นิตยสารแนะน�ำแหล่งท่องเที่ยวและของดีจังหวัดปราจีนบุรี ประจ�ำปี 2561
Magazine
PRACHINBURI เมืองเก่าทวารวดี
Vol.9 Issue 86/2018
EXCLUSIVE
PRACHIN BURI SMART CITY คุณภาพชีวิตดี ไร้อาชญากรรม นายพิ บูลย์ หัตถกิจโกศล ผู้ว่าราชการจังหวัดปราจีนบุรี
www.issuu.com
ศรีมหาโพธิ์คู่บ้าน ไผ่ตงหวานคู่เมือง ผลไม้ลือเลื่อง เขตเมืองทวารวดี
สังคมไร้เงินสด จ่ายผ่าน
Smart Watch
ผู้จัดการทั่วไป บริษัท จีไอเอส จ�ำกัด ตัวแทนจ�ำหน่าย ผลิตภัณฑ์ GARMIN ในประเทศไทย นายไกรรพ เหลืองอุทยั เปิดเผยว่าประเทศไทยก�ำลังอยูใ่ นช่วงของการเปลีย่ นผ่าน เข้าสู่สังคมไร้เงินสด ซึ่งปัจจัยส�ำคัญในการขับเคลื่อน ในเรื่ อ งนี้ คื อ การใช้ น วั ต กรรมเพื่ อ น� ำ เสนอฟั ง ก์ ชั่ น การจ่ายเงินแบบไร้เงินสดให้ตอบโจทย์ความต้องการ ของผู้ใช้งาน โดยเน้นที่อุปกรณ์ที่อยู่ใกล้ตัวและเหมาะสม กับไลฟ์สไตล์ของผู้ใช้มากที่สุด GARMIN จึงได้ร่วมมือกับ 3 สถาบันการเงินชั้นน�ำ ได้แก่ ธนาคารกสิกรไทย ธนาคารไทยพาณิชย์ และ บั ต รกรุ ง ไทย (เคที ซี ) และเครื อ ข่ า ยบั ต รเครดิ ต ทั้ ง Master Card และ Visa Card พัฒนาบริการ GARMIN Pay ซึ่งเป็นการช�ำระเงินรูปแบบใหม่บนนาฬิกาสมาร์ตวอทช์ โดยผู ก กั บ บั ต รเครดิ ต เพื่ อ ตอบไลฟ์ ส ไตล์ ก ลุ ่ ม ลู ก ค้ า ทีร่ กั สุขภาพ ชอบออกก�ำลังกาย และมองหาความสะดวก ในการช�ำระค่าสินค้าและบริการ ในสังคมไร้เงินสดทีส่ ามารถ ซื้อสินค้าและบริการได้ ไม่จ�ำกัดช่วงเวลาและกิจกรรม แค่พกนาฬิกา แทนกระเป๋าสตางค์ การช�ำระเงินก็เป็นเรื่องง่ายนิดเดียว
2
AEC
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
.indd 2
07/01/62 17:27:42
ยกระดับอาชีพคนไทยสู่สากล ด้วยตราสัญลักษณ์ มอช
เพื่ อ ให้ คุ ณ วุ ฒิ วิ ช าชี พ และมาตรฐานอาชี พ ของไทย เป็ น ที่ ย อมรั บ ในระดั บ สากล และสอดคล้ อ งกั บ ความต้ อ งการอย่ า งแท้ จ ริ ง ของ ภาคอุตสาหกรรม และสนองตอบนโยบาย Thailand 4.0 ของรัฐบาล นายนคร ศิลปอาชา ประธานกรรมการสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ หรือ สคช. ได้ด�ำเนินการส่งเสริมและพัฒนาระบบคุณวุฒิวิชาชีพและมาตรฐานอาชีพ โดยร่วมมือกับผู้เชี่ยวชาญในอาชีพจากทั้งภาคธุรกิจ ภาคอุตสาหกรรม และภาคการศึกษา เพื่อพัฒนามาตรฐานอาชีพและน�ำไปใช้ได้จริง
นอกจากนี้รัฐบาลยังได้บูรณาการความร่วมมือกับประเทศต่างๆ เช่น ประเทศเยอรมนี ประเทศออสเตรเลีย และในกลุ่มประเทศอาเซียน การรับรองระบบคุณวุฒิวิชาชีพ ต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกฝ่าย ในการสร้างมาตรฐานในการประเมิน การรับรองสมรรถนะของบุคคล ให้มีความเป็นธรรม เป็นกลางและโปร่งใส เป็นที่ยอมรับจากนานาชาติ
PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
AEC
.indd 3
3
07/01/62 17:27:44
ตลาดอุดมสุข
UDOMSUK Market
“ตลาดดีมีมาตรฐาน ถูก สด สะอาด ปลอดภัย เครื่องชั่งเที่ยงตรง มีสินค้าบริการครบครัน เป็นศูนย์รวมสินค้าอุปโภคและบริโภค”
4
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
(2
).indd 4
8/1/2562 13:59:04
เริ่มก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2537 เดิมเป็นตลาดสดเล็กๆ ที่มีแผงค้าเพียง 80 แผง เมื่อชุมชุน เริม่ หนาแน่นและใกล้กบั เขตนิคมอุตสาหกรรมกบินทร์บรุ ี ในปี พ.ศ. 2548 จึงได้ขยายปรับปรุง ตลาดสดให้ได้มาตรฐานเพือ่ รองรับกับการจ่ายใช้สอยของผูบ้ ริโภคในชุมชนและชุมชนใกล้เคียง ปัจจุบันมีการแบ่งตามประเภทการค้าต่างๆ ดังนี้
1. อาคารตลาดสด มีแผงค้าทั้งหมด 321 แผง และอีก 8 ล็อก แบ่งออกเป็นโซน ตามประเภทสินค้า เพือ่ สะดวกและประหยัดเวลาในการจับจ่าย เช่น โซนขนมหวาน โซนอาหาร ส�ำเร็จ โซนปลาสด-อาหารทะเล โซนไก่-ลูกชิ้น โซนเนื้อวัว-ควาย โซนเนื้อหมู โซนผักสด โซนผลไม้ โซนของแห้ง 2. อาคารร้านค้าให้เช่ารอบๆ อาคารตลาดสด มีสินค้าเบ็ดเตล็ดมากมายไว้คอยบริการ 3. อาคารตลาดนัด มีสนิ ค้าหลากหลาย เช่น เสือ้ ผ้าแฟชัน่ เครือ่ งประดับ อุปกรณ์ตกแต่งรถ เปิดบริการทุกวันพฤหัสบดี และวันอาทิตย์ ตั้งแต่เวลา 13.00-22.00 น. 4. อาคารโต้รงุ่ มีอาหารตามสัง่ ก๋วยเตีย๋ ว ข้าวมันไก่ ข้าวเหนียวไก่ทอด ลาบ น�ำ้ ตก ส้มต�ำ ไว้คอยให้บริการผู้ที่สัญจรผ่านไปมา
ตลาดอุดมสุข ได้รบั มาตรฐาน “ตลาดสดน่าซือ้ ” ระดั บ ดี ม าก (ระดั บ 5 ดาว) กรมอนามั ย กระทรวงสาธารณสุข ตลาดดีเด่น ราคาเป็นธรรม เครื่องชั่ง เทีย่ งตรง กรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ตลาดดี มี ม าตรฐานของกรมส่ ง เสริ ม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ระดับจังหวัด และระดับภาค ส้วมสะอาด ได้มาตรฐาน “สุดยอดส้วม แห่ ง ปี ” ระดั บ ประเทศ ประเภทส้ ว ม สาธารณะในตลาดสด กรมอนามัย กระทรวง สาธารณสุข ศูนย์การเรียนรู้ ตลาดสดน่าซื้อ ต้นแบบ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข และเป็น สถานที่ศึกษาดูงานของหน่วยงานต่างๆ ตลาดสดที่ได้มาตรฐาน ตลาดสดน่าซื้อ ระดับดีมาก 5 ปีติดต่อกันจากกระทรวง สาธารณสุข สุดยอดตลาดสะอาด อาหารปลอดภัยใน การประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อมอบนโยบาย และเร่งรัดการพัฒนาตลาดให้ได้มาตรฐาน “ตลาดสะอาด อาหารปลอดภัย” กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ตลาดสดติดดาว ในความส่งเสริมของ กรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ตลาดสด ตั้งอยู่ใน “โครงการอุดมสุข กบินทร์บรุ ”ี ต�ำบลหนองกี่ อ�ำเภอกบินทร์บรุ ี จังหวัดปราจีนบุรี
ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัดอุดมสุขกบินทร์บุรี 379 หมู่ 10 ต.หนองกี่ อ.กบินทร์บุรี จ.ปราจีนบุรี 25110 0-3745-5333, 0-8115-46447 udomsuk.kabin@hotmail.com Website : www.udomsukkabinburi.com PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
(2
).indd 5
5
8/1/2562 13:59:13
Udom
Apartment
“อยู่สบาย อบอุ่นใจ สบายกระเป๋า”
อุดม อพาร์ทเม้นท์ 6
อุดม อพาร์ทเม้นท์ บริการที่พัก อยู่ใกล้เซเว่น อีเลฟเว่น / โลตัส เอ็กซ์เพรส / บิ๊กซีมินิ / ตลาดอุดมสุข / โรงเรียน / ธนาคาร ร้านอาหาร และใช้เวลาเพียง 15 นาที ก็ถึงเขตนิคมอุตสาหกรรมกบินทร์บุรี (Kabinburi Industrial Zone) ติดต่อสอบถามได้ตลอด 24 ชั่วโมง SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา
(2
).indd 6
3/1/2562 14:08:07
อุดม อพาร์ทเม้นท์ UDOM APARTMENT
037-455688-9, 088-882-8485 udomapartment@gmail.com udomsuk888 udomapartment
CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย
(2
).indd 7
7
3/1/2562 14:08:18
โครงการอุดมสุขเพลส
UDOMSUK
Place
“ท�ำเลค้าขายและที่อยู่อาศัย ระดับพรีเมียม”
โครงการอุ ด มสุ ข เพลส เริ่ ม ต้ น เมื่ อ วั น ที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ.2552 โดยมีวัต ถุป ระสงค์เ พื่อ ตอบสนองลู ก ค้ าที่ ต ้ องการ ท�ำเลค้าขาย และที่อยู่อาศัย ระดับพรีเมียม ยกระดับคุณภาพที่อยู่ อาศัยรูปแบบเดิมๆ เพิ่มเติมการออกแบบและการปรับฟังก์ชั่น ให้เหมาะกับลูกค้าหลากหลายสไตล์ จากประสบการณ์ในแวดวง อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ก ว่ า 10 ปี เรามี โ ครงการตลาดสดอุ ด มสุ ข กบินทร์บุรี เป็นโครงการแรก มีการก่อสร้างอาคารพาณิชย์กว่า 500 ยูนิต จนกลายเป็นท�ำเลทอง 8
โครงการอุดมสุขเพลส โดยบริษัทอุดมสุขกบินทร์บุรี บ้านและ ที่ดินจ�ำกัด ตอบโจทย์ทั้งเจตจ�ำนงของผู้บริหาร และแบ่งรูปแบบการ ด�ำเนินงานประเภทธุรกิจที่มุ่งเน้นด้านการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ โดยตรง กว่า 5 ปีที่ผ่านมาบริษัทอุดมสุขกบินทร์บุรีบ้านและที่ดินจ�ำกัด เป็นที่ไว้วางใจของลูกค้าและให้การยอมรับในตัวคุณภาพของโครงการ อุดมสุขเพลส โดยเห็นได้จากยอดการจองบ้านเดียวและบ้านแฝด อย่างต่อเนื่อง ซึ่งคาดว่าอุดมสุขเพลสจะสามารถปิดเฟส 2 และเริ่ม เปิดเฟส 3 ซึ่งเป็นท�ำเลทาวน์เฮ้าส์ 2 ชั้น ได้ในปี 2562 นี้
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
(2
).indd 8
8/1/2562 13:56:56
โครงการอุดมสุขเพลส - Udomsuk Place จองพร้อมรับส่วนลดและของแถมมากมาย
ฟรี ส่วนลดสูง 200,000 บาท ฟรี ค่าธรรมเนียมโอน ฟรี ปั้มน�้ำ ถังน�้ำ 1,000 ลิตร ฟรี ปลูกหญ้ารอบบ้าน ฟรี ส่วนลดที่ดินจาก ตารางวาละ
40,000 บาท เหลือ 25,000 บาท
บ้านเดี่ยวสองชั้น 3.25 ลบ.
• ขนาดที่ดินเริ่มต้น 52.6 ตารางวา พื้นที่ใช้สอย 200 ตารางเมตร • 3 ห้องนอน 3 ห้องน�้ำ ที่จอดรถ 2 คัน
บ้านเดี่ยวสองชั้น 2.95 ลบ.
• ขนาดที่ดินเริ่มต้น 52.6 ตารางวา พื้นที่ใช้สอย 180 ตารางเมตร • 3 ห้องนอน 3 ห้องน�้ำ ที่จอดรถ 2 คัน
บ้านแฝดสองชั้น 2.35 ลบ.
• ขนาดที่ดินเริ่มต้น 35.8 ตารางวา พื้นที่ใช้สอย 140 ตารางเมตร • 3 ห้องนอน 2 ห้องน�้ำ ที่จอดรถ 2 คัน
บ้านเดี่ยวชั้นเดียว 1.99 ลบ. • ขนาดที่ดินเริ่มต้น 52.6 ตารางวา พื้นที่ใช้สอย 110 ตารางเมตร • 2 ห้องนอน 2 ห้องน�้ำ ที่จอดรถ 1 คัน
บริษัท อุดมสุขกบินทร์บุรี บ้านและที่ดิน จ�ำกัด 899 หมู่ 9 ต.หนองกี่ อ.กบินทร์บุรี จ.ปราจีนบุรี 25110 037-218853-4
ฝ่ายขายอุดมสุขเพลส
082-6824195 นาราทิพ 091-7393065 น�้ำฝน บริษัท อุดมสุขกบินทร์บุรีบ้านและที่ดิน จ�ำกัด PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
(2
).indd 9
9
8/1/2562 13:57:04
WAN N I DA Gard en Res or t โรงแรมวรรณิดา การ์เด้น รีสอร์ท
“ที่พักดี ฟรีอาหารเช้า สะดวก สะอาด บรรยากาศดี ปราจีนบุรีที่นี่ที่เดียว”
wannidagardenresort
10
SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา
(2
).indd 10
7/1/2562 16:31:15
สถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียง
เขาใหญ่ น�ำ้ ตกเขาอีโต้ ศาลสมเด็จพระนเรศวร เนินพิศวง สวนดาษดา เมืองตะเกียงโบราณ รอยพระบาท สระมรกต วัดแก้วพิจติ ร โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร ผาเดียวดาย น�ำ้ ตกเหวนรก น�ำ้ ตกเหวสุวตั
สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ “โรงแรมวรรณิดา การ์เด้น รีสอร์ท” 9/9 หมู่ 8 ต.บ้านพระ อ.เมือง จ.ปราจีนบุรี 25230 037-216839 , 037-452614 มือถือ 088-3313003 LINE ID : 0883313003 wannidagardenresort CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย 11
(2
).indd 11
7/1/2562 16:31:25
Mou nt ai n Ho me Re sor t
mountainhomeresort
บริการห้องพัก ห้อง Twin Beds Room สิ่งอ�ำนวยความสะดวก เตียงขนาด 3.5x2 แอร์ ทีวีจอแบน กาต้มน�ำ้ ร้อน ตู้เย็น เครื่องท�ำน�้ำอุ่น Mini Bar ตู้เสื้อผ้า ห้อง Double Bed Room สิ่งอ�ำนวยความสะดวก เตียงขนาด 6 ฟุต แอร์ ทีวีจอแบน กาต้มน�ำ้ ร้อน ตู้เย็น เครื่องท�ำน�้ำอุ่น Mini Bar ตู้เสื้อผ้า
12
SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา
Mountain Home Resort (2
).indd 12
3/1/2562 13:58:56
สถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียง • เขาใหญ่ • อ่างเก็บน�้ำวังบอน • น�ำ้ ตกเขาอีโต้ • อ่างเก็บน�้ำคลองไม้ปล่อง • เขื่อนขุนด่านปราการชล
• • • • •
ดาษดาแกลอรี่ โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร น�้ำตกเหวนรก ดินแดนหิ่งห้อย เนินพิศวง
Mountain Home Resort
ตั้ง206 ซ.สิงค์โตเผือก ม.5 ต.เนินหอม อ.เมือง จ.ปราจีนบุรี 094-960-0040, 081-520-9717 mountain home resort&water park @icv6619z
CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย
Mountain Home Resort (2
).indd 13
13
3/1/2562 13:59:03
i Rab bi t
Hot el Pr ach inb uri
“สะอาด สะดวก สบาย ปลอดภัย และคุ้มค่า ให้บริการด้วยใจและรอยยิ้ม”
@irabbithotel
โรงแรมไอแรบบิท
โรงแรมไอแรบบิท ตั้งอยู่ย่านธุรกิจใจกลางเมืองปราจีนบุรี ใกล้ตลาดสด ห้างสรรพสินค้า ห่างจากทางขึ้นอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่เพียง 15 นาที และสถานที่ ท่องเที่ยวอื่นๆอีกมากมาย โรงแรมไอแรบบิท ถูกออกแบบให้มีความสะดวกสบาย มีทั้งห้องพักส�ำหรับสองท่าน และสามท่าน หรือทั้งแบบเตียงเดี่ยว เตียงคู่ เหมาะกับการพักผ่อน พร้อมอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงทุกห้อง มีปลั๊กส�ำหรับเชื่อมต่ออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อย่างเพียงพอ มีเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยและกล้องวงจรปิด มีพนักงานต้อนรับตลอด 24 ชั่วโมง
14
SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา
(2
).indd 14
8/1/2562 14:04:03
***บริการอาหารเช้าทุกวันตั้งแต่เวลา 7.00 น.10.00 น.***
สิง่ อ�ำนวยความสะดวกภายในห้องพัก
มินิบาร์ โทรทัศน์ เครื่องปรับอากาศ ระเบียง ตู้เย็น โต๊ะ ห้องน�้ำส่วนตัว กาต้มน�้ำไฟฟ้า ผ้าเช็ดตัว ไม้แขวนเสื้อ กระดาษช�ำระ น�้ำดื่ม แปรงสีฟัน/ยาสระผม/สบู่
บริการและอ�ำนวยความสะดวก
ที่จอดรถ สามารถน� ำสัต ว์เลี้ยงเข้าพักโดยแจ้งทาง โรงแรมล่วงหน้าและมีค่าใช้จ่ายส�ำหรับสัตว์เลี้ยง ห้องพักส�ำหรับผู้ใช้รถเข็นโดยเฉพาะ ลิฟท์ สวนส่วนตัว ฝากสัมภาระฟรี
สถานที่น่าสนใจ
โรงพยาบาลเจ้ า พระยาอภั ย ภู เ บศร 3.2 กิโลเมตร (www.cpa.go.th) พิพิธ ภัณฑ์อยู่สุขสุวรรณ 7.2 กิโลเมตร (www.yusuksuwan.com) บ้านหมอแสง 15.6 กิโลเมตร (FB: หมอแสง ปราจีนบุรี) ทางขึ้ น อุ ท ยานแห่ ง ชาติ เ ขาใหญ่ 21.4 กิโลเมตร (www.khaoyainationalpark.com)
โรงแรมไอแรบบิท
ตัง้ อยู่ 54 ถนนแจ้งพัฒนา ต�ำบลหน้าเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี 25000 โทร. 098-8242424 www.irabbithotel.com @irabbithotel @irabbithotel CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย
(2
).indd 15
15
8/1/2562 14:04:10
IYAR A
Hot el Pr ach inb uri
โรงแรมไอยรา
“บริการห้องพัก พร้อมสิ่งอ�ำนวยความสะดวก” โรงแรมไอยรา ปราจีนบุรี
279/49 หมู่ 1 ต.ดงพระราม อ.เมือง จ.ปราจีนบุรี 083-1165552, 037-212615 โรงแรมไอยรา
16
(1
SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา
)+
(1
).indd 16
3/1/2562 13:56:51
U Fishing Club
บ่อตกปลากะพงน้ายู (บ้านสร้าง) บ่อตกปลากะพงน้ายู ให้บริการด้านกีฬาและสันทนาการ จัดกิจกรรมแข่งขันตกปลา
บ่อตกปลากะพงน้ายู บ้านสร้างปราจีนบุรี
บ่อตกปลากะพงน้ายู (บ้านสร้าง)
093-978-7055 บ่อตกปลากะพงน้ายูบ้านสร้างปราจีนบุรี
CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย
(1
)+
(1
).indd 17
17
3/1/2562 13:57:00
Su nt is uk
สันติสุขเพลส Pl ace
18
Suntisuk Place “บริการห้องพัก พร้อมสิ่งอ�ำนวยความสะดวก อาทิ Wi-Fi ทีวี เครื่องท�ำน�้ำอุ่น แอร์ และความปลอดภัยในการจอดรถ”
SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา
(2
).indd 18
8/1/2562 16:21:32
สถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียง
เขาใหญ่ เขาอี โ ต้ เหมาะส� ำ หรั บ การปั ่ น จักรยานเที่ยว ดาษดาแกลเลอรี่ มีดอกไม้หลากหลายให้ชม
สันติสุขเพลส
44 หมู่ 11 ต.บ้านพระ อ.เมือง จ.ปราจีนบุรี 25230 Suntisuk Place CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย
(2
).indd 19
19
8/1/2562 16:21:42
Talk
EDITOR’S
PRACHINBURI 2018
จังหวัดปราจีนบุรี แม้ จะเป็ นเพียง จังหวัดเล็กๆ แต่อุดมไปด้ วยทรั พยากร ทรงคุณค่าทัง้ ประวัติศาสตร์ ธรรมชาติ สิ่ ง แวดล้ อม ไม่ น้ อยหน้ าจั ง หวั ด ใด ในภาคตะวันออกของประเทศไทย เมื่ อท่ า นพิ บู ล ย์ หั ต ถกิ จโกศล ผู้วา่ ราชการจังหวัดปราจีนบุรี เข้ ามาดูแล และรับใช้ พนี่ ้ องชาวปราจีนบุรี การพัฒนา จัง หวัด ปราจี น บุ รี ภ ายใต้ มุม มองและ วิสยั ทัศน์ของท่านจึงยึดหลักการพัฒนา ตามบริ บ ทและศั ก ยภาพของจั ง หวั ด โดยเฉพาะการยกระดับและขับเคลื่อน การท่องเที่ยวให้ มีขีดความสามารถสูงขึ ้น ทังการท่ ้ องเที่ยวเชิงนิเวศ การท่องเที่ยว เชิงเกษตร การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ และการท่องเที่ยวเชิงอุตสาหกรรม ส่วนการพัฒนาจังหวัดในมิติอื่นๆ เพื่อสร้ างความเข้ มแข็ง และการพัฒนา ที่ ยั่ง ยื น ให้ แ ก่ ป ระชาชน ท่ า นมุ่ง เน้ น การพัฒ นาเทคโนโลยี แ ละนวัต กรรม สู่ “เมืองอัจฉริ ยะ Smart City” เพื่อตอบสนองนโยบาย Thailand 4.0 ของรัฐบาล ภายใต้ วาระจังหวัด ปราจี น บุรี “ปราจี น บุรี 2020” ผมขอขอบพระคุณท่านพิบูลย์ หัตถกิจโกศล ผู้ว่าราชการจังหวัดปราจีนบุรี พร้ อมทั ง้ หน่ ว ยงานทั ง้ ภาครั ฐ และเอกชนเป็ นอย่ า งสู ง ที่ ม อบโอกาสให้ นิ ตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย ได้ ร่ ว มบัน ทึกเรื่ องราวประวัติศาสตร์ แ ละ สิ่งดีงามมากมายของจังหวัดปราจีนบุรี หากมีข้อผิดพลาดประการใด ทีมงาน ขอน้ อ มรั บค� ำ ติชมจากทุกท่า นด้ ว ยความเคารพ ไว้ ณ โอกาสนี ค้ รั บ
คณะผู้บริหาร
นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
คณะที่ปรึกษา ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์ พลเอกสรชัช วรปัญญา ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์ ดร.ประยุทธ คงเฉลิมวัฒน์ ดร.ชาญ ธาระวาส ดร.สุมิท แช่มประสิท ดร.วัลลภ อารีรบ ดร.พิชัย ทรัพย์เกิด ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์ ดร.สุเทษณ์ จันทรุกขา ดร.อรรถสิทธิ์ ตันติวิรัชกุล
ฝ่ายประสานงานโครงการ ภาครัฐและเอกชน
ผู้จัดการ
ทวัชร์ ศรีธามาศ
คณะทีมงาน
ธนิน ตั้งธ�ำรงจิต ถาวร เวปุละ
ฝ่ายประสานงานข้อมูล
ฝ่ายประสานงานข้อมูล
ศุภญา บุญช่วยชีพ นงลักษณ์ เทียมเกตุทวีโชค
Website
Tel : 08-1442-4445, 08-4874-3861 Email : supakit.s@live.com
บรรณาธิการงานบุคคล พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการการตลาด ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ ฝ่ายกฎหมาย สมคิด หวังเชิดชูวงศ์ ทวิช อมรนิมิตร
นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
นันท์ธนาดา พลพวก
บรรณาธิการอ�ำนวยการ นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
บรรณาธิการบริหาร อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์
กองบรรณาธิการ
ผู้จัดการฝ่ายประสานงานข้อมูล
คุณศุภกิจ ศิลปรังสรรค์
บรรณาธิการอ�ำนวยการ ศุภกิจ ศิลปรังสรรค์
นักเขียน
คุณิตา สุวรรณโรจน์
ฝ่ายประสานงานจังหวัด กชกร รัฐวร
ฝ่ายศิลปกรรม
ผู้จัดการฝ่ายศิลปกรรม พัชรา ค�ำมี
กราฟิกดีไซน์
พิมพ์พิสุทธิ์ พังจูนันท์ วรเชษฐ สมประสงค์ ธีระวัฒน์ ระวาดชัย
ช่างภาพ
ชัยวิชญ์ แสงใส ปณต ปิติจารุวิศาล กิติวัฒน์ ทิศมั่ง วิทยา ประเสริฐสังข์
ตัดต่อวีดีโอ
วัชรกรณ์ พรหมจรรย์ ฝ่ายบัญชี / การเงิน
บัญชี
ปัฐมาภรณ์ แสงบุราณ
ผู้จัดการฝ่ายการเงิน สุจิตรา แดนแก้วนิต
การเงิน
บริษัท สมาร์ท บิซิเนส ไลน์ จ�ำกัด 9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 0-2522-7171 แฟกซ์. 0-2971-7747 FACEBOOK : SBL บันทึกประเทศไทย
Editor's talk
.indd 20
EMAIL : sbl2553@gmail.com
ชวัลชา นกขุนทอง วนิดา ศรีปัญญา
www.sbl.co.th
07/01/62 17:20:28
ร้าน CASA & CAFE DE NADI ตั้งอยู่ทางขึ้นเขาปักธงชัย ติดถนนใหญ่ สาย 304 สังเกตร้านเป็น “โลโก้หมีกินปลาทู” บริ ก าร กาแฟ อาหาร เครื่ อ งดื่ ม และที่ พั ก จ� ำ นวน 21 ห้ อ ง พร้ อ มห้ อ งรั บ รองลู ก ค้ า ส� ำ หรั บ จั ด อบรม สัมมนา จัดเลี้ยง งานวันเกิด และงานต่างๆ รั บ ปรึ ก ษาการเปิ ด ร้ า นกาแฟ รั บ สอนบาริ ส ต้ า สอนลาเต้อาร์ต รับเซ็ทอัพร้าน ขายแฟรนไชส์ ขายเมล็ด กาแฟและอุปกรณ์เปิดร้านกาแฟต่างๆ เปิดบริการ 08:00 - 20:00 น. Casa & Cafe’ De Nadi
CASA & CAFE DE NADI 388 หมู่ 13 ต.นาดี อ.นาดี จ.ปราจีนบุรี 25220 081-9069432 , 081-2952321 Facebook : Casa & Cafe De Nadi Instagram : Casa & Cafe De Nadi
CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย
CASA & CAFE DE NADI (1
).indd 21
21
มาเดอ-เออ ภูธารา อิ่มอร่อย คุ้มค่า น่าพัก 3/1/2562 14:20:59
CONTENTS P RAC H I N B U R I 2 0 1 8 ฉบับที่ 86 จังหวัดปราจีนบุรี พ.ศ.2561
issuu
“อ่างเก็บน�้ำนฤบดินทรจินดา”
จังหวัดปราจีนบุรี
เพื่อจัดหาน�ำ้ ให้ราษฎรใช้ท�ำการเพาะปลูกได้ทั้งในฤดูฝนและฤดูแล้ง และมีน�้ำเพื่อการอุปโภค บริโภคตลอดปี
จังหวัดปราจีนบุรี
เดิมสะกดว่า ปราจิณบุรี เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกของ ประเทศไทย เป็นเมืองทีม่ ปี ระวัตศิ าสตร์ยาวนาน มีการพบ ซากโบราณสถานในหลายพื้นที่ของจังหวัด
24
ใต้ร่มพระบารมี “โครงการอ่างเก็บน�้ำห้วยโสมง อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ” จังหวัดปราจีนบุรี
“อ่างเก็บน�้ำนฤบดินทรจินดา” อ่างเก็บน�ำ้ พระราชด�ำริ ร.9 แห่งสุดท้าย
29
EXCLUSIVE
24
บันทึกเส้นทางพบผู้ว่าราชการจังหวัดปราจีนบุรี
นายพิบูลย์ หัตถกิจโกศล
46
SPECIAL INTERVIEW
บันทึกเส้นทางพบรองผู้ว่าราชการปราจีนบุรี
นายรณรงค์ นครจินดา
48
SPECIAL INTERVIEW
บันทึกเส้นทางพบท้องถิ่นจังหวัดปราจีนบุรี
นายสาธิต อ่อนน้อม
71
58
บันทึกเส้นทางท่องเที่ยว
ปราจีนบุรี
ศรีมหาโพธิ์คู่บ้าน ไผ่ตงหวานคู่เมือง ผลไม้ลือเลื่อง เขตเมืองทวารวดี
71
เส้นทางท่องเที่ยวทวารวดีและบูรพกษัตริย์ไทย
วัฒนธรรมจังหวัดปราจีนบุรี
วัฒนธรรมจังหวัดปราจีนบุรี .indd 22
11/1/2562 17:19:42
ส า ร บั ญ จั ง หวั ด ปราจี น บุ รี
PRACHINBURI 2018 ISSUU 86
92 94
คุณภาณุ น้าวิสัยเจริญ สนุกครบในทริปเดียว เที่ยวปราจีนบุรี
ข้อมูลจากเจ้าคณะจังหวัดปราจีนบุรี
106 108
วัดบางกระเบา พระอารามหลวง องค์การบริหารส่วนต�ำบลรอบเมือง
110
วัดสันติวิเศษสุข
112 115
วัดจิกสูง วัดเกาะเค็ดใน
118 120
องค์การบริหารส่วนต�ำบลโคกปีบ องค์การบริหารส่วนต�ำบลโคกไทย
126
106
องค์การบริหารส่วนต�ำบลหัวหว้า
132
วัดใหม่กรงทอง
138 144 146
เทศบาศต�ำบลนาดี ที่ว่าการอ�ำเภอกบินทร์ เทศบาลต�ำบลกบินทร์
150
152 158 164 166 170
องค์การบริหารส่วนต�ำบลกบินทร์
เทศบาลต�ำบลเมืองเก่า
องค์การบริหารส่วนต�ำบลเขาไม้แก้ว
132 .indd 13
องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาแขม องค์การบริหารส่วนต�ำบลบ่อทอง วัดแจ้ง
11/1/2562 17:19:50
PRACHIN BURI โครงการอ่างเก็บน�้ำห้วยโสมงอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ
"อ่างเก็บน�้ำนฤบดินทรจินดา" อ่างเก็บน�้ำพระราชด�ำริ ร.9 แห่งสุดท้าย
โครงการห้วยโสมงอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ต�ำบลแก่งดินสอ อ�ำเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช บรมนาถบพิ ต ร ทรงมี พ ระราชด� ำ ริ เมื่อปี พ.ศ. 2521 ให้พัฒนาต้นน�้ำล�ำธารปราจีนบุรี โดยให้พิจารณาสร้างเขื่อนเก็บกักน�้ำ 3 เขื่อน ได้แก่ เขื่อนห้วยพระปรง เขื่อนห้วยยาง และเขื่อนห้วยโสมง เพื่อจัดหาน�้ำให้ราษฎร ใช้ ท�ำการเพาะปลูกได้ทั้งในฤดูฝ นและฤดูแ ล้ง และมี น�้ำ เพื่ อการอุ ป โภคบริ โภคตลอดปี วั น ที่ 16 พฤษภาคม 2559 พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช บรมนาถบพิ ต ร ทรงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า พระราชทานชื่ อ อ่ า งเก็ บ น�้ ำ ห้ ว ยโสมง อั น เนื่ อ งมาจากพระราชด� ำ ริ ว่ า “อ่ า งเก็ บ น�้ ำ นฤบดิ น ทรจิ น ดา” ซึ่ ง มี ค วามหมายว่ า อ่ า งเก็ บ น�้ ำ ที่ ส ร้ า งขึ้ น ตามพระราชด� ำ ริ ใ นพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว
วัตถุประสงค์ โครงการ 1. เป็นแหล่งน�้ำต้นทุนและเพิ่มพื้นที่ชลประทานในฤดูฝนจ�ำนวน 111,300 ไร่ และฤดูแล้งจ�ำนวน 45,000 ไร่ ในเขตอ�ำเภอนาดี และ อ�ำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี 2. ช่วยบรรเทาอุทกภัยในพื้นที่ลุ่มน�้ำปราจีนบุรีและลุ่มน�้ำสาขา ในเขตพื้นที่อ�ำเภอนาดี และอ�ำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี 3. เป็นแหล่งน�้ำเพื่อการอุปโภคบริโภคของราษฎรและการประปา 4. ช่วยรักษาระบบนิเวศ ผลักดันน�้ำเค็มและน�้ำเน่าเสียในแม่น�้ำ ปราจีนบุรีและแม่น�้ำบางปะกง 5. อ่ า งเก็ บ น�้ ำ จะเป็ น แนวกั น ชนหรื อ แนวป้ อ งกั น การบุ ก รุ ก ท� ำ ลายพื้ น ที่ ป ่ า ไม้ ในเขตอุ ท ยานแห่ ง ชาติ ทั บ ลานและอุ ท ยาน แห่งชาติปางสีดา รวมทั้งช่วยเพิ่มระดับความชุ่มชื้นในพื้นที่ป่าไม้ ท� ำ ให้ โ อกาสการเกิ ด ไฟ ไหม้ ป ่ า ลดลง หรื อ หากเกิ ด ไฟป่ า ก็ จ ะ มีแหล่งน�้ำต้นทุนที่จะสามารถน�ำน�้ำมาใช้ดับไฟป่าได้
24
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจี มหาสารคาม นบุรี
(4
).indd 24
8/1/2562 14:53:57
MAHA PRACHINBURI SARAKHAM I SBL บันทึกประเทศไทย
(4
).indd 25
25
8/1/2562 14:53:59
สภาพปัญหาและความจ�ำเป็น • ปัญหาอุทกภัย พื้นที่จังหวัดปราจีนบุรีประสบปัญหาการเกิด อุทกภัยสร้างความเสียหายให้กับประชาชนในพื้นที่มาโดยตลอด โดยในปี พ.ศ. 2547 ข้อมูลจากส�ำนักงานเกษตรจังหวัดปราจีนบุรี พบว่ามีพื้นที่การเกษตรที่ได้รับความเสียหายจากอุทกภัย ซึ่งเกิด จากปริมาณน�ำ้ นองในลุ่มน�้ำปราจีนบุรีและลุ่มน�้ำสาขา รวมลุ่มน�้ำ ห้วยโสมงในเขตพื้นที่อ�ำเภอนาดีและอ�ำเภอกบินทร์บุรี รวมกว่า 117 หมู่บ้าน นอกจากนั้นในปี พ.ศ. 2549 มีพื้นที่ประสบภัย ใน 2 อ�ำเภอดังกล่าวรวมกว่า 207 หมู่บ้าน สร้างความเสียหาย ให้กับพื้นที่การเกษตรกว่า 49,316 ไร่ พื้นที่ท�ำการประมง พื้นที่ เพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำ 289 ไร่ และถนน 360 สาย ซึ่งปัญหาการเกิด อุทกภัยยังคงสร้างความเสียหายให้แก่ราษฎรอย่างต่อเนื่องและ ทวีความรุนแรงมากขึ้น • ปัญหาภัยแล้ง ปัจจุบนั พบว่าพืน้ ทีก่ ารเกษตรบริเวณด้านท้ายน�ำ้ ห้วยโสมง ในเขตพื้นที่อ�ำเภอนาดี และอ�ำเภอกบินทร์บุรี ส่วนใหญ่ จะท�ำ การเกษตรได้ใ นช่วงฤดูฝนเท่า นั้น ส่วนช่ ว งฤดู แ ล้ ง หรื อ
ช่วงฝนทิง้ ช่วงจะไม่สามารถท�ำการเกษตรได้ เนือ่ งจากขาดแคลนน�ำ้ ยกเว้นในพืน้ ทีล่ มุ่ ต�ำ่ ริมห้วยโสมงและล�ำน�ำ้ สาขาทีพ่ อจะมีปริมาณ น�้ ำ ไหลบ้ า ง จะมี ก ารเพาะปลู ก พื ช ผั ก สวนครั ว ไว้ บ ริ โ ภคใน ครัวเรือน รวมทั้งปริมาณน�้ำเพื่อการอุปโภค-บริโภคของแหล่ง ชุมชนต่างๆ จะขาดแคลนในช่วงฤดูแล้ง โดยในปี พ.ศ. 2551 จังหวัดปราจีนบุรมี พี นื้ ทีท่ ปี่ ระสบภัยแล้ง 582 หมูบ่ า้ น ครอบคลุม พื้นที่ 64 ต�ำบล โดยอยู่ในเขตอ�ำเภอนาดีและอ�ำเภอกบินทร์บุรี กว่า 190 หมูบ่ า้ น ดังนัน้ หากไม่มกี ารพัฒนาโครงการห้วยโสมงจะ ท�ำให้ปญ ั หาการขาดแคลนน�ำ้ ยิง่ ทวีความรุนแรงมากขึน้ เนือ่ งจาก ปริมาณความต้องการน�้ำเพื่อการอุปโภค-บริโภค การเกษตร และอื่นๆ เพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ ผู้ได้รับประโยชน์ ราษฎรในเขตอ�ำเภอนาดี และอ�ำเภอกบินทร์บุรี จังหวัด ปราจีนบุรี 26
SBL บันทึกประเทศไทย I มหาสารคาม
(4
).indd 26
8/1/2562 14:54:08
ความส�ำเร็จของโครงการ โครงการห้วยโสมงฯ เป็นโครงการชลประทาน ขนาดใหญ่ มี ค วามจุ อ ่ า งเก็ บ น�้ ำ 295 ล้ า น ลูกบาศก์เมตร จะเป็นแหล่งน�้ำต้นทุนและเพิ่ม พื้นที่ชลประทานในฤดูฝนจ�ำนวน 111,300 ไร่ และฤดูแล้งจ�ำนวน 45,000 ไร่ ในเขตอ�ำเภอ นาดี และอ�ำเภอกบินทร์บุรี ช่วยบรรเทาอุทกภัย ในพื้นที่ลุ่มน�้ำปราจีนบุรีและลุ่มน�้ำสาขาในเขต พื้นที่ อ�ำเภอนาดี และอ�ำเภอกบินทร์บุรี เป็น แหล่งน�้ำเพื่อการอุปโภคบริโภคของราษฎรและ การประปา ช่วยรักษาระบบนิเวศ ผลักดันน�ำ้ เค็ม และน�้ำเน่าเสียในแม่น�้ำปราจีนบุรี และแม่น�้ำ บางปะกง ขอบคุณข้อมูล : ส�ำนักงาน กปร.
ด้วยพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ท�ำให้ราษฎรสามารถ พึ่งพาตนเองและอยู่รอดปลอดภัย
MAHA SARAKHAM I SBL บันทึกประเทศไทย
(4
).indd 27
27
8/1/2562 14:54:15
PRACHINBURI
GOVERNOR สารผู้ว่าราชการจังหวัดปราจีนบุรี ทุ ก จั ง หวั ด และในทุ ก ๆ พื้ น ที่ ล้ ว นแต่ มี ศั ก ยภาพ มี ป ระวั ติ ศ าสตร์ แ ละสิ่ ง ดี ง ามที่ แตกต่างกันให้เราได้ศึกษาและค้นหา การน�ำ จุ ด เด่ น ที่ เ ป็ น เอกลั ก ษณ์ ข องแต่ ล ะพื้ น ที่ มาเจี ย ระไน และส่ ง เสริ ม ให้ ผู ้ ค นในจั ง หวั ด ได้ ภ าคภู มิ ใ จ คนนอกพื้ น ที่ ไ ด้ รู ้ จั ก ช่ ว ยกั น พั ฒ นาให้ เ กิ ด ประโยชน์ น� ำ มาซึ่ ง อาชี พ ที่ สร้างรายได้ อันจะน�ำสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความสุขของประชาชนส่วนใหญ่ จังหวัดปราจีนบุรีก็เช่นกัน เรามีสิ่งดีงาม มากมายที่เป็นเอกลักษณ์โดดเด่นของจังหวัด และเป็ น ที่ สุ ด ของประเทศ เช่ น เมื อ งโบราณ ยุ ค สมั ย ทวารวดี รอยพระพุ ท ธบาทคู ่ ต้นศรีมหาโพธิ์ 2,000 ปี สระแก้ว-สระขวัญ พระคเณศ (พระพิฆเนศ) องค์แรกของประเทศ ที่ขุดค้นพบที่เมืองศรีมโหสถ เมืองแห่งสมุนไพร และแพทย์ แ ผนไทย โรงพยาบาลเจ้ า พระยา อภัยภูเบศร อุทยานแห่งชาติที่เป็นมรดกโลก ถึ ง 3 แห่ ง อ่ า งเก็ บ น�้ ำ นฤบดิ น ทรจิ น ดา แก่งหินเพิง ฯลฯ เราต้ อ งภู มิ ใ จในความเป็ น ปราจี น บุ รี ช่ ว ยกั น สร้ า งเมื อ งแห่ ง นี้ ใ ห้ เ ป็ น เมื อ ง แห่งสุขภาพ เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งความสุข และมีคุณภาพชีวิตที่ดี ด้วยการมีส่วนร่วม ในการขับเคลื่อนงานตามยุทธศาสตร์ในมิติต่างๆ ของทุกภาคส่วน ทั้งการท่องเที่ยว การเกษตร อุตสาหกรรม ดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม ท�ำบ้านเมืองให้สะอาดน่าอยู่ ไม่ทิ้งขยะ สร้างมลพิษ ปลูกต้นไม้ ดอกไม้ ให้ร่มรื่นสวยงาม มีจิตสาธารณะ เอื้ออาทรต่อกัน มองทุกคนรวมทั้งแขกที่มาเยือนอย่างเป็นมิตร รู้จักให้และแบ่งปัน โดยเฉพาะเด็ก และเยาวชน ผู้ด้อยโอกาส ขอกุศลและสิ่งดีงามท�ำให้จังหวัดปราจีนบุรีเป็นดินแดน แห่งความสุข มีความเจริญรุ่งเรืองสืบไป
ผมอยากขอขอบคุ ณ นิ ต ยสาร SBL บันทึกประเทศไทย ที่ช่วยประชาสัมพันธ์ ในมิ ติ ต ่ า งๆ จั ง หวั ด ปราจี น บุ รี ข องเรา ให้เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางต่อไป
(นายพิบูลย์ หัตถกิจโกศล) ผู้ว่าราชการจังหวัดปราจีนบุรี SBL บันทึกประเทศไทย จั งหวั ดปราจี น บุ รี พ.ศ. 2561
.indd 29
PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
29
08/01/62 14:08:58
EXCL USIV E INT E R V IE W
บันทึกเส้นทางพบผู้ว่าราชการจังหวัดปราจีนบุรี
PRACHINBURI
GOVERNOR “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” ผู้ว่าราชการจังหวัดปราจีนบุรี
นายพิบูลย์ หัตถกิจ โกศล
สังคมใด บ้านเมืองใด หากมีผู้น�ำที่ดี ความเจริญรุ่งเรือง ความผาสุกของคน ในสังคมนัน้ บ้านเมืองนัน้ ย่อมเป็นทีป่ ระจักษ์ ซึง่ ความสัมฤทธิผ์ ลดังกล่าวปฏิเสธไม่ได้วา่ เกิดจากการเข้าใจบริบท การเข้าถึงวิถีชีวิตของคนในแต่ละพื้นที่ และพร้อมพัฒนา ด้วยความจริงใจของผู้นำ� นั้นคือ “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” วิธีการแห่งศาสตร์พระราชา เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ที่เราคนไทยคุ้นหู นายพิบูลย์ หัตถกิจโกศล ผู้ว่าราชการจังหวัดปราจีนบุรี หรืออีกนัยหนึ่งคือ ผูน้ ำ� แห่งการพัฒนาของชาวจังหวัดปราจีนบุรี ผูผ้ า่ นประสบการณ์การบริหารและพัฒนา จังหวัดเพชรบูรณ์ เมือ่ ครัง้ ด�ำรงต�ำแหน่งผูว้ า่ ราชการจังหวัดเพชรบูรณ์ บ้านเกิดตัวเอง ให้มีความเจริญก้าวหน้าและประชาชนมีความสุข
30
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
.indd 30
07/01/62 17:15:31
PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 31
31
08/01/62 14:09:27
EXCLUSIVE INTERVIEW
“เมืองอุตสาหกรรมสีเขียว ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ เกษตรปลอดภัย เมืองสมุนไพรต้นแบบ”
“ ร่วมเปิดงาน ภูมิปัญญาท้องถิ่นปราจีนบุรี สัมมาชีพ สร้างรายได้ ให้ชุมชน ”
เส้นทางสู่
“ศักยภาพของจังหวัดปราจีนบุรี”
จั ง หวั ด ปราจี น บุ รี แม้ จ ะเป็ น เพี ย ง จั ง หวั ด เล็ ก ๆ แต่ แ ฝงไปด้ ว ยทรั พ ยากร ทรงคุณค่าทั้งด้านประวัติศาสตร์ ธรรมชาติ สิง่ แวดล้อมทีค่ อ่ นข้างอุดมสมบูรณ์ไม่นอ้ ยหน้า จังหวัดใดในภาคตะวันออกของประเทศไทย ท�ำให้จงั หวัดปราจีนบุรมี ศี กั ยภาพทีโ่ ดดเด่น มากมายหลายด้าน อาทิ เป็นฐานการผลิตทางด้านอุตสาหกรรม ทีส่ ำ� คัญของภาคตะวันออกและของประเทศ โดยมีกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพและ มีขดี ความสามารถในการแข่งขันในตลาดโลก เช่น ชิน้ ส่วนยานยนต์ ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ 32
เป็นแหล่งผลิตสมุนไพรและผลิตภัณฑ์ ด้านสมุนไพรทีม่ ศี กั ยภาพและมีชอื่ เสียงของ ประเทศ เป็นต้นแบบการให้บริการการแพทย์ แผนไทย โดยมีโรงพยาบาลแพทย์แผนไทย อภัยภูเบศร ให้บริการดูแลและรักษาสุขภาพ และมี วิ ท ยาลั ย แพทย์ แ ผนไทยศึ ก ษาวิ จั ย และพัฒนา สมุนไพรเพื่อการรักษา เป็ น แหล่ ง เกษตรกรรมที่ มี ค วาม อุดมสมบูรณ์ และหลากหลาย ไม่วา่ จะเป็น ข้าว พืชไร่ ไม้ผล ไม้ดอก ไม้ประดับ ประมง และปศุ สั ต ว์ โดยมี ผ ลไม้ ท่ี ไ ด้ รั บ การขึ้ น ทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ได้แก่ ทุเรียนปราจีนบุรี แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วทางด้ า นศิ ล ปะ วั ฒ นธรรม ศาสนา สื บ ทอดมาตั้ ง แต่ สมัยทวารวดี มีแหล่งท่องเทีย่ วทางธรรมชาติทโี่ ดดเด่น โดยเฉพาะอุทยานแห่งชาติมรดกโลกถึง 3 แห่ง คือ อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ อุทยานแห่งชาติ ทับลาน และอุทยานแห่งชาติปางสีดา ท� ำ เลที่ ตั้ ง เหมาะสมในด้ า นการ คมนาคมติดต่อกับภาคกลาง ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ ตอนล่างสู่ชายแดนกัมพูชา และ สามารถเชือ่ มโยงกับท่าเรือน�ำ้ ลึกและสนามบิน นานาชาติ (ข้อมูลจากแผนพัฒนาจังหวัด ปราจีนบุรี พ.ศ. 2561-2564 ฉบับทบทวน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562)
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
.indd 32
07/01/62 17:15:33
วิสัยทัศน์จังหวัดปราจีนบุรี ปี 2562
แผนการพัฒนา 1. ยกระดับการพัฒนาภาคอุตสาหกรรม ด้วยนวัตกรรมสู่อุตสาหกรรมสีเขียว 2. พัฒนาการท่องเทีย่ วเชิงนิเวศอย่างยัง่ ยืน 3. เพิ่มศักยภาพในการผลิต การตลาด สินค้าเกษตรที่มีคุณภาพได้มาตรฐานด้วย เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ เหมาะสม 4. พัฒนาและสร้างมูลค่าเพิม่ ผลิตภัณฑ์ สมุนไพรอย่างครบวงจรและยกระดับการ ให้บริการสุขภาพด้าน การแพทย์แผนไทย ตามมาตรฐาน 5. ส่งเสริมการพัฒนาสังคมและการบริหาร จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อย่างมีคุณภาพ มั่นคง และสมดุล (ข้ อ มู ล จากแผนพั ฒ นาจั ง หวั ด ปราจี น บุ รี พ.ศ. 2561 - 2564 ฉบับทบทวนประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562)
“Prachin Buri Smart City” คุณภาพชีวิตดี ไร้อาชญากรรม
จังหวัดปราจีนบุรีมุ่งเน้นการพัฒนา เทคโนโลยีและนวัตกรรม มาพัฒนาจังหวัด สู่เมืองอัจฉริยะ Smart City ตอบสนอง นโยบาย Thailand 4.0 ของรัฐบาล โดย ค�ำนึงถึงคุณภาพสิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม คุณภาพชีวิต เศรษฐกิจและสังคม ซึ่งอาศัย เทคโนโลยีช่วยบริหารจัดการและตรวจสอบ ให้ จั ง หวั ด มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและเหมาะสม ต่อการอยูอ่ าศัย สร้างคุณภาพชีวติ ทีด่ ี ปลอดภัย ไม่มีอาชญากรรม เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ และพัฒนาอยู่เสมอ ซึ่งได้ก�ำหนดแนวทาง การพัฒนาจังหวัดปราจีนบุรสี เู่ มืองอัจฉริยะ รวมถึงร่างยุทธศาสตร์และแผนการพัฒนาเมือง “Prachin Buri Smart City” ภายใต้คณะ ท�ำงานพัฒนาจังหวัดปราจีนบุรี “ปราจีนบุรี 2020”
PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 33
33
07/01/62 17:15:34
EXCLUSIVE INTERVIEW “ Prachin Buri Smart City เป็นเมืองที่เหมาะส�ำหรับ การอยู่อาศัย สร้างคุณภาพชีวิตที่ดี ปลอดภัย ไร้อาชญากรรม เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ และพัฒนาอยู่เสมอ ” มาตรการป้องกันและแก้ ไขปัญหาเส้นทางคมนาคมและโลจิสติกส์
จังหวัดปราจีนบุรีตั้งอยู่บนเส้นทางเชื่อมโยงจากภาคกลางไปสู่ภาคตะวันออกและ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แต่ยงั ขาดระบบเชือ่ มโยงการขนส่งอย่างมีประสิทธิภาพ เนือ่ งจาก โครงข่ายถนน ส่วนใหญ่ยังเป็นถนนช่องทางเดียววิ่งสวนทางกัน ส่งผลให้เกิดทั้งอุบัติเหตุ และความล่าช้า ไม่ทันเวลาท�ำให้ต้นทุนการขนส่งสูง และลดขีดความสามารถการแข่งขันเส้นทางคมนาคมสัญจรเพื่อขนส่งสินค้าเกษตรและการท่องเที่ยว ช�ำรุดเสียหาย
ปรับปรุง ซ่อมแซม พัฒนาเส้นทางขนส่งสินค้าเกษตร - ท่องเที่ยว
พั ฒนาเส้ น ทาง และโครงข่ า ยขนส่ ง สิ น ค้ า ไปยั ง พื้ น ที่ เ ขตอุ ต สาหกรรมและสวน อุตสาหกรรม โดยเฉพาะทางหลวงหมายเลข 3079 หมายเลข 319 และ หมายเลข 33 เพื่อ เพิ่มขีดความสามารถด้านอุตสาหกรรมของพื้นที่ พัฒนา ซ่อมแซม ปรับปรุง เส้นทางคมนาคมสัญจรเพื่อขนส่งสินค้าเกษตรและ การท่องเที่ยว ให้อยู่ในสภาพดีเพื่อให้เกิดความสะดวกและปลอดภัยในการสัญจร พั ฒ นาระบบโครงสร้ า งพื้ น ฐานให้ ไ ด้ ม าตรฐาน เพื่ อ ลดต้ น ทุ น การขนส่ ง ให้ มี ประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ โดยเฉพาะการปรับปรุงและก่อสร้างถนน เพือ่ ให้ประชาชน สามารถ เดินทางหรือขนส่งสินค้าได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว
34
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
.indd 34
07/01/62 17:15:34
“ เมืองอุตสาหกรรมสีเขียว ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ เกษตรปลอดภัย เมืองสมุนไพรต้นแบบ ”
PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 35
35
07/01/62 17:15:37
น�้ำตกเขาอีโต้ อ�ำเภอเมืองปราจีนบุรี 36
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
.indd 36
07/01/62 17:15:38
EXCLUSIVE INTERVIEW
PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 37
37
07/01/62 17:15:39
EXCLUSIVE INTERVIEW แหล่งน�้ำทางการเกษตรและการบริหารจัดการน�้ำ
ปั ญ หาขาดแคลนน�้ ำ ส� ำ หรั บ ใช้ ป ระโยชน์ ท างการเกษตร เนื่องจากขาดแหล่งกักเก็บน�้ำอย่างเพียงพอและฝนไม่ตกต้องตาม ฤดูกาล นอกจากนีก้ ารเพิม่ จ�ำนวนพืน้ ทีก่ ารท�ำนาปรัง จ�ำนวนบ่อปลา - บ่อกุ้งเพิ่มมากขึ้น ในพื้นที่ตอนกลางและตอนท้ายน�้ำ และการ ย้ายเข้ามาของนิคมอุตสาหกรรมในพื้นที่ ต้นน�้ำเพื่อเลี่ยงน�้ำท่วม จากที่ราบลุ่มเจ้าพระยา พร้อมทั้งการขยายตัวของพื้นที่อยู่อาศัย ทัง้ รอบนอกและเขตเมืองส่งผลให้ความตึงตัวของสถานการณ์การใช้ และการจัดการน�้ำทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น รวมทั้งเพิ่มความเสี่ยงอ่อนไหว ต่อการเกิดความขัดแย้งของกลุ่มผู้ใช้น�้ำต่างกลุ่มที่มีความ ต้องการการใช้น�้ำที่แตกต่างกันทั้งปริมาณและช่วงเวลา ในการใช้ น�้ำในช่วงฤดูฝน ทั้งปริมาณฝนที่ตกและน�้ำที่สะสมในลุ่มน�้ำท�ำให้ เกิดน�ำ้ ท่วมในพืน้ ทีล่ มุ่ พืน้ ทีร่ าบริมฝัง่ ส่งผลให้พนื้ ทีก่ ารเกษตรเสียหาย ส่วนในช่วงหน้าแล้งระดับน�้ำในแม่น�้ำลดต�่ำลงมาก ท�ำให้ มีการรุกตัวของน�้ำเค็มจากปากแม่น�้ำซึ่งมีผลกระทบอย่างมากกับ กิจกรรมการผลิตเกษตรในพื้นที่ นอกจากนั้นยังกระทบกับผู้ใช้น�้ำ กลุม่ ต่างๆ ในลุม่ น�ำ ้ ทัง้ กลุม่ เกษตรกรท�ำนาและกลุม่ เกษตรกรเลีย้ งปลา ทั้งในบ่อและเลี้ยงในกระชัง และกลุ่มเกษตรกรท�ำสวน ท�ำไร่ใน พืน้ ทีต่ น้ น�ำ ้ รวมทัง้ กลุม่ ผูใ้ ช้นำ�้ อุปโภคทีใ่ ช้นำ�้ ประปาจากท้องถิน่ และ ประปาของ เขตพื้นที่เมืองด้วย
สร้างแหล่งกักเก็บน�้ำให้พอเพียงและเหมาะสม
ก่อสร้างสถานที่เก็บกักน�้ำให้เพียงพอ กับความต้องการใช้น�้ำ ในปัจจุบันและ แนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นในอนาคต เพื่อใช้เป็นแหล่งน�ำ้ ต้นทุนหลักของลุ่มน�้ำโดยเฉพาะ ในช่วงฤดูแล้ง ขุดลอกล�ำน�้ำสายหลักในช่วงที่ตื้นเขินเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การระบายน�้ำ โดยด�ำเนินการควบคู่ไปกับการสร้างแก้มลิงรับน�้ำ ในช่วงฤดูฝน การก่อสร้างฝาย ประตูระบายน�้ำ เพื่อเก็บกักน�ำ้ ไว้ใช้ ในฤดูแล้ง ส่งเสริมการขุดสระน�้ำประจ�ำไร่นา ขุดบ่อน�้ำตื้น น�้ำบาดาล หรือก่อสร้างถังเก็บน�ำ้ ตามสภาพความเหมาะสมของพืน้ ที่ โดยเฉพาะ พื้นที่นอกเขตชลประทานและห่างไกลแหล่งน�้ำ พัฒนาการเก็บกักน�ำ้ ลงใต้ดนิ โดยร่วมมือกับมหาวิทยาลัยขอนแก่น องค์กรภาคเอกชน และมูลนิธิอุทกพัฒน์จัดการชุมชนอย่างยั่งยืน
38
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
.indd 38
07/01/62 17:15:40
“ราคาสินค้าเกษตรตกต�่ำ” กับการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน
ต้นทุนปัจจัยการผลิตของเกษตรกรมีราคา ทีส่ ูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ ปุ๋ย ยาฆ่าแมลง น�้ำมันเชื้อเพลิง และค่าจ้างแรงงาน ในขณะ ที่รายได้ของครัวเรือนเกษตรกรได้มาจาก การขายผลผลิ ต ทางการเกษตรเป็ น หลั ก ซึ่งมีราคาค่อนข้างต�่ำและไม่แน่นอน ส่งผล ให้รายได้ของเกษตรกรยังไม่เพียงพอต่อ รายจ่ายที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว เกษตรกร ส่วนใหญ่จึงเป็นหนี้สินเพิ่มขึ้น
ส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรรมยั่งยืน
การปรับเปลีย่ นการผลิตด้านการเกษตร โดยใช้ตลาดน�ำการผลิต ลดต้นทุนการผลิต โดยน� ำ เทคโนโลยี ม าใช้ เช่ น Agri-Map เกษตรแปลงใหญ่ เป็นต้น สร้างองค์ความรู้ให้กับเกษตรกร ให้มี ความสามารถในการบริหารจัดการในเชิง ธุ ร กิ จ ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพพึ่ ง ตนเองได้ แ ละ มีความเข้มแข็ง ส่ ง เสริ ม และพั ฒนาสิ น ค้ า เกษตรให้ มี คุณภาพและมาตรฐาน และปรับกระบวน การผลิตทางการเกษตรไปสู่เกษตรอินทรีย์ มากขึน้ และมีวถิ กี ารด�ำเนินชีวติ ตามแนวทาง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อาทิ การปลูกพืช ปลอดสารพิษ การใช้ปยุ๋ อินทรียท์ ดแทนปุย๋ เคมี การปลูกพืชสวนครัวเพือ่ ใช้บริโภคในครัวเรือน และการปลูกพืชให้หลากหลายมากขึ้น
การท่องเที่ยว
สิง่ อ�ำนวยความสะดวกด้านการท่องเทีย่ ว ยังไม่เพียงพอ ไม่ได้มาตรฐาน เช่น เส้นทาง คมนาคม ป้ายบอกทาง และระบบการรักษา ความปลอดภัยในแหล่งท่องเที่ยว ปัญหาการประชาสัมพันธ์ดา้ นการท่องเทีย่ ว ไม่ทั่วถึงและไม่ต่อเนื่อง ขาดการส่งเสริม กิจกรรมการท่องเที่ยวใหม่ๆ ที่น่าสนใจ และเป็นจุดเด่นของจังหวัด
PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 39
39
07/01/62 17:15:40
40
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
.indd 40
07/01/62 17:15:41
EXCLUSIVE INTERVIEW ชิม ช้อป แชะ แล้ว Check in ที่ปราจีนบุรี
จัดท�ำแผนแม่บทพัฒนาการท่องเที่ยวของจังหวัดให้เชื่อมโยงทั้งด้านประวัติศาสตร์ เชิงนิเวศ ธรรมชาติ เชิงสุขภาพ การกีฬา การเกษตร และอื่นๆ ดึงภาคเอกชน ประชาชน และภาคส่วนต่างๆ เข้ามามีส่วนร่วมในการวางแผน การขับเคลื่อนงานในมิติต่างๆ อย่างต่อเนื่องจริงจัง สร้างการรับรู้ประชาสัมพันธ์ความโดดเด่นของการท่องเที่ยวจังหวัดปราจีนบุรีให้แพร่หลายเชื่อมโยงสู่สากล ดึงนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ เข้ามาเที่ยวจับจ่ายใช้สอยในจังหวัดอย่างที่เรียกว่าต้องมา check in ให้ได้ เตรียมความพร้อมตั้งแต่บัดนี้ ในเรื่องพื้นฐานส�ำคัญของการท่องเที่ยว ได้แก่ เรื่องความสะอาด ความสะดวก ความปลอดภัย และ ความมีอัตลักษณ์ของปราจีนบุรี ปลูกฝัง ในจิตส�ำนึกให้แก่เด็กนักเรียนจนถึงกลุ่มคนทุกส่วนให้พร้อมที่จะรองรับการท่องเที่ยวที่เพิ่มมากขึ้น
“มาช่วยกันสร้างเมืองแห่งนี้ให้เป็นเมืองน่าอยู่ เป็นเมืองแห่งความสุข และมีคุณภาพชีวิตที่ดี”
PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 41
41
07/01/62 17:15:41
อ่างเก็บน�้ำจักรพงษ์ อ�ำเภอเมืองปราจีนบุรี 42
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
.indd 42
07/01/62 17:15:43
PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 43
43
07/01/62 17:15:44
EXCLUSIVE INTERVIEW
นายพิบูลย์ หัตถกิจโกศล ผู้ว่าราชการจังหวัดปราจีนบุรี การศึกษา
• ปริญญาตรี รัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ปริญญาโท รัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ผลงานดีเด่น
• พ.ศ. 2545 ข้าราชการพลเรือนดีเด่น ก.พ. (ส่วนกลาง กรมการปกครอง) • พ.ศ. 2551 นายอ�ำเภอประชาชน(แหวนเพชร) ระดับเขตภาคเหนือตอนล่าง
การศึกษาอบรม
• หลักสูตรนายอ�ำเภอรุ่นที่ 47 วิทยาลัยปกครอง • หลักสูตรนักบริหารงานระดับสูง (นบส.) รุ่นที่ 64 ส�ำนักงาน ก.พ. • หลักสูตรนักบริหารงบประมาณระดับสูง (นงส.) รุ่นที่ 1 ส�ำนักงบประมาณ
ประสบการณ์การท�ำงาน
• พ.ศ. 2548 นายอ�ำเภอวังโป่ง จังหวัดเพชรบูรณ์ • พ.ศ. 2550 นายอ�ำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ • พ.ศ. 2552 นายอ�ำเภอวังหิน จังหวัดศรีสะเกษ • พ.ศ. 2554 นายอ�ำเภอด�ำเนินสะดวก (ผู้อำ� นวยการสูง) จังหวัดราชบุรี • พ.ศ. 2554 นายอ�ำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี • พ.ศ. 2555 นายอ�ำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี • 7 มกราคม 2556 ปลัดจังหวัดปทุมธานี • 1 ธันวาคม 2557 รองผู้ว่าราชการจังหวัดปทุมธานี • 1 ตุลาคม 2559 ผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบูรณ์ • 6 กรกฎาคม 2561 - ปัจจุบัน ผู้ว่าราชการจังหวัดปราจีนบุรี
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูง
• ประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม.) • ประถมาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช.) • มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)
44
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
.indd 44
07/01/62 17:15:45
PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 45
45
07/01/62 17:15:46
ยืน”
EXCL USIV E INT E R V IE W
บันทึกเส้นทางพบรองผู้ว่าราชการจังหวัดปราจีนบุรี
ปราจี นบุ รี “เมื อ งอุ ต สาหกรรมสี เ ขี ย ว ท่ องเที่ ยวเชิงนิเวศ เกษตรปลอดภัย เมือ งสมุ น ไพรต้ น แบบ”
นายรณรงค์ นครจินดา รองผู ้ ว ่ า ราชการจัง หวัด ปราจีนบุรี
PRACHIN BURI
VICE GOVERNOR รองผู้ว่าราชการจังหวัดปราจีนบุรี
นายรณรงค์ นครจิน ดา
46
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
PB
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี .
.indd 46
4/1/2562 10:23:28
ภูมิลำ�เนา เดิม อ.เมืองพิษณุโลก จ.พิษณุโลก ปัจจุบัน อ.ลำ�ลูกกา จ.ปทุมธานี
ประวัติการศึกษา
ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต(รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง ปริญญาโท ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต(พัฒนาสังคม) สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (นโยบายสาธารณะ) มหาวิทยาลัยบูรพา
ประวัติการอบรม
• หลักสูตรนายอำ�เภอ รุ่นที่ 46 วิทยาลัยการปกครอง • หลักสูตรนักปกครองระดับสูง รุ่นที่ 52 สถาบันดำ�รงราชานุภาพ
ประวัติการรับราชการ
• จ่าจังหวัดมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม • นายอำ�เภอสบเมย จังหวัดแม่ฮ่องสอน • นายอำ�เภอขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน • ผู้อำ�นวยการโรงเรียนกำ�นัน ผู้ใหญ่บ้าน วิทยาลัยการปกครอง กรมการปกครอง • ผู้อำ�นวยการโรงเรียนสืบสวนสอบสวนพนักงานฝ่ายปกครอง วิทยาลัยการปกครอง กรมการปกครอง • ผู้อำ�นวยการส่วนการทะเบียนราษฎร สำ�นักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง • นายอำ�เภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก • นายอำ�เภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก • นายอำ�เภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี • อธิการวิทยาลัยการปกครอง กรมการปกครอง • รองผู้ว่าราชการจังหวัดน่าน • รองผู้ว่าราชการจังหวัดมุกดาหาร • รองผู้ว่าราชการจังหวัดสระแก้ว • รองผู้ว่าราชการจังหวัดปราจีนบุรี
รางวัลที่ ได้รับ ข้าราชการพลเรือนดีเด่น (ครุฑทองคำ�)
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ • ประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม.) • ประถมาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช.)
PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 47
47
PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย4/1/2562 PB
10:23:29
ยืน”
EXCL USIV E INT E R V IE W บันทึกเส้นทางพบท องถิ่นจังหวัดปราจีนบุรี
PROVINCIAL OFFICE FOR LOCAL ADMINISTRATION
“ท้ อ งถิ่ น เข้ ม แข็ ง ร่ ว มแรงพั ฒ นาประชาเป็ น สุ ข ” ซึ่ ง เป็ น นโยบายของกรมส่ ง เสริ ม การ ปกครองท้ อ งถิ่ น ในการขั บ เคลื่ อ นท้ อ งถิ่ น ต้ อ งมี ค วามเข้ ม แข็ ง ในการบริ ห ารจั ด การทั้ ง ภายในและ ภายนอก วั น นี้ นิ ต ยสาร SBL บั น ทึ ก ประเทศไทย ได้ รั บ เกี ย รติ จ าก นายสาธิ ต อ่ อ นน้ อ ม ท้ อ งถิ่ น จั ง หวั ด ปราจี น บุ รี มาพู ด คุ ย และถ่ า ยทอดแนวทางการขั บ เคลื่ อ นและพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น ในจั ง หวั ด ปราจี น บุ รี ใ ห้ มี ค วามเข้ ม แข็ ง ยั่ ง ยื น และเกิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด กั บ ประชาชนทุ ก คน “องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น จะต้ อ งใช้ ท รั พ ยากรบุ ค คล งบประมาณและกลไกที่ มี อ ยู ่ รวมทั้ ง แสวงหาเครื่ อ งช่ ว ยท� ำ งานขั บ เคลื่ อ นให้ ก ารพั ฒ นานั้ น มี ค วามยั่ ง ยื น สอดคล้ อ งกั บ นโยบายของรั ฐ รวมทั้ ง จะต้ อ งท� ำ ให้ ป ระชาชนมี ค วามกิ น ดี อ ยู ่ ดี และประเทศมั่ น คง มั่ ง คั่ ง อย่ า งยั่ ง ยื น ” 48
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
PB
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี ...
(4
).indd 48
8/1/2562 14:42:32
“สํานักงานส งเสริมการปกครองท องถิ่นจังหวัดปราจีนบุรี” “ท้องถิ่นเข้มแข็ง ร่วมแรงพัฒนาประชาเป็นสุข” ท้องถิ่นจังหวัดปราจีนบุรี
นายสาธิต อ่อนน้อม
PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
...
(4
).indd 49
49
PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย8/1/2562 PB
14:42:35
ยืน”
แนวทางการขับเคลื่อนท้องถิ่นเข้มแข็ง ผ่านโมเดลไทยแลนด์ 4.0 จากนโยบายของกรมส่งเสริมการปกครอง ท้องถิ่นที่ว่า “ท้องถิ่นเข้มแข็ง ร่วมแรงพัฒนา ประชาเป็นสุข” จึงต้องมีด้านการบริหารงาน บุคคล ด้านการเงินการคลังและด้านการบริหาร จัดการตามหลักธรรมาภิบาล การให้บริการ สาธารณะที่ได้มาตรฐาน เป็นที่ยอมรับเชื่อมั่น จากทุกภาคส่วนราชการและองค์กรภาคเอกชน รวมทั้งประชาชนในพื้นที่ เพื่อสร้างความมั่นคง มั่ ง คั่ ง ยั่ ง ยื น ด้ว ยหลักปรัช ญาของเศรษฐกิจ พอเพียง รวมทั้งการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาล ตาม โมเดลการพัฒนาเศรษฐกิจไทย 4.0 ซึ่งท้องถิ่น จะต้ อ งสร้ า งความร่ ว มมื อ กั บ ภาคี เ ครื อ ข่ า ย ทุกภาคส่วน รวมทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาค ประชาสังคม และประชาชนเพื่อพัฒนาท้องถิ่น ทุกมิติ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน ประชาชนได้รับบริการสาธารณะที่มีมาตรฐาน จากองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ อย่างเสมอภาค เท่าเทียม และมีคุณภาพชีวิตที่ดี องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น จะต้ อ งใช้ ทรัพยากรบุคคล งบประมาณและกลไกที่มีอยู่ รวมทั้ ง แสวงหาเครื่ อ งช่ ว ยท� ำ งานขั บ เคลื่ อ น ให้ ก ารพั ฒ นานั้ น มี ค วามยั่ ง ยื น สอดคล้ อ ง กับนโยบายของรัฐรวมทัง้ จะต้องท�ำให้ประชาชน มีความกินดีอยู่ดี และประเทศมั่นคง มั่งคั่ง อย่างยั่งยืน
50
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
...
(4
).indd 50
8/1/2562 14:42:36
การบริหารจัดการขยะ ภารกิจเร่งด่วนของกระทรวงมหาดไทยทีใ่ ห้ ความส�ำคัญกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใน การขับเคลื่อนการบริหารจัดการขยะ โดยใช้ หลักการในการลดปริมาณขยะมูลฝอย คือ 3Rs ใช้น้อย (Reduce) ใช้ซ�้ำ (Reuse) และน�ำกลับ มาใช้ใหม่ (Recycle) ดังนัน้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ต้องรณรงค์ ปลูกจิตส�ำนึกให้ประชาชนรู้จักการคัดแยกขยะ ตั้งแต่ต้นทาง มีการจัดเตรียมถังขยะ แยกสีไว้ให้
พร้อมส�ำหรับการเก็บขนไปทิ้ง ฝังกลบหรือเผา ตามวิธกี ารก�ำจัดทีถ่ กู ต้อง นอกจากจัดเก็บในแต่ละ พืน้ ทีเ่ องแล้ว องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ อาจรวม กลุม่ พืน้ ที่ (Clusters) ในการจัดการขยะมูลฝอย ร่วมกันเพื่ อ ให้ ก ารจั ด การขยะมีความคุ้มค่า และเกิดประโยชน์แก่ประชาชนในท้องถิ่นหรือ อาจร่วมทุนกับเอกชนเพือ่ ด�ำเนินการได้โดยเสนอ โครงการผ่าน ความเห็นชอบของคณะกรรมการ จัดการสิ่งปฏิกูลมูลฝอยจังหวัด
PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
...
(4
).indd 51
51
8/1/2562 14:42:38
TRAVELING IN A PREHISTORIC บันทึกเส้นทางความเป็นมาจังหวัดปราจีนบุรี
52
_
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
.indd 52
8/1/2562 15:48:31
TRAVELING
IN A PREHISTORIC OF PRACHINBURI จั ง หวั ด ปราจีน บุรี หรือ “เมืองปราจีน บุรี” มี หลั ก ฐานการตั้ ง ถิ่ น ฐานของมนุ ษ ย์ ม าตั้ ง แต่ ส มั ย ก่ อ นประวั ติศ าสตร์ โดยในสมั ย สุโขทัย ได้ค้น พบข้า วของเครื่องใช้ โบราณอายุ ก ว่ า 2,500 ปี เช่ น ถ้ วยชามจี น โบราณสมั ย ราชวงศ์ ซ ้อ ง เครื่ องประดับ กลองมโหระทึก โบราณ และหลั ก ฐานทางวั ฒ นธรรมโบราณอี ก มายมาย ที่ เชื่ อ ได้ ว่ าพื้ น ที่ ในเขต จั ง หวั ด ปราจีน บุรีมีผู้คนอาศัยอยู่เ ป็น ชุม ชนสื บ เนื่ อ งเรื่ อ ยมา ขอบคุ ณ ข้ อ มู ล : ส� ำ นั ก งานจั ง หวั ด ปราจี น บุ รี PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
_
.indd 53
53
8/1/2562 15:48:32
54
_
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
.indd 54
8/1/2562 15:48:35
สมัยก่อนประวัติศาสตร์
การตัง้ ถิน่ ฐานของมนุษย์เริม่ แรกในเขต จังหวัดปราจีนบุรี เป็นสังคมทีน่ ำ� เทคโนโลยี มาใช้ในการด�ำรงชีวติ เช่น รูจ้ กั ใช้เครือ่ งมือ เหล็ก รู้จักวิธีกักเก็บน�้ำ ต่อมาในราวพุทธ ศตวรรษที่ 6-10 เริ่มได้รับวัฒนธรรมจาก ภายนอกมากขึ้น โดยเฉพาะวัฒนธรรม ทวารวดี โดยในช่ ว งแรกมี ค วามเจริ ญ รุ่งเรืองและพัฒนาเป็นบ้านเมืองร่วมสมัย ช่ ว งที่ 2 การเมื อ งการปกครองมี ก าร เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม เชื่อว่าเป็นการรับ วัฒนธรรมเขมรโบราณเข้ามาผสมผสาน กับวัฒนธรรมทวารวดีทเี่ คยรุง่ เรืองมาก่อน
สมัยอยุธยา
“เมืองปราจีนบุร”ี ปรากฏชือ่ เป็นครัง้ แรก ในสมัย “ปราจีน” หรือ “ปาจีน” หมาย ถึงทิศตะวันออก “บุรี” หมายถึง “เมือง” “ปราจีนบุร”ี จึงหมายถึง “เมืองตะวันออก” การเขียนชื่อเมืองก็มีแตกต่างกันไปบ้าง เช่น ปราจินบุรี ปราจิณบุรี และปาจีนบุรี ในสมัยอยุธยาปราจีนบุรี ตอนต้นก่อน การปฏิรูปการปกครองในในสมัยสมเด็จ พระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ. 1991-2031) เมืองปราจีนอยูใ่ นฐานะหัวเมืองชัน้ ใน เป็น เมืองเล็กๆ ที่อยู่ใกล้ราชธานี ซึ่งจะส่ง ขุนนางมาปกครองโดยให้ขึ้นตรงต่อเมือง หลวง ซึ่งเรียกว่า “ผู้รั้ง” เมืองปราจีนบุรี หลั ง การปฏิ รู ป ในสมั ย สมเด็ จ พระบรม ไตรโลกนาถ จึ ง เป็ น หั ว เมื อ งจั ต วาที่ ขึ้ น กับราชธานี เนือ่ งจากท�ำเลทีต่ งั้ ของเมืองปราจีนบุรี เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ใกล้กับประเทศกัมพูชา จึงเกิดสงครามระหว่างอาณาจักรกัมพูชา และกรุงศรีอยุธยา เมื่อกรุงศรีอยุธยามีศึก
ติดพันกับพม่าหรือมีความอ่อนแอ กัมพูชา จึงฉวยโอกาสมากวาดต้อนผู้คนตามแนว ชายแดนบริเวณเมืองปราจีน สมเด็จพระ นเรศวรมหาราช จึงทรงยกทัพไปตีกมั พูชา จากกรุงศรีอยุธยามาทางตะวันออก ผ่าน พิ ห านแดง (วิ ห ารแดง) บ้ า นนา เมื อ ง นครนายก ด่านกบแจะ (ประจันตคาม) ด่านหนุมาน (กบินทร์บุรี) ด่านพระปรง (อ.เมืองสระแก้ว) ช่องตะโก ด่านพระจารึก หรือพระจฤต (อรัญประเทศ-ตาพระยา) ต�ำบลท�ำนบ อยูร่ ะหว่างเมืองอรัญประเทศ และเมืองพระตะบอง ต�ำบลเพนียด เมือง ประตะบอง เมืองโพธิสตั ว์และเมืองละแวก เพื่อไปท�ำสงครามกับกัมพูชา
สมัยธนบุรี
สมัยธนบุรี พ.ศ. 2309 ขณะที่กองทัพ พม่ า ล้ อ มกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาอยู ่ นั้ น สมเด็ จ พระเจ้ า ตากสิ น มหาราช เมื่ อ ครั้ ง เป็ น พระยาก� ำ แพงเพชร ทรงเห็ นว่ า กรุ ง ศรี อยุ ธ ยาจะเป็ น อั น ตราย จึ ง รวบรวม ทหารไทย จีน ประมาณ 1,000 คนเศษ พร้อมด้วยอาวุธออกไปตั้งทัพ ณ วัดพิชัย และเคลื่ อ นย้ า ยกองทั พ ออกไปยั ง เมื อ ง จันทบุรี โดยมีเมืองปราจีนบุรีอยู่ในเส้น ทางเดินทัพ
สมัยรัตนโกสินทร์
สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น เมืองปราจีน ยังเป็นเมืองทางผ่านส�ำหรับการเดินทัพ ระหว่ า งไทยกั บ กั ม พู ช า ในรั ช สมั ย ของ พระบาทสมเด็ จ พระนั่ ง เกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว รัชกาลที่ 3 ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตงั้ เมืองขึน้ หลายเมือง เช่น เมืองกบินทร์บรุ ี เมืองอรัญประเทศ เมืองวัฒนานคร เป็นต้น
และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ขดุ คลอง บางขนากขึ้ น ส่งผลให้การติดต่อระหว่าง เมืองปราจีนบุรีและเมืองพระนครสะดวก รวดเร็ว ปลายรั ช สมั ย ของพระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ได้มี พระราชด�ำริในการสร้างป้อมเมืองปราจีน แต่มาลงมือสร้างและแล้วเสร็จในรัชสมัย ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้า อยู่หัว รัชกาลที่ 5 ปราจี น บุ รี เริ่ ม มี ค วามส� ำ คั ญ มาก ขึ้ น ในรั ช สมั ย ของพระบาทสมเด็ จ พระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องจากมีการค้น พบแหล่งทองค�ำที่เมืองกบินทร์บุรี จนมี การท�ำเหมืองทองค�ำ แต่เมื่อมีการปฏิรูป การปกครองเป็นระบบเทศาภิบาล เมือง ปราจีนกลายเป็นที่ว่าการมณฑลปราจีน จึงท�ำให้เมืองปราจีนเป็นศูนย์กลางความ เจริญในภูมิภาคตะวันออก ต่อมาได้ย้ายที่ว่าการมณฑลปราจีน ไปอยูท่ เี่ มืองฉะเชิงเทรา ท�ำให้เมืองปราจีน ถูกลดความส�ำคัญลงไป อีกทัง้ เส้นทางการ คมนาคมก็เปลี่ยนแปลงไป นั่นคือมีการ ตั ด เส้ น ทางรถไฟจากรุ ง เทพฯ ไปเมื อ ง ฉะเชิงเทรา ท�ำให้เศรษฐกิจขายตัว ส่งผล ให้เมืองฉะเชิงเทรากลายเป็นศูนย์กลาง ความเจริญแทนเมืองปราจีนบุรี เมื่อ พ.ศ. 2475 เกิดการเปลี่ยนแปลง การปกครอง จึงมีพระราชบัญญัติว่าด้วย การบริหารแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2476 ให้มตี ำ� แหน่งข้าหลวงประจ�ำจังหวัด แบบผู ้ ว ่ าราชการจั งหวัด คณะกรมการ จั ง หวั ด และสภาจั ง หวั ด ท� ำ ให้ ม ณฑล เทศาภิ บ าลปราจี น บุ รี ถู ก ยกเลิ ก เมื อ ง ปราจีนบุรี จึงมีฐานะเป็นจังหวัดปราจีนบุรี ในปัจจุบัน ขอบคุณข้อมูล : ส�ำนักงานจังหวัดปราจีนบุรี PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
_
.indd 55
55
8/1/2562 15:48:36
TRAVEL GUIDE
บันทึกเส้นทางท่องเที่ยวจังหวัดปราจีนบุรี
อุ ทยานแห่งชาติทับ ลาน ตั้งอยู่ที่ต�ำบล บุ พ ราหมณ์ อ�ำเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี เนื่องจากมีพื้นที่ครอบคลุมหลายอ�ำเภอของ จังหวัดนครราชสีมาและจังหวัดปราจีนบุรี ท�ำให้ อุทยานแห่งชาติทบั ลานเป็นอุทยานแห่งชาติทมี่ ี ขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของประเทศ นอกจากนี้ ยังเป็นแหล่งก�ำเนิดต้นน�ำ้ ล�ำธารส�ำคัญหลายสาย มีปา่ ไม้ทมี่ คี วามอุดมสมบูรณ์ โดยเฉพาะบริเวณ บ้านทับลาน บ้านขุนศรี บ้านบุพราหมณ์และ บ้านวังมืด จังหวัดปราจีนบุรี ซึง่ เป็นแหล่งท่องเทีย่ ว ทีเ่ หมาะแก่การพาครอบครัวไปพักผ่อนในช่วง วันหยุดสุดสัปดาห์ เช่น ชื่นชมความงามของ พระอาทิตย์ยามเย็นที่ “ผาเก็บตะวัน” หรือชืน่ ชม ความงามของน�้ำตกต่างๆ ภายในอุทยานฯ
56
_
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
.indd 56
8/1/2562 15:48:37
Travel guide
PRACHINBURI ท่ อ งแดนประวั ติ ศ าสตร์ ธรรมชาติ ล ะลานตา
ใครจะเชื่อว่าจังหวัดเล็กๆ อย่างปราจีนบุรี จะมีทรัพยากรด้านการท่องเที่ยวหลากหลายรูปแบบ ทั้งสถานที่ท่องเที่ยวประวัติศาสตร์ โบราณสถานโบราณวัตถุ วัฒนธรรมประเพณี และธรรมชาติ ที่จะท�ำให้ผู้มาเยือนได้หลงใหลติดใจในความมหัศจรรย์ของเมืองแห่งนี้
PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
_
.indd 57
57
8/1/2562 15:48:38
58
_
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
.indd 58
8/1/2562 15:48:44
พิพิธภัณฑ์เจ้าพระยาอภัยภูเบศร ถ้าใครได้มาเยือนเมืองปราจีนบุรี หลายท่านมักหาโอกาส แวะเวียนไปเยีย่ มชม “ตึกเจ้าพระยาอภัยภูเบศร” หรือโรงพยาบาล เจ้าพระยาอภัยภูเบศร ที่มีสถาปัตยกรรมโดดเด่นสะดุดตาอยู่บน ถนนปราจีนอนุสรณ์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี อาคารสีเหลืองเด่นตัดขอบด้วยสีขาวให้เห็นถึงเส้นสายของตึก ชวนพิสมัย ซึ่งการสร้างอาคารแบบนี้นิยมกันในหมู่ขุนนางของยุค การล่าอาณานิคมเพื่อแสดงให้เห็นว่าบ้านเมืองเราก็เป็นประเทศ ที่เจริญแล้วอีกประเทศหนึ่ง ความเป็นมาของตึกหลังนี้เริ่มก่อสร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2452 โดย เจ้าพระยาอภัยภูเบศร (ชุ่มอภัยวงศ์) ซึ่งเคยรับราชการปกครอง ดูแลที่ประเทศกัมพูชา นานถึง 12 ปี จนกระทั่งไทยเราเสีย ดินแดนเขมรให้กับฝรั่งเศส เจ้าพระยาอภัยภูเบศรจึงได้อพยพ ครอบครัวและผู้ติดตามกว่า 200 คน เดินทางเกวียนจนมาหยุด อยู่ที่ จังหวัดปราจีนบุรี จึงตัดสินใจตั้งรกรากใหม่ที่เมืองปราจีนบุรี และช่วยพัฒนาด้านการแพทย์ให้กบั ชาวเมืองทีเ่ จ็บป่วยด้วยโรคภัย และเข้าถึงหมอล�ำบาก
ด้วยความจงรักภักดีต่อในหลวงรัชกาลที่ 5 ท่านมีประสงค์จะ สร้างตึกให้โอ่อ่าสมพระเกียรติเพื่อใช้เป็นที่ประทับของพระองค์ ท่านเมื่อยามมาเยือนเมืองปราจีนบุรี แต่สร้างไม่ทันเสร็จก็เสด็จ สวรรคตไปเสียก่อน เมื่อพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ได้เสด็จประพาสเมืองปราจีนบุรี เจ้าพระยาอภัยภูเบศร จึงกราบบังคมทูลขอให้พระองค์ท่านเสด็จประทับพักแรมที่ตึก หลังนี้แทนที่ศาลากลางจังหวัดให้สมพระเกียรติ และก็ได้มีโอกาส ใช้เป็นที่พักของเชื้อพระวงศ์อีกหลายพระองค์ส่วนตัวเจ้าพระยา อภัยภูเบศรเองก็ไม่เคยใช้ตึกนี้เป็นที่พักเลยจนถึงอสัญกรรม เปิดให้เข้าชมทุกวัน ทุกวันเสาร์-อาทิตย์ จะมีกิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้สมุนไพรต่างๆ หมุนเวียน กันไป ให้นักท่องเที่ยวได้มีส่วนร่วมในการทดลองลงมือท�ำ และเรียนรู้อย่างใกล้ชิด
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม โทรศัพท์ 0-3721-3610, 0-3745-2209
PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
_
.indd 59
59
8/1/2562 15:48:46
ต้นศรีมหาโพธิ์ พันปี ว่ากันว่า ต้นโพธิ์ขนาดใหญ่ที่แผ่กิ่งก้าน สาขาให้ความร่มรื่นอยู่ที่ต�ำบลโคกปีบ อ�ำเภอ ศรีมโหสถ จังหวัดปราจีนบุรี ต้นนี้ คือต้น ศรีมหาโพธิ์ต้นแรกของเมืองไทยที่มีอายุกว่า 2,000 ปี ซึ่งน�ำมาจากต้นศรีมหาโพธิ์สถานที่ ทีพ่ ระพุทธเจ้าตรัสรู้ ณ เมืองพุทธคยา ประเทศ อินเดีย โดยมีต�ำนานเล่าว่า พระเจ้าทวานัม ปะยะดิษฐ์ เจ้าผูค้ รองเมืองศรีมโหสถ ผูม้ คี วาม เลื่อมใสศรัทธาในพุทธศาสนาได้ส่งคณะทูต ไปขอกิ่งต้นโพธิ์จากเมืองพุทธคยา เพื่อน�ำมา ปลูกไว้ที่วัดพระศรีมหาโพธิ์ ซึ่งมีอายุยืนยาว มาจนถึงปัจจุบัน 60
_
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
.indd 60
8/1/2562 15:48:47
สวนพันธุ์ ไผ่ สวนพันธุ์ไผ่ ต�ำบลเนินหอม อ�ำเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี เป็นสวนเพื่อการศึกษาและ สวนสาธารณะ ส�ำหรับนักท่องเทีย่ วได้เข้ามาพักผ่อน และชมความงดงามของทิวไผ่ที่ใครๆ เห็นแล้ว ต้องยกกล้องขึ้นมาแชะภาพทิวไผ่และต้นไผ่ ที่มีเสน่ห์น่าหลงใหล นอกจากนี้ยังได้เรียนรู้ เรื่องราวของไผ่มากมายหลากหลายสายพันธุ์ และเลือกซือ้ ไผ่พนั ธุต์ า่ งๆ กลับไปปลูกทีบ่ า้ น เช่น ไผ่หวาน ไผ่ตง ไผ่สที อง หากต้องการพักค้างแรมทีน่ ี่ ก็ มี บ ้ า นพั ก ไว้ บ ริ ก าร ให้ ไ ด้ นั่ ง ชิ ล ล์ จิ บ กาแฟ ชมวิวริมอ่างเก็บน�้ำกันด้วย
PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
_
.indd 61
61
8/1/2562 15:48:49
อ่างเก็บน�้ำจักรพงษ์ อ่างเก็บน�ำ้ ขนาดใหญ่ ในบริเวณเชิงเขาอีโต้ อ�ำเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี เป็นอ่างเก็บที่อยู่ท่ามกลางความเป็นธรรมชาติ นักท่องเที่ยวที่มาพักผ่อน สามารถขับรถ เดิน หรือปัน่ จักรยานไปตามแนวสันเขือ่ นเพือ่ สูดอากาศบริสทุ ธิ์ ในช่วงเช้าได้อย่างเต็มปอด โดยเฉพาะในฤดูหนาวอากาศเย็นสบาย
62
_
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
.indd 62
8/1/2562 15:48:51
โบราณสถานพานหิน โบราณสถานพานหิน สถานที่ท่องเที่ยว เชิ ง ประวั ติ ศ าสตร์ ตั้ ง อยู ่ ที่ ต� ำ บลหนองโพรง อ� ำ เภอศรี ม หาโพธิ จั ง หวั ด ปราจี น บุ รี เป็ น โบราณสถานเก่าแก่ที่สร้างด้วยศิลาแลง โดย เมือ่ ปี พ.ศ. 2451 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้ า อยู ่ หั ว ทรงเสด็ จ ประพาสสถานที่ แ ห่ ง นี้ ทรงสั น นิ ษ ฐานว่ า แท่ ง ศิ ล าแลงทรงกลมบน ตัวอาคารนั้น น่าจะเป็นฐานเทวรูป ต่อมามีการ ขุดพบชิน้ ส่วนประติมากรรม พระกรซ้ายทรงสังข์ ซึง่ น่าจะเป็นพระกรของพระนารายณ์ ซึง่ ตรงกับ ที่รัชกาลที่ 5 สันนิษฐานไว้ และเชื่อว่าสถานที่ แห่ ง นี้ เ คยเป็ น ศาสนสถาน หรื อ เทวสถาน ในศาสนาฮินดู ช่วงพุทธศตวรรษที่ 12-14 มาก่อน เรียกได้ว่าเที่ยวไปก็ได้ความรู้ไปด้วย PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
_
.indd 63
63
8/1/2562 15:48:54
64
_
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
.indd 64
8/1/2562 15:48:55
ล่องแก่งหินเพิง หากคุณมั่นใจและมีหัวใจเต็มร้อยในการผจญภัย เรา จะพาคุณไปล่อง “แก่งหินเพิง” ทีต่ ำ� บลสะพานหิน อ�ำเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี แล้วจะคุณจะพบกับความท้าทาย ความเร้าใจ บนแพยางกลางสายน�้ำเชี่ยว ที่จะท�ำให้ทั้งสนุกและตื่นเต้น ไปพร้ อ มกั น แต่ อ ย่ า งไรก็ ต ามจะไปท่ อ งเที่ ยวที่ ไ หนหรื อ แบบไหนก็ขอให้ยึดความปลอดภัยเอาไว้ก่อนดีที่สุด
PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
_
.indd 65
65
8/1/2562 15:48:56
66
_
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
.indd 66
8/1/2562 15:49:06
พิพิธภัณฑ์ตะเถี ยง “พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ อ ยู ่ สุ ข สุ ว รรณ์ ” หรื อ “พิพิธภัณฑ์ตะเกียง” แหล่งรวบรวมข้าวของ เครื่ อ งใช้ โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง “ตะเกี ย ง” ประเภทต่างๆ มากกว่า 10,000 ดวง ซึ่งเกิด จากเจ้าของพิพธิ ภัณฑ์ เคยเป็นผูร้ บั ซือ้ ของเก่า จ�ำพวกเหล็ก เศษโลหะ และหนึ่งในนั้นก็มี ตะเกียงเจ้าพายุรวมอยู่ด้วย จึงได้เก็บสะสม และรวบรวมเพือ่ จัดแสดงไว้ในพิพธิ ภัณฑ์แห่ง นี้ นอกจากตะเกียงเจ้าพายุ ยังมีการจัดแสดง ข้าวของเครื่องใช้โบราณต่างๆ อีกมากมาย เชิญแวะไปแชะภาพไว้เป็นทีร่ ะลึกแล้วเช็คอินกัน ที่ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ต ะเกี ย งเพี ย งหนึ่ ง เดี ย วของ จังหวัดปราจีนบุรี
PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
_
.indd 67
67
8/1/2562 15:49:08
68
_
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
.indd 68
8/1/2562 15:49:14
ตลาดบ้านโง้ง ตลาดบ้านโง้ง เป็นตลาดชุมชนท้องถิน่ จ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ และเฟอร์นเิ จอร์ไม้ไผ่ของชุมชนชาวโพธิง์ าม อ�ำเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี เช่น ผนังเรือน ซุม้ เรือนไทยมุงหญ้าคา เตียงนอน ชุดรับแขก นอกจากเครื่องเรือนแล้ว ยังมีเครื่องใช้ต่างๆ เช่น ตะแกรง ฝาชี รั้วไม้ กระถางปลูกต้นไม้ ที่ออกแบบ และ สร้างสรรค์อย่างสวยงามจากภูมิปัญญาชาวบ้าน นับเป็น สินค้าพืน้ ถิน่ ทีม่ ชี อื่ เสียงอีกชนิดหนึง่ ของชาวจังหวัดปราจีนบุรี
PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
_
.indd 69
69
8/1/2562 15:49:18
เสริมทักษะ
DIGITAL ข้าราชการ ยุค 4.0
ส�ำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) (สรอ.) หรือ EGA จั ด งานการเปลี่ ย นผ่ า นสู ่ รั ฐ บาลดิ จิ ทั ล เพื่ อ ยกระดั บ ทั ก ษะด้ า นดิ จิ ทั ล ให้กบั ข้าราชการและบุคลากรภาครัฐ ซึง่ สรอ. ได้จดั ตัง้ สถาบันพัฒนาบุคลากร ด้านดิจิทัลภาครัฐ (Thailand Digital Government Academy : TDGA) ตามยุทธศาสตร์การปรับเปลี่ยนภาครัฐเป็นรัฐบาลดิจิทัล โดยมีภารกิจ ในการจั ด ฝึ ก อบรมเพื่ อ สนั บ สนุ น การพั ฒ นาทั ก ษะด้ า นดิ จิ ทั ล ส� ำ หรั บ ข้าราชการและบุคลากรภาครัฐ โดยมีโปรแกรมการเปลี่ยนผ่านบริการ ภาครัฐสู่ยุคดิจิทัล (Digital Transformation Program : DTP) เป็น หนึ่งในหลายหลักสูตรที่ TDGA จัดอบรม ข้าราชการยุคใหม่ ต้องทำ�งานฉับไว เข้าใจเทคโนโลยี พัฒนาคนสู่การพัฒนาชาติ ตามนโยบาย Thailand 4.0 70
AEC
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
.indd 70
07/01/62 17:27:51
PRACHIN BURI วัฒนธรรมจังหวัดปราจีนบุรี
“เป็นองค์กรหลักในการสร้างความภาคภูมิใจในความเป็นไทย ปลูกฝังค่านิยมอันดีงาม บนพื้ นฐานคุณธรรม น�ำสังคมอยู่เย็นเป็นสุข”
พันธกิจ
1. ท�ำ นุ บ�ำรุงศาสนา ศิลปะและ วั ฒ นธรรมของชาติ และสนองงาน ส�ำคัญของสถาบันชาติ ศาสนา และ พระมหากษั ต ริ ย ์ ใ ห้ มี ก ารสื บ ทอด และพัฒนาอย่างยั่งยืน 2. ปลู ก ฝั ง ค่ า นิ ย มและส่ ง เสริ ม วิถีชีวิตที่ดีงาม 3. น�ำมิติทางวัฒนธรรมมาเพิ่ม คุณค่าและมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ และสังคม ส่งเสริมอุตสาหกรรมทาง วัฒนธรรม 4. บริ ห ารจั ด การองค์ ค วามรู ้ และมรดกศิ ล ปวั ฒ นธรรมให้ เ กิ ด ประโยชน์แก่สังคมไทยและสังคมโลก
ยุทธศาสตร์
1. รั ก ษาสื บ ทอดวั ฒ นธรรม ของชาติ แ ละความหลากหลายทาง วั ฒ นธรรมท้ อ งถิ่ น ให้ ค งอยู ่ อ ย่ า ง มั่นคง 2. สร้างค่านิยม จิตส�ำนึก และ ภูมิปัญญาคนไทย 3. น� ำ ทุ น ทางวั ฒ นธรรมของ ประเทศมาสร้ า งคุ ณ ค่ า ทางสั ง คม และเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ 4. การบริหารจัดการองค์ความรู้ ด้านศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม
นางสาวสุริยา สุระเสียง วัฒนธรรมจังหวัดปราจีนบุรี PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
(21
).indd 71
71
9/1/2562 9:38:46
72
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
(21
).indd 72
9/1/2562 9:38:47
เส้นทางท่องเที่ยวทวารวดี และบูรพกษัตริย์ ไทย
พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านไทยพวน ดงกระทงยาม จังหวัดปราจีนบุรี “พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ พื้ น บ้ า นไทยพวน” เป็ น แหล่ ง รวบรวมด้ า นศิ ล ป วัฒนธรรมของไทยพวน และหมู่บ้าน ก่อตั้งโดย ร.ต.ต.วิบูลย์ งามวงศ์ ภายในพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ เ ก็ บ รั ก ษาข้ า วของเครื่ อ งใช้ ข อง ชาวพวนในชุ ม ชนในสมั ย ก่ อ น เช่ น เครื่ อ งมื อ เกษตรกรรม การจับสัตว์น�้ำ และโบราณวัตถุส�ำคัญของชุมชน คือ “พระพุทธรูป สามองค์ ” ที่ เ ล่ า สื บ กั น มาว่ า ได้ อั ญ เชิ ญ มาจากเวี ย งจั น ทน์ พร้อมการอพยพลงมาอยู่ที่ “บ้านดงกระทงยาม” และคัมภีร์ ใบลานจ�ำนวนหนึ่งเป็นเรื่องทางพุทธศาสนาและต�ำรายาโบราณ จารึกด้วยอักษรธรรมที่ใช้กันอยู่ในกลุ่มวัฒนธรรมล้านช้าง PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
(21
).indd 73
73
9/1/2562 9:38:47
74
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
(21
).indd 74
9/1/2562 9:38:47
ความเป็นมา “บ้านดงกระทงยาม” บ้านดงกระทงยาม อยู่ในเขตต�ำบลของอ�ำเภอศรีมหาโพธิ์ จังหวัดปราจีนบุรี ตั้งอยู่บนเนินดินขนาดใหญ่กลางทุ่งโล่ง มีต้นไม้ร่มครึ้มเป็นดง ทิศเหนือเป็น แม่น�้ำปราจีนบุรีและอ�ำเภอศรีมหาโพธิ์หรือท่าประชุม ทิศใต้ราว 10 กิโลเมตร คือพื้นที่ของดงศรีมหาโพธิ์และชุมชนโบราณเมืองมโหสถที่มีอายุเก่าแก่ถึงราว พ.ศ. 1000 ดงกระทงยาม ค� ำ อธิ บ ายจากคนในท้ อ งถิ่ น หมายถึ ง ดงไม้ ที่ อ ยู ่ ก ลางทุ ่ ง เมื่ อ ถึ ง ฤดู น�้ ำ หลากน�้ ำ ท่ ว มเป็ น เวิ้ ง กว้ า ง คล้ า ยกั บ กระทงที่ ล อยอยู ่ ก ลางน�้ ำ ประกอบกับมีเสียงคล้ายฆ้องยามดังมากจากชายดงเป็นประจ�ำ หรืออาจจะมี ความหมายอื่น ซึ่งปัจจุบันเลือนรางไปแล้ว ประชากรส่วนใหญ่ที่บ้านดงกระทงยาม มี เชื้ อสายชาวพวน ซึ่ ง เล่ า กั น ว่ า อพยพมาจากนครเวี ย งจันทน์ ตั้ง แต่ส มัยต้น กรุงรัตนโกสินทร์ ชาวพวนที่หมู่บ้านดงกระทงยามยังมีความสัมพันธ์ทางเครือญาติ ที่ อ ยู ่ อ� ำ เภอพนามสารคาม จั ง หวั ด ฉะเชิ ง เทรา และอ� ำ เภอปากพลี จั ง หวั ด นครนายก นอกจากนี้ยังมีกลุ่มเชื้อสายลาว (เวียงจันทน์) ที่คงเข้ามาตั้งถิ่นฐาน พร้ อ มๆ กั บ ชาวพวน เมื่ อ ราว พ.ศ. 2370 ครั้ ง สงครามระหว่ า งกรุ ง เทพฯ กับเจ้าอนุวงศ์เวียงจันทน์
PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
(21
).indd 75
75
9/1/2562 9:38:48
เหตุการณ์ ในประวัติศาสตร์คราวนั้นท�ำให้มีการเคลื่อนย้าย ผู ้ ค นส่ ว นใหญ่ จ ากลุ ่ ม น�้ ำ โขงลงมาอยู ่ กั น ในลุ ่ ม น�้ ำ เจ้ า พระยา เลยมาถึงซีกตะวันออก ซึ่งได้กลายเป็นบรรพบุรุษของผู้คนแถบ บางปะกงปราจีนบุรีมาจนทุกวันนี้ ประวั ติ ศ าสตร์ ชุ ม ชนของบ้ า นดงกระทงยาม ยั ง เล่ า สื บ กั น มาว่ า สั มพัน ธ์กับ บุค คลในราชส�ำนักคือ “หลวงแม่ เจ้ า ค�ำ ดี ” (พ.ศ. 2384-2462) ซึ่ ง เป็ น ข้ า ราชการฝ่ า ยในเชื้ อ สายพวน ชาวพนมสารคาม ยังมีตระกูลตกทอดอยู่ในหมู่บ้าน ยืนยันว่า ชาวพวนกลุ ่ ม ใหญ่ ที่ เ คลื่ อ นย้ า ยลงมามี บุ ค คลชั้ น สู ง ที่ ไ ด้ เ ข้ า ไป รับใช้อยู่กับพระบรมมหาราชวัง วัดบ้านใหม่ เป็นศูนย์กลางแห่งหนึ่งของชุมชน ตั้งอยู่ริมชาย ดงทางทิศใต้ สร้างมาแล้วเกือบร้อยปี ตามประวัติที่จดบันทึกกันไว้ ตั้ ง แต่ ส มั ย รั ช กาลที่ 5-6 ใน วั ด มี พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ พื้ น บ้ า นไทยพวน ที่ แ สดงถึ ง วิ ถี ชี วิ ต ที่ สั ม พั น ธ์ กั บ สภาพภู มิ ศ าสตร์ ที่ ชุ ม ชนตั้ ง อยู ่ บนเนินดินกลางที่ราบลุ่มมีน้�ำท่วมในฤดูน�้ำหลาก
76
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
(21
).indd 76
9/1/2562 9:38:48
“พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านไทยพวนดงกระทงยาม แสดงถึงวิถีชีวิต ที่สัมพันธ์กับสภาพภูมิศาสตร์ที่ชุมชนตั้งอยู่บนเนินดินกลาง ที่ราบลุ่มมีน�้ำท่วมในฤดูน�้ำหลากได้เป็นอย่างดี”
PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
(21
).indd 77
77
9/1/2562 9:38:49
เมืองโบราณ ดงละคร
จังหวัดนครนายก
78
เมืองดงละคร
เป็ น เมื อ งโบราณสมั ย ทวารวดี ในเขตต� ำ บลดงละคร อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครนายก ตั้งอยู่ห่างจากจังหวัดนครนายก ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ประมาณ 6 กิโลเมตร ลักษณะสัณฐานของเมืองดงละครเป็นเนินดินค่อนข้างกลม พื้นที่ประมาณ 6 ตารางกิโลเมตร สูงกว่าที่ราบทุ่งนาโดยรอบ ประมาณ 3-5 เมตร ทางด้ า นตะวั น ตกเป็ น ที่ ตั้ ง ของเมื อ งเก่ า ดงละครในผังเมืองรูปไข่ วางตัวตามแกนทิศเหนือ-ใต้ ชาวบ้านเรียกว่า “ดงเล็ก” หรือ “สันคูเมือง” แผนผังเมืองมีขนาดกว้างตามแนวแกน ทิศตะวันออก-ตะวันตก ประมาณ 700 เมตร ความยาวตามแนวแกน ทิศเหนือ-ใต้ ประมาณ 850 เมตร มีคูน�้ำอยู่ตรงกลางและ มีคันดิน ขนาบทั้ ง 2 ข้ า งของคู น�้ ำ คั น ดิ น ชั้ น ในสู ง ประมาณ 5-6 เมตร กว้างประมาณ 60 เมตร ส่วนคันดินชั้นนอกสูงจากพื้นที่โดยรอบ ประมาณ 1-2 เมตร โดยมีช่องประตูทางเข้าออก 4 ด้านในแต่ละทิศ นอกประตูแต่ละด้านมีสระน�้ำประจ�ำทิศ และมีขนาดไม่เท่ากัน เมื อ งโบราณดงละคร ได้ รั บ การประกาศขึ้ น ทะเบี ย นให้ เ ป็ น โบราณสถานที่ส�ำคัญของชาติ ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 52 ตอนที่ 35 วันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2475
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
(21
).indd 78
9/1/2562 9:38:51
ภูมิสัณฐาน ที่มา และชื่อเมืองดงละคร เมื อ งดงละครอยู ่ ใ นเขตจั ง หวั ด นครนายก ซึ่ ง ตั้ ง อยู ่ พื้ น ที่ ภาคตะวันออกของประเทศไทยมีพื้นที่ทั้งจังหวัดประมาณ 2,122 ตารางกิ โ ลเมตร โดยมี พื้ น ที่ ติ ด กั บ จั ง หวั ด สระบุ รี แ ละจั ง หวั ด นครราชสีมาทางทิศเหนือ จังหวัดปราจีนบุรีทางทิศตะวันออก จังหวัดฉะเชิงเทราทางทิศใต้ และจังหวัดปทุมธานีทางทิศตะวันตก ลักษณะภูมปิ ระเทศทีเ่ ด่นชัดของจังหวัดนครนายก ประกอบด้วย พื้ น ที่ ภู เ ขาครอบคลุ ม พื้ น ที่ ป ระมาณหนึ่ ง ในสามของพื้ น ที่ ทั้งจังหวัดและวางตัวอยู่ทางตอนเหนือ พื้นที่ราบเป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ ของจังหวัดมีลักษณะราบเรียบแผ่เป็นบริเวณกว้างอยู่ทางตอนใต้ และตะวั น ตกเฉี ย งใต้ และมี แ ม่ น�้ ำ ที่ ส� ำ คั ญ คื อ แม่ น�้ ำ นครนายก ไหลผ่านตัวเมืองนครนายกจนถึงอ�ำเภอองครักษ์ แล้วไหลลงไปทาง ทิศตะวันออกเฉียงใต้ลงสู่แม่น�้ำบางปะกงในเขตอ�ำเภอบ้านสร้าง จังหวัดปราจีนบุรี เรียกว่า “ปากน�้ำโยธกา” รวมความยาวของ แม่นำ�้ นครนายกประมาณ 130 กิโลเมตร นอกจากนีย้ งั มีคลองบ้านนา อยู่ในเขตอ�ำเภอบ้านนา จังหวัดนครนายก ความยาวประมาณ 40 กิโลเมตร และคลองปากพลี ไหลลงผ่านอ�ำเภอปากพลี ลงไป ทางใต้บรรจบกับแม่น�้ำบางปะกงที่บ้านท่ากระเบา อ�ำเภอบ้านสร้าง จังหวัดปราจีนบุรี คลองปากพลีนี้มีความคดโค้งมากและใช้เป็น เส้นเขตแดนระหว่างจังหวัดนครนายกกับจังหวัดปราจีนบุรี
PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
(21
).indd 79
79
9/1/2562 9:38:55
ที่มาและความหมายของชื่อเมือง “ดงละคร” ไม่ใช่เป็นชื่อดั้งเดิมของเมืองโบราณแห่งนี้ แต่เป็น ชื่อตั้งขึ้นจากราษฎรในถิ่นจากค�ำบอกเล่าที่ ได้มีการเข้ามาอยู่ เมื่ อ ราว 100 ปี ม าแล้ ว เมื อ งโบราณแห่ ง นี้ น อกจากจะเรี ย ก ดงละครแล้วยังมีชื่อเรียกว่า เมืองลับแล และสันคู ซึ่งชื่อเหล่านี้ ล้วนปรากฏเป็นต�ำนานเรื่องเล่าของชาวบ้านที่เล่าสืบต่อกันมา จากการประมวลเอกสารทางประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ไม่พบ การบันทึกเป็นหลักฐานอื่นนอกจากการเขียนอธิบายเรื่องเล่า แบบต� ำ นานนี้ นอกจากกล่ า วถึ ง อย่ า งเป็ น ทางการตาม ลายลักษณ์อักษรเก่าที่สุดในพระราชหัตถเลขาพระบาทสมเด็จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว รั ช กาลที่ 5 ซึ่ ง พระราชทาน สมเด็ จ พระบรมโอรสาธิ ร าชสยามมกุ ฎ ราชกุ ม าร เมื่ อ ครั้ ง เสด็จประพาสมณฑลปราจีนบุรี ลงวันที่ 24 ธันวาคม 2451 (รั ต นโกสิ น ทร์ ศ ก 127) ทรงเรี ย กเมื อ งโบราณแห่ ง นี้ ว ่ า “ดงละคร” ซึ่งพระองค์ ได้ตรัสว่า “…พระเจ้าแผ่นดินโบราณซึ่ง ประทับอยู่ที่ดงละคร...แต่ดงละครมีที่ร้างโบราณ สมที่กล่าวไว้” ส่วนชื่อ “บ้านดงละคร” หรือ “เมืองดงละคร” หรือ “สันคู” หรือ “เมืองลับแล” เป็นชื่อที่ผู้คนรุ่นหลังเรียกเมืองโบราณแห่งนี้
การด� ำ เนิ น งานทางโบราณคดี ภ ายใต้ โครงการอนุรักษ์เมืองดงละคร การด� ำ เนิ น งานทางโบราณคดี ร ะหว่ า ง พ.ศ. 2532-2533 แผนการปฏิบัติงานขุดค้นและขุดแต่งเมืองโบราณดงละคร เริ่มขึ้นราวกลางปี พ.ศ. 2532 โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี องค์เอกอัครราชูปถัมภก มรดกวัฒนธรรมไทย ได้รบั สัง่ ให้กรมศิลปากร ศึกษา อนุรกั ษ์ และพัฒนาแหล่งโบราณคดี เมื อ งโบราณดงละครในเขตอ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด นครนายก เพื่ อ ให้ เ ป็ น ประโยชน์ ทั้ ง ในด้ า นวิ ช าการและเศรษฐกิ จ ต่ อ ไป ดังนัน้ โครงการส�ำรวจแหล่งโบราณคดีฝา่ ยวิชาการ กองโบราณคดี กรมศิ ล ปากร จึ ง ได้ ด� ำ เนิ น การส� ำ รวจและขุ ด ค้ น ภายใต้ โครงการอนุ รั ก ษ์ เ มื อ งโบราณดงละครครั้ ง แรกเมื่ อ เดื อ น พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2533 โดย นายอ�ำพัน กิจงาม และนายอาณัติ บ�ำรุงวงศ์ เป็นนักโบราณคดี 80
ผู้ด�ำเนินการขุดค้นทางโบราณคดี การด�ำเนินงานทางโบราณคดี ครั้งนี้ประกอบด้วย การส�ำรวจทางโบราณคดี การขุดแต่งโบราณ สถานหมายเลข 1-2 และ การขุ ด ค้ น ขุ ด ตรวจทางโบราณคดี จ�ำนวน 8 หลุม โดยเป็นหลุมขุดค้นภายในตัวเมือง 4 หลุม และ นอกเมื อ งบริ เ วณที่ ใ กล้ กั บ คู เ มื อ งหรื อ สระน�้ ำ อี ก 4 หลุ ม ใน ระหว่ า งการด� ำ เนิ น งานครั้ ง นี้ ส มเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุมารี ได้ทรงน�ำคณะผู้เข้าร่วมสัมมนาทางวิชาการ เ รื่ อ ง ภ า ษ า กั บ ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร ์ แ ล ะ ค ว า ม เ ค ลื่ อ น ไ ห ว ใ น วิชาประวัติศาสตร์ ไทย จ�ำนวนประมาณ 400 คน ไปทัศนศึกษา ที่เมืองโบราณดงละครด้วย
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
(21
).indd 80
9/1/2562 9:38:58
โบราณสถานหมายเลข 1 เมืองดงละคร จังหวัดนครนายก อยู่ในเขตชั้นนอกเมืองดงละคร ห่างจากประตูเมืองชั้นใน ด้ า นทิ ศ เหนื อ ประมาณ 250 เมตร บริ เ วณที่ ดิ น ธรณี ส งฆ์ วัดสุวรรณศิริ (วัดหนองหมู) เป็ น โบราณสถานซึ่ ง มี แ ผนผั ง เป็ น รู ป สี่ เ หลี่ ย มผื น ผ้ า กว้าง 32 เมตร รูปแบบคล้ายก�ำแพงแก้วเตี้ยๆ ก่อด้วยอิฐมี ทางเข้าอยู่ทางทิศใต้ ภายในแท่นตั้งรูปเคารพเหลืออยู่เพียง 2 แท่น (เดิมคงมี 3 แท่น) หลักฐานที่พบจากการขุดแต่งเมื่อ พ.ศ. 2531-2532 และการบูรณะเมื่อ พ.ศ. 2536 มีสิ่งส�ำคัญ ดังต่อไปนี้คือ 1. เศียรพระพุทธรูปกาไหล่ทองสมัยทวารวดี 2. แผ่นทองค�ำเปลวขนาดเล็ก เมล็ดข้าวสารด�ำ 3. ร่องรอยเตาหลอมโลหะขนาดเล็ก 4. ชิ้นส่วนภาชนะแบบหม้อมีสันสมัยทวารวดี 5. คันฉ่องส�ำริดอายุราวพุทธศตวรรษที่ 18 สั น นิ ษ ฐานว่ า โบราณสถานแห่ ง นี้ เ ป็ น พุ ท ธสถาน สร้ า งขึ้ น ก่อนพุทธศตวรรษที่ 18 เพื่อใช้เป็นที่ประกอบศาสนกิจของ ชาวเมืองดงละครสมัยโบราณ
PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
(21
).indd 81
81
9/1/2562 9:39:03
โบราณสถานหมายเลข 2 เมื อ งดงละคร จังหวัดนครนายก อยู่ในเขตชั้นนอกเมืองดงละคร ห่างจากประตูเมืองชั้นในด้าน ทิศเหนือเป็นระยะทางประมาณ 250 เมตร เป็ น แนวกรอบศิ ล าแลงรู ป สี่ เ หลี่ ย มขนาดกว้ า ง 1.7 เมตร ยาว 4 เมตร ตรงกลางขุดพบสถูปศิลาแลง รูปทรงกระบอกใหญ่ ซ้อนกัน 2 ชั้น โบราณวัตถุช้ินส�ำคัญซึ่งพบจากการขุดแต่งเมื่อ พ.ศ.2532 มีดังนี้ คือ 1. พระพุทธรูป และแม่พิมพ์ท�ำด้วยดินเผา ศิลปะแบบทวารวดี 2. เครื่องประดับ เช่น แหวน ก�ำไล ตุ้มหู ท�ำด้วยส�ำริด แหวน ท� ำ ด้ ว ยหิ น ต่ า งๆ ลู ก ปั ด แก้ ว ลู ก ปั ด หิ น ประมาณ 2,000 เม็ ด หินมีลายสลัก( อาจเป็นตราประทับ ) รูปปูและช้าง สั น นิ ษ ฐานว่ า โบราณสถานแห่ ง นี้ อ าจเป็ น สถู ป ที่ ใ ช้ บ รรจุ กระดูกของบุคคลส�ำคัญของเมืองนี้ในสมัยทวารวดีหรืออาจเป็น สถูปที่ใช้ ในการวางศิลาฤกษ์ เนื่องจากมีการพบของมีค่า เช่น แหวน ก� ำ ไล ตุ ้ ม หู และอื่ น ๆ ส่ ว นลู ก ปั ด ก็ พ บเป็ น จ� ำ นวนมาก ฝังปะปนอยู่กับดินถมคล้ายกับการฝังลูกนิมิตในปัจจุบัน
สถูปศิลาแลง ฝังอยู่ในโบราณสถานหมายเลข 2 เมืองดงละคร จ.นครนายก
82
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
(21
).indd 82
9/1/2562 9:39:06
สระน�้ำประจ�ำประตูเมืองทิศเหนือ
ลักษณะเป็นสระน�้ำรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาดกว้างประมาณ 18 เมตร ยาวประมาณ 30 เมตร ลึ ก ประมาณ 5 เมตร จาก ขอบสระ ขอบสระเป็นศิลาแลง ที่มีร่องรอยของการตัดออกเป็น ก้อนสี่เหลี่ยม สันนิษฐานว่าน่าจะเป็นแหล่งตัดศิลาแลงเพื่อน�ำไป ก่อสร้างโบราณสถานต่างๆ ในเมืองดงละคร หลั ง จากการตั ด ศิ ล าแลงจึ ง ท� ำ การปรั บ สร้ า งเป็ น สระน�้ ำ แห่ ง นี้ ขึ้ น มา วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ จั ด การกั บ น�้ ำ ที่ เ ป็ น ปั จ จั ย ส� ำ คั ญ ในการด� ำ รงชี วิ ต ของชาวดงละคร ลั ก ษณะการก่ อ สร้ า งเป็ น การขุดลึกลงไปให้เท่าหรือลึกกว่าระดับน�้ำใต้ดินเพื่อการกักเก็บ และใช้ประโยชน์จากน�้ำใต้ดิน ร่วมกับการกักเก็บจากน�้ำฝนที่ตก ตามฤดูกาล สันนิษฐานได้ว่า สระน�้ำประจ�ำประตูเมืองนั้นน่าจะขุด ขึ้นเพื่อการกักเก็บน�้ำอีกส่วนหนึ่ง โดยดึงน�้ำจากระดับน�้ำใต้ดินที่ จะมีการไหลเวียนอยู่ในคูเมือง เนื่องจากระดับความลึกของสระน�้ำ เป็นการขุดลึกลงไปใกล้เคียงกับระดับของคูเมือง หรืออาจลึกกว่า
PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
(21
).indd 83
83
9/1/2562 9:39:11
เมืองดงละคร เคยเป็นเมืองท่าที่ส�ำคัญใน สมัยโบราณช่วงพุทธศตวรรษที่ 13-18 โดยเป็นเมืองทางผ่านในการติดต่อค้าขาย ระหว่างจีน อินเดีย และเปอร์เซีย ซึ่งมีการ ซื้อขายสินค้าแลกเปลี่ยนวัตถุดิบกัน ในส่วนของตัวเมืองดงละครเอง 84
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
(21
).indd 84
9/1/2562 9:39:13
TRAVEL GUIDE
เที่ยวชม...ปราสาท สด๊กก๊อกธม PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
(21
).indd 85
85
9/1/2562 9:39:16
“ปราสาทสด๊กก๊อกธม” จังหวัดสระแก้ว ปราสาทสด๊กก๊อกธม ไม่ทราบว่าใครเป็นผู้ค้นพบเป็นคนแรก แต่ ในปี พ.ศ. 2444 มีชาวต่างชาติชื่อ นายเอเตียน เอโมนิเยร์ (Etienne Aymonier) ได้น�ำมาเผยแพร่ ให้เป็นที่รู้จักกันเป็ น ครั้ ง แรก ในปี พ.ศ. 2454 และอี ก สิ บ ปี ต ่ อ มา นายลู เ นต์ ลายองกิ แ ยร์ (Lunet de Lajonquiere) ได้ ท� ำ แผนที่ ต�ำแหน่งที่ต้ังของโบราณสถานวัฒนธรรมขอม ต่อมาในปี พ.ศ. 2463 ร.ต.อ.หลวงชาญนิคม ส�ำรวจพบ โดยบั น ทึ ก ว่ า เป็ น “ปราสาทเมื อ งพร้ า ว” ซึ่ ง ตอนนั้ น คงมี ต้ น มะพร้ า วจ� ำ นวนมาก ภายหลั ง เปลี่ ย นชื่ อ เป็ น “ปราสาท สด๊กก๊อกธม” ซึ่งบริเวณนั้นคงจะอุดมสมบูรณ์ ไปด้วยต้นกก ค�ำว่า “สด๊ก” มาจาก “สด๊อก” เป็นภาษาเขมร แปลว่า “รกทึบ” ค� ำ ว่ า “ก๊ อ ก” แปลว่ า “ต้ น กก” และ ”ธม” แปลว่ า “ใหญ่ ” แปลรวมความว่า “ปราสาทที่รกไปด้วยต้นกกใหญ่” ปราสาทสด๊กก๊อกธม เป็นสถาปัตยกรรมเขมร ประกอบ ด้วยอาคารที่ส�ำคัญคือ ปราสาทประธาน บรรณาลัย 2 หลัง ล้ อ มรอบด้ ว ยระเบี ย งคดและก� ำ แพงแก้ ว อาคารทั้ ง หมด ก่อด้วยหินทรายและศิลาแลง ที่เห็นเด่นชัดคือ ศิลาแลง จะใช้เป็น ส่วนฐาน ก�ำแพงแก้ว และพื้นเป็นหลัก ซึ่งเป็นของดั้งเดิมเป็น ส่วนมาก ส่วนบรรณลัย ปราสาทประธานในสภาพปัจจุบันสร้าง จากหินทรายเป็นหลัก มีการตกแต่งพื้นผิวด้วยการแกะสลัก ภาพลงบนแผ่นหิน อันเป็นเรื่องราวของศาสนาพราหมณ์ฮินดู และภาพต้ น ไม้ น านาพรรณประดั บ อยู ่ ใ นส่ ว นส� ำ คั ญ ๆ ของ ปราสาท ที่ส�ำคัญคือ “นารายณ์บรรมสินธุ์” ที่ซุ้มประตูรอง ทางทิศเหนือด้านใน โคปุระชั้นในทิศตะวันออก เป็นพระกฤษณะ ปราบม้าเกศี และที่ปราสาทประธานเป็นภาพ ศิวะคชาสูร และ กวนเกษียรสมุทร ซึ่งเทียบเคียงได้กับศิลปกรรมเขมรโบราณ แบบคลังผสมบาปวน ก�ำหนดอายุได้ในช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ 16
86
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
(21
).indd 86
9/1/2562 9:39:18
PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
(21
).indd 87
87
9/1/2562 9:39:19
88
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
(21
).indd 88
9/1/2562 9:39:21
จารึกสด๊กก๊อกธม 1 จารึ ก สด๊ ก ก๊ อ กธมถู ก น� ำ มามอบให้ ห อสมุ ด แห่ ง ชาติ เมื่ อ วั น ที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ.2511 โดยเจ้ า หน้ า ที่ ก อง โบราณคดี กรมศิ ล ปากร ซึ่ ง พบที่ บ ้ า นสระแจง ต� ำ บลโคกสู ง อ�ำเภอโคกสูง (อรัญประเทศ) จังหวัดสระแก้ว ปัจจุบันจัดเก็บไว้ที่ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร กรุงเทพมหานคร จารึกสด๊กก๊อกธม หลักที่ 1 มีเพียงสองด้าน จารึกด้วยอักษรขอม ทั้งหมด 30 บรรทัด ไม่ปรากฏหลักฐานว่าใครสร้าง แต่มีเนื้อหา ใจความส�ำคัญบอกกล่าว คล้ายเป็นค�ำสั่งของพระมหากษัตริย์ ให้บุคคลต่างๆ ปฏิบัติหน้าที่ โดยมีรายละเอียดดังนี้ “โอม 859 ศก แรม 14 ค�่ำ เดือน 8 ด้วย เสตญอาจารย์ โขลญ สันดับ และ เสตญอาจารย์ โขลญพนม พระกัมรเตงอัญปรเมศวร น้อมเศียร” นี่คือ 4 บรรทัดแรก และนี่เป็นค�ำแปลแล้วนะ เข้าใจว่า ในมหาศักราช 859 (พ.ศ.1480) ตรงกับแรม 14 ค�่ำเดือน 8 ด้วย อาจารย์ โ ขลญสั น ดั บ และเสตญอาจารย์ โ ขลญพนม ซึ่ ง เป็ น ผู ้ ดู แ ลพระเทวรู ป และบรรทั ด ถั ด ๆ ไปในหน้ า ที่ 1 นี้ ก็ บ อกว่ า “ขอให้ พ ระบุ ณ ย์ ม รเตญ มั ท วยมศิ ว ะ ที่ ไ ด้ รั บ แต่ ง ตั้ ง พร้ อ มกั บ วาบบรพรหม และแม่ บ สผู ้ เ ป็ น พี่ ให้ ร ่ ว มกั น ดู แ ลพระกั ม รเตง อั ญ ปรเมศวร (พระเทวรูป) พร้อ มกับ ถวายข้ า วสาร 3 ถะลวง น�้ ำ มั น 3 มาส เป็ น เวลาหนึ่ ง ปี มี พ ระราชด� ำ รั ส ถึ ง ก� ำ เสตญ อั ญ ศรี วี เ รนทรวรมั น ให้ เ จ้ า หน้ า ที่ ม าปั ก หลั ก ศิ ล าจารึ ก ไว้ ใ น เมืองนี้ ไม่ควรที่เจ้าหน้าที่ผู้ดูแลน�้ำมันจะริบเอาน�้ำมันเป็นของตัวเอง ไม่ควรที่เจ้าหน้าที่ผู้ดูแลข้าวสารริบเอาข้าวสารไปเป็นของตัวเอง และไม่ ค วรที่ เ จ้ า หน้ า ที่ ผู้ ดู แ ลข้ า พระ ใช้ ข ้ า พระไปในการอื่ น ให้ขา้ พระดูแลเฉพาะพระเทวรูปและพระศิวลึงค์เท่านัน้ ” และต่อจากนัน้ ในหน้าที่ 2 เป็นรายชื่อข้าพระที่ดูแลพระเทวรูปและศิวลึงค์ ศิลาจารึกสด๊กก๊อกธม หลักที่ 1 สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ.1480 ซึ่ ง ในขณะที่ ท� ำ การบั น ทึ ก ในศิ ล าจารึ ก ได้ มี ก ารสร้ า งปราสาท สด๊กก๊อกธมขึ้นแล้ว เพราะค�ำสั่งหรือพระราชโองการในศิลาจารึก ได้สั่งถึงผู้ดูแลพระเทวรูปและดูแลพระศิวลึงค์ และให้น�ำศิลาจารึก มาปักไว้ที่เมืองนี้ซึ่งไม่รู้ชื่อเมือง การพบศิลาจารึกไม่ได้พบที่ตัวปราสาทสด๊กก๊อกธมโดยตรง แต่พบในบริเวณที่ใกล้เคียง คือ เขต “บ้านสระแจง” ต�ำบลโคกสูง อ�ำเภอโคกสูง ซึ่งบริเวณใกล้เคียงพื้นที่นี้ ไม่มีปราสาทองค์อื่นเลย แต่ปัจจุบันบ้านสระแจง ไม่มีอยู่ในต�ำบลโคกสูง แต่กลับมีชื่อบ้าน สระแจงที่อ�ำเภอตาพระยา ซึ่งมีปราสาทอยู่ด้วย อย่างไรก็ตามเราเชื่อตามบันทึกในอดีตของกรมศิลปากรว่า พบหลักศิลาจารึกที่ บ้านสระแจง ต�ำบลบ้านโคกสูงจริง เพราะมี การตั้งชื่อศิลาจารึกตามชื่อของปราสาท การปักศิลาจารึกหลักนี้ อาจไม่ได้ปักที่ตัวปราสาทเทวสถาน แต่อาจปักในเขตบ้านหรือ เมืองก็เป็นได้ เพราะมันคือค�ำสั่ง ซึ่งข้อความในหลักศิลาจารึกได้ กล่าวถึงเทวสถาน จึงเป็นที่อื่นไปไม่ได้นอกจากที่นี่
“ศิลาจารึกสด๊กก๊อกธม หลักที่ 1 น่าจะเป็นค�ำสั่ง หรือพระราชโองการถึง ผู้ดูแลพระเทวรูปและดูแลพระศิวลึงค์” PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
(21
).indd 89
89
9/1/2562 9:39:23
จารึกสด๊กก๊อกธม 2 จารึ ก สด๊ ก ก๊ อ กธม 2 ถู ก ค้ น พบที่ “ปราสาทเมื อ งพร้ า ว” ชื่อเดิมของสด๊กก๊อกธม โดยเจ้าอาวาสวัดโคกสูง ต�ำบลโคกสูง อ� ำ เภอโคกสู ง จั ง หวั ด สระแก้ ว ในปี พ.ศ. 2463 ซึ่ ง สมั ย นั้ น ยังเป็นอ�ำเภออรัญประเทศ จังหวัดปราจีนบุรีอยู่ เป็นศิลาจารึก บนหิ น ชนวน จารึ ก ด้ ว ยภาษาขอมโบราณ มี ทั้ ง หมด 4 ด้ า น รวม 340 บรรทั ด ปั จ จุ บั น ศิ ล าจารึ ก หลั ก นี้ ไ ด้ เ ก็ บ รั ก ษาไว้ ที่ หอพระสมุดวชิรญาณ กองหอสมุดแห่งชาติ กรุงเทพมหานคร โดยมี เ นื้อ สรุปได้ดังนี้ ด้า นที่ 1 กล่า วบูชานมั ส การพระศิ ว ะ พระพรหม พระนารายณ์ ตามด้ ว ยการกล่ า วสรรเสริ ญ พระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2 ว่ารูปงามเหมือนกามเทพ มีปัญญาดุจ พระพรหม และทรงปกครองแผ่ น ดิ น ด้ ว ยความยุ ติ ธ รรม จากนั้นได้กล่าวถึงการแต่งตั้งพราหมณ์ศิวไกวัลย์ ซึ่งเป็นลูกศิษย์ ของพราหมณ์หิรัณยทามะ ผู้เชี่ยวชาญในด้านไสยศาสตร์ และ เป็นผู้สร้างพิธีกรรมแห่งอาถรรพ์ต่างๆ ขึ้น เรียกว่า “เทวราชา” ให้ เ ป็ น ผู ้ ป ระกอบพิ ธี ก รรมแห่ ง จารี ต ประเพณี ใ นสมั ย ของ พระเจ้ า ชั ย วรมั น เพื่ อ น� ำ ความเจริ ญ รุ ่ ง เรื อ งมาสู ่ โ ลกมนุ ษ ย์ และพราหมณ์ศิวไกวัลย์ ก็เป็นต้นตระกูลของพราหมณ์ที่รับใช้ กษัตริย์ต่างๆในสมัยต่อมา
ด้านที่ 2 เป็นการล�ำดับความสัมพันธ์ และผลงานของผู้ที่อยู่ ในสายตระกูล ที่มีหน้าที่ประกอบพิธีกรรมในราชส�ำนักกัมพูชา เริ่มตั้งแต่พราหมณ์ศิวไกวัลย์เรื่อยมาจนถึงชเยนทรวรมัน หรือ สทาศิวะ ด้ า นที่ 3 กล่ า วสรรเสริ ญ พระเจ้ า อุ ทั ย ทิ ต ยวรมั น ที่ 2 และ แจกแจงรายการสิ่ ง ของจ� ำ นวนมาก ที่ พ ระองค์ ท รงถวายแด่ เทวสถาน ณ เมืองภัทรนิเกตนะ จากนั้นกล่าวถึงการบริจาคที่ดิน ของพระราชครูชเยนทรวรมัน ตามด้วยการล�ำดับสายสกุลโดย เริ่มตั้งแต่พราหมณ์ศิวไกวัลย์ ซึ่งรับใช้ราชส�ำนักในรัชสมัยของ พระเจ้าชัยวรมันที่ 2 และตามด้วยผลงานของผู้ประกอบพิธีกรรม ในราชส�ำนักของแต่ละรัชกาล ด้านที่ 4 เป็นการล�ำดับสายสกุล และผลงานของผู้ประกอบ พิธีกรรมในราชส�ำนัก ของแต่ละรัชกาลต่อจากจารึกด้านที่ 3 90
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
(21
).indd 90
9/1/2562 9:39:27
สด๊กก๊อกธมบูรณะใหม่ ”ศิลาจารึกสด๊กก๊อกธม 2 เป็นการสรรเสริญคุณงามความดี ของพระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2 และพราหมณ์ชเยนทรวรมัน”
จากจารึ ก สด๊ ก ก๊ อ กธม 2 ไม่ อ าจยื น ยั น ว่ า ได้ ว ่ า ใครสร้ า ง สด๊กก๊อกธม และสร้างขึ้นเมื่อใด เทวสถานที่กล่าวถึงใช่สด๊กก๊อกธม หรือไม่ เพราะมีการกล่าวถึงหลายแห่ง แต่พอสรุปได้ว่าปราสาท สด๊ ก ก๊ อ กธมสร้ า งก่ อ นปี พ.ศ.1480 หลั ก ฐานจากศิ ล าจารึ ก สด๊กก๊อกธมหลักที่ 1 ต่อมามีการเสื่อมสลายและถูกท�ำลายลง อาจก่ อ นหรื อ ในระหว่ า งยุ ค พระเจ้ า สุ ริ ย วรมั น ที่ 1 และต่ อ มา ในสมัยพระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2 พราหมณ์ชเยนทรวรมันได้ สร้างและปฏิสังขรณ์ขึ้นมาใหม่ซึ่งคงอยู่ในห้วงเวลามหาศักราช 974 หรือ พ.ศ. 1595 พร้อมๆกันกับการสถาปนาศิวลึงค์ ใหม่ ที่หมู่บ้านภัทรนิเกตะ
PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
(21
).indd 91
91
9/1/2562 9:39:30
EXCL USIV E INT E R V IE W
บันทึกเส้นทางพบผู้ว่าราชการจังหวัดพิษณุโลก
EXCL USIV E INT E R V IE W
PRACHINBURI THINKING
“คนรุ่นใหม่ ใส่ใจกีฬา พัฒนาเศรษฐกิจ และการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืน”
นายภาณุพันธ์ น้าวิลัยเจริญ
92
2
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
PB SBL บันทึกประเทศไทย .indd 92
I รา
3/1/2562 14:22:59
PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 93
93
3/1/2562 14:23:02
สนุกครบในทริปเดียว
เที่ยวปราจีนบุรี
“ศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช” ตัง้ อยูบ่ ริเวณ สีแ่ ยกเนินหอม อยู่ห่างจากตัวเมืองปราจีนบุรีไปทางทิศเหนือ ตามเส้นทางหลวง หมายเลข 320 ประมาณ 9 กิโลเมตร จากประวัติศาสตร์เมื่อครั้ง สมเด็จพระนเรศวร ยกทัพตีเมืองละแวก จังหวัดปราจีนบุรี ได้สร้างศาล ขึน้ เพือ่ ให้ประชาชนท้องถิน่ และจังหวัดใกล้เคียงมาสักการบูชาเพือ่ เป็นสิริมงคล และเพื่อเป็นที่ระลึกถึงสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เมื่อเข้าไปภายในจะพบศาล 3 ศาล คือ ศาลหลักตรงกลาง ประดิษฐานพระบรมรูปสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ประทับยืน ส่วนอีก 2 ศาลซ้ายขวา ประดิษฐานพระบรมรูปสมเด็จพระนเรศวร มหาราช ขณะทรงหลั่ ง น�้ ำ ลงสู ่ แ ผ่ น ดิ น ด้ ว ยสุ ว รรณภิ ง คาร (พระน�้ำเต้าทองค�ำ) ประกาศอิสรภาพจากพม่า นอกจากนีย้ งั พบกับรูปปัน้ ไก่จำ� นวนมาก เป็นทีท่ ราบกันว่า ถ้า จะขอโชค ขอลาภจากองค์สมเด็จพระนเรศวรฯ จะต้องแก้บนด้วยไก่ เนื่องจากเป็นสัตว์เลี้ยงที่พระองค์ทรงโปรดเมื่อครั้งทรงพระเยาว์ 94
(
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
) 12
.indd 94
9/1/2562 9:43:00
PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
(
) 12
.indd 95
95
9/1/2562 9:43:01
96
(
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
) 12
.indd 96
9/1/2562 9:43:08
ศาลหลักเมืองปราจีนบุรี “ศาลหลักเมืองปราจีนบุร”ี เคยสร้างมาแล้วครัง้ หนึง่ เมือ่ ปี พ.ศ. 2410 โดยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กรมหมื่นบวรวิเศษไชยชาญ เสด็จมาก่อสร้างป้อมและก�ำแพงเมือง ปราจีนบุรี ซึง่ แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2415 ในปีเดียวกันนี้ พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระยา ภูธราภัย สมุหนายกว่าการมหาดไทย ก่อสร้างศาลและฝังเสาหลักเมืองขึน้ ณ บริเวณฝัง่ ทิศเหนือของแม่นำ�้ ปราจีนบุรี ใกล้กบั อาคารกองก�ำกับการ ต� ำ รวจภู ธ รจั ง หวั ด ปราจี น บุ รี (หลั ง เก่ า ) ท� ำ ให้ ศ าลหลั ก เมื อ งเป็ น ปูชนียสถานที่ส�ำคัญ และเป็นที่เคารพสักการะของประชาชนจังหวัด ปราจีนบุรีตั้งแต่บัดนั้น เป็นต้นมา ต่อมา ในปี พ.ศ. 2514 พลต�ำรวจตรีศรีศกั ดิ์ ธรรมรักษ์ ผูว้ า่ ราชการ จังหวัดปราจีนบุรีในขณะนั้น ได้ก่อสร้างศาลพระหลักหลังใหม่ขึ้น เพื่อให้เป็นปูชนียสถานของจังหวัดปราจีนบุรีสืบต่อไป PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
(
) 12
.indd 97
97
9/1/2562 9:43:12
พระพุทธทวารวดีศรีปราจีน สิรินธรโลกนาถ พระนาคปรก เก่าแก่ที่สุดแห่งแผ่นดินสยาม “พระพุทธทวารวดีศรีปราจีน สิรินธรโลกนาถ” พระปางนาคปรกเป็นพระประจ�ำท้องถิ่นเมืองปราจีนบุรี ซึ่งมีลักษณะงานศิลป์เป็นเอกลักษณ์ เฉพาะตัว เป็นสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิป์ ระจ�ำเมืองและเป็นศูนย์รวมจิตใจ ตัง้ อยูบ่ ริเวณพุทธวนอุทยานโลกเขาอีโต้ ต�ำบลเนินหอม อ�ำเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี ถอดแบบมาจากองค์พระพุทธรูปสมัยทวารวดี เป็นพระนาคปรกองค์ใหญ่ขนาดหน้าตัก 14.9 เมตร สูงกว่า 34 เมตร สร้างเพื่อเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 60 พรรษา วันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2558 98
(
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
) 12
.indd 98
9/1/2562 9:43:14
น�้ำตกเขาอีโต้
น�้ำตกเขาอีโต้ ตั้งอยู่ในวนอุทยานน�ำ้ ตกเขาอีโต้ เป็นธารน�้ำที่ไหลตลอดทั้งปี มีนำ�้ มากเฉพาะในช่วงฤดูฝน มีแอ่งน�ำ้ เล็กๆ อยู่เป็นชั้นๆ ทุกชั้น สลับกับแนวโขดหิน แต่ละแอ่งน�้ำไม่ลึกและไหลไม่แรงมากนัก แม้จะเป็นธารน�้ำตกขนาดไม่ใหญ่มาก แต่มีจุดเด่นตรงที่สามารถเข้าไปนั่งพักผ่อนในแนวโขดหินของตัวน�้ำตกได้ และสามารถสัมผัสกับสายน�้ำที่ไหลผ่านลอดแนว โขดหินได้อย่างใกล้ชิดที่สุด โดยในแนวโขดหินภายในตัวน�้ำตกก็จะมีต้นไม้ขนาดไม่ใหญ่มากที่สลับแซมขึ้นตลอดแนวช่วยให้ร่มเงา บรรยากาศร่มรื่น และค่อนข้างชื้นเล็กน้อยมีลมพัดมาเบาๆโดยตลอด อากาศดีเย็นสบาย สร้างความสุขให้กับการพักผ่อนได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ยังสามารถเดินทางไปศึกษาเส้นทางธรรมชาติในวนอุทยานน�้ำตกเขาอีโต้ได้ โดยออกจากตัวน�ำ้ ตกมาเล็กน้อย แล้วเลี้ยวขวาเข้าที่ทำ� การอุทยานตรงไปตามเส้นทาง ระยะทางประมาณ 7 กิโลเมตร PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
(
) 12
.indd 99
99
9/1/2562 9:43:16
ต้นโพธิ์ศรีมหาโพธิ
“ต้นโพธิ์ศรีมหาโพธิ” ตั้งอยู่ที่ ต�ำบลโคกปีบ อ�ำเภอศรีมโหสถ จังหวัดปราจีนบุรี ภายในวัดต้นโพธิ์ศรีมหาโพธิ ต้นโพธิ์ที่เก่าแก่ที่สุดใน ประเทศไทย อายุกว่า 2,000 ปี ว่ากันว่าเป็นต้นโพธิท์ เี่ ป็นหน่อจากต้นพระศรีมหาโพธิ์ สถานทีต่ รัสรูข้ องพระพุทธเจ้า จากพุทธคยา ประเทศอินเดีย ซึง่ น�ำเข้ามาปลูกเป็นต้นแรก มีขนาดเส้นรอบวงของล�ำต้น 20 เมตร สูง 30 เมตร มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 25 เมตร นอกจากนีย้ งั มีพระเจดียป์ ระธาน ของวัดที่จ�ำลองแบบจาก เจดีย์พุทธคยา มีลายปูนปั้นรูปเทวดาซึ่งงดงามมาก ที่ผนังด้านนอกของห้องคูหาส่วนฐานพระเจดีย์ด้วย มีเรื่องเล่าสืบกันมาว่า เมื่อครั้งที่พระเจ้าตากพาไพร่พลหนีออกจากกรุงศรีอยุธยามาทางด้านตะวันออกเพื่อหาฐานที่มั่นในการกอบกู้ กรุงศรีอยุธยา ได้ยกทัพข้ามแม่นำ�้ ปราจีนบุรผี า่ นมาทางชายดงศรีมหาโพธิ์ และได้พกั เหนือ่ ยไพร่พลทีใ่ ต้ตน้ ศรีมหาโพธิน์ ี้ ก่อนมุง่ หน้าไปเมืองจันทบุรี 100
(
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
) 12
.indd 100
9/1/2562 9:43:18
เมืองโบราณศรีมโหสถ-โบราณสถานสระแก้ว-สระขวัญ “เมืองโบราณศรีมโหสถ” อยู่ห่างจากตัวอ�ำเภอศรีมโหสถ ประมาณ 20 กิโลเมตร จากการขุดค้นเมืองโบราณศรีมโหสถ พบลักษณะของเมือง โบราณเป็นรูปสีเ่ หลีย่ มขอบข้างทัง้ สีม่ น มีคนั ดินและคูนำ�้ ล้อมรอบ พืน้ ที่ ภายในเมืองโบราณมีขนาดใหญ่และกว้างขวาง ประกอบด้วยกลุม่ โบราณ สถานต่างๆ เช่น หมู่เทวาลัย เจดีย์รูปกลมเหมือนโถคว�่ำสมัยทวารวดี เทวาลัยรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ซึ่งมีอายุอยู่ราวพุทธศตวรรษที่ 6 -11 “สระแก้ว” ตัง้ อยูใ่ นต�ำบลโคกปีบ อยูน่ อกคูเมืองทางทิศใต้ ห่างออก มาประมาณ 100 เมตร ลักษณะเป็นสระน�้ำรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ที่ขุดลง ไปในชั้นศิลาแลงธรรมชาติ ขนาด 18x18 เมตร ทางลงสระอยู่ทางด้าน ทิศตะวันตก ที่ขอบสระของสระแก้วทางด้านทิศเหนือมีการตัดศิลาแลง เป็ น รู ป สี่ เ หลี่ ย มผื น ผ้ า ยื่ น เข้ า มาในสระ มี บั น ไดทางลงด้ า นข้ า ง ทั้งสองข้าง และมีร่องรอยของหลุมเสาสันนิษฐานว่ามีอายุอยู่ในราว พุทธศตวรรษที่ 10-11 เชื่อว่าเป็นสระน�้ำศักดิ์สิทธิ์ ใช้ในการประกอบ พิธีกรรมทางศาสนา หรืออาจเป็นพิธีกรรมเพื่อความอุดมสมบูรณ์ เนือ่ งจากภาพสัตว์และสัญลักษณ์ตา่ งๆ ทีป่ รากฏอยูบ่ นขอบสระ รูปช้าง สิงห์ มกร คชลักษมี หรือปูรณกุมภะ ล้วนแต่เป็นสิ่งมงคลในสังคม เกษตรกรรมทัง้ สิน้ กรมศิลปากรขึน้ ทะเบียนโบราณสถานสระแก้วไว้เมือ่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2478 “สระขวั ญ ” เป็ น สระน�้ ำ ขนาดกลางที่ ขุ ด ลงไปบนพื้ น ศิ ล าแลง ธรรมชาติ การเดินทางสู่เมืองโบราณศรีมโหสถ โบราณสถานสระแก้ว สระขวัญ จากตัวเมืองปราจีนบุรี ไปตามทางหลวงหมายเลข 319 ระยะ ทางประมาณ 20 กิโลเมตร เลีย้ วซ้ายไปตามทางหลวงหมายเลข 3070 อีกประมาณ 1 กิโลเมตร เมืองโบราณจะอยู่ทางด้านขวามือ
PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
(
) 12
.indd 101
101
9/1/2562 9:43:31
รอยพระพุทธบาทคู่ “รอยพระพุทธบาททีเ่ ก่าแก่ทสี่ ดุ ในประเทศไทย” ตัง้ อยูบ่ ริเวณโบราณสถานสระมรกต อ�ำเภอศรีมโหสถ จังหวัดปราจีนบุรี ตามประวัตกิ ล่าวว่า เมือ่ ปี พ.ศ. 900 ได้เกิดชุมชนขึ้นแห่งหนึ่งบริเวณเมืองศรีมโหสถ ในปัจจุบัน ซึ่งในชุมชนศรีมโหสถในครั้งนั้นเป็น เมืองอยู่ติดกับทะเล และมีการค้าขายแลกเปลี่ยน กับเมืองต่างๆ ที่อยู่ห่างไกล และได้พัฒนามาเป็น เมืองท่าทีส่ ำ� คัญแห่งหนึง่ ในภาคตะวันออก ร่วมสมัย กับอาณาจักรทวารวดี พุทธศาสนา เริ่มเข้ามามีบทบาทในการนับถือ ของชาวเมืองศรีมโหสถควบคูไ่ ปกับศาสนาพราหมณ์ ดังนั้นจึงมีการสร้าง “รอยพระพุทธบาทคู่” ไว้เป็น ศาสนสถาน ที่เคารพสักการะของชาวเมือง โดย นักโบราณคดีนนั้ ได้สนั นิษฐานไว้วา่ รอยพระพุทธบาท แห่ ง นี้ น ่ า จะสร้ า งขึ้ น ในช่ ว งพุ ท ธศตวรรษที่ 15 (พ.ศ. 1401-1500) เป็ น ช่ ว งเดี ย วกั น กั บ ที่ เมืองท่าศรีมโหสถเจริญรุ่งเรือง รอยพระพุ ท ธบาทคู ่ เ มื อ งศรี ม โหสถ เป็ น ที่ เคารพศรั ท ธาของชาวปราจี น บุ รี เ ป็ น อย่ า งมาก และทุกปีในช่วงวันมาฆบูชา จะมีการจัดงานแสดง แสงสีเสียง ยิ่งใหญ่ และมีพิธีเวียนเทียนรอบรอย พระพุทธบาทคูเ่ รียกชือ่ งานว่า “มาฆปูรมีศรีปราจีน”
กลุ่มโบราณสถานสระมรกต ตั้ ง อยู ่ ใ นต� ำ บลโคกไทย อ� ำ เภอศรี ม โหสถ จั ง หวั ด ปราจี น บุ รี ห่ า งจากอ� ำ เภอเมื อ งไปตาม ทางหลวงหมายเลข 319 ถนนสุวนิ ทวงศ์เป็นระยะทาง ประมาณ 24 กิโลเมตร เป็นกลุ่มโบราณสถานทาง พุทธศาสนาซึง่ มีการก่อสร้างซ้อนทับกันมาหลายสมัย เริม่ ตัง้ แต่กอ่ นพุทธศตวรรษที่ 11 เป็นต้นมา จนกระทัง่ ถึงพุทธศตวรรษที่ 18 ประกอบด้วยสิ่งก่อสร้าง ศิลาแลงและอิฐ ส่วนใหญ่คงเหลือรากฐานเฉพาะ อาคารเท่านั้น “สระมรกต” ซึ่งเป็นสระรูปสี่เหลี่ยมผืน ผ้า กว้ า งประมาณ 115 เมตร ยาว 214 เมตร ลึก 3.50 เมตร มีพนื้ ทีป่ ระมาณ 25 ไร่ สันนิษฐานว่า ขุดขึ้นมาเพื่อใช้เป็นแหล่งน�้ำและได้น�ำศิลาแลงไป ใช้ในการก่อสร้าง นอกจากสระมรกตแล้วยังมี สระบัวหล้า และ อาคารศรีมโหสถจัดแสดงนิทรรศการ ความรู้ เกี่ยวกับโบราณสถานเมืองศรีมโหสถและ จัดแสดงโบราณวัตถุที่ค้นพบในบริเวณนั้น 102
(
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
) 12
.indd 102
9/1/2562 9:43:37
โบราณสถานลายพระหัตถ์-โบราณสถานหลุมเมือง-โบราณ สถานพานหิน “โบราณสถานลายพระหัตถ์” ตั้งอยู่ในเขตบ้านโคกขวาง ต�ำบล หนองโพรง อ�ำเภอศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี ได้รับการประกาศ ขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานแห่งชาติเมื่อปี พ.ศ. 2524 เชื่อว่าเป็น ซากของเทวาลั ย สมั ย ลพบุ รี ซึ่ ง เป็ น โบราณสถานยุ ค สมั ย เดี ย วกั บ เมืองศรีม โหสถเมืองอมรเทวี อายุราวพุทธศตวรรษที่ 12-13 ในปี พ.ศ. 2451 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ได้เสด็จทอดพระเนตรโบราณสถานลายพระหัตถ์แห่งนี้ และได้ทรง พระปรมาภิไธย ไว้ทแี่ ท่นหิน ศิลาแลง ว่า จปร.41/127 (127 คือ ร,ศ. และ 41 คือเป็นปีที่รัชกาลของพระองค์) จากนั้นในปี พ.ศ. 2457 มีการสร้างมณฑปขึ้นเพื่อครอบโบราณ สถานลายพระหัตถ์ส่วนฐานแห่งนี้ แต่ได้ช�ำรุดทรุดโทรมลงไป ในปี พ.ศ. 2473 จึงได้มีการสร้างมณฑปใหม่ขึ้นมาเป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก มีลวดลายปูนปั้นรูปครุฑ ลายดอกไม้ ฯลฯ ดูสวยงาม ภายในเป็นที่ ประดิษฐานพระบรมฉายาลักษณ์ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว และแท่นหินศิลาที่จารึกพระปรมาภิไธยไว้ “โบราณสถานหลุมเมือง” มีลกั ษณะจะเป็นหลุมขนาดต่างๆ เจาะลึก ลงไปในพืน้ ศิลาแลงธรรมชาติ ไม่ทราบว่าเกิดขึน้ ในสมัยใดหรือสร้างขึน้ เพื่ อ อะไร พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว มี พ ระราช สันนิษฐานว่าอาจเป็นหลุมส�ำหรับโขลกปูนที่จะปั้นลวดลายประดับ ปรางค์ แต่จากค�ำบอกเล่าของคนรุน่ เก่า เชือ่ ว่าเป็นหลุมส�ำหรับเล่นกีฬา พื้นบ้านของคนสมัยก่อน “โบราณสถานพานหิน” ตัง้ อยูใ่ นพืน้ ทีบ่ า้ นโคกขวาง ต�ำบลหนองโพรง อ�ำเภอศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี ลักษณะเป็นโบราณสถานขนาดใหญ่ ก่อด้วยศิลาแลง เป็นรูปสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั ขนาดกว้างยาวด้านละ 15.5 เมตร สูง 3.5 เมตร มีมุขยื่นออกมาทั้งสี่ด้าน ที่มุขด้านทิศเหนือมีร่องรอย หลุมเสา นักโบราณคดี นักประวัติศาสตร์เชื่อว่าอาจเป็นเสาบันไดไม้ขึ้น ตัวอาคารของโบราณสถานพานหิน ด้านบนของอาคารพบหลุมเสา ซึง่ สันนิษฐานว่าเป็นเสาของอาคารเครือ่ งไม้มงุ หลังคา และพบแท่งศิลาแลง ทรงกลมสลักเป็นรูปเชิงบาตร ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 เมตร เชือ่ กันว่าโบราณสถานพานหินแห่งนี้ เคยเป็นศาสนสถาน หรือเทวสถาน ในศาสนาฮินดู มีอายุอยู่ในราวพุทธศตวรรษที่ 12–14
PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
(
) 12
.indd 103
103
9/1/2562 9:43:48
104
(
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
) 12
.indd 104
9/1/2562 9:43:57
โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร “ตึกเจ้าพระยาอภัยภูเบศร” ถูกสร้างขึ้นจากความจงรักภักดี ของ เจ้าพระยาอภัยภูเบศร (ชุ่ม อภัยวงศ์) ในปีพ.ศ. 2452 ด้วยประสงค์ จะใช้เป็นที่ประทับรับเสด็จพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในวโรกาสทีเ่ สด็จประพาสเมืองปราจีนบุรี แต่สวรรคตเสียก่อน ตึกหลังนี้ จึงได้ใช้รับเสด็จพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว จากนั้ น เป็ น มรดกตกทอดมาเป็ น ของพระยาอภั ย วงศ์ ว รเชษฐ (ช่วง อภัยวงศ์) ต่อมาพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ซึ่งเป็นหลาน ของพระยาอภัยวงศ์วรเชษฐ ได้กรรมสิทธิ์และประทานตึกให้แก่มณฑล ทหารบกที่ 2 ตัง้ เป็นสถานพยาบาล ต่อมาทางจังหวัดปราจีนบุรี ขอโอน มาเปิดใช้เป็นโรงพยาบาลประจ�ำจังหวัดใช้ชอื่ ว่า “โรงพยาบาลเจ้าพระยา อภั ย ภู เ บศร” เมื่ อ วั น ที่ 24 มิ ถุ น ายน พ.ศ. 2484 เพื่ อ เกี ย รติ แ ห่ ง คุณความดีของท่านผู้เป็นเจ้าของ
ปัจจุบนั เป็นโรงพยาบาลน�ำร่องเรือ่ งการแพทย์แผนไทย ใช้สมุนไพร บ�ำบัด รักษาโรค มีการนวด อบ ประคบ และฝังเข็ม แปรรูปสมุนไพรไทย เป็นเวชภัณฑ์ และเครื่องส�ำอางจ�ำหน่ายในราคาย่อมเยา นอกจากนี้ ยังได้จัดโครงการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ มุ่งเน้นการดูแลสุขภาพแบบ องค์รวมทั้งร่างกาย จิตใจ และสังคม
PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
(
) 12
.indd 105
105
9/1/2562 9:44:04
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดบางกระเบา พระอารามหลวง
เรือเก๋งจีนโบราณ สมัยรัชกาลที่ 5 พระมหาสมนึก กิตฺติโสภโณ ป.ธ.9,ดร.
ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบางกระเบา (รก.) พระอารามหลวง
เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2451 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวฯ เสด็จ ประพาสมณฑลปราจีนตามล�ำ น�้ำ บางปะกงผ่าน วัดบางกระเบา มีพระประสงค์จะสักการะต้นพระศรีมหาโพธิ์พร้อมกับ ได้ทรงลงปรมาภิไธยบนแผ่นหินว่า “จ.ป.ร.ร.ศ. 126” ก่อนเสด็จกลับ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเรือเก๋งจีน 1 ล�ำ พร้อมเครื่อง อัฐบริขาร แด่หลวงพ่อจาด ต่อมาในวโรกาสพระราชพิธีมงคลเฉลิม พระชนมพรรษาครบ 6 รอบ วั น ที่ 5 พ.ศ. 2542 พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ยก วัดราษฎร์ขึ้นเป็นวัดพระอารามหลวง เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2543
วัดบางกระเบา พระอารามหลวง ชั้นตรี ชนิดสามัญ ตั้งอยู่เลขที่ 36 หมู ่ 6 ต� ำ บลบางกระเบา อ� ำ เภอบ้ า นสร้ า ง จั ง หวั ด ปราจี น บุ รี ห่ า งจากอ� ำ เภอบ้ า นสร้ า ง 3 กิ โ ลเมตร จากจั ง หวั ด ปราจี น บุ รี 25 กิโลเมตร มีพื้นที่ตั้งวัด 32 ไร่ 9 ตารางวา เดิมชื่อว่า “วัดน้อย นางหงส์” โดยมีนายน้อยและนางหงส์เป็นผู้ก่อตั้ง ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2441 ชาวบ้านเรียกตาม ลักษณะพื้นที่ว่า “วัดบางกระเบา”
106
(
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
) (2
).indd 106
8/1/2562 16:18:51
เสนาสนะและปูชนียวัตถุ ไหว้พระขอพรรูปเหมือนอดีตเจ้าอาวาส ผู้มีความส�ำคัญทางประวัติศาสตร์ชาติไทย เป็นที่เคารพนับถือของ ชาวปราจีนบุรี และจังหวัดใกล้เคียงนามว่า “พระครูสทิ ธิสารคุณ” (หลวงพ่อ จาด คงฺคสโร) เป็นพระสงฆ์ผทู้ รงวิทยาคมทีม่ ชี อื่ เสียงโด่งดังในเขตพืน้ ที่ ภาคตะวันออก ตามประวัตศิ าสตร์มเี รือ่ งเล่าว่าท่านมีวชิ าบังไพร ล่องหน หายตัว และวิชามหาอุด เป็นต้น ในยุคสงครามเอเชียบูรพา (สงคราม อินโดจีน) เมื่อปี พ.ศ. 2481 จอมพล ป.พิบูลสงคราม ได้อาราธนาให้ หลวงพ่อจาดปลุกเสกเสื้อยันต์สีแดงและสีขาว เพื่อเตรียมไว้เป็นขวัญ ก�ำลังใจแจกทหารหาญ และต�ำรวจที่ก�ำลังเตรียมเข้าสู่สงคราม เมื่อ ทหารไทยปะทะกับทหารอินโดจีน ซึ่งคุมกองก�ำลังโดยทหารฝรั่งเศส ทหารไทยถูกยิงล้มลง แต่แล้วกลับลุกขึน้ มาพร้อมรบต่อ ทหารอินโดจีน เห็นแล้ววิง่ หนีไม่คดิ ชีวติ เพราะเข้าใจว่าเป็นกองก�ำลังทหารผีดบิ พร้อม กับข่าวลือว่ากองพันทหารไทยเป็นทหารผี สถาปัตยกรรมภายในพระอาราม เช่น พระอุโบสถ มณฑปหลวงพ่อจาดหลังใหม่และหลังดั้งเดิม โดยการพัฒนารักษาสืบทอดปฏิสังขรณ์พระอารามให้สมพระเกียรติ พระมหากษัตริยแ์ ละพระบรมวงศานุวงศ์ตามภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ ชมภูมทิ ศั น์ ริมแม่น�้ำบางปะกงศึกษาการใช้ชีวิตวิถีชุมชนตามอริยธรรมสายน�ำ ้ พิพิธภัณฑ์หลวงพ่อจาด เรือเก๋งจีนโบราณ โดยได้รวบรวมไว้สมัยท่านยังมีชวี ติ อยู่ หลักฐานเรือ่ งเล่าอดีตเจ้าอาวาส กับการจัดสร้างวัตถุมงคล พระพุทธรูปโบราณ เครือ่ งใช้สอยในชีวติ ประจ�ำวัน ของชนชั้ น คหบดีตลอดถึง สามัญชนทั่ว ไปตั้ง แต่สมัยสุโ ขทัย ลพบุรี อยุธยา จนถึงปัจจุบัน บางประเภทได้รับบริจาคจากพุทธศาสนิกชน ซึง่ ยังไม่พบหลักฐานว่าสร้างขึ้นในสมัยใด ทั้ง ยังมีเครื่องมือจักสาน เครื่องมือกสิกรรมประกอบสัมมาอาชีพของคนท้องถิ่น ค้างคาวแม่ ไก่ โดยเชื่อกันว่าเป็นสัตว์คู่บารมีตั้งแต่สมัยหลวงพ่อจาดยังมีชีวิตอยู่ แสดงถึงความอุดมสมบูรณ์ของระบบนิเวศและคุณธรรมของชาวบ้าน ทีไ่ ม่เบียดเบียนสัตว์ทำ� ให้ได้รบั ความปลอดภัยจึงอาศัยอยูใ่ นทีน่ ี้ อย่างยาวนาน บันทึก
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ วัดบางกระเบา พระอารามหลวง ก�ำลังปฏิสงั ขรณ์พระอารามหลายรายการ และพระมหาเจดีย์ เพือ่ ประดิษฐานพระบรมสารีรกิ ธาตุพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ที่ ไ ด้ รั บ พระราชทานจากสมเด็ จ พระสั ง ฆราชสกลมหาสั ง ฆปริ น ายก (เจริญ สุวฑฺฒโน) เพื่อเป็นพุทธบูชาและเพื่อความมั่นคงถาวรแห่ ง อายุ พระพุทธศาสนาสืบไป จึงเรียนเชิญพุทธศาสนิกชน ทุกท่านผู้มีจิตศรัทธา ร่วมท�ำบุญกับทางวัด ชื่อบัญชีวัดบางกระเบา สาขาบ้านสร้าง ธนาคาร เพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร(ธกส.) เลขบัญชี 020083285576 ร่วมกันจัดสร้าง โดยแจ้งความประสงค์ได้ที่ พระมหาสมนึก กิตตฺ โิ สภโณ ป.ธ.9, ดร. เจ้าอาวาสวัดบางกระเบา (รก.) พระอารามหลวง โทรศัพท์ 08-6833-3457 หรือ นายวิเชษฐ น�้ำหอม ไวยาวัจกร โทรศัพท์ 08-7141-6405
PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
(
) (2
).indd 107
107
8/1/2562 16:18:59
W O R K L IF E
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนตำ�บลรอบเมือง “รอบเมืองเมืองน่าอยู่ ความรู้คู่คุณธรรม ก้าวไกลสู่เกษตรกรรม น้อมน�ำเศรษฐกิจพอเพียง” วิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลรอบเมือง
นายสมดุ ล ย์ พากเพี ย รศิ ล ป์ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลรอบเมือง
ประวัติความเป็นมา องค์การบริหารส่วนต�ำบลรอบเมือง อ�ำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี โทรศัพท์ 037-216908 เว็บไซต์ www.robmuang.go.th เดิมชื่อ “ต�ำบลกะจะ” มาเปลี่ยนชื่อเมื่อมีการแบ่งชุมชน สถานที่ราชการเขตเทศบาลต�ำบลกะจะ จึงเปลี่ยน เป็นต�ำบลรอบเมือง และจัดตั้งเป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบลรอบเมือง ตามประกาศ ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 113 ตอนที่ 9 ง ลงวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2539
ข้อมูลทั่วไป ต�ำบลรอบเมือง มีเนื้อที่ประมาณ 15.275 ตารางกิโลเมตร หรือ จ� ำ นวน 9,546.87 ไร่ เป็ น พื้ น ที่ กึ่ ง ชุ ม ชนเมื อ งและชุ ม ชนชนบท มีอาณาเขตติดต่อดังนี้ 108
.
(2
ทิศเหนือ ติดต่อกับองค์การบริหารส่วนต�ำบลไม้เค็ด ทิศใต้ ติดต่อกับองค์การบริหารส่วนต�ำบลบางเดชะ ทิศตะวันออก ติดต่อกับเทศบาลเมืองปราจีนบุรี องค์การบริหาร ส่วนต�ำบลท่างาม และองค์การบริหารส่วนต�ำบลดงพระราม ทิศตะวันตก ติดต่อกับองค์การบริหารส่วนต�ำบลวัดโบสถ์ เขตการปกครอง ต�ำบลรอบเมือง มีทั้งสิ้น 9 หมู่บ้าน ประกอบด้วย หมู่ที่ 1 บ้านคลองโคกกะจะ หมู่ที่ 2 บ้านตึกปืน หมู่ที่ 3 บ้านตึกปืน หมู่ที่ 4 บ้านท่าเรือ หมู่ที่ 5 บ้านมอญ หมู่ที่ 6 บ้านบางตาล่า หมู่ที่ 7 บ้านบ�ำหรุ หมู่ที่ 8 บ้านหนองพังพวย หมู่ที่ 9 บ้านชลประทาน
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
).indd 108
3/1/2562 16:33:20
สถานที่ท่องเที่ยวส�ำคัญ พระบรมราชานุสาวรียส์ มเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ประดิษฐาน อยู่ ณ วัดบางคาง หมู่ที่ 5 ต�ำบลรอบเมือง อ�ำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี ความส�ำคัญ พระบรมราชานุสาวรีย์แห่งนี้สร้างขึ้นเพื่อถวายเป็น ราชสักการะแด่สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ด้วยความส�ำนึกใน พระมหากรุณาธิคณ ุ ของพระองค์ และเพือ่ เป็นอนุสรณ์สถานว่าครัง้ หนึง่ พระองค์เคยเสด็จน�ำไพร่พลมาพักอยู่ ณ บริเวณบ้านบางคาง แขวง “เมืองปราจิณ” โดยในปี พ.ศ. 2544 พระครูสนุ ทรธรรมประยุต (เสนาะ ปญญาวโร) ได้ระลึกถึงวีรกรรมของพระองค์ที่ทา่ นสละพระวรกายกอบกู้ต่อสู้ข้าศึก พม่าด้วยเลือดเนื้อ จนสามารถคืนอิสรภาพแก่ชาวสยามได้ ท�ำให้ด�ำรง ความเป็นไทยได้ทุกวันนี้ จึงคิดสร้างอนุสาวรีย์ขึ้น เพื่อเป็นที่ระลึก และจดจ�ำแก่ชนชาวไทยทั้งชาติ สถิตเป็นสถานสักการะแก่ประชาชน ชาวไทยต่อไปชั่วกาลนาน โดยประกอบพิธีเปิดเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2544 และทุ ก วั น ที่ 28 เดื อ นธั น วาคม เป็ น วั น สมเด็ จ พระเจ้ า ตากสิ น มหาราช อั น เป็ นวั น ทรงปราบดาภิ เ ษก ซึ่ ง จั ง หวั ด ปราจีนบุรี ได้ก�ำหนดจัดพิธีถวายราชสักการะฯ ณ บริเวณพระบรม ราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช วัดบางคาง ต�ำบลรอบเมือง อ�ำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี เป็นประจ�ำทุกปี
PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.
(2
).indd 109
109
3/1/2562 16:33:29
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดสันติวิเศษสุข
ต�ำนานเจ้าเงาะจอมขมังเวท พระมหา ดร.พลชัย ถาวโร
ด้วยจิตใจศรัทธาในพระพุทธศาสนา หลวงพ่อเที่ยงตั้งจิตอธิษฐาน และตัง้ ใจพัฒนาสถานทีแ่ ห่งนีข้ นึ้ เป็นธรรมสถานและต้องการให้เป็นวัด ประจ�ำพืน้ ทีห่ มู่ 15 ต�ำบลบ้านพระ อ�ำเภอเมืองปราจีนบุรี โดยหลวงพ่อเทีย่ ง ได้มอบหมายให้นายปัญญา บ�ำรุงวัด นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านพระ อ�ำเภอเมืองปราจีนบุรี เป็นผู้ดำ� เนินการเดินเรื่องขอจัดตั้งเป็นวัด
ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดสันติวิเศษสุข
วั ด สั น ติ วิ เ ศษสุ ข หรื อ “วั ด เจ้ า เงาะ” ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 26/52 หมู ่ 15 ต�ำบลบ้านพระ อ�ำเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี บนเนื้อที่เกือบ 100 ไร่ เดิมเป็นที่พักสงฆ์ “ธุดงคสถานวิเศษสุข” โดยหลวงพ่อเที่ยง เป็น ผู้ซื้อที่ดินไว้ทั้งหมด 12 แปลง ที่ดินฝั่งที่จัดตั้งวัดประมาณ 90 ไร่ ฝั ่ ง ตรงข้ า มวั ด ประมาณ 5 ไร่ ที่ พั ก สงฆ์ ธุ ด งคสถานวิ เ ศษสุ ข ได้รับอนุญาตให้สร้างวัดเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2555 โดย หลวงปู่เที่ยง หลังจากที่ท่านได้จากวัดบางแตน ต�ำบลบางตอน อ�ำเภอบ้านสร้าง จังหวัดปราจีนบุรี ซึ่งเป็นวัดต้นสังกัดเพื่อเดิน ธุดงค์ ไปตามสถานที่ต่างๆ ทั่วเมืองไทย ใช้เวลาก่อสร้าง 6 เดือน สิ้นค่าก่อสร้าง 16 ล้านบาทเศษ 110
(2
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
).indd 110
3/1/2562 17:13:30
พระครูวิเศษพัฒนคุณ (หลวงพ่อเที่ยง) พระครู วิ เ ศษพั ฒ นคุ ณ หรื อ หลวงพ่อเที่ยง ผาสุโก มรณภาพ เมื่อวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2554 สิริอายุกาล 71 ปี 51 พรรษา ทาง คณะสงฆ์ปราจีนบุรี จึงได้แต่งตั้ง พระประเวก กลฺยาโณ ขึ้นรักษา การแทนเจ้าอาวาสวัดสันติวเิ ศษสุข ปัจจุบนั มีพระมหา ดร.พลชัย ถาวโร เป็นเจ้าอาวาส
กระทัง่ แน่แก่ใจ ในฤทธิเ์ ตชเดชะแล้ว จึงเปิดให้ผศู้ รัทธาเช่าไปสักการะ พึง่ พาอาศัยฤทธิเ์ ดชในสรรพสิง่ ทีป่ รารถนา เจ้าเงาะจอมขมังเวทจึงเฮีย้ น ขลัง อย่างเทีย่ งตรง เป็นทีเ่ ลือ่ งลือสมดัง่ นามของท่านด้วยความอัศจรรย์ ในฤทธิ์เดชาที่ได้ประจักษ์อย่างชนิดที่ไม่เคยพบเจอวัตถุมงคลใดๆ จะเทียบเท่าเจ้าเงาะจอมขมังเวทมาก่อน
ต�ำนาน “เจ้าเงาะจอมขมังเวท” เรื่องราวในต�ำนานกล่าวไว้ว่า “พระสังข์ทอง” เป็นผู้มีบุญญาธิการ สูงยิ่ง เป็นคนดีที่ตกน�้ำไม่ไหลตกไฟไม่ไหม้ ยามเมื่อมีทุกข์เดือดร้อน ก็จะมีบุญเป็นเกราะแก้วปกป้องคุ้มครอง และเมื่อสวมใส่เครื่องเงาะป่า เป็นเจ้าเงาะจอมขมังเวทด้วยแล้วทั้งบุญฤทธิ์และอิทธิฤทธิ์ยิ่งมากล้น สามารถบันดาลความโชคดี มีลาภ ความเจริญรุ่งเรืองให้เกิดขึ้นได้อย่าง เฉียบพลันเป็นที่น่าอัศจรรย์ ด้วยบุญฤทธิ์อิทธิฤทธิ์ของพระสังข์ทองในร่างเจ้าเงาะจอมขมังเวท เป็นดังนั้น เทพพรหมผู้มีฤทธิ์ และสิ่งศักดิ์ทั้งหลายในเบื้องสูง จึงได้มา นิมิตต่อพระครูวิเศษพัฒนคุณ หรือ หลวงพ่อเที่ยง ผาสุโก ให้จัดสร้าง รู ป บู ช าเจ้ า เงาะจอมขมั ง เวทขึ้ น เพื่ อ เป็ น ที่ พึ่ ง ในยามทุ ก ข์ ย ามยาก ทั้งบันดาลความเจริญพูนสุขในประการต่างๆ ที่ยิ่งขึ้นไปให้เกิดแก่คน ทั้งหลาย ตามเจตนาบริสุทธิ์ ที่มีประจ�ำจิตและได้กระท�ำมาโดยตลอด หลวงพ่อเทีย่ งเป็นพระทีเ่ ชีย่ วชาญในด้านการปฏิบตั จิ ติ และได้ศกึ ษา ไสยเวทมนต์คาถามหาอาคมจากครูบาอาจารย์ที่เป็นที่สุดยอดไสยเวท พุทธาคมที่โด่งดังในยุคก่อนอย่างแตกฉาน ได้คิดแบบท�ำพิมพ์สร้าง เจ้าเงาะจอมขมังเวท โดยรวบรวมเนือ้ โลหะศักดิส์ ทิ ธิ 9 ชนิด มาหล่อหลอม รวมเป็น “นวโลหะ” ซึ่งประกอบด้วย ทองค�ำ, นาค, เงิน, ทองแดง, ทองเหลือง, ดีบุก, สังกะสี, ชินเงินและตะกั่วสังฆวานรและได้จัดสร้าง รูปบูชาเจ้าเงาะจอมขมังเวทขึน้ เป็นครัง้ แรกในวันมหาฤกษ์ที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2538 ซึง่ เป็นวันเกิดสุรยิ ปุ ราคาหรือสุรยิ คราส ส�ำเร็จเป็นหนึง่ เดียว โดยข�ำ เข้ า สู ่ พิธีมหาพุทธาภิเ ษกมหาฤกษ์ เสาร์ 5 ณ วัด ทุ่งเศรษฐี รับประจุพลังจิตพลังเวทมหาอาคม จากพระเถระเกจิคณาจารย์ระดับ แถวหน้าฟ้าเมืองไทย ที่ได้นิมนต์มาจากทุกภาคเพื่อการณ์นี้ หลวงพ่อเทีย่ ง ท่านยังน�ำเจ้าเงาะขมังเวทมาอธิษฐานจิต ประจุพลังฤทธิ์ พลังเวทอาคมทีไ่ ด้รบั การถ่ายทอดมาจากครูบาอาจารย์สายพุทธไสยเวท ที่ได้ศึกษามาจนแตกฉานช�ำนาญอีกชั้นหนึ่ง อธิษฐานจิตปลุกเสกเดี่ยว ตลอดไตรมาส และอัญเชิญคุณพระอิทธิฤทธิเทพเทวา แผ่ประจุพลัง ทุกเช้า-เย็น ที่ทำ� วัตรสวดมนต์
หนึ่งเดียวในปฐพี เจ้าเงาะจอมขมังเวท ที่สุดวัตถุมงคล ทรงสรรพฤทธิอิทธิขลัง! มหาโชคมหาลาภ ความส�ำเร็จในชีวิต กิจการ! การเงิน! การงาน! การค้า! ขนาดใหญ่ สูงจากฐาน 14 นิ้ว บูชา 5,599 บาท ขนาดกลาง สูงจากฐาน 9 นิ้ว บูชา 3,399 บาท ขนาดเล็ก สูงจากฐาน 5 นิ้ว บูชา 2,100 บาท (ประสิทธิให้พร้อมผ้ายันต์และน�ำ้ มันกาฝากทั้ง 5 มหาโชคลาภค้าขาย)
ติดต่อเช่าบูชาได้ที่ พระมหา ดร.พลชัย ถาวโร เจ้าอาวาสวัดสันติวิเศษสุข โทร.086-071-4512 และ 0856610499(Line) PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
(2
).indd 111
111
3/1/2562 17:13:33
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดจิกสูง
หลวงพ่ อด�ำ พระพุ ทธรูปศักดิส ์ ิทธิ์ พระอธิการเกษม ขันติโก
พ.ศ. 2473 พระครูปราจีนธรรมธารี (หลวงพ่อมุ้ย) ท่านจัดการผูก พัทธสีมา 3 ชัน้ เป็นมหาพัทธสีมา และหลวงพ่อมุย้ หรือ พระครูปราจีน ธรรมธารี ท�ำพิธีหล่อพระประทานไว้ในโบสถ์น้ันคือ “หลวงพ่อด�ำ” พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ประจ�ำวัดจิกสูง พร้อมกับผูกพัทธสีมาจึงเป็นที่ ยึดเหนี่ยวจิตใจของชาวบ้านจิกสูงได้เป็นอย่างดี
ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดจิกสูง
วัดจิกสูง ตั้งอยู่หมู่ที่ 9 ต�ำบลไม้เค็ด อ�ำเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย อนุ ญ าตให้ ตั้ ง วั ด เมื่ อ พ.ศ. 2416 มีนายเผือกและนางเต่า แสงนวน ร่วมกันบริจาคที่ดินเพื่อสร้างวัด นายข�ำและนางรอด ข�ำแป้น ได้ยกบ้านให้กับทางวัดเพื่อท�ำเป็นกุฏิ พระจ�ำพรรษา เดิมชื่อว่า “วัดโรงนา” สมัยก่อนภายในวัดมีต้นจิก สูงใหญ่อยู่เป็นจ�ำนวนมาก ชาวบ้านจึงเรียกว่า “วัดจิกสูง” ตั้งแต่ นั้นมา วัดจิกสูงอยู่ในความปกครองของ พระครูปราจีนธรรมธารี (หลวงพ่ อ มุ ้ ย ) เจ้ า คณะจั ง หวั ด ปราจี น บุ รี และเป็ น ผู ้ อุ ป ถั ม ภ์ ใ น การก่อสร้างวัดจิกสูงในสมัยนั้น ได้รับวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2472 ต่อมาในปีมะแม เดือน 4
112
(3
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
).indd 112
8/1/2562 16:29:23
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส 1. พระอาจารย์ทอง พ.ศ. 2415-2418 2. พระอาจารย์ทองพลู พ.ศ. 2419-2439 3. พระอาจารย์จรูญ พ.ศ. 2440-2442 4. พระอาจารย์อ่อน พ.ศ. 2443-2457 5. พระอาจารย์เงิน พ.ศ. 2458-2464 6. พระอาจารย์เฉื่อย พ.ศ. 2465-2471 7. พระอาจารย์หรั่ง พ.ศ. 2472-2477 8. พระอาจารย์ชื่น พ.ศ. 2478-2488 9. พระอาจารย์กวย พ.ศ. 2489-2494 10. พระอาจารย์ทองขาว ธัมมะสะโร พ.ศ. 2495-2503 11. พระอาจารย์เงิน ปะภังกะโร พ.ศ. 2504-2509 12. พระอาจารย์เช้า เตชะธัมโม พ.ศ. 2510-2513 13. พระอาจารย์มะลิ ขันติธะโร พ.ศ. 2514-2516 14. พระอาจารย์อรุณ อะรุโณ พ.ศ. 2517-2518 15. พระอาจารย์เพชร โกวิโท พ.ศ. 2519-2520 16. พระอาจารย์หวา อัคคะญาโณ พ.ศ. 2521-2538 17. พระอาจารย์เร่ง สุเมโท พ.ศ. 2539-2555 18. พระอธิการเกษม ขันติโก พ.ศ. 2556-ปัจจุบัน
PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
(3
).indd 113
113
8/1/2562 16:29:31
ประวัติพระอธิการเกษม ขันติโก พระอธิการเกษม ขันติโก เดิมชื่อ นายเกษม จั่นเพ็ชร เกิดเมื่อ วั น จั น ทร์ ที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2511 อุปสมบท ณ วัด บางคาง ต.รอบเมือง อ.เมือง จ.ปราจีนบุรี พระอุปัชฌาย์ พระครูสุนทรธรรมยุติ หรื อ หลวงปู ่ เ สนาะ เจ้ า อาวาสวั ด บางคาง พระกรรมวาจาจารย์ พระครูประภากรกิจพิมล เจ้าอาวาสวัดเกาะเค็ดใน พระอนุสาวนาจารย์ ศักดา การศึกษาทางธรรม นักธรรมเอก การพัฒนาวัด พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561
- สร้างกุฏิสงฆ์ 2 ชั้น - สร้างหอสวดมนต์และหอฉัน - ยกอุโบสถ - เททองหล่อหลวงพ่อด�ำทันใจ หน้าตัก 49 นิ้ว ประดิษฐานที่หอสวดมนต์ - เททองหล่อพระพุทธเจ้าเปิดโลกทรง เครื่องจักรพรรดิประดิษฐานที่บนถ�้ำ - เททองหล่อหลวงพ่อมุ้ย เพื่อร�ำลึกเกียรติคุณ ของหลวงพ่อมุ้ย - ก่อสร้างห้องน�้ำ - บูรณะอุโบสถใหม่ทั้งหลัง - หล่ อ หลวงพ่ อ สมเด็ จ องค์ ป ฐมเครื่ อ งทรง มหาจักรพรรดิ หน้าตัก 6 เมตร 50 เซน สูง 11 เมตร - ตกแต่งลายและทาสีอุโบสถ - สร้างกุฏิปูนปั้นเป็นรูปต้นไม้ จ�ำนวน 2 หลัง
การปฏิบัติธรรมและกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา ทางวัด
ได้มกี ารเชิญชวนชาวบ้านจิกสูงและหมูบ่ า้ นใกล้เคียง รักษาศีล 5 ท�ำวัตรสวดมนต์เย็น ที่ลานองค์พระสมเด็จองค์ปฐมองค์ใหญ่ ตลอดทั้งปี ติดต่อเจ้าอาวาส โทรศัพท์ 080-604-9311 114
(3
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
).indd 114
8/1/2562 16:29:43
HIST ORY OF BUDDHISM
บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดเกาะเค็ดใน
หลวงพ่ อเพชร พระพุ ทธรูปศักดิส ์ ิทธิ์ พระครูประภากรวรกิจ
ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดเกาะเค็ดใน เจ้าคณะต�ำบลโคกไม้ลาย เขต 1
หลังจาก “หลวงพ่อสาย จาคิโก” มรณภาพ “พระครูปลัง่ จนฺทโชโต” ได้สานต่องานพัฒนาวัดตามที่หลวงพ่อวางไว้ และได้จัดตั้งโรงเรียน พระปริยัติธรรม แผนกธรรม เมื่อ พ.ศ. 2533 ต่อมาในปี พ.ศ. 2553 พระอธิการทองใบ ฐิตญาโณ ได้บูรณะพระอุโบสถ โดยยกให้สูงขึ้น เปลี่ยนกระเบื้องมุงหลังคาใหม่ ปรับปรุง บูรณะ เสนาสนะอาคาร ภายในวัด ให้ดูสะอาดเหมาะกับการที่จะมาท�ำบุญของอุบาสกอุบาสิกา และชาวบ้านทั่วไป
วัดเกาะเค็ดใน ตั้งอยู่เลขที่ 1 บ้านเกาะเค็ดใน หมู่ 3 ต�ำบลไม้เค็ด อ�ำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี ห่างจากศูนย์ราชการ จังหวัดปราจีนบุรีประมาณ 2 กิโลเมตร สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย วัดตั้งเมื่อ พ.ศ.2421 เดิมชื่อ “วัดเกาะเค็ด” ตามชื่อต้นเค็ด ลักษณะ เป็นไม้พุ่มเตี้ยมีหนามยาวแหลมคม ที่ขึ้นอยู่เป็นจ�ำนวนมาก ต่อมา ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็น “วัดเกาะเค็ดใน” ตามชื่อหมู่บ้าน มีที่ดิน ตั้งวัด 18 ไร่ 60 ตารางวา ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ. 2506 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 20 เมตร ยาว 30 เมตร
PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
(3
).indd 115
115
3/1/2562 16:54:37
ปี พ.ศ. 2555 ได้ ส ร้ า งหอไตรปิ ฎ ก เป็ น อาคารชั้ น เดี ย ว คอนกรีตเสริมเหล็ก กว้าง 8 เมตร ยาว 14 เมตร สร้างมณฑป คอนกรีตเสริมเหล็ก ติดกระเบื้องเคลือบดินเผา เก็บอัฐิและตั้งรูปหล่อ ของ “หลวงพ่อสาย จาคิโก” ไว้ให้ชาวบ้านที่นับถือท่านได้กราบไหว้ ต่อมาสร้างซุม้ ประตูทางเข้าวัดทางด้านทิศเหนือ คอนกรีตเสริมเหล็ก ติดด้วยกระเบื้องเคลือบดินเผา ในปี พ.ศ. 2559 พระอธิการบัญชา อายุวฒ ั โก ขณะด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส ได้รว่ มกับชาวบ้านผูม้ จี ติ ศรัทธา และคณะกรรมการวัดก่อสร้างก�ำแพงวัด ด้านทิศเหนือที่ชำ� รุด ยาว 80 เมตร เป็นก�ำแพงหินศิลาแลง ด้านบนเป็นรัว้ สแตนเลส และเปิดโรงเรียน ปริยัติธรรม แผนกธรรมส�ำหรับพระบวชใหม่ โดยใช้หอไตรเป็นอาคาร เรียนจนถึงปัจจุบัน
116
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
(3
).indd 116
3/1/2562 16:54:44
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส 1. พระแป๊ะ 2. พระเป๊ะ 3. พระน้อย 4. พระฟู 5. พระสิงห์ 6. พระครูธรรมกิจจานุรักษ์ (หลวงพ่อสาย จาคิโก) พ.ศ. 2491 - 2533 7. พระครูปลั่ง จนฺทโชโต พ.ศ. 2531 - 2550 8. พระอธิการทองใบ ฐิตญาโณ พ.ศ. 2551 - 2558 9. พระอธิการบัญชา อายุวฑฺโก พ.ศ. 2558 - 2560 10. พระครูประภากรวรกิจ(อ.สุชาติ) พ.ศ. 2560 - ปัจจุบัน
อาคารเสนาสนะ • อุโบสถ กว้าง 11 เมตร ยาว 21 เมตร ได้รับวิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ. 2506 บูรณะอีกครั้ง เมื่อ พ.ศ. 2552 • ศาลาการเปรียญ เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กสูง 2 ชัน้ กว้าง 19 เมตร ยาว 43 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2522 • กุฏิสงฆ์จำ� นวน 2 หลัง กุฏิหลังใหญ่ของเดิมเป็นไม้ ได้บูรณะ ใหม่ด้านล่างเสา พื้นเป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก ด้านบนเป็นไม้ของเดิม พ.ศ. 2506 อีก 1 หลัง เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก สูง 2 ชั้น กว้าง 6 เมตร ยาว 12 เมตร • หอระฆัง กว้าง 3 เมตร ยาว 6 เมตร • ฌาปนสถาน กว้าง 6 เมตร ยาว 8 เมตร • ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก กว้าง 12 เมตร ยาว 24 เมตร โดยในสมัยพระครูธรรมกิจจานุรักษ์(หลวงพ่อสาย จาคิโก) เป็นเจ้าอาวาส ท่านเป็นพระที่มีวัตรปฏิบัติดีงาม ชาวบ้านให้ ความเคารพศรัทธาเป็นอย่างสูง ท่านเป็นพระนักพัฒนาได้รว่ มกับชาวบ้าน และคณะกรรมการวัด บูรณะ ก่อสร้าง อาคารเสนาสนะภายในวัด เช่น พ.ศ. 2495 สร้างหอสวดมนต์ พ.ศ. 2500 สร้างกุฏิ กว้าง 9 เมตร ยาว 40 เมตร พ.ศ. 2501 สร้างพระอุโบสถ ก่ออิฐฉาบปูน กว้าง 10 เมตร ยาว 22.50 เมตร พ.ศ. 2503 สร้างก�ำแพงพระอุโบสถ พ.ศ. 2506 สร้างกุฏิ กว้าง 6 เมตร ยาว 21 เมตร พ.ศ. 2513 สร้างหอระฆัง พ.ศ. 2522 สร้างศาลาการเปรียญ อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก สูง 2 ชั้น กว้าง 18 เมตร ยาว 40.50 เมตร
เจ้าอาวาสรูปปัจจุบนั และกลุม่ จิตอาสา วัดเกาะเค็ดใน PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
(3
).indd 117
117
3/1/2562 16:54:51
W O R K L IF E
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนตำ�บลโคกปีบ “โคกปี บ ท้ อ งถิ่ น น่ า อยู ่ บู ร ณาการการพั ฒ นา ธรรมาภิ บ าลเข้ ม แข็ ง วิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลโคกปีบ
นายยุ ท ธศั ก ดิ์ นามประสิ ท ธิ์ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลโคกปีบ
ข้อมูลทั่วไป ต�ำบลโคกปีบ ตัง้ อยูบ่ ริเวณส่วนกลางของอ�ำเภอศรีมโหสถ ห่างจาก อ�ำเภอประมาณ 2 กิโลเมตร จ�ำนวนหมู่บ้านที่ปกครอง มีทั้งหมด 9 หมูบ่ า้ น แยกเป็น จ�ำนวนหมูบ่ า้ นทีร่ บั ผิดชอบเต็มพืน้ ทีท่ งั้ หมูบ่ า้ นมีจำ� นวน 2 หมูบ่ า้ น คือ หมูท่ ี่ 1 บ้านสระมะเขือ, หมูท่ ี่ 9 บ้านหนองเรือ จ�ำนวน หมูบ่ า้ นทีร่ บั ผิดชอบบางส่วนมีจำ� นวน 7 หมูบ่ า้ น คือ หมูท่ ี่ 2 บ้านโคกวัด หมูท่ ี่ 3 บ้านโคกปีบหมูท่ ่ี 4 บ้านโคกปีบหมูท่ ่ี 5 บ้านทางข้าม หมูท่ ี่ 6 บ้านม่วงขาว หมูท่ ี่ 7 บ้านด่าน, ช�ำหว้า หมูท่ ี่ 8 บ้านหนองสะแก ของดี คือ ส้มโอหวาน สินค้า OTOP คือ ตะกร้าจักสาน 118
.
(2
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
).indd 118
3/1/2562 17:34:31
เครือวัลย์ โฮมสเตย์ หมู่ที่ 2 เป็นโฮมสเตย์ชมุ ชนหมูบ่ า้ นนวัตวิถี เหมาะแก่การไปพักผ่อน หย่อนใจ มีสถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียง อาทิ วัดสระมรกต วัดศรีมหาโพธิ์ พร้อมแวะกราบนมัสการหลวงพ่อทวารวดี พระคูเ่ มืองศรีมโหสถทีช่ าวบ้านต่างให้ความเคารพศรัทธา และ ท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ เมืองโบราณศรีมโหสถ นักท่องเที่ยว จะได้สัมผัสกับวิถีเกษตรผสมผสานเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ในการท�ำสวนส้มโอแปลงใหญ่ และในพื้นที่มีเส้นทางส�ำหรับ ปัน่ จักรยานชมธรรมชาติรอบคูเมืองศรีมโหสถ ทางเชือ่ มใต้รม่ ไม้ และโบราณสถานสระแก้ว-สระขวัญ เครือวัลย์โฮมสเตย์ ตั้งอยู่ที่ 308 หมู่ที่ 2 บ้านโคกวัด ต�ำบลโคกปีบ อ�ำเภอศรีมโหสถ จังหวัดปราจีนบุรี ติดต่อสอบถาม โทร.080-2234151 LINE ID : khrueawan1966
โฮมสเตย์ หมู่ที่ 2 ต.โคกปีบ
สถานที่ท่องเที่ยวส�ำคัญ โบราณสถานสระแก้ว ตั้งอยู่ทางนอกเมือง โบราณสมัยทวารวดี “ศรีมโหสถ” ไปทางทิศตะวันตก เฉียงใต้ประมาณ 100 เมตร มีลกั ษณะเป็นรูปสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั ขนาด 18x18 เมตร ลึกประมาณ 6.50 เมตร โดยขุดลงไปบนชัน้ ดินทีเ่ ป็นชัน้ ของศิลาแลง ริมผนังของ สระด้านในทั้ง 4 ด้าน สลักเป็นภาพสัตว์ปรัมปรา อาทิ ช้าง สิงห์ มกร เป็นต้น สัตว์ต่างๆ เหล่านี้ตามทัศนคติของฮินดูเชื่อว่าเป็นสัญลักษณ์ของความเป็น สิริมงคล มีอายุระหว่างพุทธศตวรรษที่ 10-11
เส้นทางปั่นจักรยานบริเวณ รอบคูเมืองและโบราณสถาน
PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.
(2
).indd 119
119
3/1/2562 17:34:36
W O R K L IF E
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนตำ�บลโคกไทย “โคกไทยเมืองน่าอยู่ เชิดชูวัฒนธรรม ผู้น�ำด้านการศึกษา พัฒนาการเกษตร อาณาเขตอุตสาหกรรม” วิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลโคกไทย
สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลโคกไทย ตั้ ง อยู ่ ที่ 99/1 หมู ่ ที่ 4 บ้ า นหนองเกตุ อ� ำ เภอศรี ม โหสถ จั ง หวั ด ปราจี น บุ รี อยู ่ ห ่ า งจาก ที่ว่าการอ�ำเภอศรีมโหสถประมาณ 10 กิโลเมตร โดยมีอาณาเขต ติดต่อกับต�ำบลอื่นๆ ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับต�ำบลโคกปีบ อ�ำเภอศรีมโหสถ จังหวัดปราจีนบุรี ทิศใต้ ติดต่อกับต�ำบลบ้านซ่อง อ�ำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา ทิศตะวันออก ติดต่อกับต�ำบลหัวหว้า อ�ำเภอศรีมหาโพธิ์ จังหวัดปราจีนบุรี ทิศตะวันตก ติดต่อกับต�ำบลโคกปีบ อ�ำเภอศรีมโหสถ จังหวัดปราจีนบุรี 120
.
(6
เนื้อที่ ต�ำบลโคกไทยมีเนื้อที่ทั้งสิ้น 26,480 ไร่ หรือ 46 ตาราง กิโลเมตร แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 7 หมู่บ้าน หมู่ที่ 1 บ้านสระข่อย หมู่ที่ 2 บ้านโคกไทย หมู่ที่ 3 บ้านโคกไทย หมู่ที่ 4 บ้านหนองเกตุ หมู่ที่ 5 บ้านโป่งตะเคียน หมู่ที่ 6 บ้านหนองแสง หมู่ที่ 7 บ้านโคกพนมดี
สินค้า OTOP บ้านโคกไทย หมู่ที่ 3 • ตะกร้าทางมะพร้าว ของนางบุญเลี้ยง ดอนมอญ
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
).indd 120
8/1/2562 15:09:59
สถานที่ท่องเที่ยวส�ำคัญ โบราณสถานสระมรกต
นายเบิ้ ม ฉั ต รชู สิ น
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลโคกไทย
กลุ่มโบราณสถานสระมรกต อยู่ห่างจากเมืองมโหสถไปทาง ทิศตะวันออกเฉียงใต้ ราว 3 กิโลเมตร ตั้งชื่อตามสระน�้ำขนาดใหญ่ ที่ภาษาปากชาวบ้านเรียกว่าสระมรกต เป็นกลุ่มโบราณสถานที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมทวารวดีและ วั ฒนธรรมเขมรโบราณ ราว พ.ศ. 1400-1800 ประกอบด้ ว ย สระมรกต, สระบัวล้า, รอยพระพุทธบาท, พุทธสถานประจ�ำอโรคยศาล และร่องรอยสถูปเก่า สระมรกตเป็นอ่างเก็บน�้ำอย่างที่เรียกในภาษาเขมรว่าบาราย เป็นเทคโนโลยีการจัดการน�้ำที่พวกเขมรโบราณพัฒนาขึ้นใช้งาน ต่อมาชาวบ้านร่วมกันสร้างวัดขึ้นใหม่ แล้วให้ชื่อวัดสระมรกตอยู่ใน บริเวณกลุ่มโบราณด้วย PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.
(6
).indd 121
121
8/1/2562 15:10:05
รอยพระพุทธบาทคู่ ขุดพบเมื่อ พ.ศ. 2529 ที่เนินสระบัว(ล้า)-สระมรกต เมืองมโหสถ อ.ศรีมโหสถ จ.ปราจีนบุรี ท�ำขึ้นราวหลัง พ.ศ. 1200 สลักลึกลงบน พื้นศิลาแลง เป็นรูปรอยเท้าคู่เหมือนธรรมชาติทั้งสองข้าง แต่นิ้วไม่ เท่ากันและเรียงไม่เสมอกัน ระหว่างพระบาทมีหลุมกลม ปากหลุมสลักเป็นร่องรูปกากบาท ยุค แรกคงมีเส้นวงกลมล้อมรอบ ครั้นยุคหลังต่อมาสร้างวิหารครอบลงไป บริเวณซากอาคารยังมีบ่อน�้ำศักดิ์สิทธิ์พบพระพุทธรูป และโบราณวัตถุ เป็นจ�ำนวนมาก นับเป็นรอยพระพุทธบาทที่ใหญ่และเก่าแก่ที่สุดที่พบ ในประเทศไทยปัจจุบัน
122
.
(6
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
).indd 122
8/1/2562 15:10:10
สุคตาลัย ประจ�ำอโรคยศาล สร้างเมื่อหลัง พ.ศ. 1750 โดยพระเจ้าชัยวรรมันที่ 7 แห่งเมือง นครธม (กัมพูชา) ปัจจุบันอยู่ที่ อ�ำเภอศรีมโหสถ จังหวัดปราจีนบุรี เป็นพุทธสถานมหายาน สร้างทับพุทธสถานเดิมที่ประดิษฐานรอย พระพุทธบาทคู่ สุคตาลัย หมายถึง ที่ประทับพระพุทธเจ้า คือ พระไภษัชยคุรุ (พระพุทธเจ้าแพทย์ ตามคติพทุ ธศาสนามหายาน) อยูป่ ราสาทประธาน อโรคยศาล หมายถึง ศาลาไร้โรค เป็นสถานที่บ�ำบัดรักษาผู้เจ็บไข้ ได้ป่วยด้วยสมุนไพร ที่โปรดให้สร้างโดยพระเจ้าชัยวรรมันที่ 7 แห่ง เมืองนครธมในกัมพูชา ศาลาบ�ำบัดท�ำด้วยไม้ อยู่นอกก�ำแพงสุคตาลัย ผุพังไม่เหลือซาก ให้เห็นแล้ว
PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.
(6
).indd 123
123
8/1/2562 15:10:19
เจดีย์พระธาตุพุทธมณฑล เจดีย์แบบลาวปนมอญ ที่วัดแสงสว่าง ต�ำบลโคกไทย อ�ำเภอศรีมโหสถ จังหวัดปราจีนบุรี ก่ออิฐฉาบปูน มีฐานยืด สูงเอน ลาดซ้อนลดหลั่น ท�ำย่อมุมรองรับบัวปากระฆัง แปดเหลี่ยมขนาดเล็กประดับซุ้มพระ 4 ทิศ ต่อขึ้นไป เป็นส่วนยอด และฉัตร ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 โปรดให้ขุนอินทร์ นายกองมอญ มาตั้งกอง จับช้างป่าที่ดงศรีมหาโพธิ์ เมื่อขุนอินทร์มาตั้งชุมชน กองจับช้างอยู่นั้นได้สร้างเจดีย์แบบมอญไว้ด้วย ปัจจุบันเรียกเจดีย์พระธาตุพุทธมณฑล อยู่ที่วัดแสงสว่าง ต่อมาบริเวณนี้ได้ชื่อว่าโคกมอญ
124
.
(6
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
).indd 124
8/1/2562 15:10:23
ศาลปู่-ตา ศาลปู่-ตา ตั้งอยู่ที่บ้านโคกไทย หมู่ที่ 3 ผีปู่ตา คือ ผีบรรพชนทั้ง สายแหรกข้างพ่อ คือ ปู่,ย่า และสายแหรกข้างแม่ คือ ตา, ยาย รวมกัน 2 สาย เป็นปู่ย่าตายาย ฝ่ายผู้ชายคือปู่ตา ฝ่ายผู้หญิง คือย่ายาย เมื่อสร้างบ้านเรือนเป็นชุมชนแล้ว คนพวนต้องยกย่องผีบรรพชนฝ่าย ผู้ชาย แล้วสร้างหอผีประจ�ำทุกหมู่บ้านเรียกหอผีปู่ตาบ้าน (หรือ ศาลผี ปู่ตาบ้าน) ให้ปกป้องคุ้มครองคนในหมู่บ้านโดยมีพิธีเลี้ยงผีทุกปี
พิพิธภัณฑ์ ไทยพวน พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านไทยพวน ก่อตั้งโดย ร.ต.ต.วิบูลย์ งามวงศ์ ภายในพิพิธภัณฑ์เก็บรักษาวัตถุจ�ำพวกข้าวของเครื่องใช้สมัยก่อนของ ชาวพวนในชุมชน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นเครื่องมือในการเกษตรกรรมและ การจับสัตว์น้�ำพร้อมกับโบราณวัตถุ โดยโบราณวัตถุที่ส�ำคัญของชุมชน คือพระพุทธรูปจ�ำนวนสามองค์ที่เล่าสืบกันมาว่าได้อัญเชิญมาจาก เวียงจันทน์พร้อมการอพยพลงมาอยู่ที่บ้านดงกระทงยาม และคัมภีร์ ใบลานจ�ำนวนหนึ่งเป็นเรื่องทางพุทธศาสนา ต�ำรายาโบราณ จารด้วย อักษรธรรมที่ใช้กันอยู่ในกลุ่มวัฒนธรรมล้านช้าง PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.
(6
).indd 125
125
8/1/2562 15:10:31
W O R K L IF E
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนตำ�บลหัวหว้า “คุณภาพชีวิตที่ดี เน้นการมีส่วนร่วม ศูนย์รวมชุมชนน่าอยู่ เชิดชูการศึกษา พัฒนาคุณธรรม” วิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลหัวหว้า
สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน
เขตการปกครองและประชากร
องค์การบริหารส่วนต�ำบลหัวหว้าเดิมมีฐานะเป็นสภาต�ำบลหัวหว้า ซึ่งยกฐานะมาเป็นราชการส่วนท้องถิ่นเป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบล หัวหว้า เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2540 โดยองค์การบริหารส่วนต�ำบล หัวหว้า มีพื้นที่ทั้งสิ้น 98.5 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 61,562 ไร่ อยู่ในเขต อ�ำเภอศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี สภาพทั่วไปเป็นที่ราบ ลักษณะภูมิอากาศร้อน ชื้น ทิศเหนือ ติดต่อกับต�ำบลดงกระทงยาม ทิศใต้ ติดต่อกับอ�ำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา ทิศตะวันออก ติดต่อกับต�ำบลหนองโพรง ทิศตะวันตก ติดต่อกับอ�ำเภอศรีมโหสถ
126
.
(6
องค์การบริหารส่วนต�ำบลหัวหว้า แบ่งเขตพืน้ ทีอ่ อกเป็น 17 หมูบ่ า้ น หมู่ที่ 1 หัวหว้า หมู่ที่ 10 หนองนก หมู่ที่ 2 เกาะสมอ หมู่ที่ 11 หนองระเนตร หมู่ที่ 3 เกาะสมอ หมู่ที่ 12 โคกอุดมดี หมู่ที่ 4 หายโศก หมู่ที่ 13 คลองสมบูรณ์ หมู่ที่ 5 หัวซา หมู่ที่ 14 ดอนสับฟาก หมู่ที่ 6 หัวซา หมู่ที่ 15 เกาะสมอ หมู่ที่ 7 หนองกาน�้ำ หมู่ที่ 16 สีเสียดไทรงาม หมู่ที่ 8 หนองหูช้าง หมู่ที่ 17 หนองไฮ หมู่ที่ 9 หนองปรือน้อย
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
).indd 126
8/1/2562 16:25:51
สภาพเศรษฐกิจ
นายสุ ร ชั ย ทนสิ ง ห์
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลหัวหว้า
อาชีพหลัก ประชากรในต�ำบลหัวหว้า ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ ด้านการเกษตร (ท�ำไร่/ท�ำนา/เลี้ยงสัตว์) อาชี พ รอง รั บจ้ า งทั่ ว ไป ค้ า ขาย รั บ ราชการ ธุ ร กิ จ ส่ ว นตั ว พนักงานรัฐวิสาหกิจ พนักงานบริษัท อาชีพเสริม สานหมวก สานเข่ง ท�ำรองเท้า ผักปลอดสารพิษ PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.
(6
).indd 127
127
8/1/2562 16:25:58
ประเพณีและวัฒนธรรมท้องถิ่น
128
.
(6
ประเพณีขึ้นปีใหม่ 31 ธันวาคม - 1 มกราคมของทุกปี ประเพณีไทยพวน เดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี ประเพณีสงกรานต์ เดือนเมษายนของทุกปี ประเพณีเข้าพรรษา เดือนกรกฎาคมของทุกปี ประเพณีออกพรรษา เดือนตุลาคมของทุกปี ประเพณีลอยกระทง เดือนพฤศจิกายนของทุกปี
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
).indd 128
8/1/2562 16:26:02
ผลิตภัณฑ์ของชุมชนและท้องถิ่น (OTOP)
ไข่เค็ม หมู่ที่ 1, 4 เครื่องปรุงรสยอดดวงใจ หมู่ที่ 3 ข้าวซ้อมมือ หมู่ที่ 13 ยาดมสมุนไพร กลุ่มสตรี หมู่ที่ 13 ไข่เค็มสมุนไพร หมู่ที่ 5, 6 พริกแกง หมู่ที่ 10 ปลาร้าทรงเครื่อง หมู่ที่ 9
PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.
(6
).indd 129
129
8/1/2562 16:26:07
130
.
(6
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
).indd 130
8/1/2562 16:26:10
กลุ่มชาติพันธุ์ ไทยพวน
ความเป็นมา ชาวพวนในจังหวัดปราจีนบุรี ถูกกวาดต้อนมา จากเมืองสกลทวาปี (จังหวัดสกลนคร) ในปี พ.ศ. 2370 ในรัชกาลที่ 3 คราวเจ้าอนุวงศ์เวียงจันทน์กบฏ ชาวพวนจากเมืองสกลทวาปีจึงถูก กวาดต้อนมาอยู่ที่อ�ำเภอกบินทร์บุรี อ�ำเภอประจันตคาม จังหวัด ปราจีนบุรี (ปัจจุบนั ) และในรัชกาลที่ 5 ได้มกี ารน�ำชาวไทยพวนเข้ามา ในกรุงเทพฯด้วย ปัจจุบนั ชาวไทยพวนเมืองปราจีนบุรไี ด้แยกย้ายกันไป ตั้งถิ่นฐานอยู่ อ�ำเภอศรีมหาโพธิ ต�ำบลหัวหว้า หมู่บ้านโพนกระเบา หมูบ่ า้ นหัวหว้า (โพนตูม) หมูบ่ า้ นเกาะสมอ (โพนไทร) หมูบ่ า้ นดอนสับ ฟากหมู่บ้านหายโศก (ดอนผักเน่า) หมู่บ้านหัวซา วิถชี วี ติ ความเป็นอยู่ ชาวไทยพวนในจังหวัดปราจีนบุรี มีความขยัน หมั่ น เพี ย ร อดทนมั ธ ยั ส ถ์ มาก จึ ง มี ฐานะความเป็นอยู่ดี มีกินมีใช้ ไม่ขดั สน อาชีพทีช่ าวไทยพวนท�ำมาหาเลีย้ งชีวติ ได้แก่ การเกษตรเป็นหลัก ส่วนการรับจ้าง ค้าขาย รับราชการ นั้นมีน้อย การนับถือศาสนา ชาวไทยพวนนับถือศาสนาพุทธอย่างเคร่งครัด แต่ยงั คงนับถือผีบรรพบุรษุ ตามประเพณีนยิ ม และยึดถือประเพณีมาก ปัจจุบันชาวพวนในจังหวัดปราจีนบุรี ได้มีการปรับเปลี่ยนให้เข้ากับ ประชาชนทัว่ ไป แต่ยงั คงรักษาประเพณีของชาวไทยพวนไว้ เช่น เด็กๆ ยังไว้ผมจุก ภาษาที่ใช้พูดเป็นภาษาพวน ส่วนที่อยู่อาศัย เช่น บ้าน อาหารการกิน ได้ปรับเปลีย่ นให้เข้ากับชาวท้องถิน่ และสังคมปัจจุบนั แล้ว
สถานที่ท่องเที่ยวส�ำคัญ
บ่อนํ้าโบราณบ้านหัวซา ตั้งอยู่บ้านหัวซา ต�ำบลหัวหว้า อ�ำเภอ ศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี อยูท่ างทิศตะวันออกของเมืองศรีมโหสถ เรียกว่า “สระหนองแวง” มีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 12-19 น่าจะมี ความสัมพันธ์กับเมืองศรีมโหสถหรือเมืองนางอมรเทวี เพราะบ่อน�้ำนี้ ตั้งอยู่ระหว่างกลางระยะทางจากเมืองศรีมโหสถไปเมืองนางอมรเทวี ในอดีตอาจจะใช้บอ่ น�ำ้ แห่งนีไ้ ปประกอบพิธกี รรมทางศาสนาหรือใช้ใน การอุปโภค บริโภค บ่อน�ำ้ โบราณบ้านหัวซา เป็นบ่อน�้ำที่ขุดลงไปใน ศิลาแลงธรรมชาติมี 2 ขนาด บ่อใหญ่รูปกลมมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 16.50 เมตร ขอบบ่อลดเป็นชั้นๆ จ�ำนวน 1 บ่อ และบ่อน�ำ้ ขนาดเล็ก เส้นผ่าศูนย์กลาง 3.4 เมตร ที่ขอบบ่อมีบันไดทางลงยาวประมาณ 2 เมตรบ่อเล็กจ�ำนวน 2 บ่อ นอกจากนี้ยังมีทางระบายน�้ำผ่าน บริเวณบ่อทั้ง 3 บ่ออีกด้วย การเดินทางไปบ่อน�ำ้ โบราณบ้านหัวซา จังหวัดปราจีนบุรี อยูห่ า่ ง จากตัวเมืองปราจีนบุรีประมาณ 20 กิโลเมตร ไปตามเส้นทางหลวง หมายเลข 319 กิโลเมตรที่ 130 เลี้ยวซ้ายไปตามทางหลวงหมายเลข 3070 อีกประมาณ 1 กิโลเมตร เมืองโบราณจะอยู่ทางด้านขวามือ PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.
(6
).indd 131
131
8/1/2562 16:26:13
พระประธานในอุโบสถ
132
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
(6
).indd 132
8/1/2562 17:43:59
HIST ORY OF BUDDH ISM
บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดใหม่กรงทอง พระพิศาลศึกษากร, ดร., น.ธ.เอก., ป.ธ.4, พธ.ด. (สุดใจ ยโสธโร) เจ้าคณะจังหวัดปราจีนบุรี
วั ด ใหม่ ก รงทอง ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 170 หมู ่ ที่ 3 ต� ำ บลศรี ม หาโพธิ อ�ำเภอศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี ไม่ทราบว่าใครเป็นผู้สร้างวัด และสร้างขึ้นตั้งแต่เมื่อใด มีเพียงค�ำบอกเล่าต่อกันมาว่า มีพระภิกษุ สองรู ป พี่ น ้ อ ง จ� ำ พรรษา ณ วั ด อิ น ทรแบก ถั ด ไปทางใต้ ข องวั ด นี้ เกิดทะเลาะวิวาทกันพระผู้น้องจึงมาสร้างวัดขึ้นใหม่ มีชื่อว่า “วัดเหนือ” หรื อ “วั ด ใหม่ ” และมี ชื่ อ อย่ า งเป็ น ทางการว่ า “วั ด ใหม่ ก รงทอง” ตั้งแต่นั้นมา
วัดใหม่กรงทอง ตัง้ อยูใ่ นย่านชุมชนและการค้า การคมนาคม ทิศเหนือ มีแม่นำ�้ บางปะกงไหลผ่านหน้าวัดไปยังตัวจังหวัดปราจีนบุรแี ล้วลงอ่าวไทย ที่อ�ำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา ทิศใต้มีถนนสายศรีมหาโพธิ ปราจีนบุรี ทางหลวงตัดผ่าน ทิศตะวันออกมีสถานที่ราชการตั้งอยู่คือ สุขศาลา ธนาคารออมสิน การประปา ทิศตะวันตกมีตลาดท่าประชุม สถานีรถโดยสารประจ�ำทาง ไปยังอ�ำเภอต่างๆ ของจังหวัดปราจีนบุรี และ จังหวัดฉะเชิงเทรา ทิศใต้มที วี่ า่ การอ�ำเภอ สถานีตำ� รวจ ห้องสมุดประชาชน ส�ำนักงานหอทะเบียนทีด่ นิ
บันทึก วัดใหม่กรงทอง
วัดใหม่กรงทอง ตัง้ อยูใ่ นเขตบ้านตลาดท่าประชุม สมัยก่อนเรียกกัน ว่าตลาดท่าเขมร หรือ บ้านท่าเขมร เป็นชุมชนชาวเขมรที่ถูกกวาดต้อน มาเมือ่ ครัง้ สงคราม พ.ศ. 2375 ทีพ่ ระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั ให้ทา่ นเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) เป็นแม่ทพั ยกไปตีเมืองเขมร เมื่อถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พ.ศ. 2437 ทรงเปลี่ ย นแปลงการปกครองใหม่ บ้ า นท่ า เขมรถู ก เปลี่ ย นเป็ น บ้านท่าประชุมชน และต่อมาเปลี่ยนเป็นบ้านท่าประชุม
PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
(6
).indd 133
133
8/1/2562 17:44:02
อาคารเสนาสนะ
อุโบสถ อุโบสถหลังเก่า พระอุปัชฌาย์คง พุทฺธสโร เจ้าอาวาสเป็น ประธานจัดสร้างไว้ เมื่อปี พ.ศ. 2426 ก่ออิฐถือปูน มุงกระเบื้องไทย อุโบสถหลังปัจจุบนั พระครูสงั วรกิตติ์ (เทด ธมฺมทินโฺ น) เจ้าอาวาส อดีต เจ้าคณะอ�ำเภอฯ เป็นประธานก่อสร้าง ก่ออิฐถือปูนแบบเดิม แต่ขยาย ให้กว้างใหญ่ขึ้น ชั้นบนมุงด้วยกระเบื้องปูนซีเมนต์ ชั้นล่างมุงด้วย กระเบื้องดินเผา สร้างเมื่อ พ.ศ. 2463 โรงเรียนธรรมวิทยากร (โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม) พระวิสทุ ธิธรรมาจารย์ เป็นช่างท�ำและด�ำเนินการเอง และเมื่อปี พ.ศ. 2472 ได้เปิดสอบธรรม สนามหลวง อ�ำ เภอศรีมหาโพธิ เป็น ครั้ง แรกก่อนการสร้างวัด เมื่อ พ.ศ. 2466 โดยหมื่ น พิ ทั ก ษ์ โ พธิ ภู มิ (ทองค� ำ ) นางหรั่ ง เครื อ แป้ น สองสามี ภรรยาท�ำการสร้างหอสวดมนต์ขึ้น ในสมัยพระครูสังวรกิตติ์ เป็นเจ้าอาวาสและเจ้าคณะอ�ำเภอฯ ได้อาราธนาพระอาจารย์ พัน สุวณฺโณ (อาจารย์พนั ภาระตะ) จากวัดสระเกศ กรุงเทพมหานคร มาเป็นครูสอน เป็นรูปแรก เมือ่ สร้างโรงเรียนถาวรขึน้ แล้วจึงเลิกสอนทีห่ อสวดมนต์ แล้ว ย้ายมาสอนที่โรงเรียนธรรมวิทยากรตั้งแต่ พ.ศ. 2472 จนถึงปัจจุบัน นอกจากเปิ ด สอนนักธรรม ยัง เปิดสอนภาษาบาลีขึ้นอีกแผนกหนึ่ง เมื่อ พ.ศ. 2473 โดยได้อาราธนาพระมหาอ�ำนวย ติสฺสทตฺโต ป.ธ.5 (นายอ�ำนวย ศรีเ งิน ) วัดมหรรณพารามวรวิหาร กรุงเทพมหานคร มาท�ำสอนเป็นครั้งแรก
ภายในอุโบสถ
โรงเรียนธรรมวิทยากร
อุโบสถ
อุโบสถ 134
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
(6
).indd 134
8/1/2562 17:44:08
โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทอง
ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เลขที่ 87 หมู่ 3 ต�ำบลศรีมหาโพธิ อ�ำเภอศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี 25140 เป็นโรงเรียนเอกชนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนา สังกัด ส�ำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน กระทรวง ศึกษาธิการ มุ่งสงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาสทางการศึกษาและบุคคลทั่วไป โดยไม่เก็บค่าธรรมเนียมการเรียน กระทรวงศึกษาธิการให้การอุดหนุน ค่าใช้จ่ายรายบุคคล 100%
ผู้บริหารโรงเรียน 1. ผูร้ บั ใบอนุญาต พระวิสทุ ธิธรรมาจารย์ (พระมหาบรรจง อาภาธโร ป.ธ.4) รองเจ้าคณะจังหวัดปราจีนบุรี ด�ำรงต�ำแหน่ง 43 ปี 2. ผู้จัดการ พระพิศาลศึกษากร (พระมหาสุดใจ ยโสธโร ป.ธ.4) วุฒิทางการศึกษา พธ.ด. ด�ำรงต�ำแหน่ง 34 ปี 3. ผู้อำ� นวยการ นายอุดม ช�ำนิ วุฒิทางการศึกษา พธ.ด. ด�ำรงต�ำแหน่ง 44 ปี
วิสัยทัศน์
การจัดตั้ง จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2498 โดยคณะสงฆ์อ�ำเภอ ศรีมหาโพธิ น�ำโดย พระวิสทุ ธิธรรมาจารย์ อดีตเจ้าอาวาสวัดใหม่กรงทอง และอดีตเจ้าคณะจังหวัดปราจีนบุรี ร่วมกับพระครูศรีมหาโพธิคณารักษ์ อดีตเจ้าคณะอ�ำเภอศรีมหาโพธิ จัดสร้างขึ้นด้วยงบประมาณจากทาง รัฐบาล จ�ำนวน 200,000 บาท ปัจจุบนั มีเนือ้ ที่ 31 ไร่ อาคารเรียน 5 หลัง จ�ำนวน 120 ห้องเรียน อาคารเรียน จ�ำนวน 5 หลัง อาคารศูนย์กีฬา 1 หลัง อาคารประกอบการ 3 หลัง เปิดสอนตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาลถึง ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ปีการศึกษา 2561 ณ วันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2561 มีคณะครูและบุคลากร 256 รูป /คน นักเรียน 5,540 รูป /คน
“มุง่ พัฒนานักเรียนให้มคี วามเป็นเลิศด้านวิชาการควบคูค่ ณ ุ ธรรม” ปรัชญาของโรงเรียน “สุวิชาโน ภวํ โหติ ผู้รู้ดีเป็นผู้เจริญ” ผู้รู้ดี คือ 1. รู้จักเหตุ รู้จักผล 2. รู้จักเหตุที่ควรละ รู้จักเหตุที่ควรบ�ำเพ็ญ 3. รู้จักเหตุแห่งความเสื่อม และเหตุแห่งความเจริญ ผู้เจริญ คือ 1. เจริญด้วยลาภ ยศ สรรเสริญสุข 2. เจริญด้วยศีลธรรมประจ�ำกาย วาจา ใจ ในทุกอิริยาบถ
โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทอง
PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
(6
).indd 135
135
8/1/2562 17:44:15
พระพิศาลศึกษากร, ดร., น.ธ.เอก., ป.ธ.4, พธ.ด. (สุดใจ ยโสธโร) เจ้าคณะจังหวัดปราจีนบุรี
ชาติภูมิและประวัติด้านการศึกษา พระพิศาลศึกษากร นามเดิม สุดใจ องค์ยา เกิดวันพฤหัสบดีที่ 1 มี น าคม พ.ศ. 2486 ณ บ้ า นเลขที่ 17 หมู ่ ที่ 10 ต� ำ บลดงบั ง อ�ำเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี อุปสมบท เมือ่ วันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2508 โดยมีพระครูจนั ทรสารคุณ เจ้าอาวาสวัดบ้านโนน เจ้าคณะต�ำบลดงบัง เป็นพระอุปัชฌาย์ ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2510 ย้ายมาจ�ำพรรษา ณ วัดใหม่กรงทอง อ�ำเภอศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี เพือ่ ศึกษาบาลีและศึกษาต่อในระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 5 จนสามารถสอบได้เปรียญธรรม 4 ประโยค สอบได้นักธรรมชั้นเอก และ ส�ำเร็จการศึกษาชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 7 จากโรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทอง เมือ่ ปี พ.ศ. 2513 และในปี พ.ศ. 2515 ย้ายไปจ�ำพรรษา ณ วัดพระยาท�ำ กรุงเทพมหานคร ในปี พ.ศ. 2524 ได้ย้ายกลับมาที่วัดใหม่กรงทอง และเป็ น ครู ส อนโรงเรี ย นมั ธ ยมวั ด ใหม่ ก รงทอง ในปี พ.ศ. 2526 พระภิกษุสมศรี ภูมพิ ฒ ั น์ ดร. ได้ลาสิกขาและลาออกจากต�ำแหน่งผูจ้ ดั การ โรงเรี ย นมั ธ ยมวัดใหม่กรงทอง เพื่อไปสอนที่มหาวิทยาลัยศรีปทุม พระมหาสุดใจ ยโสธโร จึงได้รบั แต่งตัง้ ให้ดำ� รงต�ำแหน่ง ผูจ้ ดั การโรงเรียน มัธยมวัดใหม่กรงทอง ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา จนกระทั่งปัจจุบัน รวมระยะ เวลากว่า 35 ปี พระพิศาลศึกษากร (สุดใจ ยโสธโร) เป็นผู้ที่มุ่งมั่นด้านการจัดการ ศึกษาเพื่อเด็กและเยาวชนที่ด้อยโอกาสทางการศึกษาเป็นอย่างยิ่งหลัง จากที่ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้จัดการ ได้น�ำคณะครูพัฒนาโรงเรียนใน ทุกด้าน ทัง้ ด้านวิชาการ คุณธรรม จริยธรรม โดยเฉพาะด้านอาคารสถานที่ และสื่อการเรียนการสอน ท�ำให้เป็นที่ยอมรับจากผู้ปกครอง ชุมชนและ หน่วยงานทางการศึกษาเป็นอันมาก จนท�ำให้มีจำ� นวนนักเรียนเพิ่มขึ้น ในทุกๆ ปี เมื่อปี พ.ศ. 2526 เข้ารับต�ำแหน่งผูจ้ ดั การ มีนกั เรียนจ�ำนวน 1,470 คน ปี พ.ศ. 2561 มีจำ� นวนนักเรียนรวมทั้งสิ้น 5,540 คน คณะครู 256 คน
สมณศักดิ์ • พ.ศ. 2546 เป็นพระครูสญ ั ญาบัตรรองเจ้าคณะอ�ำเภอ ชัน้ เอก (รจอ.ชอ.) ในราชทินนาม พระครูวิบูลโพธาภิรัต • พ.ศ. 2548 เป็นพระครูสัญญาบัตรเจ้าคณะอ�ำเภอ ชั้นโท (จอ.ชท.) ในราชทินนาม พระครูวิบูลโพธาภิรัต • พ.ศ. 2551 เป็นพระครูสัญญาบัตรเจ้าคณะอ�ำเภอ ชั้นเอก (จอ.ชอ.) ในราชทินนาม พระครูวิบูลโพธาภิรัต • พ.ศ. 2555 เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ ในราชทินนาม พระพิศาลศึกษากร
ภายในสถานที่ท�ำบุญปิดทอง
136
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
(6
).indd 136
8/1/2562 17:44:20
แหล่งท่องเที่ยว
ตลาดน�ำ้ วัดใหม่กรงทอง วัดใหม่กรงทองเป็นสถานทีพ่ กั ผ่อนหย่อนใจ ของประชาชน นักท่องเทีย่ วสามารถมาสักการะสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ ให้อาหารปลา และเที่ ยวชมวิ ถี ชี วิ ต ของชาวบ้ า นริ ม ฝั ่ ง แม่ น�้ ำ แม่ ค ้ า พ่ อ ค้ า ในพื้ น ที่ น�ำอาหารพื้นบ้านสินค้าท้องถิ่นมาขาย ตลาดน�้ำวัดใหม่กรงทองได้รับ การส่งเสริมสนับสนุนจากกรมการค้าภายในกระทรวงพาณิชย์ ให้เป็น “ตลาดประชารัฐต้องชม” โดยส�ำนักงานพาณิชย์จงั หวัดปราจีนบุรี ร่วมกับ คณะกรรมการการตลาด หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและชุมชนเชื่อมโยงการ ท่องเที่ยว ซึ่งตลาดน�ำ้ วัดใหม่กรงทองแห่งนี้มีสินค้าจากชาวบ้านมาขาย มากมาย มีขนมและอาหารพื้นบ้านที่มีรสชาติอร่อย มีคุณภาพดี และ พืชผักที่ชาวบ้านปลูกเองน�ำมาขาย รับรองได้ว่านักท่องเที่ยวที่มาเที่ยว ชมที่นี่จะต้องประทับใจอย่างแน่นอน
ตลาดประชารัฐต้องชม
PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
(6
).indd 137
137
8/1/2562 17:44:24
W O R K L IF E
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล
เทศบาลตำ�บลนาดี “เทศบาลต�ำบลนาดีน่าอยู่ เชิดชูศิลปวัฒนธรรมและประเพณี ประชาชนมีส่วนร่วมพัฒนา สร้างชุมชนเข้มแข็ง สุขภาพดีถ้วนหน้า การศึกษาก้าวไกล ใส่ ใจเศรษฐกิจพอเพียง” วิสัยทัศน์ของเทศบาลต�ำบลนาดี
ที่ตั้งชุมชนหรือต�ำบล เทศบาลต� ำ บลนาดี มี พื้ น ที่ ทั้ ง หมด 13 ตารางกิ โ ลเมตร ส�ำนักงานเทศบาลตัง้ อยูเ่ ลขที่ 577 หมูท่ ี่ 1 ต�ำบลส�ำพันตา อ�ำเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี ครอบคลุมพื้นที่ 2 ต�ำบลเป็นบางส่วน คือ หมู่ที่ 1, 3, 4 ต�ำบลนาดี และหมู่ที่ 1, 2 ต�ำบลส�ำพันตา เทศบาลต�ำบลนาดีแบ่งเขตการปกครอง ประกอบด้วย 5 หมู่บ้าน ครอบคลุมพื้นที่ 2 ต�ำบลเป็นบางส่วน ดังนี้ บ้านนาดี หมู่ที่ 1 ต�ำบลนาดี บ้านแดง หมู่ที่ 3 ต�ำบลนาดี บ้านเสี้ยว หมู่ที่ 4 ต�ำบลนาดี บ้านส�ำพันตา หมู่ที่ 1 ต�ำบลส�ำพันตา บ้านส�ำพันตา หมู่ที่ 2 ต�ำบลส�ำพันตา 138
.
(5
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
).indd 138
8/1/2562 16:50:22
นายเทวั น เสี ย งเจริ ญ นายกเทศมนตรีต�ำบลนาดี
PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.
(5
).indd 139
139
8/1/2562 16:50:29
ประเพณีและงานประจ�ำปี • วันขึ้นปีใหม่ ต้นเดือนมกราคม จัดกิจกรรมท�ำบุญตักบาตร • งานปิดทองรอยพระพุทธบาท ประมาณเดือนมีนาคม ปิดทอง รอยพระพุทธบาทและมีมหรสพฉลองตลอดทั้งคืน • วันสงกรานต์ กลางเดือนเมษายน จัดกิจกรรมท�ำบุญตักบาตร รดน�้ำด�ำหัวผู้สูงอายุ • งานบุ ญ บั้ ง ไฟ ประมาณเดื อ นพฤษภาคม จั ด ขบวนแห่ บั้ ง ไฟ การแข่งขันจุดบั้งไฟ และมีการละเล่นต่างๆ • งานแห่เทียนเข้าพรรษา ประมาณเดือนกรกฎาคม จัดขบวนแห่เทียน เข้าพรรษาตามวัดต่างๆ • วันลอยกระทง ประมาณเดือนพฤศจิกายน จัดกิจกรรมลอยกระทง ที่ล�ำคลองและมีมหรสพ
140
.
(5
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
).indd 140
8/1/2562 16:50:41
สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึกที่โดดเด่น • ขนมเขียว อ�ำเภอนาดี
PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.
(5
).indd 141
141
8/1/2562 16:50:50
142
.
(5
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
).indd 142
8/1/2562 16:50:59
สถาปัตยกรรม “วัดรัตนเนตตาราม” จากเปลือกหอย สถาปัตยกรรมวัดรัตนเนตตาราม ในเขตอ�ำเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี
เป็นที่กล่าวขานถึงความแปลกตา เพราะได้น�ำเปลือกหอยที่ถูกทิ้ง กลับมาใช้ประโยชน์ สร้างความสวยงามให้กับวัด โดยฝีมือของ เจ้าอาวาส พระ และเณร เพือ่ ถวายเป็นพุทธบูชา ความวิจติ รบรรจง ของงานพุทธศิลป์จากเปลือกหอยที่หาชมได้ยาก ท�ำให้วัดแห่งนี้ เป็นอีกหนึง่ วัด Unseen ทีท่ งั้ สวยงาม และยังแสดงถึง ความศรัทธา ในพระพุทธศาสนาของคนในพื้นที่ อาคารหอพระแก้วสามฤดู หรือ มณฑปที่วัดรัตนเนตตาราม ตัง้ ตระหง่านเป็นจุดเด่น ท่ามกลางแมกไม้ ด้วยโทนสีสม้ ทอง ดูสวยงาม เมื่อเข้าไปมองใกล้ๆ จึงเห็นว่าได้น�ำเอาเปลือกหอยสารพัดชนิด จากท้องทะเล มาประดับตกแต่งอย่างวิจิตรบรรจง บ้างซ้อนกัน เป็นดอกไม้ บ้างเรียงออกมาเป็นลวดลายอย่างกลมกลืน พญานาคทีบ่ ริเวณทางขึน้ ก็ใช้เปลือกหอยแครงน�ำมาเรียงเป็นเกล็ด ส่วนใต้บนั ไดมณฑป น�ำหอยกาบ หรือ หอยจานขนาดใหญ่ มาประดับ เพิ่ม สีสันด้วยสีส้ม บรอนซ์ เคลือบเปลือกหอยด้านนอกอาคาร ให้สวยงาม ทนทานต่อทุกสภาพอากาศ นีเ่ ป็นความตัง้ ใจของ “พระอธิการ สิรลิ กั ษณ์ ธีรวังโส” เจ้าอาวาส ในการท�ำเป็นพุทธบูชา หลังจากทีเ่ ดินบิณฑบาต แล้วพบหอยแครง ถูกทิ้งขว้างมากมายนานหลายเดือนหลายปี ก็ยังคงอยู่สภาพเดิม ไม่ผุพัง จึงมีแนวคิดน�ำมาประดับรอบหอพระ ทั้งหมดนี้เป็นฝีมือ ของท่านเจ้าอาวาส และพระลูกวัด ช่วยกันท�ำด้วยใจ แม้ไม่ได้ ร�่ำเรียนทางด้านศิลปะมาก่อน ชมความวิจติ รงดงามด้านนอกแล้ว ภายในมณฑปยิง่ ไม่ธรรมดา เพราะใช้หอยกาบ หรือหายจาน ตัวใหญ่ และหอยสังข์ ที่ลูกศิษย์ น�ำมาถวายมาประดับเรียงรายให้เป็นรูปดอกไม้เล็กใหญ่ แม้กระทัง่ ฝ้าเพดาน เสา และผนัง รวมทั้งยังมีการน�ำรูปปั้นพระพุทธรูป และ รู ป ปั ้ น นกแก้ ว นกขุ น ทองมาประดั บ ไว้ ซึ่ ง ในส่ ว นนี้ ไม่ มี ก าร แต่งแต้มสีใดๆ ลงปนกับเปลือกหอย เป็นสีธรรมชาติล้วนๆ สถาปัตยกรรมของมณฑปวัดรัตนเนตตาราม และอาคารโดยรอบ เป็นที่กล่าวขานถึงความแปลกตา แต่งดงามอ่อนช้อย ด้วยการ ประดับประดาเปลือกหอยนานาชนิด เพื่อให้เป็นที่นั่งปฏิบัติธรรม เจริญภาวนา ขณะนี้การก่อสร้างใกล้แล้วเสร็จ ด้วยปัจจัยจาก หยาดเหงื่ อ ของเกษตรกรผู ้ ป ลู ก ข้ า ว และประชาชนที่ อ าศั ย อยู ่ บริเวณใกล้เคียง ให้เป็นอนุสรณ์แสดงถึงความศรัทธาอย่างแรงกล้า ในพระพุทธศาสนา
PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.
(5
).indd 143
143
8/1/2562 16:51:06
W O R K L IF E
บันทึกเส้นทางพบที่ว่าการอ�ำเภอกบินทร์บุรี
ที่ว่าการอำ�เภอกบินทร์บุรี “กบินทร์บุรีเมืองดีด้านเกษตร เชิงนิเวศเขตอุตสาหกรรม น้อมน�ำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” วิสัยทัศน์ของอ�ำเภอกบินทร์บุรี
ประวัติความเป็นมา
นายวั ล ลภ ประวัติวงค์ นายอ�ำเภอกบินทร์บุรี
เมืองด่านหนุมาน ต้นธาราบางปะกง เหมืองแร่ทองค�ำบ่อทอง เขตอุตสาหกรรมที่ดี 144
(2
ค�ำขวัญ
ประตูสู่อีสานด้านบูรพา ดงกระเฉดชะลูดน�้ำ หนองปลาแขยงแหล่งน�้ำ วัดมากมีคู่เมือง
ที่ว่าการอ�ำเภอกบินทร์บุรี ตั้งอยู่เลขที่ 999 หมู่ 2 ต�ำบลกบินทร์ อ�ำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี เมืองกบินทร์บุรีเดิมตั้งอยู่ ณ หมู่บ้านหนุมาน ห่างจากที่ตั้งปัจจุบันไป ทางทิ ศ ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ประมาณ 7 กิโลเมตร เนือ่ งจากพืน้ ทีเ่ ดิมกันดารไม่สะดวก ต่ อ การคมนาคม จึ ง ย้ า ยมาตั้ ง เมื อ งใหม่ ที่ บ้านปากน�้ำ เมื่อปี พ.ศ. 2499 ซึ่งเป็น ที่ บ รรจบกั น ระหว่ า ง “แควหนุ ม าน” กั บ “แควพระปรง” รวมเป็นต้นแม่น�้ำปราจีนบุรี ที่ มี ร ะบบคมนาคมทางน�้ ำ ที่ ส ะดวก สบาย มี ชั ย ภู มิ ที่ เ อื้ อ อ� ำ นวยต่ อ การควบคุ ม และ การตรวจภาษี ส่วนหมู่บ้านหนุมานเดิมคือ ต�ำบลเมืองเก่า อ�ำเภอกบินทร์บุรี ในปัจจุบัน สมัยพระนเรศวรมหาราช กรุงศรีอยุธยา ท�ำสงครามติดพันอยู่กับพม่า เขมรยกก�ำลัง เข้ า ก่ อ กวนชายแดนทางภาคตะวั น ออก สมเด็จพระนเรศวรตรัสสั่งให้พระยาศรีไสย ณรงค์และพระยาสีหราชเดโชน�ำทัพไปปราบ ญวนที่มารุกราน เขมรซึ่งเป็นประเทศราชของ สยาม เจ้าพระยาบดินทร์ฯ ได้ใช้เมืองกบินทร์ เป็นที่ชุมนุมไพร่พล สร้างยุ้งฉางสะสมเสบียง ไว้เป็นก�ำลัง จนเสร็จทัพ เมื่อปี พ.ศ. 2457 ทางราชการได้ ป รั บ ปรุ ง การปกครองของ ประเทศโดยได้ยุบฐานะเมืองกบินทร์บุรีลง เป็ น อ� ำ เภอให้ ขึ้ น ตรงต่ อจั ง หวั ด ปราจี น บุ รี เมื่อปี พ.ศ. 2469 จนถึงปัจจุบัน
ข้อมูลการปกครอง
ต�ำบล 14 แห่ง หมู่บ้าน 193 แห่ง เทศบาล 3 แห่ง อบต. 14 แห่ง
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
).indd 144
3/1/2562 16:45:42
สถานที่ท่องเที่ยวส�ำคัญ พิพธิ ภัณฑ์เหมืองแร่ทองค�ำ บ้านบ่อทอง ต�ำบลบ่อทอง เป็นสถานที่ รวบรวมเอกสาร วัตถุโบราณ สิง่ ของเครือ่ งมือเครือ่ งใช้ในประวัตศิ าสตร์ เกี่ยวกับการท�ำเหมืองทองค�ำในท้องถิ่นสมัยรัชกาลที่ 5 หนองปลาแขยง ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลต�ำบลเมืองเก่า อยู่ติดกับ ถนนสุวรรณศร เป็นหนองน�ำ้ ขนาดใหญ่และแหล่งเพาะพันธ์ปลาขนาดใหญ่ ในช่วงฤดูร้อนของทุกปีจะมีนกเป็ดน�้ำมาอาศัยอยู่เป็นจ�ำนวนมาก ปั จ จุ บั น ได้ มี ก ารปรั บ ปรุ ง พื้ น ที่ บ างส่ ว นเป็ น สวนสาธารณะเหมาะ ส�ำหรับการพักผ่อนหย่อนใจ วัดหลวงบดินทร์เดชา ตั้งอยู่บ้านดงเย็น หมู่ 10 ต�ำบลเมืองเก่า เป็นวัดเก่าแก่ สร้างขึ้นสมัยที่หลวงบดินทรเดชา ยกทัพไปปราบญวน เมื่อสมัยพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ต้นแม่น�้ำบางปะกง เป็นจุดที่แควหนุมานและแควพระปรงไหลมา รวมกันกลายเป็นแม่น�้ำบางปะกง ณ บริเวณส�ำนักงานที่ดินฯ สาขา กบินทร์บุรี ปัจจุบันได้มีการปรับปรุงเป็นสวนสาธารณะเป็นสถานที่พัก ผ่อนหย่อนใจ PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
(2
).indd 145
145
3/1/2562 16:45:51
W O R K L IF E
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล
เทศบาลตำ�บลกบินทร์ “หนุ ม านด่ า นที่ ส อง แหลมทองข้ า วโพดเด็ ด ผั ก กะเฉดชะลู ด น�้ ำ งามล�้ ำ ต้ น น�้ ำ บางปะกง” ค� ำ ขวั ญ ของเทศบาลต� ำ บลกบิ น ทร์
สภาพทั่วไป เทศบาลต�ำบลกบินทร์ได้จัดตั้งเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 (ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 74) ตอนที่ 16 วันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 ถึงปัจจุบนั มีเนือ้ ทีป่ ระมาณ 4.48 ตารางกิโลเมตร โดยมีอาณาเขต ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับหมู่ที่ 1 ต�ำบลนาแขม อ�ำเภอกบินทร์บุรี ทิศใต้ ติดต่อกับหมู่ที่ 9 ต�ำบลกบินทร์ อ�ำเภอกบินทร์บุรี ทิศตะวันออก ติดต่อกับหมู่ที่ 12 หมู่ที่ 13 และหมู่ที่ 14 วังห้าง ต�ำบลเมืองเก่า ทิศตะวันตก ติดต่อกับหมู่ที่ 2 หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 11 ต�ำบลกบินทร์ อ�ำเภอกบินทร์บุรี
146
(4
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
).indd 146
8/1/2562 16:58:00
ประวัติหลวงพ่อพุก พระครูกบินจริยาธิมุต (พุก พรหมโชติ) หลวงพ่อพุก เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2402 ทีบ่ า้ นด่านประจันตคาม อ�ำเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี ท่านได้บรรพชา ในปี พ.ศ. 2418 อายุ 16 ปี อุปสมบท ปี พ.ศ. 2422 มรณภาพ วันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2482 รวมสิรอิ ายุ 80 ปี 60 พรรษา ต้นปี พ.ศ. 2482 ศิษยานุศิษย์และชาวบ้านได้ขออนุญาตท่านจัดงาน ท�ำบุญฉลองอายุให้ท่าน และจัดสร้างเหรียญที่ระลึกขึ้น เป็นเหรียญ เนื้อเงินลงยา แจกกรรมการและชนิดเนื้ออัลปาก้า แจกสาธุชนทั่วไป พุ ท ธคุ ณ ของเหรี ย ญด้ า นแคล้ ว คลาดปลอดภั ย ชาวกบิ น ทร์ บุ รี มีประสบการณ์กนั มาก ต่างหวงแหนโดยเฉพาะเหรียญเนือ้ เงินลงยานัน้ หายากมาก
นายรั ง สรรค์ บุ ต รเนี ย ร นายกเทศมนตรีต�ำบลกบินทร์
นายสมชาย สมบู รณ์ กุ ล รองนายกเทศมนตรี
นางณิ ช าภา ทิ พ ยารมณ์ รองนายกเทศมนตรี
นายภานุ วั ฒน์ สร้ อ ยโท ปลัดเทศบาลต�ำบล
PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
(4
).indd 147
147
8/1/2562 16:58:12
สถานที่ส�ำคัญ วัดท่าพาณิชย์ ปัจจุบนั ตัง้ อยูบ่ นถนนอนุกลู ต�ำบลกบินทร์ เดิมวัดแห่งนีต้ งั้ อยูฝ่ ง่ั ขวา ของแม่น�้ำบางปะกง ระหว่างแควหนุมานเป็นท่าเรือซึ่งมีพ่อค้าแม่ค้า มาติดต่อค้าขายกันมากมาย บรรดาพ่อค้าและแม่คา้ เหล่านีเ้ ป็นชาวพุทธ อยากจะท�ำบุญให้ทาน แต่หาวัดที่ใกล้เคียงกับที่จอดเรือไม่ได้ จึงได้ บริจาคทรัพย์และร่วมกันสร้างวัดนีข้ นึ้ เมือ่ วันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2336 ต่อมาการคมนาคมทางน�้ำเสื่อมลงอีกทั้งวัดอยู่ในสภาพทรุดโทรมมาก และกระแสน�้ำที่ไหลเชี่ยวไม่สะดวกต่อประชาชนที่เดินทางไปท�ำบุญ พระครูประสาธน์ยติกิจ เจ้าอาวาสจึงได้ย้ายวัดท่าพาณิชย์มาตั้งที่ใหม่ ในปัจจุบันนี้ เมื่อ พ.ศ. 2512 สิ่งที่น่าสนใจในวัดนี้ก็คือ พระพุทธรูป เชียงแสนมีอายุประมาณ 720 ปี และพระพุทธชินราชหล่อเมือ่ พ.ศ. 2512 เป็นพระประธานในอุโบสถทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในอ�ำเภอกบินทร์บรุ ี หน้าตักกว้าง 5 ศอก 9 นิ้ว สูง 7 ศอก วัดพระยาท�ำ ตั้ ง อยู ่ ที่ ต� ำบลกบิ น ทร์ สร้ า งเมื่ อ ประมาณปี พ.ศ. 2363 เมื่ อ เจ้าพระยาบดินทร์เดชานุชิต (สิงห์) เป็นแม่ทัพไปรบเขมรและพระยา ภิรมย์มาตั้งฉางข้าวที่ปากน�้ำเจ้าพระยาบดินทร์ฯ กับพระยาภิรมย์ได้ นิมนต์ทา่ นอาจารย์คมุ้ มาด้วย เพราะท่านเชีย่ วชาญในทางแพทย์ศาสตร์ และไตรเภทต่างๆ เมื่อมีพระภิกษุมาด้วยเช่นนี้ จึงได้สร้างวัดขึ้นและ เนือ่ งจากมีตน้ กระโดนใหญ่อยูท่ วี่ ดั จึงตัง้ ชือ่ ว่า “วัดกระโดน” ผ่านมา 7 ปี มีพระภิกษุมากขึ้น เจ้าพระยาบดินทร์ฯ จึงตั้งให้พระยาภิรมย์จัดแจง ยกพระอุโบสถขึ้น พร้อมทั้งขอพระบรมราชานุญาตผูกพัทธสีมา เพราะ ว่าวัดนี้เป็นวัดที่ท่านผู้ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นพระยาได้จัดการก่อสร้างขึ้น ฉะนั้นจึงได้นามว่า “วัดพระยาท�ำ” สืบมาจนถึงทุกวันนี้ สิ่งที่น่าสนใจ ของวัดนี้ก็คือ รูปหล่อพระครูกบินจริยาธิมุต (หลวงพ่อพุก พรหมโชติ) ซึ่งบรรจุอัฐิของหลวงพ่อไว้เป็นที่เคารพกราบไหว้ของคนทั่วไปทั้งใน อ�ำเภอกบินทร์บรุ เี องและต่างจังหวัด นอกจากนีย้ งั มีพระพุทธรูปเก่าแก่ ปางต่างๆ ด้วย
148
(4
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
).indd 148
8/1/2562 16:58:20
เทวสถานทงเยี่ยงไท้ เป็นของมูลนิธสิ จั จพุทธธรรมแห่งประเทศไทย ตัง้ อยูใ่ นเขตเทศบาล ต�ำบลกบินทร์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ.2508 ภายใน เทวสถาน ประกอบไปด้วยเทวสถานโป๊ยเซียนโจวชือ ศาลเจ้าพ่อใหญ่ แห่งกบินทร์และศาลาประชาคม สถานทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิแ์ ห่งนี้ เป็นทีก่ ราบไหว้ เคารพนั บ ถื อ ของคนจี น และคนไทย ในเขตอ� ำ เภอกบิ น ทร์ บุ รี แ ละ บุคคลทั่วไป เป็นสถานที่สงบ สวยงาม ควรแก่การเคารพกราบไหว้ สวน 72 พรรษา มหามงคล สร้ า งขึ้ น เพื่ อ เฉลิ ม พระเกี ย รติ พ ระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทร มหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ครองราชย์ครบ 50 ปี เมือ่ พ.ศ. 2539 ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลต�ำบลกบินทร์ อ�ำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี เป็นพืน้ ทีพ่ กั ผ่อนหย่อนใจส�ำหรับชาวกบินทร์บรุ แี ละพืน้ ทีใ่ กล้เคียง เป็น ทัง้ สนามกีฬา ทีอ่ อกก�ำลังกาย ทีว่ งิ่ ทีเ่ ดิน ที่ปิกนิกของครอบครัว และ เป็นที่ชมธรรมชาติที่ไม่ควรพลาดแห่งหนึ่งในอ�ำเภอกบินทร์บุรี
ประวัติการรถไฟแห่งประเทศไทย เริ่ ม มี ขึ้ น ในรั ช สมั ย พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว รัชกาลที่ 5 แต่รถไฟสายแรกทีว่ งิ่ ระหว่างฉะเชิงเทรา-กบินทร์บรุ ี เริม่ มีขนึ้ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ระยะทาง 100 กิโลเมตร เมือ่ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2467 ส่วนกบินทร์บรุ -ี อรัญประเทศ ระยะทาง 94 กิโลเมตร เมือ่ วันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2469 ซึ่งรถจักร หมายเลข 63 จัดซื้อเมื่อ พ.ศ. 2451 จากประเทศอังกฤษ เป็นเงิน 9,216 บาท ปลดระวางการใช้เมื่อ พ.ศ. 2508 อายุการใช้งาน 54 ปี เทศบาลต�ำบลกบินทร์ ได้นำ� มาอนุรกั ษ์ไว้ ณ บริเวณสวนน้อมเกล้ามหาราช PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
(4
).indd 149
149
8/1/2562 16:58:31
W O R K L IF E
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล
เทศบาลตำ�บลเมืองเก่า “บ้ า นเมื อ งสะอาด สั ง คมเป็ น สุ ข ทุ ก คนปลอดภั ย ร่ ว มใจรั ก ษาวั ฒ นธรรม สร้ า งพฤติ ก รรมรั ก ษ์ สิ่ ง แวดล้ อ ม พร้ อ มน� ำ พาสู ่ เ ศรษฐกิ จ ประชาคมอาเซี ย น” วิสัยทัศน์ของเทศบาลต�ำบลเมืองเก่า
ยุทธศาสตร์การพัฒนา • ด้านการพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐาน • ด้านการพัฒนาสังคม ส่งเสริมคุณภาพชีวติ และการศึกษา • ด้านการจัดระเบียบชุมชน/สังคม และการรักษาความสงบเรียบร้อย • ด้านการบริหารจัดการบ้านเมืองและองค์กร • ด้านการบริหารจัดการและอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม • ด้านศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น กีฬาและ นันทนาการ
สินค้า
นายกเทศมนตรีต�ำบลเมืองเก่า
• ข้าวโพดแปดแถว • พรมเช็ดเท้าจากเศษผ้า
นายสมบัติ ภูส ง่า
ปลัดเทศบาลต�ำบลเมืองเก่า
150
นายเฉลิ ม พล หริตวร
นางสาวอมรรัตน์ ย่านเดิม รองปลัดเทศบาลต�ำบลเมืองเก่า
นายเฉลิมศักดิ์ หริตวร
รองนายกเทศมนตรีตําบลเมืองเก่า
นายอนั น ต์ พลาหาญ
รองนายกเทศมนตรีตําบลเมืองเก่า
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
(2
).indd 150
8/1/2562 17:01:58
วัดหลวงบดินทร์เดชา (สิงห์ สิงหเสนี) วั ด หลวงบดิ น ทร์ เ ดชา ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 1 หมู ่ ที่ 10 บ้ า นเมื อ งใหม่ ถนนฉะเชิ ง เทรา-นครราชสี ม า ต� ำ บลเมื อ งเก่ า อ� ำ เภอกบิ น ทร์ บุ รี จั ง หวั ด ปราจี น บุ รี เ ป็ นวั ด เก่ า แก่ ที่ มี ค วามส� ำคั ญทางประวั ติ ศ าสตร์ และสังคม วัดหลวงบดินทร์เดชาตัง้ เมือ่ วันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2351 และเมื่อปลายปี พ.ศ. 2371 เจ้าพระยาบดินทร์เดชาฯ ขอพระราชทาน ยกด่านหนุมานขึน้ เป็นเมือง ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ยกด่านหนุมาน ขึ้นเป็น “เมืองกบินทร์บุรี” และตั้งท้าวฟองราชวงศ์เมืองกาฬสินธุ์เป็น “หลวงก�ำแพงมหึมา” ในเวลาต่อมา ประมาณปี พ.ศ. 2375 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยา บดินทร์เดชาฯ เป็นแม่ทัพใหญ่ยกไปปราบญวนในเขมร เจ้าพระยา บดิ น ทร์ เ ดชาฯ ยกกองทั พ ผ่ า นเมื อ งปราจี น บุ รี เมื อ งประจั น ตคาม เมืองกบินทร์บรุ ี ตามล�ำดับ เฉพาะเขตเมืองกบินทร์บรุ ี ได้สร้างวัดหลวง บดินทร์เดชาฯ ต�ำบลเมืองเก่า อ�ำเภอกบินทร์บุรี ตามค�ำบอกเล่าว่า เจ้ า พระยาบดิ น ทร์ เ ดชาฯ พร้ อ มด้ ว ยชาวบ้ า นในท้ อ งถิ่ น ได้ ม าตั้ ง ชุมพลอยู่บริเวณทิศปัจจิม และทิศหรดี ของวัดหลวงบดินทร์เดชาฯ เพราะที่แห่งนี้อยู่ใกล้เมืองกบินทร์บุรีในขณะนั้น และได้เร่งรัดสร้างวัด ขึ้ น จนเสร็ จ แล้ ว ผู ก พั ท ธสี ม า อาราธนาพระหลั ก ค� ำ สิ ง ห์ วั ด กลาง (อยูก่ ลางเมืองกบินทร์บรุ )ี มาเป็นเจ้าอาวาส โดยใช้อโุ บสถของวัดหลวง บดินทร์เดชา เป็นที่ถือน�้ำพิพัฒน์สัตยา ก่อนจะเคลื่อนกองทัพไปยัง เมืองเขมร หรือก่อนออกทัพจับศึกใจแต่ละครัง้ เมือ่ ยกทัพกลับกรุงเทพฯ ก็ได้มาพักแรมและเข้าบ�ำเพ็ญกุศลพิเศษที่วัดนี้ วัดหลวงบดินทร์เดชา มีพระหลักค�ำอยู่ครอง 2 รูป คือ พระหลักค�ำสิงห์ และพระหลักค�ำพัน ต่อมาขาดพระเถระปกครองและขาดการบ�ำรุง จึงเสื่อมโทรม ปัจจุบัน เจ้ า อาวาสรู ป ใหม่ คื อ ท่ า นพระครู บ ดิ น ทร์ เ ดชาภิ วั ฒน์ พร้ อ มด้ ว ย ชาวบ้ า นในท้ อ งถิ่ น และชาวพุ ท ธศาสนิ ก ชนผู ้ มี จิ ตศรั ท ธาทั้ ง หลาย เห็นพร้อมต้องกันที่จะพัฒนาวัดนี้ให้ดีขึ้น
สถานที่ท่องเที่ยวส�ำคัญ อุทยานกบินทร์เฉลิมราชย์ อุทยานกบินทร์เฉลิมราชย์ ตั้งอยู่ริมถนนสุวรรณศรหรือทางหลวง หมายเลข 33 อยูห่ า่ งจากสีแ่ ยกกบินทร์บรุ ี (สามทหาร) เส้นทางจังหวัด ปราจีนบุร-ี นครนายก ประมาณ 2 กิโลเมตร สร้างขึน้ เพือ่ เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร (รัชกาลที่ 9) ในวโรกาสทีพ่ ระองค์ทรงครองราชย์ครบ 50 ปี เมือ่ พ.ศ. 2539
ปัจจุบนั เป็นทัง้ สวนสาธารณะ สถานทีพ่ กั ผ่อนหย่อนใจ สนามกีฬา สถานที่ ออกก�ำลังกาย ชาวบ้านเรียกอีกชือ่ หนึง่ ว่า “หนองปลาแขยง” เนือ่ งจาก เชือ่ กันว่าในอดีตหนองน�ำ้ แห่งนี้ มีปลาแขยงอยูเ่ ป็นจ�ำนวนมาก (ปลาแขยง เป็นปลาน�้ำจืด ชนิด หนึ่ง) เป็นหนองน�้ำที่มีความอุดมสมบูรณ์ และ พืชพรรณไม้นำ�้ ชนิดต่างๆ ให้รม่ เงาร่มรืน่ เย็นสบาย ยามเย็นใช้เป็นจุดชม พระอาทิตย์ตกดินอันแสนสวยงาม PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
(2
).indd 151
151
8/1/2562 17:02:06
W O R K L IF E
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนตำ�บลกบินทร์ “ข้ า วโพดแปดแถวขึ้ น ชื่ อ ถิ่ น เลื่ อ งลื อ แดนเกษตรกรรม ประชาธิ ป ไตยหนุ น น� ำ คุ ณ ธรรมคนต� ำ บลกบิ น ทร์ ” วิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลกบินทร์
ประวั ติ ความเป็น มา เมื่ อวั น ที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2539 ได้ก� ำหนดให้มีการกระจาย อ�ำนาจสู่ท้องถิ่น ตามข้อเสนอกระทรวงมหาดไทยและรัฐธรรมนูญได้ บัญญัติไว้ ต�ำบลกบินทร์จึงได้จัดตั้งองค์การบริหารส่วนต�ำบล เมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2539 ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย สถานที่ ตั้งคือศูนย์ข้อมูลข่าวสารประจ�ำต�ำบล โดยมีนายถนอมวงษ์ สุริยวงษ์ ก�ำนันต�ำบลกบินทร์ ด�ำรงต�ำแหน่งประธานกรรมการบริหารองค์การ บริหารส่วนต�ำบลกบินทร์ เมื่อครบวาระ 4 ปี ได้มีการจัดการเลือกตั้ง ทั่วไปขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2543 โดยมีนายวิเศษ เพียรอุตสาหะ ด�ำรงต�ำแหน่งประธานกรรมการบริหารส่วนต�ำบลกบินทร์ เมื่อครบ วาระ 4 ปี ได้มีการจัดการเลือกตั้งทั่วไปครั้งที่สองขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2547 โดยมีนายกฤษฎากรณ์ สุริยวงษ์ ด�ำรงต�ำแหน่งนายกองค์การบริหาร ส่วนต�ำบลกบินทร์ จนถึงปัจจุบัน ปีพ.ศ. 2539 นายชาญชัย อักโข ด�ำรงต�ำแหน่งปลัดองค์การบริหารส่วนต�ำบลกบินทร์ และได้ย้ายไป ด�ำรงต�ำแหน่งที่อื่น ปีพ.ศ. 2541 นายพิทยา สังฆฤทธ์ ด�ำรงต�ำแหน่ง ปลัดองค์การบริหารส่วนต�ำบลกบินทร์ จนถึงปัจจุบัน 152
.
(6
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
).indd 152
8/1/2562 17:04:36
นายกฤษฎากรณ์ สุ ริ ย วงษ์ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลกบินทร์
ต�ำบลกบินทร์ เป็นต�ำบลเก่าแก่ตั้งแต่ปีพ.ศ.2469 จนถึงปัจจุบัน รวม 75 ปี มี ค วามส� ำ คั ญ ทางประวั ติ ศ าสตร์ เ มื อ งหนึ่ ง ในสมั ย รัตนโกสินทร์ตอนต้น ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ไทยท�ำสงครามกับญวนยืดเยื้อเป็นเวลาหลายปี สมเด็จพระนั่งเกล้า เจ้าอยู่หัว ตรัสให้เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) เป็นแม่ทัพ ไปปราบญวน ซึ่ ง เข้ า มารุ ก รานเขมร เมื อ งประเทศราชของไทย เจ้าพระยาบดินทรเดชามาชุมนุมไพร่พลที่กบินทร์ สร้างยุ้งฉางสะสม เสบียงก�ำลังไว้เป็นทัพหนุน ประชาชนส่วนใหญ่พูดภาษาไทยอีสาน นับถือศาสนาพุทธ ตั้งอยู่ในเขตการปกครองของอ�ำเภอกบินทร์บุรี จั ง หวั ด ปราจี น บุ รี ป ระกอบด้ ว ย 12 หมู ่ บ ้ า นดั ง นี้ บ้ า นโคกสู ง บ้านทุ่งแฝก บ้านปากแพรก บ้านหนองช้างลง บ้านนางเลง บ้านสระดู่ บ้านโคกป่าแพง บ้านโนน บ้านท่าขี้เหล็ก บ้านช�ำโสม บ้านคลองกลาง บ้ า นริ ม น�้ ำ และหมู ่ บ ้ า นที่ อ ยู ่ ใ นเขตการปกครองของเทศบาลเป็ น บางส่วนคือ หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งแฝก หมู่ที่ 4 บ้านหนองช้างลง หมู่ที่ 5 บ้านนางเลง หมู่ที่ 8 บ้านโนน
สถานปฏิบัติธ รรมธุดงค์สถาน สาขาวัดทุ่ง แฝก
สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน ที่ ตั้ ง องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลกบิ น ทร์ เลขที่ 99 หมู ่ ที่ 2 ต�ำบลกบินทร์ อ�ำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี มีระยะห่างจาก อ�ำเภอกบินทร์บุรี ประมาณ 2.5 กิโลเมตร ทิศเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับ องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาแขม ทิศใต้ มีอาณาเขตติดต่อกับ องค์การบริหารส่วนต�ำบลลาดตะเคียน ทิศตะวันออก มีอาณาเขตติดต่อกับ องค์การบริหารส่วนต�ำบลย่านรี ทิศตะวันตก มีอาณาเขตติด ต่อกับ องค์การบริหารส่วนต�ำบล หาดนางแก้ว PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.
(6
).indd 153
153
8/1/2562 17:04:45
ขนมตาลแม่ล�ำไย อบต.กบินทร์ เนื้อที่ เนื้อที่โดยประมาณขององค์การบริหารส่วนต�ำบลกบินทร์ 72 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นจ�ำนวนไร่ประมาณ 45,000 ไร่ ภูมิประเทศ ภูมิประเทศขององค์การบริหารส่วนต�ำบลกบินทร์ โดย ส่วนใหญ่เป็นที่ลุ่มสลับกับที่ดอน โดยเป็นที่ลุ่มประมาณ 35 % และ เป็นที่ดอนประมาณ 65 % ของพื้นที่ทั้งหมด จ�ำนวนหมู่บ้าน ในเขตองค์การบริหารส่วนต�ำบลกบินทร์ มีจ�ำนวน 12 หมูบ่ า้ น จ�ำนวนหมูบ่ า้ นในเขต อบต. เต็มทัง้ หมูบ่ า้ น 12 หมูบ่ า้ น ได้แก่ หมู่ที่ 1 บ้านโคกสูง หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งแฝก หมู่ที่ 3 บ้านปากแพรก หมู่ที่ 4 บ้านหนองช้างลง หมู่ที่ 5 บ้านนางเลง หมู่ที่ 6 บ้านสระดู่ หมู่ที่ 7 บ้านโคกป่าแพง หมู่ที่ 8 บ้านโนน หมู่ที่ 9 บ้านท่าขี้เหล็ก หมู่ที่ 10 บ้านช�ำโสม หมู่ที่ 11 บ้านคลองกลาง หมู่ที่ 12 บ้านริมน�้ำ ประชากร ประชากรทั้งสิ้น 10,301 คน แยกเป็นชาย 5,055 คน หญิง 5,246 คน จ�ำนวน 4,607 ครัวเรือน มีความหนาแน่นเฉลี่ย 177 คน/ตารางกิโลเมตร 154
.
(6
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
).indd 154
8/1/2562 17:04:51
แหล่ง ท่องเที่ยวชุมชน บ้านริมน�้ำ
งานฝีมือช่างเป่าแก้ว บ้านสระดู่ PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.
(6
).indd 155
155
8/1/2562 17:05:00
รางวัลที่ ได้รับ
ได้รับหนังสือรับรองมาตรฐานระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม ขององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น (Environmental Health Accreditation : EHA) ประจ�ำปี 2561 ระดับเกียรติบัตร ในวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2561 ณ หอประชุมฯ ศูนย์ราชการจังหวัดปราจีนบุรี นายพิบูลย์ หัตถกิจโกศล ผู้ว่าราชการจังหวัดปราจีนบุรี เป็นประธาน ในการมอบ ได้รับหนังสือรับรอง การรับรองคุณภาพระบบบริการอนามัย สิง่ แวดล้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ (Environmental Health Accreditation : EHA) ณ วันที่ 12 กรกฎาคม 2561 โดยกรมอนามัย ได้รบั โล่รางวัล “สุดยอดคนพลังงาน” ระดับจังหวัด สาขาองค์กร ปกครองท้องถิน่ (อปท.) จัดการพลังงานครบวงจรยอดเยีย่ ม โครงการ ประชาสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมการจัดการพลังงานที่ดีในระดับชุมชน ประจ�ำปี พ.ศ. 2560 จัดโดยกระทรวงพลังงาน ได้รับรางวัลวิทยุโทรทัศน์แห่งชาติ ครั้งที่ 6 ประจ�ำปี 2561 โล่รางวัล พิฆเนศวร สาขา ผู้ส่งเสริมชุมชนและท้องถิ่นดีเด่น ในวันที่ 5 สิงหาคม 2561 ณ ศูนย์ประชุมสถาบันวิจยั จุฬาภรณ์ กรุงเทพมหานคร
156
.
(6
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
).indd 156
8/1/2562 17:05:05
โครงการที่โดดเด่ น
โครงการตลาดประชารัฐท้องถิ่นสุขใจ Green Market โครงการป้องกันตลิง่ พังโดยใช้หญ้าแฝก ตามแนวพระราชด�ำริ
กลุ่มอาชีพ
กลุ่มอนุรักษ์ควายไทยต�ำบลกบินทร์ ควายชื่อ “ปักษา” ได้รับรางวัลชนะเลิศ อันดับ 1 งานกระบือแห่งชาติ ครัง้ ที่ 22 โดย ร.ต.อ.โกศล ศิลา ประธานกลุ่ม PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.
(6
).indd 157
157
8/1/2562 17:05:16
W O R K L IF E
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนตำ�บลเขาไม้แก้ว องค์การบริหารส่วนต�ำบลเขาไม้แก้ว ตั้งอยู่ที่ 200 หมู่ที่ 4 ต.เขาไม้แก้ว อ.กบินทร์บุรี จ.ปราจีนบุรี 25110 โทรศัพท์ 037-218-918 โทรสาร 037-218-919
นายสมศั ก ดิ์ กุ ล บุตร
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลเขาไม้แก้ว
.
158
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
(6
).indd 158
8/1/2562 17:09:26
สถานที่และประเพณีส�ำคัญ ศาลเจ้าพ่อหอมจันทร์ “เจ้าพ่อหอมจันทร์” ตั้งอยู่บริเวณจุดเช็คอิน ต�ำบลเขาไม้แก้ว สิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ชาวต�ำบลเขาไม้แก้วและต�ำบลใกล้เคียงเคารพนับถือมา ตั้งแต่มีการตั้งรกรากของชุมชน เมื่อชาวบ้านมีเรื่องเดือดเนื้อร้อนใจ มักมาบนบานสานกล่าว มักจะประสบความส�ำเร็จอยู่เสมอ ประเพณีด�ำนาโรงเรียนเขาไม้แก้ว สืบเนื่องจากโรงเรียนเขาไม้แก้วเป็นโรงเรียนขยายโอกาสขาดแคลน อาหารกลางวันส�ำหรับเด็กมัธยม ทางชมรมศิษย์เก่าจึงร่วมกันทอดผ้าป่า ซื้อนาให้โรงเรียนเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงและเกษตร อินทรีย์ของนักเรียน รวมไปถึงผลิตอาหารให้เพียงพอ ให้นักเรียนได้ กินอิ่มทุกคนโดยมีผู้น�ำชุมชนท้องถิ่น นายอ�ำเภอ ประชาชน และ นักเรียนร่วมกันด�ำนาอย่างสนุกสนาน หลังจากด�ำนาเสร็จสิ้นทางกลุ่มยุวเกษตรของโรงเรียนเขาไม้แก้ว จะดู แ ลนาข้ า วแบบเกษตรอิ น ทรี ย ์ จ นข้ า วสุ ก และจั ด งานเกี่ ย วข้ า ว อีกครั้งหนึ่ง PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.
(6
).indd 159
159
8/1/2562 17:09:30
ประเพณีบุญคูญลานสู่ขวัญข้าว หลังเสร็จสิ้นฤดูเก็บเกี่ยวข้าวแล้ว ทางชุมชนร่วมกันจัดงานบุญคูญ ลานสู่ขวัญข้าวเพื่อบูชาพระแม่โพสพก่อนเก็บขึ้นยุ้งฉางในวันขึ้น 3 ค�่ำ เดือน 3 ของทุกปี และสืบเนื่องจากข้าวในนาของโรงเรียนมีเพียง 8 ไร่ ได้ข้าวไม่เพียงพอกับนักเรียน จึงได้จัดกิจกรรมทอดผ้าป่าข้าวเปลือก โดยชาวบ้านร่วมกันบริจาคข้าวของตนเองคนละเล็กน้อยตามก�ำลัง แล้วน�ำมาท�ำพิธีในวันสู่ขวัญข้าวรวมไปถึงเทศกาลอาหารพื้นถิ่นของ ชาวเขาไม้แก้วและนิทรรศการวิถีชีวิตการหาอยู่หากินของชาวบ้าน การแต่งตัวของผู้มาร่วมงานก็จะแต่งย้อนยุคด้วยเสื้อผ้าสีสันฉูดฉาด
.
160
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
(6
).indd 160
8/1/2562 17:09:39
กลุ่มเกษตรอินทรีย์เขาไม้แก้ว เกิดจากการรวมตัวกันของเกษตรกรกลุม่ เล็กๆ ทีล่ กุ ขึน้ มาท�ำเกษตร อินทรีย์เพื่อปกป้องแผ่นดินจากการรุกรานของระบบทุนนิยมโดยการ หนุนเสริมจากกลุม่ เกษตรอินทรียส์ นามชัยเขตและทางอบต.เขาไม้แก้วได้ จนท�ำให้มสี มาชิกเพิม่ ขึน้ อย่างมากมายและได้ขยายแนวคิดไปสูต่ ำ� บลอืน่ ๆ อีกจ�ำนวนมาก น�ำไปสู่การรวมตัวกันในนามเครือข่ายเกษตรอินทรีย์ ปราจีนบุรีและจัดตั้งเป็นสหกรณ์เกษตรอินทรีย์ปราจีนบุรีในที่สุด ซึ่งมี การรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรียน์ านาชาติ IFOAM มาตรฐานเกษตร อินทรียย์ โุ รป EU มาตรฐานเกษตรอินทรียแ์ คนาดามาตรฐานออร์แกนิค ไทยแลนด์ มาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม PGS รวมไปถึง เป็นศูนย์เรียนรู้ด้านเกษตรอินทรีย์ให้กับเกษตรกรรวมถึงหน่วยงาน ราชการต่างๆ มีทตี่ งั้ ติดกับอบต.เขาไม้แก้ว สมาชิกเกษตรอินทรียป์ ระกอบ ไปด้วยผู้น�ำต่างๆ เช่ น นายกและรองนายกปลั ด อบต.เขาไม้ แ ก้ ว ผอ.โรงเรียนเขาไม้แก้ว และคณะครูชาวบ้านต่างๆ
PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.
(6
).indd 161
161
8/1/2562 17:09:48
.
162
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
(6
).indd 162
8/1/2562 17:09:55
ชมรมรักษ์เขาไม้แก้ว เกิดขึ้นจากการรวมตัวกันเพื่อปกป้องผืนแผ่นดินจากการรุกคืบของ อุตสาหกรรมน�ำไปสูก่ ารท�ำกิจกรรมการอนุรกั ษ์ธรรมชาติอย่างหลากหลาย เช่น ปลูกป่า ท�ำแนวกันไฟรอบป่าชุมชนภูเขาไม้แก้วและส่งเสริมกิจกรรม ฟื้นฟูแหล่งอาหารชุมชน การถ่ายทอดภูมิปัญญาการกินอาหารท้องถิ่น จุดเด่นของต�ำบลเขาไม้แก้ว คือ การท�ำงานร่วมกันขององค์กรภาคี ในต�ำบลอย่างบูรณาการหนุนเสริมและสอดคล้องกันภายใต้ธรรมนูญ สุขภาพชุมชนเป็นร่มใหญ่คือข้อตกลงร่วมของคนต�ำบลเขาไม้แก้วด้วย ค�ำว่า “เขาไม้แก้วน่าอยู่” คณะนางร�ำสาวๆ จากเขาไม้แก้ว ประกอบไปด้วยบุคลากรของ อบต.เขาไม้แก้วโดยมีการฟ้อนร�ำด้วยความอ่อนช้อยสวยงามพร้อมเพรียง รวมถึงจังหวะสนุกสนานสร้างความประทับใจให้แก่นกั ท่องเทีย่ วไม่รลู้ มื ป่าชุมชนเขาไม้แก้ว เป็นเทือกเขาเล็กๆ ทีช่ อื่ เดียวกับต�ำบล ในสมัยเก่า ก่อนถูกชาวบ้านแผ้วถางจนต้นไม้หมดไปจากภูเขา และเริ่มมีชาวบ้าน ขึน้ ไปจับจองพืน้ ทีเ่ พือ่ ท�ำไร่และทีอ่ ยูอ่ าศัย จึงมีการรวมตัวของชาวบ้าน กลุ่มเล็กๆ กลุ่มหนึ่งลุกขึ้นมาท�ำกระบวนการและจัดการฟื้นฟูป่าจน กลายเป็นป่าทีส่ มบูรณ์ ได้ขนึ้ ทะเบียนเป็นชุมชน ปี 2557 จ�ำนวน 181 ไร่ ถึงแม้จะเป็นผืนป่าผืนเล็กๆ แต่ก็สร้างการมีส่วนร่วมในทุกภาคส่วนใน สังคมร่วมกันฟืน้ ฟูทำ� ให้คนเขาไม้แก้ว ผูกพันและหวงแหนภูเขาเล็กๆ นี้ เป็นอย่างมาก ทุกๆ ปีชว่ งต้นฤดูหนาวประมาณปลายเดือนพฤศจิกายน ชมรมรักษ์ เขาไม้ แ ก้ ว จะชั ก ชวนชาวบ้ า นรวมถึ ง หน่ ว ยงานต่ า งๆ ในต� ำ บล เช่น โรงเรียน วัด อบต. รพสต. มาร่วมกันท�ำแนวกันไฟรอบภูเขาไม้แก้ว ปลูกฝังจิตส�ำนึกให้คนรักและผูกพันกับธรรมชาติ
PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.
(6
).indd 163
163
8/1/2562 17:10:01
W O R K L IF E
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนตำ�บลนาแขม “คุ ณ ภาพชี วิ ต ดี ประเพณี เ ด่ น เน้ น การมี ส ่ ว นร่ ว ม แหล่ ง รวมเกษตรอิ น ทรี ย ์ ” วิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลนาแขม
ที่ตั้ง องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาแขม จัดตัง้ ขึน้ เมือ่ วันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540 ตั้งอยู่หมู่ที่ 6 ถนนสายสระดู่-สะพานหิน ต�ำบลนาแขม อ�ำเภอกบินทร์บรุ ี จังหวัดปราจีนบุรี พืน้ ทีต่ ำ� บลตัง้ อยูท่ างทิศตะวันตก เฉียงเหนือของอ�ำเภอกบินทร์บรุ ี ประมาณ 15 กิโลเมตร และอยูห่ า่ งจาก อ�ำเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี ประมาณ 54 กิโลเมตร มีพนื้ ทีร่ วม 48.50 ตารางกิโลเมตร หรือ 30,312.50 ไร่
นายณั ฐ ชั ย กั น หารัตน์
ปลัดองค์การบริหารส่วนต�ำบล ปฏิบัติหน้าที่ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลนาแขม
164
.
(2
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
).indd 164
4/1/2562 13:35:18
อาณาเขต ทิศเหนือ ติดต่อต�ำบลส�ำพันตาและต�ำบลสะพานหิน อ�ำเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี ทิศใต้ ติดต่อต�ำบลกบินทร์ อ�ำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี ทิศตะวันออก ติดต่อต�ำบลเมืองเก่า อ�ำเภอกบินทร์บรุ ี จังหวัดปราจีนบุรี ทิศตะวันตก ติดต่อต�ำบลนนทรี อ�ำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี
สถานที่ส�ำคัญ วัดบรรพตเขมาราม (วัดเขาแจงแมง) ตั้งอยู่หมู่ที่ 4 ต�ำบลนาแขม อ�ำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี ขึ้นมาอยู่ เมื่อปี พ.ศ. 2486 จัดตั้งเป็นวัด ปี พ.ศ. 2490 (ที่ดิน สค.1) และได้รบั การผูกพัทธสีมา เมือ่ วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2501 เดิมที นายปลัง่ สุกัญญา มอบที่ดินให้วัด 50 ไร่ นางพิน สุกัญญา มอบที่ดินอีก 50 ไร่ รวมเป็น 100 ไร่ แต่ออกโฉนดที่ดินได้ 98 ไร่ ในปี พ.ศ. 2545 โดย หลวงพ่อ พรหมญาณประยุต (หลวงพ่อบู)่ เป็นผูส้ ร้างวัดและเป็นเจ้าอาวาส องค์แรก ภายในวัดมีพระพุทธไสยาสน์ พระเจดีย์พระบรมสารีริกธาตุ อัญเชิญมาจากวัดเจดีย์หลวง จังหวัดเชียงใหม่ โบสถ์หลังเก่า ปั จ จุ บั น มี พ ระครู บ รรพตเขมาภิ วั ฒน์ เป็ น เจ้ า อาวาสและเป็ น เจ้าคณะต�ำบลนาแขม พร้อมทัง้ สร้างโบสถ์ขนึ้ มาหลังใหม่ในปี พ.ศ. 2559
ผลิตภัณฑ์ ในต�ำบล กลุ ่ ม แม่ บ ้ า นและกลุ ่ ม อาชี พ เช่ น ผั ก กะเฉดชะลู ด น�้ ำ ไข่ เ ค็ ม สมุนไพรชาใบหม่อน ครีมอาบน�้ำสมุนไพร น�้ำยาอเนกประสงค์ และ ผลิตภัณฑ์สมุนไพรอื่นๆ กลุม่ ข้าวเกษตรอินทรีย์ ต�ำบลนาแขม เช่น ข้าวไรซ์เบอร์รี่ ข้าวสินเหล็ก ข้าวน�้ำนม ข้าวกล้อง
องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาแขม
ต�ำบลนาแขม อ�ำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี 25110 โทรศัพท์ 037-218813 / โทรสาร 037-218814 E- mail : admin@t-nakham.go.th Website : www.t-nakham.go.th PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.
(2
).indd 165
165
4/1/2562 13:35:24
W O R K L IF E
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนตำ�บลบ่อทอง “บ้านเมืองน่าอยู่ เชิดชูการเกษตร ระบบนิเวศอุดมสมบูรณ์ เพิ่มพูนอุตสาหกรรม ล�้ำค่าพระแก้วนิลกาฬ สืบสานประเพณีวัฒนธรรม งามล�้ำแหล่งท่องเที่ยว” วิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลบ่อทอง
นายมาโนช พิ นิจ ชอบ ข้อมูลทั่วไป
องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลบ่ อ ทอง ตั้ ง อยู ่ ที่ ต� ำ บลบ่ อ ทอง อ�ำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี ต�ำบลบ่อทอง มีเนื้อที่ประมาณ 71.809 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยู่ห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอกบินทร์บุรี ประมาณ 16 กิโลเมตร • ทิศเหนือ จรดถนนสุวรรณศรเขตต�ำบลบ้านนา • ทิศใต้ จรดแควพระปรงเขตต�ำบลวังตะเคียน • ทิ ศ ตะวั น ออก จรดถนนสุ ว รรณศรเก่ า เขตต� ำ บลบ้ า นนาและ จังหวัดสระแก้ว • ทิศตะวันตก จรดเขตต�ำบลเมืองเก่า พืน้ ทีส่ ว่ นใหญ่เป็นทีร่ าบดอน มีแม่นำ�้ ไหลผ่าน สภาพพืน้ ดินเหมาะแก่ การท�ำอาชีพเกษตร ประกอบด้วย หมู่บ้านทั้งหมด 10 หมู่บ้าน ได้แก่
ประชากร ต�ำบลบ่อทอง มีความหนาแน่นประชากรเฉลี่ย 88 คน ต่อตาราง กิโลเมตร จ�ำนวนทั้งสิ้น 6,339 คน แบ่งเป็นชาย 3,116 คน หญิง 3,223 คน สภาพทางเศรษฐกิจ อาชีพ (แสดงอาชีพของประชากรในเขตองค์การบริหารส่วนต�ำบล) อาชีพหลักของประชากร คือ การท�ำไร่ ท�ำนา และการรับจ้าง พืชไร่ที่ ส�ำคัญคือ มันส�ำปะหลัง ข้าวโพด ส่วนหลังฤดูกาลเก็บเกี่ยวแรงงาน ส่วนหนึ่งจะเข้าโรงงาน และรับจ้างทั่วไป ประกอบอาชีพฤดูแล้ง ในเขต สูบน�้ำด้วยพลังไฟฟ้า ได้แก่การท�ำนาปรังในหมู่ที่1, 2 และ 3
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลบ่อทอง
166
.
(4
หมู่ที่ 1 บ้านปากน�้ำ หมู่ที่ 2 บ้านห้วยไคร้ หมู่ที่ 3 บ้านกุง หมู่ที่ 4 บ้านกุดปลาหวี หมู่ที่ 5 บ้านบ่อทอง
หมู่ที่ 6 บ้านนาใต้ หมู่ที่ 7 บ้านหนองโดน หมู่ที่ 8 บ้านหนองไผ่ล้อม หมู่ที่ 9 บ้านหนองจรเข้ หมู่ที่ 10 บ้านโนนแดง
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
).indd 166
11/1/2562 16:37:54
สถานที่ท่องเที่ยวส�ำคัญ พิพิธภัณฑ์เหมืองแร่ทองค�ำบ้านบ่อทอง แหล่งแร่ทองค�ำทีต่ ำ� บลบ่อทอง อ�ำเภอกบินทร์บรุ ี จังหวัดปราจีนบุรี พบครั้ ง แรกเมื่ อ ปี พ.ศ. 2414 และ พ.ศ. 2416 พระบาทสมเด็ จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้ พระปรี ช ากลการ (ส� ำ อาง อมาตยกุ ล ) ซึ่ ง จบการศึ ก ษาทาง วิศวกรรมศาสตร์ จากสก็อตแลนด์ ประเทศอังกฤษ ไปท�ำบ่อทองที่ เมืองกบินทร์บุรี พระปรีชากลการ ท�ำเหมืองแร่ด้วยการขุดหลุมตาม สายแร่ไปตามความลึกและความยาว และขยายขนาดขึ้นตามสายแร่ เดิมเรียกว่า “การท�ำเหมืองแบบเปิด” (Open cut) ซึ่งกลายเป็นบ่อน�้ำ ขนาดใหญ่ ขนาด 20 X 50 เมตร บ่อนี้มีชื่อเรียกว่า “บ่อส�ำอาง” ตาม ชื่อของพระปรีชากลการ ซึ่งถือเป็นบ่อสมัยแรกเริ่ม พระปรีชากลการ ท�ำเหมืองทองได้ไม่นานก็เกิดคดีความฟ้องร้องขึน้ ในที่สุดเมื่อวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2421 พระปรีชากลการ เจ้าเมือง ปราจีนบุรีและผู้ดูแลบ่อทองที่กบินทร์บุรี ถูกจับกุมและถูกประหารชีวิต เมื่อวันจันทร์ เดือนยี่ พ.ศ. 2422 เวลาบ่ายโมงกว่า ต่อมาปรากฏว่ามี บริษัท The Kabin Syndicate of Siam และ บริษัท Societe des Mines de kabin เข้ามาด�ำเนินการต่อ โดยท�ำเหมืองอุโมงค์ มีการ เจาะปล่องลงไปใต้ดินเพื่อหาสายแร่ แต่ภายหลังได้หยุดการท�ำเหมือง ไปโดยไม่ทราบสาเหตุ ปัจจุบนั ยังมีรอ่ งรอย หลักฐานของการท�ำเหมืองแร่อยู่ เช่น โรงต�ำแร่ เตาหลอม และบ่อเหมืองทองค�ำปรากฏอยู่ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐาน และการเหมืองแร่จึงร่วมกับจังหวัดปราจีนบุรี โดยองค์การบริหารส่วน ต�ำบลบ่อทอง ได้ด�ำเนินการฟื้นฟูพื้นที่ ที่ผ่านการท�ำเหมืองแร่ใน บริเวณนี้ขึ้น โดยจัดท�ำเป็นพิพิธภัณฑ์เหมืองแร่ทองค�ำและปรับปรุง สภาพภูมิทัศน์โดยรอบเพื่อให้เป็นศูนย์วัฒนธรรมเป็นที่รวบรวมวัสดุ สิ่งของ เครื่องมือ เครื่องใช้ และเป็นอนุสรณ์ ตลอดจนแหล่งความรู้ เกี่ยวกับประวัติศาสตร์การท�ำเหมืองแร่ทองค�ำที่ส�ำคัญของไทยรวมถึง เป็นการพัฒนาแหล่งท่องเทีย่ วทีส่ ำ� คัญภายในจังหวัดปราจีนบุรอี กี แห่งหนึง่ ต่อไป
PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.
(4
).indd 167
167
11/1/2562 16:38:04
หลวงพ่อแก้วนิลกาฬ “หลวงพ่อแก้วนิลกาฬ” พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์คู่ต�ำบลบ่อทอง ประดิษฐานอยู่ที่ “วัดกรุงราษฎร์บ�ำรุง” หมู่ที่ 3 ต�ำบลบ่อทอง อ�ำเภอ กบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี เป็นพระพุทธรูปที่แกะสลักขึ้นจากแก้ว สีครามอ่อน มีพุทธลักษณะงดงามจับตา ประเมินค่ามิได้ กล่าวกันว่า เป็นพระพุทธรูปที่ได้มาจากเมืองเวียงจันทน์ โดยพระภิกษุ นามว่า “พระครูนนท์” เป็น ผู้น�ำมาเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2323 ซึ่งเป็นช่วงที่ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า ตากสิ น มหาราช ทรงโปรดเกล้ า ฯ ให้ สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกฯ (สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราช) เป็น ผู้ถือพระอาญาสิทธิ์ขึ้นไปปราบเมืองเวียงจันทน์ให้ขึ้น อยู่ในขอบขันฑสีมาของราชอาณาจักรไทย ครั้งนั้นสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกฯ ทรงยกทัพขึ้นไปตีนคร เวียงจันทน์จนส�ำเร็จ และได้กวาดต้อนผูค้ นมาเป็นเชลยด้วยจ�ำนวนมาก 168
.
(4
ในจ�ำนวนเชลยกลุ่มนั้นมีพระภิกษุรูปหนึ่งนามว่าพระครูนนท์ ถูกต้อน มาพร้อมกับญาติของท่าน ประกอบด้วย น้าสาวกับหลานสาวอีกสามคน ซึง่ สองในสามนัน้ มีครอบครัวแล้ว เหลือแต่หลานสาวคนสุดท้องยังเป็นโสด และเพิ่งจะแรกรุ่น สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกฯ ได้น�ำตัวมาเป็น สนมอยู่ในพระราชวัง ส่วนคณะของชาวลาวเชลยศึกที่ถูกกวาดต้อนมาได้ตั้งหลักปักฐาน ท� ำ มาหากิ น ที่ บ ้ า นกุ ง ต� ำ บลบ่ อ ทอง อ� ำ เภอกบิ น ทร์ บุ รี จั ง หวั ด ปราจีนบุรี จนกระทั่งเวลาผ่านไปหลายปีพระครูนนท์ คิดจะพาญาติ ของท่านกลับนครเวียงจันทน์ จึงได้เดินทางเข้ากรุงเทพมหานคร เพื่อ ตามญาติที่เข้ามารับใช้อยู่ในราชส�ำนักกลับด้วย แต่เมื่อทราบว่าญาติ ของท่านได้เป็นสนมรับใช้อยู่ในราชส�ำนักแล้ว ท่านจึงหมดความห่วงใย และไม่คิดจะเดินทางกลับนครเวียงจันทน์อีกต่อไป พระครูนนท์ได้คิด สร้างวัดขึ้นที่บ้านกุง ซึ่งปัจจุบัน คือ วัดกรุงราษฎร์บ�ำรุง นั่นเอง
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
).indd 168
11/1/2562 16:38:09
สินค้า OTOP ต�ำบลบ่อทอง 1. ขนมนางเล็ด หรือ ข้าวแต๋น 2. ขนมข้าวเกรียบหูช้าง หรือ ข้าวเกรียบว่าว หรือ ข้าวโป่ง 3. กล้วยฉาบรสชาติต่างๆ เช่น กล้วยฉาบหวาน, กล้วยฉาบเค็ม, กล้วยฉาบรสปาปิก้า 4. ผลิตภัณฑ์จักสาน เช่น กระเป๋า, ตะกร้า, กระบุง 5. ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากไม้ยางพารา เช่น จานรองแก้ว, กล่องทิชชู่, จาน, ถาด
สนใจสิ น ค้ า OTOP สามารถติ ด ต่ อ สอบถามได้ ที่ องค์ ก ารบริหารส่ว นต�ำบลบ่อทอง อ�ำ เภอกบินทร์บุรี จั ง หวั ด ปราจีน บุรี โทรศัพท์ 037- 625201
PRACHINBURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.
(4
).indd 169
169
11/1/2562 16:38:22
บันทึก หลวงพ่อเพชร วัดแจ้ง
วัดแจ้ง
ประดิษฐานหลวงพ่ อเพชร ปางมารวิชัย สมัยรัชกาลที่ 3 พระครูสุทธิธีรคุณ
ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดแจ้ง
วัดแจ้ง ตั้งอยู่เลขที่ 136 ต�ำบลหน้าเมือง อ�ำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 40 ไร่ อาณาเขต ทิศเหนือ จดถนนทัศนวิถี ทิศใต้ จดที่ดินจัดสรร ของทางราชการ ทิ ศ ตะวั น ออก จดที่ ดิ น เอกชน ทิ ศ ตะวั น ตก จดถนนแจ้งพัฒนา
170
(1
เมื่อปี พ.ศ. 2381 เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) สมุหนายกในรัชกาลที่ 3 แห่งราชวงศ์จักรี แม่ทัพใหญ่และผู้ส�ำเร็จ ราชการแทนพระองค์ ได้คมุ ก�ำลังทหารไปท�ำศึกสงครามในคราวป้องกัน เขมรจากญวน เมื่อปฏิบัติภารกิจส�ำเร็จได้ยกทัพกลับมุ่งหน้าเข้าสู่ กรุงเทพมหานคร ระหว่างทางกองทัพได้มาถึงทุ่งโล่งแห่งหนึ่ง ก�ำลังถูก ไฟเผาผลาญทุกสิง่ ทุกอย่างไปในกองเพลิง แต่กลับมีตน้ ไม้กลุม่ หนึง่ ยังคง สดเขียวชอุ่มท่ามกลางกองไฟ เจ้าพระยาบดินทรเดชาจึงส่งคนไปดูที่ กลุ่มไม้แห่งนั้น และพบว่ามีเจดีย์เก่าแก่ผุพัง ต้นโพธิ์ขนาดใหญ่ขึ้น ปกคลุมซากปรักหักพัง และพบพระพุทธรูปขนาดเขื่องตั้งตะแคงพิงอยู่ กับซากปรักหักพังอยู่ เจ้าพระยาบดินทรเดชา จึงให้อัญเชิญองค์พระมาประดิษฐานไว้กับ กองทัพ เพือ่ เป็นการสร้างขวัญก�ำลังใจให้แก่บรรดาเหล่าทหาร ด้วยเห็น ความศักดิ์สิทธิ์และความอัศจรรย์ของพระพุทธรูปองค์นี้ เมื่อกองทัพ เจ้าพระยาบดินทรเดชาเดินทางมาถึงบริเวณทุ่งเมืองปราจิม (ชื่อสมัย โบราณของจังหวัดปราจีนบุร)ี จึงได้พกั แรมและพบว่าภูมปิ ระเทศแห่งนี้ ต่อไปจะเจริญ จึงให้สร้างวัดในบริเวณชายทุ่งต�ำบลดงพระราม และ ถวายพระพุทธรูปที่อัญเชิญมาไว้ในอุโบสถ โดยพุทธลักษณะของหลวงพ่อเพชร หล่อด้วยโลหะ เกศเป็นเกศ บัวตูม นัง่ ขัดสมาธิเพชร พระหัตถ์(มือ)ขวาห้อยบนพระชานุ(เข่า)ด้านขวา พระหัตถ์ซา้ ยวางอยูบ่ นหน้าตัก เป็นพระพุทธรูปทีเ่ รียกว่า “ปางสะดุง้ มาร” หรือ “ปางมารวิชัย” สันนิษฐานว่าเป็นพระสมัยเชียงแสน นอกจากนีพ้ ระเนตรขององค์พระทัง้ สองข้าง ประดับด้วยเพชร จาก พุทธลักษณะอันโดดเด่น จึงมีสมญานามว่า “หลวงพ่อเพชร” และเมื่อ เป็นพระพุทธรูปประดิษฐานที่วัดแจ้ง จึงเรียกขานกันอย่างติดปากเพื่อ ไม่ให้ซ�้ำกับหลวงพ่อเพชรที่อื่นๆ ว่า “หลวงพ่อเพชร วัดแจ้ง”
SBL บันทึกประเทศไทย I ปราจีนบุรี
).indd 170
3/1/2562 14:29:53
2.indd 999
3/8/2561 9:24:03
Buddhism
in Thailand
SBL บันทึกประเทศไทย น�ำเสนอเรื่องราวของจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศไทย อย่างเจาะลึกและครอบคลุมทุกมิติ อาทิ มิติด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ จากหน่วยงานราชการส�ำคัญในจังหวัด มิติด้านการท่องเที่ยวที่สดใหม่ทันสมัย ทั้งสถานที่เที่ยว ที่พัก ร้านอาหาร ร้านกาแฟ แหล่งช็อปปิ้งใหม่ๆ ฯลฯ มิติด้านอุตสาหกรรม-การค้าการลงทุนที่เป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ตลอดจนมิติด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม และวิถีชีวิต ที่มีจุดเด่นและมีเอกลักษณ์น่าสนใจ
172
.indd 172
WWW.SBL.CO.TH SBL บันทึกประเทศไทย I มหาสารคาม
7/1/2562 15:59:58