้ด�ำเนินโครงการ หรือ แนวทางการปฏิรูปครอบคลุม 3 ด้านด้วยกัน คือ ปฏิรูป การศึกษา ปฏิรปู สาธารณสุข และปฏิรปู เศรษฐกิจ ประกอบ ไปด้วย 1. ยกระดับความสามารถด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่ อ เพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขั น ของประเทศ (STEM) โดยยกระดับความสามารถด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีของเยาวชนไทยควบคู่กับ การพัฒนาการเรียน การสอนวิทยาศาสตร์สู่ประเทศไทย 4.0 ในแนวทางต่าง ๆ เช่น พัฒนาเมืองสะเต็มศึกษา (STEM Edupolis) เป็นฐาน ปฏิบัติการฝึกแนวทางสะเต็ม และการปรับเปลี่ยนการเรียน การสอนผ่านการฝึกอบรมและ พัฒนาครูให้เป็น STEM Facilitator (ครูวิทย์ 4.0) สร้างเครื่องมือการเรียนการสอน STEM ที่ส่งเสริมให้เกิดความรู้ ความเข้าใจในวิทยาศาสตร์ และสามารถบูรณาการร่วมกับสาขาวิชาต่าง ๆ ได้ซึ่งจะเริ่ม ด�ำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 (ระยะเวลาด�ำเนิน การ 8 ปี) และมุ่งหวังให้คะแนนสอบ PISA2021 ของ นักเรียนไทยมีค่าเฉลี่ยสูงขึ้น 2. การพั ฒ นาย่ า นนวั ต กรรมการแพทย์ โ ยธี มุ ่ ง พั ฒ นา สินทรัพย์บนพื้นที่ที่มีศักยภาพอย่างย่านโยธี เพื่อผลักดัน การใช้งานนวัตกรรมด้านการแพทย์ของกลุ่มบุคลากรวิจัย นวัตกรรม ด้านการแพทย์ย่านโยธี อย่างเป็นระบบและมี ประสิทธิภาพ โดย 1) พัฒนาโครงการนวัตกรรมการแพทย์ โครงการและผลิตภัณฑ์ นวัตกรรมในย่าน และส่งเสริมและ ผลักดันงานวิจัยผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ให้สามารถไปสู่ ท้องตลาดได้ 2) บริหารจัดการสินทรัพย์นวัตกรรมภายใน ย่าน 3) บริหารจัดการย่านนวัตกรรม ซึ่งจะส่งผลต่อการ เพิ่มศักยภาพและการให้บริการด้านสุขภาพที่ดีอย่างยั่งยืน แก่ประชาชน ระยะเวลาด�ำเนินการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2563 – 2572 (10 ปี) โดยคาดหวังให้เกิด DeepTech Startup ด้าน Health and Medical จ�ำนวนไม่น้อยกว่า 50 ราย สร้างมูลค่าการลงทุน ด้านการพัฒนา MedTech ไม่น้อย กว่า 3,000 ล้านบาท รวมทั้งเกิดการลงทุนเฉลี่ย 11,900 ล้ า นบาท /ปี และสร้ า ง ผลกระทบและการลงทุ น กว่ า 47,600 ล้านบาท 106
ad4.0.indd 106
3. การด�ำเนินการตามแผนปฏิบัติการบูรณาการจีโนมิกส์ ประเทศไทย (Genomic Thailand) พ.ศ. 2563 – 2567 ซึ่งการแพทย์จีโนมิกส์เป็นการใช้ข้อมูลพันธุกรรมและข้อมูล จ�ำเพาะอย่างอื่นที่เกี่ยวข้องของบุคคล เพื่อเลือกใช้หรือเพิ่ม ประสิทธิภาพของยาและเทคโนโลยีในการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาฟื้นฟู ลดภาวะแทรกซ้อน และป้องกัน ผลเสียที่อาจจะเกิดขึ้นจากการรักษา จึงส่งผลให้การดูแล รักษาสุขภาพ ของประชาชนดีขึ้น ลดค่าใช้จ่ายในการรักษา ที่ไม่แม่นย�ำ มีเทคโนโลยีระดับสูงไว้บริการใน Medical Hub และส่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรมการแพทย์ ค รบวงจรใน ประเทศ 4. การขับเคลื่อนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (BCG in Action) โดยมีแนวทาง การขับเคลื่อนใน 5 ส่วนหลัก และ 3 ภูมิภาค ได้แก่ พลังงานและวัสดุชีวภาพ สุขภาพการแพทย์ เกษตรและ อาหาร การท่องเที่ยว และดิจิทัลและไอโอที ซึ่งจะได้น�ำ แนวทางทั้ง 5 ส่วนหลักไปขับเคลื่อนในส่วนภูมิภาค โดย
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
19/4/2562 16:55:24
พิจารณาให้เหมาะสมในแต่ละพื้นที่ ซึ่งเป็นการต่อยอดและ สร้ า งความเข้ ม แข็ ง ให้ Innovation Hubs พั ฒ นาไปสู ่ แพลตฟอร์มการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเชิงอุตสาหกรรม (Industrial Research, Development and Innovation Platform: Industrial RDI Platform) ซึ่งจะเป็นฐานการ สร้ า งนวั ต กรรมระดั บ ท้ อ งถิ่ น ที่ เ ข้ ม แข็ ง ของประเทศใน อนาคต โดยจะสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจได้ไม่ต�่ำกว่า 140,000 บาท และก่อให้เกิดการจ้างงานทักษะสูงไม่ต�่ำ กว่า 10,000 ต�ำแหน่ง ในระยะเวลา 5 ปีข้างหน้า ตลอด จนกระตุ ้ น ให้ เ กิ ด การกระจายรายได้ สู ่ ทุ ก ภู มิ ภ าคของ ประเทศ 5. การพัฒนาอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ ให้การด�ำเนิน การพัฒนาอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ เสนอผ่านทาง คณะกรรมการ ป.ย.ป. และจัดตั้งคณะอนุกรรมการ ป.ย.ป. ด้านพัฒนาอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ โดยมีรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และรัฐมนตรี ช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม เป็นที่ปรึกษา ท�ำหน้าที่เป็น
Executive Committee พิจารณาก�ำหนดแนวทางการ พั ฒ นาอุ ต สาหกรรมป้ อ งกั น ประเทศ การสร้ า งสภาพ แวดล้ อ มที่ เ หมาะสม และก� ำ หนดโจทย์ ใ นการวิ จั ย และ พัฒนา พร้อมทั้งให้ส�ำนักงาน ป.ย.ป. เป็นฝ่ายเลขานุการฯ เพื่ อ ให้ ก ารขั บ เคลื่ อ นการพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมป้ อ งกั น ประเทศ ด�ำเนินการไปอย่างมีเอกภาพ มีประสิทธิภาพ และ เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม 6. การพัฒนาสมุนไพรเพื่อเศรษฐกิจ ให้ก�ำหนดเรื่องการ พัฒนาสมุนไพรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของ ประเทศเป็นวาระแห่งชาติ และให้กระทรวงที่เกี่ยวข้อง 10 กระทรวง ร่วมกันขับเคลื่อนเพื่อผลักดันให้ประเทศไทย เป็ น ประเทศที่ ส ่ ง ออกวั ต ถุ ดิ บ สมุ น ไพรคุ ณ ภาพ และ ผลิตภัณฑ์สมุนไพรชั้นน�ำของภูมิภาค ASEAN ภายในปี พ.ศ. 2564 มู ล ค่ า ของวั ต ถุ ดิ บ สมุ น ไพรและผลิ ต ภั ณ ฑ์ สมุนไพรภายในประเทศ เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 1 เท่าตัว (จาก 180,000 ล้านบาท เป็น 360,000 ล้านบาท) ขอขอบคุณข้อมูลจาก Facebook : Dr. Savit Maesincee PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
ad4.0.indd 107
107
19/4/2562 16:55:24
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
พระพุทธรัตนมหามุนีสิทธิชัยมงคลนพดลวิเชียรบุรี (หลวงปู่น�ำโชค)
เป็นพระพุทธรูปองค์ใหญ่สดุ ประทับอยูบ่ นยอดเขาวัดสามแยกวิเชียรบุรี หน้าตักกว้าง 13 เมตร สูง 15 เมตร ใช้งบก่อสร้าง 9,999,999 บาท จากแรงศรัทธาสาธุชนบริจาคให้ พร้อมด้วยพระพุทธรูปพระสัมมาสัมพุทธเจ้า อีก 29 องค์ ท่านทีเ่ ดินทางไปท่องเทีย่ วจังหวัดเพชรบูรณ์หยุดพักรับประทานอาหารไก่ยา่ งรสเด็ดวิเชียรบุรแี ล้ว อย่าลืมเข้าไปวัดเพือ่ นมัสการบูชา สักการะหลวงปูใ่ หญ่ เพือ่ ขอพรเป็นสิรมิ งคลแก่ชวี ติ ตลอดไป
พระครูวิเชียรธีรธรรม เจ้าคณะต�ำบลสระประดู่ / เจ้าอาวาส
วัท�ำบุดญอิสามแยก ่มใจ พร้อมชิมไก่ในต�ำนาน พระครูวิเชียรธีรธรรม ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดสามแยก (วิเชียรบุร)ี ตัง้ อยูบ่ า้ นสามแยก หมูท่ ี่ 1 ต�ำบลสระประดู่ อ�ำเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์ อยูห่ า่ งจากเทศบาลเมืองวิเชียรบุรี 7 กิโลเมตร อยูถ่ นนสระบุร-ี หล่มสัก มีเนือ้ ทีว่ ดั ประมาณ 13 ไร่ 20 ตารางวา เริม่ สร้างครัง้ แรกราว พ.ศ.2500-2501 ได้รบั อนุญาตให้ตงั้ เป็นวัดอย่างถูกต้องตามกฎหมาย เมือ่ วันที่ 20 มิถนุ ายน พ.ศ.2520 ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา วันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ.2548 วัดสามแยกมีเจ้าอาวาสปกครอง วัดมาตามล�ำดับแต่ไม่ทราบประวัตชิ ดั เจน ปัจจุบนั มี พระครูวเิ ชียรธีรธรรม เป็นเจ้าอาวาส
ประวัติโดยย่อพระครูวิเชียรธีรธรรม
พระครูวเิ ชียรธีรธรรม (Phrakhru Vichientheeradham) วิทยะฐานะ ปริญญาโทรัฐประศาสนศาสตรมหา บัณฑิต ต�ำแหน่งเจ้าคณะต�ำบลสระประดู่ และเจ้าอาวาสวัดสามแยก เมือ่ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2542 108
1
พระครูวเิ ชียรธีรธรรม ได้พฒ ั นาและก่อสร้าง เสนาสนะต่าง ๆ อาทิ สร้างอุโบสถ, ฌาปนสถาน, ศาลาการเปรียญ, กุฏสิ งฆ์, , หอระฆัง, ซุม้ ประตูวดั , ห้องน�ำ้ และเจาะบ่อบาดาล นอกจากนีท้ า่ นยังได้สร้าง พระพุทธรูปองค์ใหญ่ทสี่ ดุ ในจังหวัดเพชรบูรณ์ และ สร้างพระพุทธเจ้า 29 พระองค์ ประทับไว้บนเขาวัด สามแยก เป็นพุทธสถานทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิ์ เป็นทีต่ งั้ ศรัทธา เลือ่ มใสของสาธุชนทัว่ ไป
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
พุทธศาสนนิกชนทีป่ ระสงค์จะร่วมท�ำบุญทีว่ ดั สามแยก สามารถติดต่อได้ที่ พระครูวเิ ชียรธีรธรรม เจ้าอาวาสวัดสามแยก อ.วิเชียรบุรี จ.เพชรบูรณ์ 67130 โทร 094-382-4516
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
.indd 108
19/4/2562 17:15:18
วัดกระทุ่มทอง ที่พึ่งทางใจของชาวกระทุ่มทอง พระครูวินัยธรนิยม อภิปุญโญ เจ้าอาวาส
วัดกระทุ่มทอง ตั้งอยู่บ้านกระทุ่มทอง หมู่ 5 ต�ำบลซับสมบูรณ์ อ�ำเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์
ประวัติวัดกระทุ่มทอง
เมื่อปี พ.ศ.2502–2503 ชาวบ้านจากอ�ำเภอสามชุก จังหวัด สุพรรณบุรี ได้อพยพมาบุกเบิกถากถางป่าซึง่ เป็นบริเวณทีต่ งั้ ของหมูบ่ า้ น ในปัจจุบัน หลังจากตั้งบ้านแล้วก็ได้ริเริ่มสร้างวัดกระทุ่มทองขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2505 โดยการบุกเบิกของลุงบาง สกุลณี และลุงพีร์ ภูฆงั พร้อมด้วย ชาวบ้าน ช่วยกันสร้างทีพ่ กั สงฆ์และเสนาสนะขึน้ เพือ่ ให้ชาวบ้านได้ทำ� บุญ ตามประเพณี ซึ่งจะมีพระภิกษุแวะเวียนมาจ�ำพรรษาอยู่เนืองๆ
เจ้าอาวาสปกครองวัด
ในอดีตมีหัวหน้าที่พักสงฆ์และเจ้าอาวาสติดต่อกันมาแล้ว จ�ำนวน 5 รูป ปัจจุบันวัดกระทุ่มทองมี พระครูวินัยธรนิยม อภิปุญโญ เป็น เจ้าอาวาสรูปที่ 6 โดยท่านได้รเิ ริม่ ก่อสร้างเสนาสนะอย่างมัน่ คง เพือ่ ให้ ชาวบ้านกระทุ่มทองและหมู่บ้านใกล้เคียงได้เดินทางมาท�ำบุญตาม ประเพณีท้องถิ่นนิยมได้อย่างสะดวก
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
ปัจจุบันวัดกระทุ่มทองก�ำลังก่อสร้างอุโบสถ จึงขอเชิญญาติโยม สาธุ ช นที่ ศ รั ท ธาในพระพุ ท ธศาสนาร่ ว มกั น สร้ า งเส้ น ทางบุ ญ กั บ วัดกระทุ่มทอง โดยสามารถติดต่อทางวัดได้โดยตรง
PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
1
.indd 109
109
19/4/2562 17:49:19
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดใหม่ ไร่อุดม
กราบขอพรพระพุทธมหาจักรพรรดิฯ พระครูปริยตั พ ิ ชั โรดม เจ้าคณะต�ำบลซับสมบูรณ์ / เจ้าอาวาสวัดใหม่ไร่อดุ ม
วัดใหม่ไร่อุดม ตั้งอยู่เลขที่ 59 หมู่ 3 ต�ำบลซับสมบูรณ์ อ�ำเภอ วิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์
ประวัติวัดใหม่ไร่อุดม
วัดใหม่ไร่อุดม ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ.2532 โดยการน�ำของพระครู ประสิทธิ์พัชรคุณ เจ้าอาวาสวัดพุเตยประสิทธิ์ และชาวบ้านบ้านไร่ อุดม โดยได้รบั การบริจาคทีด่ นิ จากนายสุรตั น์-นางร�ำพรรณ ก้อนเพชร จ�ำนวน 7 ไร่ และนายวิรัตน์ มุ้ยแก้ว จ�ำนวน 3 ไร่ ทั้งหมดรวม 10 ไร่ และได้รบั การแต่งตัง้ ให้เป็นวัดในพระพุทธศาสนา ในปี พ.ศ.2551 หลังจากนั้นก็ได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์วัดเรื่อยมา
อาคารเสนาสนะ
ศาลาการเปรียญ 2 ชั้น สร้างขึ้นในปี พ.ศ.2546 แล้วเสร็จในปี พ.ศ.2558 สิ้นงบประมาณในการก่อสร้าง 15 ล้านบาท ชั้น 2 เป็น ที่ ป ระดิ ษ ฐาน “พระพุ ท ธมหาจั ก รพรรดิ ทิ พ ยทรั พ ย์ ส มบั ติ อุ ด ม 110
2
สมปรารถนามหามุนี” ขนาดหน้าตักกว้าง 39 นิ้ว อันเป็นที่เคารพ สักการะของสาธุชนทั้งหลาย - หอระฆัง เป็น รูปทรงแปดเหลี่ยม เป็นที่ประดิษฐานรอย พระพุทธบาทจ�ำลอง - ซุ้มประตูหน้าวัด ได้ท�ำการก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ.2543 แล้วเสร็จ ในปี พ.ศ.2544 โดยชาวอ้อมน้อย - อุโบสถ ก�ำลังด�ำเนินการก่อสร้างอยูใ่ ขณะนี้ โดยได้รบั แรงศรัทธา จากสาธุชนทั้งหลายเป็นอุโบสถ 2 ชั้น ท�ำพิธีวางศิลาฤกษ์ ในวันที่ 15 พฤษภาคม 2559 โดยได้รับความเมตตาจากพระเดชพระคุณ พระเทพรัตนกวี เจ้าคณะจังหวัดเพชรบูรณ์ ในเวลานั้น ได้เดินทางมา เป็นประธานในพิธีและได้ด�ำเนินการก่อสร้างอุโบสถมาโดยล�ำดับ จนถึงปัจจุบนั เพือ่ เป็นทีป่ ระดิษฐาน “พระพุทธเมตตามหาบารมีชนะ มารประทานพร” ขนาดหน้าตักกว้าง 69 นิว้ ลงรักปิดทองด้วยทองค�ำ เปลวแท้
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
พุทธศาสนิกชนท่านใดมีจิตศรัทธาร่วมสร้างบุญใหญ่ ด้วย การสร้างอุโบสถวัดใหม่ไร่อดุ ม สามารถติดต่อได้ที่ พระครูปริยตั พิ ชั โรดม เจ้าคณะต�ำบลซับสมบูรณ์/เจ้าอาวาสวัดใหม่ไร่อุดม โทร.064-998-9288
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
.indd 110
22/4/2562 16:44:19
PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 111
111
22/4/2562 16:44:25
วัดโคกกรวด
จ�ำนวน 27 ไร่ 2 งาน พระมหาประสิทธิ์ พร้อมด้วย นายปุ้ย สุนทรโชค จึงด�ำเนินการขออนุญาตสร้างวัดให้ถกู ต้องตามกฎหมายมหาเถรสมาคม ขอตั้งชื่อวัดว่า “วัดโคกกรวด” ตามชื่อของหมู่บ้าน วันที่ 24 มีนาคม 2523 กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศให้เป็น วั ด ในพระพุ ท ธศาสนาชื่ อ ว่ า วั ด โคกกรวด เจ้ า อาวาสองค์ แ รกคื อ พระมหาประสิทธิ์ กุสโล มีนายมูล ศรีแตง, นายบุญมา ค�ำคุณเมือง เป็นไวยาวัจกรวัด ทะเบียนวัดเลขที่ 130 ชาวบ้านโคกกรวด 300 ครอบครัว เป็นเจ้าของบ้าน เจ้าของวัดให้การอุปถัมภ์สนับสนุนด้วยดี เสมอมา จนได้รับความไว้วางใจทางคณะสงฆ์อ�ำเภอและจังหวัดให้เป็น สถานทีต่ งั้ หน่วย ปอต. ประจ�ำต�ำบลยางสาว และให้เป็นส�ำนักปฏิบตั ธิ รรม สาขาวัดมหาธาตุ จังหวัดเพชรบูรณ์
ส�ำนักปฏิบัติธรรมสาขาวัดมหาธาตุ พระครูโกศลพัชรสิทธิ์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดโคกกรวด เลขที่ 17 หมู่ที่ 17 ต�ำบลยางสาว อ�ำเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์ 67130
ประวัติความเป็นมา
เมื่อปี พ.ศ.2519 นายค�ำมี ปั้นเอี่ยม, นายจุมารี ปั้นเอี่ยม, นายเสาร์ คาระ, นายจันทร์ ปกครอง, นายสมคิด นาดี ร่วมด้วย ชาวบ้ า นโคกกรวดที่ มี ศ รั ท ธาในพระพุ ท ธศาสนา ช่ ว ยกั น จั ด ท� ำ ทีพ่ กั สงฆ์ และศาลาพอเป็นที่อาศัยของพระ และพอเป็นที่ประกอบพิธี ทางศาสนาได้ ต่อมากรรมการได้นิมนต์หลวงพ่อแม้น มาเป็นประธาน ที่พักสงฆ์ หลวงอุ่น, หลวงพ่อคูณ, หลวงพ่อผั่ว, หลวงพ่อทองสุข มาอยู่จ�ำพรรษา รวม 5 รูป พ.ศ.2522 พระมหาประสิทธิ์ กุสโล มาอยูร่ ว่ มด้วย นายทอง บวงผัน ชาวบ้านน�้ำร้อน นายปุ้ย สุนทรโชค มีศรัทธาได้ถวายที่ดินสร้างวัด 112
1
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
.indd 112
19/4/2562 17:12:16
วัหน่วดยอบรมประชาชนประจ� รวมทรัพำต�ย์ำบลดีเด่น ระดับจังหวัด พ.ศ.2558
พระปลัดภูชิต ติกฺขปญฺโญ เจ้าคณะต�ำบลภูน�้ำหยด เขต 1/เจ้าอาวาส
วัดรวมทรัพย์ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 118 บ้านรวมทรัพย์ หมูท่ ี่ 6 ต�ำบลภูนำ�้ หยด อ�ำเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีเนื้อที่ 11 ไร่ 3 งาน 47 ตารางวา ได้ประกาศให้ตั้งเป็นวัดสังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย เมื่อวันที่ 30 พ.ค. 2548 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา วันที่ 31 มี.ค. 2549 และผูกพัทธสีมาเมื่อวันที่ 5 ม.ค. 2551
ประวัติความเป็นมา
วัดรวมทรัพย์ แต่เดิมเป็นทีพ่ กั สงฆ์สนั ติราษฎร์ เริม่ ก่อตัง้ เมือ่ พ.ศ.2510 โดยมีผู้ใหญ่เล็ก วงษ์สอน ผู้ใหญ่บ้าน เป็น ผู้บริจาคที่ดินให้สร้างวัด ชาวบ้านรวมทรัพย์จึงพร้อมใจกันก่อสร้างกุฎิ 1 หลัง ต่อมาได้มี หลวงพ่อโพธิ์ มาอยูด่ แู ลจ�ำพรรษาเป็นรูปแรก หลังจากทีท่ า่ นมรณภาพลง ในปี 2513 ชาวบ้านจึงได้นิมนต์หลวงพ่อบุรินทร์ ปริญฺญาโณ มาดูแล
ปกครอง ต่อมาท่านได้รบั แต่งตัง้ เป็นเจ้าคณะต�ำบลพุขามและอุปชั ฌาย์ ตามล�ำดับ ก็ได้พัฒนาวัดให้มีความเจริญก้าวหน้ามาโดยตลอด และ เปลี่ยนชื่อเป็น วัดรวมทรัพย์ ท่านได้รับพระราชทานตั้งสมณศักดิ์เป็น พระครูสัญญาบัต ร เจ้าคณะต�ำบลชั้นโทที่ พระครูโสภิตพัชรญาณ (บุรินทร์ ปริญฺญาโณ) ท่านปฏิบัติศาสนกิจเรื่อยมาด้วยความเรียบร้อย กระทั่งอาพาธและมรณภาพ ในปี พ.ศ.2544
ล�ำดับเจ้าอาวาสวัดรวมทรัพย์
1. พระครูโสภิตพัชรญาณ (บุรินทร์ ปริญฺญาโณ น.ธ.เอก) พ.ศ.2513-2544 2. พระครูสุวรรณพัชโรภาส,ดร. (ปานทอง นิลภทฺโท น.ธ.เอก,พธ.บ.,รป.ม.,Ph.D.) พ.ศ.2548-2559 3. พระปลัดภูชิต ติกฺขปญฺโญ (น.ธ.เอก,ประโยค 1-2,พธ.บ.,พธ.ม.) พ.ศ.2559-ปัจจุบัน
ประวัติเจ้าอาวาสโดยสังเขป
พระปลัดภูชิต ฉายา ติกฺขปญฺโญ อายุ 30 ปี พรรษา 10 ปัจจุบัน ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดรวมทรัพย์, เจ้าคณะต�ำบลภูนำ�้ หยด เขต 1 และประธานหน่วยอบรมประชาชนประจ�ำต�ำบลภูนำ�้ หยด PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
1
.indd 113
113
19/4/2562 17:36:53
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดศรีภูมิ
ขอพรหลวงพ่อเหง้า ร่มโพธิ์ร่มไทรของชาวหล่มสัก
พระครูสริ พ ิ ชั รากร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดศรีภูมิ ตั้งอยู่ที่บ้านติ้ว หมู่ 3 ต�ำบลบ้านติ้ว อ�ำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 10 ไร่ 3 งาน 30 ตารางวา พื้นที่ตั้งวัดเป็นที่ราบลุ่มอยู่ริมคลองห้วยขอนแก่น ทางทิศเหนือ
ประวัติวัดศรีภูมิ
วัดศรีภูมิ ชาวบ้านเรียกว่า “วัดใหญ่” สร้างขึ้นเป็นวัดนับตั้งแต่ ประมาณ พ.ศ. 2231 บรรพบุรษุ ของชาวบ้านติว้ ส่วนมากอพยพมาจาก หลวงพระบาง ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาในราว พ.ศ. 2370 เขตวิสุงคามสีมากว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร มีพระภิกษุอยู่จ�ำพรรษาปีละประมาณ 13 รูป สามเณร 20 รูป ทางวัดได้เปิดสอนพระปริยตั ธิ รรม พ.ศ. 2514 ทัง้ แผนกธรรม บาลี และ โรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์
อาคารเสนาสนะ/ปูชนียวัตถุ
อุโบสถกว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร สร้างด้วยอิฐถือปูนทรงโบราณ ศาลาการเปรียญกว้าง 7 เมตร ยาว 27 เมตร สร้าง พ.ศ. 2516 เป็น 114
2
อาคารไม้ กุฏิสงฆ์จ�ำนวน 8 หลัง และกุฏิสงฆ์รวมจ�ำนวน 1 หลัง และ ปูชนียวัตถุมีพระประธานในอุโบสถ ที่หอสวดมนต์ และพระพุทธรูป เสี่ยงทายอีก 2 องค์ และมีเจดีย์เก่าอีกองค์หนึ่ง
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส
รูปที่ 1 พระครูสังวรธรรมคุตคณี รูปที่ 2 พระอธิการบัน รูปที่ 3 พระอธิการใหม่ รูปที่ 4 พระอธิการชุ่ม รูปที่ 5 พระอธิการพรม รูปที่ 6 พระอธิการเครื่อง รูปที่ 7 พระอธิการบุญธรรม รูปที่ 8 พระอธิการทองใหม่ (พ.ศ. 2512–2514) รูปที่ 9 พระครูพัชรธรรมสาร (พ.ศ. 2514–2539) รูปที่ 10 พระครูสิริพัชรากร (พ.ศ. 2545–ปัจจุบัน)
ประวัติหลวงพ่อเหง้า
หลวงพ่อเหง้า หรือ “พระครูสังวรธรรมคุตสุวิสุทธคณีสังฆวาหะ” ได้รับพระราชทานยศเป็นเจ้าคณะจังหวัดหล่มสัก พร้อมกับเจ้าเมือง หล่ ม สั ก คนที่ 3 ได้ รั บ ยศพระยา คื อ “พระยาสุ ริ ย ะภั ก ดี สุ น ทร” (สมัยนัน้ เมืองหล่มสักได้รบั การยกฐานะเป็นตัวจังหวัด ขึน้ อยูก่ บั มณฑล เพชรบูรณ์) หลวงพ่อเหง้า เป็นเจ้าอาวาสครองวัดศรีภมู ิ (บ้านติว้ )รูปแรก ซึ่งชาวอ�ำเภอหล่มสักรวมทั้งชาวหล่มเก่ารู้จักดีทั่วกัน ลูกศิษย์ที่ส�ำคัญทางฝ่ายบ้านเมืองได้แก่ ท่านเจ้าเมืองหล่มสักคนที่ 3 คือ พระสุรยิ ะวงษามหาภักดีเดชชนะสงคราม และพระประเสริฐสุรยิ ะศักดิ์ และลูกพระยาพานทองเมืองหล่มสัก ซึง่ เป็นต้นตระกูลสกุลของ “สุวรรณทา”
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
.indd 114
19/4/2562 17:40:58
นาพ้อสอง และผานกเค้า ตามเส้นทางนั้นต้องฝ่าป่าฝ่าดงและเทือกเขา สลับซับซ้อน ทั้งมีโจรปล้นชิงอยู่เสมอ ชาวบ้านอาศัย “หลวงพ่อเหง้า” เป็นหลักชัย นั่นคือขอตะกรุดและผ้าประเจียดของหลวงพ่อไปด้วย ถึงป่าไหนมืดค�ำ่ ก็พกั ขบวนคาราวาน ใช้ทรายเสกของหลวงพ่อเหง้าสาด ซัดขัดแปดทิศทาง โจรขโมยหรือสัตว์รา้ ยไม่เคยมากล�ำ้ กรายเลย บางครัง้ ก็อาศัยวัวธนู ควายธนู ป้องกันบริเวณรอบนอก ด้วยอ�ำนาจจิตแห่ง วิทยาคมของหลวงพ่อเหง้าเป็นที่ประจักษ์ ชาวบ้านทั้งหลายจึงสมัคร เป็นลูกศิษย์ลูกหาท่านมากมาย หลวงพ่อเหง้าจึงเป็นดุจร่มโพธิ์ร่มไทร ของชาวบ้านที่เลื่อมใสศรัทธาในท่านยิ่งนัก
สิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายในวัดศรีภูมิ
นอกจากวัดศรีภมู ิ (บ้านติว้ ) จะมีหลวงพ่อเหง้าผูเ้ รืองวิชาอาคมเป็นดุจ ร่มโพธิร์ ม่ ไทรของชาวบ้านและถิน่ ใกล้เคียงแล้ว ทางวัดยังมีพระพุทธรูป โบราณที่ศักดิ์สิทธิ์เป็นทองสัมฤทธิ์ดำ� อยู่คู่วัดคู่บ้าน 2 องค์ องค์หนึ่งมี อักษรไทยลานช้าง จารึกชื่อว่า “พระพุทธสรณาคม” และได้สร้างตั่งแต่ ปี พ.ศ.1480 นับว่าอายุประมาณ 1,082 ปี (พ.ศ.2562) พระพุ ท ธรู ป สั ม ฤทธิ์ อี กองค์ ห นึ่ ง ไม่ มี อั ก ษรจารึ ก แต่ ก ลั บ เป็ น พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ที่ชาวบ้านติ้วและชาวบ้านใกล้เคียงนับถือยิ่งนัก โดยใช้เป็นองค์พยานการยกเสี่ยงทายให้หนักจนยกไม่ขึ้นหรือเบามาก ตามจิตปรารถนาอธิษฐาน ไม่ว่ามีงานประเพณีไหนก็ตาม ประชาชนที่ เลื่ อ มใสจะนิ ม นต์ ไ ปประกอบการเสี่ ย งทายอยู ่ เ สมอมา และก็ มั ก ปรากฏการณ์อัศจรรย์เป็นที่ประจักษ์แก่ทุกคนไม่เสื่อมคลาย เป็นต้น ทางฝ่ายพุทธจักรก็มี พระครูวาทีวสิ ทุ ธิ์ วัดทุง่ จันทร์สมุทร เป็น ลูกศิษย์กน้ กุฎี แม้ปจั จุบนั ก็ยงั มีลกู ศิษย์หลวงพ่อเหง้าทีย่ งั เรืองวิชาอาคม อยู่แทนท่าน ก็คือ “พระครูวิชิตพัชราจารย์” หรือ “หลวงพ่อทบ” แห่ง วัดพุทธบาท เขาน้อย อ�ำเภอชนแดนนั่นเอง หลวงพ่อเหง้า ท่านเป็นคนในถิ่นฐานบ้านหนองอ้อ ต�ำบลบ้านติ้ว อ�ำเภอหล่มสักโดยก�ำเนิด นามสกุลเดิมท่าน คือ “บัวบา” และเหล่า นามสกุล “อินดีค�ำ” เป็นนามสกุลญาติพี่น้องของท่าน ท่านได้บรรพชา เป็ น สามเณรมาตั้ ง แต่ อ ายุ ยั ง เยาว์ เมื่ อ อายุ ค รบอุ ป สมบท ท่ า นก็ อุปสมบทเป็นพระภิกษุ โดยมี ครูบาหนองดู่เป็นพระอุปัชฌาย์เมื่อ อุปสมบทเป็นพระภิกษุแล้ว ก็คงครองวัดศรีภมู ิ (บ้านติว้ ) เรือ่ ยมาจนได้ รับพระราชทานแต่งตั้งเป็น “พระครูสังวรธรรมคุตฯ” ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าคณะจังหวัดหล่มสัก ท่านมีอายุที่ยืนนาน และมรณภาพเมื่ออายุได้ 99 พรรษา ขณะทีท่ า่ นด�ำรงต�ำแหน่งเป็นเจ้าอาวาสวัดศรีภมู นิ นั้ นับว่าท่านเป็น ผูว้ างรากฐานสร้างความเจริญรุง่ เรืองแก่วดั ศรีภมู เิ ป็นอันมาก จนวัดใหญ่โต กว้างขวาง จนต้องจัดแบ่งคณะปกครอง เช่น คณะศรีบญ ุ เรือง คณะเหนือ คณะศรีภมู ิ เป็นต้น จนต่อมาชาวบ้านเข้าใจว่าเป็นวัดติดกัน 3 วัด แท้ทจี่ ริง เป็นการแสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองในสมัยหลวงพ่อเหง้านั่นเอง หลวงพ่อเหง้านับเป็นที่พึ่งของประชาชน ทั้งในด้านของจิตใจทาง พระพุทธศาสนาและทางโลกโดยครบถ้วน เล่าขานกันว่า ครั้งกระโน้น ชาวบ้านติว้ บ้านโสก และบ้านใกล้เคียง มีอาชีพทางค้าโค กระบือ ต้องคุม ขบวนไปขายทางขอนแก่ น และภู เ ขี ยว โดยใช้ เ ส้ น ทางสายซ� ำ บอน PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 115
115
19/4/2562 17:41:08
วัดท่ากกแก
ขอพรพระเจ้าใหญ่สุวรรณนันทมุนี พระสมุห์ ไพรศาล ภทฺรมุนี ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดท่ากกแก ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ 4 ต�ำบลตาลเดี่ยว อ�ำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์
ประวัติความเป็นมา
สันนิษฐานว่าวัดท่ากกแก สร้างขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ.2323 โดย ชุมชนชาวล้านช้างจากเมืองหล่มสัก (เก่า) มาตัง้ รกรากเพือ่ ท�ำมาหากิน บริเวณริมแม่น�้ำป่าสัก โดยเฉพาะการค้าขายขนส่งสินค้าจากเมือง หล่มสักลงไปยังกรุงเทพ วัดท่ากกแก เดิมชือ่ วัดท่าขัวแก ตามประวัตกิ ล่าวว่า มีตน้ สะแกใหญ่ ต้นหนึ่งล้มพาดลงเชื่อมสองฝั่งแม่น�้ำป่าสัก ผู้คนได้อาศัยใช้เป็นสะพาน ข้ามแม่น�้ำ ซึ่งในค�ำท้องถิ่นเรียกสะพานไม้สะแกว่า “ขัวแก” ต่อมาเมื่อ ประมาณ ปี พ.ศ. 2372 พระสุรยิ วงศา (ท้าวคง) เจ้าเมืองหล่มสัก ได้ยา้ ย ศูนย์กลางเมืองหล่มสักจากบริเวณลุ่มน�้ำพุง (อ.หล่มเก่า) มายังสองฝั่ง แม่น�้ำป่าสักบริเวณบ้านท่ากกโพธิ์ ท�ำให้ผู้คนขยับขยายพื้นที่ท�ำกิน ออกมาสมทบท�ำให้เกิดชุมชนที่หนาแน่นมากยิ่งขึ้น 116
.
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
2
.indd 116
19/4/2562 17:44:09
สิ่งส�ำคัญของวัดท่ากกแก
สิมโบราณ (โบสถ์เก่า) ซึง่ เป็นทีป่ ระดิษฐาน พระเจ้าใหญ่ พระพุทธรูป ศักดิส์ ทิ ธิค์ บู่ า้ นคูเ่ มืองหล่มสัก โดยมีประวัตวิ า่ เมือ่ ประมาณปี พ.ศ.2470 ได้เกิดพายุใหญ่พดั กิง่ โพธิห์ กั ลงมาทับสิมหลังเดิมจนหักพังลง ชาวบ้าน จึงได้พากันเก็บซาก แล้วได้ร่วมกันสร้างสิมขึ้นมาใหม่ครอบสิมหลังเดิม โดยมีนายช่างสล่าจากเมืองน่านสองคน ได้แก่ พ่อหนานแก้ว และ พ่อหนานยืน พากันก่อสร้างสิมและพระพุทธรูปปูนปั้นศิลปะล้านนา ผสมล้านช้าง ที่มีความเก่าแก่และสวยงามที่สุดในจังหวัดเพชรบูรณ์ โดยใช้อิฐดินปูนเผาเองและทรายจากแม่น�้ำป่าสัก และขนานนามว่า พระเจ้าใหญ่สวุ รรณนันทมุนี เป็นพระพุทธรูปศักดิส์ ทิ ธิ์ เพราะได้มกี าร บรรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุไว้ภายในเศียรของพระเจ้าใหญ่ ซึง่ กล่าวกันว่า มีดวงแก้วเสด็จออกมาจากองค์พระเจ้าใหญ่ลอยไปทางทิศตะวันออกใน ช่วงวันพระใหญ่ เป็นที่เคารพศรัทธาของชาวบ้าน โดยจะมีการบนบาน ศาลกล่าวกราบไหว้ขอพรอยู่เสมอ และจะมีบุญประจ�ำปีคือการแห่ต้น ปราสาทผึง้ ถวายพระเจ้าใหญ่ในช่วงเดือนสิบเอ็ด และบุญสรงน�ำ้ ปิดทอง ถวายผ้าห่มองค์พระเจ้าใหญ่ในเทศกาลสงกรานต์ของทุกๆ ปี สิง่ ทีน่ า่ สนใจของสิมโบราณคือ บริเวณเหนือประตูมลี วดลายปูนปัน้ รูปพญานาคเกี้ยวแบบล้านนาที่มีความสวยงาม แห่งเดียวในจังหวัด เพชรบูรณ์ บริเวณเหนือซุม้ ประตูมภี าพจิตรกรรม (ฮูปแต้ม) รูปเทพพนม และลายเครือเถาศิลปะล้านนาแบบไทลื้อ
ตลาดโบราณ เป็นตลาดนัดขายสินค้าของชาวบ้านที่มีเฉพาะเย็น วันอาทิตย์ ชาวบ้านจะน�ำสินค้าประเภทงานฝีมือ และอาหารพื้นบ้าน ชนิดต่างๆ มาวางขายในราคาประหยัด ศูนย์เรียนรูศ้ ลิ ปวัฒนธรรมไทหล่ม และพิพธิ ภัณฑ์ผา้ โบราณร้อยปี เป็นสถานทีน่ ำ� เสนอข้อมูลเกีย่ วกับวัฒนธรรมประเพณีไทหล่ม และเก็บ รักษาผ้าโบราณอายุมากกว่าร้อยปี ซึ่งเป็นเครื่องแต่งกายโบราณของ ชาวเมืองหล่มสัก จัดแสดงให้ผู้ที่สนใจได้เข้าชมโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ทั้งนี้ วัดท่ากกแก จะเปิดสิมโบราณและพิพิธภัณฑ์ผ้าร้อยปี ให้เข้าเยี่ยมชมและสักการะพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ได้ทุกวัน ตั้งแต่เวลา 08.00 -18.00 น. ไม่เว้นวันหยุดราชการ PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
.
2
.indd 117
117
19/4/2562 17:44:30
วัสร้าดงเส้ใหม่ ไ ทยพั ฒ นา นทางบุญกับเนื้อนาบุญอันประเสริฐ พระครูปลัดอธิวัฒน์ อินทปญฺโญ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดใหม่ไทยพัฒนา ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นหนองตาเม้า หมูท่ ี่ 12 ต�ำบลน�ำ้ ชุน อ�ำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดิน ตัง้ วัดเนือ้ ที่ 18 ไร่ อาณาเขตทิศเหนือยาว 4 เส้น ติดต่อกับทีต่ งั้ โรงเรียน ทิศใต้ยาว 4 เส้น 10 วา ติดต่อกับทางสาธารณะ ทิศตะวันตกยาว 4 เส้น 10 วา ติดต่อกับถนนสายกรุงเทพ–หล่มสัก
อาคารเสนาสนะ
ศาลาการเปรียญ 1 หลัง วิหารพระ 1 หลัง กุฏสิ งฆ์ 9 หลัง หอระฆัง 1 หลัง ฌาปนสถาน 1 หลัง ศาลาธรรมสังเวช 1 หลัง อุโบสถ 1 หลัง
118
1
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส
วัดใหม่ไทยพัฒนา มีเจ้าอาวาสปกครองตามล�ำดับ ดังนี้ 1. พระบุญทัน พ.ศ. 2483-2490 2. พระขุน พ.ศ. 2491-2496 3. พระสมบูรณ์ พ.ศ. 2497-2501 4. พระยศ พ.ศ. 2502-2505 5. พระมหามานพ พ.ศ. 2506-2510 6. พระรส พ.ศ. 2511-2513 7. พระอาจารย์ลุ่ม สนฺตจิตฺโต พ.ศ. 2514-2519 8. พระทองค�ำ ยโสธโร พ.ศ. 2520-2527 9. ไม่ทราบนาม พ.ศ. 2528-2539 10. พระสมุห์ล�ำพูล พ.ศ. 2539-2542 11. พระอธิการบุญชม ปภสฺสโร พ.ศ. 2542-2556 12. พระค�ำผอง กนฺตวณฺโณ พ.ศ. 2557-2558 13. พระสายยัน โฆสธมฺโม พ.ศ. 2558-2560 14. พระครูปลัดอธิวัฒน์ อินทปญฺโญ พ.ศ. 2561–ปัจจุบัน
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
.indd 118
19/4/2562 17:38:56
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
เนื่องด้วยทางวัดใหม่ไทยพัฒนา มีศาลาการเปรียญหลังเก่าที่ทรุดโทรมมาก ชั้นบนใช้การไม่ได้ ส่วนชั้นล่างก็ไม่ค่อยแข็งแรง จึงขอเชิญท่าน สาธุ ช นร่ ว มเป็น เจ้า ภาพสร้า งศาลาการเปรีย ญหลังใหม่ตามก�ำลังศรัทธา โดยสามารถติดต่อได้ที่ พระครูปลัดอธิวัฒน์ อินทปญฺโญ เจ้าอาวาส โทร.099-1385817หรือโอนผ่านบัญชีธนาคารกรุงไทยเลขที่ 643-0-43969-0 ชื่อบัญชี วัดใหม่ไทยพัฒนา PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
1
.indd 119
119
19/4/2562 17:39:05
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
พระปลัดธนเดช สมจิตโฺ ต เจ้าอาวาส เลขานุการรองเจ้าคณะอ�ำเภอหล่มสัก
วัดลัฏฐิวนาราม สักการะพระพุทธชินสีห์จำ� ลอง
พระปลัดธนเดช สมจิตฺโต ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดลัฏฐิวนาราม ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 131/4 หมู่ 2 บ้านตาลเดีย่ ว ต�ำบลตาลเดีย่ ว อ�ำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ทีด่ นิ ตัง้ วัด เนื้อที่ 10 ไร่ 25 ตารางวา พื้นที่ตั้งวัดเป็นที่ราบลุ่มตั้งอยู่ท่ามกลาง หมู่บ้าน ทางทิศตะวันตก มีถนนผดุงราษฎร์เลียบขนานกับแม่นำ�้ ป่าสัก เป็นทางคมนาคมสะดวก
อาคารเสนาสนะ อุโบสถ กว้าง 5 เมตร ยาว 15 เมตร สร้างเมือ่ พ.ศ.2525 เป็นอุโบสถหลัง ใหม่แทนหลังเก่า มีกำ� แพงแก้วล้อมรอบ ศาลาการเปรียญ กว้าง 23 เมตร ยาว 35 เมตร สร้าง พ.ศ.2526 เป็น อาคารไม้ยกพืน้ สูง กุฏสิ งฆ์ จ�ำนวน 6 หลัง เป็นอาคารไม้
ปูชนียวัตถุที่สำ� คัญในวัด หลวงพ่อพระพุทธชินสีห์ จ�ำลอง หลวงพ่อไม้อายุกว่า 100 ปี
อาณาเขต ทิศเหนือ ยาว 210 เมตร ติดต่อกับทางสาธารณะและหมูบ่ า้ น ทิศใต้ ยาว 190 เมตร ติดต่อกับทางสาธารณะและหมูบ่ า้ น ทิศตะวันออก ยาว 95 เมตร ติดต่อกับถนนสาธารณะและทีน่ า ทิศตะวันตก ยาว 65 เมตร ติดต่อกับถนนผดุงราษฎร์และแม่นำ�้ ป่าสัก
ประวัติความเป็นมา วัดลัฏฐิวนาราม สร้างขึน้ เป็นวัดนับตัง้ แต่ พ.ศ.2385 เดิมมีนามว่า วัดตาลเดี่ยว ตามชื่อบ้าน ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาครั้งหลัง วันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ.2523 ผูกพัทธสีมา วันที่ 31 มกราคม พ.ศ.2525 ปัจจุบนั มีพระภิกษุจำ� นวน 5 รูป สามเณร 1 รูป 120
1
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
.indd 120
19/4/2562 17:36:33
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดราษฎร์ประดิษฐ์วราราม
ขอพรหลวงพ่อศากยมุนศี รีหล่มสัก
พระครูบวรพัชรโสภิต (หลวงพ่อเด่อ) เจ้าคณะต�ำบลบุ่งน�้ำเต้า ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดราษฎร์ประดิษฐ์วราราม ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นหินโง่น หมู่ 14 ต�ำบลน�ำ้ ชุน อ�ำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ วัดมีเนื้อที่ 4 ไร่ 2 งาน 20 ตารางวา
ประวัตคิ วามเป็นมา
วัดราษฎร์ประดิษฐ์วราราม มีประวัตทิ ยี่ าวนานมาแต่ครัง้ พ.ศ.2470 โดยหลวงพ่ออ่อนตาได้ธุดงค์จากภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มาจ�ำวัดที่ วัดแห่งหนึง่ ซึง่ อยูใ่ กล้ ๆ กับวัดหินโง่น ซึง่ มีรวั้ วัดติดกับทีว่ ดั ทางทิศตะวันตก ปัจจุบันติดกับบ้าน พระครูบวรพัชรโสภิต หรือหลวงพ่อเด่อ บริเวณที่ วัดเก่านั้นปัจจุบันคือบ้านของ แม่หล่อ ทามะ ซึ่งมีต้นศรีมหาโพธิ์ใหญ่ อยู่ต้นหนึ่งและต้นหางนกยูงอีกหนึ่งต้น ต้นศรีมหาโพธิ์นั้นได้ถูกว่าจ้าง ให้ ตั ด ออกไปโดย ตาตี น ยอง ส่ ว นต้ น หางนกยู ง ได้ หั ก ทั บ ไปโดน พ่อมด ด้วงพรม เสียชีวิตบริเวณถนนทางเข้าหอเจ้าย่าในปัจจุบัน ราว พ.ศ. 2502 ในปี พ.ศ. 2470 ได้เกิดอุทกภัยที่หมู่บ้านแห่งนี้ และน�้ำก็ได้ท่วม ทีพ่ กั สงฆ์จนหมด ต่อมาเมือ่ พ.ศ. 2480 จึงได้เริม่ ก่อสร้างวัดขึน้ มาใหม่ อยู่ติดกับที่พักสงฆ์เก่า บนที่ดินของพ่ออิ-แม่แถว สีสองเมือง กับที่ดิน ของคุณยายแผง แดงศรี และพ่อชัง-แม่ถม โฉมงาม ได้ซื้อที่ดินแห่งนี้ สร้างวัดโดยมีพอ่ พาย เทพดวง, พ่อเทียม กมลเสถียร, พ่อบึง้ ก้อนค�ำ, พ่อเบี่ยง สืบสันติกุล, พ่อจันทร์ ยวงค�ำ, พ่อเที่ยงสุขมา, พ่อสม ด้วงพรม, พ่อตา สุขมา, พ่อสุข สุขมา และผูเ้ ฒ่าผูแ้ ก่พร้อมทัง้ ชาวบ้าน หินโง่น, บ้านน�้ำชุน, บ้านโสกเดื่อ, บ้านฝายวังบอน, บ้านโคกคลอง เหมืองไทยและบ้านชุนน้อย ได้ร่วมกันสร้างขึ้น แรกเริ่มนั้นมีอาจารย์จรูญ กนฺตสาโร, อาจารย์สุนทร ตปฺปสีโล, อาจารย์สิทธิ์ ภสฺสโร และสามเณรคูณมาจากภาคอีสาน ได้ลงมือ ก่อสร้างกุฏิสามหลังแฝด อยู่บริเวณที่สร้างวิหารทรงล้านนาทางทิศ ตะวันตกของต้นศรีมหาโพธิ์ปัจจุบัน
ค�ำขวัญบ้านหินโง่น
โขดหินใหญ่ในต�ำนาน ไม้คู่บ้าน 300 ปี ประเพณีแห่พระเวสสันดรเข้าเมือง ลือเลื่องพระธาตุพนมจ�ำลอง ขอพรหลวงพ่อศากยมุนีศรีหล่มสัก PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
1
.indd 121
121
19/4/2562 17:09:00
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
อ�ำเภอโคกส�ำโรง จังหวัดลพบุรี มาจ�ำพรรษา และได้ถวายบ้าน 1 หลัง เพือ่ สร้างศาลาการเปรียญ จึงตัง้ ชือ่ วัดว่า “วัดซับน้อยประกอบศรัทธาธรรม” ต่อมาพระครูไพบูลพัชรสุนทรได้ดำ� เนินการขอเปลีย่ นแปลงชือ่ วัดเป็น “วัดพระวรราชาทินัดดามาตุ” เนื่องจาก พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ ทรงประทานนามวัดและทรงรับไว้ในพระอุปถัมภ์
กิจกรรมส�ำคัญของวัด
กิจวัตรประจ�ำวันที่ส�ำคัญคือ การเรียนการสอนแผนกบาลี และ แผนกธรรม, สวดมนต์ท�ำวัตรเช้า - เย็น, ลงพระปาฏิโมกข์, แสดงธรรม โปรดพุทธศาสนิกชนทั้งชาวไทยและต่างประเทศ, ออกบิณฑบาต, และ สวดมนต์เฉลิมพระเกียรติฯ เป็นต้น
ปูชนียวัตถุส�ำคัญ
พระโพธิสัตว์เจ้าแม่กวนอิม การจัดสร้างรูปหล่อพระโพธิสตั ว์เจ้าแม่กวนอิม มีวตั ถุประสงค์เพือ่ เป็นพุทธบูชาขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นแบบอย่าง และเพื่อ ระลึกถึงการสร้างบารมีของพระโพธิสตั ว์เจ้าแม่กวนอิม ซึง่ เป็นผูม้ ศี รัทธา ต่อพระพุทธศาสนาทางเถรวาทของผู้ปฏิบัติเพื่อมุ่งผลหมดกิเลสส่วน ตนเองแล้ ว เข้ า สู ่ นิ พ พาน และได้ บ� ำ เพ็ ญ บารมี จ นบรรลุ ธ รรมเป็ น พระโพธิสัตว์ เพื่อเป็นปูชนียวัตถุไว้กราบไหว้บูชา สักการะ ส�ำหรับ พุทธศาสนิกชนที่เลือ่ มใสในพระโพธิสตั ว์เจ้าแม่กวนอิม และเลือ่ มใสใน
วัดพระวรราชาทินัดดามาตุ วัดในพระอุปถัมภ์พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลีฯ
พระภาวนามังคลาจารย์ เจ้าอาวาสวัดพระวรราชาทินัดดามาตุ
วัดพระวรราชาทินัดดามาตุ ตั้งอยู่ที่บ้านซับอุดมมงคล หมู่ที่ 5 ต�ำบลหนองย่างทอย อ�ำเภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์ มีเนื้อที่จ�ำนวน 109 ไร่ 2 งาน 98 ตารางวา
ประวัติความเป็นมา
วัดพระวรราชาทินัดดามาตุ แรกเริ่มเดิมทีชื่อ “วัดทุ่งเฉนียง” หรือ “วัดทุ่งเฉดียง” สร้างขึ้นเมื่อราว พ.ศ.2400 เศษ มีขุนยุทธศักดิ์เป็น หัวหน้าคณะเริม่ ก่อสร้าง อ�ำมาตย์โทพระยาประเสริฐสงคราม (ใจ ณ วิเชียร) อดีตเจ้าเมืองวิเชียรบุรีและเจ้าเมืองศรีเทพในขณะนั้น ได้อาราธนา ขรัวตาบุญยัง มีชัย อินทวิโส พระสงฆ์ผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ มักน้อย สันโดษ เป็นพระกรรมฐานที่มีอาคมแก่กล้า และเชี่ยวชาญด้านยา สมุนไพร มาจ�ำพรรษาเป็นเจ้าอาวาสรูปแรก ภายหลังการมรณภาพของ ขรัวตาบุญยัง วัดได้ร้างเป็นเวลาหลายปี เพราะไม่มีพระภิกษุจ�ำพรรษา กาลต่อมา พ่อสุข พ่อจอม พ่อสด และพ่อเทียม นาประกอบ สีพ่ นี่ อ้ ง ได้อาราธนาหลวงพ่อชลอ กิตติโสภโณ ซึง่ เดินธุดงค์มาจากวัดสิงห์คยู าง 122
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
2
.indd 122
22/4/2562 10:18:36
บวรพระพุทธศาสนาทีเ่ ดินทางมาจากประเทศ มาเลเซีย จีน ไต้หวัน สิงคโปร์ และฮ่องกง เพือ่ ถวายเป็นพระราชกุศลแด่สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรม ราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 9 เนื่องในปีมหามงคลทรงมีพระชนมายุครบ 7 รอบ 84 พรรษา และเพือ่ เป็นปูชนียวัตถุไว้กราบไหว้ บูชา สักการะ ส�ำหรับ พุทธศาสนิกชนทั่วไป สมเด็จพระคะแนน การจัดสร้างสมเด็จพระคะแนนมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นพุทธบูชาพุทธคุณ เป็นมงคลแก่พุทธศาสนิกชนที่ร่วมกันเป็นเจ้าภาพบริจาคทรัพย์ เพื่อ สมทบทุนสร้างรูปหล่อพระโพธิสตั ว์เจ้าแม่กวนอิม ขนาดความกว้าง 3 เมตร สูง 12 เมตร หล่อด้วยทองสัมฤทธิ์ และเพือ่ มอบให้ผบู้ ริจาคทรัพย์เนือ่ ง ในโอกาสทีพ ่ ระเจ้าหลานเธอพระองค์เจ้าอทิตยาทรกิติคุณ ทรงบ�ำเพ็ญพระกุศลถวายผ้าพระกฐิน ซึง่ ในโอกาสเดียวกันนี้ พระเจ้าหลานเธอพระองค์เจ้าอทิตยาทรกิตคิ ณ ุ ทรงเททองหล่อสมเด็จพระคะแนน ทรงเททองหล่อพระเกศา และพระเศียร รูปเหมือนพระอวโลกิเตศวรโพธิสตั ว์ (เจ้าแม่กวนอิม) ทรงปลูกต้นสาละ และทรงประทานของทีร่ ะลึกแก่บคุ คลผูร้ ว่ มท�ำบุญ จ�ำนวน 260 คน นับเป็นพระ กรุณาธิคุณอย่างหาที่สุดมิได้แก่ทางวัดพระวรราชาทินัดดามาตุ
PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 123
123
22/4/2562 10:18:45
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัจุดก�ดำเนิวัดน�งำ้ พุขาม รอ้ นศักดิส์ ทิ ธิค์ เู่ มืองศรีเทพ พระครูสุนทรพัชรสิทธิ์ (มนตรี) รองเจ้าคณะอ�ำเภอศรีเทพ / เจ้าอาวาส
วัดวังขาม ตัง้ อยูท่ ี่ บ้านวังขาม เลขที่ 210 ม.3 ต.สระกรวด อ.ศรีเทพ จ.เพชรบูรณ์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีเนือ้ ที่ 13 ไร่ 3 งาน 21 ตารางวา บริเวณวัดมีบ่อน�้ำพุร้อนที่ศักดิ์สิทธิ์คู่เมืองศรีเทพ แหล่งท่องเที่ยวที่ ส�ำคัญแห่งหนึ่งของอ�ำเภอศรีเทพ
ประวัติวัดวังขาม
วัดวังขามได้ตั้งขึ้นเมื่อประมาณปี พ.ศ.2480 ก่อนตราพระราช บัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ.2505 โดยมีนางมี กลิ่นเทศน์ เป็นผู้มีศรัทธา บริ จ าคที่ ดิ น สร้ า งวั ด โดยมี ช าวบ้ า นวั ง ขามและชาวบ้ า นใกล้ เ คี ย ง ร่วมใจกันสร้างถาวรวัตถุเรื่อยมา วัดวังขามได้รับการรับรองสภาพวัด จากกรมศาสนา เมื่อวันที่ 17 กันยายน พ.ศ.2534
อาคารเสนาสนะ
ภายในวัดมีเสนาสนะและสิง่ ปลูกสร้างทีส่ ำ� คัญ ได้แก่ อุโบสถ 2 ชัน้ จ�ำนวน 1 หลัง ก่อสร้างแล้วเสร็จและได้ผูกพัทธสีมา เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2557, ศาลาการเปรียญ 1 หลัง, ศาลาการเปรียญก�ำลัง ก่อสร้าง 1 หลัง, ศาลาโรงทาน 1 หลัง, กุฏิสงฆ์กรรมฐาน 5 หลัง, กุฏิสงฆ์ 1 หลัง, เมรุ 1 หลัง, แท้งค์น�้ำ 2 หลัง 124
1
รายนามเจ้าอาวาส
พระอาน โฆสโก พ.ศ.2481–2491 ว่างเจ้าอาวาส 74 ปี พ.ศ.2491–2538 พระอธิการยุ่น ญาณวีโร พ.ศ.2538–2543 พระอธิการพรมมี วิสารโท พ.ศ.2543–2546 พระครูสุนทรพัชรสิทธิ์ (มนตรี)
ประวัติโดยย่อเจ้าอาวาส
พระครูสนุ ทรพัชรสิทธิ์ ฉายา เตชปุญโญ อายุ 47 พรรษา 26 ป.1-2, น.ธ.เอก, ปวช, ปวส, พธ.บ.,ดร.กิตติมศักดิ์ วัดวังขาม ต�ำบลสระกรวด อ�ำเภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์ อุปสมบท วันเสาร์ แรม 9 ค�ำ่ เดือน 4 ปีมะแม วันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2534 ณ วัดสว่างสามัคคี ต�ำลสระกรวด อ�ำเภอศรีเทพ จังหวัด เพชรบูรณ์ สมณศักดิ์ เป็นพระครูสัญญาบัต ร รองเจ้าคณะอ�ำ เภอชั้นเอก ในราชทินนามเดิม ที่ พระครูสุนทรพัชรสิทธิ์
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
.indd 124
19/4/2562 17:49:41
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดหนองไฮ (สระกรวดเดิม) และวัดสระกรวด ยังปกครองร่วมกัน มาจนถึงปีพ.ศ.2522 จึงได้ท�ำการแยกการปกครองขอตั้งวัดในชื่อ “วัดหนองไฮ” และได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมาใหม่ ในปี พ.ศ.2539 (เป็นโบสถ์หลังเดิมที่สร้างมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2498 โดยวัดสระกรวดขอ พระราชทานสร้างใหม่ในปี พ.ศ.2537) ปัจจุบนั มี พระมหาพนาดร ฐิตธมฺโม เป็นเจ้าอาวาสปกครองวัด
วัดหนองไฮ สืบสานพระพุทธศาสนา จากสมัยทวารวดี
พระมหาพนาดร ฐิตธมฺโม ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดหนองไฮ ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นหนองไฮ หมูท่ ี่ 1 (เดิมอยูห่ มูท่ ี่ 8) ต�ำบลสระกรวด อ�ำเภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีทดี่ นิ ตัง้ วัด เนื้อที่ 42 ไร่ 1 งาน 80 ตารางวา ปัจจุบันมีพระสงฆ์จ�ำพรรษา 15 รูป
ประวัติความเป็นมา
ศาสนวัตถุที่สำ� คัญภายในวัด อุโบสถ ที่สร้างมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2500 แต่ได้สร้างทับปรางค์โบราณ องค์เดิมที่สร้างด้วยศิลาแลง ในสมัยทวารวดีพร้อมกับเมืองศรีเทพ ซึ่งในปัจจุบันยังมีซากหินและอิฐบางส่วนเป็นฐานอุโบสถอยู่ ได้รับการ บูรณะในปี พ.ศ.2537 ศาลาการเปรียญ เป็นอาคารไม้ทั้งหลัง ขนาด 18 x 31.50 เมตร เป็นเสาไม้ทั้งต้นขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 50 เซนติเมตร จ�ำนวน 36 ต้น หลังคาสังกะสี พื้นไม้สร้างมาประมาณ 80-100 ปี นอกจากนีย้ งั มีกฏุ สิ งฆ์ ศาลาปฏิบตั ธิ รรม ฌาปนสถาน และศาลาโรงทาน
วั ด หนองไฮ สร้ า งขึ้ น เมื่ อ ใดไม่ ป รากฏหลั ก ฐาน แต่ เ ดิ ม ชื่ อว่ า วัดสระกรวด ตามชือ่ เดิมของหมูบ่ า้ น โดยมีนายอ่าง ค�ำพุฒ บริจาคทีด่ นิ ให้เป็นที่สร้างวัด ประมาณปี พ.ศ.2460 ได้เกิดโรคระบาดขึ้น ชาวบ้าน จึงอพยพถิน่ ฐานไปตัง้ หมูบ่ า้ นใหม่ แต่ยงั คงท�ำบุญประกอบศาสนกิจอยู่ ที่วัดเดิม จนถึงปี พ.ศ.2463 ราษฎรที่อพยพตั้งบ้านใหม่จึงได้สร้าง ศาสนวัตถุขนึ้ ในทีต่ งั้ ใหม่ แต่ยงั ใช้ชอื่ เดิมคือ วัดสระกรวดอยู่ แต่เจ้าอาวาส ยังเป็นรูปเดียวกับวัดเดิม คือปกครองอยู่สองอาราม ราษฎรที่ไม่ได้ อพยพตามมา จึงได้ตั้งชื่อหมู่บ้านเดิมว่า บ้านหนองไฮ ด้วยอาศัยเหตุ ที่ ห น้ า อุ โ บสถมี ห นองน�้ ำ เล็ ก ๆ อยู ่ แ ละมี ต ้ น โพธิ์ เ กิ ด อยู ่ ริ ม หนอง ซึ่งส�ำเนียงชาวอีสานออกเสียงเรียกต้นโพธิ์ว่า “ไฮ”
PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
1
.indd 125
125
19/4/2562 17:09:55
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วับ้าน-วัดดศรี เ ทพ รวมใจ สืบอายุขัยพระศาสนา
พระอธิการวันชัย สุธีโร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดศรีเทพ ตั้งอยู่เลขที่ 7 หมู่ 12 บ้านสามหลัง ต.สระกรวด อ.ศรีเทพ จ.เพชรบูรณ์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย
ประวัติความเป็นมา สร้างวัดเมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ.2514 และได้รับตั้งเป็นวัดใน พระพุทธศาสนา มีนามว่า “วัดศรีเทพ” เมือ่ วันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ.2520 วัดมีเนือ้ ที่ 7 ไร่ 1 งาน 3 ตารางวา
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส 1. พระอธิการจ�ำลอง จารุวณฺโณ 2. พระอธิการจันทร์ เขมกาโร 3. พระอธิการวันชัย สุธโี ร (เจ้าอาวาสรูปปัจจุบนั )
ประวัติเจ้าอาวาส พระอธิการวันชัย สุธโี ร อายุ 56 ปี สถานะเดิม ชือ่ นายวันชัย พุกภัย อุปสมบท เมือ่ วันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2533 การศึกษา จบนักธรรมเอก ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดศรีเทพ เมือ่ ปี พ.ศ.2558 126
1
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
.indd 126
19/4/2562 17:08:00
วัดน�้ำซับกุ้งกั้ง
จากนิมิตสู่วัดที่สถิตถาวรในบวรพระพุทธศาสนา พระครูมงคลพัชรคุปต์ (หลวงพ่อมานพ) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดน�้ำซับกุ้งกั้ง เลขที่ 53 หมู่ 10 ถนน สระบุรี-หล่มสัก ต.โคกสะอาด อ.ศรีเทพ จ.เพชรบูรณ์
ประวัติความเป็นมา
หลวงพ่อมานพ ท่านเป็นชาวพิจติ ร เกิดทีบ่ า้ นหัวดง ท่านได้สร้าง วัดบ้านหนองสะแกสี่ ต�ำบลโคกสะอาด อ�ำเภอศรีเทพ จังหวัด เพชรบูรณ์ ซึง่ อยูใ่ กล้ๆ บริเวณเขาถนอมรัตน์ และท่านได้นมิ ติ เห็น วัดร้างเก่าแก่ (ทีต่ งั้ วัดน�ำ้ ซับกุง้ กัง้ ในปัจจุบนั ) ท่านจึงได้สบื หาทีต่ งั้ และประวัติความเป็นมาของวัดนั้น ท�ำให้ได้ทราบว่าในสมัยก่อน บริเวณนั้นมีความเจริญรุ่งเรืองมาก มีตลาดสด มีร้านค้าห้องแถว ต่อมามีการฆ่าล้างตลาดกันขึ้น ชาวบ้านบริเวณนั้นจึงทิ้งถิ่นฐาน ไปอยู่ที่อื่นจนหมด ท�ำให้วัดที่เคยรุ่งเรืองก็กลายเป็นวัดร้าง หลังจากท่านสร้างวัดบ้านหนองสะแกสี่แล้ว หลวงพ่อมานพ จึงได้มาพัฒนาวัดร้างเก่าแก่ตามทีน่ มิ ติ เห็น จนเจริญรุง่ เรืองมาเป็น “วัดน�ำ้ ซับกุง้ กัง้ ” ในปัจจุบนั PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
1
.indd 127
127
19/4/2562 17:48:19
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
พ.ศ.2508 เป็นพระธรรมทูตสาย 3 ประจ�ำอ�ำเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์ พ.ศ.2511 เป็นพระธรรมจาริกไปอบรมชาวเขาเผ่าม้ง ทีบ่ า้ นป่าหวาย-ขีเ้ ทา อ�ำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก เป็นเวลา 4 เดือน พ.ศ.2514 เป็นพระวิปสั สนาจารย์ อบรมพุทธศาสนิกชนอ�ำเภอวิเชียรบุรี อ�ำเภอหนองไผ่ และอบรมนิสติ นักศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาฯ ทีแ่ ค้มป์สน อ�ำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นประจ�ำทุกปี พ.ศ.2536 ไปจาริกแสวงบุญที่ประเทศศรีลังกา ในครั้งนั้นสมเด็จ พระสังฆราช ประเทศศรีลงั กา ได้มอบพระสารีรกิ ธาตุและต้นศรีมหาโพธิ์ และเดินทางไปเผยแผ่ธรรมที่ต่างประเทศ อาทิ มาเลเซีย ฮ่องกง อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น ศรีลังกา ลาว พม่า สิงคโปร์
ล�ำดับเจ้าอาวาส
1. พระวิเชียร ธมฺมสาโร พ.ศ.2507 2. พระสมศักดิ์ ปญฺญาวโร พ.ศ.2508 3. พระสงวน อคฺคธมฺโม พ.ศ.2510 4. พระเฉลิม ธมฺมวโร พ.ศ.2511–2512 5. พระอิ่ม สิริจนฺโท พ.ศ.2512–2515 6. พระผาง พ.ศ.2516 7. พระประสิทธิ์ ฐิตธมฺโม พ.ศ.2517 8. พระสงวน พ.ศ.2518 9. พระอธิการอ่อนสา ปญฺญาวโร พ.ศ.2521 10. พระบัวไล ธมฺมสาโร พ.ศ.2523 11. พระครูเวฬุคณารักษ์ กฺลยาณธฺโม พ.ศ.2525-ปัจจุบัน
วัดน�้ำวิ่งวราราม
สักการะพระทันตธาตุมงคล
พระครูเวฬุคณารักษ์ กฺลยาณธฺโม ( หลวงปูเ่ วิน) ทีป่ รึกษาเจ้าคณะอ�ำเภอหนองไผ่ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดน�ำ้ วิง่ วราราม ต�ำบลบ้านโภชน์ อ�ำเภอหนองไผ่ จังหวัดเพชรบูรณ์ มีเนือ้ ทีท่ งั้ หมด 75 ไร่เศษ วัดน�ำ้ วิง่ วรารามเป็นวัดพัฒนาดีเด่นปี 2537 เป็นสถานที่สอบนักธรรมอ�ำเภอหนองไผ่ และเป็นศูนย์ปฏิบัติธรรม อ�ำเภอหนองไผ่
ประวัติวัดน�้ำวิ่งวราราม
เมื่อปี พ.ศ.2507 ชาวบ้านน�้ำวิ่งพร้อมใจกันถวายที่ดินเพื่อ สร้างวัด 12 ไร่ 2 งาน 26 ตารางวา มีนายแสวง นุพันธุ์ เป็นประธาน ขอตั้งวัด ได้รับอนุญาตให้สร้างวัด วันที่ 29 กันยายน พ.ศ2515 ได้รับ อนุญาตให้ตั้งวัดวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ.2519 ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา พ.ศ.2535
ประวัติเจ้าอาวาสพอสังเขป
พระครูเวฬุคณารักษ์ กลฺยาณธมฺโม หรือ หลวงปู่เวิน อายุ 91 ปี พรรษา 71 วิทยฐานะ น.ธ.เอก ได้รบั ฉายาว่า กัลยาณธัมโม หมายความว่า ผู้มีธรรมอันงดงาม 128
2
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
.indd 128
19/4/2562 17:46:44
ประวัติการสร้างเจดีย์ศรีเพชรบูรณ์
เสนาสนะภายในวัด
- ศาลาการเปรียญทรงไทย 2 ชั้น - กุฏิทรงไทย ครึ่งไม้ครึ่งปูน 2 ชั้น - พระอุโบสถทรงไทย 2 ชั้น - ลานธรรมและหอพักองค์พระปฐม 1 องค์ - เมรุทรงไทย - ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนเกณฑ์ ทรงไทย 2 ชั้น - กุฏิรับรองพระสมเด็จ 2 ชั้น - พระทันตธาตุมงคลเจดีย์ศรีเพชรบูรณ์ 3 ชั้น - ศูนย์ปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดเพชรบูรณ์ ล�ำดับที่ 4 ทรงปั้นหยา
เมื่ อ ปี พ.ศ.2536 หลวงปู ่ เ วิ น ได้ เ ดิ น ทางไปประเทศศรี ลั ง กา พร้อมคณะของ ดร.อินเตอร์ วันสวตฉัตร และมหาเศียร เป็นเลขานุการ ในการเดินทางครัง้ นัน้ มีพระสงฆ์เดินทางด้วยกัน 12 รูป คฤหัสถ์ 8 คน มีหลวงพ่อพระราชพัชราภรณ์ เจ้าคณะจังหวัดเพชรบูรณ์ วัดไพรสณฑ์ สักดาราม เป็นหัวหน้าคณะ ซึ่งเดินทางไปเพื่อกราบนมัสการพระธาตุ เขี้ยวแก้ว และเพื่อรับพระบรมสารีริกธาตุ จากสมเด็จพระสังฆราช ประเทศศรีลงั กา ครัง้ นัน้ ปรากฏว่าสมเด็จพระสังฆราชประเทศศรีลงั กา ได้ประทานพระบรมสารีรกิ ธาตุให้พระสงฆ์ 6 รูป มีพระราชพัชราภรณ์, พระครูเวฬุคณารักษ์ ( หลวงปูเ่ วิน ), เจ้าคณะอ�ำเภอหนองกี่ และท่านอืน่ ๆ เมื่อเดินทางกลับวัดได้ 3 วัน มีพระรูปหนึ่งซึ่งเคยเป็นลูกศิษย์ หลวงปู่เวิน และเคยเดินธุดงค์กับท่านสมัยที่เป็นเณร ได้เดินมาจาก อ�ำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก เพื่อบอกให้หลวงปู่เวินไปเอาเหล็ก ขนาด 8 หุน จ�ำนวน 170 เส้น ที่มีโยมถวายเพื่อมาสร้างเจดีย์ หลวงปู่ ได้ประชุมคณะกรรมการวัดว่าจะเอาเหล็กมาดีหรือไม่ เพราะยังไม่คิด ที่จะสร้างเจดีย์ แต่ในที่สุดได้เดินทางไปโดยใช้รถ 10 ล้อ ของโยม ประมวล ขุนค�ำ มีกรรมการวัดและพระลูกวัดไปด้วยกันหลายคน เมื่อ ได้เหล็กมาแล้วจึงเก็บรักษาไว้ที่ใต้ศาลาการเปรียญ ตั้งแต่ปี พ.ศ.2536 จนถึงปี พ.ศ.2549 เป็นเวลา 13 ปี จึงได้มีการวางศิลาฤกษ์สร้าง พระทันตธาตุม งคลเจดีย์ศรีเพชรบูรณ์ ปัจจุบัน ได้ด�ำเนินพิธีการ ยกยอดฉัตรเอก ในวันที่ 19 เมษายน 2562 PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 129
129
19/4/2562 17:46:51
วัดทุ่งเรไร
จากพุทธศรัทธา สู่พุทธสถานอันมั่นคงสง่างาม พระครูพัชรคุณาวสัย (หลวงพ่อบัวทอง เจ้าคณะต�ำบลกองทูล-ท่าแดง เขต 1 / เจ้าอาวาส
วั ด ทุ ่ ง เรไร ตั้งอยู่เลขที่ 75 หมู่ 5 บ้า นไร่ขอนยางขวาง ต�ำ บลท่ า แดง อ�ำ เภอหนองไผ่ จังหวัด เพชรบูร ณ์ เป็น วัดราษฎร์ สั ง กั ด คณะสงฆ์มหานิก าย
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
วั ด ทุ ่ ง เรไร จั ด ให้ มี พิ ธี อุ ป สมบทหมู ่ พิ ธี ไ หว้ บู ร พาจารย์ พิ ธี ท� ำ บุ ญ ตั ก บาตร ฟั ง ธรรมในวั น ส� ำ คั ญ ทางพระพุ ท ธศาสนา จึงขอเรียนเชิญท่านสาธุชนร่วมสร้างเส้นทางบุญตามแต่ก�ำลังศรัทธา เพือ่ สืบสานจรรโลงพระศาสนาให้รงุ่ เรืองสืบไป โดยสามารถติดต่อได้ที่ พระครูพัชรคุณาวสัย จิตฺตปญฺโญ (หลวงพ่อบัวทอง) เจ้าอาวาสวัดทุ่งเรไร โทร.087-199-7071 130
1
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
.indd 130
22/4/2562 10:18:13
วัดอภัยมณีรัตน์ สืบสานพระศาสนาให้มั่นคงในใจคน
พระครูสุจิณพัชรโสภณ (ฤทธิรงค์ สินประเสริฐ) เจ้าอาวาส
วัดอภัยมณีรัตน์ ต.ห้วยโป่ง อ.หนองไผ่ จ.เพชรบูรณ์ ปัจจุบันมี พระครูสุจิณพัชรโสภณ (ฤทธิรงค์ สินประเสริฐ) เป็นเจ้าอาวาสวัด ที่ ใ ห้ ค วามใส่ ใ จในด้ า นการศึ ก ษา สื บ สานงานในพระพุ ท ธศาสนา และพัฒนาวัดวาอารามเป็นที่ยึดมั่นจิตใจพุทธศาสนิกชน
อัตโนประวัตพิ ระครูสจุ ณ ิ พัชรโสภณ (ฤทธิรงค์ สินประเสริฐ)
สถานะเดิม เกิดในสกุล สินประเสริฐ เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2507 อุปสมบท ด้วยใจใฝ่รู้ใฝ่เรียน เมื่อมีอายุครบ 20 ปีบริบูรณ์ ท่านได้เข้า พิธีอุปสมบท ณ วัดราษฎร์สามัคคีธรรม ต.นาเฉลียง เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม 2528 โดยมีพระอธิการส�ำราญ อนาลโย เป็นพระ อุปัชฌาย์, พระอาจารย์เสน่ห์ ธัมมจาโร เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และพระอาจารย์สมาน กิตติญาโณ เป็นพระอนุสาวนาจารย์
วิทยฐานะ
ท่านเดินทางไปศึกษาพระปริยตั ธิ รรมทีจ่ ติ ตภาวันวิทยาลัย เมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี สามารถสอบได้นักธรรมชั้นตรี-โท-เอก ตามล�ำดับ
ด้านการสืบสานงานพระพุทธศาสนา
ท่านได้เผยแผ่หลักค�ำสอน และเป็นพระธรรมทูต อบรมด้านศีลธรรม ให้แก่เด็กและเยาวชนในสถาบันการศึกษาต่างๆ อีกทั้งบริจาคทุน การศึกษาให้กับเด็กที่ด้อยโอกาส จัดหาซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ให้กับ โรงเรียนที่ขาดแคลน มูลค่านับล้านบาท ปัจจุบัน ยังได้รับเชิญให้ไปบรรยายธรรมเวลาช่วงเช้าทุกวันอาทิตย์ ของคลื่นวิทยุชุมชน เพื่อปลุกจิตให้พุทธศาสนิกชนตื่นจากอบายมุข ให้เข้าถึงแก่นแท้พระพุทธศาสนา น�ำหลักธรรมค�ำสอนมาประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจ�ำวัน
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
คณะศิษยานุศษิ ย์ ได้รว่ มกันจัดสร้างองค์จตุคามรามเทพ รุน่ บารมี รวย เพิ่ม พูน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อน�ำปัจจัยมาจัดสร้างเมรุสถานและ เสนาสนะภายในวัด ท่านใดสนใจร่วมสร้างเส้นทางบุญ ติดต่อสอบถาม ได้ที่วัดอภัยมณีรัตน์ PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
1
.indd 131
131
19/4/2562 17:45:01
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดธรรมยาน
สัมผัสเสน่ห์ประติมากรรม “วัดธรรมยาน” มนต์เสน่ห์ ประติมากรรม ที่วัดธรรมยาน ต.นาเฉลียง อ.หนองไผ่ กลายเป็นแลนด์มาร์คที่น่าสนใจแห่งใหม่ ของ จ.เพชรบูรณ์ ทีน่ กั ท่องเทีย่ วนิยมแวะเวียนมากราบไหว้ขอพร และถ่ายภาพเก็บความสวยงามกันอย่างล้นหลาม ด้านหน้าพระอุโบสถ จะมีพญานาคขนาดใหญ่ 1 คู่ มีชื่อเรียกว่า พญาศรีสุนันท์ และพญาศรีสุธน ขนาดความยาว ตนละ 35 เมตร ทีม่ ที า่ ทางเสมือนมีชวี ติ อ่อนช้อย สวยงาม ตัง้ เด่นเป็นสง่าหันหน้าเข้าหากัน ลักษณะพ่นน�ำ้ เป็นละออง ให้ประชาชนหรือนักท่องเที่ยวเดิน ผ่าน เปรียบเสมือนน�้ำศักดิ์สิทธิ์ เพื่อความเป็นสิริมงคลแก่ชีวิตและครอบครัว อีกทั้งยังมีเสียงร�่ำลือถึงความศักดิ์สิทธิ์ของพญานาค เนื่องจากมีผู้คนไปกราบไหว้ขอพรแล้วมักจะสมปรารถนา มีโชคมีลาภอยู่เสมอ โบสถ์เป็นสถานที่ก�ำเนิดของพระภิกษุ การเดินลอดผ่านพญานาค ทั้ง 2 ตน จะได้โมทนากับเรา และเป็นการ ช�ำระกายและช�ำระใจให้สะอาด ก่อนที่จะท�ำจิตให้สงบภายในโบสถ์ มีปริศนาบัว 4 เหล่า ที่ต้นเสาภายในโบสถ์ เมื่อ ผ่านขั้นตอนการบวชและปฏิบัติ จนถึงบัวพ้นน�้ำ ก็พบพระนิพพาน อยู่ใกล้กับพระพุทธองค์ คือพระประธาน
พญาศรีสุนันท์
132
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
พญาศรีสุธน
PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
8
2.indd 133
133
19/4/2562 17:24:41
พระปลัดวิรชั โอภาโส เป็นพระฐานานุกรมของ “พระเดชพระคุณหลวงพ่อพระสุธรรมยานเถระ” (ต่อมาได้รบั เลือ่ นสมณศักดิ์ “พระราชพรหมยาน” หรือรูจ้ กั กันในนาม “หลวงพ่อฤาษีลงิ ด�ำ” วัดท่าซุง จ.อุทยั ธานี)
รับใบตราตั้งพระฐานานุกรม จากหลวงพ่อ
ในโอกาสที่หลวงพ่อฤาษีฯ ได้รับพระราชทานเป็น “พระราชพรหมยาน” ถ่ายที่โบสถ์วัดท่าซุง 134
8
พระปลัดวิรชั โอภาโส เจ้าอาวาสวัดธรรมยาน 064-159-9555 ชือ่ “วัดธรรมยาน” ตัง้ เป็นอนุสรณ์ บูชาพระคุณหลวงพ่อ ซึง่ เป็นพระอาจารย์ และเปรียบเสมือนพ่อแม่ ผูอ้ บรมให้ความรู้ ทางธรรมมาตลอด จนสิน้ อายุขยั ของหลวงพ่อ และเนือ่ งจาก ได้รบั พระฐานานุกรม “พระปลัด” จากหลวงพ่อสมัยเป็น “เจ้าคุณพระสุธรรมยานเถระ” จึงน�ำค�ำว่า “ธรรมยาน” มาตัง้ เป็นชือ่ วัด สือ่ ความหมายว่า “สถานทีน่ เี้ ปรียบเสมือนนาวา น�ำพาให้เข้าถึงธรรม”
คุณเทวินทร์ วรรณะบ�ำรุง สถาปนิคอาวุโส พร้อมทีมสถาปนิค เอสซีจี ผูอ้ อกแบบพระอุโบสถ และมหาเจดียว์ ดั ธรรมยาน
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
2.indd 134
19/4/2562 17:24:46
ประธานวางศิลาฤกษ์สร้างมหาเจดีย์ ก�ำลังเดินทางสูป่ ะร�ำพิธี 9 กุมภาพันธ์ 2560
พระอุโบสถ และพญานาค วัดธรรมยาน
คุณพิชติ ไม้พมุ่ อดีตกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ เอสซีจี ซีเมนต์-ผลิตภัณฑ์กอ่ สร้าง ประธานหาทุนสร้างพระอุโบสถ และพญานาค (และมหาเจดีย)์ ร่วมกับผูบ้ ริหารชัน้ สูง เครือ บ.เอสซีจี และพุทธบริษทั ศิษยานุศษิ ย์พระเดชพระคุณ หลวงพ่อพระราชพรหมยาน วัดท่าซุง สร้าง ม.ค. 2554 และสร้างส�ำเร็จ และได้ฉลองพระอุโบสถตัดลูกนิมติ 24 ม.ค. 2559
ท่านเจ้าคุณพระราชภาวนาโกศล เจ้าอาวาสวัดท่าซุง ประธานฝ่ายสงฆ์ วางศิลาฤกษ์สร้างมหาเจดีย์ คุณพิชิต ไม้พุ่ม ที่ปรึกษา เอสซีจี ซีเมนต์-ผลิตภัณฑ์ก่อสร้าง ประธานหาทุนสร้างมหาเจดีย์ ประธานฝ่ายฆราวาส วางศิลาฤกษ์ 9 ก.พ. 2560 ร่วมกับ นายพิบลู ย์ หัตถกิจโกศล ผูว้ า่ ราชการจังหวัดเพชรบูรณ์ ร่วมเป็นประธานวางศิลาฤกษ์ 9 ก.พ. 2560 PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
8
2.indd 135
135
19/4/2562 17:24:56
อุโบสถวัดธรรมยาน (ตัดลูกนิมิต 24 ม.ค. 2559)
พระธาตุแก้วเกศรานาเฉลียง
อาคารพระช�ำระหนี้สงฆ์ สมเด็จองค์ปฐมที่เจ้าภาพสร้างถวายไว้ ในวัดธรรมยาน 136
8
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
2.indd 136
19/4/2562 17:25:11
พระประธานภายในพระอุโบสถ วัดธรรมยาน
สมเด็จองค์ปฐม และพระพุทธเจ้า 28 พระองค์ ประดิษฐาน ณ ศาลารายรอบโบสถ์วัดธรรมยาน
มหาวิหารหลวงพ่อยิ้ม (สมเด็จพระพุทธธรรมยาน) PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
8
2.indd 137
137
19/4/2562 17:25:30
วันเข้าพรรษา ปี 2524 หน้าโบสถ์วัดท่าซุง
ชิคาโก้, สหรัฐอเมริกา ปี 2526
ประเทศนิวซีแลนด์ ศาลานวราช ปี 2524
ขณะอยู่บนเรือกับหลวงพ่อที่ประเทศฝรั่งเศส 138
8
ประเทศอังกฤษ
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
2.indd 138
19/4/2562 17:25:35
สนามบินโอแฮร์ ชิคาร์โก้ สหรัฐอเมริกา ปี 2535 หลวงพ่อไปสอนกรรมฐานครั้งสุดท้าย
พระปลัดวิรัช โอภาโส อดีตพระเลขา และผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดท่าซุง จ.อุทัยธานี สมัย “พระเดชพระคุณหลวงพ่อพระราชพรหมยาน” เป็นเจ้าอาวาส วัดท่าซุง (ภาพนี้ถ่ายบนเครื่องบิน ขณะบินกลับจากการสอนกรรมฐานที่สหรัฐอเมริกา เป็นครั้งสุดท้าย ก่อนหลวงพ่อฯ มรณะภาพในปี 2535)
งานกฐินสามัคคีวัดธรรมยาน
ได้รับที่ดินว่างเปล่าแปลงแรก ปี 2545 (โฉนด 37 ไร่)
พระบรมธาตุมหาเจดีย์ ฐานกว้างxยาว 100 เมตร สูง 89 เมตร
วิโรจน์-จอมนัทธี วรวรรณธนะชัย 1 ในจ�ำนวนผู้ซื้อที่ดินแปลงแรกสร้างวัด
บวงสรวงและพระสงฆ์กำ� หนดเขต (ตามพระธรรมวินยั ) สร้างกุฏิเจ้าอาวาสหลังแรก มกราคม 2546
เริ่มสร้างวัด และเริ่มปลูกต้นไม้ มกราคม ปี 2546 PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
8
2.indd 139
139
19/4/2562 17:25:45
ที(หลวงพ่ ่พักอแดงสงฆ์ ส วนไผ่ อภิโชโต)...สักการะหลวงพ่อแดง เทพเจ้าแห่งชุมชนท่าแห
ทีพ่ กั สงฆ์สวนไผ่ (หลวงพ่อแดง อภิโชโต) หมูท่ ี่ 8 บ้านห้วยน�ำ้ บ่อ ต�ำบลนาเฉลียง อ�ำเภอหนองไผ่ จังหวัดเพชรบูรณ์
ประวัติหลวงพ่อแดง เทพเจ้าแห่งชุมชนท่าแห
หลวงพ่อแดง อภิโชโต เกิดเมื่อวันอาทิตย์ที่ 3 มีนาคม พ.ศ.2450 เดือน 4 ปีมะแม ที่กรุงเทพฯ อุปสมบท เมื่อพ.ศ.2501 อายุได้ 50 ปี ณ อุโบสถของวัดใหม่บำ� เพ็ญผล (ท่าแห) ต.ดงละคร อ.เมือง จ.นครนายก โดยมีหลวงพ่อพระครูปรีดา คุณากรณ์ วัดศรีเมือง เป็นพระอุปชั ฌาย์ ได้รับฉายาว่า “อภิโชโต” หลวงพ่อแดงได้จำ� พรรษารับใช้ครูบาอาจารย์อยูท่ วี่ ดั ใหม่บำ� เพ็ญผล (ท่าแห) พร้อมศึกษาธรรมปฏิบตั อิ ย่างจริงจังกับหลวงปูม่ ยุ้ อดีตเจ้าอาวาส วัดท้าวอูท่ อง ต.โคกไม้ลาย อ.เมือง จ.ปราจีนบุรี ได้ศกึ ษาต�ำราท�ำนายทายทัก อย่างแม่นย�ำ พร้อมศึกษาต�ำราการรักษาโรคด้วยสมุนไพร และได้นมิ นต์ จากต�ำราของโยมปู่ 140
1
หลวงพ่อแดงฉันอาหารมังสะวิรตั และอาหารเจโดยตลอด เป็นพระภิกษุ ทีส่ ขุ มุ มีเมตตาต่อชาวบ้านอย่างเท่าเทียมกัน หลวงพ่อมักจะสัง่ สอนศิษย์ เสมอว่า “คนเรานัน้ เมือ่ มีศลี ดีแล้ว อะไร ๆ ก็ดไี ปหมด แคล้วคลาดก็อยูท่ ศี่ ลี คงกระพันก็อยู่ที่ศีล หรือจะเป็นเมตตามหานิยมก็อยู่ที่ศีล” ปี พ.ศ.2510 สร้างอุโบสถ พรรษาที่ 10 ขณะอายุ 60 ปี หลวงพ่อแดง ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นเจ้าอาวาสวัดจินดาราม (ดงข่า) ปี พ.ศ.2516 สร้างวัตถุมงคลเหรียญรุน่ แรก พรรษาที่ 66 หลวงพ่อแดง ได้รบั นิมนต์จากชาวบ้านเกาะกา อ.ปากพลี จ.นครนายก ให้หลวงพ่อไปช่วย สร้างอุโบสถและศาลาการเปรียญ เมื่อย้ายกลับมาจ�ำพรรษาที่วัดใหม่บ�ำเพ็ญผล (ท่าแห) ท่านได้ร่วม พัฒนาวัดกับอดีตเจ้าอาวาส พร้อมสงเคราะห์ชาวบ้านและคณะศิษย์ ด้ ว ยการรั ก ษาโรคภั ย ด้ ว ยสมุ น ไพรและรดน�้ ำ มนต์ มี ผู ้ ค นที่ ไ ด้ รั บ ความเดือดเนือ้ ร้อนใจจากภัยต่าง ๆ เดินทางมาให้หลวงพ่อแดงช่วยสงเคราะห์ ด้วยเหตุนี้เสมอ ในหมู่คณะศิษย์และผู้ที่ศรัทธา จึงยกให้หลวงพ่อ เปรียบเสมือนเทพเจ้าของกลุ่มชุมชนท่าแห วันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ.2536 หลวงพ่อแดงได้มรณภาพอย่างสงบ สิริอายุ 86 ปี 36 พรรษา
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
สาธุชนผูม้ จี ติ ศรัทธาและประสงค์จะร่วมสืบทอดอายุพระพุทธศาสนา ติดต่อได้ที่พระธนาชัย โชติโก 086-538-0877
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
.indd 140
19/4/2562 17:25:13
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
ผ้าซิ่นมัดหมี่ไทหล่ม
วัดศรีฐานปิยาราม ศูนย์กลางท่องเที่ยววิถีไทวังบาล
วัดศรีฐานปิยาราม ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 1 บ้านวังบาล หมูท่ ี่ 15 (เดิมอยูห่ มู่ 9) ต�ำบลวังบาล อ�ำเภอหล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีทดี่ นิ ตัง้ วัดเนือ้ ที่ 3 ไร่ 1 งาน 45 ตารางวา ตาม น.ส.3 ก. เลขที่ 2167 มีที่ธรณีสงฆ์ จ�ำนวน 1 แปลง เนื้อที่ 1 ไร่
ประวัติวัดศรีฐานปิยาราม
จากต�ำนานพงศาวดารเมือง และประวัติหมู่บ้านที่ได้เล่าสืบต่อกัน มาคือ บรรพบุรุษชาววังบาลเป็นชนชาติต่างๆ ที่อพยพเข้ามาจับจอง ที่ดินเพื่อท�ำกิน เช่น มาจากจีนตอนล่าง บ้างมาจากบ่อแดนและหลวง พระบางประเทศลาว สังเกตุได้จากส�ำเนียงการพูดของชาวบ้านวังบาล จะคล้ายคลึงกับชาวหลวงพระบางมาก
ศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชต�ำบลวังบาล
ปัจจุบันทางวัดศรีฐานปิยารามได้จัดตั้ง ศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราช ต�ำบลวังบาล ซึ่งจะมีทั้งโรงเรียนผู้สูงอายุ และพิพิธภัณฑ์พื้นบ้าน โดย ได้รับคัดเลือกจากกรมส่งเสริมวัฒนธรรมให้เป็น 1 ใน 14 ชุมชนท่อง เทีย่ วเชิงวัฒนธรรม ปี 2561 ซึง่ จะมีการสาธิตการทอผ้า เรียนรูข้ นั้ ตอน การทอผ้า และกิจกรรมเดิน ชม ชิม แชะ วิถีไทวังบาล
วัดศรีฐานปิยาราม ได้สร้างเป็นวัดนับตั้งแต่ประมาณปี พ.ศ.2215 เป็นวัดที่เก่าแก่สร้างมานาน โดยมีหลวงพ่อศรีฐานเป็นผู้นำ� จัดสร้างวัด จึงได้มีนามว่า วัดศรีฐาน แต่ชาวบ้านนิยมเรียกว่า วัดวังบาล ตามชื่อ หมูบ่ า้ น ได้รบั วิสงุ คามสีมานับตัง้ แต่ราวปี พ.ศ.2225 ปัจจุบนั ได้จดั สร้าง อุโบสถขึ้นใหม่แทนหลังเก่า
ความเป็นมาของต�ำบลวังบาล
ต�ำบลวังบาล เป็นต�ำบลหนึ่งของอ�ำเภอหล่มเก่า ค�ำว่า “วังบาล” มาจากค�ำว่า “วังบาน” หมายถึงน�้ำในห้วยวังบาลเกิดจากการกัดเซาะ ของน�้ำ ก่อให้เกิดเป็นวังกว้างขึ้น หรือที่เรียกว่าบานออก ในสมัยก่อน ล�ำห้วยวังบาลมีความกว้างและลึกมาก แม้แต่ชา้ งลงไปอาบก็ทว่ มหลังช้าง ตามหลักฐานสมุดข่อย วัดบ้านโคก ซึ่งพระอธิการจ�ำปา ฐตธมโม เจ้าอาวาสวัดหินกลิ้งได้แปลเป็นภาษาไทย และทางวัดศรีฐานได้น�ำมา เขียนประวัติวัดศรีฐาน โดยหลักฐานในสมุดข่อยได้บันทึกว่า ประชาชน ชาววังบาลได้อพยพมาจากล้านช้าง หลวงพระบาง น�ำ้ ลี่ แสนศรี (แสนทวี) โดยการน�ำของขุนวังบังบาล สองพี่น้องได้มาสร้างบ้านแปงเมืองที่ วัดศรีฐาน วังบาล ซึ่งก็คือหมู่บ้านวังบาลในปัจจุบัน PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
1
.indd 141
141
22/4/2562 16:42:49
วัดธาตุพลแพง
ศูนย์รวมจิตใจของชาวนาแซงกว่า 242 ปี พระครูพัชร เหมคุณ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดธาตุพลแพง ตั้งอยู่เลขที่ 89 บ้านนาแซง หมู่ที่ 2 ต�ำบลนาแซง อ�ำเภอหล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้ง วัดเนือ้ ที่ 5 ไร่ 10 ตารางวา มีทธี่ รณีสงฆ์ จ�ำนวน 1 แปลง เนือ้ ที่ 50 ไร่
ประวัติวัดธาตุพลแพง
วัดธาตุพลแพง ได้สร้างขึน้ เป็นวัดนับตัง้ แต่ประมาณ พ.ศ.2320 ได้รบั พระราชทานวิสุงคามสีมาในราว พ.ศ.2340 ชาวบ้านเรียก “วัดนาแซง” ตามชือ่ ของหมูบ่ า้ น สิง่ ศักดิส์ ทิ ธิม์ พี ระธาตุพลแพงเป็นเจดียท์ รงสีเ่ หลีย่ ม จัตุรัส และมีเสนาสนะต่างๆ อาทิ อุโบสถ สร้างด้วยไม้ ฝาผนังก่ออิฐ ถือปูน, ศาลาการเปรียญ, กุฏสิ งฆ์ จ�ำนวน 7 หลัง โดยอุโบสถหลังนีไ้ ด้รบั การบูรณปฏิสังขรณ์มา 3 ครั้ง คือ ครัง้ ที่ 1 ปฏิสงั ขรณ์หลังคาโดยปรับปรุงตกแต่งใหม่ มุงด้วยหญ้าแฝก ครั้งที่ 2 เปลี่ยนหลังคาจากหญ้าแฝกเป็นสังกะสี โดยอาจารย์ทอง เป็นลูกครึ่งกูลา เชื้อสายมอญ ครัง้ ที่ 3 พระครูพชิ ติ พัชรการ ได้ปฏิสงั ขรณ์ให้เป็นหลังคามาตรฐาน 142
2
ถาวร แต่ยังไม่แล้วเสร็จ ท่านพระครูก็ได้ถึงแก่มรณภาพก่อนจึงสร้าง แล้วเสร็จในสมัยพระครูพัชร เหมคุณ เจ้าอาวาสองค์ปัจจุบัน อย่างไรก็ตามบรรดาผูเ้ ฒ่าผูแ้ ก่ได้เล่าสืบต่อกันมาว่า วัดพระธาตุพลแพง สร้างมาแล้วประมาณ 740 ปี โดยมีหนังสือยืนยันว่าในสมัยหนึ่งมี เจ้าอาวาสชือ่ ว่า เจ้าขะนันโสภา ได้แต่งหนังสือใบลานถวายวัดธาตุพลแพง บ้านนาแซง เมื่อ พ.ศ.1822 ล่วงมาแล้ว จึงนับได้ว่าเป็นวัดเก่าแก่คู่ บ้านนาแซงที่สร้างมานานแล้ว
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
.indd 142
19/4/2562 17:25:29
ประวัติน�้ำบ่อ(บ่อสร้าง)
ตามประวัตเิ ล่าสืบ ๆ กันมาว่า น�ำ้ บ่อนีม้ คี วามศักดิส์ ทิ ธิ์ มีปาฏิหาริย์ แสดงให้เห็นบ่อยครั้งคือ เจ้าแม่วานค�ำและเจ้าแม่ลอ้ ฝ้าย เจ้าแม่วานค�ำ มีลักษณะเป็นตัวสีแดงสวยสดงดงาม เจ้าแม่ล้อฝ้ายมีลักษณะตัวสีขาว สวยมาก โดยมีสามีอยู่เมืองสามพันถ้วย ถ้าใครจะดูต้องน�ำดอกไม้ธูป เทียนไปจุดอธิษฐาน ก็จะปรากฏตัวให้เห็น แต่ในขณะนี้กาลเวลาผ่าน ไปนานแล้วปรากฏการณ์ต่าง ๆ นั้นก็ไม่มีอีก โดยในบ่อน�้ำแห่งนี้ได้มี บ้องไฟใหญ่มาตกลงในบริเวณที่แห่งนี้เป็นหลุมลึกลงไปมาก จนถึงกับ มีนำ�้ ขังเป็นบ่อใหญ่ มีนำ�้ ตลอดทัง้ ปี ชาวบ้านจึงร่วมกันท�ำเป็นบ่อน�ำ้ เก็บน�ำ้ ไว้ อุปโภคบริโภคต่อมาจนถึงทุกวันนี้
ประวัติศาลเจ้าพ่อนาแซง วัดธาตุพลแพง มีเจ้าอาวาสปกครองมาแล้ว 16 รูป ดังนี้ พระอธิการ ง้าว พระอธิการมะ พระอธิการเงาะ พระอธิการน้อย พระอธิการแดง พระอธิการสงค์ พระอธิการพรหมา พระอธิการพรหม พระอธิการ แดง พระอธิการเครือ่ ง พระอธิการแดง (หลวงปูแ่ ดง) พระอธิการปลา พระอธิการเพ็ง พระอธิการสวัสดิ์ พระครูพชิ ติ พัชรการ (หลวงปูแ่ ดง) และพระครูพัชร เหมคุณ (มหาน้อย) เป็นเจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน
ศาลเจ้าพ่อนาแซงเป็นศาลที่มีความศักดิ์สิทธิ์มาก มีชาวบ้านทั่ว ๆ ไป ทั้งบ้านไกลและใกล้ให้ความเคารพนับถือมาก ใครจะแสดงอาการไม่เคารพ ดูถูกดูหมิ่นไม่ได้เลย จะท�ำให้ผู้นั้นต้องมีอันเป็นไปต่าง ๆ นานา และเวลาท�ำ พิธบี วงสรวงเจ้าพ่อ ใครจะใส่เสือ้ แดงผ่านไปไม่ได้เป็นอันขาด ถ้าใครฝ่าฝืนจะ ท�ำให้มอี นั เป็นไป เช่นมีอาการชักตาตัง้ โดยมีรา่ งทรงเจ้าพ่อทัง้ หมด ดังนี้ เจ้า พ่อจอม เจ้าพ่อทหาร เจ้าพ่อเมืองกลาง เจ้าพ่ออุปฮาด เจ้าพ่อเมืองแสน เจ้า พ่อหลวงสี เจ้าพ่อกุมมะนา ( คนเลี้ยงช้าง) และเจ้าพ่อคุดทะราช ( คนเฝ้า ประตู) ซึ่งแต่ละปีจะมีการประกอบพิธีบวงสรวง 2 ครั้ง คือ ประเพณีทำ� บุญ เลี้ยงปี และประเพณีท�ำบุญบ้องไฟ
ประวัติพระธาตุพลแพง
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
การบริหารปกครอง
เล่าสืบกันมาว่า พระธาตุพลแพง เป็นที่บรรจุกระดูกของร่างทรง ท่านเจ้าพ่อทหาร มีความศักดิ์สิทธิ์เป็นที่เคารพนับถือของคนบ้านนา แซง และหมู่บ้านใกล้เคียงเป็นอย่างมาก และมีการบูรณปฏิสังขรณ์มา หลายครั้งดังที่ปรากฏในขณะนี้
มูลนิธวิ ดั ธาตุพลแพง เริม่ ก่อตัง้ เมือ่ วันที่ 7 มีนาคม 2544 โดย ดร.บุญทรง ศรีเฟื่องฟุ้ง มีเงินทุนเริ่มแรก 200,000 บาท สาธุชนท่านใดที่มีจิตศรัทธาประสงค์จะท�ำบุญกับมูลนิธิวัดธาตุพลแพง ขอเชิญร่วมบริจาคได้ตามก�ำลังศรัทธา PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 143
143
19/4/2562 17:25:45
วัดตาล
กราบสักการบูชาขอพรหลวงพ่อใหญ่วัดตาล พระครูสถิตพัชรธรรม เจ้าอาวาส
วัดตาล ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 73 หมูท่ ี่ 3 ต.หล่มเก่า อ.หล่มเก่า จ. เพชรบูรณ์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีทดี่ นิ ทีต่ งั้ วัด เนือ้ ที่ 4 ไร่ 3 งาน 16 ตารางวา เดิมมีชอื่ ว่า “วัดตาลสราญรมณ์” แต่คนทัว่ ไปมักเรียกกันสัน้ ๆ ว่า “วัดตาล” ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมาประมาณ พ.ศ.2403 ปัจจุบนั มีพระภิกษุ อยู่ประจ�ำวัด 2 รูป
ล�ำดับเจ้าอาวาส วัดตาลมีเจ้าอาวาสที่พอจะสืบทราบนามได้ ได้แก่ ครูบาสิงห์, ครูบาหม, ครูบาค�ำ, ครูบาจันนา, พระมหาเกษม, ครูบาศร, พระอธิการ ทองรั ก ษ์ สุ ทั นฺ โ ต, หลวงตาจั น ทร์ แ จ่ ม และพระครู ส ถิ ต พั ช รธรรม พ.ศ.2538–ปัจจุบัน
144
2
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
.indd 144
19/4/2562 17:23:09
สิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายในวัด
หลวงพ่อใหญ่วดั ตาล เป็นพระพุทธรูปเก่าแก่คบู่ า้ นคูเ่ มืองหล่มเก่า ปางมารวิ ชั ย ศิ ล ปะล้ า นช้ า ง สร้ า งด้ ว ยปู น ปั ้ น ขนาดหน้ า ตั ก กว้ า ง 2.95 เมตร สูง 4.19 เมตร ประดิษฐานอยูภ่ ายในวิหาร ประชาชนทัว่ ไป ตัง้ แต่อดีตถึงปัจจุบนั ศรัทธาสักการะบูชาเป็นทีพ่ งึ่ ด้านจิตใจ ต่างพากัน มากราบขอพรต่างๆ ทัง้ การขอให้คมุ้ ครองรักษาให้อยูด่ มี สี ขุ , ขอให้ทำ� งาน หรือรับราชการได้เลื่อนขั้นเลื่อนต�ำแหน่ง, ขอให้ท�ำการค้าเจริญรุ่งเรือง, ขอเรือ่ งการเรียนต่อหรือเข้าท�ำงานได้, ขอให้ไม่ถกู เกณฑ์ทหาร และเป็น ที่สาบานตนให้พ้นผิด เป็นต้น โดยมี ต� ำ นานเล่ า ขานเกี่ ย วกั บ การสร้ า งพระพุ ท ธรู ป องค์ นี้ ว ่ า มีพระเถระผู้ใหญ่เดินทางนั่งเรือมาจากทางใต้ ลงเรือที่ท่าน�้ำหน้าวัด แล้วมาน�ำพาประชาชนในละแวกนี้ พัฒนาวัดและได้สร้างพระพุทธรูป องค์ใหญ่นี้ขึ้นมา วันที่จะน�ำพาช่างและประชาชนปั้นแต่งพระเศียร พระพักตร์ของพระพุทธรูปนัน้ แต่ยงั ไม่ทนั ได้ลงมือท�ำเพราะได้เวลาพัก กินข้าวเที่ยง ได้เห็นคนแก่นุ่งขาวห่มขาวเดินไปเดินมาระหว่างบ่อน�้ำ กับพระพุทธรูป คือหลวงพ่อใหญ่วดั ตาลทีก่ ำ� ลังได้รบั การบูรณะในครัง้ นัน้ หลังจากที่รับประทานอาหารกันเรียบร้อยแล้ว ต่างก็พบว่าพระพักตร์ พระเศียรของพระพุทธรูปองค์ใหญ่นี้ ได้รบั การปัน้ แต่งแล้วเสร็จบริบรู ณ์ งดงาม และบ่อน�้ำนั้นก็ปรากฏว่ามีน�้ำผุดขึ้นมาด้วย จึงพากันเข้าใจว่า เทวดามาช่วยสร้าง
ศาลาพระนางเนาวรงค์เทวี พระชายาของพ่อขุนผาเมือง พระนาง เป็นผูก้ ล้าหาญ เฉลียวฉลาด และร่วมออกรบกับพ่อขุนผาเมือง เมือ่ ครัง้ เข้าตีกรุงสุโขทัยคืนจากขอมสบาดโขลญล�ำพงด้วย พระนางจึงเป็นที่รัก ของพ่อขุนผาเมืองยิง่ นัก ชาวบ้านจึงเรียกว่า “ศาลาแม่เข็มทองกับพ่อขุน ผาเมือง” (เข็มทองเป็นชือ่ เดิมของพระนาง) PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 145
145
19/4/2562 17:23:15
ถิ่นวัฒนธรรมล้านนา ล�้ำค่าพระธาตุดอยตุง ท่องเที่ยวทางใจ 884 วัด เมืองต้องเที่ยว “เพชบุระ” เพชรบูรณ์
ท่ องเที่ย วทางใจ
884 วัด
Phetchabun จังหวัดเพชรบูรณ์
อ�ำเภอเมืองเพชรบูรณ์
วัดบ้านหลุง
วัดชัยพฤกษ์
วัดทุ่งเรไร
วัดโนนป่าลวก
หมู่ 3 ต�ำบลบ้านโคก
หมู่ 1 ต�ำบลชอนไพร
หมู่ 16 ต�ำบลท่าพล
หมู่ 6 ต�ำบลวังชมภู
หมู่ 9 ต�ำบลนาป่า
ต�ำบลในเมือง
ต�ำบลในเมือง
หมู่ 7 ต�ำบลท่าพล
หมู่ 3 ต�ำบลท่าพล
หมู่ 7 ต�ำบลห้วยสะแก
หมู่ 7 ต�ำบลวังชมภู
หมู่ 4 ต�ำบลน�้ำร้อน
หมู่ 2 ต�ำบลนาป่า
ต�ำบลในเมือง
หมู่ 5 ต�ำบลนาป่า
หมู่ 5 ต�ำบลวังชมภู
หมู่ 1 ต�ำบลท่าพล
หมู่ 4 ต�ำบลนาป่า
หมู่ 2 ต�ำบลนายม
หมู่ 4 ต�ำบลนายม
หมู่ 1 ต�ำบลดงมูลเหล็ก
หมู่ 9 ต�ำบลป่าเลา
หมู่ 1 ต�ำบลนางั่ว
หมู่ 1 ต�ำบลระวิง
หมู่ 4 ต�ำบลสะเดียง
หมู่ 9 ต�ำบลป่าเลา
หมู่ 5 ต�ำบลบ้านโคก
หมู่ 1 ต�ำบลตะเบาะ
ต�ำบลในเมือง
หมู่ 1 ต�ำบลนายม
หมู่ 1 ต�ำบลนาป่า
หมู่ 6 ต�ำบลบ้านโคก
หมู่ 7 ต�ำบลตะเบาะ
วัดปากน�้ำ(ตะวันตก) ใหม่ประทานพร
หมู่ 7 ต�ำบลนางั่ว
หมู่ 3 ต�ำบลตะเบาะ
หมู่ 9 ต�ำบลห้วยสะแก
หมู่ 1 ต�ำบลบ้านโคก
วัดปากน�้ำ(ตะวันออก)
หมู่ 13 ต�ำบลท่าพล
ต�ำบลในเมือง
หมู่ 5 ต�ำบลห้วยสะแก
หมู่ 2 ต�ำบลป่าเลา
วัดป่าเรไร
หมู่ 6 ต�ำบลน�้ำร้อน
หมู่ 8 ต�ำบลนายม
หมู่ 10 ต�ำบลบ้านโคก
หมู่ 6 ต�ำบลบ้านโตก
วัดป่าสักเรไร
หมู่ 6 ต�ำบลนายม
หมู่ 7 ต�ำบลบ้านโตก
หมู่ 5 ต�ำบลดงมูลเหล็ก
หมู่ 5 ต�ำบลบ้านโตก
วัดป่าเสน่ห์
หมู่ 2 ต�ำบลบ้านโตก
หมู่ 1 ต�ำบลน�้ำร้อน
หมู่ 2 ต�ำบลน�้ำร้อน
หมู่ 8 ต�ำบลสะเดียง
วัดพระแก้ว
หมู่ 5 ต�ำบลห้วยสะแก
หมู่ 5 ต�ำบลป่าเลา
หมู่ 8 ต�ำบลวังชมภู
หมู่ 4 ต�ำบลวังชมภู
วัดกกไทร
วัดช้างเผือก(ในเมือง)
วัดกองมูลสามัคคีธรรม วัดกุฎีดาว
วัดเกาะแก้ว
วัดแก้วไขแสงวนาราม วัดคลองตานันต์ วัดคลองสาร
โคกสว่างสามัคคี วัดจอมศรี วัดจันทร์
วัดจันทร์นิมิต วัดชนะชิงชัย
146
884
วัดช้างเผือก(วังชมภู) วัดซับข่อย
วัดดงมูลเหล็ก วัดดอกไม้
วัดดาวเรือง
วัดตะเบาะน้อย วัดไตรภูมิ
วัดถ�้ำน�้ำบัง
วัดถ�ำ้ สองพีน่ อ้ งศรัทธาธรรม วัดทักษิณาราม วัดทุ่งแจ้ง
วัดทุ่งสะเดียง วัดทุ่งหินปูน
วัดเทพสโมสร
วัดธรรมาธิปไตย วัดน�้ำเลา
วัดน�้ำอ้อม
วัดเนินสง่า
วัดเนินสบาย วัดโนนจั่น
วัดโนนตะแบก
วัดโนนน�้ำร้อน
วัดโนนประชาสรรค์
วัดโนนศรัทธาชุม วัดโนนศรีแก้ว
วัดโนนสวรรค์บ้านชอน วัดโนนสว่าง
วัดโนนสว่างจันทร์ วัดโนนสว่างอารมณ์ วัดโนนสว่างอารมณ์ วัดโนนสุวรรณ วัดบ้านทุ่งแค
วัดบ้านพี้ศรีสุข วัดบ้านไร่
วัดบ้านวังทอง
วัดบูรพาโพธิ์ทอง วัดโบสถ์ชนะมาร
วัดโบสถ์โพธิ์ทอง วัดโบสถ์ยางลาด วัดประตูดาว
หมู่ 5 ต�ำบลนาป่า หมู่ 8 ต�ำบลนาป่า
หมู่ 4 ต�ำบลตะเบาะ หมู่ 2 ต�ำบลนาป่า หมู่ 14 ต�ำบลนาป่า ต�ำบลในเมือง
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
.indd 146
20/4/2562 16:15:39
THE IMPORTANT TEMPLES PHETCHABUN
วัดพระนอน หมู่ 2 ต�ำบลนายม
วัดพิกุลทอง
หมู่ 13 ต�ำบลห้วยสะแก
วัดโพธิ์กลาง(ท่าพล) หมู่ 3 ต�ำบลท่าพล
วัดโพธิ์กลาง(นางั่ว) หมู่ 3 ต�ำบลนางั่ว
วัดโพธิ์กลาง(บ้านโคก) หมู่ 2 ต�ำบลบ้านโคก
วัดโพธิ์กลาง(ป่าเลา) หมู่ 3 ต�ำบลป่าเลา
วัดโพธิ์งาม
หมู่ 5 ต�ำบลท่าพล
วัดโพธิ์ทอง
หมู่ 3 ต�ำบลชอนไพร
วัดโพธิ์เย็น
ต�ำบลในเมือง
วัดโพธิ์สว่าง หมู่ 8 ต�ำบลนางั่ว
วัดภูเขาดิน
ต�ำบลในเมือง
วัดละหาน
วัดสว่างอารมณ์ (บ้านโตก)
ต�ำบลในเมือง
หมู่ 10 ต�ำบลห้วยสะแก
หมู่ 1 ต�ำบลบ้านโตก
หมู่ 1 ต�ำบลระวิง
หมู่ 7 ต�ำบลดงมูลเหล็ก
หมู่ 3 ต�ำบลห้วยใหญ่
หมู่ 10 ต�ำบลระวิง
หมู่ 6 ต�ำบลระวิง
หมู่ 8 ต�ำบลบ้านโตก
หมู่ 1 ต�ำบลวังชมภู
หมู่ 5 ต�ำบลชอนไพร
หมู่ 7 ต�ำบลนาป่า
หมู่ 1 ต�ำบลวังชมภู
หมู่ 9 ต�ำบลท่าพล
หมู่ 8 ต�ำบลนาป่า
หมู่ 4 ต�ำบลระวิง
หมู่ 2 ต�ำบลห้วยใหญ่
หมู่ 3 ต�ำบลวังชมภู
หมู่ 8 ต�ำบลห้วยสะแก
หมู่ 4 ต�ำบลชอนไพร
หมู่ 4 ต�ำบลนายม
หมู่ 3 ต�ำบลน�้ำร้อน
หมู่ 8 ต�ำบลวังชมภู
หมู่ 2 ต�ำบลวังชมภู
หมู่ 2 ต�ำบลดงมูลเหล็ก
หมู่ 4 ต�ำบลสะเดียง
หมู่ 3 ต�ำบลห้วยสะแก
หมู่ 6 ต�ำบลนางั่ว
หมู่ 10 ต�ำบลชอนไพร
หมู่ 4 ต�ำบลระวิง
วัดมหาธาตุ วัดยางลาด
วัดยางแหลม วัดยาวีใต้
วัดยาวีเหนือ วัดระวิง
วัดรัตนวนาราม วัดราษฎร์บ�ำรุง
วัดราษฎร์บูรณะ
วัดราษฎร์ศรัทธา วัดไร่เหนือ
หมู่ 4 ต�ำบลสะเดียง
วัดล�ำป่าสักมูล วัดวังขอน
วัดวารีวงค์ วัดศรีชมภู
วัดศรีสญชัย
วัดศิลาดอกไม้ วัดศิลาโมง
วัดสนามบิน
วัดสวนราชวิมลเมธี วัดสว่างอารมณ์ (ดงมูลเหล็ก)
หมู่ 2 ต�ำบลห้วยสะแก
วัดสะแกงาม
วัดห้วยไคร้
หมู่ 5 ต�ำบลตะเบาะ
วัดสะแกพนาราม
วัดห้วยทรายใต้
หมู่ 6 ต�ำบลห้วยใหญ่
วัดสามสวน
วัดห้วยนาค
หมู่ 4 ต�ำบลห้วยสะแก
วัดสามัคคีชัย
วัดใหม่ชัยมงคล
วัดสามัคคีพัฒนาราม
วัดใหม่วังสีมา วัดอาคเนย์
หมู่ 6 ต�ำบลท่าพล
วัดแสนสุข
วัดอินทร์เจริญ
วัดหนองคล้าธรรมาราม
วัดหนองป่าพง
หมู่ 1 ต�ำบลห้วยสะแก หมู่ 5 ต�ำบลระวิง
วัดเสาธงทอง
วัดหนองจอก
วัดหนองแหวน
หมู่ 4 ต�ำบลบ้านโตก
วัดอินทรศักดิ์สามัคคี หมู่ 7 ต�ำบลดงมูลเหล็ก
วัดอุดมมังคลาราม หมู่ 6 ต�ำบลชอนไพร
หมู่ 4 ต�ำบลบ้านโคก
หมู่ 1 ต�ำบลดงมูลเหล็ก
PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
884
.indd 147
147
20/4/2562 16:15:43
ท่องเที่ยวทางใจ 884 วัด เมืองต้องเที่ยว “เพชบุระ” เพชรบูรณ์
อ�ำเภอหล่มสัก วัดแก้วสว่าง หมู่ 6 ต�ำบลบุ่งคล้า
วัดขามเรียง
หมู่ 5 ต�ำบลท่าอิบุญ
วัดขามเรียง
หมู่ 2 ต�ำบลฝายนาแซง
วัดค้องาม
หมู่ 1 ต�ำบลช้างตะลูด
วัดโคกเจริญ
หมู่ 7 ต�ำบลบ้านหวาย
วัดโฆษา
หมู่ 2 ต�ำบลห้วยไร่
วัดงิ้วงามโนนสว่าง หมู่ 2 ต�ำบลท่าอิบุญ
วัดจอมแจ้ง
หมู่ 2 ต�ำบลน�้ำเฮี้ย
วัดจอมแจ้งสว่างอารมณ์ หมู่ 1 ต�ำบลสักหลง
วัดจอมมณี
หมู่ 9 ต�ำบลตาลเดี่ยว
วัดชลประทาน
หมู่ 1 ต�ำบลสักหลง
วัดชัยทอง
วัดเทวราชกุญชร หมู่ 7 ต�ำบลช้างตะลูด
วัดเทวราชกุญชร
หมู่ 7 ต�ำบลตาลเดี่ยว
หมู่ 6 ต�ำบลบ้านกลาง
วัดชัยมงคล
วัดเทศาวาส
หมู่ 2 ต�ำบลวัดป่า
หมู่ 10 ต�ำบลช้างตะลูด
วัดชัยวรรณพัฒนาราม หมู่ 10 ต�ำบลน�้ำชุน
วัดซ�ำภูวนาราม
หมู่ 5 ต�ำบลช้างตะลูด
วัดตูมค�ำมณี
วัดไทรย้อย
หมู่ 10 ต�ำบลน�้ำชุน
วัดธรรมสมาคม
หมู่ 6 ต�ำบลน�้ำชุน
วัดธารทิพย์
หมู่ 10 ต�ำบลบุ่งน�้ำเต้า
วัดไตรภูมิ
วัดน�้ำก้ออินเตชวราราม (อินเตชะสว่างวราราม)
หมู่ 3 ต�ำบลสักหลง
หมู่ 3 ต�ำบลหนองไขว่
หมู่ 5 ต�ำบลบ้านหวาย
วัดถ�้ำสมบัติ
หมู่ 8 ต�ำบลบุ่งน�้ำเต้า
วัดทรายทอง
หมู่ 4 ต�ำบลบุ่งน�้ำเต้า
วัดท่ากกแก
หมู่ 4 ต�ำบลตาลเดี่ยว
วัดท่ามะกล้วย
หมู่ 3 ต�ำบลวัดป่า
วัดท่าแร่
หมู่ 8 ต�ำบลหนองไขว่
วัดทุ่งจันทร์สมุทร ต�ำบลหล่มสัก
วัดทุ่งวารีลาภอุดม หมู่ 7 ต�ำบลวัดป่า
วัดทุ่งสว่างนาจารย์ หมู่ 8 ต�ำบลบุ่งคล้า
148
884
วัดน�้ำค�ำเหนือ
หมู่ 5 ต�ำบลปากช่อง
วัดน�้ำชุนวารี
หมู่ 5 ต�ำบลน�้ำชุน
วัดเนินโกกน้อย
หมู่ 5 ต�ำบลบ้านโสก
วัดเนินสว่างทางหลวง หมู่ 1 ต�ำบลน�้ำก้อ
วัดโนนทอง
หมู่ 1 ต�ำบลบุ่งน�้ำเต้า
วัดโนนทอง
หมู่ 10 ต�ำบลหนองไขว่
วัดโนนน�้ำพุวนาราม
หมู่ 2 ต�ำบลบ้านกลาง
วัดโนนป้องวนาราม
หมู่ 12 ต�ำบลช้างตะลูด
วัดเปือยงาม
วัดราชธานี
หมู่ 6 ต�ำบลบุ่งคล้า
หมู่ 4 ต�ำบลบ้านไร่
หมู่ 6 ต�ำบลลานบ่า
หมู่ 8 ต�ำบลบ้านกลาง
หมู่ 7 ต�ำบลบ้านกลาง
หมู่ 1 ต�ำบลน�้ำชุน
หมู่ 7 ต�ำบลปากช่อง
หมู่ 11 ต�ำบลห้วยไร่
หมู่ 1 ต�ำบลท่าอิบุญ
หมู่ 6 ต�ำบลบ้านกลาง
หมู่ 5 ต�ำบลลานบ่า
หมู่ 8 ต�ำบลน�้ำก้อ
หมู่ 9 ต�ำบลช้างตะลูด
หมู่ 7 ต�ำบลหนองไขว่
หมู่ 4 ต�ำบลบ้านกลาง
หมู่ 2 ต�ำบลน�้ำชุน
หมู่ 7 ต�ำบลลานบ่า
หมู่ 2 ต�ำบลตาลเดี่ยว
หมู่ 1 ต�ำบลบ้านไร่
หมู่ 9 ต�ำบลน�้ำชุน
หมู่ 6 ต�ำบลปากช่อง
หมู่ 4 ต�ำบลวัดป่า
หมู่ 7 ต�ำบลน�้ำก้อ
หมู่ 12 ต�ำบลปากช่อง
ต�ำบลหล่มสัก
หมู่ 3 ต�ำบลฝายนาแซง
หมู่ 4 ต�ำบลท่าอิบุญ
หมู่ 7 ต�ำบลบ้านติ้ว
หมู่ 2 ต�ำบลบุ่งน�้ำเต้า
หมู่ 8 ต�ำบลตาลเดี่ยว
หมู่ 2 ต�ำบลบ้านไร่
หมู่ 2 ต�ำบลบ้านกลาง
หมู่ 4 ต�ำบลปากช่อง
หมู่ 10 ต�ำบลปากช่อง
หมู่ 6 ต�ำบลท่าอิบุญ
หมู่ 6 ต�ำบลห้วยไร่
หมู่ 6 ต�ำบลตาลเดี่ยว
หมู่ 7 ต�ำบลบ้านหวาย
หมู่ 1 ต�ำบลหนองสว่าง
หมู่ 1 ต�ำบลบ้านกลาง
ต�ำบลหล่มสัก
หมู่ 4 ต�ำบลน�้ำก้อ
หมู่ 9 ต�ำบลปากช่อง
หมู่ 7 ต�ำบลบุ่งคล้า
หมู่ 1 ต�ำบลฝายนาแซง
วัดโนนศรีแก้ว วัดโนนสมบูรณ์ วัดโนนสมพร วัดโนนสว่าง
วัดโนนสว่างสามัคคีธรรม วัดโนนสว่างอารมณ์
วัดบ้านไร่สว่างอารมณ์ วัดบุ่งยาง
วัดประชุมคงคาราม วัดประเชชัย (หนองอ้อ) วัดปากคลองแดง
วัดปากช่องธรรมทาน วัดปากห้วยขอนแก่น
วัดปากห้วยด่านใหญ่ วัดปากออก
วัดโป่งขามฝาดพัฒนา วัดโป่งช้าง
วัดพรศรัทธาราม วัดโพธาราม
วัดโพธิ์กลาง วัดโพธิ์งอย วัดโพธิ์งาม
วัดโพธิ์ตาก วัดโพธิ์เย็น
วัดโพธิ์ศรีธรรมาราม วัดโพธิ์ศรีสามัคคี วัดโพนชัย
วัดไพรสณฑ์ศักดาราม วัดมะเดื่องาม
วัดราษฎร์ประดิษฐ์วราราม วัดราษฎร์ศรัทธาธรรม ราษฎร์ศรัทธาธรรม วัดโรจนประภา
วัดลัฎฐิวนาราม วัดวังยาว
วัดศรีจันดาธรรม
วัดศรีจันทร์พัฒนาราม วัดศรีจันทราราม วัดศรีจ�ำปาทอง วัดศรีเจริญชัย
วัดศรีเจริญหล วัดศรีชมชื่น วัดศรีชมชื่น
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
.indd 148
20/4/2562 16:15:46
THE IMPORTANT TEMPLES CHACHOENGSAO
THE IMPORTANT TEMPLES PHETCHABUN
วัดศรีชมชื่น
วัดศรีวิชัย
วัดสว่างอารมณ์
วัดห้วยแสนงา
หมู่ 4 ต�ำบลห้วยไร่
หมู่ 6 ต�ำบลบ้านโสก
หมู่ 13 ต�ำบลสักหลง
หมู่ 9 ต�ำบลปากช่อง
หมู่ 1 ต�ำบลหนองไขว่
หมู่ 4 ต�ำบลบุ่งคล้า
หมู่ 10 ต�ำบลปากช่อง
หมู่ 3 ต�ำบลหนองสว่าง
หมู่ 12 ต�ำบลน�้ำก้อ
หมู่ 4 ต�ำบลบ้านกลาง
หมู่ 5 ต�ำบลน�้ำก้อ
หมู่ 12 ต�ำบลน�้ำชุน
หมู่ 2 ต�ำบลหนองไขว่
หมู่ 2 ต�ำบลฝายนาแซง
หมู่ 3 ต�ำบลลานบ่า
หมู่ 5 ต�ำบลบ้านติ้ว
หมู่ 1 ต�ำบลบ้านโสก
หมู่ 1 ต�ำบลวัดป่า
หมู่ 4 ต�ำบลน�้ำชุน
หมู่ 11 ต�ำบลหนองไขว่
หมู่ 15 ต�ำบลหนองไขว่
หมู่ 3 ต�ำบลบ้านกลาง
หมู่ 11 ต�ำบลบุ่งคล้า
หมู่ 4 ต�ำบลช้างตะลูด
วัดเนินสว่างอีเลิศ
วัดโพธิ์เย็น
วัดวังเวิน
วัดศรีสุมังค์
หมู่ 8 ต�ำบลนาซ�ำ
หมู่ 2 ต�ำบลบ้านเนิน
หมู่ 12 ต�ำบลหล่มเก่า
หมู่ 4 ต�ำบลหล่มเก่า
หมู่ 7 ต�ำบลหินฮาว
หมู่ 6 ต�ำบลหินฮาว
หมู่ 2 ต�ำบลหินฮาว
หมู่ 3 ต�ำบลตาดกลอย
หมู่ 6 ต�ำบลนาแซง
หมู่ 5 ต�ำบลนาแซง
หมู่ 9 ต�ำบลวังบาล
หมู่ 5 ต�ำบลหล่มเก่า
หมู่ 1 ต�ำบลศิลา
หมู่ 11 ต�ำบลวังบาล
หมู่ 6 ต�ำบลนาซ�ำ
หมู่ 9 ต�ำบลศิลา
หมู่ 8 ต�ำบลหินฮาว
หมู่ 1 ต�ำบลวังบาล
หมู่ 3 ต�ำบลศิลา
หมู่ 1 ต�ำบลหล่มเก่า
หมู่ 8 ต�ำบลศิลา
หมู่ 9 ต�ำบลหล่มเก่า
หมู่ 2 ต�ำบลนาเกาะ
หมู่ 7 ต�ำบลศิลา
หมู่ 6 ต�ำบลศิลา
หมู่ 4 ต�ำบลนาเกาะ
หมู่ 3 ต�ำบลวังบาล
หมู่ 5 ต�ำบลนาเกาะ
หมู่ 5 ต�ำบลวังบาล
หมู่ 2 ต�ำบลตาดกลอย
หมู่ 2 ต�ำบลหล่มเก่า
หมู่ 1 ต�ำบลหินฮาว
หมู่ 9 ต�ำบลหินฮาว
หมู่ 4 ต�ำบลศิลา
หมู่ 7 ต�ำบลบ้านเนิน
หมู่ 6 ต�ำบลบ้านหวาย
หมู่ 5 ต�ำบลบ้านหวาย
หมู่ 3 ต�ำบลปากช่อง
หมู่ 2 ต�ำบลบ้านโสก
หมู่ 4 ต�ำบลบ้านโสก
หมู่ 5 ต�ำบลสักหลง
หมู่ 8 ต�ำบลบ้านติ้ว
หมู่ 1 ต�ำบลตาลเดี่ยว
ต�ำบลหล่มสัก
หมู่ 5 ต�ำบลห้วยไร่
หมู่ 3 ต�ำบลบ้านติ้ว
หมู่ 2 ต�ำบลตาลเดี่ยว
ต�ำบลหล่มสัก
หมู่ 7 ต�ำบลท่าอิบุญ
หมู่ 1 ต�ำบลบุ่งคล้า
หมู่ 6 ต�ำบลหนองไขว่
วัดศรีทอง
วัดศรีทัศน์
วัดศรีธรรมา
วัดศรีบุญเรือง วัดศรีภูมิ
วัดศรีมงคล วัดศรีเมือง
วัดศรีษะเกตุ
วัดศรีสมบูรณ์ วัดศรีสมพร
วัดศรีสองคร
วัดศรีสะอาด(วราราม) วัดศรีสะอาดคงคาราม วัดศรีส�ำราญ
วัดศรีสุพล วัดศรีสุพลวนาราม วัดศรีแสนค�ำ
วัดสว่างโพธาราม วัดสว่างยางค�ำ
วัดสว่างราษฎร์สามัคคี วัดสว่างแสงจันทร์ วัดสว่างอรุณ
วัดสว่างอารมณ์
วัดหัวนา
วัดสว่างอารมณ์
วัดเหมืองใหม่พัฒนา
วัดสันติวิหาร
วัดส�ำราญรมย์
วัดใหม่ไทยพัฒนา
วัดใหม่ประทานพร
วัดโสมนัส
วัดอรุณญาศรี
วัดหนองปลาซิว
วัดวงศ์แสงธรรม
วัดหลักเมืองพัฒนาราม
วัดห้วยสวิงเหนือ
อ�ำเภอหล่มเก่า วัดกกกะทอน หมู่ 4 ต�ำบลนาซ�ำ
วัดแก่งเสี้ยว
หมู่ 5 ต�ำบลนาซ�ำ
วัดแก้วพัฒนาราม หมู่ 3 ต�ำบลนาซ�ำ
วัดขามชุม
หมู่ 3 ต�ำบลบ้านเนิน
วัดขามตาก
หมู่ 1 ต�ำบลนาแซง
วัดจอมแจ้ง
หมู่ 2 ต�ำบลนาซ�ำ
วัดจอมศรี
หมู่ 10 ต�ำบลวังบาล
วัดตาดกลอยใต้
หมู่ 4 ต�ำบลตาดกลอย
วัดตาล
หมู่ 3 ต�ำบลหล่มเก่า
วัดทรายงาม
หมู่ 5 ต�ำบลนาแซง
วัดท่าผู
หมู่ 7 ต�ำบลหินฮาว
วัดทุ่งธงไชย
หมู่ 11 ต�ำบลหล่มเก่า
วัดธาตุพลแพง
หมู่ 2 ต�ำบลนาแซง
วัดนันทชาติ
หมู่ 5 ต�ำบลบ้านเนิน
วัดเนินสว่างราษฎร์ศรัทธา หมู่ 4 ต�ำบลศิลา
วัดเนินสว่างวังขอน หมู่ 1 ต�ำบลตาดกลอย
วัดบรรพตยอดฟ้าวราราม วัดประชิตกัลยาณมุนี วัดโป่งสามขา วัดโพธิ์ชัย
วัดโพธิ์ชุม
วัดโพธิ์ตาก วัดโพธิ์ทอง วัดโพธิ์ไทร
วัดโพธิ์เย็น วัดโพธิ์ศรี
วัดโพนทอง วัดภูปูน
วัดม่วงชุม
วัดม่วงเย็น
วัดมุจรินทร์
วัดวังก้นหวด
วัดศรีชมชื่น
วัดศรีฐานปิยาราม วัดศรีบุญเรือง วัดศรีบุญเรือง วัดศรีมงคล วัดศรีมงคล วัดศรีมงคล
วัดศรีสุมังคราราม วัดสระเกศ
วัดหนองเขียวราษฎร์สามัคคี วัดหนองบัวแก้ว วัดห้วยข่อย (โพธิ์เย็น) วัดห้วยแล้ง วัดหินแก้ว
วัดศรีไวย์
PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
884
.indd 149
149
20/4/2562 16:15:48
ท่องเที่ยวทางใจ 884 วัด เมืองต้องเที่ยว “เพชบุระ” เพชรบูรณ์
อ�ำเภอเขาค้อ
อ�ำเภอหนองไผ่
วัดเขาค้อพัฒนาราม
วัดขอนยางขวาง
หมู่ 13 ต�ำบลเขาค้อ
หมู่ 1 ต�ำบลวังท่าดี
วัดแคมป์สน
หมู่ 9 ต�ำบลแคมป์สน
วัดทุ่งสมอ
หมู่ 4 ต�ำบลทุ่งสมอ
วัดบ้านนายาว
หมู่ 2 ต�ำบลทุ่งสมอ
วัดป่าคาสามัคคี
หมู่ 5 ต�ำบลแคมป์สน
วัดพระธาตุผาซ่อนแก้ว หมู่ 7 ต�ำบลแคมป์สน
วัดราชพฤกษ์
หมู่ 10 ต�ำบลหนองแม่นา
วัดห้วยไผ่
หมู่ 2 ต�ำบลแคมป์สน
อ�ำเภอน�้ำหนาว
วัดเขาแก้วโพธิ์ทอง หมู่ 1 ต�ำบลท่าแดง
วัดเขาเจริญธรรม
หมู่ 5 ต�ำบลกองทูล
วัดเขาดิน
หมู่ 3 ต�ำบลหนองไผ่
วัดเขาถ�้ำโถ
หมู่ 1 ต�ำบลห้วยโป่ง
วัดคงสมโภชน์
หมู่ 1 ต�ำบลบ้านโภชน์
วัดคลองกระโบน
หมู่ 4 ต�ำบลบ้านโภชน์
วัดคลองยาง
หมู่ 2 ต�ำบลวังท่าดี
วัดคลองยาง
หมู่ 9 ต�ำบลหนองไผ่
วัดโคกเจริญ
หมู่ 1 ต�ำบลบ่อไทย
วัดกกกะบก หมู่ 1 ต�ำบลโคกมน
วัดโคกพัฒนาราม
หมู่ 2 ต�ำบลโคกมน
วัดโคกสง่า
หมู่ 5 ต�ำบลวังกวาง
วัดจันทราราม
หมู่ 5 ต�ำบลน�้ำหนาว
วัดเจริญศรัทธาราษฎร์
หมู่ 4 ต�ำบลหลักด่าน
วัดชัยมงคล
หมู่ 2 ต�ำบลวังกวาง
วัดซอกซาย
หมู่ 2 ต�ำบลหลักด่าน
วัดซับเดื่อ
หมู่ 6 ต�ำบลโคกมน
วัดซับตะเคียน
หมู่ 1 ต�ำบลน�้ำหนาว
วัดซับตะเคียนทอง
โคกมน ซ�ำม่วง
นาพ่อสอง
โนนชาติสามัคคี(โนนชาด) วัดศรีสมพร วัดหลักด่าน
วัดห้วยสนามทราย วัดห้วยหญ้าเครือ
หมู่ 5 ต�ำบลบัววัฒนา หมู่ 10 ต�ำบลวังโบสถ์ หมู่ 5 ต�ำบลเพชรละคร หมู่ 7 ต�ำบลบ้านโภชน์ หมู่ 5 ต�ำบลกองทูล หมู่ 2 ต�ำบลนาเฉลียง หมู่ 6 ต�ำบลบ้านโภชน์ หมู่ 1 ต�ำบลท่าด้วง หมู่ 9 ต�ำบลเพชรละคร
วัดตะเคียนงาม หมู่ 2 ต�ำบลท่าแดง
วัดตีบใต้
หมู่ 2 ต�ำบลบ่อไทย
วัดทรัพย์มะขาม
หมู่ 6 ต�ำบลยางงาม
วัดทรัพย์ศรีทอง
หมู่ 5 ต�ำบลยางงาม
วัดท่าด้วง
หมู่ 8 ต�ำบลท่าด้วง
วัดทุ่งเรไร
หมู่ 5 ต�ำบลท่าแดง
วัดไทรทองเจริญธรรม หมู่ 2 ต�ำบลวังโบสถ์
ธรรมยาน
หมู่ 8 ต�ำบลนาเฉลียง
วัดธรรมเสมา
หมู่ 2 ต�ำบลกองทูล
วัดนาข้าวดอ
หมู่ 5 ต�ำบลวังโบสถ์
วัดน�ำ้ เขียว
หมู่ 4 ต�ำบลกองทูล
วัดน�ำ้ วิ่ง
หมู่ 2 ต�ำบลบ้านโภชน์
วัดนิลาวรรณประชาราม หมู่ 4 ต�ำบลวังโบสถ์
วัดเนินพัฒนา
หมู่ 7 ต�ำบลกองทูล
วัดเนินมะค่าน้อย
หมู่ 3 ต�ำบลบัววัฒนา
วัดเนินร่มโพธิ์
หมู่ 9 ต�ำบลนาเฉลียง
วัดเนินวงแหวน
หมู่ 4 ต�ำบลวังท่าดี
วัดโนนดู่
หมู่ 6 ต�ำบลบ่อไทย
วัดโนนสว่าง(บ้านวังท่าดี) หมู่ 4 ต�ำบลวังท่าดี
วัดบ้านกลาง
หมู่ 3 ต�ำบลวังท่าดี
วัดบ้านโภชน์ หมู่ 9 ต�ำบลบ้านโภชน์
หมู่ 1 ต�ำบลวังโบสถ์
หมู่ 4 ต�ำบลยางงาม
หมู่ 4 ต�ำบลบัววัฒนา
หมู่ 6 ต�ำบลเพชรละคร
หมู่ 10 ต�ำบลเพชรละคร
หมู่ 2 ต�ำบลห้วยโป่ง
หมู่ 3 ต�ำบลวังโบสถ์
หมู่ 8 ต�ำบลยางงาม
หมู่ 2 ต�ำบลท่าแดง
หมู่ 2 ต�ำบลบัววัฒนา
หมู่ 6 ต�ำบลกองทูล
หมู่ 10 ต�ำบลหนองไผ่
หมู่ 6 ต�ำบลท่าด้วง
หมู่ 5 ต�ำบลห้วยโป่ง
หมู่ 8 ต�ำบลบ้านโภชน์
หมู่ 3 ต�ำบลเพชรละคร
หมู่ 6 ต�ำบลท่าแดง
หมู่ 2 ต�ำบลเพชรละคร
หมู่ 8 ต�ำบลกองทูล
หมู่ 3 ต�ำบลบ้านโภชน์
หมู่ 1 ต�ำบลหนองไผ่
หมู่ 4 ต�ำบลนาเฉลียง
หมู่ 7 ต�ำบลหนองไผ่
หมู่ 5 ต�ำบลบ่อไทย
หมู่ 11 ต�ำบลท่าแดง
ต�ำบลยางงาม
หมู่ 7 ต�ำบลนาเฉลียง
หมู่ 4 ต�ำบลกองทูล
หมู่ 7 ต�ำบลยางงาม
หมู่ 3 ต�ำบลห้วยโป่ง
หมู่ 4 ต�ำบลห้วยโป่ง
หมู่ 5 ต�ำบลนาเฉลียง
หมู่ 10 ต�ำบลหนองไผ่
หมู่ 3 ต�ำบลยางงาม
หมู่ 7 ต�ำบลท่าแดง
หมู่ 2 ต�ำบลบัววัฒนา
หมู่ 5 ต�ำบลห้วยโป่ง
หมู่ 3 ต�ำบลท่าแดง
หมู่ 9 ต�ำบลท่าแดง
หมู่ 6 ต�ำบลบัววัฒนา
หมู่ 8 ต�ำบลวังโบสถ์
หมู่ 4 ต�ำบลวังท่าดี
หมู่ 8 ต�ำบลบ่อไทย
หมู่ 1 ต�ำบลกองทูล
หมู่ 6 ต�ำบลบ้านโภชน์
หมู่ 6 ต�ำบลวังโบสถ์
หมู่ 7 ต�ำบลบ่อไทย
หมู่ 1 ต�ำบลนาเฉลียง
หมู่ 1 ต�ำบลท่าด้วง
หมู่ 4 ต�ำบลบ่อไทย
หมู่ 14 ต�ำบลต�ำบลท่าแดง
วัดบ้านวังเหว
วัดบ้านสระเกษ วัดประชาบ�ำรุง
วัดปากตกสามัคคี วัดป่าเขาน้อย
วัดป่าประชานิมิตร วัดปู่เจ้า
วัดเพชรศิลาราม วัดเพชราราม
วัดโพธิ์เจดีย์ลอย วัดโพธิ์ทอง วัดโพธิ์เย็น
วัดยางงาม
วัดราษฎร์บ�ำรุงสามัคคีธรรม วัดราษฎร์ศรัทธาราม วัดราษฎร์สามัคคีธรรม วัดโรงบ่ม
วัดไร่เหนือพัฒนาราม วัดล�ำกง
วัดล�ำบัววัฒนา วัดล�ำพาด วัดวังชงโค
วัดวังโบสถ์ วัดวังลี
วัดวังสงวนเหนือ
150
884
วัดวังสะตือ วัดวังอ่าง
วัดสระแก้ว
วัดสระหมื่นเชียง วัดสว่างคงคา
วัดสว่างอารมณ์ วัดสันเจริญ
วัดสามัคคีราษฎร์บ�ำรุง วัดสินธนาราม
วัดหนองบัวทอง วัดหนองไผ่ใต้
วัดหนองไผ่พิทยาราม วัดหนองม่วง วัดหนองไลย์
วัดใหม่ศรีบุญธรรม วัดใหม่สามัคคี วัดใหม่สามัคคี
วัดใหม่สามัคคีธรรม วัดอภัยมณีรัตน์
วัดอรุณเวฬุประดิษฐ์ วัดอีสานสามัคคี วัดวังเจริญรัตน์
วัดเขาผีเสื้อทองค�ำ วัดนาวังแหนไวยกุล วัดเกาะแก้วปางยาง วัดโนนสุวรรณพนาวาส
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
.indd 150
20/4/2562 16:15:50
THE IMPORTANT TEMPLES PHETCHABUN
อ�ำเภอบึงสามพัน วัดเขากะลาสามัคคีธรรม หมู่ 6 ต�ำบลศรีมงคล
วัดเขาแหลมเจริญธรรม หมู่ 4 ต�ำบลซับสมอทอด
วัดโคกกรวด
หมู่ 13 ต�ำบลกันจุ
วัดโคกตายอ
หมู่ 2 ต�ำบลซับสมอทอด
วัดโคกยาว
หมู่ 1 ต�ำบลหนองแจง
วัดโคกสะอาด
หมู่ 9 ต�ำบลกันจุ
วัดซับเจริญ
หมู่ 9 ต�ำบลซับไม้แดง
วัดซับตะเคียน
หมู่ 8 ต�ำบลซับสมอทอด
วัดซับบอน
หมู่ 10 ต�ำบลกันจุ
วัดซับไพรวัลย์
หมู่ 4 ต�ำบลซับไม้แดง
วัดซับไพเราะ
หมู่ 3 ต�ำบลซับไม้แดง
วัดซับไม้แดง(นอก) (ใหม่) หมู่ 2 ต�ำบลซับไม้แดง
วัดซับไม้แดง(ใน) (เก่า)
วัดทุ่งสีทม
หมู่ 2 ต�ำบลซับไม้แดง
หมู่ 19 ต�ำบลกันจุ
หมู่ 7 ต�ำบลพญาวัง
หมู่ 10 ต�ำบลศรีมงคล
หมู่ 2 ต�ำบลบึงสามพัน
หมู่ 14 ต�ำบลหนองแจง
หมู่ 10 ต�ำบลพญาวัง
หมู่ 4 ต�ำบลซับไม้แดง
หมู่ 9 ต�ำบลพญาวัง
หมู่ 11 ต�ำบลกันจุ
หมู่ 1 ต�ำบลซับไม้แดง
หมู่ 4 ต�ำบลซับสมอทอด
หมู่ 7 ต�ำบลซับสมอทอด
หมู่ 8 ต�ำบลบึงสามพัน
หมู่ 5 ต�ำบลซับสมอทอด
หมู่ 5 ต�ำบลบึงสามพัน
หมู่ 8 ต�ำบลหนองแจง
หมู่ 3 ต�ำบลวังพิกุล
หมู่ 9 ต�ำบลบึงสามพัน
หมู่ 1 ต�ำบลพญาวัง
หมู่ 9 ต�ำบลบึงสามพัน
หมู่ 1 ต�ำบลกันจุ
หมู่ 5 ต�ำบลกันจุ
หมู่ 7 ต�ำบลวังพิกุล
หมู่ 8 ต�ำบลพญาวัง
หมู่ 7 ต�ำบลกันจุ
วัดซับลิ้นทอง
วัดซับสมอทอด วัดซับสามัคคี
วัดซับส�ำราญเหนือ วัดซับอุดม
วัดดาวนิมิต
วัดตะกรุดหิน วัดถ�้ำวังนาง
วัดทรัพย์เกษตร(นอก) วัดทรัพย์เกษตร(ใน) วัดทุ่งนางาม
วัดทุ่งแฝกวนาราม
วัดเทพนิมิตวนาราม วัดเทพมุนี
วัดนิมิตสัจธรรม วัดเนินเสรี
วัดบรรพตาราม
วัดบึงสามพัน(บน)
วัดบึงสามพัน(ล่าง) วัดโป่งบุญเจริญ วัดพญาวัง
วัดพิกุลบุญนาค
วัดยุบใหญ่ศรีเจริญธรรม วัดรัตนาราม
วัดราษฎร์เจริญสามัคคีธรรม
วัดหนองทรายกลอย
หมู่ 6 ต�ำบลกันจุ
หมู่ 10 ต�ำบลวังพิกุล
หมู่ 4 ต�ำบลบึงสามพัน
หมู่ 12 ต�ำบลวังพิกุล
หมู่ 9 ต�ำบลหนองแจง
หมู่ 3 ต�ำบลกันจุ
หมู่ 5 ต�ำบลวังพิกุล
หมู่ 7 ต�ำบลวังพิกุล
หมู่ 11 ต�ำบลพญาวัง
หมู่ 4 ต�ำบลวังพิกุล
หมู่ 6 ต�ำบลวังพิกุล
หมู่ 6 ต�ำบลซับไม้แดง
หมู่ 1 ต�ำบลศรีมงคล
หมู่ 6 ต�ำบลซับสมอทอด
หมู่ 6 ต�ำบลบึงสามพัน
หมู่ 12 ต�ำบลหนองแจง
หมู่ 6 ต�ำบลซับสมอทอด
หมู่ 9 ต�ำบลพญาวัง
หมู่ 4 ต�ำบลกันจุ
หมู่ 4 ต�ำบลหนองแจง
หมู่ 4 ต�ำบลศรีมงคล
หมู่ 11 ต�ำบลซับไม้แดง
หมู่ 2 ต�ำบลหนองแจง
หมู่ 2 ต�ำบลพญาวัง
วัดหนองไทรงาม
วัดราหุล
วัดหนองพลวง
วัดโรงวัว
วัดหนองมะค่า
วัดวังตะเคียนทอง
วัดวังปลาสามัคคีธรรม
วัดหินดาดใหญ่
วัดวังพิกุล
วัดใหม่ราษฎร์บำ� รุง
วัดวิมลประชาสรรค์
วัดอู่เรือ
วัดเวียงโพธิ์งาม
วัดเขาเหล็กญาณสุโข
วัดศิริเจริญธรรม วัดสิริรัตนาราม วัดหนองก�ำไร วัดหนองแจง
วัดห้วยทราย
วัดบึงตะแบก
วัดซับสมพงษ์ธรรมาราม วัดซับส�ำราญใต้
วัดหนองแดง
หมู่ 12 ต�ำบลกันจุ PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
884
.indd 151
151
20/4/2562 16:15:53
ท่องเที่ยวทางใจ 884 วัด เมืองต้องเที่ยว “เพชบุระ” เพชรบูรณ์
อ�ำเภอวิเชียรบุรี วัดกระทุ่มทอง
วัดซับน้อยศรัทธาธรรม หมู่ 1 ต�ำบลซับน้อย
วัดซับปางช้าง
หมู่ 5 ต�ำบลซับสมบูรณ์
หมู่ 5 ต�ำบลซับน้อย
หมู่ 10 ต�ำบลภูน�้ำหยด
หมู่ 8 ต�ำบลซับสมบูรณ์
หมู่ 4 ต�ำบลสามแยก
หมู่ 6 ต�ำบลโคกปรง
หมู่ 13 ต�ำบลบ่อรัง
หมู่ 5 ต�ำบลโคกปรง
หมู่ 1 ต�ำบลบึงกระจับ
หมู่ 3 ต�ำบลสามแยก
หมู่ 11 ต�ำบลพุเตย
หมู่ 15 ต�ำบลโคกปรง
หมู่ 5 ต�ำบลน�้ำร้อน
หมู่ 7 ต�ำบลวังใหญ่
หมู่ 4 ต�ำบลโคกปรง
หมู่ 6 ต�ำบลพุเตย
หมู่ 4 ต�ำบลยางสาว
หมู่ 2 ต�ำบลพุขาม
หมู่ 7 ต�ำบลภูน�้ำหยด
หมู่ 1 ต�ำบลสามแยก
หมู่ 11 ต�ำบลซับน้อย
หมู่ 7 ต�ำบลซับน้อย
หมู่ 7 ต�ำบลน�้ำร้อน
หมู่ 5 ต�ำบลท่าโรง
หมู่ 4 ต�ำบลซับน้อย
หมู่ 17 ต�ำบลบ่อรัง
วัดกลุ่มชัยนาทสามัคคีธรรม วัดกลุ่มนครนายก
วัดกุดตาบ้องศรัทธาธรรม วัดเกาะบรเพ็ด วัดแก้วมณี
วัดเขาข้าหลวง
วัดเขายางโปร่ง
วัดเขาสูงราษฎร์บำ� รุง วัดเขาเสนาสนาราม วัดคลองทราย
วัดคลองบงเจริญธรรม วัดคลองยางงาม
วัดซับสมบูรณ์ วัดซับสวัสดิ์ วัดซับอีลุม วัดดงเข็ม
วัดดงน้อย
วัดดาดอุดมสามัคคีธรรม วัดตะกุดไผ่
วัดถนนโค้ง วัดถ�้ำแก้ว
วัดทรัพย์รุ่งเจริญ วัดทุ่งใหญ่
วัดเทพเนรมิต
หมู่ 3 ต�ำบลภูน�้ำหยด
วัดเทศประชาราม (ศรีประชาธรรม)
หมู่ 4 ต�ำบลซับสมบูรณ์
วัดไทรงาม
หมู่ 8 ต�ำบลน�้ำร้อน
วัดไทรงาม
หมู่ 2 ต�ำบลโคกปรง
วัดไทรงามธรรมาราม
หมู่ 12 ต�ำบลซับน้อย
วัดนาสามัคคี
หมู่ 7 ต�ำบลพุขาม
วัดน�้ำเดือดสามัคคีธรรม
หมู่ 4 ต�ำบลบ่อรัง
วัดน�้ำอ้อมวนาราม
หมู่ 4 ต�ำบลน�้ำร้อน
วัดนิมิตธารา
หมู่ 8 ต�ำบลสามแยก
วัดโนนสง่าบูรพาราม
หมู่ 4 ต�ำบลภูน�้ำหยด
วัดในเรืองศรี
หมู่ 8 ต�ำบลวังใหญ่
วัดบ้านซับผุด
หมู่ 5 ต�ำบลยางสาว
วัดบ้านวังลึก
วัดคลองยางศิริธรรม วัดคีรีสุทธาราม วัดโคกกรวด วัดโคกปรง
วัดโคกเศรษฐีทรงธรรม วัดโคกสง่า
วัดโคกสว่าง
วัดโคกส�ำราญ วัดซับกองทอง
วัดซับดีปลีศรีวนาราม วัดซับตะเคียน วัดซับตะแบก
152
884
หมู่ 3 ต�ำบลสระประดู่ หมู่ 8 ต�ำบลน�้ำร้อน หมู่ 9 ต�ำบลพุเตย
หมู่ 5 ต�ำบลวังใหญ่ หมู่ 8 ต�ำบลโคกปรง
หมู่ 12 ต�ำบลโคกปรง หมู่ 7 ต�ำบลยางสาว หมู่ 6 ต�ำบลสามแยก หมู่ 2 ต�ำบลยางสาว หมู่ 1 ต�ำบลท่าโรง หมู่ 17 ต�ำบลยางสาว หมู่ 15 ต�ำบลภูน�้ำหยด
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
.indd 152
20/4/2562 16:15:54
THE IMPORTANT TEMPLES PHETCHABUN
วัดบ้านใหม่
หมู่ 2 ต�ำบลบ่อรัง
หมู่ 7 ต�ำบลบ่อรัง
วัดภูน�้ำหยด
หมู่ 5 ต�ำบลบึงกระจับ
วัดภูศรีสวรรค์
หมู่ 4 ต�ำบลท่าโรง
วัดมาบสมอ
หมู่ 8 ต�ำบลท่าโรง
วัดยางจ่าสามัคคีธรรม
หมู่ 7 ต�ำบลท่าโรง
วัดยางสามต้น
หมู่ 3 ต�ำบลท่าโรง
วัดรวมทรัพย์
หมู่ 7 ต�ำบลโคกปรง
วัดราษฎร์ศรัทธาธรรม
หมู่ 14 ต�ำบลภูน�้ำหยด
วัดไร่ตาพุฒ
หมู่ 7 ต�ำบลสามแยก
วัดไร่อุดม
หมู่ 9 ต�ำบลซับน้อย
วัดล�ำกระทิงทอง
หมู่ 13 ต�ำบลพุเตย
วัดล�ำนารวย
หมู่ 1 ต�ำบลพุเตย
วัดล�ำเพียร
วัดบึงกระจับ วัดบุญชัย
วัดบุมะกรูด
วัดประชานิมิต วัดป่าเรไรทอง
วัดป่าสังฆาราม
วัดพรหมประชาสรรค์ วัดพรหมยาม
วัดพรหมาโสฬสาราม วัดพานทองพัฒนา วัดพุเตยประสิทธิ์ วัดโพทะเล
หมู่ 2 ต�ำบลซับสมบูรณ์
วัดโพธิ์ทอง
หมู่ 9 ต�ำบลภูน�้ำหยด หมู่ 2 ต�ำบลบ่อรัง หมู่ 14 ต�ำบลท่าโรง
หมู่ 12 ต�ำบลภูน�้ำหยด หมู่ 1 ต�ำบลภูน�้ำหยด หมู่ 6 ต�ำบลภูน�้ำหยด หมู่ 2 ต�ำบลซับน้อย หมู่ 9 ต�ำบลสามแยก หมู่ 3 ต�ำบลซับสมบูรณ์ หมู่ 2 ต�ำบลภูน�้ำหยด หมู่ 8 ต�ำบลสระประดู่ หมู่ 10 ต�ำบลโคกปรง
วัดวงษ์ทอง
หมู่ 11 ต�ำบลพุเตย
วัดหนองยาวราษฎร์บ�ำรุง
วัดวังชะอม
วัดสุคันธาวาส
หมู่ 10 ต�ำบลพุเตย
หมู่ 7 ต�ำบลซับสมบูรณ์
หมู่ 7 ต�ำบลพุเตย
หมู่ 6 ต�ำบลบึงกระจับ
หมู่ 10 ต�ำบลน�้ำร้อน
หมู่ 6 ต�ำบลพุขาม
หมู่ 2 ต�ำบลวังใหญ่
หมู่ 8 ต�ำบลพุขาม
หมู่ 9 ต�ำบลบ่อรัง
หมู่ 9 ต�ำบลน�้ำร้อน
หมู่ 7 ต�ำบลภูน�้ำหยด
หมู่ 8 ต�ำบลพุขาม
หมู่ 6 ต�ำบลบ่อรัง
หมู่ 2 ต�ำบลสระประดู่
หมู่ 9 ต�ำบลซับสมบูรณ์
หมู่ 1 ต�ำบลวังใหญ่
หมู่ 6 ต�ำบลซับสมบูรณ์
หมู่ 4 ต�ำบลสระประดู่
หมู่ 13 ต�ำบลท่าโรง
หมู่ 9 ต�ำบลพุขาม
หมู่ 6 ต�ำบลซับน้อย
หมู่ 4 ต�ำบลสามแยก
หมู่ 9 ต�ำบลโคกปรง
หมู่ 4 ต�ำบลน�้ำร้อน
หมู่ 4 ต�ำบลพุขาม
หมู่ 8 ต�ำบลพุเตย
หมู่ 5 ต�ำบลภูน�้ำหยด
หมู่ 10 ต�ำบลพุขาม
หมู่ 11 ต�ำบลบ่อรัง
หมู่ 3 ต�ำบลซับสมบูรณ์
วัดวังทอง
วัดวังน้อย
วัดวังน�ำ้ เย็น วัดวังไผ่
วัดวังใหญ่
วัดวิเชียรบ�ำรุง
วัดวีรธรรมาราม วัดศรีธงชัย
วัดศิลามงคลธรรม วัดสามแยก
วัดหนองสมบูรณ์
วัดสุจิตตาราม
วัดหนองสะแกสามัคคีธรรม
วัดสุวรรณรัตนาราม
วัดหนองหวาย
วัดเสนาสน์
วัดหนองอุดมวนาราม
วัดเสลินทราราม
วัดแสงมณีเจริญธรรม
วัดหินดาด
วัดหนองกระทุ่ม
วัดใหม่โคกเจริญ
วัดหนองขาม
วัดใหม่เทพประสิทธิ์
วัดหนองคล้า
วัดใหม่ไร่อุดม
วัดหนองบัวทอง
หมู่ 1 ต�ำบลสระประดู่
วัดหนองปลาไหล สามัคคีธรรมหมู่ 6 ต�ำบล
หมู่ 8 ต�ำบลท่าโรง
วัดหนองโปร่ง
วัดสามแยกพัฒนา วัดสามัคคีพัฒนา
หมู่ 1 ต�ำบลภูน�้ำหยด
วัดห้วยชัน
วัดใหม่วิไลวัลย์
หมู่ 10 ต�ำบลบ่อรัง
วังใหญ่
วัดอ�ำพวัน
หมู่ 8 ต�ำบลบ่อรัง
วัดอุดมมงคล
วัดหนองไม้สอ
หมู่ 2 ต�ำบลน�้ำร้อน หมู่ 1 ต�ำบลสระประดู่
หมู่ 5 ต�ำบลบ่อรัง
PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
884
.indd 153
153
20/4/2562 16:15:57
ท่องเที่ยวทางใจ 884 วัด เมืองต้องเที่ยว “เพชบุระ” เพชรบูรณ์
อ�ำเภอศรีเทพ วัดกุ้งกั้งวนาราม หมู่ 10 ต�ำบลโคกสะอาด วัดกุดตาแร้ว หมู่ 7 ต�ำบลนาสนุ่น วัดเกาะแก้ววนาราม หมู่ 6 ต�ำบลคลองกระจัง วัดเขาแก้วธรรมาราม หมู่ 3 ต�ำบลหนองย่างทอย วัดเขาคลัง หมู่ 8 ต�ำบลคลองกระจัง วัดคลองดู่ หมู่ 11 ต�ำบลคลองกระจัง วัดโคกรังน้อย หมู่ 4 ต�ำบลหนองย่างทอย วัดโคกสะแกลาด หมู่ 4 ต�ำบลศรีเทพ วัดโคกหิน หมู่ 9 ต�ำบลสระกรวด วัดซับเจริญศรีมงคล หมู่ 6 ต�ำบลหนองย่างทอย วัดซับหินเพลิง หมู่ 8 ต�ำบลโคกสะอาด วัดซับอุดมมงคลธรรม หมู่ 5 ต�ำบลหนองย่างทอย วัดด่านเจริญชัย หมู่ 9 ต�ำบลหนองย่างทอย วัดตาคลีภิรมย์ หมู่ 12 ต�ำบลโคกสะอาด วัดถ�้ำฤาษีมงคล หมู่ 11 ต�ำบลโคกสะอาด
154
884
วัดท่าไม้ทอง หมู่ 7 ต�ำบลศรีเทพ วัดทุ่งนางาม หมู่ 12 ต�ำบลหนองย่างทอย วัดทุ่งเศรษฐี หมู่ 10 ต�ำบลสระกรวด วัดเทพนิมิตวราราม หมู่ 1 ต�ำบลคลองกระจัง วัดธุตังคาราม หมู่ 8 ต�ำบลศรีเทพ วัดนาสนุ่น หมู่ 2 ต�ำบลนาสนุ่น วัดนาสวรรค์ หมู่ 12 ต�ำบลคลองกระจัง วัดน�้ำซับกุ้งกั้ง หมู่ 10 ต�ำบลโคกสะอาด วัดเนินถาวร หมู่ 8 ต�ำบลนาสนุ่น วัดเนินโบสถ์ หมู่ 14 ต�ำบลคลองกระจัง วัดเนินมะขามป้อม หมู่ 10 ต�ำบลหนองย่างทอย วัดเนินหินอ่อน หมู่ 16 ต�ำบลสระกรวด วัดเนินอีเกิ้ง หมู่ 12 ต�ำบลนาสนุ่น วัดบ่อมะกัก หมู่ 6 ต�ำบลประดู่งาม วัดบ้านนาสามัคคี หมู่ 4 ต�ำบลนาสนุ่น วัดบึงศรีเทพรัตนาราม หมู่ 6 ต�ำบลศรีเทพ
วัดป่าหนองแดง หมู่ 4 ต�ำบลสระกรวด ป่าอินทรานิมิต หมู่ 7 ต�ำบลสระกรวด วัดพิกุลทอง หมู่ 3 ต�ำบลนาสนุ่น วัดพุทธมงคลเทพนิมิต หมู่ 10 ต�ำบลหนองย่างทอย วัดโพธิ์ทอง หมู่ 3 ต�ำบลศรีเทพ วัดม่วงชุม หมู่ 4 ต�ำบลคลองกระจัง วัดมอดินแดง หมู่ 3 ต�ำบลคลองกระจัง วัดแม่น�้ำแควป่าสัก หมู่ 9 ต�ำบลศรีเทพ วัดร่องหอย หมู่ 11 ต�ำบลสระกรวด วัดรักไทย หมู่ 12 ต�ำบลศรีเทพ วัดรังย้อย หมู่ 1 ต�ำบลหนองย่างทอย วัดราษฎร์บ�ำรุง หมู่ 6 ต�ำบลโคกสะอาด วัดราษฎร์ศรัทธาธรรม หมู่ 3 ต�ำบลประดู่งาม วัดวังก�ำแพง หมู่ 7 ต�ำบลสระกรวด วัดวังขอน หมู่ 10 ต�ำบลคลองกระจัง วัดวังขาม หมู่ 3 ต�ำบลสระกรวด
วัดวังไทร หมู่ 13 ต�ำบลคลองกระจัง วัดศรีเทพ หมู่ 5 ต�ำบลศรีเทพ วัดศรีเทพ หมู่ 12 ต�ำบลสระกรวด วัดศิริมงคล หมู่ 1 ต�ำบลโคกสะอาด วัดสมโภชกรุง 200 ปี หมู่ 10 ต�ำบลนาสนุ่น วัดสรวงสวรรค์ หมู่ 2 ต�ำบลคลองกระจัง วัดสระกรวด(ธัญญาราม) หมู่ 1 ต�ำบลสระกรวด วัดสวนธรรมศรีมงคล หมู่ 9 ต�ำบลคลองกระจัง วัดสว่างสามัคคี หมู่ 2 ต�ำบลสระกรวด วัดสันติธรรม หมู่ 1 ต�ำบลประดู่งาม วัดหนองขามพุทธาราม หมู่ 7 ต�ำบลหนองย่างทอย วัดหนองจอก หมู่ 8 ต�ำบลสระกรวด วัดหนองบัว หมู่ 6 ต�ำบลนาสนุ่น วัดหนองบัวเริง หมู่ 11 ต�ำบลหนองย่างทอย วัดหนองเป็ดก่า หมู่ 9 ต�ำบลหนองย่างทอย
วัดหนองย่างทอย หมู่ 3 ต�ำบลหนองย่างทอย วัดหนองสรวง หมู่ 2 ต�ำบลคลองกระจัง วัดหนองสะแก หมู่ 9 ต�ำบลคลองกระจัง วัดหนองสะแกสี่ หมู่ 11 ต�ำบลโคกสะอาด วัดหนองไฮ หมู่ 8 ต�ำบลสระกรวด วัดห้วยทรายทอง หมู่ 1 ต�ำบลประดู่งาม วัดห้วยหวาย หมู่ 8 ต�ำบลหนองย่างทอย วัดใหม่ศรีโสภณ หมู่ 10 ต�ำบลโคกสะอาด วัดอุททนะ หมู่ 2 ต�ำบลหนองย่างทอย วัดอุทุมพรวนาวาส หมู่ 2 ต�ำบลศรีเทพ วัดคลองโป่ง หมู่ 14 ต�ำบลสระกรวด วัดสระปรือ หมู่ 11 ต�ำบลศรีเทพ วัดป่านาตะกรุด หมู่ 15 ต�ำบลศรีเทพ วัดศรีถมอรัตน์ หมู่ 9 ต�ำบลโคกสะอาด
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
.indd 154
20/4/2562 16:16:00
THE IMPORTANT TEMPLES PHETCHABUN
PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
884
.indd 155
155
20/4/2562 16:16:02
ท่องเที่ยวทางใจ 884 วัด เมืองต้องเที่ยว “เพชบุระ” เพชรบูรณ์
วัดพระพุทธบาทชนแดน
วัดโคกสารสัจจธรรม
วัดน�ำ้ พุสามัคคี
หมู่ 5 ต�ำบลซับพุทรา
หมู่ 2 ต�ำบลพุทธบาท
หมู่ 4 ต�ำบลชนแดน
หมู่ 4 ต�ำบลท่าข้าม
หมู่ 8 ต�ำบลท่าข้าม
หมู่ 25 ต�ำบลพุทธบาท
หมู่ 3 ต�ำบลศาลาลาย
หมู่ 5 ต�ำบลบ้านกล้วย
หมู่ 3 ต�ำบลซับพุทรา
หมู่ 3 ต�ำบลตะกุดไร
หมู่ 7 ต�ำบลซับพุทรา
หมู่ 10 ต�ำบลชนแดน
หมู่ 21 ต�ำบลลาดแค
หมู่ 1 ต�ำบลดงขุย
หมู่ 8 ต�ำบลลาดแค
หมู่ 4 ต�ำบลลาดแค
หมู่ 18 ต�ำบลพุทธบาท
หมู่ 20 ต�ำบลพุทธบาท
หมู่ 5 ต�ำบลท่าข้าม
หมู่ 3 ต�ำบลตะกุดไร
หมู่ 15 ต�ำบลลาดแค
หมู่ 10 ต�ำบลลาดแค
หมู่ 5 ต�ำบลลาดแค
หมู่ 10 ต�ำบลท่าข้าม
หมู่ 8 ต�ำบลดงขุย
หมู่ 6 ต�ำบลซับพุทรา
หมู่ 13 ต�ำบลพุทธบาท
หมู่ 4 ต�ำบลลาดแค
หมู่ 8 ต�ำบลดงขุย
หมู่ 21 ต�ำบลพุทธบาท
หมู่ 7 ต�ำบลลาดแค
หมู่ 6 บ้านกล้วย
หมู่ 6 ต�ำบลท่าข้าม
หมู่ 3 ต�ำบลพุทธบาท
หมู่ 4 ต�ำบลซับพุทรา
หมู่ 8 ต�ำบลซับพุทรา
หมู่ 2 ต�ำบลลาดแค
หมู่ 2 ต�ำบลซับพุทรา
หมู่ 2 ต�ำบลท่าข้าม
หมู่ 3 ต�ำบลลาดแค
หมู่ 7 ต�ำบลดงขุย
หมู่ 13 ต�ำบลพุทธบาท
หมู่ 16 ต�ำบลพุทธบาท
หมู่ 4 ต�ำบลตะกุดไร
หมู่ 11 ต�ำบลพุทธบาท
หมู่ 1 ต�ำบลดงขุย
หมู่ 1 ต�ำบลบ้านกล้วย
หมู่ 15 ต�ำบลพุทธบาท
หมู่ 4 ต�ำบลบ้านกล้วย
หมู่ 4 ต�ำบลตะกุดไร
หมู่ 6 ต�ำบลชนแดน
หมู่ 26 ต�ำบลพุทธบาท
หมู่ 7 ต�ำบลท่าข้าม
หมู่ 19 ต�ำบลลาดแค
หมู่ 1 ต�ำบลดงขุย
หมู่ 6 ต�ำบลตะกุดไร
หมู่ 1 ต�ำบลซับพุทรา
หมู่ 12 ต�ำบลพุทธบาท
หมู่ 5 ต�ำบลดงขุย
หมู่ 11 ต�ำบลลาดแค
หมู่ 5 ต�ำบลศาลาลาย
หมู่ 10 ต�ำบลพุทธบาท
หมู่ 4 ต�ำบลดงขุย
หมู่ 5 ต�ำบลศาลาลาย
หมู่ 3 ต�ำบลดงขุย
หมู่ 8 ต�ำบลชนแดน
หมู่ 1 ต�ำบลศาลาลาย
หมู่ 11 ต�ำบลชนแดน
หมู่ 6 ต�ำบลท่าข้าม
หมู่ 7 ต�ำบลตะกุดไร
หมู่ 1 ต�ำบลท่าข้าม
หมู่ 13 ต�ำบลชนแดน
หมู่ 3 ต�ำบลบ้านกล้วย
หมู่ 3 ต�ำบลตะกุดไร
หมู่ 2 ต�ำบลศาลาลาย
อ�ำเภอชนแดน
วัดจันทราราม
วัดกุฎีพระ วัดเขาคณฑา
วัดเขาคณาผาแดง วัดเขาน้อย
วัดเขาน้อยรังแตน วัดเขาบ่อทอง
วัดเขาปูนศรัทธาราม วัดเขาฝาง
วัดเขาเพิ่ม
วัดเขาแม่แก่ วัดเขาสัก
วัดเขาหินพัฒนาราม วัดคลองคล้าสามัคคีธรรม วัดคลองตะเคียน วัดคลองบน
วัดคลองปลาหมอ วัดคลองห้วยนา
วัดโคกเจริญเหนือ
156
884
วัดซับเจริญ
วัดซับตะเคียน วัดซับน้อย วัดซับม่วง
วัดญาณเมธี
วัดดงขุย (กม.28) วัดดงแขวน วัดดงลาน
วัดดงเสือเหลือง วัดถ�้ำเขาเครือ วัดถ�้ำมงคล
วัดทรัพย์เจริญผล วัดทรัพย์พุทรา
วัดทรัพย์มะค่าเทวประสิทธิ์ วัดทุ่งโตนด วัดทุ่งสว่าง
วัดธรรมรัตนาราม
วัดเนินต้อง
วัดเนินสว่าง
วัดเนินสะอาด วัดบ้านกกจั่น
วัดบ้านโคกหนองจอก วัดบ้านซับมาแสน วัดบ้านซ�ำเตย วัดบ้านน�ำ้ ลัด
วัดบ้านเนินสง่า วัดบ้านอ่างหิน วัดบุ่งคล้า
วัดป่าเขาสักวนาราม วัดป่าคีรีรัง
วัดโป่งเจ็ดเศียร
วัดโป่งตะแบกวนาราม วัดโป่งตาเบ้า
วัดโป่งนกแก้ว
วัดพระธาตุเนินสว่าง
วัดโพธิ์เตี้ย
วัดมะขามแดงเจริญธรรม วัดราษฎร์ศรัทธาธรรม วัดราษฎร์สุขเกษม วัดลาดแค
วัดลาดน้อย
วัดวังก�ำแพงสามัคคีธรรม วัดวังไทร
วัดวังปลาช่อน วัดวังมะปราง วัดวังรวก
วัดวังลาด
วัดวังศาลา
วัดวารีล้อม วัดวารีวงษ์
วัดศาลาลาย
วัดศิริรัตน์วนาราม วัดสระประทุมทอง
วัดสว่างเนตร หมู่ 2 ต�ำบลดงขุย
วัดสว่างอรุณ
หมู่ 1 ต�ำบลชนแดน
วัดสันติสุขขาราม
หมู่ 1 ต�ำบลตะกุดไร
วัดส�ำราญราษฎร์สามัคคี หมู่ 2 ต�ำบลบ้านกล้วย
วัดสิรินทาราม
หมู่ 3 ต�ำบลบ้านกล้วย
วัดหนองกลอย ต�ำบลตะกุดไร
วัดหนองโก
หมู่ 14 ต�ำบลท่าข้าม
วัดหนองดู่วนาราม
หมู่ 15 ต�ำบลพุทธบาท
วัดหนองแดงเทพประทาน หมู่ 5 ต�ำบลชนแดน
วัดหนองตาด
หมู่ 5 ต�ำบลพุทธบาท
วัดหนองปรือ
หมู่ 17 ต�ำบลลาดแค
วัดหนองระมาน
หมู่ 6 ต�ำบลดงขุย
วัดห้วยงาช้าง
หมู่ 23 ต�ำบลพุทธบาท
วัดห้วยงาช้าง
หมู่ 4 ต�ำบลพุทธบาท
วัดห้วยตูมสุทธาวาส หมู่ 1 ต�ำบลพุทธบาท
วัดหัวถนน
หมู่ 8 ต�ำบลศาลาลาย
วัดใหม่ถ�้ำแก้ว
หมู่ 7 ต�ำบลลาดแค
วัดใหม่ศรีสุธรรมา
หมู่ 22 ต�ำบลพุทธบาท
วัดใหม่สามัคคีธรรม หมู่ 6 ต�ำบลลาดแค
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
.indd 156
20/4/2562 16:16:05
THE IMPORTANT TEMPLES PHETCHABUN
วัดทรายทองวนาราม
วัดป่าไพศาล
วัดไร่ฝายน้อย
วัดใหม่ทางข้ามสามัคคีธรรม
หมู่ 4 ต�ำบลวังหิน
หมู่ 5 ต�ำบลวังศาล
หมู่ 8 ต�ำบลวังโป่ง
หมู่ 9 ต�ำบลท้ายดง
หมู่ 3 ต�ำบลซับเปิบ
หมู่ 1 ต�ำบลท้ายดง
หมู่ 9 ต�ำบลวังโป่ง วัดวังไทรทอง(ไทรทองวนาราม) หมู่ 1 ต�ำบลซับเปิบ
หมู่ 10 ต�ำบลวังโป่ง
หมู่ 1 ต�ำบลวังหิน
หมู่ 10 ต�ำบลวังศาล
หมู่ 2 ต�ำบลวังหิน
หมู่ 11 ต�ำบลวังโป่ง
หมู่ 2 ต�ำบลซับเปิบ
หมู่ 4 ต�ำบลวังศาล
หมู่ 5 ต�ำบลวังศาล
หมู่ 7 ต�ำบลท้ายดง
หมู่ 7 ต�ำบลวังหิน
หมู่ 7 ต�ำบลวังศาล
หมู่ 7 ต�ำบลวังหิน
หมู่ 3 ต�ำบลวังหิน
หมู่ 6 ต�ำบลท้ายดง
หมู่ 1 ต�ำบลวังโป่ง
หมู่ 5 ต�ำบลซับเปิบ
หมู่ 7 ต�ำบลวังศาล
หมู่ 8 ต�ำบลท้ายดง
หมู่ 5 ต�ำบลวังหิน
หมู่ 13 ต�ำบลวังโป่ง
หมู่ 8 ต�ำบลซับเปิบ
หมู่ 4 ต�ำบลท้ายดง
หมู่ 6 ต�ำบลวังหิน
หมู่ 2 ต�ำบลท้ายดง
วัดทุ่งเม็ง
วัดปัวชัย
วัดร้องตอง
ม.5 ต�ำบลเมืองจัง
ม.7 ต�ำบลฝายแก้ว
ม.2 ต�ำบลม่วงตึ๊ด
ม.6 ต�ำบลฝายแก้ว
ม.1 ต�ำบลท่าน้าว
ม.5 ต�ำบลท่าน้าว
ม.1 ต�ำบลม่วงตึ๊ด
ม.2 ต�ำบลม่วงตึ๊ด
ม.1 ต�ำบลเมืองจัง
ต�ำบลนาปัง
ม.2 ต�ำบลนาปัง
ม.3 ต�ำบลน�้ำแก่น
ม.7 ต�ำบลเมืองจัง
ม.4 ต�ำบลเมืองจัง
ม.7 ต�ำบลท่าน้าว
ม.4 ต�ำบลน�้ำแก่น
ม.3 ต�ำบลฝายแก้ว
ม.3 ต�ำบลน�้ำแก่น
ม.3 ต�ำบลเมืองจัง
ม.8 ต�ำบลฝายแก้ว
ม.5 ต�ำบลน�้ำแก่น
ม.3 ต�ำบลม่วงตึ๊ด
ม.2 ต�ำบลฝายแก้ว
ม.2 ต�ำบลท่าน้าว
ม.2 ต�ำบลน�้ำแก่น
ม.4 ต�ำบลม่วงตึ๊ด
ม.6 ต�ำบลท่าน้าว
ม.1 ต�ำบลฝายแก้ว
ม.1 ต�ำบลนาปัง
ม.3 ต�ำบลนาปัง
ม.4 ต�ำบลท่าน้าว
ม.4 ต�ำบลฝายแก้ว
ม.5 ต�ำบลฝายแก้ว
ม.2 ต�ำบลเมืองจัง
ม.3 ต�ำบลท่าน้าว
อ�ำเภอวังโป่ง วัดกุดเป้า วัดเกตุสามัคคีธรรม วัดคลองน�้ำคัน (สามัคคี) วัดโคกหนองแสง
วัดเชิงชายวนาราม วัดซับเปิบใต้
อ�ำเภอภูเพียง
วัดเทพนิมิตรคีรีวงษ์ วัดไทรงามสามัคคี วัดเนินคายสามัคคี วัดเนินศิลาเพชร วัดปัญจขันธ์
วัดป่าไพบูลย์
วัดนาข่อย
วัดกอก วัดก้อดแก้ว วัดแช่พลาง วัดไชยภูมิ
วัดท่าน้าว วัดท่าล้อ
วัดทุ่งน้อย
วัดนาปัง
วัดนาเหลืองม่วงขวา วัดน�้ำแก่นใต้
วัดน�้ำแก่นเหนือ วัดน�้ำลัด วัดน�้ำใส
วัดผดุงราษฎร์
วัดพุทธไธสวรรค์ วัดภูเขาทอง วัดยางงาม
วัดราษฎร์ศรัทธาราม วัดราษฎร์ศรัทธาราม
วัดป่าหัด
วัดโป่งค�ำ
วัดฝายแก้ว
วัดพระธาตุแช่แห้ง วัดม่วงตึ๊ด
วัดม่วงใหม่
วัดเมืองจังใต้
วัดวังสมบัติ
วัดวารีวราราม วัดศรีเจริญ
วัดสว่างสันติวรรณ วัดสว่างสามัคคี
วัดศรีบุญเรือง วัดสบยาว
วัดสว่างอรุณ
วัดใหม่วังตะเคียน หมู่ 10 ต�ำบลวังหิน
วัดใหม่สามัคคีธรรม วัดอรัญจิตสว่าง วัดอรัญญาวาส วัดอรุณรัศมี
วัดหัวเวียงเหนือ วัดหาดเค็ดบน
วัดหาดเค็ดล่าง วัดหาดผาค�ำ
วัดแสงดาว
วัดหนองแดง วัดหนองรัง วัดหัวนา
PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
884
.indd 157
157
20/4/2562 16:16:08
ท่องเที่ยวทางใจ 884 วัด เมืองต้องเที่ยว “เพชบุระ” เพชรบูรณ์
อ�ำเภอเมืองเพชรบูรณ์
ธรรมยุติกนิกาย
วัดจิรวัฒนาราม กม.13 หมู่ 5 ต�ำบลห้วยสะแก
(ธรรมยุต )
วัดเพชรวราราม ชุมชนเพชรพัฒนา ต�ำบลในเมือง
วัดวังชมพู
บ้านวังเจริญ หมู่ 3 ต�ำบลวังชมภู
วัดวารีวนาราม
บ้านห้วยตูม หมู่ 6 ต�ำบลตะเบาะ
วัดเวฬุวนาราม
บ้านเฉลียงลับ หมู่ 3 ต�ำบลนาป่า
วัดสนธิกรประชาราม
บ้านไร่เหนือ หมู่ 3 ต�ำบลสะเดียง
วัดเฉลียงลับ
ต�ำบลห้วยสะแก
บ้านเฉลียงลับ หมู่ 6 ต�ำบลนาป่า
วัดเพชรไอย์ศวร
วัดบุ่งกกเรียง
บ้านนางั่ว หมู่ 8 ต�ำบลนางั่ว
บ้านบุ่งกกเรียง หมู่ 1 ต�ำบลห้วยใหญ่
วัดป่ายางกุด
บ้านยางกุด หมู่ 6 ต�ำบลระวิง
บ้านคลองศาลา หมู่ 2 ต�ำบลสะเดียง
บ้านห้วยทราย หมู่ 7 ต�ำบลระวิง
บ้านคลองเจริญ หมู่ 6 ต�ำบลชอนไพร
บ้านน�้ำร้อนศรีทอง หมู่ 9 ต�ำบลน�้ำร้อน
วัดไทรงาม
วัดป่าธรรมนาถ
บ้านไทรงาม หมู่ 9 ต�ำบลสะเดียง
บ้านซับชมภู หมู่ 8 ต�ำบลระวิง
วัดป่าส�ำราญธรรม
วัดสังกิจจาราม
วัดจงจิตสามัคคีธรรม
วัดศรีป่าสัก
บ้านล�ำป่าสักมูล หมู่ 4 ต�ำบลดงมูลเหล็ก
วัดป่าบ้านโคก
บ้านโคก หมู่ 2 ต�ำบลบ้านโคก
วัดป่าโนนเสาธง
โนนเสาธง หมู่ 6 ต�ำบลตะเบาะ
วัดติสสมหาวัน
น�้ำร้อนศรีทอง หมู่ 9 ต�ำบลน�้ำร้อน
วัดพ่อขุนผาเมือง
ตลิ่งชัน หมู่ 1 ต�ำบลชอนไพร
วัดสันติคามคีรี
ห้วยทราย หมู่ 7 ต�ำบลระวิง
วัดคูหาบรรพต
ซับชมภู หมู่ 8 ต�ำบลระวิง
วัดจันทูปมาวาส
บ้านท่าเมีย่ ง หมู่ 10 ต�ำบลนายม
วัดป่าห้วยไร่
บ้านห้วยไร่ หมู่ 3 ต�ำบลระวิง
วัดถ�้ำเนินสมบูรณ์
บ้านเนินสมบูรณ์ หมู่ 8
158
884
วัดเดชธนบดีพุทธบูชา วัดเทวธัมมี
บ้านซ�ำบอน หมู่ 11 ต�ำบลน�้ำร้อน
อ�ำเภอวังโป่ง วัดสันติวรญาณ บ้านกุดพันสะเดา หมู่ 6 ต�ำบลวังศาล
วัดถ�้ำผาผึ้ง
บ้านวังไทรงาม หมู่ 13 ต�ำบลวังหิน
วัดสวนอุดมสุข
บ้านวังโป่ง หมู่ 13 ต�ำบลวังโป่ง
วัดป่าสันติธรรม
น�้ำอ้อม หมู่ 3 ต�ำบลวังหิน
อ�ำเภอหล่มสัก วัดเกาะสวรรค์ คลองสีฟัน หมู่ 6 ต�ำบลลานบ่า
วัดนาแซงน้อย
บ้านนาแซงน้อย หมู่ 8 ต�ำบลท่าอิบุญ
วัดโพธิ์ศรีสองคร
บ้านท่ากกโพธิ์ หมู่ 3 ต�ำบลหล่มสัก
วัดสันติวัฒนา
บ้านสักหลง หมู่ 2 ต�ำบลสักหลง
วัดสามัคคีวัฒนา ต�ำบลหล่มสัก
วัดเนินแก้วสว่างสีทอง
บ้านหนองปลา หมู่ 4 ต�ำบลน�้ำเฮี้ย
วัดชัยมงคล
บ้านน�้ำดุก หมู่ 1 ต�ำบลปากช่อง
วัดป่าห้วยชัน
บ้านห้วยชัน หมู่ 7 ต�ำบลสักหลง
วัดป่าพุทธธรรม ม.11 ต.ห้วยไร่
อ�ำเภอชนแดน วัดสวัสดิ์ประชาราม บ้านเขาแม่แก่ หมู่ 3 ต�ำบลลาดแค
วัดเทพธรรมรังษี
บ้านใหม่พัฒนา หมู่ 12 ต�ำบลบ้านกล้วย
วัดป่าศรีถาวร
บ้านท่าข้าม หมู่ 3 ต�ำบลท่าข้าม
วัดป่าชนแดน
บ้านโนนตาเสา หมู่ 12 ต�ำบลชนแดน
วัดกิตติสารวนาราม บ้านโคกไทรงาม หมู่ 14 ต�ำบลชนแดน
วัดป่าเขาช่องลม
บ้านกุฏพิ ระ หมู่ 4 ต�ำบลท่าข้าม
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
.indd 158
20/4/2562 16:16:11
THE IMPORTANT TEMPLES PHETCHABUN
PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
884
.indd 159
159
20/4/2562 16:16:14
ท่องเที่ยวทางใจ 884 วัด เมืองต้องเที่ยว “เพชบุระ” เพชรบูรณ์
อ�ำเภอเขาค้อ
อ�ำเภอหนองไผ่
อ�ำเภอวิเชียรบุรี
วัดเขาวังเทพสถิตย์ บ้านวังตะพาบ หมู่ 13 ต�ำบลโคกปรง
บ้านใหม่พัฒนา หมู่ 12 ต�ำบลภูน�้ำหยด
หมู่ 8 ต�ำบลซับสมบูรณ์
บ้านใหม่พัฒนา หมู่ 12 ต�ำบลภูน�้ำหยด
วัดป่าไชยชุมพล
วัดนาเฉลียง
วัดพุเตยวนาราม
เสลียงแห้ง 3 สะเดาะพง
บ้านนาเฉลียง หมู่ 6 ต�ำบลนาเฉลียง
บ้านพุเตย หมู่ 5 ต�ำบลพุเตย
หมู่ 2 ต�ำบลหนองไผ่
บ้านล�ำนารวย หมู่ 8 ต�ำบลสระประดู่
บ้านวังเตียน หมู่ 11 ต�ำบลโคกปรง
วัดป่าแสงทอง
วัดท่ายางสามัคคีธรรม
บ้านแสงทอง หมู่ 16 ต�ำบลบ่อรัง
บ้านยางโด่ 7 ต�ำบลสระประดู่
วัดป่าด่านแก้ว
วัดวิชมัยปุญญาราม กนกงาม 1 เขาค้อ
วัดอจธัมโม
เสลียงแห้ง 3 หนองแม่นา
วัดวิมุตตาราม วัดซับชมภู
บ้านซับชมภู หมู่ 8 ต�ำบลบ้านโภชน์
อ�ำเภอน�้ำหนาว วัดครองยุต หมู่ 5 ต�ำบลหลักด่าน
อ�ำเภอหล่มเก่า วัดดอนไชย บ้านหนองหญ้าไทร หมู่ 10 ต�ำบลหินฮาว
วัดนิรมลวัฒนา
บ้านโนนโป่งตูม หมู่ 5 ต�ำบลหล่มเก่า
วัดศิลาจารย์
บ้านศิลา หมู่ 6 ต�ำบลศิลา
วัดศิลามงคล
บ้านหินฮาว หมู่ 3 ต�ำบลหินฮาว
วัดสีบานเย็น
บ้านปลาฝา หมู่ 5 ต�ำบลหินฮาว
วัดอรัญวารี
บ้านห้วยหอย หมู่ 13 ต�ำบลวังบาล
วัดลัฎฐิวัน หมู่ 2 ต�ำบลนาเกาะ
วัดห้วยมัจฉาวาส
วัดป่าบ้านหัวโตก
บ้านหัวโตก หมู่ 4 ต�ำบลนาเฉลียง
วัดป่าสระแก้ว
บ้านสระแก้ว หมู่ 10 ต�ำบลเพชรละคร
บ้านแก่งเสี้ยว หมู่ 5 ต�ำบลนาซ�ำ
วัดป่าศิลาวดี
บ้านหินฮาว หมู่ 3 ต�ำบลหินฮาว
วัดป่าหินกอง
บ้านหนองใหญ่ หมู่ 1 ต�ำบลนาซ�ำ
วัดห้วยโป่งน�้ำ
บ้านห้วยโป่งน�้ำ หมู่ 9 ต�ำบลตาดกลอย
วัดป่าสถิตย์ธรรม หมู่ 6 ต�ำบลนาซ�ำ
884
บ้านหนองบง หมู่ 19 ต�ำบลบ่อรัง
วัดป่าวังเตียน
บ้านใหม่พัฒนา 11 ต�ำบลบ่อรัง
วัดป่าบ่อรัง
บ้านบ่อรัง หมู่ 1 ต�ำบลบ่อรัง
วัดป่าภูน�้ำหยดปัญจคีรี วัดตะเคียนโพรง
บ้านตะเคียนโพรง หมู่ 12 ต�ำบลยางสาว
วัดป่าซับบาดาลสุวรรณโชติ
บ้านซับบาดาล หมู่ 16 ต�ำบลยางสาว
วัดป่าธรรมบูชา
บ้านสามแยก หมู่ 1 ต�ำบลสระประดู่
บ้านคลองยาง หมู่ 9 ต�ำบลหนองไผ่
วัดป่าเกษมสุข
บ้านเกษมสุข หมู่ 8 ต�ำบลเพชรละคร
วัดป่าภูริทัตตภักดี
บ้านคลองสาม หมู่ 10 ต�ำบลยางงาม
วัดแสงธรรมกาญจนาราม
บ้านสะพานกลางดง หมู่ 3 ต�ำบลหนองไผ่
วัดป่าวังสัจจธรรม
บ้านสระหมื่นเชียง หมู่ 3 ต�ำบลวังโบสถ์
วัดศิวาพิชญาราม
บ้านตะกุดงาม หมู่ 4 ต�ำบลวังโบสถ์
อ�ำเภอบึงสามพัน วัดเขาเจริญธรรม บ้านล�ำพื้นทอง หมู่ 9 ต�ำบลหนองแจง
วัดศรีมงคล
บ้านศรีมงคล หมู่ 1 ต�ำบลศรีมงคล
วัดสังกิจจธรรมาวาส
บ้านเตาถ่าน หมู่ 10 ต�ำบลกันจุ
วัดสิริจันทาวาส
บ้านร้อยไร่ หมู่ 7 ต�ำบลซับไม้แดง
วัดป่ากิตติสารวัน บ้านซับส�ำราญเหนือ หมู่ 9 ต�ำบลพญาวัง
160
วัดป่าหนองบง
วัดสุวรรณคีรีวิหาร
วัดทองพัฒนาราม
บ้านห้วยก้างปลา หมู่ 3 ต�ำบลตาดกลอย
วัดพระธาตุภูผาชัย
วัดวิสุทธิมัคคาราม
วัดป่าพัฒนาราม
อ�ำเภอศรีเทพ วัดป่าสระแก้ว บ้านนาน�้ำโครม หมู่ 5 ต�ำบลศรีเทพ
ป่าเนินมะค่า
บ้านปูนสวรรค์ หมู่ 9 ต�ำบลนาสนุ่น
ถ�้ำปูนสวรรค์
บ้านปูนสวรรค์ ต�ำบลนาสนุ่น
วัดถ�้ำซับแจง
บ้านเนินถาวร หมู่ 8 ต�ำบลนาสนุ่น
วัดป่าศรัทธาธรรม
บ้านซับน้อย หมู่ 5 ต�ำบลหนองย่างทอย
วัดป่าหนองบัว
บ้านบัวทองพัฒนา หมู่18 ต�ำบลนาสนุ่น
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
.indd 160
20/4/2562 16:16:17
พุทธมณฑลจังหวัดเพชรบูรณ์
ณ สถานที่สร้างฯ บริเวณศูนย์ราชการจังหวัดเพชรบูรณ์ ต�ำบลสะเดียง อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์
โครงการจัดสร้างพุทธมณฑลจังหวัดเพชรบูรณ์นี้ เป็นโครงการที่ท�ำขึ้นเพื่อชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ โดยเฉพาะเพื่อเป็นแหล่ง เผยแพร่พระธรรมค�ำสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เพื่อส่งเสริมความเจริญทางจิตใจ น�ำความผาสุกมาสู่พุทธศาสนิกชนทั้งชาวไทย ชาวเพชรบูรณ์ และชาวพุทธทั่วโลก ซึ่งการออกแบบองค์พระเจดีย์มรรคญาณ ได้รับความเมตตาจาก พระครูใบฎีกา อ�ำนาจ โอภาโส ซึ่งท่าน เคยเป็นผู้ออกแบบเจดีย์วัดพระธาตุผาซ่อนแก้ว ที่ปัจจุบันเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางศาสนาที่ส�ำคัญของจังหวัดและมีชื่อเสียงทั้งในและ ต่างประเทศ ซึ่งในพิธีวางศิลาฤกษ์พุทธมณฑลจังหวัดเพชรบูรณ์ จะมีเจ้าพระคุณสมเด็จพระวันรัต เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุต ซึ่งได้รับ พระบัญชาจากสมเด็จพระสังฆราช ให้ปฏิบัติหน้าที่แทน เป็นประธานฝ่ายสงฆ์ จึงขอเชิญชวนพี่น้องประชาชน เข้าร่วมพิธีวางศิลาฤกษ์ และ ร่วมพิธีทอดผ้าป่าสามัคคีสมทบทุนเริ่มต้นในการก่อสร้าง ในวันที่ 29 มีนาคม 2562
รายการถาวรวัตถุที่ส�ำคัญ 1. เจดีย์พระประธาน
ชั้นที่1-5 ใช้เป็นที่ประชุม อบรมสัมนา ปฏิบัติธรรม ชั้นที่ 6 ประกอบด้วย 1. องค์พระเจดีย์ 2. วิหารจตุรทิศมหามงคลทิศที่ 1 ทิศบูรพา (ตะวันออก) ประดิษฐานพระพุทธรูป พระพุทธมหาธรรมราช (จ�ำลอง) 3. วิหารจตุรทิศมหามงคลทิศที่ 2 ทิศทักษิน (ใต้) ประดิษฐานพระพุทธรูป หลวงพ่อเพชรมีชัย (จ�ำลอง) 4. วิหารจตุรทิศมหามงคลทิศที่ 3 ทิศประจิม (ตะวันตก) ประดิษฐานพระพุทธรูป พระนิรันตราย (จ�ำลอง) 5. วิหารจตุรทิศมหามงคลทิศที่ 4 ทิศอุดร (เหนือ) ประดิษฐานพระพุทธรูป พระไพรีพินาศ (จ�ำลอง) 6. วิหารคดทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัส ส�ำหรับปฏิบัติธรรม ชมวิว 7. ลานบุญลานธรรมรอบเจดีย์ประธาน
2. สังเวชนียสถาน 4 ต�ำบล โดยรอบเจดีย์ประธาน 3. พระต�ำหนักสมเด็จพระสังฆราช 4. อาคารรับรองพระมหาเถระ 5. อาคารส�ำนักงาน 6. อาคารปฎิบัติธรรมส�ำหรับพระสงฆ์ 7. อาคารหอฉัน 8. อาคารปฏิบัติธรรมส�ำหรับประชาชน 9. โรงครัว 10. มุมสวนตามพุทธประวัติ 74
SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบูรณ์
.
.indd 74
19/4/2562 16:54:59
PHETCHABUN I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 75
75
19/4/2562 16:55:02
สัมผัสเสน่ห์ประติมากรรม
สักการะสมเด็จองค์ปฐม ชมพญานาคพ่นสายรุ้ง ณ วัดธรรมยาน
แลนด์มาร์คที่น่าสนใจแห่งใหม่ของ จ.เพชรบูรณ์
Magazine
.indd 164
20/4/2562 14:26:34