SBL บันทึกประเทศไทย | ฉบับที่ 119 - จังหวัดราชบุรี

Page 1

RATCHABURI ราชบุรี

นิตยสารแนะน�ำแหล่งท่องเที่ยวและของดีจังหวัดราชบุรี ประจ�ำปี 2564

ขับเคลื่อนกิจการ

พระพุทธศาสนา

น้อมน�ำหลักพุทธธรรม

นมัสการ

พระมหาธาตุเจดีย์ วัดหทัยนเรศวร์

สร้างสังคมสันติสุข

ให้มั่นคงและยั่งยืน “นายไกรยุทธ หอมไกรลาศ” ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน พระพุทธศาสนาจังหวัดราชบุรี

Vol.11 Issue 119/2021

www.issuu.com

.indd 3

กราบบูชาสมเด็จพระนเรศวรมหาราช 25/1/2564 16:34:16


2

.indd 2

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

25/1/2564 13:52:10


RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 3

3

25/1/2564 13:52:12


REGIONS การปั้นโอ่งมังกร

OF

RATCHABURI

@อ� ำ เภอเมื อ งราชบุ รี

ถ�้ ำ เขาบิ น @อ�ำเภอเมืองราชบุรี ภายในถ�้ ำ เต็ ม ไปด้ ว ยหิ น งอกหิ น ย้ อ ย ที่ มี ค วามสวย

อุ ท ยาน

หิน เขางู

วิถชี วี ติ ชาวบ้าน @ อ�ำเภอด�ำเนินสะดวก ตลาดน�้ ำ ด� ำ เนิ น สะดวก

@อ�ำเภอเมื อ งราชบุรี พระพุ ท ธรู ป ที่ ส ลั ก หิ น ที่ ฝ าผนั ง ถ�้ ำ อยู ่ ห ลายองค์ 4

Ads

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุ UBONรี RATCHATHANI

.indd 4

22/1/2564 15:16:47


อ�ำเภอในจังหวัดราชบุรี ที่ ตั้ ง และอาณาเขต

ราชบุรี เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตก โดยเป็นศูนย์กลางในด้านอุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตร เช่น มะพร้าว ชมพู่ ฝรั่ง มะม่วง และการปศุสัตว์ของประเทศ รวมทั้งเป็นศูนย์กลางในด้านพลังงานของประเทศ ในปัจจุบัน[ต้องการอ้างอิง] โดยมีเมืองราชบุรีเป็นศูนย์กลางด้านการปกครอง เศรษฐกิจ และการคมนาคมใน ภูมิภาค ทิศเหนือติดต่อจังหวัดกาญจนบุรี ทิศใต้ติดต่อจังหวัดเพชรบุรี ทิศตะวันออกติดต่อจังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสงคราม และจังหวัดนครปฐม และทิศตะวันตกติดต่อประเทศพม่า

ทิศเหนือ ติดต่อกับอ�ำเภอด่านมะขามเตี้ย อ�ำเภอท่าม่วง และอ�ำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี ทิศตะวันออก ติดต่อกับอ�ำเภอก�ำแพงแสน อ�ำเภอเมืองนครปฐม และอ�ำเภอสามพราน จังหวัด นครปฐม; อ� ำ เภอบ้ า นแพ้ ว จั ง หวั ด สมุ ท รสาคร; อ� ำ เภอบางคนที แ ละอ� ำ เภออั ม พวา จั ง หวั ด สมุทรสงคราม ทิศใต้ ติดต่อกับอ�ำเภอเขาย้อยและอ�ำเภอหนองหญ้าปล้อง จังหวัดเพชรบุรี ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตตะนาวศรี ประเทศพม่า

UBON RATCHATHANI RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

Ads

.indd 5

5

22/1/2564 15:16:53


BREATHING

RATCHABURI สะพายเป้ท่องวัด

สัมผัสวิถีชีวิต ศิลปวัฒนธรรม ดื่มด�่ำราชบุรีทุกลมหายใจ Ratchaburi 2021

www.sbl.co.th

Editor's talk.indd 6

SBL บั น ทึ ก ประเทศไทย

@SBL บั น ทึ ก ประเทศไทย

25/1/2564 13:29:34


SBL

บันทึกประเทศไทย www.sbl.co.th

EDITOR’S

issue 119/2021

บริษัท สมาร์ทบิซิเนสไลน์ จ�ำกัด 9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทรศัพท์ : 0-2522-7171 เว็บไซต์ : www.sbl.co.th คณะผู้บริหาร คณะที่ปรึกษา : ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์, พลเอกสรชัช วรปัญญา, ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์, ดร.ประยุทธ คงเฉลิมวัฒน์, ดร.ชาญ ธาระวาส, ดร.สุมิท แช่มประสิท, ดร.วัลลภ อารีรบ, ดร.พิชัย ทรัพย์เกิด, ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์, ดร.สุเทษณ์ จันทรุกขา, ดร.อรรถสิทธิ์ ตันติวิรัชกุล บรรณาธิการอ�ำนวยการ : อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์

ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ

อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์

วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์

บรรณาธิการการตลาด นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

บรรณาธิการอ�ำนวยการ นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

บรรณาธิการงานบุคคล นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

SBL บันทึกประเทศไทยฉบับนี้ จะพาไปเที่ยวเมืองโอ่งมังกรอันเป็นเอกลักษณ์ประจ�ำ จังหวัดราชบุรี โดยเฉพาะโรงงานเซรามิคเก่าแก่อายุเกือบ 80 ปี ซึ่งเป็นที่มาของโอ่งมังกร เลือ่ งชือ่ พร้อมกับสัมผัสบรรยากาศตลาดเก่าโพธาราม และท่องเทีย่ วพักผ่อน ท�ำบุญท�ำทาน ตามวัดวาอารามต่างๆ ของเมืองราชบุรีกันครับ อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการอ�ำนวยการ ถ้าชืน่ ชอบป่าเขาล�ำเนาไพร อิงแอบแนบชิดธรรมชาติ แน่นอนครับ สวนผึง้ เป็นอีกหนึง่ ทางเลือก ที่เดินทางง่ายสะดวกสบาย แต่ถ้าชอบศิลปวัฒนธรรมที่หาดูได้ยาก ก็ต้อง พิพิธภัณฑ์จัดแสดงนิทรรศการหนังใหญ่ วัดขนอน จังหวัดราชบุรีครับ ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ บรรณาธิการการตลาด หิวเมื่อไหร่ก็แวะมา “ตลาดเก่าโพธาราม” จังหวัดราชบุรี แถมยังให้ความรู้สึกและ บรรยากาศย้อนยุคไปในสมัยรัชกาลที่ 5 เลยนะครับ วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการฝ่ายบุคคล

บรรณาธิการงานบุคคล : พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล, วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการการตลาด : ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ ฝ่ายประสานงานโครงการภาครัฐและเอกชน ผู้จัดการ : กิตติชัย ศรีสมุทร, ทวัชร์ ศรีธามาศ, อัครกฤษ หวานวงศ์, ภูษิต วิทยา คณะทีมงาน : อรรถพร สว่างแจ้ง, ธนิน ตั้งธ�ำรงจิต, ถาวร เวปุละ, พุฒิธร จันทร์หอม, อมร อนันต์รัตนสุข, นิรุจน์ แก้วเล็ก, สุษฎา พรหมคีรี, พร้อมพงศ์ สืบด้วง, สรวิชญ์ อังกูรศุภเศรษฐ์ ผู้จัดการฝ่ายประสานงานข้อมูล : นันท์ธนาดา พลพวก ฝ่ายประสานงานข้อมูล : ศุภญา บุญช่วยชีพ, นลัชนันท์ เทียมเกตุทวีโชค นักเขียน : มนสิกุล โอวาทเภสัชช์ ฝ่ายศิลปกรรม ผู้จัดการฝ่ายศิลปกรรม : พัชรา ค�ำมี กราฟิกดี ไซน์ : พิมพ์พิสุทธิ์ พังจูนันท์, วรเชษฐ สมประสงค์, อนุธิดา ค�ำหล้า ช่างภาพ : ปณต ปิติจารุวิศาล, กิติวัฒน์ ทิศมั่ง วิทยา ประเสริฐสังข์, ธีระพงษ์ ธรรมเจริญ ตัดต่อวีดีโอ : วัชรกรณ์ พรหมจรรย์, ณัฐพล ชื่นข�ำ ฝ่ายบัญชี / การเงิน บัญชี : ปัฐมาภรณ์ แสงบุราณ ผู้จัดการฝ่ายการเงิน : สุจิตรา แดนแก้วนิต การเงิน : ชวัลชา นกขุนทอง, สุภาวรรณ สุวรรณวงค์

SBL MAGAZINE

Editor's talk.indd 7

25/1/2564 13:29:40


119

ISSUE

สารบัญ

CONTENTS 10 RATCHABURI

PROVINCIAL OFFICE OF BUDDHISM ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน พระพุทธศาสนาจังหวัดราชบุรี นายไกรยุทธ หอมไกรลาศ

119 Editor's talk.indd 8

HISTORY OF BUDDHISM 20 วัดมหาธาตุวรวิหาร พระอารามหลวง

25/1/2564 13:29:49


26 32 34 42 44 48 52 54 56 60 64 70 72 76 80 82 84 90 92 98 102 104 106 108 110 112 118

วัดอมรินทราราม(ธ) วัดดอนตะโก วัดเขางู วัดวาปีสุทธาวาส วัดหนองปรือใหญ่พลายงาม วัดถ�้ำสิงโตทอง วัดหนองตาเนิด วัดเขารังเสือ วัดโชติทายการาม วัดท่าเรือ วัดปราสาทสิทธิ์ (วัดหลักห้า) วัดท่าผา วัดอริยวงศาราม (หนองน�้ำขาว) วัดจันทาราม วัดหัวโป่ง วัดหนองประทุน วัดหนองเสือ(ยางปราสาท) วัดปากท่อ วัดหทัยนเรศวร์ วัดเขากูบอินทาราม วัดเขาถ�้ำทะลุ วัดเขาช่องพราน วัดหนองโพ วัดโพธิ์ ไพโรจน์ วัดเฉลิมอาสน์ วัดแจ้งเจริญ วัดหนองหมี

เวลาอันมีค่าของคุณ ฝากความสุข และความทรงจ�ำอันประทับใจ ไว้ในบันทึก...ราชบุรี

Editor's talk.indd 9

25/1/2564 13:29:55


EXC LU SI VE I N TE RVI EW

RATCHABURI

PROVINCIAL OFFICE OF BUDDHISM

นายไกรยุทธ หอมไกรลาศ

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดราชบุรี

10

.

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

(6

).indd 10

22/1/2564 14:47:27


EXC LU S IV E

วิสัยทัศน์ (VISION) “ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดราชบุรี เป็นองค์กรขับเคลื่อนกิจการ พระพุทธศาสนา น้อมน�ำหลักพุทธธรรม สร้างสังคมสันติสุข ให้มั่นคงและยั่งยืน”

พันธกิจ (MISSION) 1. สง่ เสริมสนับสนุนกิจการพระพุทธศาสนา และสนองงานคณะสงฆ์ 2. อปุ ถัมภ์ คุม้ ครองสถาบันพระพุทธศาสนา ให้มีความมั่นคงยั่งยืน 3. สร้างสังคมที่เข้มแข็งด้วยหลักพุทธธรรม 4. ท�ำนุบ�ำรุงส่งเสริมพระพุทธศาสนา ดูแล การจัดการศาสนสมบัติให้เจริญงอกงาม 5. ส่งเสริมและพัฒนาสมรรถนะองค์กรที่ เป็นมาตรฐาน

ค่านิยม (CORE VALUE) ส่งเสริมพุทธธรรมน�ำชีวิต มุ่งผลสัมฤทธิ์ ของงาน มีจิตบริการ ประสานสามัคคี ส่งเสริม พุ ท ธธรรมน� ำ ชี วิ ต หมายถึ ง การสนั บ สนุ น ส่งเสริมการน�ำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามา ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�ำวันอย่างมีความสุข ชุมชนเข้มแข็งก่อให้เกิดสังคมคุณธรรม มุ่งผล สัมฤทธิ์ของงาน หมายถึง ปฏิบัติหน้าที่อย่างมี ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ด�ำเนินงานให้แล้ว เสร็ จ ตามวั ต ถุ ป ระสงค์ แ ละใช้ ท รั พ ยากร อย่างคุ้มค่า มีจิตบริการ หมายถึง เข้าใจความ ต้ อ งการของผู ้ รั บ บริ ก ารอย่ า งถู ก ต้ อ งและ รวดเร็ว ให้บริการและช่วยเหลือผู้รับบริการ ด้วยความยิ้มแย้มแจ่มใส และกระตือรือร้นต่อ การตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ ประสานสามัคคี หมายถึง เคารพผู้ร่วมงาน ช่วยเหลือเกื้อกูลกันไม่แบ่งพรรคแบ่งพวกและ เสียสละเพื่อประโยชน์ส่วนรวม

RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

(6

).indd 11

11

22/1/2564 14:47:29


ผอ.ส�ำนักงานพระพุทธศาสนา ชวนเที่ยวเมืองราชบุรี เมืองแห่งศิลปะ

สตรีทอาร์ต บ้านโป่ง

บ้านโป่ง ราชบุรี เมืองที่มีกลิ่นอายความ classic ของบ้านเรือนเก่าแก่ ผสมผสานความ artist ด้วยภาพ graffiti และภาพสัญลักษณ์ที่สะท้อน เรื่องราวของเมืองราชบุรี มีปรากฏอยู่ทั่วเมือง ชวนสายแชะสะพายกล้องรีบมาปักหมุดที่ สตรีทอาร์ต บ้านโป่ง หามุมชิคโพสต์ท่าเท่ๆ กับศิลปะ บนผนังก�ำแพง ที่สร้างสรรค์โดยศิลปินทั้งจากท้องถิ่นและศิลปินจากหลากหลายประเทศ

12

.

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

(6

).indd 12

22/1/2564 14:47:37


หนังใหญ่วัดขนอน

วั ด ขนอน มี ส ่ ว นส� ำ คั ญ ยิ่ ง ต่ อ การอนุ รั ก ษ์ ห นั ง ใหญ่ ปัจจุบนั ทางวัดได้จดั พิพธิ ภัณฑสถานแสดงนิทรรศการหนังใหญ่ เปิดให้ประชาชนและผูส้ นใจเข้าร่วมชมศึกษา พร้อมทัง้ การสาธิต การแสดงหนังใหญ่ ตลอดจนการฝึกเยาวชนให้เรียนรู้และ สืบทอด ศิลปวัฒนธรรมอันทรงคุณค่านีค้ รบทุกกระบวนการ เพือ่ สนองโครงการตามพระราชด�ำริในสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

(6

).indd 13

13

22/1/2564 14:47:42


เถ้าฮงไถ่

เถ้า ฮง ไถ่ ราชบุรี โรงงานเซรามิคที่มีชื่อเสียงและเก่าแก่ของเมืองราชบุรี มีอายุเกือบ 80 ปี เป็นโรงงานที่ผลิตงานเซรามิคหรืองาน เครื่องปั้นดินเผาแห่งแรก เช่น โอ่งมังกรที่เราๆ รู้จักกันดี เพราะจังหวัดราชบุรีมีเนื้อดินชั้นดีที่เหมาะแก่การน�ำมาปั้นโอ่งมังกรนั่นเอง แต่ด้วย ยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลงไปการน�ำโอ่งมาใช้เป็นภาชนะกักเก็บน�้ำก็เริ่มลดน้อยลง คนหันไปใช้น�้ำประปาที่ไหลมาจากก๊อกน�้ำมากขึ้น โอ่งจึงกลายมา เป็นส่วนหนึง่ ของเครือ่ งประดับตกแต่งบ้านแทน จุดเด่นของผลิตภัณฑ์ เถ้าฮงไถ่ คือน�ำเอารูปทรงดัง้ เดิมมาประยุกต์ใช้กบั สีสนั ทีร่ ว่ มสมัย เป็นการ ผสมผสานระหว่างอดีตกับปัจจุบัน จนกลายเป็น เอกลักษณ์

14

.

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

(6

).indd 14

22/1/2564 14:47:52


อุทยานหินเขางู

ตั้งอยู่บริเวณแหล่งภูเขาหินปูน ในสวนสาธารณะเขางู ต�ำบลเกาะพลับพลา อ�ำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี อยู่ห่างจาก ตัวจังหวัดราชบุรีประมาณ 8 กิโลเมตร จุดที่นักท่องเที่ยวนิยมไปเที่ยวชมคือ ทางเข้าสวนสาธารณะเขางู ซึ่งด้านหน้ามีภาพแกะสลักพระพุทธรูปปางประทานพรขนาดใหญ่ RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

(6

).indd 15

15

22/1/2564 14:47:56


ท�ำเนียบการปกครองคณะสงฆ์จังหวัดราชบุรี(มหานิกาย)

พระธรรมปัญญาภรณ์ เจ้าคณะจังหวัดราชบุรี

พระปิฎกโกศล

รองเจ้าคณะจังหวัดราชบุรี

พระครูวิบูลกิจสุนทร เจ้าคณะอ�ำเภอจอมบึง

พระครูศรีธรรมนาท

พระครูสุภัทรญาณนิวิฐ

พระครูวิสุทธานันทคุณ

พระครูโสภิตอาจารวัตร

พระครูจริยธรรมานุรักษ์

พระครูสังฆการโกวิท

พระครูอรัญเขตคณารักษ์

พระมหาประกอบ โชติปุญฺโญ

เจ้าคณะอ�ำเภอบ้านโป่ง

เจ้าคณะอ�ำเภอสวนผึ้ง

16

พระราชวัลภาจารย์

เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองราชบุรี

เจ้าคณะอ�ำเภอปากท่อ

เจ้าคณะอ�ำเภอบางแพ

เจ้าคณะอ�ำเภอโพธาราม

เจ้าคระอ�ำเภอบ้านคา

เจ้าคณะอ�ำเภอวัดเพลง

เจ้าคณะอ�ำเภอด�ำเนินสะดวก

SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี

.indd 16

22/1/2564 14:49:32


ท�ำเนียบการปกครองคณะสงฆ์จังหวัดราชบุรี(ธรรมยุต)

พระปิยทัสสี

เจ้าคณะจังหวัดราชบุรี (ธ)

พระมงคลธรรมาภรณ์

เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองราชบุรี (ธ)

พระครูวิมลธรรมาภินันท์ เจ้าคณะอ�ำเภอสวนผึ้ง (ธ)

พระครูวิสุทธิพลญาณ

เจ้าคณะอ�ำเภอปากท่อ โพธาราม (ธ)

พระครูวิบูลกิจจาทร

เจ้าคณะอ�ำเภอบ้านคา (ธ)

พระมหาณัฐชัย อภิวฒฺฑโน

เจ้าคณะอ�ำเภองบางแพ - บ้านโป่ง (ธ)

UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 17

17

22/1/2564 14:49:37


โรงแรม ณ เวลา ราชบุรี

NAVELA HOTEL

& CONVENTION

CENTER RATCHABURI ณ เวลา ราชบุรี โรงแรมสุดคลาสสิคตัง้ อยู่ใจกลางเมืองราชบุรี แวดล้อมไปด้วยบรรยากาศ สดชื่นจากธรรมชาติ โอบล้อมด้วยวิวทุ่งนาและภูเขา กับการออกแบบโรงแรมที่ตั้งใจให้เป็นมิตร กับธรรมชาติ อาคารทัง้ หมดจึงถูกออกแบบให้ผเู้ ข้าพักได้สมั ผัสถึงความผ่อนคลายได้อย่างเต็มที่ ตกแต่งสไตล์ ไทยร่วมสมัยการใช้เทคนิคแสงและเงา ลวดลายของผ้าพื้นเมือง และรวบรวม อัตลักษณ์ของราชบุรีมาสะท้อน ลงบนสถาปัตยกรรมของโรงแรมได้อย่างลงตัว โรงแรม ณ เวลา ผ่านการรับรองมาตรฐาน SHA หรือ Amazing Thailand Safety & Health Administration (โครงการยกระดับอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทยมาตรฐานความ ปลอดภัยด้านสุขอนามัย) ซึง่ เป็นโครงการความร่วมมือของการท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย (ททท.) กระทรวงการท่องเทีย่ วและกีฬา กับกรมควบคุมโรค กรมอนามัย กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข

Convention Center

18

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

2

.indd 18

อาคารห้องประชุมที่มีขนาดใหญ่รองรับได้กว่า 1,000 คน และที่จอดรถกว่า 500 คัน

23/1/2564 15:55:34


ครัวทอข้าว ตกแต่งโดยได้รับแรงบันดาลใจจาก การจ� ำ ลองกี่ ท อผ้ า โรงทอผ้ า โบราณ อันเป็นหนึง่ ในอัตลักษณ์ของจังหวัดราชบุรี ได้อ ย่างลงตัว บริ การอาหารไทย-จี น รสชาติจัดจ้าน แบ่งเป็น 3 โซน แต่ละโซน สามารถเปิดประตูเชื่อมถึงกันได้ทั้งหมด รองรั บ งานจั ด เลี้ ย งได้ ก ว่ า 200 ท่ า น พร้อมบริการคาราโอเกะ เรามุ่งเน้นใส่ ใจในรายละเอียดด้านคุณภาพและสุขภาพ ปลอดผงชูรส และใช้ผักปลอดสารพิษบางส่วนมาจากแปลงผักปลอดสารภายในสวน ของโรงแรม เปิดบริการทุกวัน เวลา 11.00 - 22.00 น. : ครัวทอข้าว โรงแรม ณ เวลา

เวลา พูลบาร์ จิบ Signature cocktails เย็นๆทานอาหาร ริมสระ นัง่ ชิลๆ บนเตียงตัง่ รับลม นัง่ มอง แมลงปอแสนน่ารักทีม่ กั จะมาบินทักทายเราบริเวณ สระว่ายน�ำ ้ ผ่อนคลายกับ ดนตรีเบาๆ และกลิ่นดอกไม้ใบหน้าจากสวน เวลาพูลบาร์ เปิดบริการทุกวัน 13.00 - 22.00 น.

เวลา การ์เด้น

เป็นพื้นที่ outdoor สวนสวยใหญ่ จัดเลี้ยงได้กว่า 600 ท่าน ลานสนามพร้อม เวทีกลางแจ้งเหมาะส�ำหรับงานเลี้ยงสังสรรค์ต่างๆ งานแต่งงาน มินิคอนเสิร์ต แรลลี่ company outing Team building และอีเว้นต์ต่างๆ ภายในบริเวณสวน มีมุม แปลงผักปลอดสารพิษ ที่ ให้ลูกค้าได้สัมผัส กับผักที่มีคุณภาพและดีต่อสุขภาพ ที่ให้เสิร์ฟ ในโรงแรม ตามคอนเซ็ปต์ Farm to table

STAY GREEN EAT CLEAN อาหารของ ณ เวลา เราใส่ใจในรายละเอียดด้าน คุณภาพ และสุขภาพอาหารของเราเป็นอาหารปลอด ผงชูรสและใช้ผักปลอดสารพิษจากแปลงผักภายใน สวนของโรงแรม เพื่อให้ทุกท่านที่มา ณ เวลา ได้ทาน อาหารแบบ Farm to table และ Farm to functions

ฟิตเนส

มะลิ คาเฟ่ แอนด์ คูซีน

ร้านกาแฟสุดเก๋สไตล์ ไทยโมเดิร์น ด้านหน้าโรงแรม ณ เวลา เพื่อต้อนรับแขกของ

ณ เวลา และแขกที่มาเยือนราชบุรี ด้วยความตั้งใจให้คาเฟ่แห่งนี้เป็นเหมือนห้องรับแขก ของเมืองราชบุรี เมนูเครื่องดื่ม ขนมและอาหารเน้นการใช้วัตถุดิบจากท้องถิ่นราชบุรี มาเป็น signature dish รวมถึงเค้กโฮมเมดที่หาทานได้ยาก และเน้นสุขภาพที่หาทาน ได้ที่ ร้านมะลิ โรงแรม ณ เวลาเท่านั้น เปิดบริการทุกวัน 08.00 - 17.00 น. : มะลิ คาเฟ่ Mali Cafe & Cuisine

2

.indd 19

ของ ณ เวลา ตั้งอยู่ด้านข้างล่างลอบบี้ บริเวณอาคารโรงแรม เป็นฟิตเนสที่ให้ ความสบายตาด้วยวิวสีเขียวๆของต้นไม้และทุง่ นา เปิดให้บริการส�ำหรับลูกค้าห้องพัก ตั้งแต่เวลา 05.00 - 22.00 น.

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมและส�ำรองห้องพักได้ที่

โรงแรม ณ เวลา ราชบุรี ตั้งอยู่เลขที่ 9/9 หมู่ 5 ต�ำบลดอนตะโก อ�ำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี 70000 : โรงแรม ณ เวลา Navela Hotel : @navelahotel : navelahotel : www.navelahotel.com

Tel. 032-206599 032-206899 032-206995

NavelaHotel19 CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

23/1/2564 15:55:44


History of buddhism....

วัดมหาธาตุวรวิหาร พระอารามหลวง พระธรรมปัญญาภรณ์ (ไพบูลย์ ชินวํโส ป.ธ.7) เจ้าคณะจังหวัดราชบุรี / เจ้าอาวาสวัดมหาธาตุวรวิหาร

20

วัดมหาธาตุวรวิหาร ตั้งอยู่เลขที่ 7 ถนนเขางู ต�ำบลหน้าเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

6

.indd 20

22/1/2564 14:19:28


ที่ตั้งและสภาพทั่วไป

วัดมหาธาตุวรวิหาร ราชบุรี เป็นพระอารามหลวงชัน้ ตรี ชนิดวรวิหาร ตั้งอยู่เขตเทศบาลเมืองราชบุรี อยู่ทางฝั่งทิศตะวันตก (ฝั่งขวา) ของ แม่น�้ำแม่กลอง ในบริเวณที่ไหลผ่านตัวอ�ำเภอเมืองราชบุรี อาณาเขตทิศเหนือติดต่อกับถนนเพชรเกษม ทิศใต้ตดิ ต่อกับวัดเขาเหลือ ทิศตะวันออกติดต่อกับแม่นำ�้ แม่กลอง ทิศตะวันตกติดต่อกับถนนเขางู (แนวก�ำแพงเมืองราชบุรีทางด้านทิศตะวันตก) สภาพพืน้ ทีโ่ ดยรอบเป็นทีร่ าบลุม่ มีลำ� คลองหลายสายไหลเชือ่ มโยงกัน ล�ำคลองสายหลักมีอยู่ 3 สาย ได้แก่ คลองโรงช้าง (คลองคูเมืองด้าน ทิศใต้) คลองหลุมดิน และคลองบ้านเล่าใหญ่ ซึ่งคลองบ้านเล่าใหญ่นี้ เป็นคลองแบ่งระหว่างตัวเมืองราชบุรี (โบราณ) เป็นเขตเมืองชั้นนอก และชั้นใน ทางเหนือของคลองบ้านเล่าใหญ่ เป็นพื้นที่ตัวเมืองราชบุรี ชัน้ นอก ทางด้านทิศใต้ของคลองเป็นพืน้ ทีต่ วั เมืองชัน้ ใน นอกจากคลอง สามสายหลักแล้วยังมีคลองซอยอีกหลายสาย ปัจจุบันถูกถมปรับจน หมดสภาพ ในพื้นที่พระมหาธาตุนี้ บริเวณแนวก�ำแพงแก้วทางด้าน ทิศเหนือ เดิมตั้งชิดคลองซอยสายหนึ่ง ที่ทางทิศตะวันออกไหลเชื่อม กับแม่น�้ำแม่กลอง บริเวณที่ตรงกับแนวต�ำแหน่งพระปรางค์ไหลแยก เป็นสามสาย แยกทางทิศเหนือนั้นเชื่อมกับคลองบ้านเล่าใหญ่ บริเวณ หน้ า วั ด ท่ า พระทอง สายตรงทางทิ ศ ตะวั น ตกหั ก เลี้ ย วตรงท้ า ย พระปรางค์ในแนวเหนือใต้ ผ่านอู่เรือของวัดลั่นทม ทางทิศใต้คลอง ซอยสายนี้เชื่อมกับคลองโรงช้าง (คลองคูเมืองด้านทิศใต้) RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 21

21

22/1/2564 14:19:39


ประวัติและความส�ำคัญ

วัดมหาธาตุวรวิหาร ถือได้วา่ เป็นโบราณสถานทีม่ คี วามส�ำคัญทาง ด้านประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมและศิลปกรรมแห่งหนึ่งของจังหวัด ราชบุรี เดิมเรียกว่า วัดหน้าพระธาตุ บ้าง วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ บ้าง ตั้งอยู่เกือบใจกลางเมืองราชบุรี จากหลักฐานทางด้านโบราณสถาน และโบราณวัตถุที่ปรากฏอยู่ แสดงให้เห็นว่าเป็นวัดส�ำคัญของเมือง ราชบุรีมาอย่างยาวนาน จนถึงปัจจุบัน อย่างน้อยตั้งแต่ราวพุทธ ศตวรรษที่ 18 เมือ่ อิทธิพลจากพระพุทธศาสนิกชนมหายานจากกัมพูชา ได้แพร่ขยายเข้ามาในพื้นที่เมืองราชบุรี ปรากฏการสร้างศาสนสถาน ขึ้นในบริเวณใจกลางเมือง เพื่อให้เป็นศูนย์กลางตามคติความเชื่อเรื่อง จักรวาล หลักฐานทีย่ งั หลงเหลืออยู่ คือ แนวก�ำแพงศิลาแลง มีทบั หลัง ก�ำแพงจ�ำหลักจากหินทรายสีชมพู เป็นรูปพระพุทธรูปปางสมาธิในซุม้ เรือนแก้วใบระกา รูปแบบเดียวกับทีพ่ บในศาสนสถานศิลปะบายน ใน ราชอาณาจักรกัมพูชา ต่อมาในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น ( พุทธศตวรรษที่ 19-20 ) ได้ มีการสร้างพระมหาธาตุเป็นเจดีย์ทรงปรางค์แบบอยุธยาขึ้นเป็น ประธานของวัด และมีการสร้างพระปรางค์บริวารขึน้ ด้านข้างด้านละ 1 องค์ ด้านหลัง 1 องค์ รวม 3 องค์ เชือ่ มต่อกับปรางค์ประธาน มีเจดียม์ มุ อยูท่ งั้ สีม่ มุ เป็นเจดียก์ อ่ อิฐฐานแปดเหลีย่ ม และมีระเบียงคตล้อมรอบ ด้านหน้าพระมหาธาตุ มีวหิ ารขนาดใหญ่ หรือวิหารหลวงตามผนังของ วัดในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น ในวิหารหลวงประดิษฐานพระประธาน ปางมารวิชัยสององค์ หันพระปฤษฎางค์ชนกัน

22

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

6

.indd 22

22/1/2564 14:19:46


วัดมหาธาตุ เป็นวัดส�ำคัญประจ�ำเมืองราชบุรี ตลอดสมัยกรุงศรี อยุธยา เพราะพบร่องรอยการบูรณะท�ำนุบ�ำรุงมาโดยตลอด เห็นได้ จากลวดลายปูนปั้นที่ประดับปรางค์ประธานและปรางค์บริวาร คงมี การก่อสร้างเพิ่มเติมอีกหลายแห่งในพื้นที่ภายในก�ำแพงแก้วล้อมรอบ องค์ปรางค์ เช่น วิหารขนาดเล็กขนาบวิหารหลวง ภายในวิหาร ประดิษฐานพระพุทธรูปที่แกนเป็นหินทรายแดง ส่วนพระอุโบสถ ของวัดมหาธาตุอยูภ่ ายนอกก�ำแพงแก้ว ทางด้านทิศเหนือค่อนมาทาง ด้านทิศตะวันตก จากรูปแบบสถาปัตยกรรมที่ปรากฏสันนิษฐานว่า สร้างขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย เมื่อมีการย้ายราชธานี มาอยู่ที่กรุงธนบุรีและกรุงเทพมหานคร ท�ำให้เมืองราชบุรไี ด้รบั ผลกระทบจากภาวะสงครามระหว่างราชอาณาจักร สยามกับพม่า ด้วยอยูใ่ นเส้นทางเดินทัพ เนือ่ งจากอยูใ่ กล้ราชธานีใหม่ มากขึน้ ในสมัยรัชกาลที่ 2 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ จึงได้ยา้ ยเมืองราชบุรี ไปตั้งยังฝั่งตะวันออกของแม่น�้ำแม่กลอง (ที่ตั้งของค่ายภาณุรังษีใน ปัจจุบัน) ในช่วงทีม่ กี ารย้ายศูนย์กลางเมืองไปตัง้ ยังฝัง่ ซ้ายของแม่นำ�้ แม่กลอง ประชาชนก็ยา้ ยถิน่ ฐานไปด้วยจึงเป็นสาเหตุให้วดั มหาธาตุและวัดใกล้เคียง กลายเป็นวัดร้าง ไม่มีพระสงฆ์อยู่จำ� พรรษา จนกระทั่งในสมัยรัชกาล ที่ 3 ประมาณปี พ.ศ. 2388 ได้มพี ระภิกษุรปู หนึง่ ชือ่ บุญมา ได้เดินทาง กลับจากธุดงควัตรออกจาริกไปทางภาคเหนือ มาพักปักกลดในบริเวณ วัดมหาธาตุพิจารณาเห็นว่าเป็นสถานที่ร่มรื่นเหมาะสมที่จะบ�ำเพ็ญ สมณธรรม จึงได้ร่วมกับชาวบ้านท�ำการหักร้างถางพงและซ่อมแซม เสนาสนะต่างๆ ที่เหลืออยู่ให้มีสภาพมั่นคง และสร้างเสนาสนะอื่นๆ เพิ่ ม เติ ม เพื่ อ ที่ จ ะเป็ น ที่ จ� ำ พรรษาของพระสงฆ์ อี ก ครั้ ง และเป็ น ศูนย์กลางทางพุทธศาสนา ที่มีความส�ำคัญของจังหวัดราชบุรี มาจวบ จนปัจจุบัน

พระธรรมปัญญาภรณ์ (ไพบูลย์ ชินวํโส ป.ธ.7) เจ้าคณะจังหวัดราชบุรี / เจ้าอาวาสวัดมหาธาตุวรวิหาร

RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 23

23

22/1/2564 14:19:49


โบราณสถานส�ำคัญภายในวัดมหาธาตุวรวิหาร

1. เจดีย์มหาธาตุ เป็นเจดีย์ทรงปรางค์ ตั้งอยู่ด้านในสุดของพื้นที่ ภายในก�ำแพงแก้ว ประกอบด้วย ปรางค์ประธานและปรางค์บริวาร 3 องค์ ด้านข้างทั้ง 3 ทิศ ได้แก่ ทิศเหนือ ทิศใต้ และทิศตะวันตก ที่มุมทั้งสี่ มีฐานเจดีย์แปดเหลี่ยมก่อด้วยอิฐ กลุ่มโบราณสถานเหล่านี้มีวิหารคด ล้อมรอบ วิหารคดได้รับการบูรณะขึ้นใหม่ แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2525 2. วิหารหลวง ตั้งอยู่ด้านหน้าพระมหาธาตุ (ด้านทิศตะวันออก) ฐานก่อด้วยศิลาแลง มีแนวก�ำแพงอิฐก่อล้อมครึง่ หลังของวิหาร ซึง่ เป็น ทีป่ ระดิษฐานพระพุทธรูปปางมารวิชยั สลักจากหินทรายสีแดง 2 องค์ ประทับนัง่ หันพระปฤษฎางค์ชนกัน พระพุทธรูปทัง้ สององค์นไี้ ด้รบั การ ปฏิสังขรณ์แล้ว 3. วิหารขนาดเล็ก จ�ำนวน 4 หลัง ตั้งอยู่ด้านข้างวิหารหลวงด้าน ละหลัง และบริเวณพื้นที่ด้านหน้าภายในก�ำแพงแก้ว มีวิหารตั้งอยู่อีก ฝัง่ ละหลัง แต่ละหลังประดิษฐานพระพุทธรูปทีส่ ลักจากหินทรายสีแดง ที่มีผู้มีจิตศรัทธาปฏิสังขรณ์ขึ้นใหม่ และสร้างวิหารแทนวิหารของเดิม ส�ำหรับพระพุทธรูปภายในวิหารแต่ละหลังนัน้ ได้มกี ารชะลอมาจาก วัดร้างที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ใกล้เคียงวัดมหาธาตุ ส่วนใหญ่ร้างไปภายหลัง การเสียกรุงศรีอยุธยา เช่น วัดลัน่ ทม อยูท่ างด้านทิศใต้ของวัดมหาธาตุ วัดอุทยั อยูท่ างด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ เคยพบแนวก�ำแพงเมือ่ มี การตัดถนนเข้าวัดมหาธาตุ (วัดนี้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ เคยทรงพระนิพนธ์ถงึ ว่าผ่านวัดอุทยั เพือ่ เข้ามายังพระมหาธาตุ และว่า อยู่ใกล้กันจนเกือบเป็นวัดเดียวกัน ) วัดโพธิ์เขียวหรือวัดเพรง อยู่ทาง ด้านทิศเหนือ เดิมมีเจดียย์ อ่ มุมไม้สบิ สอง ทีข่ ดุ พบพระบรมสารีรกิ ธาตุ วัดตารอด อยู่ท้ายหลุมดิน มีสระโบราณอยู่ด้วย วัดท่าพระทอง อยู่ บริเวณโรงพยาบาลกรุงเทพเมืองราช พระพุทธรูปในวิหารหลังทิศตะวันออกเฉียงเหนือชะลอมาจากวัด อุทยั ในวิหารหลังทิศตะวันออกเฉียงใต้เป็นพระประธานวัดตารอด ใน วิหารด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ ชะลอมาจากวัดโพธิ์เขียว มีองค์เดียว ส่วนในวิหารหลังอืน่ ๆ เป็นพระพุทธรูปคูป่ ระทับนัง่ หันพระปฤษฎางค์ ชนกัน

24

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

6

.indd 24

22/1/2564 14:19:56


4. กำ� แพงแก้ว ล้อมรอบศาสนสถาน ด้านหน้าเป็นก�ำแพงศิลาแลง ด้านหลังเป็นก�ำแพงก่อด้วยอิฐ ส่วนที่เป็นก�ำแพงศิลาแลงมีทับหลัง จ�ำหลักจากหินทรายเป็นรูปพระพุทธรูปในซุ้มเรือนแก้วประดับตาม แนบยาวของก�ำแพง 5. พระอุโบสถ ตัง้ อยูท่ างทิศเหนือของกลุม่ พระมหาธาตุ นอกแนว ก�ำแพงแก้ว ใกล้กับเขตสังฆาวาส ตั้งอยู่ค่อนมาทางด้านทิศตะวันออก ของพื้นที่ 6. มณฑปประดิษฐานรอยพระพุทธบาทจ�ำลอง ตั้งอยู่ทางด้าน หน้าอุโบสถชิดแนวก�ำแพง 7. เจดีย์ จ�ำนวน 5 องค์ ตัง้ อยูด่ า้ นหน้ามณฑป ประกอบด้วย เจดีย์ ทรงระฆังกลม จ�ำนวน 4 องค์ และเจดียย์ อ่ มุมไม้สบิ สอง จ�ำนวน 1 องค์ 8. ศาลาการเปรียญ 9. หมู่กุฏิสงฆ์ มีบางหลังเป็นเรือนไม้ทรงไทยขนาดใหญ่ RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 25

25

22/1/2564 14:20:04


History of buddhism....

วัดอมรินทราราม พระปิยทัสสี ( วิษณุ ปิยธโน) เจ้าคณะจังหวัดราชบุรี (ธรรมยุต) เจ้าอาวาสวัดอมรินทราราม

26

(6

วัดอมรินทราราม ตั้งอยู่ต�ำบลโคกหม้อ อ�ำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

).indd 26

21/1/2564 16:03:42


ประวัติความเป็นมาวัดอมรินทาราม

วัดตาล หรือ วัดตาลอมรินทร์ หรือ วัดอมรินทร์ หรือ วัดอมรินทราราม ตัง้ อยูร่ มิ ฝัง่ แม่นำ�้ แม่กลอง จะเริม่ สร้างวัดนีม้ าแต่ครัง้ ไหน ไม่มหี ลักฐาน เป็นที่แน่นอน ได้ทราบจากท่านผู้ใหญ่ผู้มีอายุกรุณาเล่าให้ฟังพอ จ�ำได้ว่า วัดนี้ได้เริ่มก่อสร้างมาก่อนที่เมืองราชบุรี จะย้ายจากฝั่งซ้าย ของแม่นำ�้ แม่กลอง คือ บริเวณวัดมหาธาตุวรวิหาร มาอยูท่ แี่ ห่งใหม่คอื ฝั ่ ง ขวาตรงข้ามกัน โดยมีก�ำแพงรอบ ปัจจุบัน เป็ น สถานที่ ตั้ ง ของ กรมการทหารช่าง โดยที่เมืองราชบุรีย้ายข้ามกลับไปตั้งยังฝั่งซ้าย ตามเดิมและได้ถอยเลือ่ นลงมาจากทีเ่ ดิมและอยูป่ จั จุบนั พอประมาณ ได้วา่ เริม่ สร้างวัดอมรินทรารามนีใ้ นราว ปีกนุ สัปตศก จุลศักราช 1177 พุทธศักราช 2358 ก่อนสร้างเมืองราชบุรีใหม่เล็กน้อย โดยเจ้าพระยา วงศาสุรศักดิ์ (แสง วงศาโรจน์) เป็นผู้สร้าง โดยท่านเป็นผู้ว่าราชการ เมืองราชบุรี คนที่ 2 ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธ ยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 จนถึง พระบาทสมเด็จพระพุทธ เลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 เมื่อสร้างแล้วคงใช้ชื่อว่า วัดตาล

RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

(6

).indd 27

27

21/1/2564 16:03:54


ต่อมาในสมัย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 4 และ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 5 ครองราชสมบัติ มีพระยาอมรินทร์ฤาชัย (กุง้ วงศาโรจน์) เป็นผูว้ า่ ราชการจังหวัดราชบุรี คนที่ 5 ท่านได้บรู ณะซ่อมแซมปฏิสงั ขรณ์วดั อมรินทราราม เพราะเหตุ ว่าวัดนี้ท่านผู้ใหญ่ในตระกูลวงศาโรจน์ ท่านได้ท�ำการก่อสร้างไว้ ตัง้ แต่แรกและได้นิมนต์พระภิกษุในคณะธรรมยุตมาอยู่ปกครองวัด คือ พระสมุทรมุนี(หน่าย) ในขณะปกครองวัดเป็นเจ้าอาวาส คือ พระอธิการหน่าย เป็นพระในคณะธรรมยุตองค์แรกมาอยู่ปกครองวัด ท่านบรรพชาอุปสมบทมาจากคณะธรรมยุตวัดโสมนัสวรวิหาร เป็น สัทธิวิหาริกของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธศิริ) ระหว่างที่มาอยู่ ปกครองวัดนั้นตอนปลายรัชกาลที่ 4 (พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว) ราวปี พ.ศ. 2406 – 2410 ตามจดหมายเหตุของพระครู วินยั ธรรม(อินทร์) ท่านได้เขียนตามค�ำของ พระสมุทรมุน(ี หน่าย) ผูเ้ ป็น อุปัชฌาย์ ว่า วัดตาลหรือวัดอมรินทร์นี้แต่เดิมที่ดินที่สร้างวัด เป็นที่ รกร้าง เป็นที่อาศัยของพระภิกษุผู้จรจัดประพฤติไม่ดีไม่งาม เป็นที่อยู่ อาศัยของคฤหัสถ์ผู้จรจัดและพวกผู้ร้ายทั้งผีร้ายก็ชุกชุม ท่านจึงให้ ผู้อุปฐากแผ้วถางท�ำความสะอาดป่าให้เตียนในบริเวณวัด เรื่องร้ายๆ ก็สร่างซาลงไป และเพื่อให้เป็นเกียรติแก่ผู้บูรณะซ่อมแซมปฏิสังขรณ์ วัดจึงได้เอาชื่อ พระยาอมรินทร์ฤาชัย ต่อท้ายชื่อ วัดตาล เป็น วัดตาลอมรินทร์ ต่อมาค�ำว่า ตาล หายไป คงเหลือแต่ชอื่ วัดอมรินทร์ ปัจจุบนั นีจ้ งึ ใช้ชอื่ ว่า วัดอมรินทราราม อยูม่ าจนทุกวันนีแ้ ละวัดก็ได้รบั การบูรณปฏิสังขรณ์จนรุ่งเรืองตลอดมา ตามจดหมายเหตุของพระครู วินยั ธรรมว่า ในปีหนึง่ ๆ มีพระภิกษุ สามเณร มาอยูจ่ ำ� พรรษา 30 องค์บา้ ง 40 องค์บา้ ง 50 องค์บา้ ง และมีทายก-ทายิกา น�ำบุตรหลานมาฝากกับ พระภิกษุ สามเณร ให้เป็นลูกศิษย์ จนต้องหุงข้าวกระทะเลี้ยงดูกันนับ ว่าวัดอมรินทรารามในสมัยนัน้ เจริญรุง่ เรืองมากและยังเป็นวัดของคณะ ธรรมยุตวัดแรกในจังหวัดราชบุรี และเป็นวัดที่มีผู้คนเคารพนับถือ อยู่มากวัดหนึ่ง เพราะศรัทธาในตัวของพระอธิการหน่ายเจ้าอาวาส ผู้ปกครองวัด จึงพากันบริจาคทรัพย์ ท�ำบุญ ให้ทาน รักษาศีล อุโบสถ ศีล เจริญภาวนาเป็นอุบาสก – อุบาสิกา เป็นจ�ำนวนมาก

28

(6

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

).indd 28

21/1/2564 16:04:01


หลวงพ่ออมรินทราเมศร์ หลวงพ่อศักดิ์สิทธิ์ อายุ ๒๐๐ ปี

หลวงพ่ออมรินทราเมศร์ เป็นพระประธานคูใ่ นวิหาร ปางมารวิชยั หรือทีช่ าวบ้านมักเรียกว่า ปางสะดุง้ มาร หันหลังให้กนั องค์หนึง่ หันหน้า ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ อีกองค์หนึ่งหันหน้าไปทางทิศตะวันออก เฉียงเหนือ เป็นหลวงพ่อศักดิ์สิทธิ์ประจ�ำวัดอมรินราราม ผู้คนนิยมมา กราบไหว้บูชาเพื่อขอพร สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 2 เมื่อปี พ.ศ. 2363 เมื่อเริ่มก่อสร้างวัด ได้สร้างวิหารหลังนี้ขึ้นก่อน และใช้วิหารหลังนี้ ท�ำสังฆกรรมแทนอุโบสถ เมื่อสร้างอุโบสถเสร็จแล้ว จึงใช้วิหารเป็น วิหารดังเดิม ด้านหน้ามีต้นสมอพิเภกอายุ 200 ปี ขนาดใหญ่ อายุเท่า หลวงพ่ออมรินทร์ฯ ด้านหลังมีเจดีย์ 3 องค์ สันนิษฐานว่าเป็นเจดียข์ อง ผู้ที่เริ่มสร้างวัด

RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

(6

).indd 29

29

21/1/2564 16:04:08


ประวัติ พระลักษณะและความหมาย สมเด็จพระโคดมบรมอินทรามุนี

อุโบสถหลังเก่าของวัดอมรินทรารามนั้นช�ำรุดทรุดโทรมมากคณะ กรรมการวัดจึงได้ดำ� เนินการสร้างอุโบสถจัตรุ มุขหลังใหม่ขนึ้ และสร้าง พระประธานประจ�ำอุโบสถ คือ “สมเด็จพระโคดมบรมอินทรามุนี” เป็นพระพุทธรูปปางเสวยวิมุติสุข ซึ่งยังไม่เคยมีผู้ใดคิดสร้างมาก่อน นายแพทย์ประยูร นรการผดุง ผูล้ ว่ งลับ ได้ตงั้ สมาธิจติ ขอนิมติ ภาพองค์ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเมื่อครั้งด�ำรงพระชนม์ชีพอยู่ ก็ปรากฏ เป็นภาพพระองค์ทรงประทับเสวยวิมุตติสุข อยู่ใต้ต้นศรีมหาโพธิ์ พระอิรยิ าบถคือทรงลดพระบาทขวาจากท่านัง่ สมาธิลงแตะพืน้ ดินหน้า พระแท่นทีต่ รัสรู้ พระหัตถ์ขวายกขึน้ ในท่าประทานพรนิว้ หัวแม่มอื และ นิว้ ชีจ้ รดกันเป็นวงกลม แสดงว่าชีวติ ย่อมมีการเวียนว่ายตายเกิดอยูใ่ น วัฏสังขาร ส่วนนิว้ พระหัตถ์ขวาทัง้ สามทีเ่ หลืออยูท่ รงเหยียดตรงแสดง ว่าการสิ้นสุดของวัฏสังขารดังกล่าวนี้ ย่อมบังเกิดขึ้นถ้าคนเข้าถึงแก่น “พระรัตนตรัย” อย่างแท้จริง พระหัตถ์ซ้ายวางเหนือพระชานุซ้าย แสดงว่าได้ทรงค้นพบวิธีที่จะหลุดพ้นโดยสิ้นเชิงไม่ต้องมาเวียนว่าย ตายเกิดอยูใ่ นวัฏสังขารอีกต่อไปพระพุทธลักษณะทีป่ รากฏในนิมติ นัน้ สว่างไสวและเป็นภาพกายเนื้อของคนธรรมดา มิได้เป็นอย่างองค์ ปฏิมากรที่สร้างกันอยู่ทั่วไป เมื่อปรากฏนิมิตดังกล่าวแล้ว ได้ให้ช่างที่ มีฝีมือปั้นหุ่นขี้ผ้ึงขึ้นมาให้เหมือนดังภาพที่ปรากฏในนิมิต และน�ำไป เป็ น แบบสร้ า งพระพุ ท ธรู ป ปางเสวยวิ มุ ต ติ สุ ข และถวายนามว่ า “สมเด็จพระโคดมบรมอินทรามุน”ี ในการสร้างพระพุทธรูปปางเสวย วิมตุ ติสขุ ครัง้ นัน้ ได้ยอ่ ส่วนพระพุทธรูปลงมาเป็นล�ำดับ คือ ขนาด 9 นิว้ / 7 นิ้ว / 5 นิ้ว / 3 นิ้ว โดยสร้างขนาดละ 300 องค์ และได้นำ� เข้าพิธี พุทธาภิเษกอย่างยิ่งใหญ่ ซึ่งสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จ พระสังฆราช (จวน อุฏฐายี) สมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 16 เป็นประธาน ในการพุทธาภิเษก เมื่อ พ.ศ. 2513 และได้น�ำขึ้นทูลเกล้าถวาย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 9 เมือ่ วันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2514 “สมเด็ จ พระโคดมบรมอิ น ทรามุ นี ” เป็ น พระพุ ท ธรู ป ที่ มี พระวรกาย เป็นลักษณะกายเนื้อเหมือนเป็นภาพเหมือน ขององค์ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในสมัยทีพ่ ระองค์ทรงด�ำรงพระชนม์ชพี อยู่ จึงท�ำให้ผู้ที่ได้กราบไหว้เกิดศรัทธาน้อมน�ำจิตใจเข้าสู่พระธรรมของ พระพุทธองค์ได้อย่างอัศจรรย์

30

(6

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

).indd 30

21/1/2564 16:04:10


วัดอมรินทราราม ได้มผี ปู้ กครองวัดโดยการแต่งตัง้ ให้เป็นเจ้าอาวาส และผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสมาตามล�ำดับจนมาถึงปัจจุบันรวม 10 รูป ตามรายนามดังนี้ คือ 1. พระอธิการหน่าย เขมโก ต่อมาได้เลื่อนสมณศักดิ์เป็น พระครู ขันตยาคม เป็นเจ้าอาวาสปกครองวัดระหว่างปี พ.ศ. 2406-2423 พอถึงปี พ.ศ. 2424 ท่านได้เลื่อนสมณศักดิ์เป็น พระสมุทรมุนี ย้ายไป เป็นเจ้าอาวาสวัดสัตนารถปริวัตร รูปที่ 2 ของวัดนั้น 2. พระสมุห์จิตต์ (จิตต์ ฉนฺโน) เป็นเจ้าอาวาสปกครองวัดระหว่าง ปี พ.ศ. 2424-2432 ต่อมาท่านได้ย้ายไปเป็นเจ้าอาวาสวัดศรีสุริยวงศ์ และได้เลื่อนสมณศักดิ์เป็น พระครูอุดมธีรคุณต่อมาได้เลื่อนสมณศักดิ์ เป็น พระพุทธวิรยิ ากร ย้ายไปเป็นเจ้าอาวาสวัดสัตนารถปริวตั ร สืบต่อมา 3. พระอธิการยา เป็นเจ้าอาวาสปกครองวัดระหว่างปี พ.ศ. 2432 – 2441 4. พระปลัดเกตุ (แก สุภโร) เป็นเจ้าอาวาสปกครองวัดระหว่างปี พ.ศ. 2441-2461 5. พระปลัดแบ่ง (แบ่ง ปภสฺสโํ ร) เป็นเจ้าอาวาสปกครองวัดระหว่าง ปี พ.ศ. 2461-2473 6. พระผัน เขมาภิรโต เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสปกครองวัด ระหว่างปี พ.ศ. 2473-2475 7. พระเหลือ กมโล เป็นเจ้าอาวาสปกครองวัดระหว่างปี พ.ศ. 2475 – 2495 8. พระเฉื่อย ธมฺมธโร เป็นรักษาการเจ้าอาวาสและเจ้าอาวาส ระหว่างปี พ.ศ. 2495-2515 9. พระมหาจ�ำเนียร อรุโณ ต่อมาได้เลือ่ นสมณศักดิเ์ ป็น พระครูสลี คุณธราจาร เมือ่ ปี พ.ศ. 2517 ได้เลือ่ นสมณศักดิเ์ ป็น พระโสภณสีลคุณ เมื่อปี พ.ศ. 2543 และ ได้เลื่อนสมณศักดิ์เป็น พระราชวุฒาจารย์ เมื่อ ปี พ.ศ. 2559 เป็นเจ้าอาวาสปกครองวัดระหว่างปี พ.ศ. 2516-2560 10. พระปิยทัสสี (วิษณุ ปิยธโน) เป็นเจ้าอาวาส ระหว่างปี พ.ศ. 2560 - ปัจจุบัน

พระปิยทัสสี ( วิษณุ ปิยธโน)

เจ้าคณะจังหวัดราชบุรี (ธรรมยุต) เจ้าอาวาสวัดอมรินทราราม

วัดอมรินทรารามนี้เป็นวัดที่น่าศึกษาหาความรู้ และเป็นวัดที่เป็น ประวัติศาสตร์ของเมืองราชบุรีได้เป็นอย่างดี เพราะว่าเมืองราชบุรีนี้ ได้มีบุคคลในตระกูลวงศาโรจน์ เป็นผู้ว่าราชการจังหวัดติดต่อกันถึง 6 คน ตั้งแต่กรุงธนบุรี ถึง กรุงรัตนโกสินทร์ในปี พ.ศ. 2440 และได้ สร้างวัดอมรินทรารามนี้ไว้เป็นอนุสรณ์ เป็นเครื่องเตือนใจผู้สืบทอด เชื้อสายตระกูล และเป็นบวรพุทธศาสนาสืบต่อไป

RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

(6

).indd 31

31

21/1/2564 16:04:15


History of buddhism....

วัดดอนตะโก พระครูธำ�รงปริยัติวงศ์ เจ้าอาวาสวัดดอนตะโก / เจ้าคณะตำ�บลหน้าเมืองเขต 2

32

2

วัดดอนตะโก ตั้งอยู่เลขที่ 89 หมู่ที่ 3 ถนนแม้นร�ำลึก ต�ำบลดอนตะโก อ�ำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

.indd 32

วัดดอนตะโก ตัง้ วัดเมือ่ ปี พ.ศ. 2320 ตามค�ำบอกเล่าของผูส้ งู อายุเล่าสืบกันมาว่า วัดนี้เดิมตั้งอยู่ทาง ทิศตะวันออกเฉียงใต้ ประมาณ 15 เส้น ของที่ตั้งวัดในปัจจุบัน เป็นทีร่ าบลุม่ มีบา้ นอยูต่ ดิ กับวัดไม่มากนัก เดิมเป็นทีพ่ กั สงฆ์ ต่อมา ชาวบ้านดอนตะโก ตอนเหนือ เห็นว่าที่ตั้งวัดเป็นที่กว้างส�ำหรับเลี้ยงควายของชาวบ้าน มีที่พักเกวียน ของคนเดินทางอีกด้วย ประกอบกับมีประชาชนอยูม่ ากกว่าทีเ่ ดิม จึงพร้อมใจกันย้าย วัดมาตั้งตรงคอกควาย เพื่อสะดวกแก่การท�ำบุญ โดยตั้งชื่อวัดตามชื่อหมู่บ้านว่า “วัดดอนตะโก” ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมาเมือ่ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2522 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 80

21/1/2564 15:35:20


วัดดอนตะโก มีทดี่ นิ ตัง้ วัดจ�ำนวนเนือ้ ที่ 13 ไร่ 2 งาน 61 ตารางวา อาณาเขต ทิศเหนือ จดถนนสาธารณประโยชน์ ทิศใต้ จดคลอง สาธารณประโยชน์ ทิศตะวันออก จดถนนสาธารณประโยชน์ ทิศตะวันตก จดคลองสาธารณประโยชน์ อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย - อุโบสถ กว้าง 10 เมตร ยาว 26 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2521 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก - ศาลาการเปรียญ กว้าง 21 เมตร ยาว 44 เมตร สร้างเมือ่ ปี พ.ศ. 2539 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 2 ชั้น - กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 4 หลัง เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก - ศาลาอเนกประสงค์ กว้าง 12 เมตร ยาว 20 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2515 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก - ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล จ�ำนวน 2 หลัง สร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก นอกจากนี้มีหอระฆัง 1 หลัง สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2539 ปูชนียวัตถุ มีพระประธานประจ�ำอุโบสถ เป็นพระพุทธรูปศิลาแลง

การบริหารและการปกครอง มีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนาม คือ

รูปที่ 1 พระคํา รูปที่ 2 พระชื่น รูปที่ 3 พระทองคํา รูปที่ 4 พระน้อย รูปที่ 5 พระขาว รูปที่ 6 พระจรัส พ.ศ. 2495 รูปที่ 7 พระวัง ติสสเทโว พ.ศ. 2495 - 2524 รูปที่ 8 พระครูโสภณธีรญาณ พ.ศ. 2524 - 2544 รูปที่ 9 พระครูสังฆรักษ์ไพฑูรย์ วสวณโณ พ.ศ. 2544 - 2560 รูปที่ 10 พระครูธ�ำรงปริยัติวงศ์ พ.ศ. 2561 - ปัจจุบนั พระครูธำ� รงปริยตั วิ งศ์ ท่านได้ทำ� การบูรณปฏิสงั ขรณ์ มีการพัฒนา วัดดอนตะโก ให้มคี วามสะดวกสบายยิง่ ขึน้ จัดตัง้ โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม แผนกธรรม แผนกบาลี ประจ�ำต�ำบล เปิดสอนเมื่อปี พ.ศ. 2480 ตลอดจนให้การสนับสนุนการศึกษาพระสงฆ์ทอี่ ยูใ่ นวัดดอนตะโก และ วัดในเขตการปกครอง ให้มคี วามรูค้ วามสามารถน�ำหลักธรรม มาใช้ใน งานคณะสงฆ์ ในชีวิตประจ�ำวัน และ การเผยแผ่พระพุทธศาสนาให้ เจริญสืบต่อไป

RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 33

33

21/1/2564 15:35:35


History of buddhism....

วัดเขางู พระสมุห์วศิน วิสุทฺโธ เจ้าอาวาสวัดเขางู

วัดเขางู ตั้งอยู่เลขที่ 107 หมู่ 6 บ้านรางไม้แดง-เชิงสะพาน ต�ำบลเจดีย์หัก อ�ำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี โทรศัพท์ 098-413-0733

34

4

ประวัติความเป็นมา วัดเขางู

เริม่ แรกได้มพี ระภิกษุรปู หนึง่ เดินธุดงค์มาอยูใ่ นถ�ำ้ บนภูเขา ชือ่ เขางู ท่านมาอยูไ่ ด้ ไม่นานก็ลาญาติโยมเดินธุดงค์ตอ่ ไป ต่อมามีพระภิกษุฮนุ้ บ้านเดิมท่านอยูท่ จี่ งั หวัด กาญจนบุรี ได้มาอยูใ่ นถ�ำ้ บนภูเขานีอ้ กี และท่านก็ธดุ งค์ตอ่ ไป

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

.indd 34

21/1/2564 17:23:25


ในปี พ.ศ. 2506 พระภิกษุ จากวัดช่องลม ต�ำบลหน้าเมือง อ�ำเภอ เมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี ก็ได้มาอยูใ่ นถ�ำ้ นี้ ท่านพระภิกษุชติ ได้เริม่ วาง รากฐานและก่อตั้งเป็นส�ำนักสงฆ์เขางู โดยร่วมกับชาวบ้านสร้างศาลา บ�ำเพ็ญกุศล และกุฏอิ กี หนึง่ หลัง มีพระมาจ�ำพรรษาอยู่ 3-4 รูป เป็นที่ เคารพนับถือศรัทธาของญาติโยม ต่อมาในปี พ.ศ. 2510 พระภิกษุชิต ท่านเดินทางกลับไปจ�ำพรรษาที่วัดช่องลมตามเดิม พ.ศ. 2511 พระภิกษุสุวรรณ มาจ�ำพรรษาอยู่ ท่านได้สร้างกุฏิ พร้อมสร้างศาลาขึ้นใหม่ให้ใหญ่กว่าเดิม โดยรื้อของเดิมออก ศาลา หลั ง ใหญ่ ไ ม่ ทั น สร้ า งเสร็ จ ท่ า นก็ เ ดิ น ธุ ด งค์ ต ่ อ ไปอี ก แต่ ก็ มี พ ระ จ�ำพรรษาอยู่ต่อเนื่อง พ.ศ. 2512 พระภิกษุลี้ อายุวัฒโก เป็นชาวจังหวัดราชบุรี มาจาก วัดพิกุลทอง ต�ำบลสามเรือน อ�ำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี มา จ�ำพรรษาต่อ

พระสารีริกธาตุ

ก�ำเนิดวัดเขางู

พ่อปู่ฤาษีเขี้ยวเพชร

จากส�ำนักสงฆ์เขางู กว่าจะมาเป็นวัดเขางูผู้ที่สร้าง คือ คุณแฉล้ม อุศภุ รัตน์ สกุลเดิม ลีก้ มิ ฮุย เป็นชาวราชบุรี สมรสกับคุณธีระ อุศภุ รัตน์ ได้ประกอบกิจการค้า ชือ่ ห้างหุน้ ส่วนจ�ำกัดแฉล้มนิมติ อยูท่ ตี่ ำ� บลสีลม อ�ำเภอบางรัก กรุงเทพฯ จากความศรัทธาในพระพุทธศาสนาและยินดี ที่มีญาติผู้ใหญ่อยู่ในสมณเพศ จึงสนับสนุนการสร้างโรงเรียนวัดเขางู สันติธรรม พร้อมกันนัน้ บริจาคทรัพย์สร้างกุฏิ และศาสนสถานหลายอย่าง เพราะต้องการให้ส�ำนักสงฆ์ถ�้ำเขางูเป็นวัดในพระพุทธศาสนา ต่อมาคุณแฉล้ม อุศุภรัตน์ ได้ขออนุญาตสร้างวัดเขางู ที่บ้านราง ไม้แดง เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2524 โดยการประสานงานของ อาจารย์ประดิษฐ์ นาคอ่อน กรมการศาสนาได้อนุญาตให้สร้างวัดเมื่อ ปี พ.ศ. 2525 ต่อมา พ.ศ. 2527 คุณแฉล้ม อุศุภรัตน์ ได้ทำ� รายงาน ขอตั้งชื่อ วัดเขางู โดยมีพระครูปลัดสงัด อภิญาโณ มาก่อสร้างบูรณ ปฏิสงั ขรณ์ใหม่ เช่น สร้างอุโบสถ สร้างศาลา และปัจจุบนั มีพระสมุหว์ ศิน วิสุทฺโธ เป็นเจ้าอาวาสวัดเขางู ได้พัฒนาวัดขึ้นเป็นอุทยานการศึกษา พ.ศ. 2561 จนถึงปัจจุบัน RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 35

35

21/1/2564 17:23:36


บริเวณโดยรอบภายในวัดเขางู

เจ้าพ่อเขางู

พระพุทธโคดม(หลวงพ่อใหญ่)

กรมหลวงชุมพร (เสด็จเตี่ย) 36

4

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

.indd 36

21/1/2564 17:23:45


ประวัติเจ้าอาวาสวัดเขางู

พระสมุหว์ ศิน วิสทุ โฺ ธ (พงษ์ศกั ดิ)์ เกิดมือ่ วันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2527 ที่บ้านเลขที่ 56/1 หมู่ที่ 7 ต�ำบลหินกอง อ�ำเภอเมืองราชบุรี จังหวัด ราชบุรี อุปสมบทเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548 ณ วัดห้วยไผ่ ต�ำบลห้วยไผ่ อ�ำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี การศึกษา - นักธรรมเอก (น.ธ.เอก) 2554 - ประถมศึกษาชั้นปีที่ 6 โรงเรียนวัดห้วยปลาดุก (อนันตกูล อุปถัมภ์) อ�ำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี - มัธยมศึกษาชั้นปีที่ 3 โรงเรียนวัดห้วยไผ่ อ�ำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี ( 2543) - ประกาศนียบัตรประสบการณ์วิชาชีพ (ปวช.) วิทยาลัยเกษตร และเทคโนโลยีราชบุรี (2546) - ประกาศนียบัตรประสบการณ์วิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) วิทยาลัย เกษตรและเทคโนโลยีราชบุรี (2548) - หลักสูตรประกาศนียบัตรการบริหารกิจการคณะสงฆ์ (ป.บส.) คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (2556) - ปริญญาตรี พุทธศาสตร์บัณฑิต(พธ.บ.สาขาการจัดการเชิงพุทธ) คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (2563) - ปริญญาโท พุทธศาสตรมหาบัณฑิต (พธ.ม.สาขาการจัดการเชิงพุทธ) คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (2562) - ก�ำลังศึกษาปริญญาเอก พุทธศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิต (พ.ธ.ด. สาขา การจัดการเชิงพุทธ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย

พระสมุห์วศิน วิสุทฺโธ เจ้าอาวาสวัดเขางู

RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 37

37

21/1/2564 17:23:51



โทรติด ต่อ : +66 (0) 3291 9999 FAX : +66 (0) 3291 9998 CHECK-IN : FROM 14.00 HOURS CHECK-OUT : UNTIL 12.00 HOURS FACEBOOK : RACHABHURAHOTEL LINE@ : @RACHABHURAHOTEL WEBSITE : WWW.RACHABHURAHOTEL.COM E-MAIL : FOM@RACHABHURAHOTEL.COM CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 39

39

23/1/2564 9:51:53


ท่องเที่ยวเมืองแห่งศิลป์ กับที่พักที่มีดีไซด์มาจาก การเคลื่อนไหวของดิน “โรงแรมราชาบุระ ราชบุรี” จุดหมายปลายทางสุดพิเศษแห่งนี้ ที่พร้อมจะเป็นสถานที่ พักผ่อนของทุกคนในครอบครัวด้วยบรรยากาศร่มรื่น เป็นส่วนตัว มีสระว่ายน�้ำที่เชื่อมกับ บรรยากาศภายในโรงแรม ได้สัมผัสความรู้สึกผ่อนคลายไปพร้อมกับการรับประทาน อาหารที่ร้านอาหารติดริมแม่น�้ำ “ไอดิน เดอะ ริเวอร์ คาเฟ่&บาร์” สวยงามกลมกลืนกับธรรมชาติด้วยเฟอร์นิเจอร์ ไม้ คัดสรรค์ทุกสิ่งที่คุณต้องการ เพื่อ ท�ำให้วันหยุดของคุณเป็นวันหยุดสุดพิเศษ กับโรงแรมราชาบุระ ราชบุรี

40

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 40

23/1/2564 9:52:02


ตื่นเช้ามาพบกับบุฟเฟ่ต์อาหารเช้า ที่ร้านอาหาร “IDin the river cafe & bar” ซึ่งอยู่ภายในโรงแรมติดริมแม่น�้ำเป็นสถานที่ที่จะมอบประสบการณ์การ รับประทานอาหารสุดพิเศษให้กบั คุณ ด้วยทิวทัศน์มมุ กว้างอันสวยงาม โรแมนติก และเงียบสงบพร้อมกับอาหารทีส่ ด สะอาด และอร่อยมากมาย เมนูแนะน�ำของร้าน แซลม่อน 2 แผ่นดิน, เส้นด�ำผัดเบค่อนกรอบซอส กะเพรา, ส้มต�ำไทยกุ้งแม่น�้ำย่าง, เส้นหมี่ขาวแกงคั่วปู, พิซซ่าเต้าหู้ด�ำ, เมี่ยงปลาทูโบราณ เวลาเปิด-ปิด (เปิดทุกวัน) 11:30 - 23:00 น.

สิ่งอ�ำนวยความสะดวกภายในห้องพัก ห้องปลอดบุหรี่ เครื่องปรับอากาศ ทีวี เครื่องท�ำน�้ำอุ่น Free Wi-Fi ตู้นิรภัยอุปกรณ์ชงชา และกาแฟ

สถานที่ท่องเที่ยว

ตลาดน�้ำด�ำเนินสะดวก อุทยานหินเขางู เถ้าฮงไถ่ พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติราชบุรี ตลาดริมน�้ำโคยกี๊ วัดมหาธาตุ วัดขนอนหนังใหญ่ อัลปาก้าฮิลล์ ตลาดโอ๊ะป่อย

RACHABHURA HOTEL โรงแรมราชาบุระ เลขที่ 259 หมู่ 2 ต�ำบลบ้านไร่ อ�ำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี 70000 โทรติดต่อ : +66 (0) 3291 9999 Fax : +66 (0) 3291 9998 Check-in : from 14.00 hours Check-out : until 12.00 hours Facebook : rachabhurahotel Line@ : @rachabhurahotel Website : www.rachabhurahotel.com E-mail : fom@rachabhurahotel.com CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 41

41

23/1/2564 9:52:21


“ไหว้พระขอพร ชมนาบัว กิน ชม ช็อปปิ้ง

ตลาดอมยิ้ม ทุกวันเสาร์อาทิตย์และวันหยุดนักขัตฤกษ์”

History of buddhism....

วัดวาปีสุทธาวาส พระครูวิบูลกิจสุนทร เจ้าคณะอำ�เภอจอมบึง / เจ้าอาวาสวัดวาปีสุทธาวาส

42

2

วัดวาปีสุทธาวาส ตั้งอยู่เลขที่ 38 หมู่ 5 ต�ำบลจอมบึง อ�ำเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี 70150 โทรศัพท์ : 089-991-3584, 088-2660517

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

.indd 42

วัดวาปีสุทธาวาส หรือ “วัดตลาดควาย” สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดิน 19 ไร่ 2 งาน 55 ตารางวา มีที่ธรณีสงฆ์จ�ำนวน 1 แปลง เนื้อที่ 9 ไร่ 3 งาน 21 ตารางวา โฉนดที่ดินเลขที่ 10850 วัดตั้งเมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2514 ได้รับพระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2521 เขตวิสงุ คามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 60 เมตร

21/1/2564 15:28:45


อาคารเสนาสนะ

หอสวดมนต์ ศาลาอเนกประสงค์ ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล เป็นวัดทีข่ านรับนโยบายของกรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม ใน ด้านต่างๆ อาทิ โครงการลานวัฒนธรรม ลานวิถไี ทย หมูบ่ า้ นรักษาศีล 5 ต้นแบบ และชุมชนคุณธรรมต้นแบบ เมื่อมีการจัดกิจกรรมงานบุญ ประเพณี หรือกิจกรรมส�ำคัญ ชาวบ้านจะร่วมคิด ร่วมแรงร่วมใจกัน ท�ำกิจกรรม นอกจากนี้วัดแห่งนี้ยังมีความโดดเด่นอีกด้านหนึ่ง คือ เป็นแหล่งเรียนรูท้ างวัฒนธรรม มี “พระครูวบิ ลู กิจสุนทร ” เจ้าอาวาสวัด เป็นผูก้ อ่ ตัง้ โดยร่วมกับชุมชนวัดวาปีสทุ ธาวาสในการก่อตัง้ พิพธิ ภัณฑ์ 8 ชาติพันธุ์ ประกอบด้วย ไทยวน, ไทยลาวตี้, ไทยลาวโซ่ง, ไทยมอญ, ไทยจีน, ไทยเขมร, ไทยพื้นถิ่น และไทยกะเหรี่ยง ซึ่งได้ย้ายถิ่นฐานมา อยู่รอบๆ วัด เพื่อให้ชุมชนเกิดความตระหนักในเชื้อชาติของตนเอง และสืบทอดวัฒนธรรมของกลุ่มชนในพื้นที่ให้มีความเข้มแข็งขึ้น และ ยังเป็นแหล่งเรียนรูข้ องนักเรียน นักศึกษา และประชาชนผูส้ นใจทัว่ ไป ได้มาศึกษาค้นคว้าหาความรู้ ั นธรรม ตลาดอมยิม้ ตลาดวิถไี ทยย้อนยุคจอมบึง ตัง้ อยูภ่ ายในศูนย์วฒ 8 ชาติ พั น ธุ ์ วั ด วาปี สุ ท ธาวาส (วั ด ตลาดควาย) ต� ำ บลจอมบึ ง อ�ำเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี เปิดทุกวันเสาร์ – วันอาทิตย์ เวลา 10.00 – 19.00 น. Facebook : วัดวาปีสุทธาวาส อ.จอมบึง จ.ราชบุรี Facebook : ตลาดอมยิ้ม วัดวาปีสุทธาวาส

พระครูวิบูลกิจสุนทร

เจ้าอาวาสวัดวาปีสุทธาวาส เจ้าคณะอ�ำเภอจอมบึง

RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 43

43

21/1/2564 15:29:02


History of buddhism....

วัดหนองปรือใหญ่พลายงาม พระครูรัตนกิตติวัฒน์ เจ้าคณะตำ�บลแก้มอ้น-เบิกไพร / เจ้าอาวาสวัดหนองปรือใหญ่พลายงาม

44

วัดหนองปรือใหญ่พลายงาม ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 ต�ำบลเบิกไพร อ�ำเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

4

.indd 44

21/1/2564 17:38:49


วัดหนองปรือใหญ่พลายงาม เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย ตั้งวัดเมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2526 ชื่อวัดตั้งตามชื่อ หมู่บ้าน ผู้บริจาคที่ดินให้สร้างวัด คือ นายหรุ่น - นางแร่ม เจริญพร วัดหนองปรือใหญ่พลายงาม ได้รับการพัฒนาและอุปถัมภ์จากราษฎร บ้านหนองปรือมาโดยตลอด ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ.2529 ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 19 ไร่ 2 งาน 53 ตารางวา ปูชนียวัตถุที่สำ� คัญ คือ พระประธานประจ�ำอุโบสถ 1 องค์ พร้อม พระโมคคัลลานะ พระสารีบุตร พระพุทธรูป 1 องค์ นาม “ หลวงพ่อ พระพุทธทีปังกร” สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2517

ท�ำเนียบพระสงฆ์วัดหนองปรือใหญ่พลายงาม

1. พระครูรัตนกิตติวัฒน์ (ประยูร) เจ้าอาวาสวัดหนองปรือใหญ่พลายงาม โทร. 089-919-4770 2. พระปลัดจิติศักดิ์ สุจิตฺโต รองเจ้าอาวาสวัดหนองปรือใหญ่พลายงาม โทร. 081-742-0897 3. พระเสา ตปสีโล ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดหนองปรือใหญ่พลายงาม

RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 45

45

21/1/2564 17:39:00


46

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

4

.indd 46

21/1/2564 17:39:07


วิหารพุทธรัตนมหาธาตุเจดีย์ชัยมงคล

ประวัติพระครูรัตนกิตติวัฒน์

ชื่อ พระครูรัตนกิตติวัฒน์ ฉายา อนุตฺตโร อายุ 75 พรรษา 50 วิทยฐานะ น.ธ.โท สังกัดวัดหนองปรือใหญ่พลายงาม ต�ำบลเบิกไพร อ�ำเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี สถานะเดิม ชือ่ นายประยูร นามสกุล สุนทรวิภาค เกิดวัน 1ฯ 6 ค�ำ่ ปีระกา ตรงกับวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ.2488 บิดาชือ่ นายยัน มารดาชือ่ นางแป้งหอม หมู่ 3 ต�ำบลบ้านดอน อ�ำเภออูท่ อง จังหวัดสุพรรณบุรี อุปสมบท วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2513 ณ พัทธสีมา วัดยางสว่างอารมณ์ ต�ำบลบ้านดอน อ�ำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี พระอุปัชฌาย์ พระครูทนงศักดิ์ วัดยางสว่างอารมณ์ ต�ำบลบ้านดอน อ�ำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี พระกรรมวาจาจารย์ พระครูสุวรรณโชติวัฒน์ วัดยางไทยเจริญผล ต�ำบลบ้านดอน อ�ำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี พระอนุสาวนาจารย์ พระสมุห์นิล วัดหนองปลิง ต�ำบลบ้านดอน อ�ำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี วิทยฐานะ พ.ศ. 2500 จบชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดศรีสร้อยเพชร ต�ำบลบ้านดอน อ�ำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี พ.ศ. 2517 สอบไล่ได้นักธรรมชั้นตรี ส�ำนักเรียนวัดจอมบึง อ�ำเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี พ.ศ. 2519 สอบไล่ได้นกั ธรรมชัน้ โท ส�ำนักเรียน คณะจังหวัดราชบุรี ความรู้พิเศษ 1. มีความช�ำนาญในการปกครองพระภิกษุ-สามเณร ส่งเสริมการ ศึกษาของพระภิกษุ-สามเณร 2. มีความช�ำนาญในการก่อสร้างและบูรณปฏิสังขรณ์ 3. มีความช�ำนาญเรื่องยาสมุนไพร สมณศักดิ์ 1. พ.ศ. 2531 เป็นพระครูสญ ั ญาบัตรชัน้ ตรี ที่ พระครูรตั นกิตติวฒ ั น์ 2. พ.ศ. 2539 เป็นพระครูสัญญาบัตรชั้นโท ที่ ราชทินนามเดิม 3. พ.ศ. 2555 เป็นพระครูสัญญาบัตร เจ้าคณะต�ำบลชั้นเอก ใน ราชทินนามเดิม

พระครูรัตนกิตติวัฒน์

เจ้าคณะต�ำบลแก้มอ้น-เบิกไพร / เจ้าอาวาสวัดหนองปรือใหญ่พลายงาม RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 47

47

25/1/2564 14:50:50


History of buddhism....

วัดถ�้ำสิงโตทอง พระครูภาวนาโชติคุณ ชุตินฺธโร (กุ้ยไฮ้ แซ่ลิ้ม) - เจ้าอาวาสวัดถ้ำ�สิงโตทอง / - เจ้าคณะตำ�บลปากช่อง เขต 2 - ผู้อำ�นวยการโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษาวัดถ้ำ�สิงโตทอง - รองประธานเขตการศึกษากลุ่มที่ 3

48

4

วัดถ�้ำสิงโตทอง ตั้งอยู่เลขที่ 45 หมู่ที่ 11 ต�ำบลปากช่อง อ�ำเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี 70150 โทรศัพท์ 081-013-3310

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

.indd 48

22/1/2564 14:07:16


วัดถ�ำ้ สิงโตทอง เป็นสถานธรรมอีกแห่งหนึง่ ทีส่ ำ� คัญของจังหวัดราชบุรี ซึง่ วัดแห่งนีใ้ นอดีตหลวงปูโ่ ต๊ะ เคยมาจ�ำพรรษา และได้สร้างถาวรวัตถุ มากมาย สร้างรอยพระพุทธบาท และพระต่างๆ พร้อมปรับปรุงถ�้ำให้ เป็นสถานทีป่ ฏิบตั ธิ รรม ท่ามกลางธรรมชาติทเี่ หมาะแก่การปฏิบตั ธิ รรม ในการนี้หลวงปู่โต๊ะได้ปรารภว่าอยากจะสร้างอุโบสถด้วยไม้ทั้งหลัง เพื่อให้คนรุ่นหลังได้ดู เพราะต่อไปไม้จะหายาก ท่านได้เตรียมการ ก่อสร้างอุโบสถ โดยสั่งไม้ซุงมาส่งที่วัดเกือบหนึ่งร้อยต้น ต่อมาในต้น เดือนมิถุนายน 2523 ท่านเกิดอาพาธ งานก่อสร้างอุโบสถจึงหยุดการ ก่อสร้าง จนศาสตราจารย์ ดร.อุกฤษ มงคลนาวิน เป็นประธานจัดสร้าง เพื่อเป็นอนุสรณ์ส�ำหรับหลวงปู่โต๊ะและถวายเป็นพระราชกุศลใน พระราชวโรกาสที่ ส มเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชิ นี น าถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ทรงเจริญพระชนม พรรษา 5 รอบ และ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เสด็จพระราชด�ำเนินทรงประกอบพิธีบรรจุพระบรม สารีรกิ ธาตุ ยกฉัตรพระประธาน ตัดลูกนิมติ ฉลองรูปเหมือนหลวงปูโ่ ต๊ะ และพิ ธี พุ ท ธาภิ เ ษก พระพุ ท ธสิ ริ กิ ต ติ พิ พั ฒ น์ แ ละพระสมเด็ จ พระนางพญาสก. และโอกาสครบ 125 ปี พระราชสังวราภิมณฑ์ (หลวงปูโ่ ต๊ะ อินทฺ สุวณฺโณ) สมาคมศิษย์เก่าวิทยาลัยครูหมูบ่ า้ นจอมบึง และวัดถ�ำ้ สิงโตทองจัดสร้างวัตถุมงคล พระราชสังวราภิมณฑ์ รุน่ 125 ปีข้ึนเพื่อเป็นการร�ำลึกถึงพระพุทธคุณพระบารมีคุณของหลวงปู่โต๊ะ และให้พทุ ธศาสนิกชน ไว้สกั การะเพือ่ ความเป็นสิรมิ งคล และสมบททุน บูรณะศาสนสถาน วัดถ�้ำสิงโตทอง สนับสนุนส่งเสริมกิจการของ มหาวิทยาลัยราชภัฎ หมู่บ้านจอมบึง และสาธารณประโยชน์ใน วันส�ำคัญทางศาสนาจะมีหน่วยงานต่างๆ น�ำบุคลากรและประชาชนทัว่ ไป มาปฏิบัติธรรมอย่างต่อเนื่อง เช่นเดียวกับปีใหม่การได้มาสักการะ หลวงปู่โต๊ะ ก็เป็นสิริมงคลกับชีวิต

รูปเหมือนพระราชสังวราภิมณฑ์ (หลวงปู่โต๊ะ อินฺทสุวณฺโณ)

RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 49

49

22/1/2564 14:07:27


ร.9 เสด็จ

พระบาทสมเด็ จ พระบรมชนกาธิ เ บศร มหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช มหาราช บรมนาถบพิตร เสด็จพระราชด�ำเนิน วัดถ�้ำสิงโตทอง วันที่ 28 สิงหาคม พ.ศ.2535 เสด็จพระราชด�ำเนินมายังวัดถ�้ำสิงโตทอง ต�ำบลปากช่อง อ�ำเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี เพื่อทรงเป็นประธาน ในพิธีบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ยกฉัตรพระประธาน ตัดลูกนิมิต ฉลองรูปเหมือนพระราชสังวราภิมณฑ์ (หลวงปู่โต๊ะ อินฺทสุวณฺโณ) และพิธีพุทธาภิเษก “พระพุทธสิริกิตติพิพัฒน์” และ “พระสมเด็จ พระนางพญาสก.” ในการเสด็จพระราชด�ำเนินในคราวนี้ พระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พันปีหลวง ได้ทรงปลูกต้นสักทองไว้บริเวณด้านหน้าอุโบสถ และสมเด็จ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ได้มีพระมหากรุณาธิคุณให้อัญเชิญ พระปรมาภิไธยย่อ “ส.ก.” จารึกไว้หน้าบันอุโบสถด้วย

50

4

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

.indd 50

22/1/2564 14:07:36


ประวัติ พระครูภาวนาโชติคุณ ชุตินฺธโร

พระครูภาวนาโชติคุณ ฉายา ชุตินฺธโร อายุ 64 พรรษา 42 วิทยฐานะ น.ธ.เอก, ป.วค, ป.บส,พธ.บ (-) คบ,คม,พธ.ม,พธ.ด,นบ - ประกาศนียบัตรวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช - ประกาศนียบัตรบริหารกิจการคณะสงฆ์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย - พุทธศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย - พทุ ธศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย - ครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎหมู่บ้านจอมบึง - พทุ ธศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย - นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย - พุทธศาสตรบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชา สังคมสงเคราะห์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย - ครุศาสตรบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชา บริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง อุปสมบท วันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2522 ณ วัดประดู่ฉิมพลี แขวงท่าพระ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร พระอุปัชฌาย์ พระราชสังวราภิมณฑ์ (โต๊ะ อินทฺ สุวณฺโณ) วัดประดูฉ่ มิ พลี แขวงท่าพระ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร พระกรรมวาจาจารย์ พระครู วิโรจน์กิตติคุณ วัดประดู่ฉิมพลี พระอนุสาวนาจารย์ พระปลัดฉลอง รตนชโย วัดประดู่ฉิมพลี

เจดีย์แปดเหลี่ยม ประดิษฐานหุ่นขี้ผึ้งหลวงปู่โต๊ะ

การปฏิบัติงาน

พ.ศ. 2522 เลขานุการส่วนตัว พระราชสังวราภิมณฑ์ พ.ศ. 2524 หัวหน้าส�ำนักสงฆ์ถ�้ำสิงโตทอง พ.ศ. 2527 เจ้าอาวาสวัดถ�้ำสิงโตทอง พ.ศ. 2533 พระนักเผยแผ่ รุ่นที่ 13 กรมการศาสนา พ.ศ. 2536 รักษาการเจ้าคณะต�ำบลปากช่องเขต 2 พ.ศ. 2538 พระธรรมทูต ประจ�ำอ�ำเภอจอมบึง กรมการศาสนา พ.ศ. 2538-2540 กรรมการสภาวัฒนธรรมจังหวัดราชบุรี (สมัยที่ 1) พ.ศ. 2540 เจ้าคณะต�ำบลปากช่อง เขต 2 พ.ศ. 2541-2542 กรรมการสภาวัฒนธรรม จังหวัดราชบุรี (สมัยที่ 2) พ.ศ. 2542 ผู้จัดการมูลนิธิศาลาธรรมญาณอนุสรณ์ 108 ปี หลวงปู่โต๊ะ พ.ศ. 2542 ประธานศูนย์ส่งเสริมพระพุทธศาสนาวัดถ�้ำสิงโตทอง

ความรู้ความสามารถทางด้านวิชาการ

1. ความสามารถพิเศษ เช่น ช่างยนต์ ช่างไฟฟ้า ช่างถ่ายรูป 2. พูดได้ 2 ภาษา คือ ภาษาอังกฤษ และภาษาจีน 3. ความช�ำนาญการ คือ การบรรยายธรรม อบรมกัมมัฏฐาน 4. งานก่อสร้าง ออกแบบก่อสร้าง 5. มีความรู้ทางสมุนไพร และยาแผนโบราณ

ความรู้ทางกฎหมาย นิติศาสตรบัณฑิต

พระครูภาวนาโชติคุณ ชุตินฺธโร (กุ้ยไฮ้ แซ่ลิ้ม) เจ้าอาวาสวัดถ�้ำสิงโตทอง / เจ้าคณะต�ำบลปากช่อง เขต 2 - ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษาวัดถ�้ำสิงโตทอง - รองประธานเขตการศึกษากลุ่มที่ 3 RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 51

51

22/1/2564 14:07:39


History of buddhism....

วัดหนองตาเนิด

พระครูสิกขกิจธำ�รง เจ้าอาวาสวัดหนองตาเนิด

52

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

2

.indd 52

วัดหนองตาเนิด ตั้งอยู่หมู่ที่ 10 บ้านหนองตาเนิด ต�ำบลปากช่อง อ�ำเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี

23/1/2564 10:13:38


วัดหนองตาเนิด เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ได้รับ อนุญาตให้สร้างวัดจากกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2527 ต่อมาเมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2528 ได้รับหนังสือประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งเป็นวัดขึ้นในทางพระพุทธศาสนาให้ตั้งชื่อว่า วัดหนองตาเนิด ตามชือ่ หมูบ่ า้ น อดีตเจ้าอาวาสแต่ละรูปก็ได้ดำ� เนินการ ก่อสร้างถาวรวัตถุและสิง่ ต่างๆ เช่น อุโบสถ ศาลา กุฏสิ งฆ์ จนถึงปี พ.ศ. 2542 ได้รับประกาศพระราชทานวิสุงคามสีมา ปี พ.ศ. 2551 ได้รับเป็น อุทยานการศึกษา จากส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ปี พ.ศ. 2552 ได้รับแต่งตั้งเป็นส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดราชบุรี แห่งที่ 18

ล�ำดับเจ้าอาวาสวัดหนองตาเนิด

เดิมวัดหนองตาเนิด ได้เป็นที่พักสงฆ์มาก่อนในราวปี พ.ศ. 2516 (ไม่แน่ชดั ) ได้มพี ระทีม่ าอาศัยพักพิงเป็นระยะ โดยทีไ่ ม่อยูป่ ระจ�ำ จนถึง พระปุ๋ย สารโท หรือ หลวงตาปุ๋ย ได้เข้ามาจ�ำพรรษาอยู่ จนถึงปี พ.ศ. 2528 ได้ยกระดับทีพ่ กั สงฆ์ให้เป็นวัดในทางพระพุทธศาสนา ในปี พ.ศ. 2529 มีเจ้าอาวาส ดังนี้ รูปที่ 1 พระอธิการปุ๋ย สารโท พ.ศ. 2529-2540 รูปที่ 2 พระอธิการเล็ก ตปสีโล พ.ศ. 2541-2543 รูปที่ 3 พระครูสิกขกิจธ�ำรง พ.ศ. 2544-ปัจจุบัน

ประวัติเจ้าอาวาส

พระครูสกิ ขกิจธ�ำรง วิ ฉายา สถิตถฺ โก อายุ 63 พรรษา 31 นักธรรม ชัน้ เอก พธ.ม. วัดหนองตาเนิด ต�ำบลปากช่อง อ�ำเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี สถานะเดิม ชือ่ สถิต นามสกุล ทองเรือง เกิดวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2501 บ้านเลขที่ 25 ต�ำบลเกาะพะงัน อ�ำเภอเกาะพะงัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ปัจจุบนั ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดหนองตาเนิด / เจ้าส�ำนักปฏิบตั ิ ธรรมประจ�ำจังหวัดราชบุรี แห่งที่ 18 อุปสมบท วันที่ 30 มิถนุ ายน พ.ศ. 2532 ณ พัทธสีมา วัดสมัยคงคา ต�ำบลเกาะพะงัน อ�ำเภอเกาะพะงัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี พระอุปชั ฌาย์ คือ พระครูสภุ ชั ธรรมาภิรม เจ้าคณะอ�ำเภอเกาะพะงัน วัดราษฎร์เจริญ จังหวัดสุราษฎร์ธานี, พระกรรมวาจาจารย์ คือ พระอธิการประเสริฐ ฐิตญาโน วัดบ้านใต้ จังหวัดสุราษฎร์ธานี, พระอนุสาวนาจารย์ คือ พระปลัดเติม โสวฒฐิโก วัดราษฎร์เจริญ จังหวัดสุราษฎร์ธานี วิทยฐานะ • พ.ศ. 2522 สอบได้นักธรรมชั้นเอก ส�ำนักเรียนวัดแจ้ง อ�ำเภอ เกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี (ขณะที่บรรพชาเป็นสามเณร) • พ.ศ. 2554 ส�ำเร็จการศึกษาเป็นพุทธศาสตรบัณฑิต (พธ.บ.) คณะสังคมศาสตร์ สาขาการจัดการเชิงพุทธ จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬา ลงกรณราชวิทยาลัย • พ.ศ. 2557 ส�ำเร็จการศึกษาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต (พธ.ม.) คณะสังคมศาสตร์ สาขาการจัดการเชิงพุทธ จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬา ลงกรณราชวิทยาลัย งานปกครอง • พ.ศ. 2543 แต่งตัง้ เป็นเลขานุการ เจ้าคณะต�ำบล ต�ำบลปากช่อง เขต 2 อ�ำเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี • พ.ศ. 2544 แต่งตั้งเป็นรักษาการเจ้าอาวาส วัดหนองตาเนิด อ�ำเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี • พ.ศ. 2544 แต่งตัง้ เป็นเจ้าอาวาสวัดหนองตาเนิด อ�ำเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี • พ.ศ. 2548 แต่งตั้งเป็นพระกรรมวาจาจารย์ ภาค 15 • พ.ศ. 2552 ได้รับประกาศจากมหาเถรสมาคมให้เป็นวัดส�ำนัก ปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดราชบุรีแห่งที่ 18 • พ.ศ. 2558 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์ จากพระครู วัดราษฎร์ชั้นโท เป็นพระครูเจ้าอาวาส ชั้นเอก วิ (ฝ่ายวิปัสสนา)

ร่วมสร้างเส้นทางบุญ

ญาติโยม ผู้มีจิตศรัทธา มีจิตร่วมท�ำนุบ�ำรุงพระพุทธศาสนา กับวัดหนองตาเนิด สามารถโอนผ่านบัญชี ธนาคารกรุงไทย บัญชี เลขที่ 744-0-40942-6 สาขาจอมบึง ชื่อบัญชี วัดหนองตาเนิด หรือสอบถามเพิ่มเติมได้ที่ พระครูสิกขกิจธ�ำรง เจ้าอาวาส วัดหนองตาเนิด โทร. 085-2439221

พระครูสิกขกิจธ�ำรง เจ้าอาวาสวัดหนองตาเนิด

RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 53

53

23/1/2564 10:13:52


History of buddhism....

วัดเขารังเสือ พระอธิการบรรพต รตนาโภ เจ้าอาวาสวัดเขารังเสือ

วัดเขารังเสือ ตั้งอยู่เลขที่ 1 บ้านเขารังเสือ หมู่ที่ 11 ต�ำบลปากช่อง อ�ำเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี

54

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

2

.indd 54

วัดเขารังเสือ เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งวัดเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2533 โดยมี นายสมาน ลายคล้ายดอก เป็นผู้น�ำในการสร้างวัด และบริจาคที่ดิน ผู้มีอุปการคุณต่อวัด คือ นายยนต์ เขียนทอง วัดเขารังเสือ ได้รับ การพัฒนามาโดยตลอด ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมาเมือ่ วันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2528 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 30 เมตร ยาว 50 เมตร ที่ดินตั้งวัด มีเนื้อที่ 25 ไร่ 2 งาน 89 ตารางวา มีทธี่ รณีสงฆ์ จ�ำนวน 1 แปลง เนือ้ ที่ 16 ไร่ 3 งาน 05 ตารางวา โฉนดทีด่ นิ เลขที่ 12493

21/1/2564 17:14:52


ประวัติความเป็นมาของหลวงปู่ชอบ

พระครูประทีปธรรมสถิต หรือ หลวงปู่ชอบ ปทีโป (พงษ์ไพบูลย์) เชื้อสายไทย-จีน เกิดเมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2453 ตรงกับ วันอังคาร ขึ้น 1 ค�่ำ เดือน 4 ปีจอ หลวงปู่ชอบ มีชื่อจีนว่า “ฮุ้น” โดย เกิด ณ หมู่ที่ 3 ต�ำบลทุ่งสมอ อ�ำเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี บิดาชือ่ กิว มารดาชือ่ อิว่ นามสกุล พงษ์ไพบูลย์ “ฮุน้ ” มีพนี่ อ้ งทัง้ หมด 8 คน หลวงปู่ท่านเป็นลูกคนที่ 2 การบรรพชาอุปสมบท ได้บรรพชาอุปสมบท ณ วัดทุง่ สมอ อ�ำเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี เมือ่ อายุ 22 ปี อุปสมบทเมือ่ วันที่ 28 มิถนุ ายน พ.ศ. 2475 ได้รบั ฉายา ภายหลังว่า ปทีโป โดยมีพระครูวตั ตสารโสภณ เจ้าอาวาสวัดดอนเจดีย์ จังหวัดกาญจนบุรี เป็นพระอุปัชฌาย์ ระหว่างที่ท่านได้บรรพชา อุปสมบทอยู่นั้น ท่านได้ศึกษาพระธรรมวินัยด้วยความเพียรอุตสาหะ จนกระทัง่ สามารถสอบได้วชิ านักธรรมและสอบพระภิกขุปาฏิโมกข์ได้ ตามล�ำดับ ดังนี้ - พ.ศ. 2475 สอบได้นกั ธรรมตรี ส�ำนักเรียนวัดทุง่ สมอ คณะจังหวัด กาญจนบุรี - พ.ศ. 2476 สอบได้นกั ธรรมโท ส�ำนักเรียนวัดทุง่ สมอ คณะจังหวัด กาญจนบุรี - พ.ศ. 2477 สอบพระภิกขุปาฏิโมกข์ได้ - พ.ศ. 2487 สอบได้นักธรรมเอก ส�ำนักเรียนวัดทุ่งสมอ คณะ จังหวัดกาญจนบุรี หลังจากนั้นท่านก็ได้ออกธุดงค์ไปกับพระอาจารย์เกรา กามฉินฺโน (พระลูกพี่ลูกน้องกับท่าน) ทั้งสองท่านเดินธุดงค์ไปจังหวัดพิจิตรและ พิษณุโลก ซึ่งในช่วงนั้นพึ่งสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 และยังเต็มไป ด้วยผูม้ อี ทิ ธิพลและพวกนักเลงหัวไม้จำ� นวนมาก บางพืน้ ทีไ่ ด้ไปปักกลด ก็สามารถอยู่ได้เพียงระยะสั้นๆ ท่านทั้งสองบ�ำเพ็ญภาวนาอยู่ได้สัก ระยะหนึง่ ก็ได้เดินทางกลับมายังวัดบ้านเกิด ซึง่ เป็นขณะเดียวกับทีท่ า่ น ปลัดหรุง คงฺคสุวณฺโณ เจ้าอาวาสวัดทุง่ สมอ ในขณะนัน้ ได้มรณภาพลง ทายก ทายิกา แห่งบ้านทุง่ สมอจึงพร้อมใจกันนิมนต์หลวงพ่อชอบ ปทีโป ให้รักษาการแทนเจ้าอาวาส หลวงพ่ อชอบอยู่จ�ำ พรรษาและด� ำรงต�ำแหน่ งรั กษาการแทน เจ้าอาวาสวัดทุง่ สมอได้ระยะหนึง่ จึงได้อยูจ่ ำ� พรรษากับพระอาจารย์เกรา ที่วัดท่าเสา จังหวัดกาญจนบุรี เมื่ออยู่จ�ำพรรษาได้ระยะหนึ่ง ท่านทั้ง สองก็ออกเดินธุดงค์ไปยังวัดปากน�้ำระยอง จังหวัดระยอง ด้วยสาเหตุ ทายกทายิกานิมนต์ให้มาอยู่ เมือ่ วันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2505 ท่านอยู่ ได้ระยะหนึ่งท่านก็ได้ลาญาติโยมเพื่อเดินธุดงค์ต่อไปยังถ�้ำเขาน้อย ซึ่งอยู่ใกล้กับวัดเขางูสันติธรรม ต�ำบลเกาะพลับพลา อ�ำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี อยู่ปฏิบัติธรรมได้ประมาณ 1 ปี ท่านทั้งสองจึงได้ลา ญาติโยมที่อยู่บริเวณถ�้ำเขาน้อย แล้วจึงได้เดินทางมาอยู่ยังเขานก กระจิบ ต�ำบลห้วยไผ่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี แล้วจึงได้เดินธุดงค์ ต่อมายังถ�้ำเขารังเสือ ต�ำบลปากช่อง อ�ำเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี เมื่อปี พ.ศ. 2508

การมรณภาพ ปี พ.ศ. 2546 ในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ ปีนี้หลวงปู่ชอบ ปทีโป จะมีอายุครบ 93 ปี ปีนสี้ ขุ ภาพของหลวงปูไ่ ม่คอ่ ยแข็งแรง แต่ทา่ นก็ยงั คงเต็มเปีย่ มไปด้วยเมตตาต่อบรรดาลูกศิษย์และผูท้ มี่ ศี รัทธาในตัวท่าน ใครนิมนต์ทา่ นท�ำอะไรทีเ่ ป็นเรือ่ งมงคลเกีย่ วกับความเจริญท่านไม่เคย ปฏิเสธ ท่านเป็นพระที่เมตตาสูง ต่อมาประมาณต้นเดือนกันยายน คณะสงฆ์จงึ ได้พาท่านส่งรักษาทีโ่ รงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช จอมบึง ท่านได้พกั รักษาอาการอาพาธได้สกั ระยะหนึง่ คณะแพทย์มคี วามเห็นว่า สมควรที่จะส่งท่านไปรักษาต่อที่โรงพยาบาลศูนย์ราชบุรี เพราะทาง โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช จอมบึง เป็นโรงพยาบาลขนาดเล็ก บุคลากรทางการแพทย์และเครื่องมือที่ทันสมัยมีไม่เพียงพอ ท่านก็ได้ ไปรักษาอาการอาพาธต่อทีโ่ รงพยาบาลศูนย์ราชบุรี จนกระทัง่ วันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2546 เวลาประมาณ 18.00 น. เศษ ท่านก็ได้ละสังขาร ด้วยอาการอันสงบ หลวงปู่ท่านเป็นพระที่มีความกตัญญูรู้คุณของพระอุปัชฌาย์ อาจารย์เป็นอย่างยิง่ เพราะท่านได้เก็บรักษารูปพระอุปชั ฌาย์อาจารย์ ทัง้ สองของท่านไว้ในย่ามตลอดเวลา และน�ำติดตัวไปด้วยทุกทีต่ ราบวัน ท่านละสังขาร

พระอธิการบรรพต รตนาโภ เจ้าอาวาสวัดเขารังเสือ

RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 55

55

21/1/2564 17:15:06


History of buddhism....

วัดโชติทายการาม พระมหาประกอบ โชติปุญฺโญ เจ้าคณะอำ�เภอดำ�เนินสะดวก / เจ้าอาวาสวัดโชติทายการาม เจ้าสำ�นักปฏิบัติธรรมประจำ�จังหวัดราชบุรี แห่งที่ 5

วัดโชติทายการาม ตั้งอยู่เลขที่ 3 หมู่ที่ 1 ต�ำบลด�ำเนินสะดวก อ�ำเภอด�ำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี โทรศัพท์ : 081-011-8835,089-616-3499 Facebook : วัดโชติทายการาม

56

4

วัดโชติทายการาม เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย

มีทดี่ นิ ตัง้ วัดเนือ้ ที่ 43 ไร่ - งาน 54 ตารางวา ตัง้ วัดเมือ่ ปี พ.ศ. 2417 ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม าวั น ที่ 28 เดื อ นพฤศจิ ก ายน พ.ศ. 2481

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

.indd 56

21/1/2564 14:54:53


อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย

อุโบสถ, ศาลาการเปรียญ, หอฉัน – หอสวด, มณฑป, เรือนรับรอง – อนุสรณ์ ร. 9 – หอไตร, พิพิธภัณฑ์, กุฏิสงฆ์, ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล, เมรุ, หอกลอง-หอระฆัง, โรงครัว, โรงเรียนปริยตั ธิ รรม -บาลี, ศาลาท่าน�ำ้ ตรีมขุ , หอนาฬิกา ทางวัดได้จดั กิจกรรมพิเศษในวันธรรมสวนะ วันส�ำคัญทางศาสนา คือ วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอัฏฐมีบูชา และ วันอาสาฬหบูชา

งานเผยแผ่พระพุทธศาสนาด้านต่าง ๆ ดังนี้

วัดโชติทายการาม เป็นส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัด แห่งที่ 5 แต่งตัง้ เมือ่ ปี พ.ศ. 2551 ตามมติ มส. ครัง้ ที่ 2/2551 มีโรงเรียนการกุศล ของวัด โรงเรียนอนุบาลวัดโชติทายการามสงเคราะห์ และศูนย์ศึกษา พระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ มีกิจกรรมและโครงการต่างๆ ตามปฏิทิน กิจกรรมระหว่างศึกษา ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ กับ วัดโชติทายการาม ( ในรอบทุกๆ 1 ปี )

ปูชนียวัตถุและโบราณวัตถุที่ส�ำคัญของวัด คือ

- หลวงพ่อลพบุรีราเมศร์ อายุกว่า 500 ปี พระพุทธรูปประธาน ที่ประดิษฐานอยู่ในอุโบสถ โดยอัญเชิญมาจากวัดร้างในจังหวัดลพบุร ี - ศาลาการเปรียญ เคยใช้รบั เสด็จพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว - มณฑป - พลั บพลา ที่ประทับเมื่อคราวเสด็จพระราชด�ำเนินมาของ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9 - พิพิธภัณฑ์ สถานที่จัดเก็บและแสดงของมีค่าทางโบราณคดี - หอไตรปิฎก เป็นที่เก็บคัมภีร์เก่า พร้อมทั้งตู้ลายรดน�้ำ - ประตูลับแล สิ่งถาวรวัตถุคู่กับการสร้างวัดชิ้นส�ำคัญชิ้นหนึ่ง

RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 57

57

25/1/2564 14:56:35


ประวัติศาสตร์ที่สำ� คัญของวัดโชติทายการาม ที่เกี่ยวข้องกับพระมหากษัตริย์

ในหลวงรัชกาลที่ 5 เสด็จประพาสต้น ในปี พ.ศ. 2447 ซึ่งตรงกับวันที่ 16 กรกฎาคม ร.ศ. 123 เป็น ประวัตศิ าสตร์ของพสกนิกร ชาวบ้านวัดโชติทายการามยังคงมิลมื เลือน เมื่อเจ้าฟ้าเจ้าแผ่นดินที่เคารพรัก พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาจุฬาลงกรณ์ฯ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ได้ทรงเสด็จประพาสต้น ทีค่ ลองด�ำเนินสะดวก ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้นำ� เรือพระทีน่ งั่ เข้าเทียบท่าหน้าวัดโชติทายการาม ตรงศาลาการเปรียญทีส่ ร้างใหม่นนั้ หลวงพ่อช่วงได้ทราบว่าในหลวงเสด็จ จึงน�ำพระลูกวัด 4-5 องค์ ลงมาสวดชัยมงคลต้อนรับ รู้สึกเป็นที่พอพระราชหฤทัย ได้ตรัสถวาย พระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์ จ�ำนวน 10 ชั่ง เพื่อบูรณะวัด และ ถวายพระสงฆ์องค์ละ 1 ต�ำลึง ทรงโปรดเกล้าฯ ทรงตั้งพระอธิการช่วง เป็นพระครูสัญญาบัตร ในพระราชทินนามว่า พระครูวรปรีชาวิหารกิจ ณ ที่ศาลาท่าน�้ำ แล้วทรงตรัสให้ไปรับพัดในพระราชวัง ในวันเฉลิมพระชนมพรรษา เมื่อพระองค์ทรงประทับแรมบนศาลาการเปรียญ และทรงเสวย พระกระยาหาร ณ ที่ศาลาท่าน�้ำ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ในเวลาบ่าย พระองค์ได้เสด็จทรงเรือมาดพาย (แบบเรือมาดกระสวย) พายไปตาม ล�ำพังพระองค์ โดยไม่มีผู้ติดตาม ทั้งนี้เพราะพระองค์อยากจะทราบ ความเป็นอยู่ สารทุกข์ สุข ของราษฎรของพระองค์ มาจนถึงบ้าน นางผึ้ง แซ่เล้า และพระองค์ทรงตั้งให้เจ๊กฮวด บุตรของนางผึ้ง ให้เป็น มหาดเล็ก (ต่อมาจึงขอพระราชทานมาเป็นนามสกุล มหาดเล็ก) เมือ่ พระองค์เสด็จกลับจากเยีย่ มบ้านนางผึง้ ทรงเสด็จเรือพระทีน่ งั่ ออกมาทาง หน้าวัดโชติทายการาม คืนนัน้ พระองค์ได้เสด็จประทับแรม พักผ่อนพระอิริยาบถอยู่ที่ศาลาการเปรียญ 1 ราตรี รุ่งเช้ารับสั่งให้ เคลื่อนขบวนเรือเสด็จไปทางปากคลองบางนกแขวก หลวงพ่อช่วง ได้น�ำทรัพย์ที่ได้รับพระราชทาน 10 ชั่ง มาบูรณ ปฏิสงั ขรณ์วดั สร้างความเจริญรุง่ เรืองมาโดยล�ำดับ และยังเป็นทีก่ ล่าวขาน ความปลืม้ ปิติ ปลืม้ อก ปลืม้ ใจของประชาชนชาวด�ำเนินสะดวก เป็นที่ เล่าขานสู่กันมาจนถึงทุกวันนี้ ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงพระกฐินต้น ปีพทุ ธศักราช 2510 ตรงกับวันเสาร์ที่ 4 พฤศจิกายน พระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9 พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพนั ปีหลวง ได้ทรงเสด็จมา ณ วัดโชติทายการาม เพือ่ ทรงพระกฐินต้น ในคราวนั้นประชาชนชาวด�ำเนินสะดวก มาคอย ต้อนรับเสด็จทั้งสองฝั่งคลอง มีการประดับตกแต่งพื้นที่เพื่อถวายการ ต้อนรับ ทัง้ 2 พระองค์ ซึง่ เหตุการณ์ในวันนัน้ มีประชาชนจ�ำนวนมาก มาจากทั่ ว สารทิ ศ ท� ำ ให้ ส ถานที่ ทั้ ง สองฝั ่ ง คลอง และลานหน้ า วัดโชติทายการาม เต็มไปด้วยประชาชนที่มาคอยรับเสด็จ 58

4

สมเด็จพระสังฆราชเสด็จมาตรวจเยี่ยมวัด 3 พระองค์ ด้านคณะสงฆ์ เมื่อครั้งอดีตที่ผ่านมา จนถึงปัจจุบัน คณะสงฆ์ วัดโชติทายการามและญาติโยมประชาชนได้ถวายการต้อนรับ สมเด็จ พระสังฆราชเสด็จมาตรวจเยี่ยมวัด 3 พระองค์ คือ 1. สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (จวน อุฏฐายี) 2. สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (ปุ่น ปุญญสิริ) 3. สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (วาส วาสโน)

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

.indd 58

21/1/2564 14:55:08


รายนามเจ้าอาวาสวัดโชติทายการาม ตัง้ แต่อดีตถึงปัจจุบนั

รูปที่ 1 พระครูวรปรีชาวิหารกิจ พ.ศ. 2417 – 2449 รูปที่ 2 พระธรรมวิรัติสุนทร พ.ศ. 2450 - 2494 รูปที่ 3 พระครูบรรณาการวิมล พ.ศ. 2495 - 2507 รูปที่ 4 พระครูสุนทรธรรมรัต พ.ศ. 2507 - 2542 รูปที่ 5 พระมหาประกอบ โชติปุญฺโญ พ.ศ. 2542 ถึงปัจจุบัน

พระมหาประกอบ ฉายา โชติปุญฺโญ

อายุ 58 พรรษา 37 วิทยฐานะ น.ธ.เอก, ป.ธ. 7, ปริญญาโท (พธ.ม.) อุปสมบท วันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2527 ณ พัทธสีมา วัดชาวเหนือ ต�ำบลบ้านไร่ อ�ำเภอด�ำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี พระอุปัชฌาย์ พระครูพิทักษ์เทพสิทธิ์ วัดพิทักษ์เทพาวาส ต�ำบลบ้านไร่ อ�ำเภอ ด�ำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี พระกรรมวาจาจารย์ พระครูวชิ ยั สีลคุณ วัดชาวเหนือ ต�ำบลบ้านไร่ อ�ำเภอด�ำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี พระอนุสาวนาจารย์ พระครูสุวิมลพัฒนกิจ วัดบ้านไร่ ต�ำบลบ้านไร่ อ�ำเภอด�ำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี

มีตำ� แหน่งทางปกครองคณะสงฆ์

เจ้าอาวาสวัดโชติทายการาม เจ้าคณะอ�ำเภอด�ำเนินสะดวก เจ้าส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดราชบุรี แห่งที่ 5

พระมหาประกอบ โชติปุญฺโญ

เจ้าคณะอ�ำเภอด�ำเนินสะดวก / เจ้าอาวาสวัดโชติทายการาม เจ้าส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดราชบุรี แห่งที่ 5 RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 59

59

21/1/2564 14:55:15


History of buddhism....

วัดท่าเรือ พระครูนิวิฐธรรมาภรณ์ เจ้าคณะตำ�บลสี่หมื่น – แพงพวย / เจ้าอาวาสวัดท่าเรือ

60

4

วัดท่าเรือ ตั้งอยู่เลขที่ 186 หมู่ที่ 2 บ้านท่าเรือ ต�ำบลแพงพวย อ�ำเภอด�ำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี โทรศัพท์ : 0-3226-3479, 063-989-8959

วัดท่าเรือ ชือ่ เดิม วัดเก่าท่าเรือ เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตัง้ วัดขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ. 2451 ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร ที่ดินเฉพาะบริเวณที่ตั้งวัด มีเนือ้ ที่ 49 ไร่ 3 งาน 75 ตารางวา มีหนังสือแสดงกรรมสิทธิท์ ดี่ นิ เป็น “วัด” ปัจจุบนั พระครูนวิ ฐิ ธรรมาภรณ์ (นิวฒ ั น์ อตฺตคุตโฺ ต) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

.indd 60

21/1/2564 17:07:24


ประวัติวัดท่าเรือ

เริม่ แรกหลวงพ่อแก้วมาอยูก่ อ่ นตัง้ แต่เป็นส�ำนักสงฆ์ ไม่มใี ครทราบว่า หลวงพ่อแก้วมาจากวัดไหน ต่อมามีภกิ ษุเพิม่ ขึน้ มาเรือ่ ยๆ หลวงพ่อแก้ว เป็นพระปกครองพระภิกษุในส�ำนักสงฆ์ ต่อมาญาติโยมเกิดเลื่อมใส ศรัทธาในตัวของหลวงพ่อแก้ว ท่านจึงชวนชาวบ้านทีม่ จี ติ ศรัทธาร่วมกัน บริจาคปัจจัย ช่วยกันสร้างโบสถ์ขึ้นมาพร้อมพระประธานอีก 1 องค์ ส�ำเร็จในปี พ.ศ. 2441 จึงตั้งชื่อวัดว่า วัดเก่าท่าเรือ สาเหตุที่ชื่อว่า วัดเก่าท่าเรือ คือ เมือ่ สมัยก่อนทีต่ รงนีเ้ ป็นท่าเรือ มีเรือรับส่งมาจอดอยู่ มากมายหลายสิบล�ำ และมีผู้คนน�ำสินค้ามาขายของกันมากมาย สั น นิ ษ ฐานว่ า วั ด เก่ า ท่ า เรื อ นี้ เ กิ ด ขึ้ น ในสมั ย รั ช กาลที่ 5 ปั จ จุ บั น พระครูนิวิฐธรรมาภรณ์ (นิวัฒน์ อตฺตคุตฺโต) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

อาคารเสนาสนะต่าง ๆ ได้แก่

- อุโบสถ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2499 - ศาลาการเปรียญ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2534 - วิหารจัตุรมุข สร้างเมื่อ พ.ศ. 2544 - หอสวดมนต์ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2537 - กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 6 หลัง - ศาลาบ�ำเพ็ญกุศลและเมรุ 1 หลัง นอกจากนีม้ อี าคารเสนาสนะต่างๆ อีก คือ ศาลาพักร้อน, หอระฆัง และกลอง, เตาเผาขยะภูมิปัญญาท้องถิ่น, ห้องน�้ำ ห้องสุขา

RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 61

61

21/1/2564 17:07:37


ปูชนียวัตถุและโบราณวัตถุ ดังนี้

1. หลวงปู่แดง พระหินแดงสมัยปลายอยุธยา 2. พระประธานเป็นหินทรายแดงปางมารวิชัย 3. พระพุทธรูปเชียงแสน 4. พระพุทธรูปสุโขทัยปางสมาธิ 5. พระพุทธรูปทรงเครื่องรัตนโกสินทร์ปางมารวิชัย 6. พระโพธิสตั ว์กวนอิมไม้แกะสลักอายุมากกว่าร้อยปี ศิลปะจากจีน 3 องค์ 7. พระพุทธรูปศิลาแลงปางขัดสมาธิ 8. พระพุทธรูปอู่ทอง 9. พระพุทธรูปพระปางลีลาล�ำลึกก�ำแพงศอกเนื้อดินเผา 10. พระพุทธรูปหลวงพ่อบ้านแหลม 11. หลวงพ่อโต วัดระฆัง 12. หลวงพ่อทวด วัดช้างไห้ 13. หลวงพ่อพลับ วัดท่าเรือ การศึกษา ได้มีการเปิดสอน โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม ธรรมศึกษา เปิดสอนเมื่อ พ.ศ. 2528

ปัจจุบันวัดท่าเรือ

- เป็นส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดราชบุรี แห่งที่ 6 - เป็นหน่วยอบรมประชาชนประจ�ำต�ำบลแพงพวย - เป็นศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ 62

4

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

.indd 62

21/1/2564 17:07:44


ประวัติหลวงพ่อส�ำเร็จสมปรารถนาศักดิ์สิทธิ์ พอสังเขป

หลวงพ่อส�ำเร็จสมปรารถนาศักดิ์สิทธิ์ หน้าตักกว้าง 10.9 เมตร สูง 15.9 เมตร วัสดุที่ใช้ในการหล่อ คือ คอนกรีตเสริมเหล็ก น�้ำหนัก โดยประมาณ 380 ตัน (เฉพาะองค์พระ) ใช้ระยะเวลาในการหล่อ หลวงพ่อฯ แบ่งเป็น 5 วาระ เริ่มวันที่ 8, 9, 12, 13 สิ้นสุดเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2561 เว้นระยะเวลา 6 เดือน ปรับแต่งองค์พระ พ่นสีทอง งบประมาณ ห้าล้านบาทเศษ เริม่ จัดงานสมโภช และท�ำพิธพี ทุ ธาภิเษก เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2562 ส่วนวิหารเริม่ วางศิลาฤกษ์ตอกเสาเข็มเมือ่ วันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 ใช้งบประมาณในการสร้างเป็นจ�ำนวนเงิน หกล้านบาทเศษ สร้าง แล้วเสร็จเมือ่ ปี พ.ศ. 2562 รวมงบประมาณทัง้ หมด สิบเอ็ดล้านบาทเศษ โดยศรัทธาประชาชนชาวบ้านท่าเรือและประชาชนทัว่ ไป ส่วนซุม้ บันได สร้างโดย ส.อบต.สง่า -คุณพริศา อภินนั ทกุล ร่วมใจกันสร้างถวายเป็น พุทธบูชา

พระครูนิวิฐธรรมาภรณ์

เจ้าคณะต�ำบลสี่หมื่น – แพงพวย / เจ้าอาวาสวัดท่าเรือ RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 63

63

21/1/2564 17:07:51


History of buddhism....

วัดปราสาทสิทธิ์ (วัดหลักห้า) พระครูอนุกูลวรากร (รวีโรจน์ วรมงคโล) เจ้าอาวาสวัดปราสาทสิทธิ์

64

4

วัดปราสาทสิทธิ์ (วัดหลักห้า) ตั้งอยู่เลขที่ 326 หมู่ 5 ต�ำบลประสาทสิทธิ์ อ�ำเภอด�ำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี โทร.098 583 3445

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

.indd 64

21/1/2564 16:15:48


ชือ่ วัดเดิม คือ “วัดสมเด็จพระปราสาทสิทธิธ์ ดิ าราม” บริเวณทีต่ งั้ วัดปัจจุบนั แต่ดง้ั เดิมชือ่ แรกทีใ่ ช้เรียกสถานทีบ่ ริเวณนี้ คือ ต�ำบลโคกไผ่ และชื่อวัดก็เรียกกันว่า วัดโคกไผ่ มีปรากฏในเอกสารเก่าแก่ของบ้าน ในชุมชนนี้ เป็นแผนผังทีด่ นิ ทีจ่ ะขอใช้ประโยชน์และออกตราจอง ระบุ ชือ่ เรียกในเอกสารว่า คลองวัดโคกไผ่ และปรากฏในราชกิจจานุเบกษา ปี ร.ศ. 114 (พ.ศ. 2438) เรือ่ งข่าวเสด็จพระราชด�ำเนินประพาสมณฑล ราชบุรี มีโปรแกรมในการเสด็จชองวันที่ 13 ธันวาคม ร.ศ.114

ล�ำดับรายนามเจ้าอาวาส

มีบันทึกเรื่องล�ำดับเจ้าอาวาสไว้ว่า เมื่อสร้างวัดเสร็จแล้ว โดยเจ้า คุณพระอริยมุนี วัดราชาธิวาสมาเป็นประธาน แล้วได้ตั้งพระสมุห์สิน เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก อยูไ่ ด้ 6-7 ปี บางคนว่า 12 ปี แล้วท่านก็ได้กลับไป รูปที่ 2 พระอธิการทอง รูปที่ 3 พระอธิการแดง ซึ่งต่อมาท่านลาสิกขาบท แล้วว่างการ ปกครองไประยะหนึ่ง รูปที่ 4 ท่านเจ้าอธิการแก้ว รตนโชติ ได้มบี ทบาทในการบริหารวัดนี้ อย่างมาก ภายหลังลาสิกขาบทและถึงแก่กรรมที่ต�ำบลดอนไผ่ รูปที่ 5 พระครูล้อม พรหมสโร เป็นน้องชายท่านเจ้าอธิการแก้ว เมื่อพี่ชายลาสิกขาบท เมื่อ พ.ศ. 2468 ได้รับต�ำแหน่งเจ้าอาวาสแทน และท่านมรณภาพเมื่อปี พ.ศ. 2496 รูปที่ 6 พระครูปลัดบุญ ปทุมสโร ต่อมาได้รบั สมณศักดิเ์ ป็นพระครู ประสาทรัตนกิจ มรณภาพเมื่อปี พ.ศ. 2525 รูปที่ 7 พระครูประศาสน์สิทธิรักษ์ (กิมใช้ รตนวณโณ) รูปที่ 8 พระครูประภัสสรวรคุณ (พระมหาชัยพร วลลโภ ปธ.4) มรณภาพเมื่อปี พ.ศ. 2563 รูปที่ 9 พระครูอนุกลู วรากร (รวีโรจน์ วรมงคโล) เจ้าอาวาสรูปปัจจุบนั

สถานที่ตั้งวัดและอุโบสถ

ราวปี พ.ศ. 2448 ท่านเจ้าอธิการแก้ว รัตนโชติ เจ้าอาวาสก็ได้ยา้ ย ศาลาการเปรียญจากด้านหน้าไปไว้ริมเขื่อนด้านตะวันออก แล้วมุง กระเบื้องปูนซีเมนต์และบูรณะส่วนที่เสียหายใหม่ และมีการน�ำไม้มา ปรับปรุงเป็นหอสวดมนต์และกุฏิ ต่อมาปี พ.ศ. 2456 วัดเดิม กุฏิและ โบสถ์เกิดการแตกร้าวมาก ประกอบกับว่าพืน้ ทีเ่ ป็นโคกดินเหนียว พอ ถึงช่วงฤดูแล้งก็แตกระแหงลึกเกือบเมตร พอฤดูฝน ฝนตกมากๆ ดินก็ ทรุดเกินที่จะปฏิสังขรณ์ได้อีก วัดก็อยู่ห่างไกลทางคมนาคม ท่านเจ้า อธิการแก้วจึงย้ายมาอยู่ที่ริมคลองด�ำเนินสะดวก ซึ่งเป็นที่ตั้งวัดใน ปัจจุบนั เดิมมีหอสวดมนต์เป็นทีอ่ ยูเ่ จ้าอาวาสกับกุฏฝิ ากระดานมุงจาก 4 หลัง กับย้ายศาลาการเปรียญหลังเก่ามาปลูกบริเวณใกล้กบั ริมคลอง ส่วนอุโบสถยังคงอยู่ที่เดิม ต่อมาท่านพระครูล้อม เจ้าอาวาสองค์ที่ 5 ได้ปลูกกุฏิยาว 9 ห้อง 2 แถว และบอกบุญญาติโยมหาทุนสร้างอุโบสถขึ้นแทนหลังเก่า ใกล้ เคียงกับอุโบสถเดิม โดยได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ตามประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2494 เขตวิสงุ คามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร แต่ทา่ นพระครูลอ้ มได้มรณภาพเสียก่อน ที่จะท�ำการผูกพัทธสีมา RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 65

65

21/1/2564 16:16:00


พิพิธภัณฑ์บ่อน�้ำพระพุทธมนต์

อยู่ใต้วิหารหลวงพ่อไตรรัตน์ฯ เป็นที่จัดแสดงสิ่งของเครื่องใช้ โบราณของชุมชน รวมทัง้ มีบอ่ น�ำ้ พระพุทธมนต์อนั ศักดิส์ ทิ ธิข์ องสมเด็จ พระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี)

สถานที่น่าสนใจบริเวณวัดปราสาทสิทธิ์ วิหารหลวงพ่อไตรรัตน์โรจนฤทธิ์

หลวงพ่อไตรรัตน์ โรจน์ฤทธิ์ เป็นพระพุทธรูปหินที่ทางพระเถระ และชาวบ้านได้อญ ั เชิญมาจากวัดเชิงเลน พระนครศรีอยุธยา เมือ่ ก่อน ปี พ.ศ. 2500 เดิมประดิษฐานอยูท่ วี่ หิ ารไม้หน้าวัดริมคลองด�ำเนินสะดวก ปัจจุบันได้มีการสร้างวิหารขึ้นมาใหม่ เป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์องค์ หนึง่ ของวัดริมคลองด�ำเนินสะดวก ทุกวันชิวซาของเทศกาลตรุษจีนจะ มีประเพณีแห่พระทางน�้ำ มีขบวนเรือแห่หลวงพ่อไตรรัตน์ฯ ตลอด ล�ำคลองด�ำเนินสะดวก เพื่อให้ประชาชนได้สักการบูชา

อนุสาวรียส์ มเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสรุ ยิ วงศ์ (ช่วง บุนนาค)

ทีห่ น้าวัดฯ มีศาลาซึง่ เป็นทีต่ งั้ อนุสาวรียข์ อง สมเด็จเจ้าพระยาบรม มหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) เป็นที่เคารพกราบไหว้บูชาของ ประชาชนทัว่ ไป ทุกๆวันที่ 23 ธันวาคมของทุกปีจะมีพธิ บี วงสรวงเนือ่ ง ในวันคล้ายวันสมภพ และ จะมีการท�ำบุญเนื่องในวันคล้ายวันถึงแก่ พิราลัยของท่าน 66

4

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

.indd 66

21/1/2564 16:16:11


เสาหินหลักห้า

คลองด�ำเนินสะดวกได้เปิดใช้เมือ่ ปี พ.ศ. 2411 ความยาวประมาณ 33 กม. ทุกๆ 100 เส้นหรือ 4 กม. จะมีเสาหลักหินปักไว้ ตั้งแต่หลัก ที่ 1 ถึงหลักที่ 8 บนเสาหลักมีเลขไทย จีนและโรมันอยูท่ กุ หลัก หลักห้า ตั้งอยู่บริเวณหน้า โรงเรียนชุมชนวัดปราสาทสิทธิ์ ชุมชนบริเวณโดย รอบนีก้ เ็ รียกกันว่าชุมชนหลักห้า และวัดนีก้ เ็ รียกกันทัว่ ไปว่า วัดหลักห้า

ตลาดน�้ำหลักห้าและชุมชนวิถีตลาดริมน�้ำ

หลักห้าเป็นตลาดนัดทางน�ำ้ ทีเ่ ป็นศูนย์กลางการค้าขายทางเรือมา แต่โบราณ เรียกกันว่าตลาดน�้ำปากคลองโพหัก หรือตลาดน�้ำหลักห้า เป็นสัญลักษณ์แห่งหนึง่ ของการท่องเทีย่ วของอ�ำเภอด�ำเนินสะดวกและ จังหวัดราชบุรี ปัจจุบันวิถีชุมชนตลาดริมน�้ำยังคงอยู่ เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่น่า สนใจอีกแห่งหนึ่งของจังหวัดราชบุรี โดยเฉพาะวันหยุดเสาร์-อาทิตย์ ที่บริเวณท่าน�้ำหน้าวัดปราสาทสิทธิ์

พระครูอนุกูลวรากร (รวีโรจน์ วรมงคโล) เจ้าอาวาสวัดปราสาทสิทธิ์

RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 67

67

21/1/2564 16:16:20


Nornnabdao Home Stay

นอนนับดาวโฮมสเตย์ นอนนับดาว โฮมสเตย์ ที่พักกลางอ�ำเภอ บ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี อาคารปูนเปลือย 2 ชั้น ประกอบด้วย 4 ห้องพัก ตกแต่งภายนอกสวยเก๋ สามารถถ่ายภาพกันได้จุใจรับรองสวยทุกมุม รูปแบบของที่นี่ ได้มาจากการเดินทางท่องเที่ยว ไปในหลายๆ ทีจ่ งึ เก็บความประทับใจในแต่ละแห่ง มาสร้างเป็น นอนนับดาว โฮมสเตย์

บรรยากาศผ่อนคลาย ต้นไม้ประดับรอบอาคาร มีเหลีย่ มและมุมลดแสงเพิม่ เงา ท�ำให้ทนี่ มี่ มี มุ นัง่ เล่นคลายร้อนพอสมควร Breakfast ฟรีเมือ่ เข้าพัก มือ้ แรกของวัน เสิรฟ ์ ด้วยงานคุณภาพทุกชิน้ ไส้กรอก แฮมอย่างดี ขนมปังฝรัง่ เศส และน�ำ้ ส้มคัน้ แท้ๆ

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมและส�ำรองห้องพักได้ที่

nornnabdao.bp

ที่ตั้ง : 33/579 ซอยผู้ใหญ่บุญ 13 ต�ำบลบ้านโป่ง อ�ำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี nornnabdao.bp nornnabdao.bp@gmail.com 081 998 8822 68

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

Homestay 1

.indd 68

Tel. 081 998 8822, 032 200 100 22/1/2564 15:02:14


บ้านพักแนวๆ ในอ�ำเภอฮอด

ศิริทรัพย์ รีสอร์ท

Check out เกินเวลาที่ก�ำหนด ปรับชั่วโมงละ 100 บาท หากลูกค้าเข้าพักเกินจ�ำนวนที่ก�ำหนดไว้ ปรับ คนละ 500 บาท สระว่ายน�ำ้ เปิด 06.00 - 21.00 น. กรุณาสวมชุดว่ายน�้ำทุกครั้ง หากท่านฝ่าฝืนปรับ 1,000 บาท / ท่าน ไม่อนุญาตให้น�ำสัตว์เลี้ยงเข้าภายในห้องพัก ไม่อนุญาตให้ท�ำอาหารภายในที่พัก

ห้ามส่งเสียงดัง รบกวนแขกท่านอื่น ห้ามสูบบุหรี่ภายในห้องพักเด็ดขาด ห้ามน�ำสิ่งผิดกฎหมายทุกประเภทเข้ามาภายในที่พัก ห้ามน�ำบุคคลภายนอกที่ ไม่ ได้พัก เข้ามาภายในรีสอร์ท หากมีเหตุจ�ำเป็นกรุณาแจ้ง

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมและส�ำรองห้องพักได้ที่ ศิริทรัพย์ รีสอร์ท

ที่ตั้ง : ตั้งอยู่เลขที่ 162 หมู่ 4 ต�ำบลคุ้งพยอม อ�ำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี 70110

SirisupResort

Sirisupresort@gmail.com

Tel. 086-336-6229 / 092-5202424

SirisupResort CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย 69

1

.indd 69

22/1/2564 15:10:17


History of buddhism....

วัดท่าผา พระครูศรีธรรมนาท เจ้าอาวาสวัดท่าผา เจ้าคณะอำ�เภอบ้านโป่ง

วัดท่าผา ตั้งอยู่เลขที่ 16 หมู่ที่ 1 ถนนแสงชูโต ต�ำบลท่าผา อ�ำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี

วัดท่าผา เดิมชื่อ “วัดท่าเลียงผา” เนื่องจากสมัยก่อนบริเวณ ต�ำบลท่าผา มีเลียงผาอาศัยอยู่ชุกชุมโดยเฉพาะป่าริมแม่น�้ำ สร้างขึ้น เมื่อ พ.ศ. 2407 ตามค�ำบอกเล่า พระครูบุญคณูปถัมภ์ ( หลวงปู่เชย ผลปุญโญ ) เจ้าอาวาสรูปที่ 6 ของวัดท่าผา ซึ่งท่านได้สร้างเสนาสนะ ไว้หลายอย่าง อาทิ อุโบสถ ศาลาการเปรียญ กุฏิสงฆ์ เมรุ หอระฆัง สุขา หลวงปู่เชยท่านได้เป็นที่ศรัทธาของชาวบ้านเพราะเป็นพระที่สร้าง และพัฒนาวัดท่าผาให้เจริญรุ่งเรือง หลวงปู่เชยได้มรณภาพเมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2526 สิริอายุ 85 ปี 70

2

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

.indd 70

22/1/2564 12:04:17


ปัจจุบัน พระครูศรีธรรมนาท เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน ได้บูรณ ปฏิสงั ขรณ์วดั รวมทัง้ บูรณะและพัฒนาเสนาสนะ ดังนี้ สร้างซุม้ ประตูวดั เมือ่ ปี 2538 ขยายศาลาการเปรียญจากเดิมให้มขี นาดใหญ่และรองรับ พุทธศาสนิกชนทีม่ าท�ำบุญได้ บูรณะเมรุให้เป็นเมรุไร้มลพิษ สร้างห้องสุขา เขียนจิตรกรรมฝาผนังในศาลาการเปรียญเรื่อง พระเจ้าสิบชาติ วิหาร หลวงปูเ่ ชย ทีท่ า่ นได้สร้างไว้เพือ่ เป็นทีก่ ราบเคารพบูชาของพุทธศาสนิกชน ที่มาท�ำบุญที่วัด และโครงการที่หลวงพ่อท่านก�ำลังท�ำคือ การบูรณ ปฏิสังขรณ์อุโบสถหลังเดิมที่ช�ำรุดเก่าแก่มา 50-60 ปีแล้ว ในอดีต บริเวณหลังวัดท่าผาที่ติดแม่น�้ำแม่กลองเคยใช้เป็นสถานที่ถ่ายละคร เรื่อง สายโลหิต

พระครูศรีธรรมนาท

เจ้าอาวาสวัดท่าผา / เจ้าคณะอ�ำเภอบ้านโป่ง

RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 71

71

22/1/2564 12:04:31


History of buddhism....

วัดอริยวงศาราม (หนองน�ำ้ ขาว) พระอุดมคัมภีรญาณ (พระมหามานพ จาครโต) เจ้าอาวาสวัดอริยวงศาราม (หนองน้ำ�ขาว) เจ้าคณะตำ�บลบางแพ

วัดอริยวงศาราม (หนองน�ำ้ ขาว) ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ 3 ต�ำบลดอนกระเบื้อง อ�ำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี โทรศัพท์ 081-625-0757, 092-978-7844 Facebook : วัดอริยวงศาราม

วัดอริยวงศาราม เรียกขานตามชือ่ หมูบ่ า้ นว่า “วัดหนองน�ำ้ ขาว” ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นหนองน�ำ้ ขาว ต�ำบลดอนกระเบือ้ ง อ�ำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี สังกัดธรรมยุตกิ นิกาย ก่อก�ำเนิดโดยพระเดชพระคุณ พระครูวโิ รจน์ธรรมาจารย์ (ปิน่ ชลิโต) ผูเ้ ป็นปฐมเจ้าอาวาส 72

(

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

)4

.indd 72

22/1/2564 11:09:40


ย้อนเวลาไปเมือ่ ปี พ.ศ. 2508 หลังจากทีอ่ งค์หลวงพ่อมหาปิน่ ชลิโต เดินทางไปเผยแผ่ศาสนธรรมร่วมกับเหล่าพระคณาจารย์สายศิษย์ หลวงปูม่ นั่ ภูรทิ ตฺโต เช่น หลวงปูเ่ ทสก์ เทสรํส,ี หลวงปูเ่ หรียญ วรลาโภ ฯลฯ ในภาคใต้ แถบจังหวัดชุมพร, ภูเก็ต, พังงา, กระบี่ จนเป็นปึกแผ่น แล้วท่านได้จาริกกลับมาภาคกลางฝั่งตะวันตก มาปักกลดที่บริเวณวัด ในปัจจุบัน แล้วเริ่มเทศนาอบรมชาวบ้านในละแวกใกล้เคียงด้วย หัวข้อธรรม แนวทางปฏิบัตินานา จนมีผู้ศรัทธาเพิ่มขึ้นเป็นล�ำดับหนึ่ง ในกลุม่ ผูศ้ รัทธาเลือ่ มใส คือ คุณยายแก้ว กลัน่ แฮม ซึง่ เป็นเจ้าของทีด่ นิ บริเวณที่องค์หลวงพ่อปักกลดอยู่ มีจิตศรัทธาได้น้อมถวายที่ดินเพื่อ ก่อตั้งวัดแห่งนี้

RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

(

)4

.indd 73

73

22/1/2564 11:09:52


ต่อมาในปี พ.ศ. 2519 องค์หลวงพ่อด�ำริสร้างโบสถ์ทรงไทย ประยุกต์ 2 ชั้น ล้วนด้วยไม้ทั้งสิ้น เพื่อประโยชน์ในการท�ำสังฆกรรม ของพระสงฆ์ และด�ำเนินการผูกพัทธสีมาในปี พ.ศ. 2521 หลวงพ่อมหาปิน่ ได้ให้ความส�ำคัญทัง้ ด้านปริยตั แิ ละปฏิบตั ิ ดังนัน้ ท่ า นจึ ง จั ด ให้ มี ก ารเรี ย นการสอนพระปริ ยั ติ ธ รรมทั้ ง แผนกธรรม และบาลี จนเป็นทีย่ อมรับกันว่าโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรมวัดอริยวงศาราม เป็นโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรมประจ�ำจังหวัดราชบุรี โดยตลอดระยะเวลา ทีท่ า่ นดูแลวัดแห่งนี้ ท่านได้ทมุ่ เทพลังกาย พลังใจ ในการเทศนาอบรม ภิกษุ-สามเณรตลอดจนพุทธบริษัท โดยไม่เห็นแก่ความเหนื่อยยาก จนกระทั่งในวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2524 ท่านก็ถึงกาลมรณภาพด้วย อาพาธเบียดเบียน วัดอริยวงศาราม เจริญสืบมาด้วยศรัทธาปสาทะของญาติโยม จึงมีการขยายพื้นที่วัดขึ้นตามล�ำดับ ทั้งในยุคสมัยของเจ้าอาวาสรูปที่ 2 คือ พระครูวิโรจน์ธรรมาจารย์ (หลวงพ่อบุญเรือง กิตฺติปุญฺโญ) ตราบจนเจ้าอาวาสรูปปัจจุบันซึ่งเป็นรูปที่ 3 คือ พระอุดมคัมภีรญาณ (พระมหามานพ จาครโต)

พระอุดมคัมภีรญาณ (พระมหามานพ จาครโต)

เจ้าอาวาสวัดอริยวงศาราม (หนองน�้ำขาว)

74

(

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

)4

.indd 74

22/1/2564 11:10:01


ศาสนวัตถุและสิ่งก่อสร้างส�ำคัญ

“อริยชลิตเจดีย์” ขณะนี้อยู่ในระหว่างการด�ำเนินการก่อสร้าง เป็นทีบ่ รรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุและอัฐธิ าตุของหลวงพ่อมหาปิน่ ชลิโต รวมถึงเป็นทีเ่ ก็บรักษาบริขาร เครือ่ งใช้ขององค์หลวงพ่อ และพระพุทธรูป หินอ่อนปางปฐมเทศนา กาลเวลาด�ำเนินไปตามกฎธรรมชาติ ไม่วา่ ความเจริญต่างๆ จะแผ่ ไปในทุกวิถี แต่ครรลองแห่งการปฏิบัติต่างๆ ของภิกษุ-สามเณรใน อาวาสแห่งนี้ ยังคงเป็นไปแบบเรียบง่ายตามสมณสารูป ตามแนว พระธรรมวินัย แนวปฏิบัติและปฏิปทาที่ครูบาอาจารย์ก�ำหนดไว้ เมื่อ 40 ปีกอ่ นเป็นเช่นไร ทุกวันนีก้ ย็ งั เป็นเช่นเดิมไม่เปลีย่ นแปลง เช่น การฉัน ภัตตาหารครั้งเดียว การท�ำข้อวัตรต่างๆตามก�ำหนดเวลา เป็นต้น ศรัทธาญาติโยมทุกท่าน หากต้องการสัมผัส พบปะศึกษาข้อธรรม หรือแนวปฏิบัติใดๆขอเชิญได้ทุกวาระโอกาส RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

(

)4

.indd 75

75

22/1/2564 11:10:08


History of buddhism....

วัดจันทาราม พระมหาอดุลณัฏฐ์ ยุตฺตธมฺโม เจ้าคณะตำ�บลหนองอ้อ – สวนกล้วย / เจ้าอาวาสวัดจันทาราม

วัดจันทาราม ตั้งอยู่เลขที่ 119 หมู่ที่ 10 ต�ำบลหนองอ้อ อ�ำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี 70110 โทรศัพท์ 095-5945941 , 094-2561789

วัดจันทาราม แต่เดิมมีการเล่าขานสืบต่อกันมาปากต่อปาก แต่ยงั ไม่มกี ารบันทึกไว้อย่างเป็นทางการ เมือ่ อุโบสถหลังเก่าประสบอัคคีภยั และมีการก่อสร้างอุโบสถขึ้นใหม่ คณะกรรมการวัด คณะสงฆ์ และชาวบ้านได้ก�ำหนดงานผูกพัทธสีมาขึ้นระหว่างวันที่ 12-20 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2526 โดยมีการจัดพิมพ์หนังสือจัดงาน และได้จัดพิมพ์ประวัติวัดจันทารามไว้ในหนังสือดังกล่าวด้วย จึงปรากฏประวัติวัดจันทาราม เป็นลายลักษณ์อักษรตั้งแต่นั้นมา ซึ่งมีสาระส�ำคัญ ดังนี้ 76

4

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

.indd 76

22/1/2564 9:38:42


หลวงพ่ออโนทัย วัดจันทาราม เดิมชื่อวัดหนองตะแคง ซึ่งชาวบ้านเรียกตามชื่อ หมู่บ้านหนองตะแคง ปัจจุบันตั้งอยู่ที่ถนนเพชรเกษม หมู่ที่ 10 ต�ำบลหนองอ้อ อ�ำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี ระยะทางห่างจาก ทีว่ า่ การอ�ำเภอบ้านโป่ง ประมาณ 8 กิโลเมตร ห่างจากตัวเมืองนครปฐม ประมาณ 12 กิโลเมตร แต่ก่อนชาวบ้านหนองตะแคง ต้องไปท�ำบุญ และประกอบศาสนกิจที่วัดหนองกบ ต�ำบลหนองกบ อ�ำเภอบ้านโป่ง ต่อมาเมือ่ ปี พ.ศ.2450 พระภิกษุเภา ศรีนวล จ�ำพรรษาอยูท่ วี่ ดั หนองกบ ได้ปรึกษาหารือกับชาวบ้านและมีมติเห็นพ้องต้องกันทีจ่ ะสร้างวัดขึน้ ใหม่ ในละแวกบ้านหนองตะแคง และได้ร่วมกันด�ำเนินการสร้างวัดขึ้นใน ทีด่ นิ ของแม่เฒ่าจันทา กัณหา ซึง่ มีศรัทธาบริจาคทีด่ นิ ทีอ่ ยูต่ ดิ กับถนน ซอยบางตาล จ�ำนวน 12 ไร่เศษ ให้เป็นที่ ธรณีสงฆ์ เรียกชื่อว่า “วัดหนองตะแคง” ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา (ปัจจุบันเรียกที่แห่งนั้นว่า วัดเก่า)

RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 77

77

22/1/2564 9:38:55


ต่อมาพระภิกษุเภา ศรีนวล ได้ลาสิกขาบท ชาวบ้านจึงนิมนต์ พระอาจารย์แดง เหล็กดี จากวัดหนองอ้อ อ�ำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี มาเป็นเจ้าอาวาส พระครูขนัตยาภิรตั ิ เจ้าคณะอ�ำเภอบ้านโป่ง ในขณะนัน้ เห็นว่าวัดนีต้ งั้ อยูใ่ นซอยลึกไม่สะดวกแก่สาธุชนทีจ่ ะเข้าไปบ�ำเพ็ญกุศล ทั้งยังมีเนื้อที่คับแคบไม่สามารถขยายอาณาเขตและสร้างเสนาสนะ อันจ�ำเป็นต่อศาสนกิจของพระภิกษุสงฆ์ พระอาจารย์แดง เหล็กดี และชาวบ้านเห็นชอบด้วยจึงได้ทำ� การรือ้ ถอนสิง่ ปลูกสร้างมาสร้างใหม่ ในสถานที่ปัจจุบันนี้ เมื่อปี พ.ศ.2473 โดยสร้างบนที่ดินของนายโฮก และนางเรือน ใจมัน่ ซึง่ บริจาคเป็นธรณีสงฆ์จำ� นวน 17 ไร่เศษ เมือ่ ด�ำเนินการสร้างวัดเสร็จพระครูขนัตยาภิรตั ิ ได้เปลีย่ นชือ่ วัดให้ใหม่วา่ “วัดจันทาราม” พระอาจารย์แดง เหล็กดี ได้นำ� พาชาวบ้านสร้างอุโบสถ แล้วเสร็จเมือ่ ปี พ.ศ. 2477 และให้มโี รงเรียนโดยใช้ศาลาการเปรียญ เป็นห้องเรียน หลังจากนั้นพระอาจารย์แดง เหล็กดี ได้ลาสิกขาบท เจ้าคณะอ�ำเภอบ้านโป่งในขณะนัน้ (พระมหาสนิท เขมจาโร) ได้แต่งตัง้ ให้พระภิกษุบุญมา ศรีนวล เป็นเจ้าอาวาสรูปที่ 3 ซึ่งได้น�ำพาชาวบ้าน ด�ำเนินการสร้างศาลาการเปรียญไม้ 1 หลัง ปัจจุบนั ได้รบั การเคลือ่ นย้าย ไปปรับปรุงสร้างขึ้นใหม่ ในพื้นที่แห่งใหม่ ชาวบ้านตั้งชื่อว่า ศาลาศรี สุธรรมมา (ประชาสามัคคี) ต่อมาเป็นเวลาประมาณ 15 ปี พระภิกษุ บุญมา ได้ลาสิกขาบท เจ้าคณะอ�ำเภอบ้านโป่ง (พระครูวจิ ติ ร ธรรมรส) ได้แต่งตั้งให้พระภิกษุธีระ ทีปธมโม ในขณะนั้นเป็นเจ้าอาวาสรูปที่ 4 ซึ่ ง ต่ อ มาได้ รั บ พระราชทานสมณศั ก ดิ์ เ ป็ น พระครู พิ ทั ก ษ์ ธี ร ธรรม ได้ดำ� รงต�ำแหน่งเจ้าคณะต�ำบลหนองอ้อ-หนองกบ และรับแต่งตัง้ เป็น พระอุปัชฌาย์ และลาสิกขาบทเมื่อปี พ.ศ.2504 เจ้าอาวาสรูปต่อมา (รูปที่ 5) คือ พระอธิการเงิน อุตตโม ซึ่งเมื่อวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2505 อุโบสถประสบอัคคีภัยได้รับความเสียหายมาก ไม่สามารถที่จะ ใช้บำ� เพ็ญศาสนกิจต่อไปได้ พระอธิการเงิน อุตตโมจึงน�ำพาชาวบ้าน ด�ำเนินการก่อสร้างอุโบสถหลังใหม่ขนึ้ ในปีเดียวกัน และได้กอ่ สร้างกุฏิ 4 หลัง ศาลาการเปรียญ 1 หลัง (ศาลาหลวงพ่อเงินอุตตโมอนุสรณ์) ต่อมาพระอธิการเงิน อุตตโมได้มรณภาพ เมือ่ วันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2523 พระภิกษุสมจิตร ทีปธัมโม ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นเจ้าอาวาส (รูปที6่ ) ปัจจุบนั ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็น พระครูพิศาลธรรมาภรณ์ โดยได้ น�ำพาชาวบ้านในท้องถิน่ พัฒนาวัดอย่างต่อเนือ่ ง มีการพัฒนาบริเวณวัด เสนาสนะ เช่น อุโบสถ วิหารหลวงพ่ออโนทัย หอระฆัง ศาลาการเปรียญ กุฏสิ งฆ์ ศาลาสวดพระอภิธรรม ฌาปนสถาน โรงครัว ซึง่ จ�ำเป็นต่อการ ประกอบศาสนกิจ และการศึกษาอบรม เผยแผ่พุทธศาสนาเรื่อยมา จนถึงปัจจุบัน หมายเหตุ : ในประวัตินี้ได้มีการเพิ่มเติมชื่อของเสนาสนะเพื่อให้ สอดคล้องกับปัจจุบัน (พระครูพิศาลธรรมาภรณ์ เจ้าอาวาสกิตติมศักดิ์มรณภาพ เมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ.2564) 78

4

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

.indd 78

22/1/2564 9:39:02


พระมหาอดุลณัฏฐ์ ยุตฺตธมฺโม

เจ้าคณะต�ำบลหนองอ้อ – สวนกล้วย / เจ้าอาวาสวัดจันทาราม

พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ที่ประดิษฐานอยู่คู่กับวัดจันทารามตลอดมา คือ “หลวงพ่ออโนทัย” เดิมประดิษฐานอยู่ที่วัดนางโน (ปัจจุบันคือ วัดมโนธรรมาราม(นางโน) อ�ำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี ซึ่งเป็น วัดเก่าแก่ทกี่ อ่ สร้างขึน้ ในสมัยอยุธยาตอนต้น ประวัตคิ วามเป็นมานัน้ ไม่มี การบันทึกวันเวลาไว้แน่ชดั แต่มกี ารเล่าสืบต่อกันมาว่าหลวงพ่ออโนทัย มาเข้าฝันชาวบ้านว่า อยากมาอยูว่ ดั จันทาราม อาจารย์แดงและคุณตาเพ็ง ขอนแก่น พร้อมชาวบ้านหนองตะแคง 10 คนเศษ จึงพากันเดินทาง ไปนิมนต์หลวงพ่ออโนทัย เมือ่ ไปถึงปรากฏว่าได้มชี าวบ้านจากหมูบ่ า้ นอืน่ ก�ำลังยกหลวงพ่อเพื่อน�ำไปหมู่บ้านของเขาแต่ยกไม่ขึ้น จนเชือกที่มัด หลวงพ่อขาดหมด ไม่สามารถน�ำหลวงพ่อไปได้ ชาวบ้านหนองตะแคง จึงได้จุดธูป 1 ดอกตั้งจิตอธิษฐานถ้าหากหลวงพ่ออยากไปอยู่ที่ วัดจันทารามจริงดังทีเ่ ข้าฝันก็ขอให้ยกท่านขึน้ ก็สามารถยกขึน้ ในสมัยนัน้ การเดินทางต้องใช้แพ ชาวบ้านจึงน�ำหลวงพ่อลงแพ ล่องตามน�ำ้ มาขึน้ ที่โรงเลื่อยของหลวงสิทธิ์ เทพการ และขึ้นรถบรรทุกมาประดิษฐานที่ วัดจันทารามจนถึงปัจจุบนั โดยประดิษฐาน ณ “วิหารหลวงพ่อ อโนทัย” โดยมีพระพุทธรูปอีกองค์หนึ่งประดิษฐานอยู่คู่กัน คือ หลวงพ่อขาว รวมทัง้ หลวงพ่ออโนทัย องค์จำ� ลอง ทีไ่ ด้จดั สร้างขึน้ ภายหลัง และรูปหล่อ ของหลวงพ่อเงิน อุตตโม ทั้งนี้ทางวัดจะจัดงานปิดทองประจ�ำปี หลวงพ่ออโนทัย หลวงพ่อขาว หลวงพ่อเงิน ในเดือนมกราคม ซึ่งตรง กับเทศกาลตรุษจีนของทุกปี พระมหาอดุลณัฏฐ์ ยุตตฺ ธมฺโม เจ้าอาวาสรูปปัจจุบนั ได้รบั การแต่งตัง้ เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563

RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 79

79

22/1/2564 9:39:06


History of buddhism....

วัดหัวโป่ง พระครูธรรมธรจักรี อุชุจาโร เจ้าอาวาสวัดหัวโป่ง

วัดหัวโป่ง ตั้งอยู่เลขที่ 2 ต�ำบลหนองอ้อ อ�ำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี

วัดหัวโป่ง ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 บ้านหัวโป่ง ต�ำบลหนองอ้อ อ�ำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรีประกาศจัดตั้งวัดเมื่อปี พ.ศ. 2459 และได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อปี พ.ศ. 2469 มีอายุตั้งแต่เริ่มสร้างวัดมาประมาณ 91 ปี สถานที่ตั้งของวัดหัวโป่ง อยู่ติดกับตลาดปลาสวยงามบ้านโป่ง เดิมคุณพ่อค�ำ-คุณแม่ชอน นนทารักษ์ พร้อมบุตร-ธิดา ได้ถวายที่ดิน ให้เป็นที่ธรณีสงฆ์และได้ด�ำเนินการจัดซื้อและมีผู้ถวายที่ดิน 21 ไร่ 0 งาน 199 ตารางวา ต่อมาวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2520 คุณพ่อช้อยคุณแม่อู่ คนอยู่ พร้อมบุตร-ธิดา ถวายที่ดินเพิ่มอีก 50 ตารางวา รวมที่ดินทั้งหมดเป็น 21 ไร่ 0 งาน 249 ตารางวา 80

2

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

.indd 80

22/1/2564 11:58:32


วัดหัวโป่งมีเจ้าอาวาสตามล�ำดับดังนี้

1. พระอธิการช้อย 2. พระอธิการแจ่ม 3. พระอธิการสุทัศน์ 4. พระอธิการเย็น อภิรโต 5. พระครูญาณรัตนเสวี (เสนี ญาณวีโร) 6. พระอธิการสุรพล 7. พระอธิการสมควร 8. พระอธิการมาณพ 9. พระครูธรรมธรจักรี อุชุจาโร (เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน) วัดหัวโป่งได้มกี ารพัฒนาอย่างต่อเนือ่ ง จัดสร้างพระอุโบสถหลังแรก เมือ่ ปี พ.ศ. 2469 และได้ชำ� รุดทรุดโทรม ไม่สามารถประกอบสังฆกรรมได้ ในปี พ.ศ. 2500 พระครูญาณรัตนเสวี ได้จัดสร้างหลวงพ่อพระพุทธ ประทานพร หน้าตักกว้าง 6 ศอก 9 นิ้ว และมีการสร้างกุฏิสงฆ์ หอสวดมนต์ ศาลาการเปรียญ ศาลาเมรุ ถนน และได้พฒ ั นาเสนาสนะ ภายในวัดให้อยู่ในสภาพที่เรียบร้อย วันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2522 ได้จัดงานวางศิลาฤกษ์ ด�ำเนินการจัดสร้างพระอุโบสถหลังใหม่โดยมี นายด�ำรงค์ สุนทรสารฑูล อดีตปลัดกระทรวงมหาดไทยเป็นประธาน และมีการหล่อพระประธานประจ�ำอุโบสถในปี พ.ศ. 2527 ต่อมา พระอธิการสมควร ปภสฺสโร ได้จัดงานผูกพัทธสีมาปิดทองฝังลูกนิมิต ในวันที่ 17-25 กุมภาพันธ์ 2550 ซึ่งการจัดงานเป็นไปด้วยความ เรียบร้อย และได้มีการบูรณปฏิสังขรณ์เสนาสนะภายในวัดเรื่อยมา ในปี พ.ศ. 2560 ท่านได้มรณภาพลง และได้นมิ นต์พระอธิการจักรี อุชจุ าโร จากวัดไร่แตงทอง จังหวัดนครปฐมมาด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส ท่านได้ พัฒนาวัดและบูรณะปฏิสังขรณ์เสนาสนะของวัดให้สามารถใช้งานได้ และวางกฎระเบี ย บให้ กั บ พระภิ ก ษุ ส ามเณร จนมี ค วามสะอาด เรียบร้อย ในปี พ.ศ. 2561 ได้ย้ายหลวงพ่อพระพุทธประทานพรจาก วิหารเดิม เพือ่ บูรณะวิหารทีช่ ำ� รุดทรุดโทรม และได้สร้างวิหารใหม่แล้ว หล่อหลวงพ่อประทานพรองค์ใหม่ ครอบองค์เดิมไว้ ด้วยหน้าตัก 5 เมตร ค่าใช้จ่ายการสร้างวิหารทั้งหมดเป็นเงินทั้งสิ้น กว่า 13 ล้านบาท และ ท่านได้สร้างโรงครัว ห้องน�้ำ และปรับปรุงภูมิทัศน์ภายในวัดให้ร่มรื่น ประวัติเจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน : พระครูธรรมธรจักรี ฉายา อุชุจาโร นามสกุล ฤกษ์เจริญชัย อายุ. 44 ปี พรรษา 18 วิทยฐานะ น.ธ.เอก / ปวส. ปัจจุบัน ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดหัวโป่ง วันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 ท่านได้รับแต่งตั้งเป็น พระครูธรรมธร ในฐานานุกรมของ ท่านเจ้าประคุณสมเด็จพระมหารัชมงคลมุนี เจ้าคณะใหญ่หนกลาง วัดไตรมิตรวิทยาราม กรุงเทพมหานคร

องค์ปูน พ.ศ. 2500

องค์ปัจจุบัน พ.ศ. 2561

วิหารสมเด็จพระพุทธประธานพร

พระครูธรรมธรจักรี อุชุจาโร เจ้าอาวาสวัดหัวโป่ง

RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 81

81

22/1/2564 11:58:43


History of buddhism....

วัดหนองประทุน พระครูภัทรสารสุนทร,ดร. (สุรพล อาสโภ) เจ้าอาวาสวัดหนองประทุน

วัดหนองประทุน ตั้งอยู่เลขที่ 125 หมู่ 8 ต�ำบลกรับใหญ่ อ�ำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี โทรศัพท์ : 083-092-9117 Facebook : วัดหนองประทุน

82

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

2

.indd 82

22/1/2564 11:41:18


วัดหนองประทุน (เริม่ สร้างเมือ่ ปีพทุ ธศักราช 2443) คุณโยมปูช่ ม

คุณโยมย่าเสาร์ ท่าผา เป็นผูบ้ ริจาคทีด่ นิ สร้างวัดจ�ำนวน 17 ไร่ 2 ตารางวา ณ บ้านหนองประทุน เลขที่ 125 หมู่ 8 ต�ำบลกรับใหญ่ อ�ำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี ประกาศเป็นวัดเมื่อ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2460 เป็นวัด ที่ตั้งมาประมาณ 100 กว่าปี ได้รับวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2538 ในปัจจุบันมีประชาชนรวม 2 หมู่บ้านประมาณ 260 กว่า ครอบครัว ซึ่งร่วมท�ำบุญกุศลที่วัดตลอด และวัดก็มีเสนาสนะต่างๆ เช่น อุโบสถ ศาลาการเปรียญ กุฏสิ งฆ์ ศาลาฌาปนสถาน เมรุฯ ส่วนใหญ่ เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้วเป็นส่วนมาก

พระครูภัทรสารสุนทร,ดร. (สุรพล อาสโภ) เจ้าอาวาสวัดหนองประทุน

RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 83

83

22/1/2564 11:41:33


History of buddhism....

วัดหนองเสือ(ยางปราสาท) พระมหาสุกฤติ สุขวฑฺฒโก เจ้าอาวาสวัดหนองเสือ

วัดหนองเสือ(ยางปราสาท) ตั้งอยู่เลขที่ 144 หมู่ที่ 6 ต�ำบลกรับใหญ่ อ�ำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี

ในอดีตวัดหนองเสือ พืน้ ทีส่ ร้างวัด เดิมทีเป็นทีไ่ ม่มี เจ้าของ หวงแหน เป็นทีว่ า่ งเปล่า ต่อมา เมือ่ พ.ศ. 2456 มีพระอาคันตุกะ มาหนึง่ รูป ชือ่ ว่า พระอาจารย์ หลิม่ ประชาชน ชาวบ้าน เรียกท่านว่า หลวงตาปิม่ ได้เดินตามทางเกวียน มากลางป่า มาพบชายผูห้ นึง่ ชือ่ หนู ด่านปาน ขณะนัน้ นายหนูอายุได้ 16 ปี นายหนูได้สนทนากับหลวงตาท่าน “ถามท่านจะไปไหน” หลวงตา ตอบว่า “มาหาสร้างวัด” นายหนูตามด้วย ความศรัทธา ว่ามาสร้างทีย่ างสูง คือทีด่ นิ ปัจจุบนั นี้ ต่อจากนัน้ นายหนูได้พาพระหลวงตาไปพบ นายปลืม้ ด่านปาน แจ้งให้ผใ้ ู หญ่บา้ นทราบว่าพระท่าน มาหาทีส่ ร้างวัด และได้มมี ติ ให้สร้าง ทีน่ นั้ นีแ่ หละทีม่ าของวัดหนองเสือ เข้าใจว่าตัง้ ขึน้ ประมาณเดือน 1, 2 เพราะเป็นเดือน(อ้าย,ยี)่ เป็นฤดู เก็บเกีย่ วข้าว ประมาณ วันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2456 84

(

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

)4

.indd 84

22/1/2564 13:53:03


ต่อมา พ.ศ. 2503 เมือ่ ได้รบั การแต่งตัง้ ให้เป็นผูร้ กั ษาการเจ้าอาวาสจึง เตรียมวางแผนการก่อสร้างท�ำแผนที่ แผนผัง ก�ำหนดวัตถุก่อสร้าง กลบเกลือ่ น ถากท�ำถนน ปรับทีด่ นิ ได้สร้างกุฏสิ งฆ์ ขึน้ 1 หลัง เป็นแบบ อาคารรวม คือสร้างหอสวดมนต์ ยาว 5 ห้องหันหน้าไปทางทิศใต้ สร้างกุฏิ อีก 2 หลัง หลังทีห่ นึง่ ขวางทางด้านทิศตะวันออก หลังทีส่ องขวางทาง ด้านทิศตะวันตกยาวหลังละ 7 ห้อง ตรงกลางยกหลังคาให้สูงขึ้นเป็น ห้องโถง ด้านหน้าท�ำเป็นมุข

พ.ศ. 2520 นายธานินทร์ กรัยวิเชียร นายกรัฐมนตรี ได้เดินทาง มาตรวจงาน ก.ส.ช.และแวะเยีย่ มพระครูพพิ ธิ กิตติคณ ุ ชมการก่อสร้าง อุโบสถวัดหนองเสือ พ.ศ. 2521 สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยามมงกุฏราชกุมาร และพระวรชายา ได้เสร็จมาประกอบพิธียกช่อฟ้าอุโบสถพร้อมกับ พระราชทาน ธงลูกเสือชาวบ้าน รุน่ ที่ 18 และพระราชทานนามาภิไธยย่อ (ม.ว.ก.) มหาวชิ ร าลงกรณ์ ประดิ ษ ฐานไว้ ที่ห น้า บันอุโ บสถด้า น ทิศตะวันออก นับเป็นเกียรติประวัติและความชื่นชมยินดีของชาว วัดหนองเสืออย่างยิ่ง

พ.ศ. 2514 ได้สร้างอุโบสถจตุรมุข 1 หลัง โดยพระองค์เจ้าภาณุพนั ธ์ ยุคล เป็นประธานวางศิลาฤกษ์อโุ บสถ และหม่อมหลวงสร้อยระย้า ยุคล ได้กราบบังคมทูลให้สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ ในรัชกาล ที่ 9 ทรงทราบ ได้ทรงพระราชทานเงินส่วนพระองค์ 5,000 บาท ประเดิมชัยในการสร้างอุโบสถชาวหนองเสือถือเป็นเงินก้นถุงนับว่าเป็น สิริมงคลแก่ชาวหนองเสืออย่างยิ่งที่หาที่สุดมิได้

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล

หม่อมหลวงสร้อยระย้า ยุคล

พณ.ฯนายกรัฐมนตรี ธานินทร์

พ.ศ. 2515 ได้หล่อสร้างพระประธานประจ�ำอุโบสถ 1 องค์ แบบพระพุทธชินราช เมือ่ วันพฤหัสบดี ที่ 28 เมษายน พ.ศ.2515 พร้อม พระโมคคัลลานะและพระสารีบตุ ร โดยพระครูเขมานันทมุนี วัดสัตตนารถ ปริวัตร จ.ราชบุรี ฝ่ายธรรมยุตเป็นผู้ผูกดวงฤกษ์ และดวงของวัด ของเจ้ า อาวาส ของพระประธาน และตั้งชื่อว่า “หลวงพ่อพุทธอาคม บรมอนันตคุณบริบูลยดิเรกอภิเศก สมภารกิ ต ติ พ รหมเทพรั ง สรรค์ ” เรียกสัน้ ๆ ว่า หลวงพ่อพุทธอาคม โดย พระราชคุณาภรณ์ (หลวงพ่อเงิน) วัดดอนยายหอม จังหวัดนครปฐม มาเป็นองค์เททองหล่อ พระประธาน ที่วัดหนองเสือ พระราชคุณาภรณ์ (หลวงพ่อเงิน) วัดดอนยายหอม จังหวัดนครปฐม

RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

(

)4

.indd 85

85

22/1/2564 13:53:15


หลวงพ่อพุทธอาคม

หลวงพ่อทองสวัสดี ศรีสนธิชัย

หลวงพ่อพิพิธกฤตยาคม

หลวงพ่อพุทธพิพิธ (หลวงพ่อยิ้ม)

ปูชียวัตถุและศาสนสถานที่สำ� คัญในหนองเสือ

1. หลวงพ่อพุทธอาคมบรมอนันตคุณบริบลู ยดิเรกอภิเศกสมภาร กิตติพรหมเทพรังสรรค์ หรือ หลวงพ่อพุทธอาคม เป็นพระประธานในอุโบสถ ตอนเคลื่อนย้ายเข้าอุโบสถวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ.2515 เกิดเรือ่ งอภินหิ ารกับหลวงพ่อพุทธอาคมเมือ่ ขบวน แห่พระหลวงพ่อกลับมาจากกรุงเทพฯ เวลามาถึงบ่าย 4 โมงเย็น ท�ำพิธีขบวนแห่รอบอุโบสถ ขณะที่แห่ได้ 1 รอบ แม่เจ้าเอ๋ยฝนนี่ ก�ำลังมาแบบไม่ได้นดั หมายกันมา หลวงพ่อคิม้ เป็นทุกข์แทบใจจะขาด เกรงว่าจะแห่รอบอุโบสถไม่ครบ 3 รอบ แต่เดชะบุญบารมีอะไรไม่รหู้ รือจะเป็นด้วยอภินหิ ารของพระพุทธ รูปองค์นี้ ฝนแหวกช่องออกเป็น 2 ปีก คือไปทิศใต้หนึ่งปีก และไป ทางทิศเหนืออีกหนึ่งปีก อุโบสถอยู่กลางธรรมชาติฝนไม่ตกประชาชน ชาวบ้ า นเกิ ด อั ศ จรรย์ ใจมาก และต่ อ มาประชาชนได้ ร ่ ว มใจกั น สร้างอุโบสถสืบไป ความศักดิส์ ทิ ธิข์ องท่าน เฉพาะโหรอรุษ ธนบุรี สมัย นั้นให้ฤกษ์ พยากรณ์ไว้ อาทิเช่น ให้บุตร หมอยา ให้ลาภ ทางอาคม คงกะพันต่างๆ 2. หลวงพ่อทองสวัสดี ศรีสนธิชัย (หลวงพ่อสนธิชัย) เป็นพระประธานองค์แรกของวัดหนองเสือ ประมาณปี พ.ศ. 2504 ถวายสร้างโดยนายสมบุญ ชมกลิ่น สร้างพระแทนตัวนางฉ่องให้ เจ้ากรรมนายเวรของท่าน เพื่อสร้างเป็นพระบูชาแด่วัดหนองเสือใน สมัยนั้น 3. หลวงพ่อพุทธพิพิธหรือหลวงพ่อยิ้ม พระประธานในศาลาการเปรียญ วัดหนองเสือ สร้างแล้วเสร็จเมือ่ ปี พ.ศ. 2546 4. หลวงพ่อพิพิธกฤตยาคม เป็นพระประธานประจ�ำหลังอุโบสถของวัดฯ เมื่อปี พ.ศ. 2543 86

(

วัตถุมงคลที่หลวงพ่อพิพิธกิตติคุณ สร้างขึ้นมีมากมาย เช่น

1. พระกริง่ หลวงพ่อพุทธอาคม สร้างเมือ่ พ.ศ. 2515 มีคนนิยมมาก เพราะทหารต�ำรวจเคยผจญมาแล้วมีหลักฐานยืนยันได้ 2. เหรียญรูปไข่ เป็นรูปหลวงพ่อพิพิธกิตติคุณ ด้านหลังรูปสิงห์ สร้างพร้อมๆ กับกริ่งหลวงพ่อพุทธอาคม 3. สมเด็จเกศบิด รุน่ พัดยศ สวยงามมีสรรพคุณ ทางค้าขายเมตตา มหานิยม และแคล้วคลาด 4. เหรียญหลวงพ่อทองสวัสดี ศรีสนธิชัย (หลวงพ่อสนธิชัย) สร้างขึน้ เพือ่ ให้ประชาชนเปลีย่ นไปบูชา ในงานผูกพัทธสีมาได้เก็บใต้ฐาน พระประธานตั้งแต่ พ.ศ. 2515 มีสรรพคุณทางคงกระพันแคล้วคลาด 5. พระปิดตายันต์ยุ่ง แคล้วคลาด คงกระพันและมีลาภ 6. สมเด็จพิเศษเสาร์ 5 พิเศษสมชื่อเนื้อผง 108 หลวงพ่อพิพิธกิตติคุณได้นั่งปรกเดี่ยวเอาไว้ในอุโบสถ 1 ไตรมาส

กิจกรรมที่วัดจัดเป็นประจ�ำทุกปี

1. งานประจ�ำปีปิดทองหลวงพ่อพุทธอาคมศรีสรรเพชญ์ ทุกวันที่ 5-9 เมษายน ของทุกปี 2. งานบ�ำเพ็ญกุศลอดีตเจ้าอาวาสวัดหนองเสือ ทุกวันที่ 24 สิงหาคม ของทุกปี

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

)4

.indd 86

22/1/2564 13:53:20


วัดหนองเสือมีสมภารมาแล้วดังนี้

1. พระหลิ่ม (พระอาจารย์ปิ่ม) 2. พระเต๋า 3. พระอาบ 4. หลวงพ่อกอน 5. พระอธิการหวล 6. พระอาบ อาทโร พ.ศ.2502 7. พระครูพิพิธกิตติคุณ คุณากโร พ.ศ. 2505 - พ.ศ. 2561 8. พระมหาสุกฤติ สุขวฑฺฒโก พ.ศ. 2561 - จนถึงปัจจุบัน

พระมหาสุกฤติ สุขวฑฺฒโก เจ้าอาวาสวัดหนองเสือ

ประวัติ พระครูพิพิธกิตติคุณ อดีตเจ้าอาวาสวัดหนองเสือ

ชื่อ พระครูพิพิธกิตติคุณ ฉายา คุณากโร อายุ 91 พรรษา 70 วิทยฐานะ นักธรรมเอก (ท.ผ.จ.ล ) ป.4 วัดหนองเสือ ต�ำบลกรับใหญ่ อ�ำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี อดีตด�ำรงต�ำแหน่ง 1. อดีตที่ปรึกษา เจ้าคณะต�ำบลกรับใหญ่ 2. อดีตเจ้าอาวาส วัดหนองเสือ สถานะเดิม ชื่อ นายกิตติ นามสกุล บุตรธรรม เกิดวันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2470 อาชีพท�ำนา เชื้อชาติไทย สัญชาติไทย บิดา ชื่อตุ๊ มารดา ชื่อปุ่น บุตรธรรม บ้านเลขที่ 8 หมู่ 5 บ้านดอนเสลา ต�ำบลท่าผา อ�ำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี อุปสมบท วันที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2492 ณ พัทธสีมา วัดดอนเสลา ต�ำบลท่าผา อ�ำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี พระอุปัชฌาย์ พระครู ปัญญาธิการ (หลวงพ่อเต่า) วัดดอนตูม ต�ำบลบ้านโป่ง อ�ำเภอบ้านโป่ง จั ง หวั ด ราชบุ รี พระกรรมวาจาจารย์ พระครู โ สภณรั ต นากร (พระอาจารย์เพิม่ ) วัดดอนตูม ต�ำบลบ้านโป่ง อ�ำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี พระอนุสาวนาจารย์ พระอาจารย์อินทร์ จันทโชโต วัดดอนเสลา ต�ำบลท่าผา อ�ำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี สมณะศักดิ์ พ.ศ. 2515 ได้รับการแต่งตั้งพระครูชั้นประทวน ที่ พระครูกิตติคุณากโร พ.ศ. 2515 ได้รับการแต่งตั้งเป็นพระครู ชัน้ สัญญาบัตร วัดราษฎร์ชั้นโท ที่พระครูพิพิธกิตติคุณ พ.ศ. 2530 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณะศักดิ์เป็นพระครูเจ้าอาวาสวัดราษฎร์ ชัน้ เอกที่ พระครูพพิ ธิ กิตติคณ ุ พ.ศ. 2549 ได้รบั เลือ่ นชัน้ พระสังฆาธิการ ต�ำแหน่ง พระครูเทียบผูช้ ว่ ยเจ้าอาวาส พระอารามหลวงชัน้ โท เป็นชัน้ พิเศษ เมือ่ วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2549

ประวัติ พระมหาสุกฤติ สุขวฑฺฒโก เจ้าอาวาสวัดหนองเสือ (ยางปราสาท) ชือ่ พระมหาสุกฤติ ฉายา สุขวฑฺฒโก อายุ 43 พรรษา 14 วิทยฐานะเปรียญธรรม 6 ประโยค นักธรรมเอก ป.6 วัดหนองเสือ (ยางปราสาท) ต�ำบลกรับใหญ่ อ�ำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี ปัจจุบัน ด�ำรงต�ำแหน่ง 1. เจ้าอาวาสวัดหนองเสือ(ยางปราสาท) 2. พระวินยาธิการ ประจ�ำจังหวัดราชบุรี สถานะเดิม เกิดวันที่ 5 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2520 อาชีพ ท�ำนา เชื้อชาติ ไทย สัญชาติ ไทย สัณฐาน สูง สีเนื้อ ด�ำแดง ต�ำหนิ นิ้วโป้งมือซ้าย บิดาชื่อ นายจ�ำปี มารดาชื่อ นางกัลยา นามสกุล เกตุทอง บ้านเลขที่ 65 /1 หมู่ 7 บ้านคอวัง ต�ำบลท่าผา อ�ำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี อุปสมบท วันที่ 22 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2550 ณ พัทธสีมา วัดโพธิร์ ตั นาราม ต�ำบลปากแรต อ�ำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี พระอุปชั ฌาย์ พระพิศาล พัฒน์โสภณ วัดบ้านโป่ง ต�ำบลบ้านโป่ง อ�ำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี พระกรรมวาจาจารย์ พระปลัดประทุม สีลปทุมโม วัดโคกหม้อ ต�ำบล ปากแรต อ�ำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี พระอนุสาวนาจารย์ พระครู วินัยธรสมพร จตฺตภโย วัดดอนตูม ต�ำบลบ้านโป่ง อ�ำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี ติดตามข่าวสารวัด จากเพจเฟชบุ๊ค วัดหนองเสือยางปราสาท ราชบุรี

RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

(

)4

.indd 87

87

25/1/2564 14:55:06


88

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

2

.indd 88

22/1/2564 15:11:53


CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 89

89

22/1/2564 15:11:59


History of buddhism....

วัดปากท่อ พระครูสุภัทรญาณนิวิฐ เจ้าอาวาสวัดปากท่อ เจ้าคณะอำ�เภอปากท่อ

วัดปากท่อ ตั้งอยู่เลขที่ 69 หมู่ที่ 1 ต�ำบลปากท่อ อ�ำเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี 70140 โทรศัพท์ : 084-7026122 Facebook : วัดปากท่อ

90

2

วัดปากท่อเป็นวัดเก่าแก่ อยู่คู่กับอ�ำเภอปากท่อมาเป็นเวลาช้านาน มีพระเถระปกครองผ่านมาหลายยุคหลายสมัย ล้วนแล้วแต่ได้พฒ ั นา ให้วดั มีความเจริญรุง่ เรือง มัน่ คงถาวรตลอดมา เพือ่ เป็นเครือ่ งยึดเหนีย่ วจิตใจให้ แก่พุทธศาสนิกชนทั่วไป

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

.indd 90

21/1/2564 16:46:14


เสนาสนะต่างๆภายในวัด

อุโบสถ

หอฉัน วิหารหลวงปู่ขาว

เมรุ

ศาลาการเปรียญ

พระครูสุภัทรญาณนิวิฐ เจ้าอาวาสวัดปากท่อ / เจ้าคณะอ�ำเภอปากท่อ

RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 91

91

21/1/2564 16:46:32


History of buddhism....

วัดหทัยนเรศวร์ Wat Hatai Nares

พระอธิการมานะ ฐานธมฺโม เจ้าอาวาสวัดหทัยนเรศวร์ Phra Athikarn Mana Thanthammo, abbot of Wat Hatai Nares

92

6

วัดหทัยนเรศวร์ ตั้งอยู่เลขที่ 133 หมู่ที่ 5 บ้านพุมะเดื่อ ต�ำบลห้วยยางโทน อ�ำเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี Wat Hatai Nares is located at 133 village no.5, Ban Phu Maduea, Huai Yang Ton sub-district, Pak Tho district, Ratchaburi province

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

2

.indd 92

21/1/2564 14:11:23


ประวัติความเป็นมาโดยย่อของ “วัดหทัยนเรศวร์”

“วัดหทัยนเรศวร์” เป็นวัดที่ตั้งชื่อขึ้นตามค�ำผสมกันระหว่าง “หทัย” ทีแ่ ปลว่า “หัวใจ” กับค�ำว่า “นเรศวร” อันเป็นพระนามของ พระมหากษัตริยไ์ ทยทีม่ คี วามส�ำคัญพระองค์หนึง่ ในอดีต ซึง่ ทัง้ สองค�ำ รวมกันแล้วแปลความหมายได้ว่า “หัวใจของพระนเรศวร” ซึ่ง จุดก�ำเนิดของวัด เกิดขึ้นจากแรงกุศลศรัทธาในพระพุทธศาสนาของ คุณหญิงสมนึก เปรมวัฒนะ ที่ได้มีเจตนารมณ์ในการสร้างวัดอุทิศบุญ กุศลถวายแด่ องค์สมเด็จพระนเรศวรมหาราช อันเป็นทีเ่ คารพสักการะ

Brief history of “Wat Hatai Nares”

“Wat Hatai Nares” is a temple that was named after the combination between two words which are “Hatai” (means heart) and “Naresuan”, name of one of the most significant late king of Thailand. The meaning of both words combined is “Heart of King Naresuan”. This temple originated from faith in Buddhism of Khun-Ying Somnuek Premwattana, who intended to build temple for offering the merit of this construction to the late king Naresuan whom worshipped by many people.

คุณหญิงสมนึก เปรมวัฒนะ RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

6

2

.indd 93

93

21/1/2564 14:11:36


วัดหทัยนเรศวร์ มีเนือ้ ที่ 26 ไร่ 38 ตารางวา ทีด่ นิ ทัง้ หมดเป็นทีด่ นิ ส่วนตัว คุณหญิงสมนึก เปรมวัฒนะ ได้รว่ มกันกับ คุณพิไลพรรณ ธนชาติ ซึ่งเป็นธิดา อุทิศถวายไว้ในพระพุทธศาสนาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556 และได้ด�ำเนินการปรับแต่งถมที่จัดสร้างเสนาสนะอาคารต่างๆ ได้แก่ อาคารการเปรียญ เป็นที่ประดิษฐานองค์พระพุทธชินราชจ�ำลอง เป็น อาคารหลังแรก, อาคารหอฉัน, อาคารปฏิบัติธรรม, อุโบสถ เริ่มสร้าง ตัง้ แต่ปี 2558, พระมหาธาตุเจดียห์ ทัยนเรศวร์, กุฏสิ งฆ์, ทีพ่ กั ผูป้ ฏิบตั ธิ รรม, พลับพลาทีป่ ระดิษฐานรูปหล่อจ�ำลององค์สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ตลอดถึงระบบสาธารณูปโภคอื่นๆ อีกมากมาย โดยการด�ำเนินการ สร้างเกือบทัง้ หมดเป็นทุนทรัพย์สว่ นตัวของ คุณหญิงสมนึก เปรมวัฒนะ “วัดหทัยนเรศวร์” ได้รับการประกาศอนุญาต “การสร้างวัด” อย่างถูกต้องตามกฎหมาย ณ วันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 และได้ มีประกาศตัง้ ขึน้ เป็นวัดในพระพุทธศาสนา มีฐานะเป็นนิตบิ คุ คล สังกัด คณะสงฆ์มหานิกาย ถูกต้องตามกฎหมายเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2561 ตลอดถึงได้แต่งตั้งเจ้าอาวาสรูปแรกอย่างเป็นทางการเมื่อ วันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 คือ พระอธิการมานะ ฐานธมฺโม The scale of the land of “Wat Hatai Nares” is 10.27 acres and 144 square meters. The whole area was Khun-Ying Somnuek Premwattana’s property which she together with her daughter, Mrs.Pilaiwan Thanachat, had jointly offered this land for building temple in 2013. After that, they covered this land with soil and smoothened it for preparing a place to build buildings in the temple as follows: Sermon hall, the place where imitation of Phra Phuttha Chinnarat has been enshrined which this building is the first building. Monk’s eating hall, Dharma practicing hall, ubosot (Buddhist Sanctuary) – it was built in 2015. Next, Phra Maha That Chedi Hatai Naret, monk’s houses, temporary accommodation for layperson who practice the dharma at this temple, the pavilion where bronze statue of late king Naresuan is placed. Apart from that, all public utilities in this temple also managed by them which most of the construction were financially supported by personal property of Khun-Ying Somnuek Premwattana. “Wat Hatai Naret” was permitted to be built as “official temple” legally on 6 July 2017 and there was an officially announcement on 26 March 2018 to establish this temple as Buddhist temple which its status is corporation that belongs to Maha Nikaya including the appointment of the first official abbot on 27 May 2018 which is Phra Athikarn Mana Thanthammo.

สถานที่ปฏิบัติธรรมภายในวัดหทัยนเรศวร์

พระอธิการมานะ ฐานธมฺโม เจ้าอาวาสวัดหทัยนเรศวร์

94

6

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

2

.indd 94

21/1/2564 14:11:42


พระมหาธาตุเจดีย์หทัยนเรศวร์ ต่อมาเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 ทางส�ำนักนายกรัฐมนตรี จึงมีประกาศพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานวิสุงคามสีมาแก่ วัดหทัยนเรศวร์ อย่างเป็นทางการ “วัดหทัยนเรศวร์” ได้ด�ำเนินกิจกรรมในพระพุทธศาสนาต่างๆ โดยเฉพาะการปฏิบตั เิ จริญวิปสั สนากรรมมัฏฐาน ซึง่ เป็นอีกเจตนารมณ์ หนึง่ ของผูส้ ร้างทีต่ อ้ งการให้วดั แห่งนี้ เป็นสถานทีส่ ปั ปายะ มีบรรยากาศ ที่สงบ วิเวกเหมาะส�ำหรับเป็นสถานที่ปฏิบัติเจริญจิตตภาวนา นอกจากนัน้ ทางวัดยังได้ดำ� เนินกิจกรรมในทางพระพุทธศาสนาอืน่ ๆ อาทิ กิจกรรมท�ำบุญตักบาตร ฟังเทศน์ ฟังธรรมทุกวันพระ ทั้งในและ นอกพรรษา, กิจกรรมบรรพชาหมู่สามเณรภาคฤดูร้อน, กิจกรรม กระท�ำประทักษิณรอบพระธาตุเจดีย์ฯ ในวันส�ำคัญ เช่น วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอาสาฬหบูชา เป็นต้น และกิจกรรมพิเศษอืน่ ๆ ทีจ่ ดั ขึน้ ในโอกาสส�ำคัญอีก ตลอดถึงวัดหทัยนเรศวร์ยงั ค�ำนึงถึง ความเข้มแข็ง ของชุมชน จึงพร้อมจะสนับสนุนเป็นก�ำลังให้กับกิจกรรมทุกกิจกรรม ทีจ่ ะเป็นประโยชน์ทั้งแก่ชุมชนส่วนรวมและประชาชาติตลอดไป

After that on 9 July 2019, Office of the Prime Minister announced that Royal family officially granted Wisungkhamsima (Land granted from Royal family to build temple or other religious buildings) to Wat Hatai Naret. “Wat Hatai Naret” has been performing many Buddhist activities especially meditation which is one of an intention of the founder that want this temple to be a tranquil place which is suit and convenient for praying and meditation. Moreover, this temple also performed other religious activities such as merit-making by giving alms to monks, listen to sermon on every Buddhist Holy day whether during or after Buddhist lent, group ordination of novices in Summer, prataksina (Clockwise-walking) around Phra That Chedi in significant day such as Maka Bucha day, Visakha Bucha day and the day before the Buddhist lent etc.. In addition, other special activities that were held up during important opportunity. Apart from that, Wat Hatai Niret take the strength of community into consideration. Then, we are ready to support every activity that will benefit community and nation everlastingly. RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

6

2

.indd 95

95

21/1/2564 14:11:47


กิจกรรมภายในวัด

96

6

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

2

.indd 96

21/1/2564 14:11:55


RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

6

2

.indd 97

97

21/1/2564 14:12:00


History of buddhism....

วัดเขากูบอินทาราม

พระครูสุนทรสารวาที เจ้าอาวาสวัดเขากูบอินทาราม

วัดเขากูบอินทาราม ตั้งอยู่เลขที่ 63 หมู่ที่ 1 ต�ำบลอ่างหิน อ�ำเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี

ร่วมสร้างเส้นทางบุญ

ญาติโยม ผู้มีจิตศรัทธา มีจิตร่วมท�ำนุบำ� รุงบูรณะปฏิสังขรณ์อุโบสถ กับวัดเขากูบอินทาราม สามารถโอนผ่านบัญชี ธนาคารกรุงเทพ บัญชีเลขที่ 530-0-45255-3 สาขาถนนศรีสุริยวงศ์ ชื่อบัญชี พระครูสุนทรสารวาที (ทองดี มณีจันทร์) หรือสอบถามเพิ่มเติมได้ที่ พระครูสุนทรสารวาที เจ้าอาวาสวัดเขากูบอินทาราม โทร. 081-7635428

98

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

4

.indd 98

25/1/2564 15:12:21


วั ด เขากู บ อิ น ทาราม เดิ ม เป็ น ส� ำ นั ก สงฆ์ โดยมี ห ลวงพ่ อ หนู พัฒนาเรื่อยมา และสร้างเป็นวัดเมื่อ พ.ศ. 2505 ได้รับพระราชทาน วิสงุ คามสีมาใน พ.ศ. 2506 มีพ่ น้ื ทีส่ ร้างวัดจ�ำนวน 27 ไร่ 90 ตารางวา เดิมชือ่ “วัดป่าไผ่” ชาวบ้านเห็นว่าบริเวณวัดเป็นเขาลูกเล็กๆ เหมือนกูบ จึงเรียกว่า “วัดเขากูบ” ต่อมามีตระกูลอินช�ำนาญ และ ตระกูลอินทะนิล ร่วมกันบริจาคทีด่ นิ เพือ่ สร้างวัด จึงเปลีย่ นชือ่ วัดเป็นวัดเขากูบอินทาราม จนถึงปัจจุบัน

RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 99

99

21/1/2564 15:50:10


ท�ำเนียบเจ้าอาวาส

รูปที่ 1 พระสมุห์ทองสุข สุวณฺโณ รูปที่ 2 พระอธิการแป๊ะ ญาณวิปุโล รูปที่ 3 พระอธิการอนุพงษ์ โอภาโส รูปที่ 4 พระครูสุนทรสารวาที พ.ศ. 2538 – ปัจจุบัน

100

4

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

.indd 100

21/1/2564 15:50:20


พระครูสนุ ทรสารวาที พระนักเทศน์แห่งราชบุรี

พระครูสนุ ทรสารวาที เจ้าอาวาสวัดเขากูบอินทาราม ท่านได้พฒ ั นา วัดเรื่อยมา จากที่เคยเป็นวัดเก่า และทรุดโทรม ท่านได้สร้างกุฏิสงฆ์ ศาลาการเปรียญ อุโบสถ และได้สร้างสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํส)ี องค์ใหญ่ สูง 16 เมตร 9 เซนติเมตร กว้าง 8 เมตร อยู่บนยอดเขา ซึ่ง สาธุชนสามารถเดินทางมากราบสักการบูชาได้ทุกวัน พระครูสุนทรสารวาที นอกจากท่านเป็นพระนักพัฒนาแล้ว ท่าน ยังเป็นพระนักเทศน์แห่งจังหวัดราชบุรี เป็นพระธรรมจาริก ปฏิบตั งิ าน ด้านการเผยแผ่พระพุทธศาสนาควบคู่ไปกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต ชาวบ้าน เป็นพระวิทยากร อบรมให้ความรูด้ า้ นคุณธรรม จริยธรรมแก่ หน่วยงานทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาทั่วไป เป็นผู้น�ำในการพัฒนา ชุมชนตลอดจนถึงการจัดอบรมต่างๆ ตามที่หน่วยงานนั้นๆ ขอความ อนุเคราะห์ เป็นพระวิปัสสนาจารย์ ท�ำการสอนการปฏิบัติกรรมฐาน ตามหลักค�ำสอนของพระพุทธศาสนา เป็นพระนักพัฒนา ท�ำงาน สงเคราะห์ชุมชน ช่วยเหลือชาวบ้านด้วยกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้ความ เป็นอยู่ของชาวบ้านดีขึ้น ท่านท�ำให้สังคมไทยได้ตระหนักว่า พระนั้น ไม่ได้มีบทบาทเฉพาะพิธีกรรมแต่เพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่ยังมี บทบาทที่ส�ำคัญในการพัฒนาชุมชนและสังคมให้มีความเป็นอยู่ที่ดี อี ก ด้ ว ย นอกจากนี้ ท่ า นยั ง อนุ รั ก ษ์ วั ฒ นธรรมประเพณี เ กี่ ย วกั บ พระพุทธศาสนาไว้อย่างมัน่ คง ต่อเนือ่ ง จัดปฏิบตั ธิ รรมในวันส�ำคัญทาง พระพุทธศาสนาให้กับฆราวาสญาติโยม อีกทั้งจัดบวชชีพราหมณ์ใน วาระต่างๆ ตลอดทั้งปี อาทิ ปฏิบตั ธิ รรม วันวิสาขบูชา ทุกปี ซึง่ เป็นวันแห่งสันติภาพของโลก เป็นวันส�ำคัญทางศาสนาพุทธส�ำหรับพุทธศาสนิกชนทุกนิกายทั่วโลก ทั้ ง เป็ น วั น หยุ ด ราชการในหลายประเทศ และวั น ส� ำ คั ญ ในระดั บ นานาชาติตามข้อมติของสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ ทางวัดเขากูบ อินทาราม จัดปฏิบัติธรรมประพฤติพรหมจรรย์ บวชชีพราหมณ์ และ อุปสมบทหมู่เป็นประจ�ำทุกปี สวดมนต์ข้ามปี ท�ำดีข้ามวัน ทุกวันเจริญรุ่งเรืองด้วยการท�ำดี จัดทุกปี เทศมหาชาติ แสดงพระธรรมเทศนาเรื่องพระเวสสันดรชาดก 3 ธรรมาสน์ ตั้งแต่กัณฑ์ที่ 1 ถึงกัณฑ์ที่ 13 จัดทุกปี ประเพณี ก ารตั ก บาตรเทโว เป็นประเพณีทางพุทธศาสนาที่ อนุรักษ์มาโดยตลอด เทศนาและอบรมศีลธรรม ให้กับหน่วยงานทหาร ข้าราชการ พลเรือน นิสิต นักศึกษา ตลอดปี อาทิ บรรยายธรรมให้กับนักศึกษา หลักสูตรวิชาชีพครูมหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง เรื่องสัมมา อาชีพ เพื่อหลักปฏิบัติตนส�ำหรับนักศึกษาที่จบหลักสูตร และอบรม โครงการเสริมสร้างจริยธรรมข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน

พระครูสุนทรสารวาที

เจ้าอาวาสวัดเขากูบอินทาราม

RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 101

101

21/1/2564 15:50:24


History of buddhism....

วัดเขาถ�้ำทะลุ พระอธิการนรินทร์ กิตฺติสาโร เจ้าอาวาสวัดเขาถ้ำ�ทะลุ

วัดเขาถ�้ำทะลุ ตั้งอยู่เลขที่ 137 หมู่ที่ 3 ต�ำบลดอนทราย อ�ำเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี โทรศัพท์ : 086 – 932 - 8368

วัดเขาถ�้ำทะลุ ห่างจากถนนเพชรเกษมประมาณ 3 กิโลเมตร โดยเลี้ยวมาทางสี่แยกไฟแดงปากท่อ (ถ้ามาจากถนนพระราม 2 ธนบุรีปากท่อ เลี้ยวขวาเข้าทางจังหวัดราชบุรี พอถึงสี่แยกไฟแดงปากท่อเลี้ยวซ้าย ถ้ามาจากถนนเพชรเกษม จากนครปฐมหรือราชบุรี พอถึง สี่แยกไฟแดงปากท่อ ให้เลี้ยวขวา) 102

2

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

.indd 102

22/1/2564 10:37:41


ประวัติความเป็นมา

เมื่อปี พ.ศ. 2506 คุณยายแปลก อิ่มศรี พร้อมด้วยบุตรหลาน มีศรัทธาถวายที่ดิน 9 ไร่เศษ หน้าถ�้ำทะลุ สร้างเป็นส�ำนักสงฆ์ เป็นประเดิมครั้งแรก ส�ำนักสงฆ์แห่งนี้ คนทั่วไปเรียกว่า “ส�ำนักสงฆ์ เขาถ�ำ้ ทะลุ” ตามชือ่ ถ�ำ้ อันเป็นสถานทีต่ งั้ ปัจจุบนั วัดเขาถ�ำ้ ทะลุมเี นือ้ ที่ 28 ไร่เศษ ประกอบด้วยพืน้ ราบ อ่างน�ำ้ มีนำ�้ ไหลลอดภูเขา ถ�ำ้ น้อยใหญ่ และเนินเขาล�ำเนาไพรสวยงามน่าดู เหมาะสมยิ่งนัก กิจกรรม งานปฏิบัติธรรมประจ�ำปีบรรพชาสามเณร บวชชีพราหมณ์ 1-9 เมษายน ของทุกปี

พระพุทธชินราชบนเขา หน้าตักกว้าง 18 เมตร

พระพุทธไสยาสน์ ในถ�้ำ ยาว 25 เมตร

RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 103

103

22/1/2564 10:37:59


History of buddhism....

วัดเขาช่องพราน พระครูวิสุทธานันทคุณ เจ้าอาวาสวัดเขาช่องพราน / เจ้าคณะอำ�เภอโพธาราม

104

2

วัดเขาช่องพราน ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ที่ 2 ต�ำบลเตาปูน อ�ำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี 70120

ที่มาของชื่อเขาช่องพราน

บริเวณนี้เดิมทีเป็นป่าอุดมสมบูรณ์ไปด้วยพันธุ์พืชและสัตว์ป่า ตั้งอยู่ ระหว่างเขาสองลูกคือ เขาช่องพรานและเขาขวาง ซึ่งเป็นทางเดินของสัตว์ป่า ทีล่ งมากินน�ำ้ ทีห่ นองน�ำ้ ขนาดใหญ่ (ปัจจุบนั เป็นบ่อน�ำ้ )ทีต่ รงนีเ้ องทีน่ ายพราน ชอบมาคอยดักยิงสัตว์ป่าจึงถูกขนานนามว่า “เขาช่องพราน”

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

.indd 104

22/1/2564 13:59:45


เรื่องเล่าวัดเขาช่องพราน

วัดเขาช่องพรานเป็นวัดที่ก่อตั้งมานานมาก จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2409 ปลายรั ช สมั ย พระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว พระยาเทพประชุน (ปัน้ ) บิดาของ พระยาปรีชานุสาสน์ (เสริญ ปันยารชุน) ได้บริจาคทีด่ นิ ร่วมกับชาวบ้านในละแวกนัน้ และได้รเิ ริม่ บูรณะเพิม่ เติม การก่อสร้างวัดเขาช่องพรานขึน้ มาใหม่ ซึง่ ในขณะนัน้ มี พระครูรามัญบดี (อาจารย์ศาลา) เป็นเจ้าอาวาส และญาติมิตรเชื้อสายชาวรามัญใน ละแวกบ้านเตาปูนและใกล้เคียง ร่วมกันบูรณะก่อสร้างวัดเขาช่องพราน จนแล้วเสร็จ ในต้นรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ในปี พ.ศ. 2415

ประวัติศาสตร์ ในอดีต

ในสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช พระองค์ทรงรับสัง่ ให้พระยาอินทรอภัย ยกก�ำลังไปตั้งรักษาหนองน�้ำที่เขาช่องพราน เพราะกองทัพพม่า มัก น�ำช้างม้าศึก ของตนมาเดิ มน�้ ำ ที่ ห นองน�้ำ เขาช่องพรานนี ้ (ซึง่ บัดนีท้ างวัดได้บรู ณะให้เป็นสระน�ำ้ ประวัตศิ าสตร์) และกองทัพพม่าก็ใช้ช่องเขานี้ เป็นทางล�ำเลียงเสบียงอาหารด้วย เช่นเดียวกับที่รับสั่งให้พระยารามัญวงศ์ยกก�ำลังไปรักษาหนองน�้ำ ที่เขาชะงุ้ม อ�ำเภอโพธาราม ด้วยวัตถุประสงค์เดียวกัน

ล�ำดับเจ้าอาวาส

รูปที่ 1 พระครูรามัญบดี (อาจารย์ศาลา) รูปที่ 2 พระอาจารย์เดิม รูปที่ 3 ท่านเจ้าคุณพระรามัญบดี รูปที่ 4 พระอธิการคลัง (อาจารย์ปากลัด) รูปที่ 5 พระอาจารย์ปุก รูปที่ 6 พระครูต๊ะ ปุปฺผคณฺโฑ (พระครูบวรวิสุทธิวัตร) รูปที่ 7 พระอธิการกรา รกฺขิโต พ.ศ. 2533 - 2541 รูปที่ 8 พระครูวสิ ทุ ธานันทคุณ, ผศ.ดร., ป.ธ.3 พ.ศ. 2541 - ปัจจุบนั

สถานที่น่าสนใจ ภายในวัดเขาช่องพราน

ถ�ำ้ พระนอน ลึกประมาณ 120 เมตร ภายในถ�ำ้ มีทกี่ ว้างบ้าง แคบบ้าง ทีก่ ว้างทีส่ ดุ ประมาณ 14 เมตร มีพระพุทธไสยาสน์อยู่ 1 องค์ขนาดยาว ประมาณ 8 เมตร สูงประมาณ 1 เมตร และมีพระพุทธรูปต่างๆ ในถ�้ำ อีกประมาณกว่า 200 องค์ ไม่ปรากฏว่าผู้ใดเป็นผู้สร้างแต่สันนิษฐาน ว่าใครสร้างขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยาบ้าง สุโขทัยบ้าง พระบรมธาตุบวรวิสทุ ธิเจดีย์ ขึน้ บันได 499 ชัน้ เพือ่ กราบสักการะ พระบรมสารีริกธาตุ (พระอุรังคธาตุ) พระบรมสารีริกธาตุ 4 สัณฐาน และพระอรหันตธาตุ โดยคุณทองดี คุณพูนทรัพย์ หรรษาคุณารมณ์ เป็นผู้ถวาย และได้กราบอาราธนา สมเด็จพระญาณสังวร (พระยศใน ขณะนัน้ ) พลเรือเอกสุภา คชเสนีย์ ผูบ้ ญ ั ชาการทหารสูงสุด เป็นประธาน ในพิธฯี และบริเวณนีส้ ามารถมองเห็นทิวทัศน์ได้กว้างไกล สามารถชืน่ ชม ค้างคาวร้อยล้าน ณ จุดนี้ก็ได้อีกบรรยากาศหนึ่ง ถ�ำ้ ค้างคาว ซึง่ อยูห่ า่ งจากปากถ�ำ้ พระนอนประมาณ 40 เมตร ปากถ�ำ้ อยู่สูงจากพื้นดินประมาณ 20 เมตร ปากถ�้ำกว้างประมาณ 1 เมตร ภายในกว้างมากและมืดทึบ เป็นที่อาศัยของค้างคาวหนูจ�ำนวนมาก หลายล้านตัว ทุกวันเวลาประมาณเวลา 17.30 - 19.00 น. ค้างคาวจะบิน ออกจากถ�ำ้ ไปหากินและจะบินกลับเข้าถ�ำ้ เวลารุง่ เช้า 05.00 น. สิง่ ทีน่ า่ ประทับใจส�ำหรับนักท่องเทีย่ วคือ การมาดูคา้ งคาวบินออกจากปากถ�ำ้ ด้วยความเร็วพร้อมกันโดยมีจ่าฝูงเป็นตัวน�ำ มีลักษณะคล้ายควันด�ำ ที่พุ่งออกจากปล่องใช้เวลา ประมาณ 1-3 ชั่วโมง (แล้วแต่ฤดูกาล) ตลาดนัดตอนเย็น (เปิดเป็นบางวัน) มีอาหารอร่อยให้เลือกหลากหลาย และสินค้าใช้สอยอื่นๆ เปิดบริเวณลานกว้างในวัดเขาช่องพราน

พระครูวิสุทธานันทคุณ เจ้าอาวาสวัดเขาช่องพราน / เจ้าคณะอ�ำเภอโพธาราม

RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 105

105

22/1/2564 13:59:57


History of buddhism....

วัดหนองโพ

วัดหนองโพ ต�ำบลหนองโพ อ�ำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี 70120

ประวัติหลวงพ่อด�ำ

หลวงพ่อด�ำเป็นพระพุทธรูปประจ�ำวัดหนองโพ ต�ำบลหนองโพ อ�ำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี อยู่คู่กับวัดหนองโพมาโดยตลอดกว่า 200 ปี โดยลักษณะองค์ มีขนาดหน้าตักกว้าง 29 นิ้ว เท่าองค์จริงลายจีวรดอกพิกุล โดยเชื่อว่าเป็นพระรัตน หรือเป็นพระรุ่นช่วงต้น รัตนโกสินทร์ ซึ่งมีความขลังความศักดิ์สิทธิ์ ที่ชาวบ้านต�ำบลหนองโพนับถือ และได้กล่าวขวัญเล่าลือสืบต่อมา โดยเฉพาะเรื่องของการ ห้าม ฟ้า ดิน อากาศ หรือเรื่องขอพรต่างๆ ก็จะได้สมประสงค์ สิ่งที่องค์หลวงพ่อด�ำชอบ คือ ประทัด พวงมาลัย และภาพยนตร์ เป็นต้น 106

2

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

.indd 106

21/1/2564 14:20:39


วัดหนองโพ เดิมชื่อ วัดหนองแขม ขอตั้งวัดเมื่อปี พ.ศ. 2349 มี เนื้อที่ 20 ไร่ 2 งาน เป็นวัดเก่าแก่ มีอายุกว่า 200 ปี โดยได้รับบริจาค ที่ดินให้สร้างวัดจาก นายหนู ปัญญาสาร, นางพ้ง ตั้งโหว, นายไหม ปัญญาสาร, นายโถ แก้วทอง, นายโหมด แก้วทอง, นางหลอด แผงสุข คนรุน่ เก่าเล่าขานกันต่อมาว่า ท�ำเลทีต่ งั้ วัดอยูช่ ายทุง่ นาใกล้หนองน�ำ้ ธรรมชาติขนาดใหญ่ มีปา่ แขมขึน้ หนาแน่น เมือ่ ตัง้ วัดเสร็จแล้วจึงเรียก ว่า “วัดหนองแขม” ปัจจุบันหนองน�้ำแห่งนี้ได้ตื้นเขิน แปรสภาพเป็น ท้องนาไปหมดแล้ว ในปี พ.ศ. 2489 ได้รับอนุญาตจากทางราชการ เปลีย่ นชือ่ จาก “วัดหนองแขม” เป็น “วัดหนองโพ” ให้สอดคล้องกับ ชื่อของต�ำบลที่ตั้งวัด และวัดหนองโพ เป็นวัดเดียวในต�ำบลหนองโพ

วิหารพระบรมสารีริกธาตุ จากประเทศศรีลังกา

ต่อมาในปี พ.ศ. 2529 พระครูพิพิธศาสนกิจ เจ้าอาวาส ได้หารือ กับคณะกรรมการวัดและญาติโยม เห็นว่าถ้าปล่อยทิง้ ไว้จะเสียหายมากขึน้ จึงได้เริ่มบูรณะซ่อมแซมสร้างให้อยู่ในสภาพที่ถาวรมั่นคงเหมือน ก่อสร้างใหม่ทงั้ หลัง จนส�ำเร็จเรียบร้อย อุโบสถหลังนี้ กว้าง 8.70 เมตร ยาว 17.50 เมตร ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 25 กันยายน 2533 พระประธานประจ�ำอุโบสถนั้น เป็นพระประธานองค์ เดิมที่มีมาตั้งแต่ พ.ศ. 2475 และได้ปิดทองฝังลูกนิมิตเมื่อเดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2537 โรงเรียนพระปริยัติธรรม - อาคารปฏิบัติธรรม

การปกครองวัดหนองโพ วัดหนองโพมีเจ้าอาวาสปกครองเท่า ที่คนเฒ่าคนแก่จ�ำได้มี ดังนี้

1. พระอธิการบุญ 2. พระอธิการอู่ด 3. พระอธิการฉุย 4. พระอธิการอ้น 5. พระอธิการปุย 6. พระอธิการเกิด 7. พระครูโชคชัย ธมฺมโชโต 8. พระมหาพิศาล 9. พระอธิการมนัส 10. พระมหาบุญเสริม 11. พระครูพิพิธศาสนกิจ 12. พระมหาสมคิด อตฺถสิทฺโธ (องค์ปัจจุบัน)

• กิจกรรมสวดมนต์ข้ามปี

• กิจกรรมเวียนเทียน วันส�ำคัญทางพระพุทธศาสนา

• ค่ายคุณธรรม-จริยธรรม ส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดราชบุรี แห่งที่ 23

พระมหาสมคิด อตฺถสิทฺโธ ป.ธ.7 รองเจ้าคณะอ�ำเภอโพธาราม / เจ้าอาวาสวัดหนองโพ

RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 107

107

21/1/2564 14:20:51


History of buddhism....

วัดโพธิ์ไพโรจน์ พระมหาพิสิษฐ์ โสภิโต เจ้าอาวาสวัดโพธิ์ไพโรจน์ เจ้าคณะตำ�บลโพธาราม – บ้านฆ้อง

วัดโพธิ์ ไพโรจน์ ชาวบ้านมักจะเรียกว่า วัดโพธิ์ ตั้งอยู่เลขที่ 44/1 ถนนโพธิ์ ไพโรจน์ ต�ำบลโพธาราม อ�ำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย อยู่ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค 15

องค์หลวงพ่อสุโขทัย

สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2521 สร้างกลางแจ้ง ฐานรองรับกว้าง 16 x 16 เมตร ลักษณะทั่วไป โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กก่ออิฐถือปูน ยกพืน้ รับฐานองค์พระสูง 1 เมตร มีกำ� แพงแก้วล้อมรอบมีชานลอยด้านหน้ามีบนั ไดขึน้ ลง 2 ข้างตัง้ จุกชีตรงกลางรับองค์พระ หน้าตักกว้าง 9 เมตร องค์พระสูงจากพื้นถึงพระเกตุ 17 เมตรเศษ องค์พระพุทธรูปหันพระพักตร์ทางทิศตะวันออก พระพุทธลักษณะ พิมพ์สุโขทัยหน้านาง สวยงามมาก 108

2

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

.indd 108

22/1/2564 10:07:32


วัดโพธิ์ไพโรจน์ ตั้งวัดเมื่อปี พ.ศ. 2430 ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2468

ประวัติพระมหาพิสิษฐ์ โสภิโต

ชื่อพระมหาพิสิษฐ์ ฉายา โสภิโต อายุ 61 พรรษา 36 วิทยฐานะ เปรียญธรรม 6 ประโยค นักธรรมเอก ปริญญาตรี วัดโพธิ์ไพโรจน์ ต�ำบลโพธาราม อ�ำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี สถานะเดิม ชือ่ พิสษิ ฐ์ นามสกุล ตันวิสัยเขม เกิดวัน 6 ฯ 8 ค�ำ ่ ปีกุน วันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2502 บิดา นายสวัสดิ์ ตันวิลยั มารดา นางเซีย่ น ทองกัลยา บ้านเลขที่ 110/1 หมู่ที่ 7 ต�ำบลคลองตาคต อ�ำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่ง 1. เจ้าอาวาสวัดโพธิ์ไพโรจน์ (พ.ศ. 2556) 2. เจ้าคณะต�ำบลโพธาราม – บ้านฆ้อง (พ.ศ. 2560)

อุปสมบท

ล�ำดับอดีตเจ้าอาวาส

1. หลวงพ่อสุด 2. หลวงพ่อหงษ์ (ชาวบ้านเรียกหลวงพ่อโหว) 3. หลวงพ่อปลอด 4. พระวินัยธรเชียง 5. พระครูโพธาภิรักษ์ 6. พระครูสมุห์สังวาลย์ โสภโณ 7. พระมหาพิสิษฐ์ โสภิโต พ.ศ. 2556-ปัจจุบัน

วัน 5 ฯ 7 ค�ำ ่ ปีฉลู วันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2528 เวลา 10.11 น. ณ พัทธสีมา วัดโพธิไ์ พโรจน์ ต�ำบลโพธาราม อ�ำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี พระอุปัชฌาย์ พระครูโพธาภิรักษ์ วัดโพธิ์ไพโรจน์ ต�ำบลโพธาราม อ�ำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี พระกรรมวาจาจารย์ พระครูใบฎีกาฉอย วราสโภ วัดโพธิไ์ พโรจน์ ต�ำบลโพธาราม อ�ำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี พระอนุสาวนาจารย์ พระครูสมุหส์ งั วาล โสภโณ วัดโพธิไ์ พโรจน์ ต�ำบล โพธาราม อ�ำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี อุโบสถหลังปัจจุบนั ทีส่ ร้างสมัยหลวงพ่อเชียงเป็นเจ้าอาวาส (ภาพ อุโบสถหลังนีเ้ ป็นภาพทีห่ ลวงพ่อ พูล ปฏิสงั ขรณ์ใหม่) อุโบสถดังกล่าว มีความกว้าง 7 เมตร ยาว 20 เมตร สร้างเสร็จ พ.ศ. 2476 ได้รับ วิสงุ คามสีมาเมือ่ พ.ศ. 2468 อุโบสถได้ปฏิสงั ขรณ์ใหม่เมือ่ พ.ศ. 2523 การปฏิสงั ขรณ์อโุ บสถใหม่เพราะถูกพายุพดั เสียหาย ลักษณะทัว่ ไป อุโบสถหลังเก่าเปลี่ยนตัวไม้ที่ช�ำรุดออก เปลี่ยนกระเบื้องมุงหลังคา เป็นกระเบื้องเคลือบจันทบุรี เปลี่ยนช่อฟ้าใบระกาติดกระจกใหม่ ทั้งหน้าบรรณคันทวย บัวหัวเสา ปรับพื้นเพดาน ประตูหน้าต่าง ทั้งตัว อุโบสถทาสีใหม่หมด

ศาลาการเปรียญ

ปีพ.ศ. 2543 ได้ท�ำการเคลื่อนศาลาการเปรียญอีกครั้ง ครั้งนี้ได้ เคลื่อนจากที่เดิมถอยหลังไปอีกประมาณ 60-70 เมตร ยกตัวอาคาร จากพื้นถึงตัวอาคาร ประมาณ 7 ศอก ตัวอาคารชั้นบนอยู่ในสภาพ เดิมๆ ส่วนชั้นล่างได้ขยายให้กว้างกว่าเดิม ชั้นล่างมีเนื้อที่ กว้าง 24 x 38.50 เมตร ล้อมรอบด้วยก�ำแพงสูง 1 เมตร

ซุ้มประตูหน้าวัด

สร้างเสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2527 ลักษณะทั่วไป เป็นโครงสร้างแบบ ทรงไทยจตุรมุข หลังคา 2 ชั้น ต่อบุษบกคอนกรีตเสริมเหล็ก 7 ชั้น ช่อฟ้าใบระกาแบบใบเทศ มีคันทวย บัวหัวเสาทุกต้นหน้าบรรณทั้ง 4 ด้าน มีรูปพระพุทธประวัติด้านเหนือ ภาพประสูตร ด้านตะวันออก ภาพตรัสรู้ ด้านใต้ ภาพปรินิพพาน ด้านตะวันตก ภาพนาคปรก แผ่พงั พานเจ็ดเศียรเสาทุกต้นมีลวดลายไทย ลูกฟักรักร้อยรอบพืน้ ชาน ด้านบน หลังคามุงด้วยกระเบื้องเคลือบแบบเกล็ดปลา

พระมหาพิสิษฐ์ โสภิโต

เจ้าอาวาสวัดโพธิ์ ไพโรจน์ เจ้าคณะต�ำบลโพธาราม – บ้านฆ้อง

RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 109

109

22/1/2564 10:07:43


วัดเฉลิมอาสน์ History of buddhism....

พระครูสังฆรักษ์พินิจ ปญฺญาวโร เจ้าอาวาสวัดเฉลิมอาสน์

110

2

วัดเฉลิมอาสน์ ตั้งอยู่เลขที่ 57 หมู่ 2 ต�ำบลท่าชุมพล อ�ำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี โทรศัพท์ : 085-955-9145 สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 43 ไร่-งาน 83 ตารางวา

หลวงพ่ อ ชั ย เฉลิ ม พล พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ สมัยอยุธยา

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

.indd 110

22/1/2564 14:44:39


วัดเฉลิมอาสน์

ประวัติ (ย่อ)

วัดเฉลิมอาสน์ ตัง้ อยูท่ เี่ ลขที่ 57 หมูท่ ี่ 2 ต�ำบลท่าชุมพล อ�ำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี เดิมเป็นวัดร้างชื่อ วัดพุทรา เป็นวัดเก่าแก่ตั้งแต่สมัยปลาย กรุงศรีอยุธยา (จากค�ำบอกเล่าพบเจดียเ์ ก่าริมแม่นำ�้ ) พบกรุพระบูชาเนือ้ ดินเผา มีพระพุทธรูปศักดิส์ ทิ ธิป์ ระจ�ำวัดนามว่า “พระชัยเฉลิมพล” เป็นศิลปะสกุล ช่างอยุธยา วัดพุทรา ถูกปล่อยให้ร้างมานาน เหตุเพราะไม่มีพระสงฆ์จ�ำพรรษา กระทั่งในปี พ.ศ. 2300 เศษ พระสงฆ์ และชาวบ้านได้ท�ำบูรณะวัดพุทรา ให้มพี ระภิกษุจำ� พรรษา ก่อสร้างโบสถ์ กุฏสิ งฆ์ เป็นต้น ชาวบ้านได้ทำ� นุบำ� รุง พระพุทธศาสนา และวัดพุทรา สืบต่อเรื่อยมา กระทั่งวันที่ 9 กรกฏาคม พ.ศ. 2465 พระครูธรรมเสนานี เจ้าคณะ จังหวัดราชบุรี เจ้าอาวาสวัดโชค ได้สง่ พระเกลีย้ ง โสภิโต มาเป็นเจ้าอาวาสฯ หลวงพ่อเกลี้ยง ท่านได้ปกครองพัฒนาวัดพุทธา ให้เจริญรุ่งเรือง ก่อสร้าง โบสถ์ วิหาร เสนาสนะ โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม และได้ขอเปลีย่ นชือ่ วัดใหม่ โดยใช้ชื่อว่า “วัดเฉลิมอาสน์” หลวงพ่อเกลี้ยง ได้พัฒนาวัด และพัฒนาการศึกษาเรื่อยมา จนได้รับ แต่งตัง้ ให้ดำ� รงต�ำแหน่ง เจ้าคณะอ�ำเภอโพธาราม และได้รบั พระราชทานตัง้ สมณศักดิ์ เป็น พระราชาคณะชัน้ สามัญ ที่ “พระโพธารามคณารักษ์” และ ช่วยงานพระศาสนา จวบจนท่านมรณภาพ ในวัย 76 ปี ล�ำดับเจ้าอาวาส 7. ท่านเจ้าคุณฯ พระโพธารามคณารักษ์ 1. หลวงปู่บุญ (เกลี้ยง โสภิโต) 2. หลวงปู่อำ�่ 8. พระครูสาธิตสุตการ (ผลัด ปุญฺญสิริ) 3. หลวงปู่แก้ว 4. หลวงพ่อเฉย 9. พระครูอนุกูลวุฒิกิจ (วงศ์ ธีรปญฺโญ) 5. พระอาจารย์มา 10. พระครูโชติสวุ รรณคุณ (ประเทือง โชติปญุ โฺ ญ) 11. พระครูสังฆรักษ์พินิจ ปญฺญาวโร 6. พระค�่ำ พ.ศ. 2563 - ปัจจุบัน

: วัดเฉลิมอาสน์ จังหวัดราชบุรี

พระโพธารามคณารักษ์ (เกลี้ยง โสภิโต พาทัน)

ศาลาหลวงปู่บุญ

รูปเหมือนหลวงพ่อจรูญ

หลวงพ่อจรูญ RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 111

111

22/1/2564 14:44:51


History of buddhism....

วัดแจ้งเจริญ พระครูศรีธรรมาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดแจ้งเจริญ ที่ปรึกษาเจ้าคณะอำ�เภอวัดเพลง

112

4

วัดแจ้งเจริญ ตั้งอยู่เลขที่ 67 หมู่ที่ 3 ต�ำบลจอมประทัด อ�ำเภอวัดเพลง จังหวัดราชบุรี SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

.indd 112

21/1/2564 16:56:05


วัดแจ้งเจริญ มีเนื้อที่ 22 ไร่ 2 งาน เป็นวัดเก่าแก่ จากการรายงานการส�ำรวจจิตรกรรมฝาผนัง วัดแจ้งเจริญ ของกรมศิลปากร เมื่อวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2525 ปรากฏว่าอายุการสร้างวัดประมาณ 257 ปี วัดแจ้งเจริญเคยถูกไฟไหม้มาครั้งหนึ่ง ประมาณ 60 ปีที่แล้ว แต่ก็ได้ปฏิสังขรณ์ เรื่อยมาจนถึงทุกวันนี้มีสภาพค่อนข้างดี มีการเปลี่ยนแปลงเป็นส่วนน้อย

RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 113

113

21/1/2564 16:56:16


การบริหารการปกครองวัดแจ้งเจริญ ไม่ทราบว่าเคยมีเจ้าอาวาส ปกครองมาทั้งหมดกี่รูป แต่เท่าที่คนเฒ่าคนแก่จดจ�ำได้และพอมี หลักฐานปรากฏอยู่ มีดังนี้ 1. เจ้าอธิการนวม 2. หลวงปู่เถื่อน 3. พระอธิการป๋อง 4. พระอธิการม่วง 5. พระอธิการแหวน 6. พระครูศรีสุจิตรัตนาทร 7. พระครูศรีธรรมาภรณ์ 114

4

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

.indd 114

21/1/2564 16:56:23


ประวัติเจ้าอาวาส

พระครูศรีธรรมาภรณ์ ฉายา สีลสํวโร นามสกุล รุ่งศรี อายุ 84 พรรษา 64 วิ ท ยฐานะ น.ธ.เอก,ป.ธ.4 วั ด แจ้ ง เจริ ญ หมู ่ ที่ 3 ต�ำบลจอมประทัด อ�ำเภอวัดเพลง จังหวัดราชบุรี 70170 สังกัด คณะสงฆ์มหานิกาย สถานะเดิม ชื่อนายสุนารถ นามสกุล รุ่งศรี เกิดวันที่ 15 มกราคม 2479 อาชีพท�ำนา เชือ้ ชาติไทย สัญชาติไทย บิดานายทิว มารดานางนิม่ เป็น บุตรคนโตในจ�ำนวนพี่น้องทั้งหมด 13 คนภูมิลำ� เนา(บ้านเกิด) หมู่ที่ 6 ต�ำบลจอมประทัด อ�ำเภอวัดเพลง จังหวัดราชบุรี อุปสมบท เมือ่ อายุ 20 ปี ณ วันที่ 12/5/2499 ณ วัดแจ้งเจริญ ต�ำบลจอมประทัด อ�ำเภอวัดเพลง จังหวัดราชบุรี พระอุปัชฌาย์ พระครูโสภณสิริคุณ วัดเพลง อ�ำเภอวัดเพลง จังหวัดราชบุรี พระกรรมวาจาจารย์ พระอธิการ บุญเหลือ วัดแจ้งเจริญ อ�ำเภอวัดเพลง จังหวัดราชบุรี พระอนุสาวนาจารย์ พระวินัยธร ม่วง วัดยางงาม อ�ำเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี การศึกษาทางโลก ประถมศึกษา โรงเรียนวัดแจ้งเจริญ ต�ำบลจอม ประทัด อ�ำเภอวัดเพลง จังหวัดราชบุรี การศึกษาทางธรรม นักธรรมชัน้ ตรี วัดแจ้งเจริญ ต�ำบลจอมประทัด อ�ำเภอวัดเพลง จังหวัดราชบุรี นักธรรมชั้นโท วัดแจ้งเจริญ ต�ำบล จอมประทัด อ�ำเภอวัดเพลง จังหวัดราชบุรี นักธรรมชัน้ เอก วัดแจ้งเจริญ ต�ำบลจอมประทัด อ�ำเภอวัดเพลง จังหวัดราชบุรี ผลงานด้านสาธารณูปการ ก่อสร้างอุโบสถ พ.ศ. 2525 ก่อสร้าง วิหาร,ศาลาการเปรียญ,ศาลาฌาปณสถาน ผลงานด้านการศึกษา มอบทุนการศึกษาทุกปี ในเขตต�ำบล

พระครูศรีธรรมาภรณ์

เจ้าอาวาสวัดแจ้งเจริญ ที่ปรึกษาเจ้าคณะอ�ำเภอวัดเพลง

RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 115

115

21/1/2564 16:56:28


116

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

The one hotel.indd 116

23/1/2564 9:50:03


สิ่งอ�ำนวยความสะดวก แอร์ ทีวี ตู้เย็น เครื่องท�ำน�้ำอุ่น Free Wi-Fi

สถานที่ท่องเที่ยว

บ้านหอมเทียน ประมาณ 3 กม. สวนผึ้งไฮแลนด์ ประมาณ 3 กม. ตลาดโอ๊ะป่อย ประมาณ 4 กม. เวเนโต้ ประมาณ 6 กม. โคโรฟิว ประมาณ 8 กม. เดอะ ซีนเนอรี่ ประมาณ 9 กม. ธารน�้ำร้อน ประมาณ 15 กม. น�้ำตกเก้าโจน ประมาณ 16 กม. ร้านครัวม่อนไข่ ประมาณ 16 กม. เดอะรีสอร์ท ประมาณ 29 กม. Alpaca Hill ประมาณ 30 กม.

THE ONE HOTEL

Line : @theone2018 Facebook : the one hotel The One Hotel

ตั้งอยู่เลขที่ 55 หมู่ 1 ต�ำบลสวนผึ้ง อ�ำเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี 70180 โทรศัพท์ : 081-9426148, 085-6864493 Facebook : the one hotel Line : @theone2018 CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

The one hotel.indd 117

117

23/1/2564 9:50:19


History of buddhism....

วัดหนองหมี พระครูจริยธรรมานุรักษ์ เจ้าคณะอำ�เภอสวนผึ้ง / เจ้าอาวาสวัดหนองหมี

118

2

วัดหนองหมี ตั้งอยู่เลขที่ 5 หมู่ที่ 4 ต�ำบลท่าเคย อ�ำเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี 70180 โทรศัพท์ : 084-542-4459 E-mail : jariyatam58@hotmail.com

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

.indd 118

22/1/2564 10:52:53


วัดหนองหมี เป็นอีกวัดหนึง่ ในอ�ำเภอสวนผึง้ จังหวัดราชบุรี เพราะ มีเจดีย์ตกน�้ำมัน ที่เดียวในโลก และ ต้นโพธิ์ใหญ่ อายุกว่า 100 ปีแล้ว วัดหนองหมี ยังมี ฝูงผึ้งหลวง มาเกาะท�ำรัง จ�ำนวนมากกว่า 30 รัง ท�ำให้ประชาชนและนักท่องเทีย่ วชอบเดินทางมาชมและถ่ายภาพเก็บ ไว้เป็นทีร่ ะลึกอยูเ่ ป็นประจ�ำ ชาวบ้านเชือ่ ว่า วัดหนองหมี เป็นทัพหลวง ท�ำให้ผงึ้ หลวงมาท�ำรังทีว่ ดั หนองหมี เพราะโดยปกติแล้วผึง้ หลวงจะไม่ มาเกาะอาศัยที่ต้นโพธิ์ แต่ที่วัดหนองหมี กลับมีผึ้งหลวงมาเกาะท�ำรัง จ�ำนวนมากทุกๆ ปี จึงเป็นนิมติ ทีแ่ ปลกมากนัน่ เอง ใครทีอ่ ยากชมความ น่าอัศจรรย์ก็แวะมาเที่ยวชมได้ ที่วัดหนองหมี อ�ำเภอสวนผึ้ง จังหวัด ราชบุรี ส่วนใครอยากเสริมความเป็นสิรมิ งคลให้กบั ตัวเองก็ตอ้ งไปลอดใต้ ท้องช้าง ตามความเชื่อของคนโบราณ ที่วัดหนองหมี ก็มีช้างตัวใหญ่ แต่เป็นช้างจ�ำลอง ใครสนใจก็สอบถามรายละเอียดจากทางวัดได้

ประวัติพระครูจริยธรรมานุรักษ์(วัลลภ จริยธัมโม)

พระครูจริยธรรมานุรักษ์ (วัลลภ จริยธัมโม) เกิดวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2502 สถานที่เกิด เลขที่ 13 หมู่ที่ 1 ต�ำบลบ้านปราโมทย์ อ�ำเภอ บางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม การศึกษา - นักธรรมชั้นเอก (น.ธ.เอก) ณ ส�ำนักเรียนวัดปราโมทย์ ต�ำบล บ้านปราโมทย์ อ�ำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม(2530) - ประถมศึกษาชัน้ ปีที่ 7 โรงเรียนวัดปราโมทย์ ต�ำบลบ้านปราโมทย์ อ�ำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม(2517) - หลักสูตรประกาศนียบัตรการบริหารกิจการคณะสงฆ์(ป.บส.) คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย(2556) - ปริญญาตรี พุทธศาสตรบัณฑิต(พธ.บ.สาขาการจัดการเชิงพุทธ) คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย(2561) เข้าศึกษา พ.ศ. 2560 ส�ำเร็จการศึกษา 19 กุมภาพันธ์ 2562 อุปสมบท วันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2523 ณ วัดปราโมทย์ ต�ำบล บ้านปราโมทย์ อ�ำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม ต�ำแหน่ง/หน้าที่ เป็นเจ้าอาวาสวัดหนองหมี (2534) เป็นเจ้าคณะต�ำบลป่าหวาย – ท่าเคย (2546) เป็นพระกรรมวาจาจารย์ (2546) เป็นเจ้าคณะอ�ำเภอสวนผึ้ง (2547) เป็นพระอุปัชฌาย์ (2548)

พระครูจริยธรรมานุรักษ์

เจ้าคณะอ�ำเภอสวนผึ้ง / เจ้าอาวาสวัดหนองหมี

RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 119

119

22/1/2564 10:53:08


TRAVEL GUIDE

บันทึกเส้นทางท่องเที่ยวจังหวัดราชบุรี

Travel guide

RATCHABURI

เวลาอั น มี ค ่ า ของคุ ณ ฝากความสุ ข และความทรงจ� ำ อั น ประทั บ ใจไว้ ใ นบั น ทึ ก ...ราชบุ รี

ราชบุรี มีชื่ออันเป็นมงคลยิ่ง หมายถึง “เมืองพระราชา” ต�ำนานการเผยแผ่พระพุทธศาสนาจากอินเดีย สมัยพระเจ้าอโศกมหาราชถึงสุวรรณภูมิ สู่ดินแดนวัฒนธรรมลุ่มน�้ำแม่กลองและ สายหมอกแห่งขุนเขาตะนาวศรี

เขาแก่นจันทร์ หรือ เขาจันทร์แดง ยอดเขาที่สูงที่สุดของ จังหวัดราชบุรี มีความสูงประมาณ 141 เมตร เป็นจุดชมวิวชั้นดี สามารถ มองเห็น ตัวเมืองราชบุรีได้แบบ 360 องศา

ท่องแดนโบราณคดี “อุทยานหินเขางู” ทะเลสาบที่ตั้งอยู่กลางหุบเขา อุทยานหินเขางู เพิ่งเปิดเป็นแหล่งท่องเที่ยวได้ไม่กี่ปี ผู้คนจึงไม่ค่อยพลุกพล่าน แต่ก็มีมาเรื่อยๆไม่ได้เงียบเหงา ก�ำลังรอให้ทุกท่านเข้าไปสัมผัส ถ่ายรูป เช็คอินเล่าให้เพื่อน ว่าเรามาแล้ว...และด้วยเป็นเขตอภัยทาน บริเวณรอบๆ จึงมีฝูงลิงอาศัยอยู่เป็นจ�ำนวนมาก และที่ถ�้ำเขางูแห่งนี้มี งานนมัสการเป็นประจ�ำทุกปี ในวันขึ้น 1 ค�ำ่ เดือน 11 ของทุกปี 120

.indd 120

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

23/1/2564 9:30:07


ดูหนังใหญ่ที่ “วัดขนอน” “วัดหนังใหญ่” จึงกลายเป็นชื่อที่เรียกอย่างล�ำลองของวัดขนอน ไปโดยปริยายอีกชื่อหนึ่งด้วยเหตุที่ว่าทางวัดเป็น เจ้าของตัวหนังใหญ่ 313 ตัว ตกทอดมาตั้งแต่สมัย หลวงปู่กล่อม ในสมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่งแต่ละตัวล้วน แสดงฝีมือเชิงช่างในการแกะสลักตัวหนังอย่างวิจิตร บรรจง บัดนี้นำ� มาจัดแสดงเป็นพิพิธภัณฑ์หนัง ใหญ่ อยู่ที่เรือนไทยอันร่มรื่นภายในวัด

โรงงานเซรามิค เถ้า ฮง ไถ่ ก่อตั้งมาเกือบ 80 ปี เถ้า ฮง ไถ่ ราชบุรี โรงงานเซรามิคที่มีชื่อเสียงของ ราชบุรี ตั้งอยู่ในอ�ำเภอเมือง ได้ก่อก�ำเนิดขึ้นมาเกือบ 80 ปี เป็นโรงงาน ที่ผลิตงานเซรามิคหรืองาน เครื่องปั้นดินเผาแห่งแรกอย่าง โอ่งมังกรที่เราๆ รู้จักกันดี ด้วยเพราะที่จังหวัดราชบุรีแห่งนี้ มีเนื้อดินชั้นดีที่เหมาะแก่การน�ำมาปั้นโอ่งมังกรนั่นเอง แต่ด้วย ยุคสมัยที่เปลี่ยนไปการน�ำโอ่งมาใช้เป็นภาชนะกักเก็บน�ำ้ ก็เริ่ม ลดน้อยลงคนหันไปใช้นำ�้ ประปาที่ไหลมาจาก๊อกน�ำ้ มากขึ้น โอ่งจึงกลายมาเป็นส่วนหนึ่ง ของเครื่องประดับตกแต่งบ้านแทน จุดเด่นของผลิตภัณฑ์ เถ้าฮงไถ่

ตลาดน�้ำด�ำเนินสะดวก ตลาดน�้ำด�ำเนินสะดวก เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่มี ชื่อเสียงมากของราชบุรี เปิดตัวสู่สายตาชาวโลกใน ฐานะแหล่ง ท่องเที่ยวครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2510 ในภาพของตลาดลอยน�ำ้ ที่คราคร�่ำไปด้วยเรือพาย ล�ำย่อมบรรทุกสินค้าที่ี จ�ำเป็น ต่อการครองชีพ พ่อค้าแม่ค้าสวมเสื้อผ้าโทนสีเข้มแบบชาวสวน ใส่หมวกงอบ ใบลาน พายเรือเร่ขายแลก เปลี่ยนสินค้า ในยาม ที่เส้นทางคมนาคมทางน�ำ้ เป็นหัวใจหลัก

โอโซนมากที่สุดติดอันดับของโลก จังหวัดราชบุรี ตั้งอยู่ในเขตที่ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุม ตะวันตกเฉียงใต้ จากมหาสมุทรอินเดีย แต่การที่มีเทือกเขา ตะนาวศรีบังไว้อยู่ ท�ำให้เป็นที่อับฝน คืออ�ำเภอสวนผึ้ง อ�ำเภอบ้านคา และอ�ำเภอจอมบึง มีฝนตกน้อยและเป็น พื้นที่หนึ่งที่มีฝนตกน้อยที่สุด RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 121

121

25/1/2564 16:36:15


กราบพระอริยสงฆ์ทั่วไทย อุทยานหุ่นขี้ผึ้งสยาม สัมผัสบรรยากาศร่มรื่น ในสวนพฤกษชาติกว้างใหญ่ ถึง 42 ไร่ ของอุทยานหุ่นขี้ผึ้งสยาม ใน ต.วังเย็น อ.บางแพ จ.ราชบุรีที่เกิดขึ้นจากความตั้งใจของท่านผู้ก่อตั้งซึ่งมี รากฐานการเริ่มต้นของงานมาจากงานหล่อพระพุทธรูป งานหล่อประติมากรรมรูปต่างๆ นับจากอดีตจนสู่ปัจจุบัน เป็นระยะเวลากว่า 40 ปีที่ผ่านมา

ใส่บาตรยามเช้า ตลาดน�้ำด�ำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรีเก่าแก่นับร้อยกว่าปีของไทยและ มีชื่อเสียงไปไกลถึงต่างประเทศ ใช้เป็นฉากหนัง หรือถ่ายแบบในหลายครั้ง จนเป็นหนึ่งในค�ำขวัญของราชบุ​ุรี

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติราชบุรี จัดแสดงเกี่ยวกับราชบุรีในด้านประวัติศาสตร์ โบราณคดี ชาติพันธุ์วิทยา ธรณีวิทยา ศิลปะ พื้นบ้าน เครื่องมือเครื่องใช้ในการจับสัตว์น�้ำ วัฒนธรรมความเป็นอยู่ของกลุ่มชนต่างๆ ในจังหวัดราชบุรี เช่น ลาวโซ่ง กะเหรี่ยงและ ไท-ยวน รวมทั้งแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ

พิชิต “เขารอบพระ” ณ อุทยานแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติไทยประจัน ก่อนขึ้นเขาหรือลงเขา อย่าลืม แวะสันอ่างเก็บน�้ำไทยประจัน สถานที่พักผ่อนชมทิวทัศน์ที่นักท่องเที่ยวนิยมมากางเต็นท์ เล่นน�้ำกันอย่างจุใจ เป็นจุดเริ่มต้นการอุ่นเครื่อง WARM UP การปีนเขาท่องเที่ยวภายในอุทยานฯ แห่งนี้อีกด้วย 122

.indd 122

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

23/1/2564 9:30:21


“สุนทรีย์แลนด์ แดนตุ๊กตา” ดินแดนแห่งความฝันของคนรักตุ๊กตา จากประสบการณ์และความรัก ในการท�ำตุ๊กตามากกว่า 30 ปี สู่การสร้างสรรค์ สุนทรีย์แลนด์

แก่งส้มแมว ศูนย์ศึกษาพรรณไม้ป่า สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ เกาะแก่ง ล�ำธาร ธรรมชาติ งดงามไร้การปรุงแต่ง ความสวยงาม ที่ธรรมชาติสร้างสรรค์ โดยไร้การ ปรุงแต่ง คือสิ่งที่วิเศษสุดๆ ส�ำหรับสองดวงตาของ นักท่องเที่ยวที่ได้มาเห็น

ตลาดเก่าโคยกี๊ เป็นตลาดถนนคนเดิน อยู่บริเวณถนนวรเดช เลียบแม่น�้ำ แม่กลอง ในอดีตบริเวณนี้เป็นตลาดการค้าโอ่งมังกร จะเห็นได้จากหลักฐานท่าเทียบเรือเก่าบริเวณริมแม่น�้ำแม่กลอง ตลาดมีการจ�ำหน่ายสินค้าโอทอป อาหารพื้นเมือง ผลิตภัณฑ์ พื้นบ้านและข้าวของเครื่องใช้ต่างๆ โดยเริ่มตั้งแต่เวลาประมาณ 16.00-21.00 น. ทุกวันศุกร์ วันเสาร์ และวันอาทิตย์

‘สตรีทอาร์ต บ้านโป่ง’ บ้านโป่ง เป็นเมืองที่มีกลิ่นอายคลาสสิคของเมืองเก่า ผสมผสาน ความติสท์ ด้วยมีกราฟฟิตี้ และงานศิลปะอยู่ทั่วเมือง จุดเริ่ม ต้นมาจาก โครงการ 70110 : BAN PONG URBAN ART TERMINAL 2017 เป็นโครงการพัฒนาศิลปวัฒนธรรม ร่วมสมัยชุมชนเมืองบ้านโป่ง ด�ำเนินการโดยกลุ่ม AT EXCHANGE (ART TERMINAL EXCHANGE) ที่ก่อตั้งเมื่อปี 2016 เพื่อเป็น สถานที่แลกเปลี่ยนความรู้ แนวคิด และประสบการณ์ทางศิลปะ ทั้งจากศิลปินชาวไทย ชาวต่างชาติ ไปจนถึงศิลปินพื้นบ้าน RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 123

123

25/1/2564 16:38:48


“ถ�้ำสติ” พระนั่งเมืองแก้ว (วัดป่าพุทธาราม) วัดป่าพุทธาราม มีพระพุทธรูปหินแกะสลัก ขนาดใหญ่เป็นเนื้อเดียวกับตัวถ�้ำสวยงาม เป็นอย่างมาก บรรยากาศวัดเงียบสงบร่มรื่น ด้วยพืชพรรณนานาชนิด เหมาะแก่การปฏิบัติธรรม

หินงอก หินย้อย ถ�้ำร้อน ถ�ำ้ เย็น ท่องถ�ำ้ ด�ำดิน วัดถ�ำ้ สาริกา อีกหนึ่งวัดถ้ามีโอกาสมาเที่ยวที่จังหวัดราชบุรี ควรหาเวลา และมาเที่ยวในอ�ำเภอโพธาราม เพื่อมากราบไหว้พระ สักการะพระสังกระจาย และพระสีวรี ณ วัดถ�้ำสาริกา

เที่ยวถ�้ำผาวิจิตร ถ�้ำจอมพล หลวงตาที่เฝ้าถ�้ำ แนะน�ำว่า “แสงจะส่องลงมาตรง พระพุทธรูปพอดีอยู่ในช่วงเวลา 13.15 น.ของทุกวัน” (แต่บางข้อมูลก็บอกว่า ช่วง 14.00-14.30 น.) และจะสวยมากในช่วงเดือน เมษายนและ เดือนสิงหาคมของทุกปี

“ถ�้ำเขาบิน” ต.หินกอง อ.เมือง เอกลักษณ์ภายในห้องๆ หนึ่งของถ�้ำ ซึ่งมีลักษณะหินย้อย สีขาวหม่นยื่นออกมาเหมือนนกเขาก�ำลังกระพือปีกเหมือนก�ำลัง จะบินจึงได้ชื่อว่า “เขาบิน” ภายในถ�ำ้ ประดับไฟท�ำให้เห็น ความสวยงาม ของหินงอก หินย้อย ได้อย่างชัดเจน สวยงามตลอดปี และยังคงเป็นแหล่งท่องเที่ยวทาง ธรรมชาติที่มีความสวยงามยิ่ง อยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ 124

.indd 124

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

23/1/2564 9:30:38


Thai temple in Ratchaburi

431

วัด

ย้อนรอยประวัติศาสตร์เมืองแห่งพระราชา พ.ศ. 218 กับพระเจ้าอโศกมหาราช จุดเริ่มต้นการประดิษฐานพระพุทธศาสนาในดินแดนสุวรรณภูมิ

RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 125

125

23/1/2564 9:30:43


RATCHABURI

รายชื่อวัดใน

คนสวยโพธาราม คนงามบ้านโป่ง เมืองโอ่งมังกร วัดขนอนหนังใหญ่ ตื่นใจถ�้ำงาม ตลาดน�้ำด�ำเนิน เพลินค้างคาวร้อยล้าน ย่านยี่สกปลาดี

อ�ำเภอเมืองราชบุรี วัดมหาธาตุวรวิหาร (พระอารามหลวง) ถนนเขางู ต�ำบลหน้าเมือง

วัดศรีสุริยวงศาราม

วัดห้วยไผ่ ต�ำบลห้วยไผ่ ม.4 วัดหนองหลวง ต�ำบลห้วยไผ่ ม.6 วัดอรุณรัตนคีรี ต�ำบลห้วยไผ่ ม.3 วัดเขาถ�้ำกุญชร

(พระอารามหลวง) ถนนอัมรินทร์ หน้าเมือง

ต�ำบลห้วยไผ่ ม.2

วัดสัตตนารถปริวัตร

ต�ำบลเจดีย์หัก ม.3 วัดเขางู ต�ำบลเจดีย์หัก ม.6 วัดทุ่งตาล ต�ำบลเจดีย์หัก ม.8 วัดห้วยหมู ต�ำบลเจดีย์หัก ม.9

(พระอารามหลวง) ต�ำบลหน้าเมือง ถ.วรเดช วัดช่องลม(พระอารามหลวง) ต�ำบลหน้าเมือง ถ.ไกรเพชร วัดเขาวัง (พระอารามหลวง) ต�ำบลหน้าเมือง ถ.เพชรเกษม

วัดศรีชมภู ต�ำบลหน้าเมือง ถ.มนตรีสุริยวงศ์

วัดโรงช้าง ต�ำบลหน้าเมือง ถ.เขางู

วัดเทพอาวาส ต�ำบลหน้าเมือง ถ.มนตรีสุริยวงศ์ วัดเกาะนัมมทา- ปทวลัญชาราม ต�ำบลหน้าเมือง ถ.มนตรีสรุ ยิ วงศ์

วัดเขาเหลือ ต�ำบลหน้าเมือง ถ.เขางู วัดคูบัว ต�ำบลคูบัว ม.3

วัดโขลงสุวรรณคีรี

ต�ำบลคูบัว ม.6 วัดแคทราย ต�ำบลคูบัว ม.13 วัดท่าช้าง ต�ำบลคูบัว ม.10 วัดบ้านโพธิ์ ต�ำบลคูบัว ม.11

วัดทุ่งราษฎร์ศรัทธาธรรม (ตากแดด) ต�ำบลคูบัว ม.1

วัดหนามพุงดอ ต�ำบลคูบัว ม.14 วัดดอนตะโก ต�ำบลดอนตะโก ม.3

วัดใหม่นครบาล

ต�ำบลดอนตะโก ม.5 วัดดอนแจง ต�ำบลดอนตะโก ม.4 วัดเขาลอย ต�ำบลดอนตะโก ม.7 วัดนาหนอง ต�ำบลดอนแร่ ม.2

วัดเจติยาราม (เจดีย์หัก)

วัดบางศรีเพ็ชร

วัดใหม่ราษฎร์เจริญธรรม

วัดเขาวังสดึงษ์

ต�ำบลคุ้งกระถิน ม.4 วัดศาลเจ้า ต�ำบลคุ้งกระถิน ม.2 วัดเหนือวน ต�ำบลคุ้งน�้ำวน ม.2 วัดจันทคาม ต�ำบลคุ้งน�้ำวน ม.6 วัดราชคาม ต�ำบลคุ้งน�้ำวน ม.4 วัดท่าสุวรรณ ต�ำบลคุง้ น�ำ้ วน ม.2 วัดคุง้ กระถิน ต�ำบลคุง้ น�ำ้ วน ม.1

ต�ำบลบ้านไร่ ม.6 ต�ำบลบางป่า ม.1

ต�ำบลเขาแร้ง ม.15 วัดหนองหอย (พระอารามหลวง) ต�ำบลเขาแร้ง ม.2

วัดไผ่ล้อม

วัดพิกุลทอง

ต�ำบลบางป่า ม.8

ต�ำบลพิกุลทอง ม.3

วัดลาดเมธังกร

วัดถ�ำ้ เขาชุมดง

ต�ำบลบางป่า ม.6

ต�ำบลน�ำ้ พุ ม.4

วัดโคกพิกุลเรียง

วัดใหม่ต้นกระทุ่ม

วัดหนองแช่เสา

ต�ำบลคุ้งน�้ำวน ม.3

ต�ำบลบางป่า ม.10 วัดอัมพวัน (ต้นมะม่วง) ต�ำบลบางป่า ม.4

ต�ำบลน�ำ้ พุ ม.5

วัดเกาะเจริญธรรม

วัดบางสองร้อย

ต�ำบลสามเรือน ม.6

ต�ำบลหลุมดิน ม.4 บ้านบางกระ

วัดโพธิ์ราษฎร์ศรัทธาธรรม

วัดท่ามะเฟือง

ต�ำบลสามเรือน ม.2

ต�ำบลอ่างทอง ม.3

วัดเกาะลอย

วัดหนองน�ำ้ ขุ่น

ต�ำบลเกาะพลับพลา ม.8 ต�ำบลเกาะพลับพลา ม.15

ต�ำบลห้วยไผ่ ม.9 บ้านหนองน�ำ้ ขุน่ วัดบางกระ (เก่า) (เชิงหวายร้าง) ต�ำบลท่าราบ ม.4 บ้านบางกระ

วัดดอนตลุง

วัดไผ่ล้อม

ต�ำบลเกาะพลับพลา ม.2

ต�ำบลอ่างทอง ม.2 บ้านดอนงิ้ว

วัดอรัญญิกาวาส

วัดน�ำ้ พุไชยสิทธิ์

ต�ำบลเจดีย์หัก ม.4

ต�ำบลน�้ำพุ ม.2

วัดอมรินทาราม (วัดตาล)

วัดเขานกกระจิบ ต�ำบลน�ำ้ พุ ม.13 วัดมณีมงคล(วัดเขาหัวคน)

ต�ำบลโคกหม้อ ม.1

วัดศิริเจริญเนินหม้อ ต�ำบลโคกหม้อ ม.3 วัดพญาไม้ ต�ำบลโคกหม้อ ม.2

วัดบางลี่เจริญธรรม

ต�ำบลโคกหม้อ ม.4 วัดบ้านกล้วย ต�ำบลท่าราบ ม.3 วัดบ้านซ่อง ต�ำบลท่าราบ ม.7

ต�ำบลน�้ำพุ ม.14

วัดหนองนางแพรว ต�ำบลน�้ำพุ ม.6 วัดหินกอง ต�ำบลหินกอง ม.1 วัดห้วยปลาดุก ต�ำบลหินกอง ม.7

วัดหนองตาหลวง ต�ำบลหินกอง ม.3

วัดพเนินพลู

วัดเขากรวด

วัดห้วยไม้เต็ง ต�ำบลน�ำ้ พุ ม.2 บ้านโรงเลื่อย

วัดคลองโพธิ์เจริญ

วัดหนองกระทุ่ม

ต�ำบลท่าราบ ม.5

ต�ำบลหินกอง ม.10 วัดทุ่งน้อย ต�ำบลหินกอง ม.11

วัดราชสิงขร

วัดญาณสัมปันนาราม

ต�ำบลเกาะพลับพลา ม.2

ต�ำบลดอนแร่ ม.6 บ้านดอนกรอก

วัดบางกระ

วัดห้วยตะแคง

วัดถ�ำ้ เขาสวนหลวง

ต�ำบลหนองกลางนา ม.1

ต�ำบลเกาะพลับพลา ม.5

วัดประเสริฐราษฎร์รังสรรค์

วัดโสดาประดิษฐาราม

ต�ำบลเกาะพลับพลา ม.11 บ้านเขาสวนหลวง

ต�ำบลหนองกลางนา ม.6

ต�ำบลเขาแร้ง ม.3

วัดบ้านไร่อู่เรือ

วัดเขาถ�้ำกรวย

ต�ำบลบ้านไร่ ม.2

ต�ำบลเขาแร้ง ม.7

วัดใหญ่อ่างทอง ต�ำบลอ่างทอง ม.1 วัดห้วยชินสีห์ ต�ำบลอ่างทอง ม.7 วัดโพธิ์โดก ต�ำบลอ่างทอง ม.8 วัดเขาน้อย ต�ำบลอ่างทอง ม.4 วัดท้ายเมือง ต�ำบลพงสวาย ม.2 วัดตรีญาติ ต�ำบลพงสวาย ม.6 วัดธรรมวิโรจน์ ต�ำบลพงสวาย ม.5

วัดเขาพริกพนาราม ต�ำบลห้วยไผ่ ม.9 บ้านหนองน�ำ้ ขุน่

วัดโพธิ์ราษฎร์บูรณะ ต�ำบลพงสวาย ม.3

วัดสุรชายาราม (พระอารามหลวง) ต�ำบลหลุมดิน ม.1 วัดท่าโขลง ต�ำบลหลุมดิน ม.2

วัดเกตุน้อยอัมพวัน ต�ำบลคุ้งกระถิน ม.9

วัดทุ่งหญ้าคมบาง

วัดเกาะลอยอุดมเอกธาราม

ต�ำบลดอนแร่ ม.10

ต�ำบลคุ้งกระถิน ม.7

126

ราชบุรี

SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์

.indd 126

25/1/2564 16:28:00


THE IMPORTANT TEMPLES UTTARADIT

อ�ำเภอบ้านโป่ง วัดบ้านโป่ง ต�ำบลบ้านโป่ง วัดดอนตูม ต�ำบลบ้านโป่ง วัดโกสินารายณ์ ต�ำบลท่าผา ม.18

วัดบ้านฆ้องน้อย ต�ำบลท่าผา ม.12 วัดดอนเสลา ต�ำบลท่าผา ม.5 วัดท่าผา ต�ำบลท่าผา ม.1 วัดยางหัก ต�ำบลท่าผา ม.13 วัดโคกหม้อ ต�ำบลปากแรต ม.9

วัดโพธิ์รัตนาราม

วัดมะขาม ต�ำบลคุ้งพยอม ม.8 วัดล�ำพยอม ต�ำบลคุ้งพยอม ม.6 วัดบางพัง ต�ำบลเบิกไพร ม.8 วัดปลักแรต ต�ำบลเบิกไพร ม.4 วัดหุบกระทิง ต�ำบลเบิกไพร ม.10 วัดบัวงาม ต�ำบลบ้านม่วง ม.2 วัดม่วง ต�ำบลบ้านม่วง ม.5 วัดรับน�้ำ ต�ำบลบ้านม่วง ม.6 วัดบึงกระจับ ต�ำบลหนองกบ ม.4 วัดหนองกบ ต�ำบลหนองกบ ม.3

ต�ำบลปากแรต ม.5 วัดตาผา ต�ำบลนครชุมน์ ม.8 วัดนครชุมน์ ต�ำบลนครชุมน์ ม.6 วัดหัวหิน ต�ำบลนครชุมน์ ม.1

วัดหนองปลาดุก

ต�ำบลนครชุมน์ ม.12

ต�ำบลลาดบัวขาว ม.7

วัดอัมพวนาราม

วัดอุทุมพรทาราม (ท่ามะเดื่อ) ต�ำบลสวนกล้วย ม.1

วัดหนองหญ้าปล้อง

ต�ำบลหนองกบ ม.6

วัดลาดบัวขาว ต�ำบลลาดบัวขาว ม.4

วัดรางวาลย์ วัดหนองกลางด่าน ต�ำบลกรับใหญ่ ม.5 ต�ำบลกรับใหญ่ ม.8 วัดหนองเสือ กรับใหญ่ ม.6

ต�ำบลหนองอ้อ ม.8

กรับใหญ่ ม.4

วัดหนองอ้อตะวันออก ต�ำบลหนองอ้อ ม.6

วัดหนองอ้อตะวันตก ต�ำบลหนองอ้อ ม.7 วัดหัวโป่ง ต�ำบลหนองอ้อ ม.2

วัดหนองปลาหมอ

ต�ำบลหนองปลาหมอ ม.5

วัดชมภูพล ต�ำบลหนองปลาหมอ ม.6

วัดมาบแค ต�ำบลหนองปลาหมอ ม.15

วัดสระตะโก ต�ำบลหนองปลาหมอ ม.13

วัดหนองหิน ต�ำบลหนองปลาหมอ ม.11

วัดโพธิบัลลังก์ ต�ำบลคุ้งพยอม ม.3

วัดตาลปากลัด ต�ำบลคุ้งพยอม ม.11

วัดโพธิโสภาราม ต�ำบลคุ้งพยอม ม.9

วัดบางแพใต้ ต�ำบลบางแพ ม.3 วัดเหนือบางแพ ต�ำบลบางแพ ม.1 วัดท่าราบ ต�ำบลบางแพ ม.7 วัดดอนเซ่ง ต�ำบลบางแพ ม.11 วัดกลางวังเย็น ต�ำบลวังเย็น ม.6 วัดเตาอิฐ ต�ำบลวังเย็น ม.10 วัดหนองม่วง ต�ำบลวังเย็น ม.9 วัดหลวง ต�ำบลวังเย็น ม.3 วัดใหม่อีจาง ต�ำบลวังเย็น ม.2 วัดหัวโพ ต�ำบลหัวโพ ม.2 วัดแหลมทอง ต�ำบลหัวโพ ม.3

วัดดอนมะขามเทศ

ต�ำบลหัวโพ ม.6 วัดแก้ว ต�ำบลวัดแก้ว ม.5 วัดท�ำนบ ต�ำบลวัดแก้ว ม.1 วัดบ้านหลวง ต�ำบลวัดแก้ว ม.4

วัดบ้านใหม่บุปผาราม ต�ำบลวัดแก้ว ม.8

วัดบ้านใหม่เหนือ ต�ำบลวัดแก้ว ม.10 วัดหนองเอีย่ น ต�ำบลวัดแก้ว ม.1 วัดดอนคา ต�ำบลดอนคา ม.4 วัดดอนพรหม ต�ำบลดอนคา ม.2 วัดตากแดด ต�ำบลดอนคา ม.5 วัดดอนใหญ่ ต�ำบลดอนใหญ่ ม.5 วัดดอนสาลี ต�ำบลดอนใหญ่ ม.1 วัดตาลเตี้ย ต�ำบลดอนใหญ่ ม.3

วัดล�ำน�้ำ (คอไห)

ต�ำบลดอนใหญ่ ม.9 วัดใหญ่โพหัก ต�ำบลโพหัก ม.6 วัดทัพโพธิท์ อง ต�ำบลโพหัก ม.2

วัดสามัคคีธรรม

ต�ำบลโพหัก ม.11 วัดบ้านกุ่ม ต�ำบลบางแพ ม.2

วัดป่าศรีถาวรราชบุรี

ต�ำบลหัวโพ ม. 4 วัดบุญมงคล ต�ำบลดอนใหญ่ ม.5

วัดหนองประทุน

ต�ำบลสวนกล้วย ม.8 วัดจันทาราม ต�ำบลหนองอ้อ ม.10

วัดหนองหูช้าง

อ�ำเภอบางแพ

วัดห้วยเจริญผล

วัดอ้ออีเขียว กรับใหญ่ ม.2 วัดเขาขลุง เขาขลุง ม.5 วัดเขาแจง เขาขลุง ม.1 วัดเจริญธรรม เขาขลุง ม.3 วัดไผ่สามเกาะ เขาขลุง ม.12 วัดสระสี่มุม เขาขลุง ม.2 วัดหนองไก่ขนั ต�ำบลเขาขลุง ม.9 วัดสัมมาราม ต�ำบลเขาขลุง ม.10 วัดโป่งยอ ต�ำบลเขาขลุง ม.8 วัดอริยวงศาราม (หนองน�ำ้ ขาว) ต�ำบลดอนกระเบื้อง ม.3

วัดป่าปลักประดู่ ต�ำบลดอนกระเบื้อง ม.7

วัดประชารังสรรค์ ต�ำบลท่าผา ม.10

วัดหมื่นปีวนาราม ต�ำบลปากแรต

วัดป่าสันติพุทธาราม ต�ำบลกรับใหญ่ ม.1

วัดป่าวิมุตยาราม ต�ำบลสวนกล้วย ม.3

UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 127

127

25/1/2564 16:28:04


อ�ำเภอด�ำเนินสะดวก วัดโชติทายการาม ด�ำเนินสะดวก ม.1

วัดราษฎร์เจริญธรรม (วัดสุน่ ) ต�ำบลด�ำเนินสะดวก ม.6

วัดหลักหกรัตนาราม ต�ำบลศรีสุราษฎร์ ม.4

วัดอุบลวรรณาราม ต�ำบลศรีสุราษฎร์ ม.3 วัดใหม่สี่หมื่น ต�ำบลสี่หมื่น ม.1

วัดตาลบ�ำรุงกิจ (ตาล) ต�ำบลสี่หมื่น ม.1

วัดคูหาสวรรค์ ต�ำบลสีห่ มืน่ ม.6 วัดดอนคลัง ต�ำบลดอนคลัง ม.4 วัดโคกตับเป็ด ต�ำบลดอนคลัง ม.1 วัดโคกบ�ำรุงราษฎร์

วัดสอนประดิษฐ์ (เม็ง) ต�ำบลขุนพิทักษ์ ม.3 วัดบ้านไร่ (ใหม่เจริญผล) ต�ำบลบ้านไร่ ม.1

วัดชาวเหนือ ต�ำบลบ้านไร่ ม.7 วัดบัวงาม (พระอารามหลวง) ต�ำบลบัวงาม ม.1 วัดตาลเรียง ต�ำบลบัวงาม ม.6

วัดอมรญาติสมาคม

ต�ำบลท่านัด ม.3 วัดท่าเรือ ต�ำบลแพงพวย ม.2 วัดสีดาราม ต�ำบลแพงพวย ม.1

วัดเนกขัมมาราม

ต�ำบลแพงพวย ม.4

ต�ำบลดอนกรวย ม.5 วัดสนามไชย ต�ำบลดอนกรวย ม.4 วัดเวฬุวนาราม ต�ำบลดอนไผ่ ม.3 วัดปรกเจริญ ต�ำบลตาหลวง ม.6

วัดหลวงพ่อสดธรรมกายาราม

ต�ำบลประสาทสิทธิ์ ม.5

วัดประสิทธาราม

วัดปราสาทสิทธิ์

วัดพิทักษ์เทพาวาส ต�ำบลขุนพิทักษ์ ม.4

ต�ำบลแพงพวย ม.7 วัดโคกหลวง ต�ำบลแพงพวย ม.1

วัดด�ำเนินสะดวก

ต�ำบลด�ำเนินสะดวก ต�ำบลประสาทสิทธิ์ ม.3 บ้านหนองงูเหลือม

อ�ำเภอโพธาราม วัดโพธาราม ต�ำบลโพธาราม วัดโพธิ์ ไพโรจน์ ต�ำบลโพธาราม วัดโชค ต�ำบลโพธาราม วัดไทรอารีรักษ์ ต�ำบลโพธาราม วัดคงคาราม ต�ำบลคลองตาคต ม.3 วัดบ้านหม้อ ต�ำบลคลองตาคต ม.6 วัดป่าไผ่ ต�ำบลคลองตาคต ม.4

วัดเจ็ดเสมียน

ต�ำบลเจ็ดเสมียน ม.3 วัดสนามชัย ต�ำบลเจ็ดเสมียน ม.4 วัดหิรญ ั ราษฎร์ (ตึกหิรญั ราษฎร์) ต�ำบลเจ็ดเสมียน ม.3

วัดใหม่ชำ� นาญ ต�ำบลเจ็ดเสมียน ม.1 วัดบ้านสิงห์ ต�ำบลบ้านสิงห์ ม.4 วัดก�ำแพงใต้ ต�ำบลบ้านสิงห์ ม.9

วัดก�ำแพงเหนือ

ต�ำบลบ้านสิงห์ ม.6 วัดบางกระโด ต�ำบลบ้านสิงห์ ม.1 วัดหนองอ้อ ต�ำบลบ้านสิงห์ ม.3 วัดบ้านเลือก ต�ำบลบ้านเลือก ม.4 วัดโบสถ์ ต�ำบลบ้านเลือก ม.1

วัดพระศรีอารย์

ต�ำบลบ้านเลือก ม.9 วัดหนองรี ต�ำบลบ้านเลือก ม.8 วัดหุบมะกล�ำ่ ต�ำบลบ้านเลือก ม.7 วัดดีบอน ต�ำบลบ้านฆ้อง ม.4 วัดบ่อมะกรูด ต�ำบลบ้านฆ้อง ม.7 วัดบ้านฆ้อง ต�ำบลบ้านฆ้อง ม.2 วัดกลาง ต�ำบลคลองข่อย ม.4

128

วัดวิหารสูง ต�ำบลคลองข่อย ม.3 วัดสร้อยฟ้า ต�ำบลสร้อยฟ้า ม.5 วัดม่วง ต�ำบลสร้อยฟ้า ม.1 วัดขนอน ต�ำบลสร้อยฟ้า ม.4 วัดเกาะ ต�ำบลสร้อยฟ้า ม.2 วัดเฉลิมอาสน์ ต�ำบลท่าชุมพล ม.2 วัดชัยรัตน์ ต�ำบลท่าชุมพล ม.4 วัดท่าหลวงพล ต�ำบลท่าชุมพล ม.6 วัดสมถะ ต�ำบลบางโตนด ม.4

วัดศรีประชุมชน

ต�ำบลบางโตนด ม.4

วัดบางโตนด

วัดหนองกลางดง ต�ำบลช�ำแระ ม.6 วัดหนองโพ ต�ำบลหนองโพ ม.2 วัดเขาชะงุ้ม ต�ำบลเขาชะงุ้ม ม.5 วัดเขาเขียว ต�ำบลเขาชะงุ้ม ม.2 วัดเขาส้ม ต�ำบลเขาชะงุ้ม ม.7 วัดเขาแหลม ต�ำบลเขาชะงุ้ม ม.3 วัดระฆังทอง ต�ำบลเขาชะงุม้ ม.2

วัดหนองใยบัว

ต�ำบลเขาชะงุ้ม ม.5

วัดหนองกวาง ต�ำบลหนองกวาง ม.1

วัดหนองมะค่า ต�ำบลเขาชะงุ้ม ม.8

วัดหนองครึม

ต�ำบลบางโตนด ม.4 วัดแก้วฟ้า ต�ำบลธรรมเสน ม.2 วัดเนินม่วง ต�ำบลธรรมเสน ม.7 วัดถ�ำ้ สาริกา ต�ำบลธรรมเสน ม.8

ต�ำบลหนองกวาง ม.4

วัดศรีมฤคทายวัน

วัดหนองกวาง (ใหม่)

ต�ำบลธรรมเสน ม.4 วัดนางแก้ว ต�ำบลนางแก้ว ม.3 วัดถ�้ำน�้ำ ต�ำบลนางแก้ว ม.4 วัดเขาค่าง ต�ำบลนางแก้ว ม.5

ต�ำบลหนองกวาง ม.7 วัดเขาสะแก ต�ำบลเขาชะงุ้ม ม.1 วัดนครทิพย์ ต�ำบลเตาปูน ม.3

วัดป่าพุทธาราม

วัดเขาดินสุวรรณคีรี

ต�ำบลนางแก้ว ม.1 วัดดอนทราย ต�ำบลดอนทราย ม.5 วัดท่ามะขาม ต�ำบลดอนทราย ม.7 วัดบางลาน ต�ำบลดอนทราย ม.2

วัดเขาช่องพราน

วัดจอมประสาท

ต�ำบลเตาปูน ม.2 วัดเขาพระ ต�ำบลเตาปูน ม.7 วัดเขาราบ ต�ำบลเตาปูน ม.6 วัดโคกทอง ต�ำบลเตาปูน ม.1

ต�ำบลคลองข่อย ม.4 วัดมณีโชติ ต�ำบลคลองข่อย ม.5

ต�ำบลดอนกระเบื้อง ม.4

วัดดอนกระเบื้อง

วัดสันติธรรมาราม ต�ำบลคลองตาคต ม.10 วัดพุลุ้ง ต�ำบลเขาชะงุ้ม ม.9

ต�ำบลนางแก้ว ม.9

วัดแก้วพฤกษา ต�ำบลนางแก้ว ม.8

วัดป่าศรีมงคลธรรม ต�ำบลเขาชะงุ้ม ม.7

วัดรัตนบรรพต ต�ำบลธรรมเสน บ.เกาะตาพุด ม.4

วัดธัมรัตคูหา ต�ำบลหนองกวาง บ.หนองกวาง ม.1

วัดป่าสันติพุทธาราม ต�ำบลหนองกวาง ม. 3 บ.หนองแหน

SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์

.indd 128

25/1/2564 16:28:07


THE IMPORTANT TEMPLES UTTARADIT

อ�ำเภอปากท่อ วัดปากท่อ ต�ำบลปากท่อ ม.1 วัดโคกพระราชธรรมเสนานี ต�ำบลปากท่อ ม.2 วัดดาวลอย ต�ำบลปากท่อ ม.5 วัดทุ่งหลวง ต�ำบลทุ่งหลวง ม.2

วัดเกตุปัญญาประชาสรรค์ ต�ำบลทุ่งหลวง ม.3

วัดสนามสุทธาวาส ต�ำบลทุ่งหลวง ม.1 วัดสันติการาม ต�ำบลทุง่ หลวง ม.4 วัดหนองน�ำ้ ใส ต�ำบลทุง่ หลวง ม.7

วัดถ�้ำยอดทอง

ต�ำบลทุ่งหลวง ม.8

วัดเขาพระเอก(เขากิ๋ว) ต�ำบลทุ่งหลวง ม.8 วัดอ่างหิน ต�ำบลอ่างหิน ม.5 วัดนาคอก ต�ำบลอ่างหิน ม.4 วัดเจริญธรรม ต�ำบลอ่างหิน ม.3

วัดเขากูบอินทาราม ต�ำบลอ่างหิน ม.1

วัดป่าหนองโกเจริญธรรม ต�ำบลอ่างหิน ม.2 วัดดอนทราย ต�ำบลดอนทราย ม.1

วัดเขาถ่านธรรมเสนานี ต�ำบลดอนทราย ม.5 วัดเขาถ�ำ้ พระ ต�ำบลดอนทราย ม.9

วัดเขาอีส้าน

ต�ำบลดอนทราย ม.6

วัดไพรสะเดา ต�ำบลดอนทราย ม.2

วัดหนองบัวหิ่ง ต�ำบลดอนทราย ม.3

วัดหนองระก�ำ ต�ำบลดอนทราย ม.8

วัดหนองกระทุ่ม ต�ำบลหนองกระทุ่ม ม.2

วัดราษฎร์สมานฉันท์ ต�ำบลหนองกระทุ่ม ม.4

วัดเลิศดุสิตาราม ต�ำบลหนองกระทุ่ม ม.5 วัดโพธิศ์ รี ต�ำบลหนองกระทุม่ ม.7

วัดพิบูลวนาราม

ต�ำบลหนองกระทุ่ม ม.6 วัดวังมะนาว ต�ำบลวังมะนาว ม.3

วัดสว่างอารมณ์

ต�ำบลวังมะนาว ม.4

วัดยางงาม

วัดท่ายาง (ตากแดด)

ต�ำบลยางงาม ม.1

ต�ำบลยางหัก บ.ท่ายาง ม.3 วัดมณีลอย ต�ำบลวังมะนาว ม.7

วัดหัวป่าพรหมสราภิรัต ต�ำบลยางงาม ม.2 วัดป่าไก่ ต�ำบลป่าไก่ ม.3 วัดวันดาว ต�ำบลวันดาว ม.1

วัดวิมลมรรคาราม

ต�ำบลบ่อกระดาน ม.4

วัดสุขวราราม ต�ำบลบ่อกระดาน ม.2

วัดห้วยยางโทน ต�ำบลห้วยยางโทน ม.2

วัดเขาพุนก ต�ำบลห้วยยางโทน ม.3

วัดเขาถ�ำ้ ทะลุ ต�ำบลดอนทราย ม.3

วัดรางโบสถ์ ต�ำบลดอนทราย ม.7

วัดห้วยต้นห้าง ต�ำบลอ่างหิน ม.6

วัดหนองสรวง ต�ำบลปากท่อ ม.4

วัดเขาช้างมงคลวนาราม

วัดถ�้ำกิเลนทอง

บ้านเขาพระเอก ต�ำบลทุง่ หลวง ม.8

ต�ำบลยางหัก บ.ตากแดด ม.2

วัดหทัยนเรศวร์

วัดคุณสารหนองไร่

ต�ำบลห้วยยางโทน บ้านพุมะเดื่อ ม.5

ต�ำบลทุ่งหลวง ม.1

วัดเขาหลาว

วัดบัวหลวงกาญจนา

ต�ำบลวังมะนาว ม.5

วัดห้วยศาลา ต�ำบลยางหัก บ.ห้วยศาลา ม.7

วัดไทยประจัน ต�ำบลยางหัก บ.ไทยประจัน ม.5

วัดศรีพุยางวนาราม ต�ำบลทุง่ หลวง บ.หนองวัวด�ำ ม.11

ต�ำบลหนองกระทุ่ม ม.7

วัดพุเกตุ

วัดลานคาสุทธาวาส

ต�ำบลห้วยยางโทน ม.4

ต�ำบลยางหัก บ.ลานคา ม.8

วัดจิตมงคล ต�ำบลยางหัก บ.ห้วยศาลา ม.7

วัดเบญจคีรีนคร วัดป่ามหาอุทุมพร

วัดเขาหมอนทอง

ต�ำบลวังปลาช่อน บ.วังปลาช่อน ม.11

ต�ำบลหนองกระทุ่ม บ.หนองกระทุ่ม ม.6

ต�ำบลยางหัก ม.3

ต�ำบลยางหัก ม.6

วัดวังปลาช่อน

วัดหินสีสุวรรณาราม วัดเขาพระเอกสุวรรณคีรี

วัดไทรงาม

ต�ำบลรางโบสถ์ ม.7

ต�ำบลยางหัก บ้านยางคู่ ม.6 บ้านหินสี ต�ำบลยางหัก ม.4

ต�ำบลทุ่งหลวง ม.7

วัดบุรีราชวนาราม

วัดยางคู่

ต�ำบลห้วยยางโทน ม.5

วัดสุขอารีย์ธรรมาราม ต�ำบลวังมะนาว ม.2

วัดเขาเด่นอุดมธรรมาราม ต�ำบลทุ่งหลวง ม.3

วัดถ�ำ้ กุญชรราษฎร์รังสรรค์ ต�ำบลหนองกระทุ่ม ม.8

วัดเนินทอง ต�ำบลทุง่ หลวง ม.11 บ.หนองวัวด�ำ

UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 129

129

25/1/2564 16:28:09


อ�ำเภอจอมบึง วัดวาปีสุทธาวาส (ตลาดควาย) ต�ำบลจอมบึง ม.5

วัดจอมบึง ต�ำบลจอมบึง บ.จอมบึง ม.3

วัดรางม่วง ต�ำบลจอมบึง บ.รางม่วง ม.8 วัดปากช่อง ต�ำบลปากช่อง ม.2 วัดสูงเนิน ต�ำบลปากช่อง ม.4

วัดหนองตาเนิด

ต�ำบลปากช่อง บ.หนองตาเนิด ม.10 วัดหนองไผ่ ต�ำบลปากช่อง ม.8

วัดนาสมอ

ต�ำบลปากช่อง บ.นาสมอ ม.3

วัดพุแค ต�ำบลปากช่อง บ.พุแค ม.7

วัดถ�ำ้ สิงโตทอง ต�ำบลปากช่อง ม.11

วัดทุ่งกระถิน ต�ำบลด่านทับตะโก ม.3

วัดโกรกสิงขร ต�ำบลด่านทับตะโก ม.8 วัดแก้มอ้น ต�ำบลแก้มอ้น ม.3 วัดเขาแดน ต�ำบลแก้มอ้น ม.6 วัดทุ่งแฝก ต�ำบลแก้มอ้น ม.1

วัดหนองปากชัฎ

ต�ำบลแก้มอ้น ม.6 วัดเบิกไพร ต�ำบลเบิกไพร ม.1

วัดป่าเขาสัมมะงา

(หนองตะลุมพุก) ต�ำบลเบิกไพร ม.4

วัดหนองปรือใหญ่พลายงาม ต�ำบลเบิกไพร ม.2 วัดรางเฆ่ ต�ำบลแก้มอ้น ม.4

วัดหนองกระทุ่ม

ต�ำบลจอมบึง ม.11

วัดเขาปิ่นทอง

วัดหนองศาลเจ้า

ต�ำบลปากช่อง ม.6 วัดเขาผึ้ง ต�ำบลปากช่อง ม.7 วัดเขารังเสือ ต�ำบลปากช่อง ม.11 วัดรางบัว ต�ำบลรางบัว ม.6

ต�ำบลเบิกไพร ม.5 วัดเขาถ�ำ้ มงกุฎ (เขาถ�ำ้ ทะลุ) ต�ำบลปากช่อง ม.7

วัดเทพประทานพร

วัดหนองนกกระเรียน

ต�ำบลปากช่อง ม.5

ต�ำบลรางบัว ม.8 วัดชัฎใหญ่ ต�ำบลรางบัว ม.3

วัดป่าภาวนาวิเวกหนองเต่าด�ำ ต�ำบลรางบัว ม.13

ต�ำบลรางบัว ม.2

ต�ำบลด่านทับตะโก ม. 16

วัดหนองบัวค่าย

วัดนิยมธรรมาราม (ด่านทับตะโก) ต�ำบลด่านทับตะโก ม.1

วัดพรหมธรรมนิมิต วัดอัมพวันอรัญญวิเวก ต�ำบลแก้มอ้น ม. 11

วัดหนองสีนวล ต�ำบลด่านทับตะโก ม.5

อ�ำเภอวัดเพลง วัดเพลง ต�ำบลวัดเพลง ม.5

วัดคลองขนอน ต�ำบลวัดเพลง ม.9

วัดศรัทธาราษฎร์ ต�ำบลวัดเพลง ม.7

วัดเกาะศาลพระ

130

ต�ำบลเกาะศาลพระ ม.8

วัดเวียงทุน ต�ำบลเกาะศาลพระ ม.2

วัดหนองเกษร ต�ำบลเกาะศาลพระ ม.1

วัดแจ้งเจริญ ต�ำบลจอมประทัด ม.3

SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์

.indd 130

25/1/2564 16:28:11


THE IMPORTANT TEMPLES UTTARADIT

อ�ำเภอสวนผึ้ง วัดบ้านบ่อ ต�ำบลสวนผึ้ง ม.1

วัดประชุมพลแสน ต�ำบลสวนผึ้ง ม.4

วัดทุ่งแหลม ต�ำบลป่าหวาย ม.3

วัดบ้านกล้วย ต�ำบลป่าหวาย ม.2

วัดห้วยทรายทอง ต�ำบลป่าหวาย ม.1

วัดหนองขาม ต�ำบลป่าหวาย ม.5

วัดท่าเคย ต�ำบลท่าเคย ม.6

วัดชัฎป่าหวาย ต�ำบลท่าเคย ม.1

วัดเขากลิ้ง ต�ำบลท่าเคย ม.3

วัดมะขามเอน ต�ำบลท่าเคย ม.7

วัดหนองหมี ต�ำบลท่าเคย ม.4

วัดสวนผึ้ง ต�ำบลตะนาวศรี ม.1

วัดวังน�้ำเขียว ต�ำบลท่าเคย ม.2

วัดเขาไก่แจ้ ต�ำบลท่าเคย ม.7

วัดป่าหินสูงเจริญธรรม ต�ำบลท่าเคย ม.2

วัดห้วยม่วง ต�ำบลตะนาวศรี ม.3

วัดเขาวงกตเจริญธรรม ต�ำบลท่าเคย ม.5

วัดห้วยผากเทพประทานพร ต�ำบลสวนผึ้ง ม.7

วัดบ่อหวี ต�ำบลตะนาวศรี ม.4

วัดป่าท่ามะขาม ต�ำบลตะนาวศรี ม.2

วัดสวนพุทธธรรมคุณ ต�ำบลป่าหวาย บ.หนองขาม ม.9

อ�ำเภอบ้านคา วัดเก่าต้นมะค่า ต�ำบลบ้านคา ม.2

วัดบ้านบึง ต�ำบลบ้านคา ม.6

วัดหนองพันจันทร์ ต�ำบลหนองพันจันทร์ ม.6

วัดช่องลาภ ต�ำบลหนองพันจันทร์ ม.3

วัดโป่งเหาะ บ้านคา ม.6

วัดป่าพระธาตุเขาน้อย ต�ำบลบ้านคา ม.1

วัดป่าโป่งกระทิง ต�ำบลบ้านบึง ม.1

วัดโป่งกระทิงล่าง (มหาโชค) ต�ำบลบ้านบึง ม.2

วัดล�ำพระ ต�ำบลบ้านคา ม.4

วัดเขาธารมงคล ต�ำบลบ้านคา ม.8

วัดหนองจอก ต�ำบลหนองพันจันทร์ ม.5

วัดสุวรรณคีรี ต�ำบลหนองพันจันทร์ ม.11

วัดหนองโกเจริญธรรม ต�ำบลหนองพันจันทร์ ม.2

วัดเจริญธรรมนิมิต ต�ำบลบ้านบึง ม.3

วัดทุ่งตาลับ ต�ำบลหนองพันจันทร์ ม.10

วัดป่าพุบอน ต�ำบลบ้านบึง ม.11

วัดโป่งเจ็ด ต�ำบลบ้านคา ม.13

วัดคีรีวงกต ต�ำบลบ้านบึง บ.ร่องเจริญ ม.3

วัดบ้านดงคา ต�ำบลบ้านบึง ม.9

UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 131

131

25/1/2564 16:28:12


Buddhism

in Thailand

SBL บันทึกประเทศไทย น�ำเสนอเรื่องราวของจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศไทย อย่างเจาะลึกและครอบคลุมทุกมิติ อาทิ มิติด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ จากหน่วยงานราชการส�ำคัญในจังหวัด มิติด้านการท่องเที่ยวที่สดใหม่ทันสมัย ทั้งสถานที่เที่ยว ที่พัก ร้านอาหาร ร้านกาแฟ แหล่งช็อปปิ้งใหม่ๆ ฯลฯ มิติด้านอุตสาหกรรม-การค้าการลงทุนที่เป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ตลอดจนมิติด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม และวิถีชีวิต ที่มีจุดเด่นและมีเอกลักษณ์น่าสนใจ

WWW.SBL.CO.TH

.indd 132

25/1/2564 15:00:00


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.