นิตยสารแนะน�ำแหล่งท่องเที่ยวและของดีจังหวัดชัยนาท ประจ�ำปี 2562
วัดทัวไทย
CHAINAT SBL บันทึกประเทศไทย
ชัยนาท...ผู้คนน่ารัก บ้านเมืองน่าอยู่ วัดวาน่ามาเยือน
Vol.10 Issue 102/2019
www.issuu.com
.indd 3
พระพุ ทธรูปปางอุ้มบาตร จังหวัดชัยนาท
20/12/2562 12:23:09
Let’s Go Thailand With SBL บันทึกประเทศไทย
HISTORY OF THE PROVINCE
TOURIST ATTRACTIONS SBL บันทึกประเทศไทย
Let's go thailand.indd 2
www.sbl.co.th SBL MAGAZINE
THE VILLAGERS IN THE PROVINCE SBL บันทึกประเทศไทย
. - 18/12/2562 17:33:06 PM
History of buddhism....
วัดป่าเจ้าพระยา นมัสการหลวงพ่อใหญ่ศักดิ์สิทธิ์ พระอธิการชูเกียรติ โฆสธมฺโม ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาส วัดป่าเจ้าพระยา
วัดป่าเจ้าพระยา ตั้งอยู่เลขที่ 9 หมู่ 2 บ้ า นแหลมยางวั ด ป่ า ต� ำ บลบ้ า นกล้ ว ย อ�ำเภอเมืองชัยนาท จังหวัดชัยนาท เป็นวัดทีม่ ี ทัศนียภาพที่สวยงาม เนื่องจากตั้งอยู่ริมแม่น�้ำ เจ้าพระยา บริเวณวัดกว้างขวาง บรรยากาศร่มรืน่ มี แ พส� ำ หรั บ ให้ อ าหารปลา เหมาะส� ำ หรั บ นั ก ท่อ งเที่ย วที่ต ้อ งการปฏิบัติธรรมหรื อพัก ผ่อนหย่อนใจ และมาสักการะหลวงพ่อใหญ่
วัดป่าเจ้าพระยา เดิมชื่อตามทะเบียนวัดร้างว่า วัดป่า(โคกขาม) ซึ่งเป็นวัดร้างมากว่า 200 ปี พื้นที่วัดส่วนใหญ่ ชาวบ้านได้เช่าไปท�ำนา จากส�ำนักพระพุทธศาสนาจังหวัดชัยนาท มีเพียงพระพุทธปฏิมากรปาง มารวิชัย หน้าตักประมาณ 4 เมตร ประดิษฐานอยู่หน้าวัด ริมแม่น�้ำ เจ้าพระยา ซึ่งชาวบ้านเรียกติดปากว่า หลวงพ่อใหญ่ เป็นหลักฐานทาง โบราณสถาน ที่ท�ำให้รู้ได้ว่าสถานที่นี้ เคยเป็นวัดที่เจริญรุ่งเรืองมาก่อน ต่อมามีการปรับแต่งพระพุทธปฏิมากรองค์หลวงพ่อใหญ่มาเป็นล�ำดับ จนกระทั่งปี 2547 จึงมีพระภิกษุมาอยู่จ�ำพรรษา ต่อมาส�ำนักงาน พระพุทธศาสนาแห่งชาติ จึงประกาศยกวัดป่า(โคกขาม)ร้าง ให้เป็นวัด ทีม่ พี ระภิกษุอยูจ่ ำ� พรรษาในปี พ.ศ. 2549 และเมือ่ ถึงปี พ.ศ. 2550 ทาง วัดจึงได้มีการสร้างพระพุทธปฏิมากรองค์ใหญ่ครอบองค์เดิมไว้ เพื่อ เป็นการปรับแต่งองค์พระอย่างถาวร แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2552 มีพุทธ ลักษณะดังที่เห็นในปัจจุบัน ต่อมาเมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2553 จึง มีประกาศจากส�ำนักพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ให้เปลี่ยนแปลงชื่อ จาก วัดป่า(โคกขาม) เป็นวัดป่าเจ้าพระยา บริเวณด้านขวาขององค์พระ เป็นแพส�ำหรับให้อาหารปลา ซึ่งมี มากมายหลายสายพันธุ์ แต่เดิมเริม่ ต้นการเลีย้ งด้วยเศษอาหารเหลือจาก บิณฑบาต จนกระทัง่ ปัจจุบนั เป็นดุจวังมัจฉา ต้องเลีย้ งดูดว้ ยอาหารเม็ด 4
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
.indd 4
. - 09/01/2563 17:16:30 PM
ซากพระพุทธรูปที่ช�ำรุด ขุดพบในบริเวณวัดป่าเจ้าพระยาและพื้นที่ใกล้เคียง ซึ่งเป็นหินทราย เขียวและหินทรายแดง ทางวัดได้ซ่อมบ�ำรุงและอัญเชิญประดิษฐานไว้ในอุโบสถวัดป่าเจ้าพระยา
CHAINAT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 5
5
. - 09/01/2563 17:16:45 PM
History of buddhism....
วัดกะทง
ตั้งอยู่เลขที่ 25 หมู่ที่ 3 บ้านกะทง ตำ�บลหนองบัว อำ�เภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท
6
.indd 6
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
. - 09/01/2563 17:19:49 PM
History of buddhism....
WAT KATHONG วัดกะทงสร้างในสมัยอยุธยาตอนปลาย โดยมีหลักฐานส�ำคัญ ได้แก่ พระเจดีย์ทรง เครือ่ งย่อมุม 28 และพระประธาน พระวิหาร พร้อมโบสถ์ ฝีมือช่างมอญ-อยุธยา ศิลปะ งานปั้นด้วยมือมีลักษณะพิเศษ คือ โบสถ์ วิหาร หันหน้ามาทางทิศตะวันตกเป็นโบสถ์ มหาอุตม์ ชุมชนโบราณ ณ แห่งนีเ้ ป็นชาวมอญ ที่อพยพมาตั้งถิ่นฐาน โดยเจ้าพญามอญและ ราชวงศ์ พร้อมบ่าวไพร่ โดยมีพระธาตุประจ�ำ ตระกูลมาด้วย มอญกลุม่ นีม้ าจากเมืองตะโทง หรือสะเทิม (Thaton) ปัจจุบนั เรียกหมูบ่ า้ นนีว้ า่ “บ้านกะทง”
ภาพบริเวณวัดกะทง
CHAINAT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 7
7
. - 09/01/2563 17:19:52 PM
EDITOR’S TALK ท่านผู้อ่านที่ติดตาม SBL บันทึกประเทศไทย และ SBL บันทึกวัดทั่วไทย คงทราบดีว่า เราได้ เดินบนเส้นทางการประชาสัมพันธ์หน่วยงาน ส�ำคัญภายในจังหวัดต่างๆ ตลอดจนน�ำเสนอ กิจกรรมที่น่าสนใจ ศาสนสถาน และสถานที่ ท่องเที่ยวส�ำคัญ ๆ ทั่วไทย ฯลฯ มาเป็นระยะ เวลาถึง 10 ปีเต็มแล้ว ซึ่งปีที่ผ่านมาถือเป็นการ เปลี่ยนแปลงครั้งส�ำคัญ และยิ่งใหญ่ของทีมงาน เนื่องด้วยเราได้สูญเสียหัวเรือใหญ่คือ คุณ ศุภกิจ ศิลปรังสรรค์ ผู้เป็นทั้งผู้บริหาร SBL และคุณพ่อที่น่ารักของลูกๆ ทั้งสามคน แต่ไม่ว่าจะอย่างไรก็ตาม เราสามคนพี่น้องคือ นายปัณณ์ฐาโชค นายวนัสกฤษณ์ และผม นายอัคราพงษ์ จะให้ค�ำมั่นว่าเราจะสานต่อ เจตนารมณ์ของคุณพ่อ ในการเป็นกระบอก เสียงให้กับผู้ที่เป็นพลังขับเคลื่อนการพัฒนา จังหวัดให้ก้าวหน้า ไม่ว่าจะเป็นผู้บริหารราชการ จังหวัด หัวหน้าหรือผู้อ�ำนวยการส่วนราชการ หรือสถานศึกษา ตลอดจนพระภิกษุสงฆ์ทอี่ ทุ ศิ ตน และเสียสละเพื่อท�ำนุบ�ำรุงพระพุทธศาสนา ซึ่ง ถือเป็นจุดเริ่มต้นที่จะท�ำให้สังคมของเราสงบสุข
อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์
บรรณาธิการอ�ำนวยการ นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
www.sbl.co.th
Editor's talk
.indd 8
. - 18/12/2562 17:11:58 PM
9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 0-2522-7171
www.sbl.co.th
คณะผู้บริหาร นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย คณะที่ปรึกษา ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์, พลเอกสรชัช วรปัญญา ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์, ดร.ประยุทธ คงเฉลิมวัฒน์ ดร.ชาญ ธาระวาส, ดร.สุมิท แช่มประสิท ดร.วัลลภ อารีรบ, ดร.พิชัย ทรัพย์เกิด ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์,ดร.สุเทษณ์ จันทรุกขา ดร.อรรถสิทธิ์ ตันติวิรัชกุล
บรรณาธิการอ�ำนวยการ อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์
บรรณาธิการงานบุคคล พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์
บรรณาธิการการตลาด ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ
ฝ่ายกฎหมาย สมคิด หวังเชิดชูวงศ์ ทวิช อมรนิมิตร
กองบรรณาธิการ นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย ฝ่ายประสานงานโครงการ ภาครัฐและเอกชน ผู้จัดการ กิตติชัย ศรีสมุทร, ทวัชร์ ศรีธามาศ อัครกฤษ หวานวงศ์, ภูษิต วิทยา
คณะทีมงาน ธีระพงษ์ ธรรมเจริญ, ธนิน ตั้งธ�ำรงจิต, ถาวร เวปุละ, พุฒิธร จันทร์หอม, อมร อนันต์รัตนสุข, นิรุจน์ แก้วเล็ก, สุษฎา พรหมคีรี, พร้อมพงศ์ สืบด้วง, สรวิชญ์ อังกูรศุภเศรษฐ์
Editor's talk
.indd 9
EDITOR’S letter ในฐานะของคนรุ่นใหม่ที่เคยใช้ชีวิต บรรพชิตมาแล้ว ผมมีความศรัทธา ว่าหลักธรรมค�ำสอนแห่งองค์สมเด็จ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ที่ถือก�ำเนิด มาเป็นพันๆ ปีนั้น มีความเป็นอมตะ เป็นสากล และเป็นที่ยอมรับจาก นานาประเทศ อีกทั้งพระพุทธ ศาสนายังเป็นศาสนาที่เปิดกว้าง ดังจะเห็นได้วา่ มีชาวต่างชาติหลายๆ คน
ที่ศรัทธาและเข้าบวชเป็นพระภิกษุสงฆ์ ซึ่งปัจจุบันมีชื่อเสียงและเป็นที่ยอมรับ ทั้งในหมู่พุทธศาสนิกชนชาวไทยและ ชาวต่างชาติด้วย
ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ
บรรณาธิการการตลาด นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
. - 18/12/2562 17:11:59 PM
ศาลหลักเมืองจังหวัดชัยนาท CHAINAT CITY PILLAR SHRINE
ศาลหลั ก เมื อ งจั ง หวั ด ชั ย นาท จั ด เป็ น สถานที่ ส�ำคัญคู่บ้านเมืองที่แสดงถึงความร่วมมือร่วมใจของ ประชาชนชาวชัยนาท ซึ่งประดิษฐานโดดเด่นเป็นสง่า คงคุณค่าควรเมืองชัยนาท เป็นสิริมงคลและมิ่งขวัญ ของประชาชนชาวชัยนาททุกคน
Editor's talk
.indd 10
. - 18/12/2562 17:12:01 PM
EDITOR’S note น�ำเสนอเรือ่ งราวของวัดต่างๆ ทีม่ ปี ระวัติ ความเป็นมาทีน่ า่ สนใจ โดยมีคณะสงฆ์ เป็นพลังขับเคลือ่ นโครงการต่างๆ ในการ ส่งเสริมพระพุทธศาสนาให้เจริญรุง่ เรือง สืบมา อีกทัง้ ยังเป็นศูนย์รวมความศรัทธา ของพุทธศาสนิกชนทัง้ หลาย จนเป็น ทีป่ ระจักษ์ชดั ว่า จังหวัดชัยนาทเป็นเมือง ทีส่ งบสุข เปีย่ มด้วยอัธยาศัยอันดีงามของ ผูค้ น ทีม่ อบให้แก่คนต่างถิน่ ตลอดจน
นักท่องเทีย่ ว แต่อย่าเพิง่ เชือ่ ในสิง่ ทีผ่ มกล่าวถึง นะครับ เพราะท่านผูอ้ า่ นต้องมาพิสจู น์ดว้ ย ตัวของท่านเอง แล้วจะรูส้ กึ เหมือนกับทีผ่ ม และทีมงานรูส้ กึ และรับรู้ ได้วา่ ...ชัยนาทเป็น เมืองทีผ่ คู้ นน่ารัก บ้านเมืองน่าอยู่ วัดวา น่ามาเยือน อย่างแท้จริง
วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์
9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 0-2522-7171
www.sbl.co.th
ฝ่ายประสานงานข้อมูล ผู้จัดการฝ่ายประสานงานข้อมูล นันท์ธนาดา พลพวก ฝ่ายประสานงานข้อมูล ศุภญา บุญช่วยชีพ นลัชนันท์ เทียมเกตุทวีโชค นักเขียน มนสิกุล โอวาทเภสัชช์
บรรณาธิการงานบุคคล นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
ฝ่ายศิลปกรรม ผู้จัดการฝ่ายศิลปกรรม พัชรา ค�ำมี กราฟิกดี ไซน์ พิมพ์พิสุทธิ์ พังจูนันท์ วรเชษฐ สมประสงค์ ธีระวัฒน์ ระวาดชัย ช่างภาพ ปณต ปิติจารุวิศาล กิติวัฒน์ ทิศมั่ง วิทยา ประเสริฐสังข์ ตัดต่อวีดีโอ วัชรกรณ์ พรหมจรรย์
ฝ่ายบัญชี / การเงิน บัญชี ปัฐมาภรณ์ แสงบุราณ ผู้จัดการฝ่ายการเงิน สุจิตรา แดนแก้วนิต การเงิน ชวัลชา นกขุนทอง, สุภาวรรณ สุวรรณวงค์
Website
Editor's talk
.indd 11
. - 18/12/2562 17:12:05 PM
CONTENTS สารบัญจังหวัดชัยนาท ฉบับที่ 102 จังหวัดชัยนาท พ.ศ. 2562
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติชัยนาทมุนี
04
36
72
06
42
77
18
62
78
32
67
85
68
86
70
93
วัดป่าเจ้าพระยา วัดกะทง ท�ำเนียบคณะสงฆ์
ใต้ร่มพระบารมี “ โครงการศูนย์สาธิตการเกษตรแบบผสมผสาน อันเนื่องมาจากมาจากพระราชด�ำริ ” เพื่อเป็นแหล่งถ่ายทอดความรู้ด้านการเกษตรและการแปรรูปผลผลิตทางด้านการเกษตร ให้ แก่เกษตรกรและผู้สนใจทั่วไปได้เข้ามาศึกษาเรียนรู้ เพื่อน�ำไปพัฒนาและต่อยอดการประกอบ อาชีพเกษตรกรรมให้สามารถเลี้ยงปากเลี้ยงท้องได้อย่างยั่งยืน
12
บันทึกเส้นทางความเป็นมา บันทึกเส้นทางท่องเที่ยว วัดพระบรมธาตุวรวิหาร วัดป่าเจ้าพระยา วัดเขาท่าพระ วัดธรรมามูล วรวิหาร
วัดป่าสัก วัดสะพานหิน วัดพระแก้ว วัดโฆสิตาราม วัดบ�ำเพ็ญบุญ วัดท่ากระแส
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
.indd 12
. - 19/12/2562 17:18:02 PM
94
114
101
119
102
120
104
122
106
124
108
126
110
128
112
144
วัดธรรมิกาวาส(วัดคังคาว) วัดวิหารทอง วัดสังฆาราม วัดจันทนาราม วัดสกุณาราม วัดหัวเด่น
78
วัดโพธิ์งาม วัดหอระฆัง
วัดหนองน้อย วัดกะทง
วัดศรีชัยวัฒนาราม วัดปทุมธาราม วัดพิชัยนาวาส(วัดบ้านเชี่ยน) วัดบ้านใหม่สิริวัฒนาราม รายชื่อวัดในจังหวัดชัยนาท Thailand 4.0
สวนนกชัยนาท
บึงกระจับใหญ่
EBOOK CHAINAT
94
WWW.SBL.CO.TH บริษัท สมาร์ท บิซิเนส ไลน์ จ�ำกัด 9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 0-2522-7171 แฟกซ์. 0-2971-7747 CHAINAT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 13
13
. - 19/12/2562 17:18:08 PM
S P ECI A L P R O V INC IA L บันทึกเส้นทางพิเศษของจังหวัดชัยนาท
?
TRAVEL
Beautiful Place CHAINAT
14
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
Special CHAI NAT.indd 14
19/12/2562 11:48:56
CHAI NAT MAP แผนที่จังหวัดชัยนาท
LOCATION 1 2 3 4
สวนนกชัยนาท อ�ำเภอเมืองชัยนาท วัดปากคลองมะขามเฒ่า อ�ำเภอวัดสิงห์ เขื่อนเจ้าพระยา อ�ำเภอสรรพยา วัดมหาธาตุ สรรคบุรี อ�ำเภอสรรคบุรี
5 วัดธรรมามูลวรวิหาร อ�ำเภอเมืองชัยนาท 6 วัดทรงเสวย อ�ำเภอวัดสิงห์ 7 ตลาดเก่าสรรพยา อ�ำเภอสรรพยา 8 สะพานไม้บ้านทุ่ง เนินขาม อ�ำเภอเนินขาม
2
6
1
5
3 7
4 8
CHAINAT I SBL บันทึกประเทศไทย
Special CHAI NAT.indd 15
15
19/12/2562 11:49:05
" เวลาที่เราไม่มีอะไรเป็นของเราเลย นั่นแหละเป็นเวลาที่เรามีความสุขที่สุด " พุทธทาสภิกขุ
16
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
Special CHAI NAT.indd 16
18/12/2562 17:35:21
CHAI NAT I SBL บันทึกประเทศไทย
Special CHAI NAT.indd 17
17
18/12/2562 17:35:23
ท�ำเนียบการบริหารงาน คณะสงฆ์จังหวัดจังหวัดชัยนาท
พระสุธีวราภรณ์ (ยุวชน ป.ธ.๖)
เจ้าคณะจังหวัดชัยนาท
พระมงคลกิจโกศล (เทพหิรัณย์ ชวโร)
รองเจ้าคณะจังหวัดชัยนาท
พระครูวิมลชยาทร (อาทร อาทโร) เจ้าคณะอ�ำเภอเนินขาม
18
พระมหานคร จรณธมฺโม (ป.ธ.๙)
พระมหาวิสัน จนฺทโชโต (ป.ธ.๗) เจ้าคณะอ�ำเภอหันคา
เจ้าคณะอ�ำเภอเมือง
พระครูศรีชโยดม (อภินนั ท์ อริยธมฺโม ป.ธ.๖)
พระครูวิสิฐชัยคุณ (จ�ำรัส อาภากโร)
เจ้าคณะอ�ำเภอสรรคบุรี
เจ้าคณะอ�ำเภอวัดสิงห์
พระครูวิจิตรชัยวัฒน์ (ชลอ เตชปุญฺโญ) เจ้าคณะอ�ำเภอมโนรมย์
พระครูพิพัฒน์ชัยคุณ (คงฤทธิ์) เจ้าคณะอ�ำเภอหนองมะโมง
พระครูวิธูรชัยกิจ,ดร. (มานพ เตชปญฺโญ) เจ้าคณะอ�ำเภอสรรพยา
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
.indd 18
18/12/2562 17:24:40
บัวพ้นน�้ำ สอนไว ใช้เหตุผล บัวปริ่มน�้ำ เลิศล�้ำคน ล้นคุณค่า บัวใต้น�้ำ ย�้ำมากน้อย ค่อยพูดจา บัวจมโคลน ด้อยค่า ปูปลากิน UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 19
19
18/12/2562 17:24:42
อคฺคสฺส ทาตา ลภเต ปุนคฺคํ ผู้ให้สิ่งที่เลิศ ย่อมได้สิ่งที่เลิศอีก 20
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
.indd 20
18/12/2562 17:24:44
_Artwork.indd 21
17/12/2562 14:36:41
Fantazy Resort_Artwork 22
17/12/2562 11:24:25
Fantazy Resort_Artwork 23
17/12/2562 11:24:42
_Artwork 24
17/12/2562 9:46:01
_Artwork 25
17/12/2562 9:46:30
_Artwork 26
17/12/2562 14:15:32
_Artwork 27
17/12/2562 14:15:43
111_Artwork_v2.indd 28
17/12/2562 9:30:54
111_Artwork_v2.indd 29
17/12/2562 9:31:32
_Artwork.indd 30
23/12/2562 10:03:24
_Artwork 31
17/12/2562 11:32:47
UNDER HIS GRACIOUSNESS บันทึกเส้นทางใต้ร่มพระบารมี
HIS MAJESTY PROJECT FORBETTER LIFE OF COUNTRYPEOPLE ศูนย์สาธิตการเกษตรฯ ต�ำบลสุขเดือนห้า เพื่อความสุขทุก ๆ เดือน
“เงินทองของมายา ...ข้าวปลาสิของจริง” คื อ ค� ำ กล่ า วของหม่ อ มเจ้ า สิ ท ธิ พ ร กฤดากร “บิดาแห่งการเกษตรแผนใหม่” ซึ่งแม้กาลเวลาจะ ผ่านพ้นมาร้อยกว่าปีแล้ว แต่วลีนี้ยังคงเป็นอมตะ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในห้วงที่ภัยพิบัติจากธรรมชาติ นับวันจะทวีความรุนแรงขึ้น เงินทองมากมายก็อาจ ไร้ความหมาย หากไร้ซึ่งข้าวปลาอาหารเพื่อการ ด�ำรงชีพ โครงการศูนย์สาธิตการเกษตรแบบผสมผสานอัน เนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรม ราชกุมารี ตัง้ อยู่ ณ ต�ำบลสุขเดือนห้า อ�ำเภอเนินขาม จั ง หวั ด ชั ย นาท เป็ น แหล่ ง ถ่ า ยทอดความรู ้ ด ้ า น การเกษตร และการแปรรู ป ผลผลิ ต ทางด้ า น การเกษตร ให้ แ ก่ เ กษตรกรและผู ้ ส นใจทั่ ว ไปได้ เข้ามาศึกษาเรียนรู้ เพื่อน�ำไปพัฒนาและต่อยอดการ ประกอบอาชีพเกษตรกรรมให้สามารถเลีย้ งปากเลีย้ ง ท้องได้อย่างยั่งยืน
32
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
.
.indd 32
19/12/2562 13:29:05
CHAINAT I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 33
33
19/12/2562 13:29:06
ที่มาของโครงการ
ปี พ.ศ. 2542 นายศุภชัย ผดุงเจริญ ได้ขอพระราชทานน้อมเกล้าฯ ถวายที่ดิน จ� ำ นวนเนื้ อ ที่ 41-3 -20 ไร่ ซึ่ ง ตั้ ง อยู ่ ที่ หมู่ที่ 1 ต�ำบลสุขเดือนห้า อ�ำเภอเนินขาม จังหวัดชัยนาท เพือ่ ให้ดำ� เนินการพัฒนาทีด่ นิ แปลงดั ง กล่า วให้เป็น ศูน ย์วิจัยและพัฒนา ในด้านต่าง ๆ ตามแนวพระราชด�ำริสมเด็จ พระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ซึ่งพระองค์ ได้พระราชทานพระราชานุมัติให้พัฒนาที่ดิน เป็น “ศูนย์สาธิตการเกษตรแบบผสมผสาน” โดยใช้ ห ลั ก การแนวคิ ด ทฤษฎี ใ หม่ เ พื่ อ เป็นศูนย์สาธิตเทคโนโลยีการเกษตร และ เป็นแหล่งขยายพันธุ์พืชพันธุ์ดีสู่เกษตรกร และประชาชนทั่วไป โดยมีศูนย์วิจัยพืชไร่ ชัยนาท กรมวิชาการเกษตร เป็นหน่วยงาน รับผิดชอบหลัก
วัตถุประสงค์
1. เพื่ อ เป็ น ศู น ย์ ส าธิ ต การเกษตรแบบ ผสมผสาน และเป็นศูนย์สาธิต และถ่ายทอด เทคโนโลยี การเกษตร 2. เพื่ อ เป็ น แหล่ ง ขยายพื ช พั น ธุ ์ ดี ที่ เหมาะสม กับสภาพภูมอิ ากาศและภูมปิ ระเทศ ของท้องถิ่น 3. เพื่ อ เป็ น แหล่ ง กั ก เก็ บ น�้ ำ ไว้ ใ ช้ ใ น การเกษตรในช่วงฤดูแล้ง 4. เพื่อพัฒนาพื้นที่ของโครงการฯ ก่อให้ เกิดอาชีพใหม่ เช่น การประมง การปลูกพืช ชนิดใหม่ให้กับเกษตรกรและผู้สนใจ น�ำไปใช้ ประโยชน์ต่อไป
34
ผลการด�ำเนินงาน
1. กิจกรรมข้าว สาธิตการปลูกข้าวพันธุด์ ี เทคโนโลยีการเพิ่มผลผลิต และการผลิตข้าว เพื่อใช้เป็นเมล็ดพันธุ์ในพื้นที่ โดยใช้พันธุ์ข้าว พิษณุโลก 3 หลังเก็บเกี่ยวผลผลิตข้าวปลูก ถัว่ เขียวพันธุช์ ยั นาท 72 และผลิตข้าวนาปี ได้ ท�ำการตกกล้าข้าวพันธุพ์ ษิ ณุโลก 3 การเจริญ เติบโตอยู่ในเกณฑ์ดี 2. กิจกรรมพืชไร่ สาธิตพันธุ์พืชไร่พันธุ์ดี และเทคโนโลยีการผลิตพืชไร่ ดังนี้ - ปลูกถั่วเขียวพันธุ์ชัยนาท 72 แต่เก็บ ผลผลิ ต ไม่ ไ ด้ เนื่ อ งจากสภาวะฝนทิ้ ง ช่ ว ง ประกอบกับน�้ำในสระมีปริมาณไม่เพียงพอ - ปลู ก ข้ า วโพดหวานพั น ธุ ์ ไ ฮบริ ก ซ์ - 3 จ�ำนวน 2 แปลง - อ้อยพันธุ์สุพรรณบุรี 80 ปัจจุบันอยู่ใน ช่วงการเจริญเติบโตและดูแลรักษา 3. กิจกรรมพืชผัก จัดท�ำแปลงปลูกพืช หมุนเวียน ได้แก่ ถัว่ ฟักยาว และมะเขือเปราะ ในพื้นที่ 1 ไร่
4. กิจกรรมไม้ผล พืน้ ที่ 4 ไร่ แบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ ดังนี้ - การปลูกไม้ผลพันธุ์ดีชนิดต่างๆ แบบ ผสมผสาน เพื่อใช้เป็นแหล่งรวบรวมไม้ผล พันธุ์ดี เช่น มะม่วง ชมพู่ ส้มโชกุน ฝรั่ง โดย ปัจจุบันอยู่ในช่วงดูแลรักษา - การปลูกไม้ผลเชิงเดีย่ วเชิงพาณิชย์ ปลูก ส้มโอจากต้นตอปลอดโรค จ�ำนวน 2 พันธุ์ คือ พันธุท์ องดี และพันธุข์ าวแตงกวา ขณะนีอ้ ยูใ่ น ช่วงติดผลและดูแลรักษา 5. กิจกรรมโรงสีขนาดเล็ก ให้บริการสีขา้ ว กับเกษตรกรในพื้นที่ใกล้เคียงโดยเกษตรกร น�ำข้าวเปลือกมาสีฟรี และโครงการฯ ได้ส่วน ปลายข้าว และร�ำ 6. กิ จ กรรมแปรรู ป ถั่ ว เขี ย ว ด� ำ เนิ น งานแปรรูปถั่วเขียวทอดโดยใช้ถั่วเขียวพันธุ์ ชัยนาท 72 เมล็ดสามารถแปรรูปเป็นถัว่ เขียว ทอดขนาดบรรจุถุง 2 X 8 นิ้ว (50 กรัม/ถุง) ได้ทั้งหมด 4,414 ถุง
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
.
.indd 34
19/12/2562 13:29:10
7. กิจกรรมปศุสัตว์และพืชอาหารสัตว์ สาธิตการเลี้ยงโคพันธุ์พื้นเมือง จ�ำนวน 4 ตัว ดูแลรักษาหญ้าทีป่ ลูกไว้ และหญ้าบางส่วนได้ ตัดให้วัวกินแล้ว 8. กิจกรรมป่าไม้ จัดท�ำแปลงสาธิตการ สร้างป่าชุมชน และชนิดของไม้ที่เหมาะสม กับสภาพแวดล้อม และชนิดของดินในพื้นที่ 4 ไร่ ประกอบด้วยไม้ชนิดต่าง ๆ ได้แก่ สะเดา พะยอม ยางนา ยมหอม ประดู่ มะตูม หว้า ไม้แดง ไผ่ กล้วยหอม และมะพร้าว การเจริญ เติบโตอยู่ในระดับปานกลาง 9. กิ จ กรรมอนุ รั ก ษ์ ดิ น และน�้ ำ จั ด ท� ำ แปลงสาธิตพันธุ์หญ้าแฝก 7 พันธุ์ ได้แก่ พั น ธุ ์ เชี ย งราย พั น ธุ ์ ชั ย ภู มิ พั น ธุ ์ เชี ย งใหม่ พันธุ์ราชบุรี พันธุ์แม่ฮ่องสอน พันธุ์อุดรธานี และพันธุป์ า ่ สาธิตวิธกี ารปรับปรุงดินก่อนและ หลังการปลูกข้าว โดยใช้ปยุ๋ พืชสด การใช้หญ้า แฝกในการป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน และปรับปรุงคุณสมบัติทางกายภาพของดิน รวมถึงการใช้หญ้าแฝกในการอนุรักษ์ดินโดย ปลูกแฝกในบริเวณรอบ ๆ แปลงปลูก พืชไร่ พืชสวน และบริเวณรอบสระน�้ำ 10. กิจกรรมผลิตปุ๋ยอินทรีย์ น�ำวัสดุที่ หาได้ง่ายในท้องถิ่นมาผลิตน�้ำหมักชีวภาพ จ�ำนวน 2,000 ลิตร เพื่อใช้ในแปลงปลูกพืช และจ�ำหน่ายให้กับเกษตรกรที่สนใจ 11. กิจกรรมเพาะช�ำ และขยายพันธุก์ ล้าไม้ ด�ำเนินการดูแลรักษา และเพาะช�ำกล้าไม้ ประเภทต่าง ๆ ได้แก่ พืชผัก ไม้หอม ไม้มงคล ไม้ประดับ และไม้ป่า และได้ท�ำการเพาะกล้า มะเขื อ เปราะ เพื่ อ ปลู ก ซ่ อ มแซมในพื้ น ที่ โครงการ และแจกให้กับเกษตรกร
12. กิ จ กรรมประมงและพื้ น ที่ ส ระน�้ ำ ดูแลรักษาปลาทีป่ ล่อยในสระน�ำ้ ได้แก่ ปลานิล ปลาตะเพียน ปลาสวาย ปลาตะเพียนทอง ปลากระแห ปลาม้า ปลาเทโพ และปลากาด�ำ 13. กิจกรรมการปลูกพืชสมุนไพร สาธิต การปลูกพืชสมุนไพร และไม้หอม ได้แก่ ว่านน�ำ้ รางจื ด ต้ น ว่ า นตี น ตะขาบ เสลดพั ง พอน ตะไคร้หอม รางจืดเถา หางไหลแดง พญาไร้ใบ มหาหงส์ ฟ้าทะลายโจร ลิ้นกระบือ หนุมาน ประสานกาย ก�ำแพงเจ็ดชั้น กระทิง กันเกรา กฤษณา กรรณิการ์ ขลู่ อ้อยช้าง จ�ำปา ดอกแก้ว นางแย้ม ปลาไหลเผือก ประค�ำดีควาย ฝาง เพชรสังฆาต พิกลุ ประดูบ่ า้ น โมก มะขามป้อม มะดัน มะกา มะกอก แย้มปีนัง และปลูกไม้ หอม เพิ่มเติม ได้แก่ ราตรีหอม กันเกราหอม พิ กุ ล ทอง บั ว สวรรค์ ห อม หิ รั ญ ญิ ก าหอม การะเวกหอม หอมเจ็ดชัน้ ปีปหอม นมแมวหอม พุดเศรษฐีหอม รสสุคนธ์ขาวหอม พร้อมทั้ง ศึกษาการใช้ประโยชน์ 14. กิจกรรมการฝึกอบรมและถ่ายทอด เทคโนโลยี มีเกษตรกรเข้าศึกษาดูงานและ เรียนรู้กิจกรรมต่าง ๆ ของโครงการ และได้ จั ด ฝึ ก อบรมหลั ก สู ต รเทคโนโลยี ก ารผลิ ต มันส�ำปะหลังที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ 15. กิจกรรมปรับปรุงสถานที่ ท�ำการ ปรับปรุงสภาพพืน้ ทีบ่ ริเวณโครงการฯ อาคาร วิชาการ ศาลาที่ท�ำการ และเรือนเพาะช�ำ จัดบอร์ดนิทรรศการการปลูกพืชชนิดต่าง ๆ รวมถึ ง ตกแต่ ง พื้ น ที่ ข องโครงการให้ ร ่ ม รื่ น สะอาด ส� ำ หรั บ เป็ น ที่ พั ก ผ่ อ น เป็ น แหล่ ง หาความรู้ทางด้านการเกษตร
การด�ำเนินงานในระยะต่อไป
ในปี พ.ศ. 2552 ด�ำเนินแก้ไขปัญหา อุปสรรคในด้านต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในโครงการ และด� ำ เนิ น การส� ำ รวจความต้ อ งการของ ตลาด เพื่อเป็นแนวทางในการศึกษาทดลอง พันธุ์พืชต่าง ๆ พร้อมขยายผลการด�ำเนินงาน ไปสู ่ เ กษตรกรในบริ เวณใกล้ เ คี ย ง เพื่ อ ให้ เกษตรกรน�ำความรูด้ า้ นพันธุ์ ด้านการผลิต การ แปรรูปผลผลิต ระบบปลูกพืช การปรับปรุงดิน โดยเน้ น การใช้ ปุ ๋ ย อิ น ทรี ย ์ แ ละหญ้ า แฝก รวมถึงการท�ำการเกษตรแบบผสมผสาน ไป ปฏิบัติในที่ดินของตนเอง เพื่อเพิ่มผลผลิต มูลค่าของผลผลิต และประสิทธิภาพการใช้ ที่ดิน ท�ำให้มีรายได้ และความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ต่อไป ในส่วนของกิจกรรมหลักจะได้ทดลอง พันธุ์พืชต่าง ๆ พร้อมขยายผลการด�ำเนินงาน ไปสู ่ เ กษตรกรในบริ เวณใกล้ เ คี ย ง เพื่ อ ให้ เกษตรกรน�ำความรู้ด้านพันธุ์ ด้านการผลิต การแปรรูปผลผลิต ระบบปลูกพืช การปรับปรุง ดินโดยเน้นการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ และหญ้าแฝก รวมถึ ง การท� ำ การเกษตรแบบผสมผสาน ไปปฏิบัติในที่ดินของตนเอง เพื่อเพิ่มผลผลิต และประสิทธิภาพการใช้ที่ดิน ท�ำให้มีรายได้ และความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ขอขอบคุ ณ ที่ ม า ส� ำ นั ก งานคณะ กรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการ อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ (ส�ำนักงาน กปร.)
CHAINAT I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 35
35
19/12/2562 13:29:12
ชัยนาท...เมืองมงคลนาม งามวิถี ไทย ใต้ร่มพระบารมี “ชัยนาท” มีความหมายอันเป็นมงคลว่า “เสียงบันลือแห่งชัยชนะ” เป็นเมืองโบราณ ที่มีพัฒนาการมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ โดยพบร่องรอยแหล่งชุมชนโบราณกระจายอยู่ ตามลุ่มน�้ำเจ้าพระยาลุ่มน�้ำท่าจีน และลุ่มน�้ำน้อย จากการขุดค้นพบภาชนะและเศษภาชนะ ดินเผาเนื้อหยาบที่เผาในอุณหภูมิต�่ำ ชิ้นส่วนของก�ำไลหิน ลูกปัดชิ้นส่วนของอาวุธหอกที่ ท�ำด้วยหิน และโลหะ และยังพบโครงกระดูกมนุษย์ที่ฝังไว้อีกหลายแห่งแสดงว่าบริเวณนี้ เคยเป็นที่อยู่อาศัยของชุมชนในยุคก่อนประวัติศาสตร์ 36
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
Chainat.indd 36
. - 18/12/2562 15:59:54 PM
สมัยทวารวดี
บ้านเขาขาย อยู่ในเขตต�ำบลท่าพระ อ�ำเภอเมือง พื้นที่เป็นป่าละเมาะชายเขา พบ เศษภาชนะดินเผาต่างๆ สันนิษฐานว่า น่าจะเป็นแหล่งชุมชนโบราณมาก่อน เนื่องจาก อยู่ใกล้กับแหล่งชุมชนโบราณเขาพลอง บ้านโพธิ์งาม อยู่ในเขตต�ำบลบางหลวง อ�ำเภอสรรพยา พื้นที่ส่วนหนึ่งเป็นพื้นที่ของ วัดโพธิ์งาม ในพื้นที่บริเวณวัด ได้พบกระดูกช้างเป็นจ�ำนวนมาก พบเศษภาชนะดินเผา หอกโลหะและโครงกระดูกมนุษย์ บริเวณฝั่งตรงข้ามกับวัด เป็นพื้นที่ที่เรียกว่าคลองโพ มีสระน�้ำโบราณเรียกว่าสระกด สภาพพื้นที่เป็นเนินดิน และคูเมือง พอให้เห็นร่องรอยอยู่บ้าง เคยพบพระพุท ธรูป และศิล ปะวัตถุส มัยลพบุรีในบริเวณคลองโพ สระกรด และพื้นที่ ใกล้เคียงสันนิษฐานว่า บริเวณนี้เป็นแหล่งชุมชนโบราณ ที่พัฒนาตัวเองมาจนถึงสมัยลพบุรี เมืองนางเหล็ก อยู่ที่บา้ นเขาแหลม ต�ำบลไร่พัฒนา อ�ำเภอมโนรมย์ ลักษณะเป็นพื้นที่ราบ มีแหล่งแร่เหล็กอยู่ทั่วไปพบตะกรันแร่เหล็ก และซากเตาถลุงเหล็ก ตัวเมืองเป็นรูปสี่เหลี่ยม ผืนผ้า มีพื้นที่ประมาณ 74 ไร่ ยังคงสภาพเมืองโบราณให้เห็นได้ชัด เมืองนครน้อย อยู่ที่บ้านหัวถนน ต�ำบลไร่พัฒนา อ�ำเภอมโนรมย์ ตัวเมืองมีขนาดกว้าง 250 เมตร ยาว 300 เมตร มีร่องรอยการเป็นเมืองโบราณ เมืองอู่ตะเภา อยู่ที่บ้านอู่ตะเภา ต�ำบลอู่ตะเภา อ�ำเภอมโนรมย์ ติดกับล�ำน�้ำอู่ตะเภา ผังเมืองเป็นรูปสี่เหลี่ยมคางหมู พื้นที่บริเวณตัวเมืองสูงต�่ำไม่เท่ากัน มีร่องรอยสระน�้ำปรากฏ อยูบ่ ริเวณใกล้เคียงมีซากโบราณสถานอยูท่ วั่ ไปท�ำด้วยศิลาแลง และอิฐดินเผา พบเตาถลุงเหล็ก หลายแห่งระฆังหิน หินบดยา ลูกปัด ก�ำไลหิน หอกโลหะ โครงกระดูกมนุษย์ฝังอยู่ตามแนว เนินดินทั่วไป ชาวบ้านได้ขุดพบเหรียญเงินหลายร้อยเหรียญในบริเวณเมืองแห่งนี้ ตัวเหรียญ ประทับตราพระอาทิตย์ครึ่งดวงตราสังข์ และมีตราอื่น ๆ อีกเล็กน้อย มีอายุประมาณ พุทธศตวรรษที่ 11 จากการศึกษาผังเมือง ซากโบราณสถานคันดินกั้นน�้ำ ซึ่งอยู่ทางด้านทิศเหนือของ ตัวเมืองเพื่อกักและทดน�้ำ ให้ไหลมาเก็บไว้ในสระภายในตัวเมือง เมืองอู่ตะเภาน่าจะเป็น แหล่งชุมชนที่เจริญและอุดมสมบูรณ์ยิ่งแห่งหนึ่งในเขตภูมิภาคนี้ บ้านหนองบัว อยู่ในเขตต�ำบลเที่ยงแท้ อ�ำเภอสวรรคบุรี สภาพพื้นที่เดิมเป็นป่าละเมาะ โบราณวัตถุที่พบมีเศษภาชนะดินเผาเครื่องมืออาวุธท�ำจากหิน แหวนดีบุก แว ลูกปัดหิน และก�ำไลส�ำริด เมืองดงคอน อยู่ในเขตต�ำบลดงคอน อ�ำเภอสวรรคบุรี มีผังเมืองเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ไม่ พ บซากก� ำ แพงเมื อ ง พบซากโบราณสถานอยู ่ น อกเมื อ ง 1 แห่ ง ชาวบ้ า นเรี ย กว่ า โคกปราสาทมีแผ่นอิฐที่มีขนาดใหญ่กว่าที่พบในเมืองอื่นๆ พบภาพสลักนูนต�่ำบนแผ่นศิลา เป็นภาพพระพุทธรูปปางสมาธิ ขนาบข้างซ้ายด้วยธรรมจักรด้านซ้ายเป็นรูปสถูป พบฐาน พระพุทธรูปท�ำด้วยศิลาขนาดใหญ่เป็นรูปดอกบัวบาน ศีรษะตุ๊กตาดินเผาเศษภาชนะ ดินเผาหลายชนิด ตะเกียงน�้ำมันดินเผา แท่งหินบดยา ระฆังหิน สิ่งของที่ท�ำด้วยโลหะเช่น ก�ำไล ลูกกระพวน ใบหอก ขวาน เหรียญประทับตรามีอักษรปัลลวะประทับอยู่ด้วยเช่น ตราสังข์ และศรีวัตสะ ตราพระอาทิตย์ครึ่งดวง และตราสังข์ ตราแม่วัวลูกวัวและอักษร ปัลลวะ มีอายุอยู่ประมาณ พุทธศตวรรษที่ 12 CHAINAT I SBL บันทึกประเทศไทย
Chainat.indd 37
37
. - 18/12/2562 15:59:55 PM
สมัยลพบุรี
ในจังหวัดชัยนาทได้พบแหล่งอารยธรรมเขมร สมัยลพบุรีหลายพื้นที่ในเขตเมืองเก่าสวรรคบุรี และชัยนาท เมือ่ อารยธรรมสุโขทัยได้แผ่อทิ ธิพล ลงมาทางใต้ผา่ นก�ำแพงเพชร พิจติ ร นครสวรรค์ แล้วจึงมาสูจ่ งั หวัดชัยนาท ก็ได้มกี ารปรับเปลีย่ น ศาสนสถานเช่นเดียวกับสุโขทัยโดยมีการกลมกลืน ระหว่างศิลปกรรมเขมรสุโขทัย และสุพรรณภูมิ ที่มีอยู่ในท้องถิ่นเดิมเข้าด้วยกัน หลักฐานที่แสดงถึงวัฒนธรรมเขมร ได้แก่ แผ่นศิลาทับหลังท�ำด้วยศิลาทราย สลักเป็นรูป พระอิ น ทร์ ท รงช้ า งเอราวั ณ ศิ ล ปกรรมเขมร สมัยบาปวน ประมาณพุทธศตวรรษที่ 16 อยู่ติด กั บ พระพุ ท ธรู ป หลวงพ่ อ ฉายอยู ่ ด ้ า นที่ วิ ห าร วัดพระแก้ว อ�ำเภอสรรคบุรี สันนิษฐานว่า เจดีย์ ทีว่ ดั พระแก้วอาจจะสร้างทับศาสนสถานแบบเขมร อยู่ก็ได้
38
ได้ มี ก ารค้ น พบโบราณวั ต ถุ ข องสมั ย ลพบุ รี อี ก หลายแห่ ง ในเขตเมื อ งชั ย นาทเก่ า ได้ แ ก่ พระพุทธรูปศิลาทรายปางนาคปรกหลายองค์ พระพุทธรูปปางนีเ้ ป็นคติความเชือ่ ในพุทธศาสนา ฝ่ายมหายานที่เรียกว่า รัตนไตรมหายานซึ่งสลัก เป็นรูปของ พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร และ พระปรัชญาปารมิตาขนาบสองข้างพระพุทธรูป ปางนาคปรก ซึ่งเป็นศิลปะแบบเขมรแบบบายน มีอายุอยู่ประมาณพุทธศตวรรษที่ 18 นอกจากนีย้ งั พบหินบดยา ท�ำด้วยศิลาทราย ที่เมืองอู่ตะเภา เมืองดงคอน จึงอาจกล่าวได้ว่า เมืองชัยนาทเก่าเมืองสรรคบุรี และแหล่งชุมชน โบราณในเขตจังหวัดชัยนาท เคยได้รับอิทธิพล จากเขมรมาก่อน และเมื่อได้รับอิทธิพลของ สุโขทัยกับสุพรรณภูมิมากขึ้น ศิลปเขมรก็เลย เสื่อมสลายไป
สมัยสุโขทัย
ในสมัยสุโขทัยพื้นที่ของเมืองชัยนาทนั้นมี เมืองส�ำคัญอยู่สองเมืองคือ เมืองชัยนาทและ เมืองสรรค์ สันนิษฐานว่าเมืองชัยนาทสร้างขึ้น ในสมัยพระเจ้าเลอไท (พ.ศ. 1860 - 1879) แห่ ง กรุ ง สุ โขทั ย ได้ มี ก ารบู ร ณปฏิ สั ง ขรณ์ วัดวาอารามให้เรียบร้อยสมบูรณ์ เพื่อให้เมือง ชัยนาทเป็นเมืองหน้าด่านของกรุงสุโขทัย แต่ เมื อ งชั ย นาทน่ า จะอยู ่ ใ นอิ ท ธิ พ ลของแคว้ น สุพรรณภูมิ และแคว้นกัมโพช (ละโว้) มาก่อน พระเจ้าเลอไทเพียงแต่มารวบรวมให้เป็นเมือง หน้าด่านในภายหลัง เมือ่ พระเจ้าอูท่ องทรงสถาปนากรุงศรีอยุธยา เป็นราชธานี เมื่อปี พ.ศ. 1893 และต่อมาเมื่อ ปี พ.ศ. 1896 พระเจ้าเลอไท สวรรคต กรุงสุโขทัย เกิดความไม่สงบ พระเจ้าอู่ทองเห็นเป็นโอกาส จึงทรงยกกองทัพไปตียึดเมืองชัยนาทได้
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
Chainat.indd 38
. - 18/12/2562 15:59:57 PM
กรุงศรีอยุธยานับแต่นั้นมา
แล้วโปรดเกล้าฯ ให้ ขุนหลวงพะงัว่ ซึง่ ครองเมือง สุพรรณภูมิ (สุพรรณบุรี) มาครองเมืองชัยนาท ต่ อ มาเมื่ อ เหตุ ก ารณ์ ที่ ก รุ ง สุ โขทั ย สงบลง พระมหาธรรมราชาที่ 1 ขึ้นครองราชย์จึงได้ โปรดเกล้าฯ ให้ราชทูตน�ำเครื่องราชบรรณาการ มาถวายพระเจ้าอู่ทอง และขอเจรจาขอเมือง ชัยนาทคืน พระเจ้าอู่ทองก็ทรงคืนให้ขุนหลวง พะงัว่ จึงต้องกลับไปครองเมืองสุพรรณภูมติ ามเดิม ในรัชสมัยสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1
(พ.ศ. 1913 - 1931) เมือ่ พระองค์ขนึ้ ครองราชย์ แล้วในปี พ.ศ. 1914 ได้เสด็จยกกองทัพไปตี หัวเมืองฝ่ายเหนือ ตีได้เมืองชัยนาทไปจนถึง เมืองพระบาง(นครสวรรค์) และในปี พ.ศ. 1916 ได้ ท รงยกกองทั พ ไปตี เมื อ งชากั ง ราวแต่ ไม่ส�ำเร็จ ในปี พ.ศ. 1918 ได้ทรงยกกองทัพไปตี เมื อ งสองแคว(พิ ษ ณุ โ ลก) ได้ แ ล้ ว กวาดต้ อ น ชาวเมืองมากรุงศรีอยุธยาเป็นอันมาก สมเด็จ พระบรมราชาธิ ร าชที่ 1 ได้ ย กทั พ ไปตี เ มื อ ง ชากังราวอีกสองครัง้ ในปี พ.ศ. 1919 และ 1921 จึ ง ไปตี เ มื อ งชากั ง ราวได้ พ ระมหาธรรมราชา แห่งกรุงสุโขทัย สู้ไม่ได้ต้องยอมเจรจา ยอมให้ กรุงศรีอยุธยามีอ�ำนาจเหนือกรุงสุโขทัยเมือง ชั ย นาทจึ ง ตกอยู ่ ใ นฐานะเมื อ งลู ก หลวงของ
เมืองสรรค์หรือเมืองแพรกเป็นเมืองโบราณ อยู่ในเขตต�ำบลศรีราชา อ�ำเภอสรรคบุรี และ เมืองชัยนาทตกอยู่ในอิทธิพลของกรุงสุโขทัย เป็นส่วนใหญ่ ต่อมาเมื่ออารยธรรมสุโขทัยเริ่ม อ่อนตัวลงกลุ่มชนทางตอนใต้เจริญรุ่งเรืองมาก ขึ้น จนมีศิลปกรรมต่างๆ เป็นของตนเอง โดย เฉพาะกลุ่มชนทางสุพรรณภูมิและคงจะขยาย มาถึงเมืองชัยนาท เมืองแพรก หรือเมืองสรรค์ บุรีด้วย จนเกิดวัฒนธรรมศิลปกรรมแบบผสม ผสานระหว่างสกุลช่างสุพรรณภูมิ สุโขทัย และ อยุธยาขึ้น เช่นเจดีย์วัดพระแก้ว เจดีย์วัดพระยา แพรกพระปรางค์ทรงกลีบมะเฟืองทีว่ ดั มหาธาตุ เมืองสรรคบุรี พระปรางค์เป็นแบบอยุธยาที่ วั ด สองพี่ น ้ อ งรวมถึ ง เจดี ย ์ ท รงพุ ่ ม ข้ า วบิ ณ ฑ์ ศิลปะสุโขทัยที่วัดโตนดหลาย เมืองสรรคบุรี เป็นต้น
CHAINAT I SBL บันทึกประเทศไทย
Chainat.indd 39
39
. - 18/12/2562 16:00:00 PM
สมัยอยุธยา
ในสมั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา ชั ย นาทคงมี เ มื อ ง ส�ำคัญอยู่สองเมืองคือ เมืองชัยนาท และเมือง สรรค์ ต ่ อ มาในรั ช สมั ย สมเด็ จ พระนารายณ์ มหาราช ได้เกิดเมืองมโนรมย์ขึ้นอีกเมืองหนึ่ง เป็นเมืองเล็กๆ ตั้งอยู่ระหว่างเมืองชัยนาทกับ เมืองพระบาง ในปี พ.ศ. 1925 สมเด็จพระบรมราชาธิราช (พ.ศ.1938 - 1952) ได้สละราชสมบัติถวายให้ เจ้านครอินทร์หลานขุนหลวงพะงั่วที่ครองเมือง สุพรรณบุรีอยู่เดิม และได้พระนามว่า สมเด็จ พระนครินทราธิราช (พ.ศ. 1952 - 1967) พระองค์ ได้ส่งราชโอรส 3 องค์ ไปครองเมือง 3 เมือง คือ เจ้าอ้ายพระยาครองเมืองสุพรรณบุรี เจ้ายี่ พระยาครองเมืองสรรค์ และเจ้าสามพระยา ครองเมื อ งชั ย นาท ต่ อ มาเจ้ า สามพระยาได้ ขึน้ ครองราชย์กรุงศรีอยุธยาต่อจากพระราชบิดา เมื่อปี พ.ศ. 1961 ในรั ช สมั ย ของสมเด็ จ พระมหาจั ก รพรรดิ (พ.ศ. 2072 - 2111) พระองค์ได้ทำ� พิธมี ธั ยมกรรม ที่ต�ำบลชัยนาทบุรี ซึ่งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของ แม่นำ�้ เจ้าพระยาตรงข้ามกับเมืองชัยนาทเดิม แล้ว ทรงสถาปนาเมืองชัยนาทใหม่ขนึ้ ในปี พ.ศ. 2077
40
ในรั ช สมั ย สมเด็ จ พระมหาธรรมราชา (พ.ศ.2112 - 2133) กองทัพพระเจ้าเชียงใหม่ ได้ยกลงมาถึงเมืองชัยนาทและตั้งทัพลงที่เมือง นี้ด้วย ให้กองทัพหน้าตั้งทัพที่ ปากน�้ำบางพุทรา แขวงเมื อ งพรหม สมเด็ จ พระนเรศวร และ สมเด็จพระเอกาทศรถทรงยกกองทัพไปตีทัพ ที่บ้านชะไวแขวงเมืองวิเศษชัยชาญ แล้วทรงให้ พระราชมนู และขุนรามเดชะคุมกองทัพหน้า ยกเข้ า ตี ข ้ า ศึ ก แตกพ่ า ยกลั บ ไปเมื อ งชั ย นาท พระเจ้าเชียงใหม่จึงถอยทัพกลับ ในรั ช สมั ย สมเด็ จ พระนคริ น ทราธิ ร าช เมืองชัยนาท และเมืองสรรค์อยู่ในฐานะของ เมืองลูกหลวงต่อมาในรัชสมัย สมเด็จพระบรม ไตรโลกนาถ เมืองลูกหลวงได้เลื่อนไปอยู่ที่เมือง พิษณุโลกเมืองชัยนาท และเมืองสรรค์ จึงลด ความส�ำคัญลงไป ในรัชสมัยสมเด็จพระนเรศวร มหาราช (พ.ศ. 2133 - 2156) เมืองชัยนาท และเมืองสรรค์นา่ จะอยูใ่ นฐานะเมืองจัตวาเท่านัน้ เจ้าเมืองทั้งสองจึงกลับมาเป็นเมืองท้ายพระยา มหานคร ผู้ว่าราชการเมืองมีบรรดาศักดิ์เป็น พระยาตามนามเมืองเช่นพระยาสรรค์ พระยา ชั ย นาท พระยาไชยนฤนาท ตลอดมาจนถึ ง รั ช สมั ย พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า
เจ้ า อยู ่ หั ว ในสมั ย รั ต นโกสิ น ทร์ ส� ำ หรั บ เมื อ ง มโนรมย์ก็น่าจะอยู่ในฐานะเดียวกัน
สมัยธนบุรี
ในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (พ.ศ. 2310 - 2325) พระองค์ทรงใช้เมืองชัยนาท เป็นชัยภูมิในการตั้งรับพม่าที่ยกมาทางเหนือ เมือ่ อะแซหวุน่ กี้ แม่ทพั พม่ายกทัพมาตีเมืองเหนือ ของไทย สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรง ยกทัพหลวงโดยขบวนเรือไปตั้ง ณ เมืองชัยนาท แล้วโปรดเกล้าฯ ให้ แล้วจัดกองทัพไปตีทัพพม่า ที่ เ มื อ งนครสวรรค์ แ ล้ ว พระองค์ เ สด็ จ กลั บ กรุงธนบุรี ต่อมาทรงเห็นว่าการรบที่นครสวรรค์ ติดพันอยู่หลายวันพระองค์จึงได้เสด็จยกทัพ ออกจากกรุงธนบุรีอีกครั้งในวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2319 พอเสด็จไปถึงเมืองชัยนาท พม่าก็ ทิ้งค่ายที่นครสวรรค์ หนีไปทางเมืองอุทัยธานี จึงได้มรี บั สัง่ ให้กองทหารไทย และกองทหารมอญ ติดตามไปทันทัพพม่าที่บ้านเดิมบางนางบวช แขวงเมืองสุพรรณบุรีต่อเมืองสรรค์ ฝ่ายไทยตี ทัพพม่าแตกพ่ายไป ด้วยเหตุนี้จังหวัดชัยนาท จึงถือเอาวันที่ 28 กรกฎาคม ของทุกปีเป็น วันคล้ายวันสถาปนา จังหวัดชัยนาท
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
Chainat.indd 40
. - 18/12/2562 16:00:02 PM
สมัยรัตนโกสินทร์
เมืองชัยนาทยังคงมีความเป็นปึกแผ่นมั่นคง แต่ลดความส�ำคัญ ลงไปมาก ส่วนเมืองสรรค์และเมืองมโนรมย์ ได้ลดฐานะลงเป็นเมืองเล็ก ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ได้มีการกวาดต้อนครัวชาวลาว และ ชาวเขมรมาตัง้ ถิน่ ฐานในพืน้ ทีแ่ ถบนีเ้ ชือ้ สายชาว ลาวเวียง (เวียงจันทน์) ครั้งแรกได้มาตั้งบ้านเรือนอยู่ที่ต�ำบลบ้านโค้ง ปัจจุบันคือต�ำบล พลับพลาชัย อ�ำเภออูท่ อง จังหวัดสุพรรณบุรี และทีบ่ า้ นหนองแห้ว กิง่ อ�ำเภอเนินขาม จังหวัดชัยนาจต่อมาได้แยกย้ายไปอยูท่ ตี่ ำ� บลกะบกเตีย้ ต�ำบลสุขเดือนห้า กิ่งอ� ำเภอเนิน ขามและที่ต� ำบลสะพานหิน กิ่ง อ�ำเภอหนองมะโมง กลุ่มเชื้อสาย ลาวคั่งมาจากเมืองหลวงพระบาง เข้ามาอยู่ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ภายหลัง การปราบกบฏเจ้าอนุวงศ์การที่ได้ชื่อนี้เนื่องจากเดิมชนกลุ่มนี้ อาศัย อยูแ่ ถบภูคงั ทีห่ ลวงพระบางคนทัว่ ไปจึงเรียกว่า ลาวภูคงั ต่อมาจึงเพีย้ น เป็น ลาวคัง เมื่ออพยพมาครั้งแรกได้มาอยู่ที่บ้านหนองดินแดงและ บ้านโพรงมะเดื่อ อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม แล้วได้อพยพไปอยู่ ที่เขากระจิวจังหวัดกาญจนบุรี ได้อพยพเข้ามาอยู่ในเขตเมืองชัยนาท ที่ต�ำบลกุดจอก กิ่งอ�ำเภอหนองมะโรงต่อมาได้แยกย้ายไปอยู่ที่ต�ำบล หนองมะโรง ต�ำบลวังตะเคียน ต�ำบลสะพานหิน กิง่ อ�ำเภอหนองมะโรง และที่บ้านหนองพังนาค ต�ำบลเสือโฮก อ�ำเภอเมือง กลุ่มคนไทยเชื้อสายเขมร อยู่ที่หมู่บ้านทุ่งโพธิ ต�ำบลกะบกเตี้ย กิ่งอ�ำเภอเนินขามเข้าใจว่าอพยพเข้ามาตั้งครั้งกรุงธนบุรี ในปี พ.ศ. 2321 ทีเ่ จ้าพระยาสุรสีหล์ งไปเกณฑ์พลเมืองเขมร 10,000 คน ต่อเรือรบ แล้วยกก�ำลังไปสมทบกองทัพเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก ที่ยกไปตีเมืองเวียงจันทน์ ในรั ช สมั ย พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว ในปี พ.ศ. 2436 ได้มีการจัดระเบียบการปกครองส่วนภูมิภาคใหม่ จาก ระบบกินเมืองที่เป็นอยู่เดิม มาเป็นระบบเทศาภิบาล โดยการรวม การปกครองหั ว เมื อ งเป็ น มณฑลเทศาภิ บ าลส� ำ หรั บ มณฑล นครสวรรค์ ได้รวมหัวเมืองทางริมฝั่งแม่น�้ำเจ้าพระยาตอนเหนือขึ้น ไปจนถึงแม่น�้ำปิงได้แก่ เมืองชัยนาท เมืองสรรคบุรี เมืองมโนรมย์ เมืองอุทัยธานี เมืองพยุหะคีรี เมืองนครสวรรค์ เมืองก�ำแพงเพชร เมืองตาก รวม 8 หัวเมือง ขึ้นเป็นมณฑลนครสวรรค์โดยตั้งที่ท�ำการ ที่เมืองนครสวรรค์(ปากน�้ำโพ) ในครั้งนั้นเมืองมโนรมย์ และเมือง นครสวรรค์ได้เป็นอ�ำเภอขึ้นกับเมืองชัยนาทเรียกว่าอ�ำเภอมโนรมย์ และอ� ำ เภอสวรรค์ ส่ ว นอ� ำ เภอเมื อ งชั ย นาท ในขณะนั้ น เรี ย กว่ า อ�ำเภอบ้านกล้วยต่อมาในปี พ.ศ. 2440 ได้จัดตั้งอ�ำเภอสรรพยา และ อ�ำเภอบ้านเชี่ยนขึ้น ขอขอบคุณที่มา : หอมรดกไทย โดยส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
CHAINAT I SBL บันทึกประเทศไทย
Chainat.indd 41
41
. - 18/12/2562 16:00:03 PM
ท่องเที่ยววิถีพุทธ-วิถี ไทย ที่ชัยนาท
42
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
Chainat.indd 42
. - 18/12/2562 16:00:04 PM
แม้จังหวัดชัยนาทจะไม่ถูกจัดอยู่ในโปรแกรมเที่ยวพักผ่อน ในวันหยุดยาว แต่ความจริงแล้ว แค่วันหยุดเสาร์อาทิตย์ กับระยะทางที่ ไม่ ไกลจากกรุงเทพมากนัก เราก็จะได้แชะ ชิม ช้อป ที่ชัยนาทเมืองน่ารัก เมืองที่อบอวลด้วยกลิ่นอายของ วิถีชีวิตริมน�้ำอันแสนสุข ได้สัมผัสรอยยิ้มจริงใจของผู้คน ที่มีพระมีวัดเป็นที่ยึดมั่นมาแต่เก่าก่อน ถ้าพร้อมแล้วก็เดินทางไปด้วยกัน CHAINAT I SBL บันทึกประเทศไทย
Chainat.indd 43
43
. - 18/12/2562 16:00:05 PM
Coordinates
15 ํ09”29”N 100 ํ10”48”E
44
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
Chainat.indd 44
. - 18/12/2562 16:00:07 PM
เขื่อนเจ้าพระยา อ�ำเภอสรรพยา
THE CHAO PHRAYA DAM
ตั้งอยู่ที่บริเวณคุ้งบางกระเบียน หมู่ที่ 4 ต�ำบลบางหลวง อ�ำเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และ สมเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชิ นี น าถ พระบรมราชชนนี พั น ปี ห ลวง ได้ เ สด็ จ พระราชด�ำเนินเป็นองค์ประธานเปิดเขื่อนเจ้าพระยาเมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500
ความเป็นมา
ภาคกลางของประเทศไทยนั้น เป็นแหล่งผลิตข้าวที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ เนื่องจาก พื้นที่เป็นทุ่งราบกว้างใหญ่ไพศาล มีแม่น�้ำต่างๆ หลายสายไหลผ่าน เช่น แม่น�้ำเจ้าพระยา แม่น�้ำน้อย แม่น�้ำลพบุรี แม่น�้ำป่าสักและแม่น�้ำสุพรรณบุรี แม่น�้ำเหล่านี้มีขนาดใหญ่และลึก ไม่สามารถสร้างฝายทดน�้ำ เข้าไปยังพื้นที่เพาะปลูกได้ ประกอบกับน�้ำปีที่ท้นฝั่งแม่น�้ำ เจ้าพระยาได้เอง ท�ำให้บางปีมนี ำ�้ พอเลีย้ งต้นข้าวไปได้จนกว่าจะสุก จึงไม่มกี ารสร้างฝายทดน�ำ ้ จนกระทั่งเมื่อ 80 ปีที่แล้วมานี้ จึงมีความเห็นกันว่าควรมีการเก็บรักษาน�้ำ ให้มีปริมาณ เพียงพอ เพื่อส่งขึ้นบนทุ่งนาทั้งสองฝั่งส�ำหรับท�ำนา นอกจากนี้เรายังส่งข้าวไปขายเป็น สิ น ค้ า ออกเพิ่ ม มากขึ้ น จึ ง ควรหาวิ ธี ป ลู ก ข้ า ว เพื่ อ ส่ ง ขายให้ ไ ด้ จ� ำ นวนสม�่ ำ เสมอโดย การปรับปรุงการชลประทาน สร้างเขือ่ นเจ้าพระยา และขุดคลองส่งน�ำ้ จากเขือ่ นลงมาถึงทะเล ซึ่งโครงการนี้ต้องใช้เงินลงทุนเป็นจ�ำนวนมาก จึงค่อยๆ ท�ำทีละเล็กละน้อย ตั้งแต่รัชกาลที่ 5 เป็นต้นไป จนกระทั่งรัฐบาลขอกู้เงินจากธนาคารโลกใน พ.ศ. 2493 จึงลงมือด�ำเนินงาน โครงการเจ้าพระยาใหญ่อกี ครัง้ หนึง่ เขือ่ นเจ้าพระยาเป็นเขือ่ นคอนกรีต สร้างขึน้ ทีอ่ ำ� เภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท เป็นเขื่อนทดน�้ำ และงานในระบบส่งน�้ำที่ส�ำคัญ ส่วนใหญ่ก็ได้เริ่มก่อสร้างขึ้น พร้อมๆ กับการก่อสร้างหัวงานเขื่อน เขื่อนเจ้าพระยาท�ำพิธีเปิด พ.ศ. 2500 เขือ่ นเจ้าพระยามีลกั ษณะเป็นเขือ่ นคอนกรีตเสริมเหล็ก ยาว 237.50 เมตร สูง 16.5 เมตร ติดตัง้ บานประตูเหล็กรูปโค้งสูง 7.50 เมตร มีชอ่ งระบายให้นำ�้ ไหลผ่านขนาดกว้าง 12.50 เมตร จ�ำนวน 16 ช่อง ประตูนำ�้ ส�ำหรับเรือสัญจรติดกับเขือ่ นด้านขวากว้าง 14 เมตร ยาว 170.50 เมตร เรือขนาดใหญ่สามารถผ่านเข้าออกได้ บนสันเขื่อนมีสะพานกว้าง 7 เมตร รับรถน�้ำหนัก บรรทุกไม่เกิน 20 ตัน และมีทางระบายน�้ำล้นฉุกเฉินสร้างบนคันกั้นน�้ำซ้ายมือเหนือเขื่อน เจ้าพระยา กว้าง 10 เมตร ยาว 1,000 เมตร เพื่อช่วยระบายน�้ำเมื่อเกิดอุทกภัย อัตราการ ระบายน�้ำผ่านเขื่อนสูงสุดประมาณ 3,300 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที แต่การปล่อ ยน�้ำ จะควบคุมให้อยูใ่ นระดับไม่เกิน 2,500 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที เพือ่ มิให้กระทบต่อพืน้ ทีล่ มุ่ ต�ำ่ ริมแม่น�้ำเจ้าพระยา ทัศนียภาพรอบเขื่อนสวยงาม ช่วงเดือนมกราคมในบริเวณแม่น้�ำเหนือเขื่อนจะมีฝูง นกเป็ดน�้ำนับหมื่นมาอาศัยหากิน เขื่อนนี้ใช้ประโยชน์ด้านการชลประทาน การทดน�้ำเพื่อ การเกษตร โดยระบายน�้ำจากแม่น�้ำในภาคเหนือสู่ภาคกลางและอ่าวไทย ส่งน�้ำไปในพื้นที่ เพาะปลูกภาคกลางเข้าคลองส่งน�้ำสายใหญ่รวม 5 สาย คือ แม่น�้ำน้อย แม่น�้ำท่าจีน คลองมะขามเฒ่า-อู่ทอง คลองชัยนาท-ป่าสัก และคลองชัยนาท-อยุธยา และยังใช้ผลิตไฟฟ้า ส�ำหรับจ่ายในจังหวัด เขื่อนทดน�้ำแห่งแรกของประเทศไทยและเป็นเสมือนสายเลือดใหญ่ที่หล่อเลี้ยงวิถีชีวิต ของคนชัยนาททั้งในด้านการเกษตร การประมง ฯลฯ
CHAINAT I SBL บันทึกประเทศไทย
Chainat.indd 45
45
. - 18/12/2562 16:00:08 PM
วัดพระบรมธาตุวรวิหาร
วัดพระบรมธาตุวรวิหาร เป็นวัดเก่าแก่คู่บ้านคู่เมืองมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น และเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ส�ำหรับประกอบพิธีพุทธาภิเษกของพระมหากษัตริย์ทุกพระองค์ และ น�้ ำ หน้ า วั ด พระบรมธาตุ ว รวิ ห าร ถื อ ว่ า เป็ น น�้ ำ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ น� ำ ไปใช้ ใ นพิ ธี ถื อ น�้ ำ พิ พั ฒ น์ สั ต ยา อีกแห่งหนึ่งด้วยภายในวัดพระบรมธาตุวรวิหาร มีโบราณสถานและปูชนียวัตถุที่ส�ำคัญ ดังนี้คือ
สถานที่ศักดิ์สิทธิ์ ส�ำหรับประกอบพิธีพุทธาภิเษก ของพระมหากษัตริย์ทุกพระองค์
เจดีย์พระบรมธาตุ องค์พระเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ไม่ปรากฏหลักฐานว่าใครสร้าง มีแต่ต�ำนานกล่าวกันต่อๆ มาว่าองค์พระเจดีย์สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าศรีธรรมาโศกราชกษัตริย์ แห่งอินเดีย ได้ให้พระสงฆ์มาเผยแผ่พระศาสนายังประเทศต่างๆ รวมทั้งประเทศไทยด้วย โดยได้ผ่านมาทางสุวรรณภูมิ พระวิหารเก้าห้อง สันนิษฐานว่าสร้างพร้อมกับเจดีย์พระบรมธาตุ ภายในวิหารมีบ่อน�้ำ พระพุทธมนต์ศักดิ์สิทธิ์มีน�้ำออกมาตามธรรมชาติ อายุ 1,500 กว่าปี
46
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
Chainat.indd 46
. - 18/12/2562 16:00:13 PM
พระอุโบสถ ภายในอุโบสถมีพระประธาน เป็นพระพุทธรูปปูนปั้นขนาดใหญ่ลงรักปิดทอง ปางมารวิชัย หลวงพ่ อ เพชรจ� ำ ลอง (องค์ เ ดิ ม คื อ พระมหาธรรมราชาลิไท สร้างไถ่เมืองชัยนาท คื น จากพระเจ้ า อู ่ ท อง ขณะนี้ ก รมศิ ล ปากร น�ำเก็บรักษาไว้) พระพุ ท ธรู ป ปางนาคปรก ที่ ท� ำ ด้ ว ย ศิ ล าทรายพบบริ เ วณพระบรมธาตุ เ จดี ย ์ พระพุ ท ธรู ป ปางนาคปรกเป็ น คติ ค วามเชื่ อ ของพุ ท ธศาสนาลั ท ธิ ม หายาน ที่ เ รี ย กว่ า
“รัตนไตรมหายาน” ซึ่งสลักเป็นพระโพธิสัตว์ อวโลกิ เ ตศวร และพระทางปรั ช ญาปารมิ ต า ขนาบข้างพระพุทธรูปปางนาคปรก ซึง่ เป็นศิลปะ เขมรแบบบายน มีอายุในราวพุทธศตวรรษที่ 18 อาจจะพอสรุปได้ว่าเดิมองค์พระบรมธาตุเจดีย์ ณ วั ด พระบรมธาตุ ว รวิ ห ารนี้ เ ป็ น ศิ ล ปกรรม เขมรมาก่ อ น โดยเมื อ งชั ย นาทเคยตกอยู ่ ใ ต้ อิทธิพลอารยธรรมเขมร ซึ่งน่าครอบคลุมถึง เมืองสรรคบุรีด้วย ในราวพุทธศตวรรษที่ 16-18 ปั จ จุ บั น ทางวั ด ได้ ก� ำ หนดจั ด งานห่ ม ผ้ า พระบรมธาตุ ซึ่งถือเป็นประเพณีเก่าแก่ที่ปฏิบัติ สืบทอดกันมาอย่างยาวนาน ภายในงานมีกจิ กรรม
ทีน่ า่ สนใจมากมาย เช่น ชมขบวนแห่ผา้ พระธาตุ ทางเรือ จากบริเวณหน้าเขือ่ นเรียงหิน ศาลากลาง จังหวัดชัยนาท ไปจนถึงท่าน�ำ้ หน้าวัดพระบรมธาตุ วรวิหาร โดยประเพณีดังกล่าวจัดขึ้นเนื่องใน เทศกาลวันเข้าพรรษาของทุกปี เพื่อเป็นการ สักการบูชาองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และสืบสานประเพณีที่มีมาแต่โบราณ รวมทั้ง สร้ า งความสมั ค รสมานสามั ค คี แ ละเชื่ อ มโยง พุทธศาสนิกชนให้ใกล้ชิดกับพุทธศาสนาให้มาก ยิ่งขึ้น โดยถือเป็นประเพณีที่ยิ่งใหญ่ของชาว ชัยนาทเชื่อว่าหากท�ำการห่มผ้าพระธาตุเจดีย์ จะมี ค วามเจริ ญ รุ ่ ง เรื อ งและเป็ น สิ ริ ม งคล กับตนเอง CHAINAT I SBL บันทึกประเทศไทย
Chainat.indd 47
47
. - 18/12/2562 16:00:18 PM
วัดธรรมามูล วรวิหาร
ที่เสด็จประพาสของกษัตริย์ 3 รัชกาล วัดธรรมามูล วรวิหาร เป็นวัดเก่าแก่ที่สร้าง ขึ้นตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนต้น โดยพระมหาธรรม ราชากษัตริยแ์ ห่งวงศ์สโุ ขทัย (พระร่วง) เป็นผูส้ ร้าง ต่อมาในสมัยรัตนโกสินทร์ พระมหากษัตริย์ แห่งราชวงศ์จักรีถึง 3 พระองค์ได้เสด็จฯ มา ที่วัดแห่งนี้ด้วย ทีก่ ล่าวว่าพระมหาธรรมราชาเป็นผูส้ ร้างนัน้ เนื่ อ งจากมี ห ลั ก ฐานคื อ เมื่ อ ครั้ ง ที่ พ ระเจดี ย ์ พังลงมา ปรากฏพระพุทธรูปบูชาและพระเครือ่ ง (พระร่วง) บรรจุอยูใ่ นองค์พระเจดียเ์ ป็นจ�ำนวนมาก นอกจากนีย้ งั มีใบเสมาคูท่ เี่ ป็นศิลปะสมัยอยุธยา เป็นหลักฐาน ส่วนส�ำหรับพระพุทธรูปนั้นเป็น ศิลปะสมัยสุโขทัย ซึง่ ผูส้ ร้างวัดได้นำ� มาประดิษฐาน ไว้ ในทะเบียนวัดได้ระบุประมาณ พ.ศ. 2120 เป็นปีที่สร้างวัด 48
ในอดีต วัดนี้ตั้งอยู่บนที่ราบตรงกลางแม่น�้ำ เจ้าพระยา เมื่อแม่น�้ำได้เซาะตลิ่งพังเข้ามา จึง ย้ายเสนาสนะมาจัดสร้างขึน้ บนไหล่เขาธรรมามูล อ�ำเภอเมืองชัยนาท อันเป็นที่ตั้งอยู่ในปัจจุบัน ตั ว วั ด แบ่ ง เป็ น 4 ชั้ น คื อ ชั้ น แรกเป็ น ที่ ตั้ ง โรงเรียนประถมศึกษาของทางราชการ ชั้นสอง เป็นที่ตั้งศาลาการเปรียญ กุฏิ หอสวดมนต์ และ ฌาปนสถาน ชั้นสามเป็นที่ตั้งกุฏิและสวนไม้ นานาชนิด ชั้นสี่เป็นที่ตั้งพระอุโบสถ พระวิหาร พระเจดีย์ ส่วนปูชนียวัตถุส�ำคัญคือ หลวงพ่อ ธรรมจักรประดิษฐานอยูใ่ นพระวิหาร หลวงพ่อโต สมัยสุโขทัย รอยพระพุทธบาทจ�ำลอง ใบเสมาคู่ เป็ น ศิ ล าทรายสี แ ดงศิ ล ปะสมั ย อยุ ธ ยา และ มีเจดีย์ใหญ่ปรากฏแต่ฐาน ซึ่งท�ำด้วยอิฐก้อน ใหญ่เรียงซ้อนกัน
วัดธรรมามูล วรวิหารแห่งนี้นับเป็นวัดที่มี ความส�ำคัญ เพราะเป็นที่เสด็จประพาสของ พระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว (รัชกาลที่ 4) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) รวมทั้งพระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิ เ บศร มหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช มหาราช บรมนาถบพิตร (รัชกาลที่ 9) และ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพนั ปีหลวง เคยเสด็จฯ เพือ่ ทรง กราบนมัสการหลวงพ่อธรรมจักรทีว่ ดั แห่งนีด้ ว้ ย อยากรูแ้ ล้วใช่ไหม? ว่าท�ำไมพระมหากษัตริย์ ถึง 3 พระองค์ จึงได้เสด็จฯ มาที่วัดแห่งนี้ เรา ต้องเดินทางไปเยี่ยมชมด้วยตาตัวเองแล้ว
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
Chainat.indd 48
. - 18/12/2562 16:00:20 PM
ประเพณี
นมัสการหลวงพ่อธรรมจักร ในวันขึ้น 8 ค�่ำ เดือน 6 และ วันแรม 8 ค�่ำ เดือน 11 ใช้มือตักน�้ำในแม่น�้ำเจ้าพระยา ประพรมตัว เพื่อความเป็นสิริมงคล
CHAINAT I SBL บันทึกประเทศไทย
Chainat.indd 49
49
. - 18/12/2562 16:00:21 PM
เล่าเรื่องเมืองชัยนาท ณ
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ชัยนาทมุนี พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ชัยนาทมุนี เป็นที่รวบรวม เก็บรักษา อนุรักษ์ และจัดแสดงโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ ทีเ่ ป็นมรดกทางศิลปวัฒนธรรมของชาติ และเป็นแหล่งท่องเทีย่ วที่ส�ำคัญแห่งหนึ่ง ของจังหวัดชัยนาท ตั้งอยู่ภายในบริเวณวัดพระบรมธาตุวรวิหาร พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ แ ห่ ง นี้ ตั้ ง ขึ้ น ด้ ว ยความสนใจของพระชั ย นาทมุ นี (นวม สุ ทั ต โต) อดี ต เจ้ า คณะจั ง หวั ด ชั ย นาทและอดี ต เจ้ า อาวาสวั ด พระบรมธาตุ ว รวิ ห าร ซึ่ ง ได้รวบรวมศิลปวัตถุ โบราณวัตถุที่พบในจังหวัดชัยนาทและบริเวณใกล้เคียง มาเก็บรักษาไว้ในพิพิธภัณฑสถานของวัดเป็นจ�ำนวนมาก ต่อมา ท่านยินดีมอบศิลปวัตถุและโบราณวัตถุดังกล่าว ให้เป็นสมบัติของชาติ เพื่อประโยชน์ทางการศึกษาด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดีของไทย ในปี พ.ศ. 2509 กรมศิลปากรจึงได้ด�ำเนินการก่อสร้างอาคารพิพิธภัณฑสถานขึ้น ในบริเวณใกล้กับวัดพระบรมธาตุวรวิหาร ตั้งชื่อว่า “พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ชัยนาทมุนี” เพื่อเป็นที่ระลึกแด่พระชัยนาทมุนี เปิดให้ประชาชนเข้าชมได้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2512 เป็นต้นมา 50
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
Chainat.indd 50
. - 18/12/2562 16:00:24 PM
การจัดแสดงในพิพิธภัณฑ์ฯ แบ่งเป็น 2 ชั้น ชั้นล่าง จัดแสดงเรื่องราวประวัติศาสตร์ โบราณคดี ข องจั ง หวั ด ชั ย นาท โบราณวั ต ถุ ที่จัดแสดง ได้แก่ เครื่องใช้ เครื่องประดับสมัย ก่อนประวัตศิ าสตร์และสมัยทวารวดี พระพุทธรูป สมั ย ต่ า งๆ อี ก ส่ ว นหนึ่ ง จั ด แสดงโบราณวั ต ถุ ทีส่ ร้างขึน้ เพือ่ ถวายเป็นพุทธบูชา เช่น ตูพ้ ระธรรม เครือ่ งบริขารถมปัด ประติมากรรมและเครือ่ งถ้วย ในศิลปะลพบุรี สุโขทัย อยุธยา รัตนโกสินทร์ และศิลปะจีน ชั้นบน จัดแสดงพระพิมพ์ที่ได้จากการ ด�ำเนินงานทางโบราณคดีในประเทศไทย ตั้งแต่ พระพิมพ์ในศิลปะทวารวดี ศิลปะศรีวิชัย ศิลปะ ลพบุรี ศิลปะอยุธยา ศิลปะรัตนโกสินทร์ แม่พมิ พ์ พระพิมพ์ แผงพระพิมพ์ไม้ และพระพุทธรูป ส� ำ ริ ด ขนาดเล็ ก ในห้ อ งจั ด แสดงชั้ น บนนี้ มี โบราณวัตถุชิ้นส�ำคัญของชาติ คือ พระพุทธรูป ปางมารวิ ชั ย ศิ ล ปะล้ า นนา อิ ท ธิ พ ลสุ โขทั ย
CHAINATMUNI NATIONAL MUSEUM
วัตถุจัดแสดง ทีม่ คี วามส�ำคัญ พระพุทธรูปมารวิชัย เนื้อส�ำริด ศิลปะล้านนา กระเบื้องเชิงชายหน้าเทวดา
www.finearts.go.th/chainatmunimuseum
พุทธศตวรรษที่ 20 - 21 เป็นโบราณวัตถุที่เป็น สมบัติช้ินส�ำคัญของชาติ พระพุทธรูปโบราณ ลักษณะนี้มีอยู่เพียงชิ้นเดียวในประเทศ อาคารพิพิธภัณฑ์พื้นบ้าน เป็นการจัดแสดง เครือ่ งมือเครือ่ งใช้ในการเกษตร การท�ำมาหากิน วิถีชีวิต ขนบธรรมเนียมประเพณี ของคนไทย ในอดี ต แสดงถึ ง ภู มิ ป ั ญ ญาพื้ น บ้ า นที่ คิ ด ประดิษฐ์สิ่งของจากวัสดุธรรมชาติ ในการด�ำรง ชีวิตประจ�ำวัน ส�ำหรับผู้ชื่นชอบศึกษาเรื่องราวด้านประวัติ ศาสาตร์ โบราณคดี และวัตถุมงคลเก่าแก่หลาย ยุคหลายสมัยห้ามพลาดไปเยือน วันและเวลาท�ำการ เปิดให้บริการ วันพุธ - วันอาทิตย์ เวลา 09.00 - 16.00 น. (ปิดวันจันทร์ - วันอังคาร และวันหยุดนักขัตฤกษ์)
CHAINAT I SBL บันทึกประเทศไทย
Chainat.indd 51
51
. - 18/12/2562 16:00:32 PM
กราบขอพรหลวงปู่ศุข ณ
วัดปากคลองมะขามเฒ่า เป็นที่ทราบกันดีว่า วัดปากคลองมะขามเฒ่า เป็นวัดซึ่งมี “หลวงปู่ศุข” พระเกจิอาจารย์ชื่อดัง ซึ่งเป็นที่เคารพศรัทธาของชาวชัยนาทและประชาชนทั่วไป บนผนังอุโบสถมีภาพเขียนฝีพระหัตถ์ ของกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์พร้อมข้าราชบริพาร วัดปากคลองมะขามเฒ่า หรือทีเ่ รียกกันติดปากว่าวัดหลวงปูศ่ ขุ ตัง้ อยูบ่ ริเวณปากคลองมะขามเฒ่า (แม่น�้ำท่าจีน) แยกจากแม่น�้ำเจ้าพระยา มีทิวทัศน์ที่สวยงามน่ารื่นรมย์ แต่เดิมมีต้นมะขามเก่าแก่ อยู่ริมแม่น�้ำเจ้าพระยาหน้าวัด จึงเป็นที่มาของชื่อวัด เป็นวัดที่มีต�ำนานเล่าขานกันสืบมาในเรื่องของ วิชาอาคมและความศักดิ์สิทธิ์ของพระเครื่องและเครื่องรางของขลังซึ่งหลวงปู่ศุข หรือ “พระครูวิมล คุณากร (ศุข)” สร้างขึ้น เพื่อให้เป็นเครื่องคุ้มครองคุ้มภัยและเป็นสิริมงคลแก่ผู้ที่อยู่ในศีลในธรรม 52
ปั จ จุ บั น วั ด ปากคลองมะขามเฒ่ า เป็ น สถานที่ท่องเที่ยวทางพระพุทธศาสนาอีกแห่ง ซึ่งหากท่านได้มาเยือนชัยนาท ก็น่าจะได้เข้าไป กราบขอพรหลวงปู่ศุขเพื่อเป็นสิริมงคลแก่ชีวิต โดยทางวัดเปิดให้สักการะทุกวัน ตั้งแต่เวลา 09.00 - 11.00 น. และ 14.00 - 17.00 น.
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
Chainat.indd 52
. - 18/12/2562 16:00:38 PM
ที่ตั้ง ตั้งอยู่ หมู่ที่ 1 ต�ำบลมะขามเฒ่า อ�ำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท CHAINAT I SBL บันทึกประเทศไทย
Chainat.indd 53
53
. - 18/12/2562 16:00:39 PM
ชุมชนสรรพยา ชิมอาหารถิ่น อินบรรยากาศย้อนยุค
งานนี้ต้องบอกว่าถูกใจคนชอบเที่ยวซอกแซกไปตามเมืองเก่า เพราะที่อ�ำเภอสรรพยาเมืองน่ารัก เมืองที่มีการอนุรักษ์บ้านเรือนร้านค้าที่มีอายุนับร้อยปีไว้ พร้อม ๆ กับการจัดการท่องเที่ยวอย่าง ยั่งยืน ที่ดีต่อใจทั้งผู้อยู่อาศัยและนักท่องเที่ยว ชุมชนสรรพยา เป็นชุมชนเก่าแก่ริมแม่น�้ำเจ้าพระยา ที่อาคารบ้านเรือนได้รับการอนุรักษ์ไว้ เหมือนเมื่อร้อยกว่าปีที่แล้ว โดยเฉพาะที่โรงพักสรรพยา โรงพักที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศ เพราะ ถือก�ำเนิดขึ้นในปี พ.ศ. 2444 สมัยรัชกาลที่ 5 เลยทีเดียว เรียกว่าใครที่โหยหากลิ่นอายแบบย้อนยุค เป็นต้องหลงใหล ยิ่งใส่ชุดไทยไปเดินเที่ยวอาจเข้าใจผิดว่าหลุดเข้าไปอีกมิติหนึ่ง ยิ่งวันเสาร์-อาทิตย์ แรกของเดือน ที่มีจัด “ตลาดกรีนดี ถนนคนเดินสรรพยา” จะยิ่งคึกครื้น ทั้งพ่อค้าแม่ขายรวมไปถึง ชาวชัยนาทและนักท่องเที่ยว(มีร้านให้เช่าชุดไทย) ก็จะแต่งชุดไทยย้อนยุค เดินกันอย่างภาคภูมิใจ ในความเป็นไทย ส่วนใครที่ชื่นชอบงานสตรีทอาร์ท รับรองไม่ผิดหวัง เพราะมีภาพงานศิลปะเก๋ ๆ น่ารัก ๆ ซ่อนตัว อยูต่ ามก�ำแพงหรือตัวบ้านให้เก็บภาพ หรือร่วมเป็นส่วนหนึ่งของผลงานศิลปะได้ ส่วนเรื่องอาหารการ
54
กิ น นั้ น มี ใ ห้ เ ลื อ กทั้ ง ขนมที่ ห ากิ น ยาก และ อาหารพื้นบ้านอร่อยๆ ที่เป็นเอกลักษณ์ของที่นี่ อาทิ ขนมเม็ดขนุนจาวตาล แตกต่างจากเม็ด ทั่วไปตรงที่ใช้จาวตาลแทนถั่วซีก ขนมฮิควาย คล้ายขนมวงราดหน้าด้วยน�ำ้ ตาลเคีย่ ว แกงปลาร้า หั ว ตาล คล้ า ยกั บ ปลาร้ า ทรงเครื่ อ งแต่ ใ ส่ ยอดตาลอ่อนแทนปลาดุก ข้าวผัดกะเพราคุก ข้าวแดง อาหารในต�ำนานที่สมัยก่อนจะมีขาย หน้าโรงพักสรรพยา แล้วญาติพี่น้องจะซื้อไป เยี่ยมผู้ต้องขัง หมี่กะทิโบราณ เส้นหมี่สีชมพู กลิ่นหอมรสเปรี้ยวหวาน หมูสะเต๊ะแล้วแต่ต้อย ที่เนื้อหนานุ่มหอมมันหวานน�้ำจิ้มกลมกล่อม เป็นต้น
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
Chainat.indd 54
. - 18/12/2562 16:00:41 PM
และเมือ่ ปีทแี่ ล้ว อ�ำเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท เทศบาลต�ำบลสรรพยา และชาวชุมชนสรรพยา ร่วมกันผลักดันให้เป็น “หมู่บ้านท่องเที่ยวโดย ชุ ม ชนบ้ า นสรรพยา” เพื่ อ อนุ รั ก ษ์ วิ ถี ชุ ม ชน ตลาดเก่าให้เป็นแหล่งท่องเทีย่ วชุมชนอย่างยัง่ ยืน โดยค�ำนึงถึงการรักษาสิ่งแวดล้อม การอนุรักษ์ วัฒนธรรม วิถีชีวิตของชุมชนที่มีเสน่ห์ไว้ ซึ่งจะ ช่วยสร้างความเข้มแข็งทางด้านสังคมและเศรษฐกิจ ให้กบั ชุมชน ผ่านการจัดการท่องเทีย่ วโดยชุมชน ที่แตกต่างจากการท่องเที่ยวทั่วไป โดยจะเน้น การเรียนรู้ระหว่างเจ้าของบ้านกับผู้มาเยือน เที่ยวสนุกอย่างมีสติ เพื่อคงเสน่ห์ของการ ท่องเที่ยววิถีชุมชนให้ยั่งยืน
ที่ตั้ง ถนนคนเดินสรรพยา อ�ำเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท CHAINAT I SBL บันทึกประเทศไทย
Chainat.indd 55
55
. - 18/12/2562 16:00:53 PM
ลักษณะเด่น
บรรยากาศแบบบ้านทุ่ง รู้สึกสดชื่นทุกครั้งที่ ได้กลิ่น ของต้นไม้ ใบหญ้า หลงรักในความเขียวของทุ่งนา
เที่ยวแบบสายหวานที่
ทุ่งดงตาลห้วยกรด อ�ำเภอสรรคบุรี
เทรนด์ ก ารเที่ ย วแบบลงลึ ก ถึ ง ก้ น ครั ว ก�ำลังเป็นที่นิยมในหมู่นักท่องเที่ยวไทยมากขึ้น เพราะนอกจากจะได้ เ ติ ม เต็ ม สิ่ ง แปลกใหม่ ให้ ชี วิ ต มี ร สชาติ แ ล้ ว ยั ง ได้ เ รี ย นรู ้ วิ ถี ชี วิ ต ความคิด และจิตใจของผู้คนในท้องถิ่น เพื่อ ความเข้าอกเข้าใจซึ่งกันและกันมากขึ้นด้วย ชุมชนห้วยกรด อ�ำเภอสรรคบุรี เป็นชุมชน ที่มีการปลูกต้นตาลจ�ำนวนมากจนกลายเป็น แหล่งท่องเที่ยวทุ่งดงตาล และมีการอนุรักษ์ การท�ำน�้ำตาลโตนดห้วยกรดตามแบบโบราณ
56
จนน�้ ำ ตาลโตนดห้ ว ยกรดกลายเป็ น สิ น ค้ า ที่ขึ้นชื่อในเรื่องของความหอมหวานกลมกล่อม ไม่ เ พี ย งแต่ น�้ ำ ตาลโตนดเท่ า นั้ น ชาวชุ ม ชน ยังได้ต่อยอดน�ำส่วนต่างๆ ของต้นตาลมาใช้ ประโยชน์ เช่ น พั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ท� ำ จาก ต้นตาลโตนดให้เป็นสินค้า OTOP ของจังหวัด น� ำ ยอดต้ น ตาลโตนดมาท� ำ เป็ น อาหาร เช่ น ต้มปลาร้าหัวตาล แกงหัวตาล ย�ำหัวตาลปลาย่าง และขนมหวานต่างๆ เช่น เม็ดขนุนจาวตาล ลอนตาลเชื่อม ลอนตาลลอยแก้ว ฯลฯ
จากความโดดเด่นนี้เอง ชาวชุมชนห้วยกรด จึงเปิดให้นักท่องเที่ยวได้มาเยี่ยมชม ชิม ช้อป และมีโฮมสเตย์เปิดให้บริการส�ำหรับผู้ท่ีอยาก สัมผัสวิถีชีวิตท้องถิ่นอย่างแท้จริง ได้ทดลอง การเคี่ยวน�้ำตาล การน�ำน�้ำตาลมาท�ำอาหารพื้น บ้านทั้งคาว-หวาน ในฤดูท�ำนา ก็ยังมีกิจกรรม ให้ได้ลองท�ำนาแบบครบวงจร ตั้งแต่การปลูก สีข้าว แพ็คใส่ถุง ฯลฯ แค่คิดก็สนุกแล้วใช่ไหม รีบจองที่พักแล้ว จัดกระเป๋าไปกันเลย
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
Chainat.indd 56
. - 18/12/2562 16:00:55 PM
วัดทรงเสวย
กับต�ำนานเครื่องเสวยต�ำรับชาวบ้าน หนึ่งในเส้นทางการเสด็จประพาสต้นของ
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลที่ 5 จนได้กลายมาเป็นชื่อของวัดเก่าแก่ แห่ ง หนึ่ ง ว่ า “วั ด ทรงเสวย” อ� ำ เภอวั ด สิ ง ห์ จังหวัดชัยนาท วัดทรงเสวย เดิมมีนามว่า “วัดบ้านหนองแค” สร้างขึน้ ราว พ.ศ. 2430 ต่อมาประมาณ พ.ศ. 2451 (ร.ศ. 127) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยูห่ วั ฯ เสด็จพระราชด�ำเนินตรวจสอบล�ำน�ำ้ เก่า โดยทางรถไฟถึงจังหวัดนครสวรรค์ แล้วเสด็จ ประทั บ เรื อ พระที่ นั่ ง ครุ ฑ เหิ ร เห็ จ เพื่ อ ตรวจ ล�ำแม่นำ�้ มะขามเฒ่า (แม่นำ�้ ท่าจีน) ทรงประทับแรม ทีว่ ดั หัวหาด อ�ำเภอมโนรมย์ ปัจจุบนั เรียกวัดนีว้ า่ วัดพิกุลงาม นับเป็นการเสด็จเมืองชัยนาทเป็น ครั้งที่ 3
ต่อจากนั้นวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2451 เสด็จฯ ตามล�ำน�้ำมะขามเฒ่าผ่านตลาดวัดสิงห์ ซึง่ ล�ำน�ำ้ มะขามเฒ่าในสมัยนัน้ เต็มไปด้วยผักตบชวา และตอไม้ ประชาชนจึงได้ช่วยกันตัดตอไม้ และ เก็บผักตบชวา พระองค์ประทับแรมทีว่ ดั หนองแค ซึ่งในครั้งนั้น พระอธิการคล้อย เจ้าอาวาส ได้ ชักชวนราษฎรสร้างพลับพลารับเสด็จ พระองค์ ทรงมี พ ระราชประสงค์ เ สวยยอดหวายโปง ตาแป้นมรรคนายกวัดหนองแคจึงได้ให้ชาวบ้าน ไปหายอดหวายโปงมาเผาไฟ หยวกกล้วยต้ม น�้ำพริกปลามัจฉะมาถวาย พระองค์ทรงเสวย อย่างเจริญพระกระยาหาร และตรัสกับชาวบ้าน ว่า ต่อไปนีใ้ ห้เรียกวัดนีว้ า่ “วัดเสวย” แต่ชาวบ้าน ได้เติมค�ำว่า “ทรง” ไปด้วย จึงเรียกวัดนี้ว่า “วัดทรงเสวย” จนทุกวันนี้
ในปีตอ่ มา พระองค์ทรงมีพระมหากรุณาธิคณ ุ ทรงส่งสิ่งของมาถวายแด่พระอธิการคล้อย โดย เป็นของที่ระลึกในงานพระศพของพระเจ้าอุรุ พงศ์รัชสมโภช ได้แก่ บาตร ฝาบาตรมีตรา สีทองรูปวงรี มีขอ้ ความว่า ร.ศ. 128 งานพระศพ พระเจ้ า อุ รุ พ งศ์ รั ช สมโภช ปิ ่ น โตขนาดใหญ่ ที่ ฝ าปิ ่ น โตมี ข ้ อ ความเช่ น เดี ย วกั บ ฝาบาตร พระขรรค์ ตาลปัตรใบลาน (ปัจจุบนั ได้สญ ู หายไป) ตะเกียงลาน เรือส�ำปั้น ป้านน�้ำชา 1 ชุด สิ่งของ เหล่านี้ปัจจุบันทางวัดยังเก็บรักษาไว้อย่างดี ต�ำรับอาหารชาวบ้านที่พระองค์ทรงโปรด จะอร่ อ ยแค่ ไ หน และยั ง มี ใ ห้ ชิ ม อยู ่ ห รื อ ไม่ คงต้องเดินทางไปพิสูจน์ด้วยตัวคุณเองแล้ว
ที่ตั้ง ณ บ้านหนองแค เลขที่ 63 หมู่ 1 ต�ำบลหนองน้อย อ�ำเภอวัดสิงห์ CHAINAT I SBL บันทึกประเทศไทย
Chainat.indd 57
57
. - 18/12/2562 16:00:57 PM
58
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
Chainat.indd 58
. - 18/12/2562 16:00:58 PM
บึงกระจับใหญ่ (เกาะเมืองท้าวอู่ทอง)
ตั้งอยู่ในอ�ำเภอหันคา จังหวัดชัยนาท ซึ่ง อยูน่ อกเมืองชัยนาท และเป็นทีอ่ ยูข่ องนกเป็ดน�ำ้ และนกปากห่างเป็นจ�ำนวนมาก เหมาะส�ำหรับ ล่องเรือชมนกยามเย็น และใช้เป็นที่จัดประเพณี ลอยกระทงอีกด้วย บึงกระจับใหญ่นั้นมีไฮไลท์ ทีน่ า่ สนใจ คือ สะพานลูกบวบข้ามบึงกระจับใหญ่ ไปเกาะเมืองท้าวอู่ทอง ซึ่งเป็นเกาะอยู่กลางบึง ขนาดใหญ่ ตัวสะพานลูกบวบท�ำด้วยไม้ทอดตัว ยาวกลางน�้ำข้ามบึงใหญ่ มองเห็นทัศนียภาพที่ ของบึงน�ำ้ ได้แบบสวยงาม แถมมีลมพัดเย็นสบาย ตลอดทั้งวัน เกาะเมืองท้าวอู่ทอง เป็นเกาะเมืองกลางบึง กระจับใหญ่ ซึ่งเป็นบึงน�้ำธรรมชาติขนาดใหญ่ ที่ เชื่ อ ว่ า บึ ง แห่ ง นี้ ขุ ด ขึ้ น เพื่ อ ป้ อ งกั น ข้ า ศึ ก
อันหมายถึงพม่า ปัจจุบนั บนเกาะก็ยงั คงมีบา้ นเรือน หลงเหลืออยูบ่ นเกาะเพียง 3 หลังคาเรือน เกาะนี้ ไม่มีไฟฟ้าน�้ำประปาใช้ แต่ชาวบ้าน 3 ครัวเรือน ก็ยงั อาศัยอยูเ่ พราะเป็นบ้านเกิด และเป็นถิน่ ทีอ่ ยู่ ของบรรพบุรุษไม่ยอมย้ายออกไปไหน แต่ด้วย สภาพทีม่ ตี น้ ไม้สงู ใหญ่ปกคลุม ท�ำให้มนี กนานาชนิด มาอาศัยอยู่และมีบัวขึ้นรอบเกาะนี้ ก็กลายเป็น แหล่งท่องเทีย่ วเชิงนิเวศ ทีน่ กั ท่องเทีย่ วสามารถ เดินทางมาล่องเรือชมนกนานาชนิดได้ ทั้งเป็น สถานที่ชมตะวันตกดินที่สวยที่สุดในยามเย็น และยังเป็นจุดทีช่ าวหันคาจัดประเพณีลอยกระทง กันบริเวณนี้ทุกปีด้วย ในสมัยท่านสุทธิพงษ์ จุลเจริญ อดีตผูว้ า่ ราชการ จังหวัดชัยนาท ได้ให้มีการสร้างสะพานไม้ไผ่
เป็นแพลูกบวบข้ามบึงขนาดใหญ่สู่เกาะเมือง ท้าวอู่ทอง จุดประสงค์เพื่อความสะดวกในการ เดินทางไปยังเกาะแห่งนี้ เนื่องด้วยเป็นเกาะ ตั้งอยู่กลางน�้ำท�ำให้การเดินทางเป็นไปค่อนข้าง ล�ำบาก ต้องนั่งเรือข้ามบึงไปทางเดียวเท่านั้น เมื่อมีสะพานแห่งนี้การเดินทางมาก็ไม่ล�ำบาก อี ก แล้ ว และเป็ น การพั ฒ นาแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย ว ให้ นั ก ท่ อ งเที่ ย วต่ า งจั ง หวั ด มาเยื อ นชั ย นาท กันอีกด้วย การเดินทาง มาที่เกาะเมืองท้าวอู่ทองบึง กระจับใหญ่ อ�ำเภอหันคา ข้ามสะพานแม่นำ�้ ท่าจีน เลี้ยวขวาแยกไฟแดงแรก ขับตรงไปทางห้วยงู บึงจะอยู่ทางขวามือ
ลักษณะเด่น เป็นบึงขนาดใหญ่ มีประวัติความเป็นมา เป็นเกาะอยู่กลางบึงขนาดใหญ่ เป็นสถานที่จัดงานลอยกระทง ประจ�ำปีของ อ�ำเภอหันคา CHAINAT I SBL บันทึกประเทศไทย
Chainat.indd 59
59
. - 18/12/2562 16:00:59 PM
ดูนก-เล่นน�้ำ สนุกทั้งวันที่
สวนนกชัยนาท
า
CHAINAT BIRD PARK ร้อยความส�ำราญ ล้านความรู้ สู่สวนนกชัยนาท 60
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
Chainat.indd 60
. - 18/12/2562 16:01:01 PM
เคยได้ยินชื่อ “สวนนกชัยนาท” มานาน ก็ คิดว่าคงมีแต่นกให้ดู แต่ที่ไหนได้คะ ที่นี่คือเป็น ศูนย์รวมความรู้เกี่ยวกับสัตว์ที่บินอยู่บนฟ้าและ ที่อยู่ใต้น�้ำ และยังเป็นสถานที่พักผ่อนในวัน หยุดสุดหรรษาของทุกคนในครอบครัว สวนนกชัยนาทเป็นสถานที่ท่องเที่ยวและ อนุรักษ์นก โดยมีกรงนกที่มีขนาดใหญ่ที่สุดใน เอเชีย กินพื้นที่ขนาด 26 ไร่ มีอาคารศูนย์ข้อมูล ท่ อ งเที่ ย ว อาคารแสดงพั น ธุ ์ ป ลาลุ ่ ม แม่ น�้ ำ
เจ้าพระยาอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณ วดี ศูนย์วิทยาศาสตร์ท้องฟ้าจ�ำลอง อาคาร พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ไข่ น ก อาคารศู น ย์ โ อทอปส� ำ หรั บ ช้อปปิ้งของกินของใช้ติดมือ ส�ำหรับนักท่อง เที่ยวสูงวัยหรือที่มีเด็กเล็กไปด้วย ที่นี่ก็มีบริการ นั่งรถไฟเล็ก ชมรอบสวนนก มีบริก ารเรือถีบ ส�ำหรับหนุ่ม ๆ สาว ๆ ด้วย ภายในบริ เวณสวนนกชั ย นาท ยั ง มี เ ที่ ย ว ส� ำ หรั บ ทุ ก คนในครอบครั ว นั่ น ก็ คื อ สวนน�้ ำ
อวกาศที่ออกแบบตกแต่งเพื่อเอาใจคุณหนูๆ ด้วยตัวการ์ตนู ยานอวกาศ จานบิน และสไลด์เดอร์ รูปร่างเป็นหุ่นยนต์ยักษ์สูง 14 เมตร มีสระ น�้ำวน และคลองน�้ำวนความยาว 230 เมตร ที่ จะพาเราไหลวนไปรอบสวนอย่างสนุกสนาน เย็นฉ�่ำ สวนนกชั ย นาท ตั้ ง อยู ่ ใ นบริ เวณเชิ ง เขา พลอง หมู่ที่ 4 ต�ำบลเขาท่าพระ อ�ำเภอเมือง จังหวัดชัยนาท CHAINAT I SBL บันทึกประเทศไทย
61
ส�ำนักงา Chainat.indd 61
. - 18/12/2562 16:01:15 PM
History of buddhism....
วัดพระบรมธาตุวรวิหาร สั ก การะพระธาตุ ศ ั ก ดิ ์ ส ิ ท ธิ ์ ก ว่ า 1,500 ปี พระสุธีวราภรณ์ ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าคณะจังหวัดชัยนาท เจ้าอาวาสวัดพระบรมธาตุวรวิหาร
วั ด พระบรมธาตุ ว รวิ ห าร ตั้ ง อยู ่ ริ ม ฝั ่ ง แม่ น�้ ำ เจ้ า พระยา เลขที่ 173 หมู ่ ที่ 6 ต� ำ บลชั ย นาท อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด ชั ย นาท เป็ น พระอารามหลวงชั้ น โท ชนิ ด วรวิ ห าร
ประวัติความเป็นมา วัดพระบรมธาตุวรวิหาร เป็นวัดเก่าแก่ตั้งแต่สมัยโบราณ ตามประวัติกล่าวว่า “สร้างสมัยพระเจ้าศรีธรรมโศกมหาราช ได้ส่ง พระโอรสคือพระภัทรบดีศรีไชยนาท (ราชันขาว) มาสร้างพระสถูปบรรจุพระบรมธาตุ โดยพระเถระได้อัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ (เกตุธาตุ) มาบรรจุลงในพระปรางค์” ซึ่งสอดคล้องกับพระราชวินิจฉัยของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ รัชกาลที่ 5 พระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าฯ รัชกาลที่ 6 และกรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ ซึ่งมีพระราชวินิจฉัยสอดคล้องกันว่า พระเจดีย์องค์นี้ สร้างก่อนสมัยขอม รุง่ เรือง แปลกกว่าทีอ่ นื่ เพราะจ�ำหลักจากหินทัง้ องค์ และเป็นทีเ่ ลือ่ มใสยิง่ นักของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ รัชกาลที่ 4 ขณะทรงผนวช ได้เสด็จฯมาทรงกราบนมัสการ ด้วยทรงมีพระราชศรัทธาว่าเป็นพระบรมสารีริกธาตุที่ศักดิ์สิทธิ์ ที่ปรารถนาแล้วส�ำเร็จ 62
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
.indd 62
. - 09/01/2563 13:59:50 PM
สิ่งส�ำคัญภายในวัด 1. เจดียพ์ ระบรมธาตุ บรรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุสว่ นพระเกตุ มีความ ศักดิ์สิทธิ์ในเรื่องการงาน 2. หลวงพ่อทองพระประธานพระอุโบสถ สร้างในสมัยพระเจ้าอูท่ อง พ.ศ. 1912 มีความศักดิ์สิทธิ์เรื่องการรักษาโรคภัยไข้เจ็บต่าง ๆ 3. พระวิหาร สร้างในสมัยพระยาลิไท พ.ศ. 1902 (ผูส้ ร้างพระพุทธชินราช) หน้าพระบรมธาตุเจดีย์ ครอบบ่อน�ำ้ พระพุทธมนต์ 1,500 กว่าปี และยังเป็น ทีป่ ระดิษฐานหลวงพ่อเพชรจ�ำลองทีพ่ ระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจ้า สิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนีพนั ปีหลวง ทรงสร้างถวาย เมื่อปี พ.ศ. 2553 นับเป็นพระพุทธรูปเพียงองค์เดียวในเมืองไทยที่มี พระนามาภิไธยทั้งสองพระองค์ 4. หลวงพ่อเพชร พระพุทธรูปทีพ่ ระมหาธรรมราชาลิไททรงสร้างถวาย ประวัติกล่าวว่า พระเจ้าอู่ทองได้ให้หลวงพระงั่ว พระโอรสมายึดเมือง ไชยนาท พระยาลิไททรงขอเมืองคืน โดยท�ำการแข่งขันกันสร้างพระพุทธรูป
โดยไม่ต้องการท�ำสงครามให้ชาวบ้านเดือดร้อน พระยาลิไทสร้าง “หลวงพ่อเพชร” พระเจ้าอู่ทองสร้าง “หลวงพ่อทอง” ประวัติศาสตร์ กล่าวอีกว่าพระยาลิไททรงสร้าง “พระพุทธสิหงิ ค์” ถวายอีกองค์หนึง่ ด้วย 5. หลวงพ่อเมตตาประทานพร พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ บูชาแล้วเป็น ที่เมตตารักใคร่ของคนทั่วไป 6. บ่อน�้ำมนต์ศักดิ์สิทธิ์ สมัยศรีวิชัยอายุประมาณ 1,500 กว่าปี ความศักดิส์ ทิ ธิ์ ช่วยเสริมบารมี ล้างอาถรรพ์ คุณไสย อุบตั เิ หตุ เภทภัยต่าง ๆ 7. พระพุทธบาทจ�ำลอง รัชกาลที่ 5 ทรงถวาย ในคราวเสด็จประพาส ต้นปี 2449 ความศักดิส์ ทิ ธิ์ บูชาแล้วเป็นมงคลแก่ตนเองและครอบครัว พร้อมลูกหลานวงศ์ตระกูล 8. หลวงพ่อยิ้ม เป็นพระพุทธรูปปางไสยาสน์ ความศักดิ์สิทธิ์ บูชา แล้วความสุขกาย สบายใจ อยู่เย็นเป็นสุข 9. พระนารายณ์ สร้างสมัยพระนางจามเทวีในคราวมาบูรณะ วัดพระบรมธาตุ ประมาณ 1,000 กว่าปี ความศักดิส์ ทิ ธิ์ ขจัดศัตรู หมูม่ าร CHAINAT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 63
63
. - 09/01/2563 13:59:54 PM
การเดินทาง วัดพระบรมธาตุวรวิหาร อยู่ห่างจากตัวเมืองชัยนาทประมาณ 4 กิโลเมตร จากอ�ำเภอเมืองใช้เส้นทางหลวงหมายเลข 340 จนถึงสี่แยก ตัดกับเส้นทางหลวงหมายเลข 3183 เลีย้ วซ้ายประมาณ 200 เมตร หรือรถโดยสารประจ�ำทางสายกรุงเทพ-วัดสิงห์ ติดต่อสอบถามได้ที่ : วัดพระบรมธาตุวรวิหาร 173 หมู่ที่ 6 ต�ำบลชัยนาท อ�ำเภอเมือง จังหวัดชัยนาท 17000 : 091-742-6994 : หลวงพ่อทอง วัดพระบรมธาตุ ชัยนาท 64
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
.indd 64
. - 09/01/2563 13:59:56 PM
History of buddhism....
WATPHRABOROMMATHAT WORAWIHAN Paying homage to 1,500-year-old sacred Buddha’s relics Phra Khru Sutheewaraphon, Chai Nat province monk dean and abbot of Wat Phra Borommathat Worawihan Wat Phra Borommathat Worawihan is located on the riverside of Chao Phraya River. Its address is 173 village no.6, Chai Nat sub-district, Mueang district. Chai Nat province. It is an ancient temple that was built during the reign of Phra Chao Sri Thammasok Maharat in order to contain Buddha’s relics (Hair relics) in stupa that was carved of stone which is built before an era when Khmer was prosperous. Then, during the time when king Rama IV was a Buddhist monk, he came to this temple to pay homage to this Buddha’s relics because he believed that it is the sacred Buddha’s relics which will grant any wish.
Important buildings and objects in this temple 1. Pagoda for Buddha’s relics–It contains hair relics of Buddha. It has sacredness on issue about work. 2. Luang Phor Thong, principle Buddha image in this temple–It has sacredness on curing various kind of diseases. 3. Buddha image hall–It was built to cover 1,500-year-old pond of holy water. 4. Luang Phor Phet–The Buddha image that was built by Phra Maha Thammaracha Li Thai for competing with Phra Chao U-thong in order to redeem city from him. 5. Luang Phor Metta Prathan Phon–Sacred Buddha image, the one who worships this Buddha image will be loved and receive kindness from others. 6. Pond of holy water–This pond was built during Srivijaya era which its age is around 1,500 years old. It has various kind of sacredness, it potentiates people who pay their respect to this pond. It also repels curse, black magic and helps that person to avoid accident and disasters. 7. Imitation of Buddha’s footprint–It will bring fortune to people who worship this footprint including their families and descendants. 8. Luang Phor Yim–It is reclining Buddha image. Its sacredness is that people who worship this Buddha image will be healthy, happy and live their lives peacefully. 9. Phra Narai–The Buddha image that was constructed during the reign of Queen Cham Dhavi more than 1,000 years ago. Its sacredness is that it will eliminate enemies and demons. HOW TO GET HERE Wat Phra Borommathat Worawihan is around 4 kilometers from Mueang district by taking highway no.340 until you reach intersection on highway no.340 and 3483, then turn left at this intersection which take around 200 meters or you can take bus of Bangkok-Wat Singh route. For more information, please contact us via following methods: Tel. 091-742-6994 Facebook : หลวงพ่อทอง วัดพระบรมธาตุ ชัยนาท CHAINAT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 65
65
. - 09/01/2563 13:59:58 PM
文物寺庙
向文物致敬1500多年。 苏蒂瓦•拉彭⼤师傅 猜纳省 是⽟佛寺庙的庙住。
玉佛寺庙位于 Chainan省 Mueang区 Chainan 街道 6号村 173号 的湄南河河畔。 这里是一座古庙, 创建于国王斯里萨玛萨克大帝统治时期。 目 的是为了将佛像遗物(Ket That)包含于一座由整块石头蚀刻而 成的宝塔中,此宝塔建于繁荣的高棉时代之前。 寺庙里面重要的物品 第一个,宝塔,摆放佛陀遗物的遗物。帮助工作顺利。 第⼆个,金神父帕佛堂。帮助身体健康。 第三个,圣殿。超过1,500年座佛的⽔井。 第四个,裴神父佛像来自于古代国王。 第五个,梅塔•普拉森波恩神父。帮助实现爱情。 第六个,圣水。大概1,500年历史,帮助提升声望,清除奥秘, 各种意外事故。 第七个,模仿佛陀的足迹。敬拜有利于自己和家人。 第八个,严神父。敬拜有利于自己快乐。 第九个,毗湿奴。创建于大约1000年前,被认为可以消灭敌人。
66
如何前往? 这座寺庙距离柴纳(Chai Nat)镇4公⾥,从Mueang区出发, 沿340号高速公路⾏驶,直到与3183号高速公路的交叉路口,向 左转200⽶,或经过Bangkok-Wat Sing巴士。 如有疑问, 请致电 091-742-6994 脸书
: หลวงพ่อทอง วัดพระบรมธาตุ ชัยนาท
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
.indd 66
. - 09/01/2563 14:00:10 PM
History of buddhism....
วัดป่าเจ้าพระยา ศู น ย์ ป ฏิ บ ั ต ิ ธ รรมกลางน้ ำ � พระอธิการชูเกียรติ โฆสธมฺโม ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาส วัดป่าเจ้าพระยา
เสนาสนะที่เอื้อประโยชน์ในการปฏิบัติธรรมกรรมฐานของพระภิกษุ สามเณร และอุบาสิกา ศาลาปฏิบัติธรรมกลางน�้ำฐานรากเป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก โครง เรือนเป็นไม้เนื้อแข็งยังไม่แล้วเสร็จ กิจวัตรประจ�ำวันของพระภิกษุ 03.45 น. สัญญาณระฆัง ท�ำวัตรสวดมนต์เช้า 05.30-06.00 น. พระสงฆ์ออกโคจรบิณฑบาต 08.00 น. ฉันภัตตาหาร 10.00-12.00 น. เจริญภาวนา 15.00-16.00 น. เจริญภาวนา ฟังธรรม 16.00-17.00 น. ท�ำข้อวัตร ท�ำความสะอาดเสนาสนะ 17.00 น. ฉันน�้ำปานะ 19.30-21.00 น. ท�ำวัตรสวดมนต์เย็น ฟังธรรมเจริญภาวนา CHAINAT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 67
67
. - 09/01/2563 13:50:07 PM
History of buddhism....
วัดเขาท่าพระ นมัสการรอยพระพุทธบาทจำ�ลอง เจ้าอธิการนิรุตติ์ ชาคโร ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาสวัดเขาท่าพระ เจ้าคณะตำ�บลเขาท่าพระ
วัดเขาท่าพระ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 105 หมู่ 3 ต�ำบลเขาท่าพระ อ�ำเภอเมือง จังหวัดชัยนาท สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 43 ไร่ 3 งาน พืน้ ทีต่ งั้ วัดเป็นทีร่ าบเชิงภูเขามีปา่ ไม้และแม่นำ�้ โดยรอบ ประวัติความเป็นมา วัดนี้อยู่บนเนินเชิงเขาท่าพระด้านตะวันออก จึงเรียกว่าวัดเขา ท่าพระ จากการบอกเล่าถึงประวัติของวัดได้ความว่า เดิมทีก่อตั้งเป็น ส�ำนักสงฆ์เมื่อประมาณ พ.ศ. 2425 ได้จัดสร้างขึ้นเป็นวัดนับตั้งแต่ ประมาณ พ.ศ. 2437 โดยมีบิดาของก�ำนันจู และนายเอมกับนางเอม ค�ำพฤกษ์ สองสามีภรรยามีศรัทธาจึงชักชวนทายกทายิกาจัดสร้าง ขึ้นไว้เป็นเริ่มแรก ต่อมานายเอมกับนางเอม ค�ำพฤกษ์ ได้จัดการ บูรณะกุฏิ ศาลา เสนาสนะสงฆ์ท�ำด้วยไม้มุงแฝกขึ้นมาใหม่ท�ำให้เป็น ปึ ก แผ่ น แน่ น หนากว่ า แต่ ก ่ อ น จนท� ำ ให้ ท ายกทายิ ก าเกิ ด ความ เลื่อมใสเคารพนับถือ ก�ำนันจู และนายเอมกับนางเอม ค�ำพฤกษ์ จึง ได้เริ่มสร้างบูรณปฏิสังขรณ์วัดนี้ขึ้นเป็นล�ำดับ 68
สถานที่ตั้งวัดเขาท่าพระเป็นวัดเก่ามาก่อนหรือไม่ ไม่มีหลักฐาน ปรากฏ สิ่งที่พอจะให้สังเกตเห็นเป็นเค้ามูลก็มีเพียงวิหารเก่าที่ปรัก หั ก พั ง หลั ง หนึ่ ง ตั้ ง อยู ่ บ นยอดเขาทางทิ ศ ตะวั น ตก กั บ มี ร อย พระพุทธบาทจ�ำลองซึ่งท�ำด้วยศิลาสลัก 1 ชิ้น เป็นปูชนียวัตถุที่ ประชาชนชาวจังหวัดชัยนาท เคารพนับถือได้สักการบูชามาช้านาน โดยทุกปีจะมีงานนมัสการในวันเพ็ญเดือน 3 ทุกปี รอยพระพุทธบาท จ�ำลองนี้ ได้สร้างขึ้นครั้งไหนใครเป็นผู้สร้างสืบหาหลักฐานยังไม่ได้ ที่ได้จัดให้มีงานนมัสการและการท�ำการสมโภชเป็นงานประจ�ำปีนั้น มี ม าช้ า นานแล้ ว จนเป็ น กิ จ จะลั ก ษณะอย่ า งปั จ จุ บั น นี้ และที่ ประดิ ษ ฐานรอยพระพุ ท ธบาทจ� ำ ลองนี้ เ ดิ ม ที อ ยู ่ ต รงมณฑปเล็ ก ๆ บนยอดเขาทางทิศตะวันตกติดกับวิหาร ส่วนวิหารที่กล่าวนี้เล่ากันว่า เป็นอุโบสถ (โบสถ์) เก่า แต่มีคนมาลักใบสีมาไปจึงท�ำให้เห็นว่าไม่ใช่ อุโบสถ เลยเรียกกันว่า วิหาร แต่ก็เป็นค�ำบอกเล่าของคนเก่าๆ เท่านั้น ไม่มีหลักฐานยืนยัน
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
.indd 68
. - 09/01/2563 14:02:47 PM
วั ด เขาท่ า พระ ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า ณ วั น ที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2489 เขตวิสุงคามสีมากว้าง 13 เมตร ยาว 22 เมตร ผูกพัทธสีมาในปี พ.ศ. 2490
ล�ำดับเจ้าอาวาส 1. พระอาจารย์ข�ำ 2. พระอาจารย์เขียว 3. พระอาจารย์เล็ก 4. พระอาจารย์ยา 5. พระอาจารย์ฟุ้ง 6. พระครูบุญญคณูประการ 7. พระสัน กิตฺติโสภโณ 8. พระครูวุฒิชัยโสภณ (บุญส่ง) 9. พระครูวิชัยพัฒณกิจ (หลวงพ่อชั้น) 10. พระครูชัยสมาจาร (หลวงพ่อบุญชู) 11. เจ้าอธิการนิรุตติ์ ชาคโร เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน CHAINAT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 69
69
. - 09/01/2563 14:02:57 PM
History of buddhism....
วัดธรรมามูล วรวิหาร
“และเป็นวัดทีพ่ ระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั (รัชกาลที่ 4) และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั (รัชกาลที่ 5) เคยเสด็จ พระประพาส รวมทัง้ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (รัชกาลที่ 9) และสมเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงยังได้เสด็จมา นมัสการหลวงพ่อธรรมจักรที่วัดแห่งนี้ด้วย” ประวัติหลวงพ่อธรรมจักร หลวงพ่อธรรมจักร นั้นปัจจุบันยังไม่พบหลักฐานแน่ชัด มีเพียง ต�ำนานเล่าสืบกันมาแต่โบราณว่า...มีผู้พบพระพุทธรูปลอยน�้ำตาม แม่นำ�้ เจ้าพระยา มาพร้อมกัน 3 องค์ ได้แก่ หลวงพ่อโสธร (วัดโสธร วรวิ ห าร จ.ฉะเชิ ง เทรา) หลวงพ่ อ วั ด บ้ า นแหลม (วั ด บ้ า นแหลม จ.สมุทรสงคราม) และหลวงพ่อธรรมจักร (วัดธรรมามูล วรวิหาร จ.ชัยนาท) บ้างกล่าวว่ามีพระพุทธรูปอีกองค์หนึง่ คือ หลวงพ่อวัดไร่ขิง ลอยน�้ำตามมาด้วยแต่ส�ำหรับหลวงพ่อธรรมจักรนั้น เมื่อลอยมาถึง บริเวณหน้าวัดธรรมามูล วรวิหาร ปรากฏว่า ได้ลอยวนเวียนอยู่ พระภิกษุ และชาวบ้านจึงได้ท�ำพิธีอัญเชิญขึ้นมาประดิษฐานที่วัด โดยน�ำเชือก พร้อมด้ายสายสิญจน์ผูกกับพระพุทธรูป แต่ไม่สามารถดึงขึ้นมาได้ จนกระทั่งตกเย็นจึงแยกย้ายกันกลับ ปรากฏว่ารุ่งเช้าได้มีผู้พบเห็น พระพุทธรูปองค์ทลี่ อยน�ำ้ มา ได้มาประดิษฐานทีห่ น้าวิหาร วัดธรรมามูล วรวิหาร ซึ่งอยู่ที่บริเวณไหล่เขา จึงเป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมือง ชัยนาท มาถึงปัจจุบันนี้
พระราชปริยัติสุธี ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาสวัดธรรมามูล วรวิหาร
วัดธรรมามูล วรวิหาร สร้างอยู่บนไหล่เขา ริมฝั่งแม่นำ�้ เจ้าพระยา เขตอ�ำเภอเมืองชัยนาท เป็นวัดเก่าแก่วดั หนึง่ สร้างขึน้ ตัง้ แต่สมัยอยุธยา ตอนต้น เป็นวัดทีก่ ษัตริยแ์ ห่งวงศ์สโุ ขทัย (พระร่วง) หรือพระมหาธรรม ราชาเป็นผู้สร้าง มีหลักฐานคือ พระพุทธรูปบูชาบรรจุอยู่ในองค์พระ เจดียท์ พี่ งั ลงมา และพระเครือ่ ง (พระร่วง) เป็นจ�ำนวนมาก อีกอย่างหนึง่ มีใบเสมาคู่ เป็นศิลปะสมัยอยุธยาเป็นหลักฐาน ส�ำหรับพระพุทธรูป นัน้ เป็นศิลปะสมัยสุโขทัย ผูส้ ร้างวัดได้นำ� มาประดิษฐานไว้ในทะเบียน วัดได้ระบุประมาณ พ.ศ. 2120 เป็นปีที่สร้างวัด ก�ำหนดไว้เพื่อความ สมบู ร ณ์ เดิ ม สั น นิ ษ ฐานว่ า วั ด นี้ ตั้ ง อยู ่ บ นที่ ร าบตรงกลางแม่ น้� ำ เจ้าพระยาในปัจจุบันถึงยอดเขา เมื่อแม่น�้ำได้เซาะตลิ่งพังเข้ามาจึง ย้ายเสนาสนะมาจัดสร้างขึ้นบนไหล่เขาอันเป็นที่ตั้งอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งน�้ำในแม่น�้ำเจ้าพระยาบริเวณหน้ า วั ด ธรรมามู ล วรวิ ห าร ถื อ ว่ า เป็ น น�้ ำ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ น� ำ ไปใช้ ใ นพระราชพิ ธี ถือน�้ำพิพัฒน์สัตยา 70
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
.indd 70
. - 09/01/2563 13:52:04 PM
SBL บันทึกประเทศไทย
Website : www.sbl.co.th
Ad-SBL Magazine Online Nongbualamphu.indd 71
. - 18/12/2562 17:37:10 PM
72
.indd 72
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
. - 09/01/2563 14:25:21 PM
History of buddhism....
วัดป่าสัก ลอดตะกรุดยักษ์ สักการะพระแก้วมรกต พระครูสุจิตตสังวรคุณ
เจ้าอาวาสวัดป่าสัก (ธ) และเจ้าคณะอ�ำเภอจังหวัดชัยนาท (ธ)
วัดป่าสัก ตั้งอยู่บ้านดอนแตง หมู่ที่ 3 ต�ำบลหางน�้ำสาคร อ� ำ เภอมโนรมย์ จั ง หวั ด ชั ย นาท โดยหลวงพ่ อ ก� ำ จั ด หรื อ พระครูสุจิตตสังวรคุณ เจ้าอาวาสวัดป่าสัก พระเกจิอาจารย์ชื่อดัง ของจั ง หวั ดชั ย นาท ได้ มีด�ำ ริ ให้ จั ดสร้ างวิห ารตะกรุด มหารอด และตะกรุดยักษ์มหารอด ขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557 นับเป็นวัตถุมงคล ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก เพื่อเป็นจุดดึงดูดให้ประชาชนหั น มา เข้าวัดมากยิ่งขึ้น โดยตะกรุดยักษ์มหารอด มีความยาว 299 เซนติเมตร ความกว้าง เส้นผ่าศูนย์กลาง 79 เซนติเมตร และมีน�้ำหนัก 4,000 กิโลกรัม หรือ 4 ตัน ท�ำด้วยทองเหลืองหล่อทั้งดอก ด้านหน้าตะกรุด สลัก เป็นรูปพระรอด 2 องค์ และเขียนข้อความ “ก�ำจัดภัย วัดป่าสัก ชัยนาท 2557” ส่วนด้านหลังตะกรุด สลักเป็นอักขระยันต์ ภายใน ดอกตะกรุดยักษ์ท�ำเป็นช่องเหมือนอุโมงค์ โดยสร้างยกพื้น มียักษ์ แบกดอกตะกรุดไว้เหนือหัว 4 ตน เพื่อให้พุทธศาสนิกชนได้เดิน ลอดใต้ตะกรุดยักษ์ ก่อนที่จะเข้าไปกราบสักการะพระแก้วมรกต องค์พระประธานทีอ่ ยูภ่ ายใน ทรงเครือ่ งจักรพรรดิสามฤดู เพือ่ ความ เป็นสิริมงคลและแคล้วคลาดปลอดภัย
CHAINAT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 73
73
. - 09/01/2563 14:25:33 PM
ประวัติพระครูสุจิตตสังวรคุณ พระครูสุจิตตสังวรคุณ เจ้าอาวาสวัดป่าสัก (ธ) เจ้าคณะอ�ำเภอ จังหวัดชัยนาท (คณะธรรมยุต) ต�ำบลหางน�้ำสาคร อ�ำเภอมโนรมย์ จังหวัดชัยนาท 17170 พระครูสจุ ติ ตสังวรคุณ (ก�ำจัด สุจติ โฺ ต จินดาเฟือ่ ง) เกิดทีบ่ า้ นวังนาก ต�ำบลหนองตูม อ�ำเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย เมื่อวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2503 โยมบิดาชือ่ หิง จินดาเฟือ่ ง โยมมารดาชือ่ จันทร์ จินดาเฟือ่ ง มีพี่น้องรวมกัน 7 คน เป็นหญิง 1 คน เป็นชาย 6 คน ด้านการศึกษา เรียนจบชั้นประถมปีที่ 4 ไม่ได้เรียนต่อชั้นอื่น ออกมาช่วยบิดามารดา ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เมื่ออายุครบอุปสมบทได้ ก็อุปสมบทตามประเพณี เพื่อสืบต่อ อายุพระพุทธศาสนาได้ศึกษาพระธรรม พระวินัย จนแตกฉาน ความ เปลี่ยนแปลงในการอุปสมบท เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2537 ญัตติกรรมใหม่อีกครั้ง ที่วัดเทพกุญชรวนาราม ต�ำบลพรหมมาสตร์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี โดยมีพระมงคลธรรมภาณี (หลวงปูม่ งั มงฺคโล) เป็ น พระอุ ป ั ช ฌาย์ พระครู พ รหมจริ ย าทร วั ด มณี ช ลขั น ธ์ เป็ น พระกรรมวาจาจารย์ พระสาโรจน์ สีลธโร วัดเทพกุญชรวนาราม เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ปี พ.ศ. 2538 ออกเดินธุดงค์จากจังหวัดลพบุรีถึงจังหวัดชัยนาท พบสถานที่พอใจ เหมาะสมในการฝึกจิต ฝึกธรรม สมควรสร้างวัด ตามความรู้สึกที่เกิดขึ้น ในปีต่อมาจึงมีที่พักสงฆ์ป่าสัก เป็นวัดป่าสัก ในปัจจุบัน จากอดีตถึงปัจจุบัน และอีกวันในอนาคต -สุจิตฺตภิกขุ วันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ได้รับพระราชทานเสาเสมา ธรรมจักร จากสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่ศาลาว่าการกรุงเทพฯ 74
.indd 74
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
. - 09/01/2563 14:25:45 PM
History of buddhism....
WAT PA SAK Going under giant Takrut, paying homage to emerald Buddha image Phra Khru Sujittasangwornkhun, abbot of Wat Pa Sak and monk dean of ChaiNat province’s districts Wat Pa Sak is located at Ban Don Taeng village no.3, Hang Nam Sakhon sub-dsitrict, Manorom district, Chai Nat province. Phra Khru Sujittasangwornkhun thought about construction of Takrut Maharod Vihara and Giant Takrut Maharod (Giant rolled metal amulet inscribed with magic words that blessed good fortune) and started in B.E.2557 which it is considered to be the biggest sacred object in the world. It was built in order to attract more people to come to temple. The scale of giant Takrut Maharod is as follows: 299 centimeters in length, the diameter is 79 centimeters and the weight is 4 tons. The whole amulet is made of brass which the front of it is inscribed with two of Phra Rod and there is a message “Kamjat Phai, Wat Pa Sak, Chai Nat, 2557” which means eliminate the threat. As for the back of takrut, it was inscribed with magic words. On the inside of giant takrut, it was made into a tunnel by raising the ground. There are four statues of giant that carry this takrut above its heads for Buddhists to go under the giant takrut before they pay respect emerald Buddha image, the principle Buddha image of this temple which it is adorned with all-season clothing, for fortune in their lives and turning danger into safety. Biography of Phra Khru Sujittasangwornkhun Phra Khru Sujittasangwornkhun, abbot of Wat Pa Sak, Chai Nat province monk dean (Dhammayuttika Nikaya), Hang Nam Sakhon sub-dsitrict, Manorom district, Chai Nat province, 17170. Phra Khru Sujittasangwornkhun (Kamjat Sujitto Jindafeuang) was born at Ban Wang Nak, Nong Tum sub-district, Kong Krailat District, Sukhothai province, on 9th
September B.E.2503. His parent’s name are Mr.Hing and Mrs.Chan Jindafueang. He has 7 siblings which is one female and six males. As for his education, he studied at the school until he completed fourth grade only and quitted from school to help his parent on farming. He was ordained when he has reached proper age for being a monk which he became a monk in order to inherit Buddhism and study Buddha’s teaching and Vinayapitaka until he was proficient in these matters. There was an alteration of his ordination on 22 July B.E.2537, he performed the ordination ceremony again at Wat Thep Khunchon Wanaram, Phrommat sub-district, Mueang district, Lopburi province, which Phra Mongkol Thamphani (Luang Pu Mang Mangkharo) was the preceptor. In addition, pair of monks who chant the ordination service were Phra Khru Phrom Jariyathorn of Wat Maneechonkan and Phra Saroj Silatharo of Wat Thep Khunchon Wanaram. In B.E.2538, he took the pilgrimage from Lopburi province to Chai Nat province till he discovered suitable place for meditating, practicing the dharma and building temple by following his feeling that occurred when he arrived at this place. About a year after that, Pa Sak dwelling place for monk had been built at this place which it becomes Wat Pa Sak now. From the past until today and another day in the future. -Sujitta bhikkhu On 12 May B.E.2562, this temple was granted Sao Sema Thammachak award from Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn, The Princess Debaratanarajasuda, The Princess Royal of Thailand at Bangkok Metropolitan Administration. CHAINAT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 75
75
. - 09/01/2563 14:25:48 PM
帕萨寺庙
跨越巨大的护身符叫“塔克鲁德“。敬拜翡翠佛 苏吉特大师傅帕萨寺庙是住持
帕萨寺庙位于泰国纳特省Manorom区Hang Nam Sakhon街道三号。 苏吉特大师傅自2014年以来,开始建造一座寺庙,塔克鲁德和一 个巨大的护身符,这是世界上最大的圣物 为了吸引更多人来圣 殿。 这款名为塔克鲁德的护身符长299厘米,79厘米,重4吨,全黄 铜,在这个神圣的前面有两张佛像的照片,并写“消除2557年帕 萨寺庙的危险”的信息
塔克鲁德的背面刻有护身符的,在巨型塔克鲁德内 部,有一条隧道。 通过创建平台。还有4个巨人背着 塔克鲁德。让佛教徒在巨大的塔克鲁德下行走,为了 繁荣和发展,要尊重每个季节的主要佛像一一翡翠佛。 苏吉特大师傅帕萨寺庙是住持出生于泰国 素可泰1960 76
.indd 76
年9月9日,星期五,1983年在米栋寺庙奥丹, 这个寺庙 是大乘佛教僧侣。 后来,在2537年7月22日,成为了一位佛教僧侣在佛法 线下。以旺坤他发潘尼大师傅为主持人,在一段合理 的时间内向他学习魔术,然后告别, 徒步前往土美彭 寺清迈府。 当他到达乌塔堡街道时然后在班唐三荣定居了很多 天,后来,学生邀请到班杭坑,就是帕萨寺庙的位 置,与萨妈先生和啊里小姐一起邀请他在这里,这个 寺庙面积为10莱,森林地区。团结起来建造三个亭 子,还有另两位佛陀。 2019年5月12日, 诗琳通公主给这个寺庙西玛佛法教堂
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
. - 09/01/2563 14:25:57 PM
History of buddhism....
วัดสะพานหิน ที่พึ่งทางใจของชาวสะพานหิน พระครูประคุณวรสิทธิ์ ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาส วัดสะพานหิน
วัดสะพานหิน ตัง้ อยูท่ ี่ 214 หมู่ 1 ต�ำบลสะพานหิน อ�ำเภอหนอง มะโมง จังหวัดชัยนาท เป็นศูนย์รวมจิตใจของพุทธศาสนิกชนใน ต�ำบลสะพานหินมาช้านาน ปัจจุบันมี พระครูประคุณวรสิทธิ์ เป็น เจ้าอาวาสวัด
ประวัติเจ้าอาวาส พระครูประคุณวรสิทธิ์ ฉายา คุณวโร สถานะเดิม ชื่อ สมจิตร์ นามสกุล ปิติคาม อายุ 68 พรรษา 30 บรรพชา-อุปสมบท เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 ณ วัดปูเ่ จ้า ต�ำบลบ้านกร่าง อ�ำเภอศรีประจันต์ จั ง หวั ด สุ พ รรณบุ รี นามพระอุ ป ั ช ฌาย์ พระครู อ าภั ส สรคุ ณ นามพระกรรมวาจาจารย์ พระสมุห์นำ�้ ทิพ กิตฺติคุโณ นามพระอนุสาวนาจารย์ พระใบฎีกาฉ�่ำ สํวรยุตฺโต วิทยฐานะ พ.ศ. 2517 สอบได้นักธรรมชั้นตรี ส�ำนักศาสนศึกษาวัดยาง จังหวัดสุพรรณบุรี พ.ศ. 2533 สอบได้นักธรรมชั้นโท ส�ำนักศาสนศึกษาวัดยาง จังหวัดสุพรรณบุรี พ.ศ. 2535 สอบได้นักธรรมชั้นเอก ส�ำนักศาสนศึกษาวัดยาง จังหวัดสุพรรณบุรี พ.ศ. 2555 ส�ำเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรการบริหาร กิจการคณะสงฆ์ (ป.บส.) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย หน่วยวิทยบริการจังหวัดอุทัยธานี สมณศักดิ์ พ.ศ. 2559 เป็นพระครูสัญญาบัตร เจ้าอาวาสวัดราษฎร์ ชั้นโท ที่พระครูประคุณวรสิทธิ์ CHAINAT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 77
77
. - 09/01/2563 14:26:01 PM
78
.indd 78
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
. - 09/01/2563 14:47:33 PM
History of buddhism....
วัดพระแก้ว
ชมความงามของราชินีเจดีย์แห่งเอเชียอาคเนย์ พระครูวิจิตรชยาทร ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าคณะตำ�บลโพงาม เขต 2 / เจ้าอาวาสวัดพระแก้ว
วัดพระแก้ว ตั้งอยู่ที่หมู่ 10 บ้านบางน�้ำพระ ต�ำบลแพรกศรีราชา อ�ำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท เป็นวัดที่สร้างสมัยเดียวกับ วัดมหาธาตุ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 1900 เดิมชื่อวัดป่าแก้ว เป็นที่ปฏิบัติธรรมของคณะสงฆ์ฝ่ายอรัญวาสีหรือวิปัสสนาธุระ ต่อมามีคนพบ พระพุทธรูปองค์เล็กเท่าปลายนิ้วจากในเจดีย์ สร้างจากแก้วมีหลายสีส่องประกายสวยงามเมื่อต้องแสงไฟ จึงเรียกติดปากกันมา ว่าวัดพระแก้ว กรมศิลปากรได้ประกาศขึ้นทะเบียนโบราณสถานเมื่อวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2478
CHAINAT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 79
79
. - 09/01/2563 14:47:34 PM
ความเป็นมา วัดพระแก้ว เป็นวัดที่มีโบราณสถานที่ส�ำคัญวัดหนึ่ง เนื่องจากมี องค์เจดีย์สี่เหลี่ยมที่มีความงดงาม กระทั่งมีผู้กล่าวว่า เป็นราชินีแห่ง เจดีย์ทั้งมวลในเอเชียอาคเนย์ ลักษณะเป็นเจดีย์แบบละโว้ทรงสูงผสม กับเจดีย์ทวารวดีตอนปลาย ฐานเรือนธาตุแบบลดท้องไม้ เป็นศิลปะ สมัยสุโขทัยกับสมัยศรีวชิ ยั ผสมผสานกัน บริเวณด้านหน้าเจดียม์ วี หิ าร หลวงพ่อฉาย ด้านหลังองค์หลวงพ่อฉายมี “ทับหลัง” แกะสลักติดอยู่ ลักษณะเป็นภาพหงายรูปช้างมอบหงายอยู่บนแท่น ไม่ใช่ภาพคว�่ำ เหมือนทับหลังทัว่ ไป ส่วนบนสุดเป็นรูปพระอินทร์ หรือพระศิวะก�ำลัง หลั่งน�้ำพระพุทธมนต์ไหลถึงตัวช้าง เดิมพระสมุห์โปร่งอดีตเจ้าอาวาส วัดพระแก้ว ได้พบหลวงพ่อฉายในสภาพช�ำรุดหักเป็นสามท่อนอยู่ใน ป่าแฝก จึงจัดท�ำฐานไว้ชั่วคราว และต่อมา พ.ศ. 2498 ได้บูรณะ ซ่อมแซมให้สมบูรณ์ดังเช่นในปัจจุบัน และประดิษฐานอยู่ในวิหาร หน้าเจดีย์วัดพระแก้ว เป็นที่เคารพสักการะของประชาชน
80
.indd 80
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
. - 09/01/2563 14:47:39 PM
CHAINAT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 81
81
. - 09/01/2563 14:47:42 PM
82
.indd 82
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
. - 09/01/2563 14:47:44 PM
สถาปัตยกรรมและประติมากรรมที่ส�ำคัญภายในวัด เจดีย์ เป็นเจดียท์ มี่ คี วามงามทีส่ ดุ แห่งหนึง่ ของไทย มีบางท่านถึง กับยกย่องให้เป็นราชินแี ห่งเจดียใ์ นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สันนิษฐาน ว่าสร้างราวพุทธศตวรรษที่ 18-19 มีลักษณะเป็นเจดีย์แบบละโว้ทรง สูง ผสมกับเจดีย์แบบทวาราวดีตอนปลาย ใช้เทคนิคการสร้างแบบสอ ปูนเป็นเจดีย์ฐานสี่เหลี่ยมตั้งอยู่บนฐานไพที ฐานเขียง และฐานเรือน ธาตุแบบลดท้องไม้ มีพระพุทธรูปปูนปัน้ แบบนูนสูงประดับทัง้ สีด่ า้ น มี เจดียต์ อ่ จากฐานเรือนธาตุตอนบนทัง้ สีม่ มุ ต่อจากเรือนธาตุเป็นฐานสูง แปดเหลี่ยม มีซุ้มจระน�ำทั้งสี่ทิศ ต่อขึ้นไปเป็นบัวลูกแก้วและบัวถลา จนถึงองค์ระฆัง ลักษณะของเจดีย์คล้ายเจดีย์สุโขทัย อาจจะได้รับ อิทธิพลร่วมระหว่างศิลปะสุโขทัยกับศรีวิชัย บนฐานชั้นสามในซุ้มตรง กลางเป็นพระพุทธรูปปูนปั้นปางถวายเนตร มีพระพุทธรูปปูนปั้นปาง ประทานอภัยอยู่สองข้างลักษณะของพระพุทธรูปน่าจะเป็นศิลปะ อยุธยาตอนต้น เพราะมีเค้าโครงศิลปะสุโขทัยผสมทีเ่ ห็นได้ชดั ต่อจาก องค์ระฆังเป็นปล้องไฉน 12 ปล้องรวมความสูง 37 เมตร ดูตามลักษณะที่ก่อสร้างน่าจะได้มีการแฝงคติธรรมค�ำสอนใน พระพุทธศาสนาเอาไว้ด้วยหลายประการคือ ฐานสี่เหลี่ยมหมายถึง อริยสัจสี่ ฐานสูงแปดเหลี่ยมหมายถึงอริยมรรคมีองค์แปด ปล้องไฉน 12 ปล้อง หมายถึง ปฏิจจสมุปบาท 12 ข้อ ที่เกี่ยวพันกันเหมือนลูกโซ่
ความสู ง 37 เมตร คื อ โพธิ ป ั ก ขิ ย ธรรม ธรรมเป็ น เครื่ อ งตรั ส รู ้ 37 ประการ อันประกอบด้วย สติปัฏฐาน 4 สัมมัปธาน 4 อิทธิบาท 4 อินทรีย์ 5 พละ 5 โพชฌงค์ 7 และอริยมรรคมีองค์ 8 ยอดเจดีย์หมาย ถึงพระนิพพาน หลวงพ่อฉาย เป็นพระพุทธรูปเก่าแก่ที่เคารพบูชาของชาวบ้าน บางน�้ำพระ เป็นพระพุทธรูปศิลาแลงปางมารวิชัย ประดิษฐานอยู่ใน วิหารด้านหน้าพระเจดียว์ ดั พระแก้ว สันนิษฐานว่ามีอายุประมาณ 800 ปีมาแล้ว ด้านหลังองค์พระมีทบั หลังแกะสลักเป็นรูปช้างนอนหงายอยู่ บนแท่น ส่วนบนสุดเป็นรูปพระอินทร์ หรือพระศิวะก�ำลังหลั่งน�้ำมนต์ มีทางน�้ำมนต์ไหลมาถึงตัวช้างที่นอนหงายอยู่บนแท่น หลวงพ่อลอย เป็นพระพุทธรูปปูนปัน้ หน้าตักกว้าง 2 เมตร เดิม อยูท่ วี่ ดั ทัพย่าน ต�ำบลเทีย่ งแท้ อ�ำเภอสรรคบุรี ซึง่ เป็นวัดร้าง ชาวบ้าน บางน�ำ้ พระจึงได้ร่วมกันอัญเชิญมาประดิษฐานทีว่ ดั พระแก้ว ชาวบ้าน เรียกว่า “หลวงพ่อลอย” การเดินทาง วัดพระแก้ว ตัง้ อยูห่ า่ งจากตัวเมืองชัยนาทประมาณ 23 กิโลเมตร ห่าง จากตัวอ�ำเภอสรรคบุรี มาทางทิศใต้ประมาณ 2 กิโลเมตร อยู่ห่างจาก วัดมหาธาตุประมาณ 3 กิโลเมตร ตัววัดอยู่ติดกับคลองชลประทาน ปัจจุบันวัดพระแก้วอยู่กลางทุ่งนา CHAINAT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 83
83
. - 09/01/2563 14:47:49 PM
84
.indd 84
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
. - 09/01/2563 14:47:51 PM
History of buddhism....
วัดโฆสิตาราม น้ อ มรำ � ลึ ก สมเด็ จ พระพุ ฒ าจารย์ โ ต พระครูโฆสิตพัฒนคุณ ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาส
วัดโฆสิตาราม ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 9 บ้านแค ต�ำบลบางขุด อ�ำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท มีเนื้อที่ 35 ไร่ ประวัติความเป็นมา วัดโฆสิตาราม มีอายุประมาณ 100 ปีเศษ เดิมเป็นวัดร้างตั้งอยู่ ในป่า มีกุฏิสองหลัง หลังคามุงแฝก หอประชุมปั้นหยามุงแฝกเช่นกัน เดิมชื่อว่าวัดขวิด เนื่องจากท�ำเลเป็นที่ดอนและมีต้นมะขวิดขึ้นอยู่ แต่คนเก่าแก่เรียกวัดบ้านแค ตามชือ่ ของหมูบ่ า้ นคือบ้านแค มีเจ้าอาวาส
มาแล้ว 5 รูป หลวงพ่อกวยเป็นเจ้าอาวาสรูปที่ 6 ท่านได้เปลีย่ นชือ่ มาเป็น “วัดโฆสิตาราม” สันนิษฐานว่าหลวงพ่อกวยท่านคงมีแรงบันดาลใจมาจากการที่ ท่านได้สร้างพระพิมพ์ ซึ่งมีรูปแบบเหมือนสมเด็จพระพุฒาจารย์โต วัดระฆังโฆสิตาราม และในการสร้างพระครัง้ นี้ หลวงพ่อยังได้ใช้ผงของ สมเด็จโต วัดระฆัง เป็นส่วนผสมด้วย ซึง่ ผงวัดระฆังนี้ ลูกศิษย์ของหลวงพ่อ ท่านหนึง่ ได้ไปบวชทีว่ ดั ระฆัง และได้คน้ พบผงนีจ้ งึ น�ำมาถวายหลวงพ่อ เพือ่ ร�ำลึกถึงสมเด็จโต หลวงพ่อกวยจึงเปลีย่ นชือ่ วัดใหม่ให้เป็นสิรนิ าม และเป็นมงคล ล�ำดับเจ้าอาวาส ตามค�ำบอกเล่าว่าวัดนี้มีเจ้าอาวาสมาก่อนแล้ว 5 รูป แต่ไม่มีหลักฐาน ยืนยัน ที่มีหลักฐานแน่ชัดตามดังนี้ 1. หลวงพ่อกวย ชุตินธโร (เจ้าอาวาสรูปที่ 6) พ.ศ. 2491-2522 2. พระอธิการส�ำรวย อัคคฺปญฺโญ (เจ้าอาวาสรูปที่ 7) พ.ศ. 2522-2535 3. พระครูโฆสิตพัฒนคุณ (บุญยัง ฐานวโร) พ.ศ. 2535-ปัจจุบนั CHAINAT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 85
85
. - 09/01/2563 14:48:21 PM
History of buddhism....
วัดบ�ำเพ็ญบุญ รำ� ลึก “หลวงพ่อเชื้อ” พระผู้เปี่ยมล้นด้วยเมตตาธรรม พระครูวิชัยบุญญาคม
ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะต�ำบลห้วยกรด เจ้าอาวาสวัดบ�ำเพ็ญบุญ
วัดบ�ำเพ็ญบุญ ชื่อเดิม วัดใหม่ตั้งอยู่บ้านท่ากร่าง หมู่ที่ 8 ต�ำบลห้วยกรด อ�ำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย มีที่ดิน 23 ไร่ 2 งาน 10 ตารางวา ประวัติวัดบ�ำเพ็ญบุญ วัดบ�ำเพ็ญบุญ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2510 และบูรณะใหม่ ในปี พ.ศ. 2519 มีกุฏิสงฆ์ เป็นอาคารคอนกรีต และอาคารไม้ มีศาลา การเปรียญคอนกรีต 2 ชั้น สร้างแทนศาลาไม้หลังเก่า เสร็จแล้ว ในปี พ.ศ. 2561 สร้างในสมัยอยุธยาตอนปลายราว พ.ศ. 2300 ได้มาเปลี่ยนนามเป็น วัดบ�ำเพ็ญบุญ พร้อมทั้งได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมาราว พ.ศ. 2330
86
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
.indd 86
. - 09/01/2563 14:49:24 PM
ล�ำดับเจ้าอาวาส 1. พระอุปัชฌาย์คง ยสถิโร พ.ศ. 2403-2480 2. พระครูสุชัยบุญญาคม (หลวงพ่อเชื้อ สฺกกวัณโณ) พ.ศ. 2480-2525 3. พระครูสังฆรักษ์บุญเหลือ พุทธโชโต พ.ศ. 2525-2536 4. พระสมุห์ล้อม เดชพโล พ.ศ. 2536-2554 5. พระครูวิชัยบุญญาคม พ.ศ. 2554-ปัจจุบัน หลวงพ่อเชื้อ แห่งวัดบ�ำเพ็ญบุญ (วัดใหม่บ�ำเพ็ญบุญ) ท่านเป็นเกจิอาจารย์ ผู้เรืองวิทยาคมเข้มขลัง ซึ่งชื่อเสียงของท่านโด่งดังมากท่านยังอยู่ วัตถุมงคล ของท่านเปี่ยมไปด้วยประสบการณ์ทุกรุ่น โดยเฉพาะตะกรุดของท่าน ที่ขึ้นชื่อว่ า อยู่ยงคงกระพันไม่แพ้ตะกรุดของหลวงพ่อโม อีกทั้งวัตถุมงคลท่านยังมีพุทธคุณ ทางด้ า นโชคลาภ และความเมตตา ท่ า นเป็ น พระเกจิ อ าจารย์ ยุ ค เดี ย วกั บ หลวงพ่อกวย และยังเป็นศิษย์ของหลวงปูศ่ ขุ วัดปากคลองมะขามเฒ่า หลวงพ่อโม วัดจันทนาราม หลวงพ่อคง วัดบ�ำเพ็ญบุญ หลวงพ่อเดิม วัดหนองโพ อีกด้วย
CHAINAT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 87
87
. - 09/01/2563 14:49:25 PM
ประวัติหลวงพ่อเชื้อ สุกกวัณโณ หลวงพ่อเชื้อ สุกฺกวณฺโณ หรือ พระครูสุชัยบุญญาคม เดิมชื่อ นายเชือ้ ปานขวัญ ท่านเป็นชาวห้วยกรด โดยก�ำเนิด เกิดเมือ่ วันอาทิตย์ ที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2447 ณ บ้านห้วยกรด หมู่ที่ 1 ต�ำบลห้วยกรด อ�ำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท อุปสมบท เมือ่ ปี พ.ศ. 2473 ณ วัดใหม่บำ� เพ็ญบุญ โดยมีหลวงพ่อคง ยศถิโร เป็นพระอุปัชฌาย์ พระอาจารย์โม เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และพระอาจารย์พรหม เป็นพระอนุสาวนาจารย์ แม้ว่าการอุปสมบท ครั้งที่สอง จะเป็นการอุปสมบทเพื่อแก้บนที่ท่านหายจากอาการ ป่วยไข้ก็ตาม แต่พระเชื้อก็ได้พยายามศึกษาหาความรู้ทั้งทางธรรมะ และทางแพทย์แผนโบราณ จนเป็นที่เลื่อมใสของอุบาสกอุบาสิกา ครัน้ เมือ่ ครบ 1 พรรษา ท่านก็คดิ จะลาสิกขาบทอีก แต่ยงั ไม่ทนั ลาสิกขาบท ก็เกิดอาการป่วยไข้ขึ้นมาอีก ร่างกายที่เคยแข็งแรง กลับเจ็บป่วยต้อง ล้มหมอนนอนเสื่ออีกครั้ง ขณะที่ท่านนอนป่วยนั้นภวังค์จิตของท่าน เกิดความคิดขึ้นมาว่า ตัวท่านนั้นคงเกิดมาเพื่อครองเพศบรรพชิต เท่านั้น เพราะเมื่อคิดจะลาสิกขาบทเมื่อใดก็มีอันล้มป่วยลงทันที เมือ่ ท่านคิดได้ดงั นีแ้ ล้ว ท่านจึงได้ตดั สินใจ และตัง้ ปณิธานว่า จะขอบวช เป็นสงฆ์เช่นนีโ้ ดยไม่คดิ ลาสิกขาบทอีกต่อไป อยูม่ าไม่นานท่านก็หายป่วย และมีสุขภาพแข็งแรงดีเช่นเดิม
88
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
.indd 88
. - 09/01/2563 14:49:35 PM
พระครูวิชัยบุญญาคม ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะต�ำบลห้วยกรด เจ้าอาวาสวัดบ�ำเพ็ญบุญ
เมื่อท่านได้ตั้งปณิธานว่าจะบวชไม่สึก และหายจากอาการป่วยไข้ แล้ว หลวงพ่อเชือ้ ท่านก็หนั มาตัง้ ใจปฏิบตั ธิ รรม ศึกษาหาความรูใ้ ส่ตน ในปีตอ่ มาท่านได้ศกึ ษาปริยตั ธิ รรม สอบได้นกั ธรรมชัน้ ตรี ในพรรษาที่ 2 ได้ย้ายไปศึกษาพระปริยัติธรรม ณ ส�ำนักศรัทธาราษฎร์ ประตูท่าแห อ�ำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท จนสอบได้นักธรรมชั้นโท พ.ศ. 2475 ท่านได้กลับมาอยู่ ณ วัดใหม่บ�ำเพ็ญบุญ และได้ศึกษา ทางด้านวิปสั สนาธุระและไสยเวทย์จากหลวงพ่อคง วัดใหม่บำ� เพ็ญบุญ ผู้เป็นอุปัชฌาย์ นอกจากนี้หลวงพ่อเชื้อยังได้ถือธุดงค์เป็นกิจวัตร แสวงหาความสงบในทีต่ า่ ง ๆ อีกหลายแห่งจนถึงประเทศลาว มีสานุศษิ ย์ ทางภาคอี ส าน และฝั ่ ง เวี ย งจั น ทน์ ร ะหว่ า งธุ ด งค์ อ ยู ่ ไ ด้ พ บปะกั บ พระอาจารย์อีกหลายรูป บางรูปก็ขอแลกวิชากัน หลังจากนั้นได้มา ศึกษาวิชาอาคมต่อกับหลวงพ่อเดิม วัดหนองโพ เจ้าต�ำรับมีดหมอและ สิ ง ห์ ง าแกะ ซึ่ ง ต่ อ มาหลวงพ่ อ ได้ ท�ำ มี ด หมอชื่อ มีดเทพศาสตรา จนปรากฏชื่ อ เสี ย ง เป็ น พระปฏิ บั ติ ที่ ไ ด้ ชื่ อ ว่ า มี เ มตตาสู ง ผู ้ ห นึ่ ง หลวงพ่อมีจริยาวัตรที่น่าเลื่อมใสศรัทธาอย่างยิ่งแก่ผู้ที่พบเห็น CHAINAT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 89
89
. - 09/01/2563 14:49:39 PM
ครัน้ เมือ่ หลวงพ่อคง ซึง่ เป็นเจ้าอาวาสวัดใหม่บำ� เพ็ญบุญมรณภาพลง พระมหาโชติได้เป็นเจ้าอาวาสแทน และหลวงพ่อเชือ้ ได้เป็นรองเจ้าอาวาส ต่อมาพระมหาโชติได้ลาสิกขาบทไป อุบาสกอุบาสิกาได้อาราธนาให้ หลวงพ่อเชือ้ สุกกวัณโณ เป็นเจ้าอาวาสสืบต่อมา หลวงพ่อเชือ้ เป็นพระ ทีม่ พี รหมวิหาร ปกครองพระลูกวัดด้วยความเมตตากรุณา อนุเคราะห์ อุบาสกอุบาสิกา ในการรักษาพยาบาลด้วยวิชาแพทย์แผนโบราณที่ ท่านได้เล่าเรียนมา แม้ผปู้ ว่ ยบางรายมาหาท่านทีว่ ดั ไม่ได้ ท่านก็อตุ ส่าห์ ไปให้การรักษาถึงที่บ้านทั้งกลางวันและกลางคืน ค�่ำมืดดึกดื่นอย่างไร ท่านก็ไปรักษาให้ ถ้าใครทุกข์กายมาหาท่าน ท่านก็รักษาให้ หากใคร ทุกข์ใจมาหาท่าน ท่านก็ให้ธรรมะรักษาจิตใจ ท่านเป็นพระที่เปี่ยมล้น ด้วยเมตตากรุณา จนเป็นที่เคารพรักและนับถือของประชาชนทั่วไป หลวงพ่อเชือ้ ท่านไม่สะสมปัจจัยทุกอย่างทีม่ คี นมาถวายตามศรัทธา หลวงพ่อจะน�ำมาใช้ประโยชน์ในทางบ�ำรุงพระพุทธศาสนา จึงมีชีวิต อยู่อย่างง่าย ๆ ตามแบบพระสงฆ์ที่ควรกราบไหว้ทั่วไป หลวงพ่อชอบ สันโดษ สมถะ แม้แต่การฉันหรือการอยู่อาศัย ได้มีผู้ศรัทธาสร้างกุฏิ ใหญ่โต สะดวกสบายทุกอย่าง แต่หลวงพ่อกลับไม่สนใจ หลวงพ่อได้ อาศัยมุมหนึ่งของศาลาวัดเป็นที่จ�ำวัตร หลวงพ่อให้เหตุผลว่าที่ชอบ นอนศาลาวัดก็เพราะว่า สบายดี แจ้งโล่งดี ใครไปมาหาสูก่ ็พบเห็นง่าย ใครไปหาเมื่อใดก็พบเมื่อนั้นนอกเสียจากท่านติดกิจนิมนต์ 90
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
.indd 90
. - 09/01/2563 14:49:46 PM
การสร้างพระเครื่องวัตถุมงคลต่าง ๆ ของหลวงพ่อเชื้อ ส่วนมาก แล้วจะเน้นทางด้านวิชาเมตตามหานิยม สังเกตได้ว่ายันต์ต่าง ๆ ทีห่ ลวงพ่อเชือ้ ท่านใช้เป็นประจ�ำนัน้ ส่วนมากแล้วเน้นเมตตามหานิยม แทบทั้งสิ้น การบูชาพระเครื่องวัตถุมงคลของท่านจึงมีจุดมุ่งหมายไป ในทางเดียวกันคือ สร้างความรักและเมตตาต่อกัน ไม่ให้เบียดเบียนกัน เป็นวิชาทีม่ งุ่ สันติธรรม จึงไม่เป็นเดรัจฉานวิชา เพราะเมตตาคือสัจจธรรม หลวงพ่อก็มีเมตตาธรรมเป็นประจ�ำใจ จนกลายเป็นนิสัย นั่นคือการ สงเคราะห์แก่บุคคลทั่วๆ ไป น�้ำพระพุทธมนต์ของหลวงพ่อเชื้อนั้น นอกจากส่งเสริมความ เมตตาปราณีต่อกันแล้วยังป้องกันภูตผีปีศาจและคุณไสย เช่นบ้านใด ครอบครัวใดมีความเดือดร้อนทะเลาะวิวาทกันจนเป็นประจ�ำ เมื่อขอ น�้ำพระพุทธมนต์ของท่านไปประพรมภายในครอบครัว ก็มีความรัก สมั ค รสมานสามัคคีกัน ดี ไม่มีก ารทะเลาะวิว าท ไม่ ค ่ อ ยเจ็ บป่ ว ย ท�ำมาหากินก็เจริญรุ่งเรือง หากแต่เรื่องเล่าและประสบการณ์ต่าง ๆ จากพระเครื่อง และ วัตถุมงคลของท่านส่วนมากแล้ว จะได้ยินได้ฟังทางด้านคงกระพัน มหาอุตม์เป็นส่วนใหญ่ เพราะเรื่องคงกระพันแคล้วคลาด เป็นสิ่งที่เรา มองเห็นได้ดว้ ยตาเปล่า ไม่ตอ้ งสังเกตใด ๆ ก็สามารถรับรูไ้ ด้โดยตาเนือ้ แต่เรื่องเมตตาโชคลาภ เมตตามหานิยมนั้น ผู้ห้อยบูชาต้องมีการ
สังเกตตัวเอง และบุคคลรอบข้างอยูต่ ลอดเวลา หากไม่สงั เกตก็นอ้ ยคนนัก ทีจ่ ะเห็นถึงความศักดิส์ ทิ ธิ์ ดังทีก่ ล่าวมาแล้วนัน้ แสดงให้เห็นว่าพระเครือ่ ง วัตถุมงคลของหลวงพ่อเชื้อ มีพุทธคุณครอบคลุมทุก ๆ ด้าน CHAINAT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 91
91
. - 09/01/2563 14:49:58 PM
หน้าที่การงานและสมณศักดิ์ พ.ศ. 2474 สอบได้นักธรรมชั้นตรี พ.ศ. 2475 สอบได้นักธรรมชั้นโท พ.ศ. 2481 เป็นเจ้าอาวาส วัดบ�ำเพ็ญบุญ พ.ศ. 2490 เป็นผู้ช่วยเจ้าคณะต�ำบลห้วยกรด พ.ศ. 2492 เป็นพระสมุห์ฐานานุกรมของเจ้าคณะอ�ำเภอ พ.ศ. 2509 เป็นพระครูชั้นประทวน พ.ศ. 2518 รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็น พระครูสัญญาบัตร พระครูสุชัยบุญญาคม หลวงพ่อเชือ้ เป็นผูส้ ร้างความเจริญรุง่ เรือง ให้แก่วดั ใหม่บำ� เพ็ญบุญ เป็นอย่างมาก ท่านเป็นประธานจัดสร้างศาลาการเปรียญขึ้นใหม่ สร้างซ่อมแซมกุฏิสงฆ์ ปฏิสังขรณ์พระอุโบสถ และที่ส�ำคัญท่านเป็น ผู้ด�ำริและเป็นประธานสร้าง เมรุ และศาลาธรรมสังเวช ซึ่งนับเป็น แห่งแรกของต�ำบลห้วยกรด หลวงพ่อเชื้อ ท่านเป็นเจ้าอาวาส วัดใหม่บ�ำเพ็ญบุญตลอดมา จนกระทั่งวาระสุดท้ายของชีวิต สุขภาพของท่านก็เริ่มทรุดโทรม เมือ่ ประมาณกลางเดือนธันวาคม พ.ศ. 2524 หลวงพ่อเชือ้ เริ่มอาพาธ อาการอาพาธของท่านไม่ดีขึ้นเลย แม้บรรดาศิษย์จะช่วยกันรักษา พยาบาลอย่างไร อาการมีแต่ทรุด 92
ในวั น ที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2525 หลวงพ่ อ เชื้ อ สุ ก กวั ณ โณ ได้มรณภาพลง อย่างสงบดุจท่านได้หลับไป แต่เป็นการหลับทีไ่ ม่มกี าร ตื่นขึ้นมาอีกแล้ว สร้างความสลดโศกเศร้าให้แก่บรรดาลูกศิษย์ลูกหา ที่ใกล้ชิดตลอดจนพุทธศาสนิกชนทั่วไปที่เลื่อมใสศรัทธาหลวงพ่อ เป็นอย่างยิ่ง รวมสิริอายุได้ 78 ปี 22 วัน 57 พรรษา โดยอุปสมบท ครั้งแรก 5 พรรษา และครั้งหลังอีก 52 พรรษา หลั ง จากหลวงพ่ อ เชื้ อ สุ ก กวั ณ โณ มรณภาพลงแล้ว บรรดา ศิษยานุศิษย์ ร่วมกันจัดสวดพระอภิธรรมหน้าศพเป็นเวลา 15 วัน และบรรจุสรีระสังขารไว้ในโลงแก้ว และตั้งไว้ ณ ศาลาการเปรียญ วัดบ�ำเพ็ญบุญ เพือ่ ให้ศษิ ยานุศษิ ย์ได้สกั การบูชา และได้รว่ มกันจัดงาน พระราชทานเพลิงศพ เมื่อ วันที่ 25-27 เมษายน พ.ศ. 2529 โดยท�ำ พิธพี ระราชทานเพลิง เวลา 16.30 น. ของวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2529 ร่วมสร้างเส้นทางบุญ ขอเชิญร่วมท�ำบุญสร้างเจดีย์หลวงพ่อเชื้อ องค์ใหญ่ที่สุดในโลก ธนาคารกรุงไทย ชื่อบัญชี วัดบ�ำเพ็ญบุญ เลขที่บัญชี 124-0-19090-5 สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ 085-725-1582 พระครูวิชัยบุญญาคม วัดใหม่บ�ำเพ็ญบุญ หลวงพ่อเชื้อ สุกฺกวณฺโณ-ประชาสัมพันธ์ กิจกรรมของวัด, ศิษย์หลวงพ่อเชื้อ วัด(ใหม่)บ�ำเพ็ญบุญ
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
.indd 92
. - 09/01/2563 14:50:00 PM
History of buddhism....
วัดท่ากระแส กราบหลวงพ่อปาน พระพุทธรูปคู่วัดท่ากระแสมีมาแต่โบราณ พระครูพิทักษ์ชยาภรณ์ ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาส
วัดท่ากระแส ตั้งอยู่เลขที่ 89 บ้านวังยาว หมู่ที่ 9 ต�ำบลเที่ยงแท้ อ�ำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย พื้นที่ตั้งวัด เป็นที่ราบสูงอยู่ริมแม่น�้ำแพรกศรีราชาทางฝั่งตะวันออก
ประวัติความเป็นมา วัดท่ากระแส ได้สร้างขึ้นเป็นวัดนับตั้งแต่ประมาณ พ.ศ. 2440 ที่ บ ริ เวณหน้ า วั ด มี ท ่ า น�้ ำ ซึ่ ง กระแสน�้ ำ ไหลวนเวี ย น จึ ง เรี ย กกั น ว่ า “วัดท่ากระแส” ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมาในราว พ.ศ. 2445 และ ต่อมาได้สร้างอุโบสถหลังใหม่ขึ้น และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2529 มีโรงเรียนประถมศึกษาของทางราชการ ตัง้ อยูใ่ นทีว่ ดั แห่งนีด้ ว้ ย ปัจจุบนั ขยายโอกาสเรียนถึงมัธยมศึกษาปีที่ 3 ซึ่งทางวัดได้ให้ความอนุเคราะห์ตามสมควรด้วยดีตลอดมา อาคารเสนาสนะ อุโบสถ กว้าง 8 เมตร ยาว 13 เมตร โครงสร้างก่ออิฐถือปูน ศาลาการเปรียญ กว้าง 16 เมตร ยาว 27 เมตร เป็นอาคารไม้ หอสวดมนต์ กว้าง 7 เมตร ยาว 18 เมตร สร้าง พ.ศ. 2515 เป็นอาคารครึง่ ตึกครึง่ ไม้ โรงเรียนพระปริยัติธรรม 1 หลัง กุฏิ 3 หลัง ปูชนียวัตถุสำ� คัญ พระประธานในอุโบสถ ขนาดพระเพลากว้าง 2 เมตร พร้อม พระโมคคัลลานะและพระสารีบตุ ร ในวิหารมีพระพุทธรูปโบราณเก่าแก่ เนื้อปูนปั้น ชาวบ้านเรียกชื่อว่า “หลวงพ่อปาน” และมีพระพุทธรูป ปูนปั้นเก่าแก่ด้านหน้าอีก 3 องค์ CHAINAT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 93
93
. - 09/01/2563 14:50:16 PM
History of buddhism....
วัดธรรมิกาวาส (วัดคังคาว)... ขอพรหลวงพ่อเฒ่าศักดิ์สิทธิ์ พระอธิการนพรัตน์ ขัติธมโม
ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดธรรมิกาวาส
วัดธรรมิกาวาส ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 ต�ำบลโพงาม อ�ำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท เป็นวัดที่มีป่ายางสูงสลับซับซ้อน มีฝูงลิงอาศัยอยู่ เป็นจ�ำนวนมาก นอกจากนี้บริเวณหน้าวัดมีแม่น�้ำน้อยไหลผ่าน ท� ำ ให้ บ รรยากาศร่ ม รื่ น และมี รู ป หล่ อ หลวงพ่ อ เฒ่ า เป็ น พระ ศักดิ์สิทธิ์ที่ชาวบ้านเคารพนับถือ เชื่อกันว่าถ้าใครมีเรื่องเดือดร้อน หากไปเคารพสักการะหลวงพ่อเฒ่าแล้วก็จะพ้นจากความทุกข์ ร้อนได้ เดิมเป็นวัดร้างมาก่อนมีนามว่า “วัดคังคาว” ต่อมาเมื่อได้มี ประชาชนมาตั้งถิ่นฐานอยู่หนาแน่นจึงได้บูรณะก่อสร้างวัดขึ้นมา ในประมาณ พ.ศ. 2394 ครั้นถึง พ.ศ. 2483 ได้เปลี่ยนนามวัดเป็น “วัดธรรมิกาวาส” ล�ำดับเจ้าอาวาส 1. พระอาจารย์ปั้น 2. พระอาจารย์กลั่น 3. พระอาจารย์หยวก 4. พระอาจารย์ต่อ 5. พระใบฎีกาสอน 6. พระอธิการผูก 7. พระอธิการแถม 8. พระอธิการมนตรี 9. พระชั้น 10. พระครูโพธิชัยคุณ (สวัสดิ์) 11. พระครูวิจิตรชยากร (ประกิจ ฐานสีโล) 12. พระอธิการนพรัตน์ ขัติธมโม เจ้าอาวาสองค์ปัจจุบัน
94
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
.indd 94
. - 09/01/2563 14:52:05 PM
หลวงพ่อเฒ่า วัดธรรมิกาวาส (วัดคังคาว) พระอาจารย์ จ๊ิ วั ดคั ง คาว ได้ เ ล่ า ประวัติข องหลวงพ่อ เฒ่า ซึ่งได้รับการถ่ายทอดมาจากคนเก่าคนแก่วา่ หลวงพ่อเฒ่าท่านเป็น ชาวบางปลาสร้อย จังหวัดชลบุรี เกิดในสมัยกรุงศรีอยุธยา เป็นหนึง่ ใน จ�ำนวนทหารสองร้อยกว่าคนที่ร่วมทัพกับสมเด็จพระเจ้าตากสิน มหาราช เพื่อแหวกวงล้อมทหารพม่าทีล่ อ้ มกรุงศรีอยุธยา ท่านเป็น นักรบที่มีความเชี่ยวชาญในด้านการรบและการวางแผน อีกทั้งมี พระเวทย์ที่เข้มขลัง เมื่อท่านมาร่วมทัพกับสมเด็จพระเจ้าตากสิน ท่านจึงเป็นคล้ายๆ กับฝ่ายวางแผนพิชัยสงครามและไสยเวทย์ ทั้งปวง จนกระทั่งสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชสามารถกู้ชาติ ได้สำ� เร็จ ท่านก็ได้ตดิ ตามมาอยูก่ บั สมเด็จพระเจ้าตากสินอีกพักหนึ่ง ภายหลังทีม่ กี ารก่อกบฏในท้ายรัชสมัยพระเจ้าตากสิน ท่านก็ตอ้ งหนี เพราะท่านคือบุคคลส�ำคัญทีย่ นื หยัดเคียงข้างพระเจ้าตากสินมาตลอด
ต่อมาท่านก็มาอุปสมบทเป็นพระภิกษุกับเพื่อนอีกรายหนึ่ง ทีม่ าด้วยกัน ถามว่าท�ำไมต้องหนีมาบวช เพราะหนึง่ ท่านไม่ตอ้ งการ ทีจ่ ะเป็นข้าสองเจ้าบ่าวสองนาย สอง ท่านเริม่ จะเบือ่ หน่ายในสมบัติ ลาภยศสรรเสริญ สาม ราชภัยอาจจะมาถึงตัว เพราะทุกคนรู้ว่า ท่านเป็นหนึ่งในผู้ที่ทรงวิทยาคมและมีฝีมือในการวางยุทธศาสตร์ ที่ส�ำคัญของพระเจ้าตากสิน ดังนั้นการออกเดินบนเส้นทางของ ผู้ที่แสวงหาสัจจธรรมจึงสมบูรณ์ที่สุด และได้ใช้ชีวิตที่เหลืออยู่เพือ่ อุทิศบุญกุศลให้กับเหล่าทหารสายเลือดไทยด้วยกันที่ต้องเสียชีวิต รวมถึงทหารพม่าที่ต้องสูญเสียชีวิต พ่อเฒ่าปัน้ จึงออกบวชและศึกษาพระคัมภีรจ์ นจบกระบวนความ จากนั้ น ท่ า นก็ เ ดิ น ธุ ดงค์ ไปเรื่ อยๆ กั บสหธรรมิกอีกหนึ่งรูป ชื่อ หลวงพ่อแป้น ท่านทั้งสองได้ร่วมกันบูรณะวัดวาอารามไปทั่ว และเมื่ อ ตอนที่ ท ่ า นมาถึ ง บริ เวณแม่ น�้ ำ น้ อ ยที่ ส ร้ า งวั ด คั ง คาวนี้ ก็ได้อธิษฐานด้วยการโยนผ้าอาบไปกระทั่งผ้าอาบปลิวตามลมมา ตกในบริเวณซึ่งเป็นวัดร้างมาก่อน หลวงพ่อเฒ่าปั้นจึงเริ่มรวบรวม ศรัทธาก่อสร้างวัดคังคาวขึ้น ส่วนหลวงพ่อแป้นก็ล่องเรือต่อไป ทางทิศเหนือแล้วก็ไม่กลับมาอีกเลย นี่คือต�ำนานของ “หลวงพ่อเฒ่าปั้น แห่งวัดคังคาว” ที่ลือลั่นมาจนถึงปัจจุบัน
CHAINAT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 95
95
. - 09/01/2563 14:52:05 PM
สวนลิงวัดคังคาว อาณาบริเวณวัดธรรมิกาวาส (วัดคังคาว) นัน้ มีสภาพเป็นป่ายางสูง สลับซับซ้อน และมีฝูงลิงอาศัยอยู่เป็นจ�ำนวนมาก โดยแยกกันอยู่ เป็นกลุ่ม ๆ ไม่รวมกัน ลิงเหล่านี้มีนิสัยเชื่องและใกล้ชิดกับคนมาก จึงมีประชาชนไปเยี่ยมชมสวนลิง และเพลิดเพลินกับธรรมชาติที่มี บรรยากาศร่มรื่นสวยงามของแม่นำ�้ น้อยที่ไหลผ่าน สวนลิ ง แห่งนี้ สืบ เนื่องมาจากสมัยที่พ่อเฒ่ า ปั ้ น ท่ า นล่ อ งเรื อ มาสร้างวัด ท่านมีลงิ ตัวผูม้ าด้วย 1 ตัวชือ่ เจ้าหอย ต่อมาคงได้แพร่พนั ธุ์ กับลิงป่าแถววัด จนกลายเป็นฝูงลิงของหลวงพ่อเฒ่าที่ไม่มีใครกล้า ท�ำอันตราย จวบจนกระทั่งปัจจุบัน หลวงพ่อสวัสดิ์ อดีตเจ้าอาวาส ท่านก็รกั ลิงเหล่านีม้ าก และเมือ่ ไม่นานมานี้ เจ้าลิงก็ทำ� แสบแอบขโมย ใบลานเทศน์ที่มีลายมือชื่อหลวงพ่อเฒ่าปั้นไปเล่นฉีกขาดหลุดหายไป ท�ำให้ขาดหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไปอีกชิ้น นอกจากหลวงพ่อเฒ่าปัน้ จะเลีย้ งลิงแล้ว ท่านยังมีชา้ งอีกสามเชือก ช้าง 3 เชือกนี้ ชื่อ บุตร ทรัพย์ และ กระสอบ เป็นช้างแสนรู้ มีความ กตัญญูสงู นอกจากจะช่วยชักลากไม้และเป็นพาหนะในการเดินทางให้ หลวงพ่อเฒ่าแล้ว ทั้งสามยังได้ช่วยกันไปหาฟืนน�ำมาให้หลวงพ่อเฒ่า และพระในวัดใช้ โดยมิต้องสั่งหรือบังคับแต่อย่างใด โดยภายหลังได้ มอบพังกระสอบให้ลูกศิษย์เอกคือหลวงพ่อสงฆ์ วัดสว่างอารมณ์ การเดินทาง วัดธรรมิกาวาส (วัดคังคาว) ต�ำบลโพงาม วัดอยู่ห่างจากที่ว่าการ อ�ำเภอสรรคบุรปี ระมาณ 16 กิโลเมตร ตามเส้นทางสายสิงห์บรุ -ี ชัยนาท เลียบถนนคลองชลประทาน (สายใน) จะมีทางแยกเข้าวัดธรรมิกาวาส ประมาณ 500 เมตร
96
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
.indd 96
. - 09/01/2563 14:52:07 PM
History of buddhism....
WAT THAMMIKAWAT (WAT KANGKAO) Praying for fortune from the sacred Luang Phor Thao Phra Athikarn Nopparat Khattithammo, abbot of Wat aThammikawat Wat Thammikawat (Wat Kangkao) is located at village no.5, Pho Ngam sub-district, Sankhaburi district, Chai Nat province. It is a temple that has abundant rubber forest and there are lots of monkey in this forest. Moreover, there is Noi River at temple’s front area which make an environment became cool and pleasant. There is also the statue of Luang Phor Thao which is the sacred statue that locals respect and worship, they believe this statue will help people who were in trouble by repelling their trouble if they pay homage to this statue.
Luang Phor Thao Wat of Thammikawat (Wat Kangkao) The history of statue of Luang Phor Thao which is passed on by elders to young generation that Luang Phor Thao was a citizen of Bang Pla Soi, Chonburi province. He was born in era of Ayutthaya kingdom. He was one of the group of approximately two hundred soldiers who joined the army of King Taksin the great in order to break the encirclement
of Burma army that surrounded Ayutthaya kingdom at that moment. He was a great warrior who was expert in fighting and military strategy which he also had strong magical power. Then, when he joined King Taksin the great’s army, he was one of the people who planned war strategy and handle an issue regarding magic until King Taksin the great successfully restored the fallen nation. He followed King Taksin for quite some time, but after the rebellion occurred nearly the end of reign of Taksin. Then, he had to escape since he had been always one of King Taksin’s important henchman. After that, he was ordained as Buddhist monk together with his friend whom travelled with him. There are three reasons why he must be ordained which are as follows: First, he did not want to work under anyone other than King Taksin. Second, he was bored with wealth and title. Third, the threat from government might reach him due to everyone knew that he was expert in magic and war strategy. CHAINAT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 97
97
. - 09/01/2563 14:52:09 PM
Phor Thao Pan then became a monk and studied Buddhist scripture until he finished it completely. After that, he and other monk whose name is Luang Phor Paen, travelled to many places for pilgrimage which they have reconstructed many temples. Then, when they arrived at Noi River, the area where Wat Kangkao was constructed, they started praying by throwing cloth which monk use for showering, until that cloth was carried by wind and fell off at the area where an abandoned temple is situated. Luang Phor Thao Pan then gathered faithful people to build Wat Kang Khao. As for Luang Phor Paen, he continued his journey to the north by sailing and never came back at this temple. This is the legend of “Luang Phor Thao Pan of Wat Kangkao” that has been well known until today. Monkey park of Wat Kangkao Landscape of Wat Thammikawat (Wat Kangkao)’s territory is abundant rubber forest that horde of monkeys are living in this forest which these monkeys divided themselves into many groups. These monkeys are docile and close to human. That’s why lots of people visit this monkey park which they also enjoy cool and pleasant nature, gorgeousness of Noi River that flow through this area. The origin of this monkey park can be traced back to when Luang Phor Thao Pan sailed to this area to build temple. He had one monkey came with him which its name is Chao Hoi. After that, it might mated with wild monkey around temple’s area until amount of monkey was increasing and became a horde of monkeys of Luang Phor Thao that no one dared to harm it. Until present day, Luang Phor Sawat, former abbot of this temple also love these monkeys. However, recently, these monkeys behaved like unruly monkeys by stealing ancient palm leaf manuscripts carrying Buddhist scriptures that signature of Luang Phor Thao Pan to played with and tore it apart which make one of historical evidence is destroyed. Traveling to temple-This temple is approximately 16 kilometers from Sankhaburi district office, you can get to this temple by taking Sing Buri-Chai Nat route, and follow the edge of Klongcholpratan Road (Inner route). Then, there will be crossroad which lead to Wat Thammikawat, it is around 500 meters from the main road. 98
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
.indd 98
. - 09/01/2563 14:52:12 PM
瑟米卡瓦寺庙
(康考寺)尊重陶牧师的祝愿。 诺帕拉特•基塔莫大师傅是瑟米卡瓦寺庙的方丈。
瑟米卡瓦寺庙位于泰国Sankhaburi 区Pho Ngam 街道5号 猜纳
段时间,后来国王统治期间发生了叛乱。 所以他必须逃跑,因
府。这座寺庙内有茂密的森林,有很多猴子在这里生活。 另外,
为他是一个一直支持国王的重要的人。
在寺庙的前面,有一条小河流过,还有陶神父的雕像,这是村民
后来,他和另一个朋友被任命为和尚。 问为什么他必须逃到奥
们尊敬的圣人,他们相信当有人遇到麻烦的时候, 如果崇拜陶
丹 因为第一个原因 他不想成为奴隶;第二个原因,他对财富和
神父,他将可以免于痛苦。
称赞感到厌倦;第三个原因可能很危险,因为每个人都知道他是
陶大师傅 瑟米卡瓦寺庙(康考寺)
最聪明,最熟练的战略家之一。
有一位老人告诉陶大师傅的历史,他是Bang Plasoi的本地人。
因此,陶大师傅受命研究圣经,直到后来他和朋友一起去远足,
春武里府,他出生于大城府时期。
他们俩共同修复了寺庙。 当他们到达这座神庙附近的Noi河时,
他是与鄭昭国王参军的200名士兵之一。 突破包围大城府的缅甸
他们通过扔衣服祈祷 甚至连枪布也被风吹落在以前是一座废弃
军事警戒线 他是在战斗和规划方面具有专长的战士。 以及具有
寺庙的地方。 因此,他开始用心建造这座圣殿。 然后他的朋友
魔力。
向北航行,再也没有回来。
当他和鄭昭国王参军时,他就像征服一切战争和神秘法术的计
这就是淘大师傅的传说。
划。 直到鄭昭国王能够成功拯救国家,他跟随达鄭昭国王王一 CHAINAT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 99
99
. - 09/01/2563 14:52:13 PM
康考寺的猴子公园 佛寺(Kang Cow Temple)地区是一个复杂的橡胶森林。 还有很 多猴子在这里生活, 这些猴子成群分开,而不是合在一起,它 们跟人们很亲近。 因此许多人来参观猴子公园 并在流经的小河 的美丽恬静的氛围中享受大自然 因为一些缘故,陶大师傅乘船游览并建造一座寺庙 ,他有1只猴 子,他非常喜欢这只猴子。但之后猴子偷偷地讲了布道,以他的 签名玩耍,撕裂,失踪。 导致历史证据遗失。
怎么去 位于po-ngam地区 Sing Buri-Chai Nat路线的Sankhaburi 区。 Khlong Chonprathan 路,有一条通往Thammikawat 寺庙的路口, 大概500米。
100
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
.indd 100
. - 09/01/2563 14:52:16 PM
History of buddhism....
วัดวิหารทอง วั ด สำ � คั ญ แห่ ง อำ � เภอสรรคบุ ร ี พระครูพิหารสุวรรณกิจ ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาส
วัดวิหารทอง ต�ำบลเที่ยงแท้ อ�ำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย พื้นที่ตั้งวัดเป็นที่ราบลุ่มอยู่ริมแม่น�้ำน้อย ทางฝั่งเหนือ วัดวิหารทองเป็นวัดที่มีความส�ำคัญของอ�ำเภอสรรคบุรี ซึ่ ง ได้ จั ด สร้ า งสะพานแขวนขึ้ น เป็ น แห่ ง แรกของจั ง หวั ด ชั ย นาท ในปีพ.ศ. 2525 โดยพระครูสรรคภารวิชติ (หลวงพ่อพิมพ์) อดีตเจ้าคณะ อ�ำเภอสรรคบุรี และเจ้าอาวาสวัดวิหารทอง ในขณะนั้น เป็นผู้น�ำ รวบรวมทุนทรัพย์ก่อสร้าง เพื่อน�ำรูปปั้น “พ่อขุนสรรค์” ข้ามไป ประดิษฐาน ณ ทีว่ า่ การอ�ำเภอสรรคบุรี ในวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2525 ประวัติความเป็นมา วัดวิหารทอง เดิมเป็นวัดโบราณตั้งอยู่ในก�ำแพงเมืองสรรค์ สมัย พระเจ้ายี่มาครองเมืองสรรค์ ต่อมาถึงสมัยอยุธยาตอนปลายกลาย สภาพเป็นวัดร้างจนถึงรัชสมัยของรัชกาลที่ 5 มีผู้ปกครองเมืองสรรค์ ชือ่ “หลวงวัง” มีบริวารรับใช้มาก ต่อมานายสอนได้มาเลีย้ งโค-กระบือ ในบริเวณที่ที่หลวงวังจับจองไว้ ได้พบเจดีย์เก่าแก่ ภายหลังนายสอน อุปสมบทแล้ว ได้มาอยู่จ�ำพรรษาที่วัดร้างนี้ และเริ่มบูรณปฏิสังขรณ์
ให้เป็นวัดและมีพระสงฆ์จ�ำพรรษาขึ้นอีกครั้งหนึ่งราวปีพ.ศ. 2453 เป็นต้นมา ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา วันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2496 ผูกพัทธสีมาวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2503 ปัจจุบนั มี “พระครูพหิ ารสุวรรณกิจ” (สมบัติ ทิสฺมปติ) เป็นเจ้าอาวาส อาคารเสนาสนะ/ปูชนียวัตถุสำ� คัญ ภายในวัดมีอาคารเสนาสนะต่าง ๆ อาทิ อุโบสถ กว้าง 8 เมตร ยาว 16 เมตร สร้างเมือ่ พ.ศ. 2501 โครงสร้างก่ออิฐถือปูน รูปทรงเรือส�ำเภา ซึ่งได้บูรณะของเดิมไว้ ศาลาการเปรียญ กว้าง 19 เมตร ยาว 38 เมตร สร้างเมือ่ พ.ศ. 2540 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กชัน้ เดียว หอสวดมนต์ กว้าง 8 เมตร ยาว 20 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2517 เป็นอาคารคอนกรีต กุฏิสงฆ์ 3 หลัง เป็นอาคารคอนกรีตและไม้ ปูชนียวัตถุ มีพระพุทธรูป ประธานในอุโบสถพระพุทธแสงสิทธิมงคล รอยพระพุทธบาทจ�ำลอง และเจดีย์อีก 3 องค์ CHAINAT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 101
101
. - 09/01/2563 14:54:35 PM
ในปี พ.ศ. 2443 พระอธิการปลื้ม เขมฺจิตฺโต ได้มารับต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดสังฆาราม โดยรวมวัดทั้ง 2 วัด คือ วัดหลวงตากลิ่น กับ วัดหลวงตากลัด แล้วตั้งชื่อวัดใหม่ว่า วัดสังฆาราม ตลอดระยะเวลา 53 ปี ที่พระอธิการปลื้ม เขมฺจิตฺโต ได้รับนิมนต์ จากชาวบ้าน ให้มารับต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดสังฆาราม ท่านได้บูรณ ปฏิ สั ง ขรณ์ กุฏิ ศาลา บู ร ณะอุ โ บสถสมั ย กรุ งศรีอยุธยา และสร้า ง หอพระไตรปิฎกขึ้นมา 1 หลัง พระอธิการปลื้มได้สร้างวัตถุมงคลไว้ หลายอย่าง เช่น ตะกรุดโทน ตะกรุดมหารูดเนื้อตะกั่วน�้ำนมถักลาย จระเข้ขบฟัน และตะกรุดผ้าจีวรของท่าน เมือ่ ปี พ.ศ. 2482 ท่านได้สร้าง เหรียญรุ่นแรก ชื่อรุ่นว่า หอพระไตรปิฎก เพื่อเป็นยึดเหนี่ยวจิตใจ และ สร้างขวัญก�ำลังใจแก่ผู้ที่เคารพนับถือ อีกความเข้มขลังของท่าน คือ วาจาท่านศักดิ์สิทธิ์มาก ดั่งปากของพระร่วง พูดวาจาใดออกมาแล้ว ย่อมเป็นอย่างค�ำพูดเช่นนั้น จนเกียรติศักดิ์ขจรขจายไปทั่วจังหวัด ชัยนาท และมาถึงในปัจจุบนั ชาวบ้านพุทธศาสนิกชนทัง้ หลาย ก็ให้ความ เคารพนับถือพระอธิการปลื้ม เขมฺจิตฺโต เป็นอย่างดีมาโดยตลอด พระอธิการปลืม้ เขมฺจติ โฺ ต มรณภาพเมือ่ วันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2496 สิริอายุได้ 84 ปี 63 พรรษา
History of buddhism....
วัดสังฆาราม กราบขอพร “หลวงปู ่ ป ลื ้ ม ” วาจาสิ ท ธิ ์ พระปลัดประธาน ธมฺมสุธี ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาสวัดสังฆาราม
วัดสังฆาราม ตั้งอยู่ที่ 91 หมู่ 2 ต�ำบลเที่ยงแท้ อ�ำเภอสรรคบุรี จั ง หวั ด ชั ย นาท ในอดี ต มี พ ระเดชพระคุ ณ หลวงปู ่ ป ลื้ ม เขมฺ จิ ตฺ โ ต พระเกจิ อาจารย์ชื่อดังแห่งจังหวัด ชัยนาทเป็น เจ้า อาวาส ประวัติหลวงปู่ปลื้ม พระอธิการปลื้ม เขมฺจิตฺโต สถานะเดิมชื่อ ปลื้ม นามสกุล แย้มไผ่ เกิดเมื่อ พ.ศ. 2412 ณ บ้านวังไผ่ หมู่ 1 ต�ำบลชัยนาท อ�ำเภอเมือง จังหวัดชัยนาท บรรพชา ในปี พ.ศ. 2425 อุปสมบท ในปี พ.ศ. 2433 ณ พั ท ธสี ม าวั ด พระบรมธาตุ ว รวิ ห าร ต� ำ บลชั ย นาท อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด ชั ย นาท พระอุ ป ั ช ฌาย์ พระอิ น ทโมลี ศ รี บ รมธาตุ บ ริ ห าร สุ วิ จ ารณ์ สั ง ฆปาโมกข์ (ช้ า ง อิ นฺ ท สโร) พระกรรมวาจาจารย์ พระวินัยธรค�ำตัสเถระ พระอนุสาวนาจารย์ พระชัยนาทมุนี (หรุ่น) ได้รับฉายาว่า “เขมฺจิตฺโต” 102
.indd 102
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
. - 09/01/2563 14:55:34 PM
History of buddhism....
WAT SANGKHARAM Paying homage to “Luang Pu Pleum”, who had sacred and absolute speech Phra Palad Prathan Thammasuthi, abbot of Wat Sangkharam Wat Sangkharam is located at 91 village no.2, Thiang Thae sub-district, Sangkhaburi district, Chai Nat province. Formerly, Phra Det Phra Khun Luang Pu Pleum Khemchitto, the famous Buddhist monk of Chai Nat was an abbot at this temple. Biography of Luang Pu Pleum Phra Athikarn Pleum Khemchitto, his former status was Mr.Pleum Yaemphai. He was born in B.E.2412, at Ban Wang Phai, village no.1, Chai Nat sub-district, Mueang district, Chai Nat province. He was ordained as a novice in B.E.2425 and became a monk in B.E.2433 at monastic boundary of Wat Phra Borommathat Worawihan, Chai Nat sub-district, Mueang district, Chai Nat province. He was bestowed the title “Khemchitto”.
尚卡兰寺庙 尊重 “普鲁大师傅” 说什么都变成真实。 塔玛苏西大师傅是尚卡兰寺庙的方丈。 尚卡兰寺庙位于泰国 猜纳府 桑哈布里区 天台街区2号 91号。这里有一位寺庙的方丈叫 普鲁姆•克海姆吉托(Pluem Khemjittto)他是非常有名 的。 普鲁大师傅的历史。 波鲁大师傅 (普鲁姆•克海姆吉托)原名是普鲁,姓 阴。他是1869年出生他在泰国纳府省 纳府区1号。1882 年的圣训。1990年在博他仑,Phra Borommathat Worawihan 被任命为和尚。这里位于 泰国猜纳府。收到昵 称“ 可马金特” 寺庙和寺庙的普鲁大师傅历史。 1904年,猜纳府,在殿下之际 沿着湄南河开始,朱拉 隆功国王给了布以敬意,僧侣用品,僧侣挎包。 1939年,普密蓬•阿杜德 国王和诗丽吉王后 女王 去 崇拜大佛的遗物在尚卡兰寺庙。 CHAINAT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 103
103
. - 09/01/2563 14:55:38 PM
History of buddhism....
วัดจันทนาราม รำ�ลึกพระเดชพระคุณ “หลวงพ่อโม” ที่พึ่งของชาวสรรคบุรี พระครูสุวรรณปักษธร ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาส วัดจันทนาราม
วัดจันทนาราม ตั้งอยู่บ้านห้วยกรด หมู่ที่ 9 ต�ำบลห้วยกรด อ�ำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีทดี่ นิ ตัง้ วัด เนื้อที่ 33 ไร่ 1 งาน 99 ตารางวา สร้างโดยทางญาติและลูกศิษย์ พระอุปชั ฌาย์โม ธมฺมรกฺขโิ ต หรือ “หลวงพ่อโม” พระเกจิอาจารย์ชอื่ ดัง ของอ� ำ เภอสรรคบุ รี ผู ้ ส ร้ า งตะกรุ ด โทนวั ต ถุ ม งคลที่ มี พุ ท ธคุ ณ เป็นที่กล่าวขานกันมานาน ประวัติความเป็นมา วัดจันทนาราม ตามต�ำนานบอกเล่าเดิมเป็นพื้นที่ว่างเปล่า ได้ มีทางญาติๆ และลูกศิษย์ลูกหาของหลวงพ่อโมซื้อที่ดินแปลงนี้ถวาย และช่วยกันสร้างวัด และได้ขอขึ้นทะเบียนวัดในปี พ.ศ. 2400 เมื่อ สร้างวัดเสร็จแล้ว ได้นิมนต์หลวงพ่อโมมาอยู่ หลวงพ่อโมท่านได้ ตั้งชื่อว่า “วัดจันทนาราม”เข้าใจว่าท่านคงเห็นว่าภายในวัดมีต้นจัน ขึ้นอยู่ก็เป็นได้ ต่อมาวัดจันทนารามได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา วันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2494 104
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
.indd 104
. - 09/01/2563 15:14:19 PM
อาคารเสนาสนะ/ปูชนียวัตถุ ภายในวัดมีอาคารเสนาสนะต่าง ๆ อาทิ อุโบสถ กว้าง 8 เมตร ยาว 22 เมตร สร้าง พ.ศ. 2489 โครงสร้างก่ออิฐถือปูน ศาลาการเปรียญ กว้าง 19.50 เมตร ยาว 29 เมตร สร้าง พ.ศ. 2512 หอสวดมนต์ กว้าง 12.50 เมตร ยาว 18.50 เมตร กุฏสิ งฆ์ จ�ำนวน 3 หลัง เป็นอาคารไม้ ส�ำหรับปูชนียวัตถุมี หลวงพ่อหิน พระประธานในวิหาร เป็นพระพุทธรูป เนื้อศิลาแลง ขนาดพระเพลากว้าง 30 นิ้ว ล�ำดับเจ้าอาวาส รูปที่ 1 พระอุปัชฌาย์โม ธมฺมรกฺขิโต พ.ศ. 2443-2502 รูปที่ 2 พระครูปุ่น อุตฺตทธมฺโม พ.ศ. 2503-2513 รูปที่ 3 พระอธิการแสวง ปญฺญาวโร พ.ศ. 2513-2535 รูปที่ 4 พระครูสวุ รรณปักษธร พ.ศ. 2536-ปัจจุบนั ประวัติหลวงพ่อโม หลวงพ่อโมท่านเป็นคนห้วยกรด เกิดเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2419 และได้อุปสมบทในปี พ.ศ. 2439 (อายุ 20 ปี) ที่วัดใหม่บ�ำเพ็ญบุญ ได้รับฉายาว่า “ธมฺมรกฺขิโต” เมื่อได้อุปสมบทแล้วท่านก็ได้ศึกษา พระธรรมวินยั และวิชาอาคมจากหลวงพ่อเถือ่ น พระอุปชั ฌาย์ของท่าน และท่านก็ได้ศึกษาวิปัสสนากรรมฐานกับหลวงพ่อเถื่อนและหลวงพ่อ คงอีกด้วย ต่ อ มาหลวงพ่ อ คงท่ า นได้ น� ำ หลวงพ่ อ โมไปฝากตั ว กั บ หลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า ในปี พ.ศ. 2451 ได้อยู่ศึกษากับ หลวงปูศ่ ขุ เป็นเวลา 5 พรรษา จึงได้ลากลับมาอยูท่ วี่ ดั ใหม่บำ� เพ็ญบุญ และได้สร้างวัดจันทนารามขึ้นในปี พ.ศ. 2456
หลวงพ่อโมท่านได้สร้างพระเครื่องและวัตถุมงคลไว้ให้แก่ศิษย์ หลายอย่าง วัตถุมงคลทีโ่ ด่งดังของท่าน ได้แก่ ตะกรุดโทน เหรียญรูปเหมือน มีดหมอ หลวงพ่อโมเป็นพระเกจิอาจารย์ของอ�ำเภอสรรคบุรี จังหวัด ชั ย นาทองค์ ห นึ่ ง ที่ ไ ด้ ส ร้ า งมี ด หมอ ซึ่ ง คนในพื้ น ที่ จ ะหวงมาก ส่ ว นตะกรุ ด หลวงพ่ อ โมนั้ น นั บ ว่ า เป็ น เครื่ อ งรางที่ พุ ท ธคุ ณ เป็ น ที่ กล่าวขานกันมานาน แต่นับว่าหาได้ยากมากในปัจจุบัน หลวงพ่อโมท่านมรณภาพด้วยโรคชรา ในปีพ.ศ. 2502 สิรอิ ายุได้ 82 ย่างเข้า 83 ปี วันที่ท่านมรณภาพนั้น ทั้งเต่า จระเข้ที่อยู่ในสระน�ำ้ ของวัด ได้ขน้ึ มาหมอบน�ำ้ ตาไหลอยูข่ า้ งกุฏขิ องท่าน นกยูงและไก่ตอ๊ ก ก็ อ อกมาร้ อ งกั น ระงม เหมื อ นกั บจะรู ้ ว ่ า หลวงพ่อที่เมตตาต่อมัน จะจากไป ต่อมาในปี พ.ศ. 2503 ทางวัดก็ได้ท�ำการฌาปนกิจศพท่าน และได้สร้างพระรูปเหมือนขนาดห้อยคอ โดยคว้านใต้ฐานบรรจุอัฐิ ของท่านแล้วนิมนต์หลวงพ่อเชื้อ วัดใหม่บ�ำเพ็ญบุญ มาปลุกเสกให้
หลวงพ่อโมท่านชอบออกธุดงค์เป็นอย่างมาก ซึง่ แต่ละครัง้ จะไป เป็นเวลานาน ขากลับท่านจะน�ำว่านยา เขาละอง ละมัง่ เขากวางมาด้วย จนกระทัง่ หลวงพ่อพบเศียรพระพุทธรูปทีม่ คี วามงดงามมาก ซึง่ ไม่ทราบ ว่าพบที่ใด ท่านจึงจ้างช่างต่อเศียรพระเข้ากับองค์พระพุทธรูปเก่า ดั้งเดิมที่วัด และอัญเชิญเทวดาปกปักรักษา ซึ่งก็คือ หลวงพ่อหิน ในปัจจุบันนั่นเอง CHAINAT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 105
105
. - 09/01/2563 15:14:29 PM
History of buddhism....
วัดสกุณาราม กราบขอพร “หลวงพ่อลักษ์” ศักดิ์สิทธิ์ พระครูชัยสุตากร (มหาอุกกฤษฎ์ มหิสฺสโร) ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาส เลขานุการเจ้าคณะอำ�เภอสรรคบุรี และเจ้าคณะตำ�บลดอนกำ�
106
.indd 106
วัดสกุณาราม (วัดนก) เลขที่ 76 หมู่ 1 ต�ำบลบางขุด อ�ำเภอสรรคบุรี จั ง หวั ด ชั ย นาท มี เ นื้ อ ที่ วั ด 32 ไร่ เป็ น วั ด ที่ มี อ ดี ต เจ้ า อาวาสคื อ หลวงปู่เอ้บ ธมฺมจาโร พระเกจิอาจารย์ที่มีชื่อเสียงโด่งดังต้นต�ำรับ ความเหนียว ซึ่งเป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดีในหมู่ศิษยานุศิษย์
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
. - 09/01/2563 15:15:38 PM
ประวัติความเป็นมา วัดสกุณาราม สร้างขึ้นเป็นวัดเมื่อ พ.ศ. 2430 เดิมเป็นวัดร้าง มี ซากวิหารเก่าปรากฏอยู่เป็นหลักฐาน ชาวบ้านเรียกกันว่า “วัดนก” เพราะมีฝงู นกเอีย้ งมาอาศัยอยูเ่ ป็นจ�ำนวนมาก ต่อมาได้เปลีย่ นชือ่ เป็น “วัดสกุณาราม” ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาในราว พ.ศ. 2446 (โบสถ์มหาอุตม์หลังเก่า) พ.ศ. 2538 ได้สร้างอุโบสถหลังใหม่
เสนาสนะ-สิ่งศักดิ์สิทธิ์สำ� คัญ โบสถ์มหาอุตม์หลังเก่า สร้างโดยหลวงพ่อโต วัดวิหารทอง โบสถ์หลังนี้ ยังมีตำ� นานเรือ่ งของ ขุนพันธ์หรือดาบแดงใช้ในโบสถ์หลังนีเ้ ป็นสถานที่ เจรจากับเหล่าเสือร้ายแถบลุ่มเมืองน�้ำน้อยเมืองสรรค หลวงพ่อลักษ์ เป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ที่ชาวบ้านนับถือศรัทธา พุทธศิลป์เป็นหินแกะสลัก อายุกว่า 500 ปี การบริหารปกครองวัด วัดสกุณาราม มีเจ้าอาวาสปกครองวัดนับจากอดีตจนถึงปัจจุบัน 13 รู ป ปั จ จุ บั น มี พ ระครู ชั ย สุ ต ากร (มหาอุ ก กฤษฎ์ มหิ สฺ ส โร) ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นเจ้าอาวาส เลขานุการเจ้าคณะอ�ำเภอสรรคบุรี และเจ้าคณะต�ำบลดอนก�ำ
CHAINAT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 107
107
. - 09/01/2563 15:15:51 PM
History of buddhism....
วัดหัวเด่น
ขอพร “หลวงพ่อนาค” พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์พันปี พระครูโกวิทชัยกิจ ดำ�รงตำ�แหน่ง เจ้าคณะตำ�บลบางขุด เจ้าอาวาสวัดหัวเด่น
วัดหัวเด่น ตัง้ อยูห่ มู่ 10 ต�ำบลบางขุด อ�ำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย วัดหัวเด่นเป็นวัดเก่าแก่วัดหนึ่งในเขต อ� ำ เภอสรรคบุ รี ที่ มี ห ลั ก ฐานจากถาวรวั ต ถุ ภ ายในวั ด คื อ อุ โ บสถ ที่สันนิษฐานว่าถูกสร้างขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยา และพระพุทธรูป ปางนาคปรกเนื้อหินศิลาแลง ที่เป็นศิลปะแบบบายนสมัยพระเจ้า ชัยวรมันที่7 ซึ่งพระพุทธรูปองค์นี้ถือว่าเป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ ประจ�ำวัดมาอย่างยาวนาน ประวัติความเป็นมา ความเป็นมาของชือ่ วัดหัวเด่น เดิมชือ่ วัดหัวฬ่อ ทีห่ มายถึงหุน่ ทีใ่ ช้ น�ำมาฬ่อสัตว์ เพราะในอดีตสมัยอยุธยาละแวกพื้นที่วัดในปัจจุบัน ยังเป็นป่าดงพงไพรมีสัตว์ชนิดต่างๆ มาอาศัยอยู่เป็นจ�ำนวนมากมาย พรานทีล่ า่ สัตว์จงึ ใช้ทตี่ งั้ โบสถ์เก่า ซึง่ คือซากเนินอิฐเป็นจุดสังเกต ใช้เป็น ทีห่ มายของการแวะพัก จากเรียกว่าวัดหัวฬ่อ และได้เปลีย่ นตามภูมทิ ศั น์ พื้นที่ดอนสูงกันดารมาเป็นหัวเด่น ตามที่ใช้เรียกอยู่ในปัจจุบัน ถัดจากสมัยกรุงศรีอยุธยาซึ่งเป็นยุคสมัยของการก่อตั้งวัดในราว ปี พ.ศ. 2326-2358 ลุเข้าสูส่ มัยกรุงรัตนโกสินทร์ และในราวปี พ.ศ. 2450 ปรากฏหลักฐานการก่อสร้างถาวรวัตถุขนึ้ เพิม่ เติมภายในวัดหัวเด่นขึน้ มาอีกครัง้ ในสมัยทีพ่ ระอาจารย์โธ้ เป็นเจ้าอาวาสองค์แรก โดยมีอบุ าสก
108
.indd 108
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
. - 09/01/2563 15:17:58 PM
อุบาสิกาผู้มีจิตใจอันกุศล คือ นายติ่ง จั่นหนู ,นายรุ่ง เขียวบุรี ,นายยา เนียมทอง ,นายจ่าง มั่นปาน และนายเตี้ยม นวนนุ่ม ช่วยเรี่ยไรบริจาค ปัจจัยก่อสร้างเสนาสนะภายในวัด โดยยึดเอาอุโบสถหลังเก่าสมัยอยุธยา เป็นหลัก ประกอบไปด้วย กุฏิ หอสวดมนต์ ศาลาการเปรียญและ ฌาปนสถาน ต่อมาในปี พ.ศ. 2518 จึงได้สร้างโรงเรียนวัดหัวเด่นขึน้ ใหม่ ใช้เปิดสอนแก่กุลบุตร กุลธิดาในระดับชั้นประถมศึกษา ปี พ.ศ. 2534 พระอาจารย์สมาน สนฺตกาโย เจ้าอาวาสรูปที่ 18 ได้ย้ายมาด�ำรงเจ้าอาวาสวัดหัวเด่น เห็นว่าอุโบสถหลังเก่าได้ช�ำรุด ทรุดโทรมลงมาก ไม่เหมาะสมในการปฏิบัติศาสนกิจ จึงได้ประชุม คณะกรรมการวัดและชาวบ้านหัวเด่น ลงความเห็นว่าควรสร้าง อุโบสถหลังใหม่ขึ้น โดยก�ำหนดพิธีวางศิลาฤกษ์ ในวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2535 จนการก่อสร้างแล้วเสร็จ มีก�ำหนดพิธีการผูกพัทธสีมา และรับพระราชทานวิสุงคามสีมา ในเดือนมกราคมและกุมภาพันธ์ ปี พ.ศ. 2537 ตามล�ำดับ
ปูชนียวัตถุที่สำ� คัญภายในวัดหัวเด่น • พระพุทธรูปปางนาคปรก พระนามหลวงพ่อนาค เป็นพระพุทธรูป ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ป ระจ� ำ วั ด ศิ ล ปะแบบบายนสมั ย พระเจ้ า ชั ย วรมั น ที่ 7 ประดิษฐานอยู่คู่กับวัดหัวเด่นมายาวนานหลายร้อยปี • พระสีวลี พระนามหลวงพ่อพระฉิม สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2520 เป็นพระสีวลีปางยืนรับทรัพย์รับโชคลาภ เท้าไม่ก้าวย่าง ถูกสร้างขึ้น โดยหลวงพ่อกวย ชุตินฺธโร พระเถราจารย์เลื่องชื่อแห่งเมืองสรรคบุรี ได้ท�ำพิธีเบิกเนตรและอัญเชิญบารมีพระสีวลีมาสถิตลงในรูปที่ปั้น หลวงพ่อกวยท่านจึงเฉลิมพระนามหลวงพ่อพระฉิม • รูปเหมือนสามองค์ครูบูรพาจารย์ ประกอบด้วย หลวงพ่อกวย วัดโฆสิตาราม ,หลวงปูเ่ ย็น วัดสระเปรียญ และหลวงปูป่ รง วัดธรรมเจดีย์ เมื่อใดที่มีการประกอบพิธีมงคลต่างๆ พระครูโกวิทชัยกิจจะเริ่มต้นที่ รูปเหมือนองค์ครูเสมอ และได้ท�ำพิธีกรรมอัญเชิญดวงวิญญาณบารมี องค์ครูทั้งสามมาสถิตอยู่ในรูปเหมือนนี้ แต่นั้นมาจึงปรากฏความ ศักดิ์สิทธิ์มีอิทธิฤทธิ์มาก สามารถบนบานศาลกล่าวได้เป็นผลอย่างดี
• บรมครูฤาษีหลวงพ่อกวย เป็นบรมครูอกี องค์หนึง่ ของหลวงพ่อกวย ชุตินฺธโร ถูกปั้นขึ้นด้วยดินมงคลดินอาถรรพ์ลงสี ขนาดหน้าตักราว 9 นิ้ว นับเป็นของมงคลล�้ำค่า ทั้งเป็นมรดกแห่งองค์บรมครูที่พระครู โกวิทชัยกิจให้ความเคารพนับถืออย่างมาก บรมครูฤาษีองค์นไี้ ด้มาโดย พิสดารน่าอัศจรรย์นกั สังเกตดูได้จากวัตถุมงคลต่างๆทีข่ นึ้ เป็นรูปฤาษี ของท่าน จะเป็นรูปของบรมครูฤาษีหลวงพ่อกวยองค์นี้ ทุกรุ่นทุกองค์ ปัจจุบนั วัดหัวเด่นมี พระครูโกวิทชัยกิจ (วิชยั โกวิโท) ด�ำรงต�ำแหน่ง เป็นเจ้าคณะต�ำบลบางขุดและเป็นเจ้าอาวาสรูปที่ 20 ท่านได้รบั ผิดชอบ การบูรณปฏิสังขรณ์ ปรับปรุงและพัฒนาเสนาสนะภายในวัดหัวเด่น ให้มั่นคงสวยงามเป็นที่ภาคภูมิใจของศิษยานุศิษย์ชาวบ้านหัวเด่น ตลอดจนถึงชาวสรรคบุรีโดยตลอดมา พระครู โ กวิ ท ชั ย กิ จ (วิ ชั ย โกวิ โ ท) เป็ น พระผู้สืบ สายพุท ธาคม สามองค์ครูบูรพาจารย์ หลวงพ่อกวย วัดโฆสิตาราม ,หลวงปู่เย็น วัดสระเปรียญ และหลวงปู่ปรง วัดธรรมเจดีย์ ซึ่งท่านได้ใช้วิทยาคมที่ สามองค์ครูถา่ ยทอดให้เพือ่ การสงเคราะห์ญาติโยมทีม่ เี รือ่ งราวทุกข์รอ้ น คอยช่วยเหลือผ่อนหนักให้เป็นเบา อีกทัง้ ยังใช้วทิ ยาคมในการรักษาให้ พระพุทธศาสนาอยู่คู่พุทธศาสนิกชนและแผ่นดินไทยสืบต่อไป
CHAINAT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 109
109
. - 09/01/2563 15:18:04 PM
History of buddhism....
วัดโพธิ์งาม
บทพิสูจน์แห่งบวรสามเสาหลักสังคมไทย พระใบฎีกาเรวัตฺ จิตฺตทนฺโต ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาส
วัดโพธิ์งาม ตั้งอยู่เลขที่ 78 หมู่ที่ 2 บ้านโพธิ์งาม ต�ำบลดอนก�ำ อ�ำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีทดี่ นิ ตัง้ วัด เนื้อที่ 25 ไร่ 3 งาน 73.7 ตารางวา อาณาเขต ทิศเหนือติดต่อกับที่ดินของนางม้วน ข้องหลิม ทิศใต้ ติดต่อกับที่ดินของนางติ้งและนายคง ทิศตะวันออกติดต่อกับแม่น�้ำ แพรกศรีราชา ทิศตะวันตกติดต่อกับที่ดินของนางแช่ม เปียประโมง พื้นที่ตั้งวัดเป็นที่ราบลุ่มอยู่ริมแม่น�้ำน้อยทางฝั่งตะวันตก
110
.indd 110
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
. - 09/01/2563 15:20:06 PM
ประวัติวัด วัดโพธิง์ าม สร้างขึน้ เป็นวัดนับตัง้ แต่ประมาณ พ.ศ. 2301 ได้มนี าม ตามชือ่ บ้าน ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมาในราว พ.ศ. 2312 มีพระภิกษุ อยู่จ�ำพรรษา 10 รูป มีโรงเรียนประถมศึกษาของทางราชการตั้งอยู่ ในเนื้อที่วัดนี้ด้วย
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส วัดโพธิ์งาม เจ้าอาวาสมี 11 รูป ดังนี้ 1. หลวงพ่อก่วม พ.ศ. 2435-2440 2. พระอาจารย์เล็ก พ.ศ. 2440-2452 3. พระอาจารย์หริ่ง พ.ศ. 2452-2461 4. พระอาจารย์รอด พ.ศ. 2462-2468 5. พระอาจารย์หวล พ.ศ. 2469-2472 6. พระอาจารย์จอง พ.ศ. 2473-2480 7. พระอธิการแป๊ะ พ.ศ. 2480-2497 8. พระครูวิชัยวรคุณ พ.ศ. 2497-2536 9. พระใบฎีกาละมัย พ.ศ. 2537-2539 10. พระครูชยากรวิวัฒน์ พ.ศ. 2540-2555 11. พระใบฎีกาเรวัตฺ จิตฺตทนฺโต พ.ศ. 2555 เป็นต้นมา มณฑปพระครูธรรมเทพโลกอุดร อาคารเสนาสนะ / ปูชนียวัตถุ อุ โ บสถ กว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร บู ร ณะ พ.ศ. 2498 ศาลาการเปรียญ กว้าง 16 เมตร ยาว 20 เมตร สร้าง พ.ศ. 2515 หอสวดมนต์ กว้าง 11 เมตร ยาว 21 เมตร สร้าง พ.ศ. 2526 กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 3 หลัง เป็นอาคารไม้ ตึกและครึ่งตึกครึ่งไม้ ปูชนียวัตถุ พระประธานในอุโบสถ พร้อมด้วยพระอัครสาวกและ รอยพระพุทธบาทจ�ำลอง สิ่งที่น่าสนใจภายในวัด ฆ้องยักษ์ ซึง่ ติดอันดับ 1 ใน 10 ของฆ้องทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในประเทศไทย มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 509 เซนติเมตร และมีความสูงจากฐานไป จนถึงยอดจั่วศาลา 8 เมตร 9 เซนติเมตร จัดสร้างโดยกลุ่มชาวชัยนาท สร้างสรรค์ เพือ่ ดึงดูดให้พทุ ธศาสนิกชนได้ทำ� บุญเข้าวัด และได้ตฆี อ้ งยักษ์ ตามความเชือ่ ทีว่ า่ จะชือ่ เสียงโด่งดังกังวานไกลไปทัว่ ทุกสารทิศเหมือน เสียงฆ้อง และประกอบกิจการงานใด ๆ ก็จะประสบความส�ำเร็จ
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ ปัจจุบัน วัดโพธิ์งามได้มีการบูรณะสาธารณูปโภค-สาธารณูปการ ต่าง ๆ ภายในวัดอย่างสม�ำ่ เสมอ เพือ่ ให้ผทู้ มี่ าท�ำบุญปฏิบตั ธิ รรมได้รบั ความสะดวกสบายตามสมควร และยังได้ชว่ ยพัฒนาโรงเรียนวัดโพธิง์ าม อยูเ่ สมอ ท่านสาธุชนท่านใดประสงค์จะร่วมสร้างเส้นทางบุญกับทางวัด ติดต่อได้ที่ พระใบฎีกาเรวัตฺ จิตฺตทนฺโต เจ้าอาวาสวัด CHAINAT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 111
111
. - 09/01/2563 15:20:22 PM
History of buddhism....
วัดหอระฆัง
กราบขอพร “หลวงพ่อติ่ง” พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ พระมหาจุติพงษ์ กิตฺติปญฺโญ ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาส วัดหอระฆัง
วัดหอระฆัง ตั้งอยู่เลขที่ 30 บ้านหอระฆัง หมู่ 12 ต�ำบลบางขุด อ�ำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย วัดหอระฆัง ตั้งเมื่อ พ.ศ. 2400 ได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่เมื่อ พ.ศ. 2475 และได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2541 เขตวิสุงคามเสมากว้าง 25 เมตร ยาว 36 เมตร
ประวัติความเป็นมา วัดหอระฆัง ไม่พบประวัติว่าสร้างขึ้นในสมัยใดและใครเป็น ผู้สร้าง เดิมเป็นวัดร้าง มีป่าไผ่ปกคลุมชาวบ้านพบป้ายชื่อถูกไฟไหม้ ชื่อวัดเทพสิรินทร สันนิษฐานว่า วัดน่าจะสร้างก่อนสมัยอยุธยา และ วัดถูกท�ำลายโดยข้าศึกฝ่ายพม่า เมือ่ ครัง้ เสียกรุงศรีอยุธยา โบราณสถาน ทีพ่ บและเป็นตัวบ่งชีถ้ งึ อายุการสร้าง ได้แก่ อุโบสถหลังเก่า ผนังอุโบสถ ก่อสร้างด้วยหินศิลาแลงขนาดใหญ่ พัทธสีมารอบอุโบสถสร้างด้วย หินทรายโบราณ ตัวอุโบสถไม่มหี ลังคา เนือ่ งจากช�ำรุดทรุดโทรมไปมาก ชาวบ้านทีร่ ว่ มบูรณะครัง้ แรกได้ใช้สงั กะสีมงุ ไว้ชวั่ คราว ปัจจุบนั อุโบสถ หลังเดิมนี้ได้มีการบูรณปฏิสังขรณ์ขึ้นใหม่ โดยได้มีการฉาบปูนปิดตัว ผนังทุกด้าน จนไม่สามารถเห็นผนังหินศิลาแลงเดิมได้อีก รอบ ๆ อุโบสถมีการเทปูนไว้โดยรอบ ขอพร “หลวงพ่อติ่ง” พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ ์ หลวงพ่อติง่ เป็นพระพุทธรูปปูนปัน้ ปางมารวิชยั ความสูง 89 นิว้ ความกว้าง 59 นิ้ว ประดิษฐานภายในอุโบสถ เดิมทีชาวบ้านพบองค์ หลวงพ่อติ่งอยู่ในป่าไผ่ ส่วนแขนและเศียรหลวงพ่อติ่งพบอยู่ในโบสถ์ หลังเก่าชาวบ้านได้ร่วมกันบูรณะซ่อมแซมองค์หลวงพ่อติ่งจนมีสภาพ ที่ ส มบู ร ณ์ โดยในระหว่ า งที่ มี ท� ำ พิ ธี ชุ ม นุ ม เทวดาตามพิ ธี ก รรม ทางศาสนา ได้มพี ระอาทิตย์ทรงกลดขึน้ เป็นทีอ่ ศั จรรย์แก่ผรู้ ว่ มพิธยี งิ่ นัก สันนิษฐานหลวงพ่อติง่ น่าจะมีอายุการสร้างประมาณ 400 กว่าปีขนึ้ ไป 112
.indd 112
องค์หลวงพ่อติ่งมีความศักดิ์สิทธิ์มาก ชาวบ้านนิยมมาบนบานขอให้ หลวงพ่อช่วยเกี่ยวกับการงาน การเงิน การเจ็บไข้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อทรัพย์สินหายหรือหลงลืม แล้วมาบนบานให้หลวงพ่อช่วยแล้ว จะ ได้ของนั้นกลับคืนทุกราย การบนบานนั้นจะบนด้วยสิ่งของก็ได้ เช่น พวงมาลัย ทองค�ำเปลว ไข่ต้ม หรือบนด้วยมหรสพ เช่น ร�ำวง ลิเก ดนตรีและภาพยนตร์ แต่หลวงพ่อติ่งจะชอบร�ำวงมาก
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
. - 09/01/2563 15:20:56 PM
ลํ�าสมัยไม่ตกเทรน คุณภาพคับเล่ม
WWW.SBL.CO.TH
KHON KAEN
บึงแก่นนคร @ขอนแก่น
ถํ�าค้างคาว
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
จุ ดชมวิวหินช�างสี
www.ookbee.com/Magazine/SBLMAGAZINE www.issuu.com/sblmagazine SBL บันทึกประเทศไทย
Ad-SBL Magazine Computer.indd 332
27/07/60 10:23:23 AM
History of buddhism....
วัดหนองน้อย ตำ � นานการสื บ ทอดยั น ต์ เ กราะเพชร “หลวงปู ่ ศ ุ ข ” พระครูโสภิตจริยานุวัตร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดหนองน้อย
วั ด หนองน้ อ ย ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 74 บ้ า นหนองน้ อ ย หมู ่ ที่ 9 ต�ำบลมะขามเฒ่า อ�ำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 28 ไร่ 3 งาน 33 ตารางวา มีที่ธรณีสงฆ์ จ�ำนวน 4 แปลง เนื้อที่ 23 ไร่ 1 งาน 42 ตารางวา ประวัติวัด วั ด หนองน้อยสร้างขึ้น เป็น วัด นับ ตั้งแต่ป ระมาณ พ.ศ. 2437 ได้ มี น ามตามชื่ อ บ้ า น ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม าในราว พ.ศ. 2450 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 12.15 เมตร ยาว 22.87 เมตร ทางวัดได้เปิดสอนพระปริยัติธรรม พ.ศ. 2508 มีโรงเรียนประถม ศึกษาของทางราชการตั้งอยู่บริเวณวัด 114
.indd 114
ล�ำดับเจ้าอาวาส 1. พระอธิการอินทร์ 2. พระอธิการแปลก 3. พระอธิการถ้วน 4. พระอธิการนัว 5. พระอธิการวงศ์ 6. พระใบฎีกาบุญยัง 7. พระอธิการสวิง 8. พระอธิการเสนาะ 9. พระครูพินิตชัยการ 10. พระครูโสภิตจริยานุวัตร
พ.ศ. 2433-2449 พ.ศ. 2449-2456 พ.ศ. 2456-2463 พ.ศ. 2463-2470 พ.ศ. 2470-2477 พ.ศ. 2477-2489 พ.ศ. 2489-2499 พ.ศ. 2499-2508 พ.ศ. 2508-2539 เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน
ประวัติเจ้าอาวาส พระครู โ สภิ ต จริ ย านุ วั ต ร ผู ้ สื บ ทอดวิ ช ายั น ต์ เ กราะเพชรของ หลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า จังหวัดชัยนาท เดิมชื่อ สมชาย ดวงมาลา เกิดวันจันทร์ที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2510 ณ บ้านเขาพระงาม
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
. - 09/01/2563 15:23:09 PM
ทางธรรม จบนักธรรมชั้นเอก สมณศักดิ์ วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2559 เป็นพระครูสัญญาบัตร เจ้าอาวาสวัดราษฎร์ ชั้นโท ที่ พระครูโสภิตจริยานุวัตร
อ�ำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี บิดาชื่อ นายสม ดวงมาลา มารดาชื่อ นางสว่าง ดวงมาลา อุปสมบทเมื่อวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2531 ที่วัดทุ่งสิงห์โต อ�ำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี โดยมีพระมงคลธรรมภาณี (หลวงปู ่ มั ง มั ง คโล) เป็ น พระอุ ป ั ช ฌาย์ พระครู เชื่ อ ม เป็ น พระ กรรมวาจาจารย์ พระครูณรงค์ เป็นพระอนุสาวนาจารย์ การศึกษา - ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนพิบูลวิทยาลัย จังหวัดลพบุรี - ปริญญาตรีสาขาช่างยนต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม กรุงเทพฯ - ปริญญาตรีสาขาวิศวะช่างยนต์ มหาวิทยาลัยสยาม กรุงเทพฯ
หลวงพ่อได้ศึกษาทางด้านพุทธเวทย์กับหลวงปู่มัง วัดเทพกุญชร พ.ศ. 2533 ได้เรียนวิปัสสนานากรรมฐานกับหลวงปู่คง วัดเขาสมโภช จังหวัดลพบุรี และหลวงพ่อฟัก วัดเขาวงพระจันทร์ จังหวัดลพบุรี และยังได้เรียนวิชาธรรมะเปิดโลกกับหลวงพ่อฟักอีกด้วย ประมาณ พ.ศ. 2534 ได้ศึกษาวิชาธาตุกายสิทธิ์ (การเสกปรอท) กับหลวงปู่อวน วัดผักไห่ จังหวัดสระบุรี ได้ศึกษาวิชาธาตุกายสิทธิ์เรียกปรอทเป็นน�้ำ กลายเป็นผงแป้งและเป็นหิน จนส�ำเร็จวิชา ในพรรษาที่ 8-9 หลวงพ่อได้ธุดงค์ไปที่จังหวัดอุดรธานี และขอ จ�ำพรรษาอยู่กับ หลวงตามหาบัว ญาณสัมปัณโณ วัดป่าบ้านตาด จังหวัดอุดรธานี เพื่อศึกษาธรรมะ ซึ่งหลวงตามหาบัวได้เมตตาสั่ง สอนรวมกับพระรูปอื่นๆ ทุกเย็นตลอด 2 พรรษา จากนั้นกลับมาจ�ำ พรรษาที่วัดทุ่งสิงห์โต ได้ด�ำเนินการก่อสร้างกุฏิงบประมาณการ ก่อสร้างประมาณ 4 แสนบาท หลวงพ่อจะด�ำเนินการสร้างศาลา การเปรียญ งบประมาณการก่อสร้างประมาณ 8 ล้านบาทแต่ยังไม่ แล้วเสร็จ เพราะพระพุทธวรญาณ (รองสมเด็จพระสังฆราช) เจ้าคณะ จังหวัดลพบุรี เจ้าอาวาสวัดกวิศ ได้มีค�ำสั่งให้หลวงพ่อไปดูแลวัด หนองน้อย จังหวัดชัยนาท เนื่องจากเจ้าอาวาสได้มรณภาพลง CHAINAT I SBL บันทึกประเทศไทย
115
“วัดปางอั้น” เป็นวัดหนึ่งที่มีนักท่องเที่ยวและศรัทธาพุทธศาสนิกชนมาเยี่ยมชมวัด พร้อมขอพรองค์หลวงพ่อพุทธโสธร (จ�ำลอง) มากมาย . - 09/01/2563 15:23:16 PM
.indd 115
หลวงพ่อจึงเดินทางไปดูแลวัดหนองน้อยเมื่อวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2539 ขณะนั้นมีพระสงฆ์จ�ำพรรษาอยู่ 5 รูป แต่ก่อนที่หลวงพ่อ จะย้ายมาจ�ำพรรษาทีว่ ดั หนองน้อย หลวงพ่อได้ฝนั ว่า มีพระชรารูปหนึง่ มีปากแดงคล้ายคราบหมาก ถือดอกบัวมายื่นให้ และบอกว่าท่านจง รับไป หลวงพ่อได้ยนื่ มือออกไปรับ รุง่ เช้าหลวงพ่อได้เล่าฝันให้ลกู ศิษย์ฟงั ลู ก ศิ ษ ย์ ท� ำ นายความฝั น ว่ า หลวงพ่ อ จะต้ อ งย้ า ยไปจ� ำ พรรษาที่ วั ด อืน่ แน่ ๆ หลวงพ่อได้ตอบลูกศิษย์วา่ อาตมาจะไปอยูท่ วี่ ดั อืน่ ได้อย่างไร เพราะอาตมาบวชทีน่ แี่ ละจ�ำพรรษาทีน่ มี่ าตลอด แต่ถา้ มีพระทีม่ วี ชิ าทีจ่ ะ อบรมสั่งสอนอาตมาก็อาจจะไปอยู่วัดนั้น หลังจากนัน้ ตอนกลางคืนหลวงพ่อได้จำ� วัตรตามปกติ แต่พอถึงรุง่ เช้า หลวงพ่อไม่สามารถลุกเดินได้ โดยไม่ทราบสาเหตุ เป็นเช่นนีอ้ ยู่ 15 วัน หลวงพ่อแปลกใจท�ำไมถึงเป็นเช่นนี้ได้ ท่านจึงนึกถึงความฝัน จึงได้ ให้ลกู ศิษย์ชว่ ยกันหามท่านไปนัง่ ทีห่ อ้ งพระ นัง่ สมาธิประมาณครึง่ ชัว่ โมง ก็หายเป็นปกติ หลวงพ่อจึงลุกไปสรงน�้ำ และออกมาพบญาติโยมว่า 116
.indd 116
อาตมาคงต้องไปแล้ว เพราะรับปากกับเขาแล้ว จากนั้นอีกไม่นาน หลวงพ่อได้รบั ค�ำสัง่ ให้ไปดูแลวัดหนองน้อย ตลอดเวลาทีท่ า่ นจ�ำพรรษา ที่วัดทุ่งสิงห์โต ท่านจะปฏิบัติธรรมท�ำสมาธิ เดินจงกรมที่ป่าช้าบ้าง ที่ถ�้ำบ้างเพื่อฝึกก�ำหนดจิต พ.ศ. 2541 ได้มีก�ำนันลูกศิษย์ของหลวงพ่อมหาโพธิ์ (ลูกศิษย์ หลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า) วัดคลองมอญ จังหวัดชัยนาท มาบอกกับหลวงพ่อให้ไปเรียนวิชา แต่เมื่อหลวงพ่อไปถึงวัดคลองมอญ หลวงพ่อมหาโพธิ์บอกว่าไม่รู้เรื่อง เหตุการณ์เป็นเช่นนี้นับสิบๆ ครั้ง จนกระทัง่ ครัง้ สุดท้ายหลวงพ่อได้บอกกับหลวงพ่อมหาโพธิว์ า่ ต�ำราวิชา ต่าง ๆ ของหลวงปูศ่ ขุ หลวงพ่อเป็นผูร้ บั ถ่ายทอดไว้ ถ้าหลวงพ่อมหาโพธิ์ ไม่ ถ ่ า ยทอดให้ กั บผู ้ ใ ด วิ ช าต่ า ง ๆ ของหลวงปู่ศุขก็จะมอดไหม้ไป กับไฟทั้งหมด หลวงพ่อมหาโพธิ์จึงบอกว่า หลวงพ่อพูดดี ถ้าอย่างนั้น ลองเอาต�ำราใบข่อยของหลวงปู่ศุขไปบูชา 1 เดือน ถ้าไม่มีเหตุการณ์ อะไรเกิดขึ้นก็จะมีบุญวาสนาได้ศึกษาเล่าเรียน
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
. - 09/01/2563 15:23:23 PM
History of buddhism....
WAT NONG NOI
Legend of the inheritance of diamond armor yantra, “Luang Pu Suk” Phra Khru Sophitjariyanuwat, the abbot
Wat Nong Noi is located at 74 Ban Nong Noi, village no.9, Makham Thao sub-district, Wat Sing district, Chai Nat province. It was built in B.E.2437 and was named after an area where it is situated. It was granted Wisungkhamsima (Land granted from Royal family to build temple or other religious buildings) around B.E.2450 which scale of this land was 12.15 meters in width and 22.87 meters in length. History of the abbot Phra Khru Sophitjariyanuwat - The one who inherit art of diamond armor yantra of Luang Pu Suk, Wat Pak Klong Makhamthao, Chai Nat province. Formerly, he was Mr.Somchai Duangmala, was born on Monday, 8 November B.E.2510 at Ban Khao Phra Ngam, Mueang district, Lopburi province. He was ordained as Buddhist monk on 21 April B.E.2531 at Wat Thung Singto, Mueang district, Lopburi province. Mundane education – He graduated in mechanical engineering from Siam University, Bangkok. Religious education – He graduated Dhamma scholar advanced level. Rank of Buddhist monk – On 5 December B.E.2559, he was bestowed the rank of Phra Khru Sanyabat, abbot of secondary-level Wat Rat and granted monk’s title as Phra Khru Sophitjariyanuwat. (Wat Rat is the temple that was granted land from royal family but not registered as royal temple). He studied Buddhist magic from Luang Pu Mang of Wat Thep Kunchon. In B.E.2533, he studied meditation from Luang Pu Kong of Wat Khao Somphot in Lopburi province and Luang Phor Fak of Wat Khao Wong Phrachan in Lopburi, which he learned the dharma from Luang Phor Fak as well. Around B.E.2534, he studied about supernatural element (Mercury-creating) from Luang Pu Auan of Wat Phak Hai, Saraburi province. He has studied this subject until he accomplished and was able to created mercury in the form of powder. 117
.indd 117
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่
CHAINAT I SBL บันทึกประเทศไทย
117
. - 09/01/2563 15:23:33 PM
During his eighth and ninth, he went on pilgrimage to Udon Thani province and respectfully asked Luang Ta Maha Bua Yannasampanno to stay during the Buddhist Lent at Wat Pa Ban Tat, Udon Thani province. Then, he went back to Wat Thun Singto to stay at this temple. After that, Phra Phuttha Worayan (The Deputy Supreme Patriarch), Lopburi province monk dean and abbot of Wat Kawit, ordered him to take charge of Wat Nong Noi due to the former abbot has passed away. He then went to Wat Nong Noi on 2 April B.E.2539. Durig B.E.2541-2548, he studied Siamese rough bush leaf manuscript of Luang Pu Suk which is inherited from Luang Phor Maha Pho (Disciple of Luang Pu Suk of Wat Pak Klong Makhamthao) at Wat Klong Mon, Chai Nat province. After that, Luang Phor Maha Pho gave him the Siamese rough bush leaf manuscript of Luang Phor Boonyang and Luang Pu Suk to him in order to let him study and practice more by himself. However, his creation of sacred object such as talisman -writing, inscribing magic words on metal amulet, he always write it by himself manually without copying and printing. 118
.indd 118
Apart from that, he also kind enough to cure diseases for general people and performed the holy water-bathing ceremony in order to remove one’s bad fortune for everyone whom asking him for help which he will always kindly perform this ceremony for everyone. He has always been arranging guru worship ceremony every year on Thursday or first Saturday of the sixth month in order to recall many masters whom already passed away which are Luang Pu Suk, Luang Phor Boonyang, Luang Phor Maha Pho, Admiral Prince Abhakara Kiartivongse of Chumphon, and other masters. Joining in the path of virtue-building We are inviting everyone to kindly support Wat Nong Noi to build roof and multi-purpose hall at Wat Nong Noi which you can participate in merit-making with us by donating money, only THB 200 per one square meter. If you are interested to make merit, you can donate via account name: Phra Khru Sophitjariyanuwat (Luang Phor Somchai Kesaro), Krungthai Bank, account no. 983-8-57798-7, saving account, or contact us via phone: 086-119-6454.
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
. - 09/01/2563 15:23:45 PM
History of buddhism....
วัดกะทง ชมงานพุทธศิลป์ปูนปั้นฝีมือช่างมอญ-อยุธยา พระครูสมุห์สุวรรณ ปฏิภาโณ ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาสวัดกะทง
วัดกะทง ตั้งอยู่เลขที่ 25 หมู่ที่ 3 บ้านกะทง ต�ำบลหนองบัว อ�ำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท ประวัติความเป็นมา วัดกะทงสร้างในสมัยอยุธยาตอนปลาย โดยมีหลักฐานส�ำคัญ ได้แก่ พระเจดียท์ รงเครือ่ งย่อมุม 28 และพระประธาน พระวิหาร พร้อมโบสถ์ ฝี มื อ ช่ า งมอญ-อยุ ธ ยา ศิ ล ปะงานปั ้ น ด้ ว ยมื อ มี ลั ก ษณะพิ เ ศษ คื อ โบสถ์ วิหาร หันหน้ามาทางทิศตะวันตกเป็นโบสถ์มหาอุตม์ ชุมชนโบราณ ณ แห่งนี้เป็นชาวมอญที่อพยพมาตั้งถิ่นฐาน โดยเจ้าพญามอญและ ราชวงศ์ พร้อมบ่าวไพร่ โดยมีพระธาตุประจ�ำตระกูลมาด้วย มอญกลุม่ นี้ มาจากเมืองตะโทงหรือสะเทิม (Thaton) ปัจจุบันเรียกหมู่บ้านนี้ว่า บ้านกะทง เหตุการณ์สำ� คัญในประวัตศิ าสตร์ ได้แก่ สมัยกรุงแตกใน พ.ศ. 2310 สมัยพระเจ้ามังระ(แม่ทัพแมงกิม้าระหญ่า) ทัพอังวะได้มาตั้งค่าย บัญชาการทัพใน พ.ศ. 2308 จากด่านเจดีย์สามองค์ กาญจนบุรี 3,000 นาย รอทัพจากทางเหนือมาน�ำโดยเนเมียวมหาเสนาบดี พ.ศ. 2309 ไพร่พล 20,000 นาย มาตั้งบัญชาการ ณ ที่นี้ วัดกะทงจึงรอดจากการ ถูกเผาท�ำลาย แต่วัดอื่นโดนเผาท�ำลายจากสงคราม เช่น วัดท่านจั่น วัดดอนปอ วัดมเหยงคณ์ อ้างอิงถึงสถานที่ อาทิ ทุ่งค่าย ทุ่งกระดึงแตก CHAINAT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 119
119
. - 09/01/2563 16:04:13 PM
History of buddhism....
วัดศรีชัยวัฒนาราม นมัสการหลวงพ่อองค์ดำ�ศักดิ์สิทธิ์ พระมหาวสันต์ ปีติวาสโน ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาส
วัดศรีชัยวัฒนาราม ตั้งอยู่หมู่บ้านหนองขุ่น เลขที่ 11 หมู่ 1 ต�ำบลหนองขุน่ อ�ำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีพื้นที่ 9 ไร่ 3 งาน 10 ตารางวา ได้รับอนุญาตตั้งวัดเมื่อวันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2513 ประวัติความเป็นมา วัดศรีชัยวัฒนาราม หรือวัดหนองขุ่น เป็นวัดมาแต่ครั้งโบราณ ภายหลัง พ.ศ. 2300 เศษ ที่มีสงครามพม่าโจมตี จึงกลายเป็นวัดร้าง และทรุดโทรมลงตามกาลเวลา จนกระทัง่ เหลือแต่กองอิฐ เป็นดอนร้าง ว่างเปล่า ต่อมาราว พ.ศ. 2480 ขุนวาปินปรีชา (เล็ก เอีย่ มลออ) ซึง่ เป็น ก�ำนันต�ำบลหนองขุ่น ได้มองเห็นถึงความล�ำบากของชาวบ้านที่ต้อง เดินทางข้ามน�้ำไปท�ำบุญที่วัดท่านจั่น ซึ่งในฤดูฝน ต้องน�ำผ้าไปผลัด เปลี่ยนเมื่อข้ามน�้ำ ท่านจึงได้ริเริ่มสร้างวัดขึ้นใหม่ที่ดอนร้างซึ่งปรากฏ แต่ซากอิฐโบราณเพียงเล็กน้อยเท่านั้น ขุนวาปินปรีชาผู้นี้เป็นผู้มีอาคมขลังและเก่งในการรักษาโรคภัย ไข้เจ็บต่าง ๆ ซึง่ ในสมัยนัน้ มีแต่หมอชาวบ้านแพทย์แผนปัจจุบนั หายาก 120
แม้ในประวัติของหลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า ซึ่งเป็นที่เคารพ นับถือของชาวไทยในภาคกลาง ก็ปรากฏชื่อของท่านขุนผู้นี้ เป็นผู้ ประกอบรถส�ำหรับเข็นศพของหลวงปู่ศุขอีกด้วย เพราะความเป็นผู้มี อาคมขลังและเก่งในการรักษา จึงเป็นผู้น�ำของชาวบ้านในทุกเรื่อง แม้กระทั่งการสร้างวัดนี้ ต่อมาเถ้าแก่โรงไม้ในตลาดวัดสิงห์ ชือ่ พานิช (ซัว) นามสกุล ศรีชยั ช้างของเถ้าแก่ถกู สุนุ ขั บ้ากัด จึงให้ทา่ นขุนไปรักษา เมือ่ รักษาหายแล้ว เถ้าแก่ผู้นี้ได้ให้สินจ้างรางวัลเป็นค่าจ้างในการรักษา แต่ท่านขุนไม่รับ แต่กลับชักชวนเถ้าแก่ให้มาช่วยสร้างวัด ฉะนัน้ วัดนีจ้ งึ ได้รบั การอุปถัมภ์ จากเถ้าแก่ซัว โดยให้ไม้จากโรงเลื่อยของตัวเองเพื่อมาสร้างวัดเป็น จ�ำนวนมาก จนกระทั่ง พ.ศ. 2513 ลูกชายของเถ้าแก่ซัว ชื่อนาย ศักดิ์สิทธิ์ ศรีชัย ได้เป็นผู้ติดต่อขออนุญาต เพื่อให้เป็นวัดมีทะเบียน ถูกต้องทางการปกครอง ในการตั้งชื่อวัดจึงได้ปรากฏค�ำว่า “ศรีชัย” ซึ่งเป็นนามสกุลของเถ้าแก่ซัว เพื่อเป็นการยกย่องผู้ให้การอุปถัมภ์
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
.indd 120
. - 09/01/2563 16:05:14 PM
อาคารเสนาสนะ หอสวดมนต์ 1 หลัง มีศาลาการเปรียญ 1 หลัง มณฑปประดิษฐาน พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ นามว่าหลวงพ่อองค์ด�ำ ฌาปนสถาน 1 หลัง ศาลาข้างฌาปนสถาน 1 หลัง หอระฆัง 1 หลัง กุฏสิ งฆ์ตดิ กับหอสวดมนต์ ทางทิศใต้ 1 แถว จ�ำนวน 4 ห้อง กุฏิสงฆ์ทศิ ตะวันออก 1 แถว จ�ำนวน 6 ห้อง ห้องสุขาท้ายกุฏบิ นหอประชุมสงฆ์ 4 ห้อง ห้องสุขาทิศตะวันตก เฉียงเหนือ 10 ห้อง ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ 3 ห้อง ทางทิศใต้ของวัด 4 ห้อง ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ 2 ห้อง กุฏิเดี่ยว 9 หลัง กุฏิแม่ชี 4 หลัง โรงครัว 1 หลัง สิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายในวัด หลวงพ่อองค์ดำ � เป็นพระพุทธรูปปูนปัน้ ปางมารวิชยั ขนาดหน้าตัก 50 เซนติเมตร สูง 80 เซนติเมตร เกษรูปทรงหอกใบข้าว ฐานเดิมไม่มี กลีบบัว ต่อมาได้ให้ช่างปั้นกลีบบัวเสริมขึ้นภายหลัง ความเป็นมาของ พระพุทธรูปองค์นี้เมื่อสร้างวัดขึ้นมาแล้วไม่มีพระพุทธรูปประจ�ำวัด สมภารวัดคือพระอธิการศรี สิริสุทฺโธ พร้อมกับชาวบ้านได้ไปขอ พระพุทธรูปองค์นมี้ าจากวัดปากคลองมะขามเฒ่า ซึง่ พระพุทธรูปองค์ นี้เคยอยู่บนหอประชุมเก่าของวัดปากคลองมะขามเฒ่า เหตุที่เรียกชื่อว่า หลวงพ่อองค์ดำ� นั้น เพราะองค์พระนั้นได้ลงรัก
สีด�ำไว้อย่างเดียว มิได้ท�ำการปิดทอง เมื่อได้อัญเชิญหลวงพ่อองค์ด�ำ มาประจ�ำยังวัดศรีชยั วัฒนาราม หรือวัดหนองขุน่ แห่งนีแ้ ล้ว เมือ่ ชาวบ้าน เกิดทุกข์ยากเรื่องใด ก็มักจะมาขอให้หลวงพ่อช่วยขจัดปัดเป่าทุกข์ให้ และมักจะส�ำเร็จทุกคน จึงเป็นทีเ่ คารพนับถือของชาวบ้านเป็นอย่างมาก ประวัติเจ้าอาวาส พระมหาวสันต์ ปีตวิ าสโน อายุ 42 ปี พรรษา 22 น.ธ.เอก ป.ธ.6 บรรพชาวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2533 อุปสมบทวันที่ 6 มิถนุ ายน พ.ศ. 2541 ณ พัทธสีมาวัดบ่อแร่ ต�ำบลบ่อแร่ อ�ำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท พระอุ ปั ช ฌาย์ พระธรรมราชานุ วัต ร (อดีตเจ้า คณะภาค 3) วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม พระกรรมวาจาจารย์ พระครูประภากรวิชยั วัดโพธิง์ าม (ปัจจุบนั คือ พระราชสุทธิโสภณ เจ้าอาวาสวัดปากคลองมะขามเฒ่า ทีป่ รึกษาเจ้าคณะจังหวัดชัยนาท) พระอนุสาวนาจารย์ พระครูชยั กิจสุนทร วัดบ่อแร่ การปกครอง พ.ศ. 2543 เป็นเลขานุการรองเจ้าคณะอ�ำเภอวัดสิงห์ พ.ศ. 2546 เป็นเจ้าอาวาสวัดศรีชัยวัฒนาราม พ.ศ. 2551 เป็นเลขานุการเจ้าคณะอ�ำเภอวัดสิงห์ (ลาออกเมื่อ พ.ศ. 2556) CHAINAT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 121
121
. - 09/01/2563 16:05:23 PM
History of buddhism....
วัดปทุมธาราม นมั ส การพระมหาเจดี ย ์ ศ รี ช ั ย นาท พระครูปทุมชัยกิจ ดำ�รงตำ�แหน่ง ที่ปรึกษาเจ้าคณะตำ�บลบ่อแร่-หนองขุ่น เขต 2 และเจ้าอาวาส
วั ด ปทุ ม ธาราม (หนองบั ว ) ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 166 หมู ่ ที่ 2 ต�ำบลหนองบัว อ�ำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย มีทดี่ นิ ตัง้ วัดเนือ้ ที่ 38 ไร่ 10 ตารางวา มีที่ธรณีสงฆ์ จ�ำนวน 4 แปลง เนื้อที่รวม 44 ไร่ 32 ตารางวา
122
ประวัติความเป็นมา วัดปทุมธารามสร้างขึ้นเป็นวัดนับตั้งแต่ประมาณ พ.ศ. 2365 ชาวบ้านเรียกสัน้ ๆ ว่าวัดหนองบัว ตามชือ่ บ้าน เนือ่ งจากหมูบ่ า้ นนี้ มีหนองน�ำ้ และมีบวั หลวงขึน้ มากมาย ต่อมาได้เปลีย่ นนามวัดใหม่ เป็น “วัดปทุมธาราม” จนถึงปัจจุบัน การสร้างวัดแรกเริ่มนั้น สมเด็จเจ้าเถือ่ น สมเด็จเจ้าพรกับขรัวยายไข่ ได้บริจาคที่ดินเป็น ที่ก่อสร้างวัดได้ก่อสร้างกุฏิขึ้น 3 หลัง ศาลาดิน 1 หลัง วัดปทุมธาราม ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2521 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 10 เมตร ยาว 25 เมตร มีพระภิกษุสามเณรจ�ำพรรษาทุกปี เพราะทาง วัดได้จดั ตัง้ ส�ำนักศาสนศึกษามีการเรียนการสอนแผนกธรรม ตั้งแต่ พ.ศ. 2443 จนถึงปัจจุบัน
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
.indd 122
. - 09/01/2563 16:12:21 PM
สิ่งที่น่าสนใจภายในวัด วิหารที่ประดิษฐานพระพุทธรูป รูปหล่อหลวงปู่ศุข กรมหลวงชุมพรฯ และหลวงพ่อจาด อดีตเจ้าอาวาส ด้านหน้าวิหารมีพระพุทธรูปปาง ประทานพรสีทององค์ใหญ่ พระมหาเจดียศ์ รีชยั นาท เป็นเจดียท์ ใี่ หญ่ทสี่ ดุ ของจังหวัดชัยนาท สร้างเพือ่ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (รัชกาลที่ 9) ทรงครองราชย์สมบัติครบ 50 ปี เพื่ออัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ และพระธาตุของพระอรหันต์ สาวกไปประดิษฐานอยู่ ณ บุษบกยอดพระเจดีย์ นอกจากนั้นยังมีพระร่วงเลิศฤทธิ์ และพระพุทธวงศ์ 28 พระองค์ ประดิษฐานอยู่ในองค์เจดีย์ บานประตูหน้าต่างแกะสลักเป็นรูปสัตว์หิมพานต์สีทอง ทางขึ้น 4 ทิศ เป็นบันไดนาค ศิลปะสวยงามมาก ใครที่มีโอกาสมาเยือนชัยนาท แล้วไม่ได้มากราบองค์พระเจดีย์ เหมือนมาไม่ถึงชัยนาท
ประวัติเจ้าอาวาส พระครูปทุมชัยกิจ (โฉม ฐิตปญฺโญ) (นามเดิม โฉม นาคพินิชย์) ที่ ป รึ ก ษาเจ้ า คณะต�ำบลบ่อแร่-หนองขุ่น เขต 2 และเจ้ า อาวาส วัดปทุมธาราม รูปปัจจุบัน ท่านเกิดวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2459 ณ ต�ำบลดงขวาง อ�ำเภอ หนองขาหย่าง จังหวัดอุทัยธานี บิดาชื่อนายแจก เหล่ายัง มารดาชื่อ นางตี่ เหล่ายัง ท่านบรรพชา-อุปสมบท วันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2480 ณ วัดราษฎร์นิธิยาวาส ต�ำบลบ่อแร่ อ�ำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท พระอุปชั ฌาย์ พระครูวจิ ติ รชัยการ ต�ำบลบ่อแร่ อ�ำเภอวัดสิงห์ จังหวัด ชัยนาท พระกรรมวาจาจารย์ พระอาจารย์ช้ัน วัดราษฎร์นิธิยาวาส ต�ำบลบ่อแร่ อ�ำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท พระอนุสาวนาจารย์ พระส�ำเนียง ต�ำบลบ่อแร่ อ�ำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท
ต�ำแหน่งหน้าที่ในปัจจุบัน 1. ที่ปรึกษาเจ้าคณะต�ำบลบ่อแร่-หนองขุ่น เขต 2 2. เจ้าอาวาสวัดปทุมธาราม 3. เป็นผู้อุปถัมภ์โรงเรียนวัดหนองบัว 4. เป็นเจ้าส�ำนักศาสนศึกษาวัดปทุมธาราม ต�ำบลหนองบัว 5. เป็นประธานหน่วยอบรมประชาชนประจ�ำต�ำบล วิทยฐานะ พ.ศ. 2473 ส�ำเร็จชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดหนองมะกอก ต�ำบลดงขวาง อ�ำเภอหนองขาหย่าง จังหวัดอุทัยธานี พ.ศ. 2481 สอบไล่ได้ น.ธ. ตรี ส�ำนักศาสนศึกษา วัดราษฎร์นธิ ยิ าวาส ต�ำบลบ่อแร่ อ�ำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท พ.ศ. 2483 สอบไล่ได้ น.ธ. โท ส�ำนักศาสนศึกษา วัดหนองแฟบ ต�ำบลดงขวาง อ�ำเภอหนองขาหย่าง จังหวัดอุทัยธานี พ.ศ. 2487 สอบไล่ได้ น.ธ. เอก ส�ำนักศาสนศึกษา วัดหนองแฟบ ต�ำบลดงขวาง อ�ำเภอหนองขาหย่าง จังหวัดอุทัยธานี
CHAINAT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 123
123
. - 09/01/2563 16:12:27 PM
History of buddhism....
วัดพิชยั นาวาส (วัดบ้านเชีย่ น) กราบหลวงพ่อโตคู่บ้าน อลังการองค์เจ้าแม่กวนอิม พระครูประสิทธิธรรมาทร ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาส
124
วัดพิชัยนาวาส (วัดบ้านเชี่ยน) เลขที่ 143 หมู่ 10 บ้านเชี่ยน ต�ำบลบ้านเชี่ยน อ�ำเภอหันคา จังหวัดชัยนาท เป็นวัดพัฒนาดีเด่น ปี 2530 ภายในพระอุโบสถซึ่งสร้างไว้กลางสระน�้ำ มีพระประธาน คือ หลวงพ่อโต พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองชัยนาท และที่เป็น สั ญ ลั ก ษณ์ ข องวั ด คื อ เจ้ า แม่ ก วนอิ ม เป็ น รู ป ปู น ปั ้ น ขนาดใหญ่ ที่ ส ร้ า งด้ ว ยความวิ จิ ต รงดงาม
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
.indd 124
. - 09/01/2563 16:13:48 PM
ประวัตคิ วามเป็นมา วัดพิชยั นาวาส (วัดบ้านเชีย่ น) เป็นวัดโบราณ สันนิษฐานว่าสร้างใน สมัยอยุธยาตอนกลาง มีอายุไม่ต�่ำกว่า 300 ปี ได้รับพระราชทาน วิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2502 เขตวิสงุ คามสีมากว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร ปัจจุบนั ทางวัดได้มกี ารจัดงานนมัสการปิดทอง สมโภชเป็นประจ�ำทุกปี ระหว่างวันเพ็ญเดือน 3 และวันเพ็ญเดือน 12 การบริหารและการปกครอง เจ้าอาวาสรูปปัจจุบนั คือ พระครูประสิทธิธรรมาทร กราบขอพร “หลวงพ่อโต” หลวงพ่อโต เป็นพระพุทธรูปศักดิส์ ทิ ธิค์ บู่ า้ นคูเ่ มืองชัยนาท มีลกั ษณะ เป็นพระพุทธรูปประทับนัง่ ห้อยพระบาททัง้ สองข้าง บนฐานชุกชีทกี่ อ่ ด้วย อิฐถือปูน ส่วนองค์ปั้นด้วยปูนสอ สูง 4 เมตร 54 เซนติเมตร ชาวบ้าน จังหวัดชัยนาทเชือ่ กันว่า หลวงพ่อโตเป็นพระพุทธรูปศักดิส์ ทิ ธิ์ ท่านสามารถ จะบันดาลอะไรให้ได้ทกุ สิง่ ทุกอย่าง หลวงพ่อโตจึงเป็นทีพ่ งึ่ ของคนทัง้ หลาย การเดินทาง วั ด พิ ชัยนาวาส (วัด บ้านเชี่ยน) อยู่ห่างจากตั ว เมื อ งชั ย นาท 38 กิ โ ลเมตร ไปตามทางหลวงหมายเลข 3211 กิ โ ลเมตรที่ 2-3 ตั้งอยู่เลขที่ 143 หมู่ 10 บ้านเชี่ยน ต�ำบลบ้านเชี่ยน อ�ำเภอหันคา จังหวัดชัยนาท โทรศัพท์ 056-422-639
CHAINAT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 125
125
. - 09/01/2563 16:14:04 PM
อุโบสถ สมัย ร.5
History of buddhism....
วัดบ้านใหม่สิริวัฒนาราม สำ�นักเรียนปริยัติธรรม ประจำ�จังหวัดชัยนาท พระราชสิริชัยมุนี ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาส และอดีตเจ้าคณะจังหวัดชัยนาท
กุฏิไม้สักทอง 126
วัดบ้านใหม่สริ วิ ฒ ั นาราม สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 61 บ้านใหม่ หมู่ที่ 9 ต�ำบลบ้านเชี่ยน อ�ำเภอหันคา จังหวัดชัยนาท เดิมเรียกว่า “วัดบ้านพราน” ทีด่ นิ ทีต่ งั้ วัดเนือ้ ที่ 22 ไร่ 1 งาน 79 ตารางวา ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ. 2482
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
.indd 126
. - 09/01/2563 16:20:31 PM
หลวงพ่อส�ำเร็จทุกอย่าง แกะด้วยไม้ตะเคียนทอง
อาคารเสนาสนะ ศาลาการเปรียญกาญจนาภิเษก กุฏิ จ�ำนวน 10 หลัง หอสวดมนต์ 1 หลัง ศาลาธรรมสังเวช 1 หลัง เมรุเผาศพ 1 หลัง การศึกษา ทางวัดได้จัดให้มีการเรียนปริยัติธรรมแผนกธรรม มาตั้งแต่ พ.ศ. 2512 และได้รับแต่งตั้งให้เป็นส�ำนักเรียนประจ�ำจังหวัดชัยนาท เมื่อ พ.ศ. 2539 และเมื่อปี พ.ศ. 2535 ได้จัดให้มีการเรียนปริยัติธรรม แผนกบาลีโดยใช้ศาลาการเปรียญชัน้ ล่างเป็นทีเ่ รียน มีนกั เรียน 25 รูป ปีการศึกษา 2544 เป็นนโยบายของคณะสงฆ์ ให้นักเรียนแผนกบาลี ในอ�ำเภอทุกส�ำนักเรียน เรียนรวมกันทีว่ ดั บ้านใหม่สริ วิ ฒ ั นาราม จึงเป็น ส�ำนักเรียนปริยัติธรรมแผนกบาลี ประจ�ำจังหวัดชัยนาท พ.ศ. 2530 เป็นต้นมา วัดบ้านใหม่สิริวัฒนาราม เป็นสนามสอบ นักธรรมประจ�ำอ�ำเภอหันคาและเป็นสนามสอบนักธรรมชัน้ เอกประจ�ำ จังหวัดชัยนาท ตามนโยบายของคณะสงฆ์ ได้จัดอบรมนักธรรมชั้นโท และชั้นเอกก่อนสอบที่วัดบ้านใหม่สิริวัฒนาราม ตามนโยบายของ คณะสงฆ์ ที่ให้มีการอบรมนักธรรมก่อนสอบ เพื่อให้เกิดผลในด้าน ความเข้าใจต่อการตอบปัญหาของนักเรียน (ส�ำนักนีเ้ คยสอบ ป.ธ.9 ได้)
โบราณวัตถุ-โบราณสถานภายในวัด อุโบสถ 100 ปี เสาไม้ฐานส�ำเภา เป็นอาคารก่ออิฐถือปูน กว้างจากฐาน 10 เมตร ยาว 15 เมตร เขตสีมากว้าง 15 เมตร ยาว 30 เมตร แบ่งออกเป็น 5 ห้อง มีพะไลด้านหน้าและด้านหลัง หลังคาเป็นซ้อนจากรูปลักษณะ ทั่วไป เช่ น ฐานทั้ ง ด้ า นหน้ า และด้ า นหลั ง ที่รองรับพระไล ท่านผู้รู้ หลายท่านได้สันนิษฐานว่า มุขหน้าของเดิมน่าจะเป็นมุขเด็จ ปูชนียวัตถุทสี่ ำ� คัญ คือ หลวงพ่อโต พระพุทธรูปศักดิส์ ทิ ธิป์ ระจ�ำวัด เป็นพระพุทธรูปปางป่าเลไลย์ ซึง่ มีมาแต่โบราณ ได้รบั การบูรณะเมือ่ ปี พ.ศ. 2471 ขนาดพระเพลา 2.20 เมตร จากพระเพลาถึงพระเกตุมาลา 2.30 เมตร ประดิษฐานอยู่ในอุโบสถหันพระพักตร์สู่ทิศตะวันออก ทีเ่ รียกว่า หลวงพ่อโต นัน้ เป็น เนมิตกนาม คือ พระนามทีเ่ กิดขึน้ ตามเหตุ ที่ประชาชนเรียกกันมาแต่โบราณ เครือ่ งลายครามขนาดต่างๆ ตลอดจนเครือ่ งปัน้ ดินเผาเป็นจ�ำนวนมาก ได้จากประชาชนในเขตอ�ำเภอหันคาและวัดต่าง ๆ ภายในชัยนาทและ จังหวัดใกล้เคียงน�ำมาถวาย
ศาลาไม้ตะเคียนทองใหญ่ที่สุด
ศาลาปฏิบัติธรรม CHAINAT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 127
127
. - 09/01/2563 16:20:45 PM
ท่องเที่ยวทางใจ 277 วัด "หลวงปู่ศุขลือชา เขื่อนเจ้าพระยาลือชื่อ นามระบือสวนนก ส้มโอดกขาวแตงกวา"
277 วั ด
CHAI NAT
จังหวัดชัยนาท
หลวงปู่ศุขลือชา เขื่อนเจ้าพระยาลือชื่อ นามระบือสวนนก ส้มโอดกขาวแตงกวา
128
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
.indd 128
18/12/2562 17:25:32
THE IMPORTANT TEMPLES CHAI NAT
อ�ำเภอเมืองชัยนาท วัดเขาท่าพระ
ม.3 ต�ำบลเขาท่าพระ
วัดเขื่อนพลเทพ ม.4 ต�ำบลหาดท่าเสา
วัดคงสวัสดิ์วัฒนาราม ม.2 ต�ำบลหาดท่าเสา
วัดงิ้ว ม.1 ต�ำบลท่าชัย
วัดดอนฝาย บ้านเที่ยงธรรม ม.9 ต�ำบลชัยนาท
วัดดอนรังนก ม.3 ต�ำบลเสือโฮก
วัดดักคะนน
วัดโรงวัว ม.8 ต�ำบลเสือโฮก วัดลัดเสนาบดี ม.1 ต�ำบลเขาท่าพระ
วัดวังเคียน ม.4 ต�ำบลนางลือ
วัดศรีวิชัยวัฒนาราม ต�ำบลในเมือง
วัดสร้อยสังข์สถิต ม.6 ต�ำบลธรรมามูล
วัดสระเนินพระราม ม.6 ต�ำบลธรรมามูล วัดส่องคบ ม.6 ต�ำบลชัยนาท
วัดสะพาน
ม.3 ต�ำบลธรรมามูล
ม.3 ต�ำบลท่าชัย
วัดท่าชัย
วัดสุขารมย์
ม.3 ต�ำบลท่าชัย
ม.1 ต�ำบลหาดท่าเสา
วัดท่าช้าง
วัดหนองจอกธรรมาราม
ม.4 ต�ำบลเขาท่าพระ
หนองจอก ม.6 ต�ำบลนางลือ
วัดธรรมามูล วรวิหาร
วัดหนองตาด�ำ
ม.1 ต�ำบลธรรมามูล
ม.6 ต�ำบลท่าชัย
วัดนางลือ
วัดหนองเต่าด�ำ
ม.2 ต�ำบลนางลือ
บ้านหนองเต่า ม.1 ต�ำบลเสือโฮก
วัดเนินถ่าน
วัดหนองพังนาค
ม.6 ต�ำบลเสือโฮก
ม.7 ต�ำบลเสือโฮก
วัดบ้านกล�ำ
วัดหลวงพ่อขาว
บ้านกล�ำ ม.5 ต�ำบลธรรมามูล
บ้านปากคลองแพรก ม.3 ต�ำบลชัยนาท
วัดปฐมเทศนาอรัญวาสี ม.4 ต�ำบลเขาท่าพระ
วัดป่าเจ้าพระยา
วัดห่อทองค�ำ ม.6 ต�ำบลบ้านกล้วย
บ้านแหลมยาง-วัดป่า ม.2 ต�ำบลบ้านกล้วย
วัดหัวยาง
วัดฝาง
วัดหาดกองสิน
ม.4 ต�ำบลชัยนาท
ม.5 ต�ำบลเขาท่าพระ
วัดพรวน
วัดแหลมหว้า
ม.3 ต�ำบลบ้านกล้วย
ม.9 ต�ำบลเสือโฮก
วัดพระบรมธาตุวรวิหาร
วัดใหม่วงเดือน
ม.6 ต�ำบลชัยนาท
ม.5 ต�ำบลหาดท่าเสา
วัดพระยาตาก
วัดใหม่ศรัทธาราษฎร์
ม.4 ต�ำบลบ้านกล้วย
ม.2 ต�ำบลนางลือ
วัดโพธิ์ภาวนาราม
วัดอรุณศิริวัฒนาราม
ม.5 ต�ำบลบ้านกล้วย
บ้านวังยาง ม.5 ต�ำบลชัยนาท
วัดราษฎร์รังสรรค์
วัดอัมพวนาราม
ม.5 ต�ำบลเสือโฮก
บ้านหลังดอน ม.7 ต�ำบลท่าชัย
ม.5 ต�ำบลท่าชัย
CHAI NAT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 129
129
18/12/2562 17:25:33
ท่องเที่ยวทางใจ 277 วัด "หลวงปู่ศุขลือชา เขื่อนเจ้าพระยาลือชื่อ นามระบือสวนนก ส้มโอดกขาวแตงกวา"
อ�ำเภอเนินขาม วัดกะบกเตี้ย
วัดศรีเจริญธรรม
บ้านกะบกเตี้ย ม.5 ต�ำบลกะบกเตี้ย
บ้านหนองกระดาน ม.6 ต�ำบลกะบกเตี้ย
วัดเขาถ�้ำเทพพนม
วัดสุขเดือนห้า
บ้านเขาถ�้ำ ม.4 ต�ำบลกะบกเตี้ย
ม.6 ต�ำบลสุขเดือนห้า
วัดเขาโพธิ์งาม
วัดสุวรรณจันทราราม
บ้านเขาโพธิ์งาม ม.4 ต�ำบลกะบกเตี้ย
บ้านเก่า (นาจันทอง) ม.7 ต�ำบลกะบกเตี้ย
วัดเขาราวเทียนทอง
วัดโสกลึกสามัคคีธรรม
ม.10 ต�ำบลเนินขาม
บ้านโสกลึก ม.3 ต�ำบลกะบกเตี้ย
วัดทุ่งโพธิ์
วัดหนองเด่น
ม.1 ต�ำบลสุขเดือนห้า วัดเนินขาม ม.1 ต�ำบลเนินขาม
ม.4 ต�ำบลสุขเดือนห้า
วัดป่าสุปฏิปันโน
130
วัดหนองยาง ม.2 ต�ำบลสุขเดือนห้า
บ้านลานดู่ ม.19 ต�ำบลเนินขาม
วัดหนองลาด
วัดวังคอไห(วังหอไห)
วัดห้วยสอง
ม.3 ต�ำบลสุขเดือนห้า
บ้านห้วยสอง ม.9 ต�ำบลสุขเดือนห้า
บ้านหนองลาด ม.8 ต�ำบลกะบกเตี้ย
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
.indd 130
18/12/2562 17:25:34
THE IMPORTANT TEMPLES CHAI NAT
CHAI NAT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 131
131
18/12/2562 17:25:36
ท่องเที่ยวทางใจ 277 วัด "หลวงปู่ศุขลือชา เขื่อนเจ้าพระยาลือชื่อ นามระบือสวนนก ส้มโอดกขาวแตงกวา"
132
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
.indd 132
18/12/2562 17:25:37
THE IMPORTANT TEMPLES CHAI NAT
อ�ำเภอมโนรมย์ วัดคลองกลาง
วัดศรีเจริญ
ม.4 ต�ำบลวัดโคก
ม.2 ต�ำบลศิลาดาน
วัดโคกแจง
วัดศรีมณีวรรณ
ม.1 ต�ำบลวัดโคก
ม.2 ต�ำบลคุ้งส�ำเภา
วัดจวน
วัดศรีสิทธิการาม
ม.2 ต�ำบลท่าฉนวน
ม.3 ต�ำบลคุ้งส�ำเภา
วัดดอนแตง
วัดศรีอินทราราม
ม.3 ต�ำบลหางน�้ำสาคร วัดดอนสนวน 4 ม.6 ต�ำบลท่าฉนวน
บ้านสระตาอิน ม.4 ต�ำบลไร่พัฒนา
วัดท่าอู่ ม.4 ต�ำบลอู่ตะเภา
บ้านท่าฉนวน ม.3 ต�ำบลท่าฉนวน
วัดธรรมขันธ์
วัดหนองกระทุ่ม
ม.2 ต�ำบลศิลาดาน
ม.1 ต�ำบลอู่ตะเภา
วัดบุญประชาวิทยาราม
วัดหนองตาตน
ม.4 ต�ำบลท่าฉนวน
ม.3 ต�ำบลอู่ตะเภา
วัดป่าสัก
วัดหนองม่วง
บ้านดอนแตง ม.3 ต�ำบลหางน�้ำสาคร
ม.2 ต�ำบลวัดโคก
วัดพัฒนาราม
ม.7 ต�ำบลหางน�้ำสาคร
ม.3 ต�ำบลไร่พัฒนา
วัดพิกุลงาม ม.1 ต�ำบลคุ้งส�ำเภา
วัดโพธิ์นิมิต บ้านสะพานหิน ม.9 ต�ำบลท่าฉนวน
วัดโพธิพิทักษ์ ม.1 ต�ำบลไร่พัฒนา
วัดโพธิ์ศรีศรัทธาธรรม ม.3 ต�ำบลคุ้งส�ำเภา
วัดโรงช้าง ม.3 ต�ำบลท่าฉนวน
วัดส�ำเภาแก้ว
วัดหัวถนน วัดหัวยาง ม.5 ต�ำบลท่าฉนวน
วัดหัวหว้า ม.4 ต�ำบลไร่พัฒนา
วัดหางแขยง บ้านหางแขยง ม.2 ต�ำบลหางน�้ำสาคร
วัดหางน�้ำสาคร ม.4 ต�ำบลหางน�้ำสาคร
วัดใหญ่ ม.1 ต�ำบลท่าฉนวน
วัดอู่ตะเภา ม.5 ต�ำบลอู่ตะเภา
CHAI NAT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 133
133
18/12/2562 17:25:38
ท่องเที่ยวทางใจ 277 วัด "หลวงปู่ศุขลือชา เขื่อนเจ้าพระยาลือชื่อ นามระบือสวนนก ส้มโอดกขาวแตงกวา"
อ�ำเภอวัดสิงห์ วัดกะทง
วัดราษฎร์สามัคคี
ม.3 ต�ำบลหนองบัว
ม.5 ต�ำบลวังหมัน
วัดโคกสุก
วัดวังหมัน
ม.3 ต�ำบลหนองน้อย
ม.4 ต�ำบลวังหมัน
วัดดงไร
วัดศรัทธาราษฎร์
ม.4 ต�ำบลบ่อแร่
ม.6 ต�ำบลมะขามเฒ่า
วัดดอนเจดีย์
วัดศรีชยั วัฒนาราม
หนองพญา ม.7 ต�ำบลมะขามเฒ่า
ม.1 ต�ำบลหนองขุ่น
วัดดอนตาล ม.4 ต�ำบลหนองน้อย
บ้านสระใหญ่ ม.8 ต�ำบลวังหมัน
วัดดอนตูมกมลาวาส
วัดสามัคคีธรรม
ม.5 ต�ำบลหนองบัว
บ้านหนองอีเช็ง ม.1 ต�ำบลวังหมัน
วัดทรงเสวย
วัดสิงห์สถิต
ม.1 ต�ำบลหนองน้อย
ต�ำบลวัดสิงห์
วัดท่านจัน่
วัดสุวรรณโคตรมาราม
ม.3 ต�ำบลหนองขุ่น
ม.4 ต�ำบลมะขามเฒ่า
วัดบ่อแร่
วัดหนองกะเบียน
ม.1 ต�ำบลบ่อแร่
ม.2 ต�ำบลวังหมัน
วัดบ้านโคกสุก
วัดหนองแก
บ้านโคกสุก ม.3 ต�ำบลหนองน้อย
ม.5 ต�ำบลหนองขุ่น
วัดบ�ำรุงธรรม
วัดหนองจิก
ม.1 ต�ำบลหนองบัว
ม.6 ต�ำบลบ่อแร่
วัดปทุมธาราม
วัดหนองน้อย
ม.2 ต�ำบลหนองบัว
ม.9 ต�ำบลมะขามเฒ่า
วัดปากคลองมะขามเฒ่า
วัดหนองพญา
ม.1 ต�ำบลมะขามเฒ่า ม.1 ต�ำบลวัดสิงห์
ม.7 ต�ำบลมะขามเฒ่า วัดหนองสระ บ้านหนองสระ ม.6 ต�ำบลวังหมัน
วัดราษฎร์นธิ ยิ าวาส
วัดหนองโสน
ม.3 ต�ำบลบ่อแร่
ม.6 ต�ำบลวังหมัน
วัดพานิชวนาราม
134
วัดสระใหญ่
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
.indd 134
18/12/2562 17:25:40
THE IMPORTANT TEMPLES CHAI NAT
CHAI NAT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 135
135
18/12/2562 17:25:42
ท่องเที่ยวทางใจ 277 วัด "หลวงปู่ศุขลือชา เขื่อนเจ้าพระยาลือชื่อ นามระบือสวนนก ส้มโอดกขาวแตงกวา"
อ�ำเภอสรรคบุรี วัดกรุณา
วัดท่ากระแส
วัดศรีดาวเรือง
บ้านฝ่ายพรุ ม.1 ต�ำบลโพงาม
ม.9 ต�ำบลเที่ยงแท้ วัดท่าสมอ ม.1 ต�ำบลบางขุด วัดทุ่งกระถิน ม.6 ต�ำบลดงคอน
บ้านพระขาว ม.3 ต�ำบลโพงาม
วัดเทพรัตนวนาราม
วัดสนามชัย
บ้านหัวเด่น ม.10 ต�ำบลบางขุด
ม.4 ต�ำบลดงคอน
ม.7 ต�ำบลดอนก�ำ
วัดก�ำแพง
วัดธรรมิกาวาส
วัดสระไม้แดง
ม.15 ต�ำบลแพรกศรีราชา
ม.5 ต�ำบลโพงาม วัดนก ม.4 ต�ำบลเที่ยงแท้
ม.16 ต�ำบลแพรกศรีราชา
วัดกลาง ม.7 ต�ำบลห้วยกรด
วัดการเปรียญ
วัดเกาะ บ้านวัดเกาะ ม.1 ต�ำบลห้วยกรด
วัดขุนสรรค์สามัคคี บ้านเที่ยงแท้ ม.1 ต�ำบลแพรกศรีราชา
วัดคลองงิ้ว ม.2 ต�ำบลห้วยกรดพัฒนา
วัดโคกดอกไม้
วัดสังฆาราม
ม.2 ต�ำบลโพงาม วัดป่าลาน ม.4 ต�ำบลดงคอน
ม.2 ต�ำบลเที่ยงแท้
วัดพระแก้ว วัดพร้าว
ม.3 ต�ำบลห้วยกรด
ม.5 ต�ำบลโพงาม
วัดโฆสิตาราม
วัดโพธาราม
ม.9 ต�ำบลบางขุด
ม.5 ต�ำบลแพรกศรีราชา
วัดจั่นเจริญศรี
วัดโพธิ์งาม
ม.10 ต�ำบลโพงาม
ม.1 ต�ำบลดอนก�ำ
วัดจันทนาราม
วัดโพธิ์ทอง
ม.9 ต�ำบลห้วยกรด
บ้านบางขุด ม.5 ต�ำบลบางขุด
วัดช่องลม
วัดมณีรัตนาลัยวราราม
บ้านตลุกบัว ม.4 ต�ำบลห้วยกรดพัฒนา
บ้านดอนก�ำ ม.3 ต�ำบลดอนก�ำ
วัดชายทุ่ง
ม.8 ต�ำบลแพรกศรีราชา
วัดดอนประดู่ บ้านดอนประดู่ ม.5 ต�ำบลดงคอน
วัดดอนโพธิ์ศรี ม.3 ต�ำบลห้วยกรดพัฒนา วัดตึก ม.9 ต�ำบลโพงาม วัดทัพย่าน ม.7 ต�ำบลเที่ยงแท้ วัดท่า ม.12 ต�ำบลโพงาม
บ้านวัดท่า ม.12 ต�ำบลโพงาม
วัดโบสถ์ราษฎร์บ�ำรุง
ม.10 ต�ำบลแพรกศรีราชา
ม.7 ต�ำบลบางขุด
วัดสวนธรรมรักษา วัดสองพี่น้อง
วัดโคกโตนด
วัดดอนเนรมิต
ม.1 ต�ำบลบางขุด
ม.8 ต�ำบลห้วยกรด วัดโบสถ์ ม.8 ต�ำบลโพงาม
ม.3 ต�ำบลดงคอน
บ้านดอนก�ำม.13 ต�ำบลดงคอน
136
วัดบ�ำเพ็ญบุญ
วัดสกุณาราม
วัดมหาธาตุ วัดมะค่า(เจริญสุข) ม.1 ต�ำบลแพรกศรีราชา
วัดมะเหยงคณ์ ม.6 ต�ำบลเที่ยงแท้
วัดมาติการาม
ม.7 ต�ำบลแพรกศรีราชา
วัดสาระพี บ้านเที่ยงแท้ ม.1 ต�ำบลเที่ยงแท้
วัดหนองแขม ม.10 ต�ำบลดงคอน
วัดหนองบัว ม.10 ต�ำบลเที่ยงแท้
วัดหนองปลิง ม.4 ต�ำบลดงคอน
วัดหอระฆัง ม.12 ต�ำบลบางขุด
วัดหัวเด่น ม.10 ต�ำบลบางขุด
วัดหัวตะพาน ม.14 ต�ำบลแพรกศรีราชา
วัดเหนือ ม.8 ต�ำบลแพรกศรีราชา
วัดใหม่เจริญธรรม ม.11 ต�ำบลบางขุด
วัดอรัญญิก
ม.5 ต�ำบลห้วยกรดพัฒนา
บ้านอรัญญิก ม.7 ต�ำบลแพรกศรีราชา
วัดวิหารทอง
วัดอารีทวีวนาราม
ม.7 ต�ำบลเที่ยงแท้
ม.7 ต�ำบลดงคอน
วัดวิหารห้องเดียว ม.5 ต�ำบลดอนก�ำ
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
.indd 136
18/12/2562 17:25:43
THE IMPORTANT TEMPLES CHAI NAT
CHAI NAT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 137
137
18/12/2562 17:25:45
ท่องเที่ยวทางใจ 277 วัด "หลวงปู่ศุขลือชา เขื่อนเจ้าพระยาลือชื่อ นามระบือสวนนก ส้มโอดกขาวแตงกวา"
138
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
.indd 138
18/12/2562 17:25:45
THE IMPORTANT TEMPLES CHAI NAT
อ�ำเภอสรรพยา วัดกรุณา
วัดโพธิ์งาม
ม.5 ต�ำบลบางหลวง วัดก�ำแพง ม.1 ต�ำบลสรรพยา วัดเขาแก้ว ม.3 ต�ำบลเขาแก้ว
ม.3 ต�ำบลบางหลวง
วัดเขาสรรพยา
วัดมะปราง
ม.1 ต�ำบลสรรพยา
ม.5 ต�ำบลโพนางด�ำออก
วัดคงคาราม
วัดยางศรีเจริญ
ม.3 ต�ำบลโพนางด�ำตก
ม.4 ต�ำบลหาดอาสา
วัดคลองส�ำโรง
วัดราษฎร์บูรณะ
บ้านคลองยาง ม.6 ต�ำบลโพนางด�ำตก
ม.6 ต�ำบลสรรพยา
วัดโคกเข็ม
ม.6 ต�ำบลโพนางด�ำออก วัดศาลาขาว ม.4 ต�ำบลตลุก
ม.12 ต�ำบลตลุก
วัดโคกจันทน์ ม.5 ต�ำบลโพนางด�ำตก
วัดโคกโบสถ์ ม.7 ต�ำบลตลุก
วัดซุ้มกระต่าย
วัดโพธิมงคล ม.7 ต�ำบลสรรพยา
วัดวังสาคร วัดสมอ
บ้านท้องคุ้ง ม.3 ต�ำบลโพนางด�ำออก
วัดสมุทร ม.2 ต�ำบลสรรพยา
บ้านโพนางด�ำตก ม.2 ต�ำบลโพนางด�ำตก
วัดสรรพยาวัฒนาราม
วัดดอนตะไล้
วัดสวนล�ำไย
ม.6 ต�ำบลบางหลวง
ม.2 ต�ำบลบางหลวง
วัดตะกู
วัดสะแก
ม.1 ต�ำบลโพนางด�ำตก
บ้านศาลาแดง ม.5 ต�ำบลโพนางด�ำตก
วัดนมโฑ ม.4 ต�ำบลเขาแก้ว
วัดบ้านหนอง ม.8 ต�ำบลตลุก
วัดโบสถ์
ม.4 ต�ำบลสรรพยา
วัดสามนิ้ว ม.4 ต�ำบลโพนางด�ำตก
วัดหลวงสิริบูรณาราม ม.3 ต�ำบลสรรพยา
บ้านเขาสรรพยา ม.1 ต�ำบลสรรพยา
วัดหาดอาษา
วัดไผ่ล้อม
วัดอินทาราม
ม.1 ต�ำบลโพนางด�ำออก
ม.2 ต�ำบลตลุก
ม.1 ต�ำบลหาดอาสา
CHAI NAT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 139
139
18/12/2562 17:25:46
ท่องเที่ยวทางใจ 277 วัด "หลวงปู่ศุขลือชา เขื่อนเจ้าพระยาลือชื่อ นามระบือสวนนก ส้มโอดกขาวแตงกวา"
อ�ำเภอหนองมะโมง วัดเขาเกล็ดศรัทธาธรรม
วัดบ้านบ่อ
บ้านเขาเกล็ด ม.8 ต�ำบลหนองมะโมง
ม.3 ต�ำบลหนองมะโมง
วัดเขาดิน
ม.7 ต�ำบลหนองมะโมง
ม.1 ต�ำบลหนองมะโมง
วัดเขาหลักแก้วพรหมรังสี บ้านเขาหลัก ม.6 ต�ำบลสะพานหิน
วัดดงพระเจดีย์
วัดโพธิ์ทอง บ้านโพธิ์ทอง ม.4 ต�ำบลสะพานหิน
วัดวังน�้ำขาว ม.3 ต�ำบลวังตะเคียน
บ้านดงพระเจดีย์ ม.2 ต�ำบลกุดจอก
วัดศรีสโมสร
วัดดอนใหญ่
วัดสะพานหิน
ม.5 ต�ำบลหนองมะโมง
ม.1 ต�ำบลสะพานหิน
วัดทุ่งจ�ำรอง
วัดหนองขนาก
บ้านทุ่งจ�ำรอง ม.7 ต�ำบลวังตะเคียน
บ้านหนองขนาก ม.4 ต�ำบลกุดจอก
วัดน�้ำพุน้อย
วัดหนองเดิ่น
บ้านน�้ำพุน้อย ม.5 ต�ำบลสะพานหิน
ม.13 ต�ำบลวังตะเคียน
วัดบ่อลึก
ม.4 ต�ำบลหนองมะโมง
ม.6 ต�ำบลวังตะเคียน
วัดบ้านทับ
140
วัดไผ่ล้อม
ม.1 ต�ำบลกุดจอก
วัดหนองตะขบ วัดหนองไม้แก่น
ม.3 ต�ำบลกุดจอก
บ้านหนองไม้แก่น ม.7 ต�ำบลสะพานหิน
วัดบ้านน�้ำพุ
วัดหนองหวาย
บ้านน�้ำพุ ม.6 ต�ำบลสะพานหิน
ม.5 ต�ำบลวังตะเคียน
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
.indd 140
18/12/2562 17:25:47
THE IMPORTANT TEMPLES CHAI NAT
CHAI NAT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 141
141
18/12/2562 17:25:49
ท่องเที่ยวทางใจ 277 วัด "หลวงปู่ศุขลือชา เขื่อนเจ้าพระยาลือชื่อ นามระบือสวนนก ส้มโอดกขาวแตงกวา"
142
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
.indd 142
18/12/2562 17:25:50
THE IMPORTANT TEMPLES CHAI NAT
อ�ำเภอหันคา วัดไกลกังวล ม.7 ต�ำบลบ้านเชี่ยน
วัดคลองเกษม ม.10 ต�ำบลห้วยงู
วัดคลองจันทน์ ม.1 ต�ำบลห้วยงู
วัดบ้านใหม่สิริวัฒนาราม
วัดวิจิตรรังสรรค์
ม.9 ต�ำบลบ้านเชี่ยน
ม.7 ต�ำบลวังไก่เถื่อน
วัดบุบผาราม ม.3 ต�ำบลวังไก่เถื่อน
วัดประชุมธรรม ม.5 ต�ำบลบ้านเชี่ยน
วัดวิจิตรังสิตาราม ม.4 ต�ำบลบ้านเชี่ยน
วัดวิหารเก้าห้อง
วัดป่าเจดีย์เขาดิน
บ้านไร่สวนลาว ม.7 ต�ำบลบ้านเชี่ยน
วัดโคกหมู
บ้านหนองกง ม.11 ต�ำบลไพรนกยูง
วัดศรีเจริญธรรม
วัดป่าดงเย็น
ม.7 ต�ำบลหนองแซง
ม.6 ต�ำบลห้วยงู
วัดศรีนวล
วัดคลองธรรม ม.2 ต�ำบลวังไก่เถื่อน
วัดชัฎฝาง ม.10 ต�ำบลหนองแซง
วัดเด่นใหญ่ ม.1 ต�ำบลเด่นใหญ่
วัดตลุกเทื้อม ม.11 ต�ำบลหนองแซง
วัดถ�ำ้ เข้ ม.9 ต�ำบลวังไก่เถื่อน
วัดทองนพคุณ
บ้านจอมทอง ม.5 ต�ำบลหนองแซง
บ้านเชี่ยน ม.2 ต�ำบลบ้านเชี่ยน
วัดพรหมวิหาร
ม.7 ต�ำบลเด่นใหญ่
ม.1 ต�ำบลไพรนกยูง
วัดพิชัยนาวาส ม.10 ต�ำบลบ้านเชี่ยน
วัดพึ่งคงคาราม บ้านหัวระวัง ม.1 ต�ำบลบ้านเชี่ยน
วัดไพรนกยูง
วัดสระแก้ว วัดสระดู่ ม.6 ต�ำบลหนองแซง
วัดสวนอัมพวัน ม.9 ต�ำบลหันคา
วัดสะตือสิงห์ ม.10 ต�ำบลวังไก่เถื่อน
วัดทับขี้เหล็ก
บ้านไพรนกยูง ม.5 ต�ำบลไพรนกยูง
วัดหนองแจง
ม.4 ต�ำบลหันคา
วัดรางจิก
วัดหนองแซง
ม.11 ต�ำบลห้วยงู
วัดท่ากฤษณา ม.1 ต�ำบลหันคา
วัดท่าแก้ว ม.8 ต�ำบลห้วยงู
วัดท่าโบสถ์ ม.5 ต�ำบลห้วยงู
วัดเทพหิรัณย์ ม.11 ต�ำบลบ้านเชี่ยน
วัดธรรมวิจิตร ม.11 ต�ำบลหนองแซง
ม.3 ต�ำบลเด่นใหญ่
บ้านรางจิก ม.7 ต�ำบลไพรนกยูง
ม.3 ต�ำบลหนองแซง
วัดรางดู่
ม.5 ต�ำบลหนองแซง
ม.12 ต�ำบลหนองแซง
วัดราษฎร์บ�ำรุง ม.6 ต�ำบลหันคา
วัดราษฎร์ศรัทธาราม บ้านดอนกะพี้ ม.2 ต�ำบลเด่นใหญ่
วัดวังกะชาย
วัดหนองโสน วัดหนองอ้ายสาม ม.4 ต�ำบลไพรนกยูง
วัดใหม่วงเดือน บ้านวงเดือน ม.9 ต�ำบลห้วยงู
วัดอรัญญวาสี ม.2 ต�ำบลหนองแซง
ม.8 ต�ำบลวังไก่เถื่อน
CHAI NAT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 143
143
18/12/2562 17:25:51
ไทย-จีน ลงนามร วมพัฒนา ด านวิทย -เทคโนฯ 11 สาขา
144
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
บันทึกไทยแลนด 4.0 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ประเทศไทย และกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงสาธารณรัฐ ประชาชนจีน ลงนามในบันทึกความเขาใจ (MOU) วาดวยการสงเสริม ความรวมมือดานวิทยาศาสตร วิชาการ และนวัตกรรม และ VILLAGE E -COMMERCE สรางความเขมแข็ง-เพิ่มศักยภาพขายสินคาออนไลน ดร.สุวิทย เมษินทรีย รัฐมนตรีวาการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อ.ว) ไดเผยแพรบทความเรื่อง MOU ไทย-จี น ด าน S&T ร ว มกัน พัฒนา 11 สาขา 5 รูป แบบ ในเฟซบุ ก : ดร.สุวิทย เมษินทรีย DR.SUVIT MAESINCEE สรุปใจความวา เมือ่ วันที่ 5 พ.ย. 2562 มีการประชุมหารือรวมระหวางรัฐบาลไทย นําโดย พลเอก ประยุทธ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรี และ นายหลี่ เคอ เฉียง นายกรัฐมนตรีสาธารณรัฐประชาชนจีน ที่ทําเนียบรัฐบาล หลังการ หารือแลวเสร็จ รัฐมนตรีวาการกระทรวงการอุดมศึกษาฯ ไดลงนาม ในบันทึกความเขาใจ หรือ MOU วาดวยการสงเสริมความรวมมือดาน วิทยาศาสตร วิชาการ และนวัตกรรม ระหวางกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรมแหงราชอาณาจักรไทย และกระทรวง วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยมีนายก รัฐมนตรีทงั้ สองทานเปนสักขีพยาน การลงนามดังกลาวสืบเนือ่ งจาก MOU ฉบับเดิมไดหมดอายุไปเมือ่ ป พ.ศ.2561 ตามกรอบความรวมมือในการเปนหุน สวนดานวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี (SCIENCE AND TECHNOLOGY PARTNERSHIP PROGRAM) ซึ่งประเทศจีนดําเนินการแบบพหุภาคีกับกลุมประเทศ ในภูมิภาคอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ ตั้งแตป พ.ศ. 2555
สําหรับประเทศไทย มีความรวมมือที่เปนรูปธรรมและเปน ประโยชนกบั ทัง้ ไทยและจีนเปนจํานวนมาก เชน การแลกเปลีย่ นขอมูล และการรวมวิจยั ดานการสํารวจระยะไกลผานดาวเทียม เพื่อการเฝา ระวังและแจงเตือนภัยพิบัติทางธรรมชาติลวงหนา ระหวางระหวาง สํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (สทอภ.) และ CHINA RESOURCES SATELLITE DATA AND APPLICATIONS (CRESDA) หรือ ความรวมมือดานการทดสอบเมล็ดพันธุพืชไทยใน พื้นที่แปลงทดลองปลูกในมณฑลกวางตง (กวางตุง) ประเทศจีน พรอมทั้งการจับคูธุรกิจระหวางผูประกอบการเมล็ดพันธุไทยกับจีน โดยโปรแกรมเมล็ดพันธุ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี แหงชาติ (สวทช.) เชื่อมโยงกับสมาคมการคาเมล็ดพันธุกวางตง (GUANGDONG SEED TRADE ASSOCIATION) และ GUANGDONG ACADEMY OF AGRICULTURAL SCIENCES (GDAAS) ซึ่ ง ทํ า ให ผู ผ ลิ ต เมล็ ด พั น ธุ พื ช ไทยสามารถผลิ ต เมล็ ด พั น ธุ พื ช ได ตามความตองการของตลาดจีน และเพิม่ การสงออกเมล็ดพันธุพ ชื ไทย ไปสูตลาดจีนไดมากขึ้น ดร.สุวทิ ย เมษินทรีย กลาววา MOU ฉบับนีจ้ ะอีกทางหนึง่ ในการ พัฒนากําลังคน พัฒนาองคความรู และพัฒนานวัตกรรมของประเทศ ตามพันธกิจของกระทรวง อว. โดยอาศัยความรวมมือกับหนวยงาน ระดับนานาชาติ (WORLD-CLASS) ในตางประเทศ เชื่อมโยงใหเกิด การพัฒนาเทคโนโลยีและการใชนวัตกรรมทีเ่ หมาะสมกับประเทศไทย (TECHNOLOGY LOCALIZATION) ดังตัวอยางการทํางานรวมกัน ระหวางไทยและจีนที่มีความสัมพันธดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ที่ ไ ด ประโยชน ทั้ ง สองฝ า ย เป น WIN-WIN COLLABORATION อยางแทจริงครับ
พัฒนากําลังคน พัฒนาองค ความรู พัฒนานวัตกรรมประเทศ CHAINAT I SBL บันทึกประเทศไทย
145
ทีส ่ ด ุ แห่งการบันทึก ความทรงจ�ำ SBL บันทึกประเทศไทย SBL บันทึกประเทศไทย น�ำเสนอเรื่องราวของจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศไทย อย่างเจาะลึก และครอบคลุมทุกมิติ อาทิ มิติด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ จากหน่วยงาน ราชการส�ำคัญในจังหวัด มิติด้านการท่องเที่ยวที่สดใหม่ ทันสมัย ทั้งสถานที่เที่ยว ที่พัก ร้านอาหาร ร้านกาแฟ ฯลฯ มิติด้านอุตสาหกรรม-การค้าการลงทุนที่เป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ตลอดจนมิติด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม และวิถีชีวิต ที่มีจุดเด่นและมีเอกลักษณ์น่าสนใจ
Magazine
AD_
.indd 146
www.sbl.co.th
9/12/2562 14:33:51
Buddhism
in Thailand
SBL บันทึกประเทศไทย น�ำเสนอเรื่องราวของจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศไทย อย่างเจาะลึกและครอบคลุมทุกมิติ อาทิ มิติด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ จากหน่วยงานราชการส�ำคัญในจังหวัด มิติด้านการท่องเที่ยวที่สดใหม่ทันสมัย ทั้งสถานที่เที่ยว ที่พัก ร้านอาหาร ร้านกาแฟ แหล่งช็อปปิ้งใหม่ๆ ฯลฯ มิติด้านอุตสาหกรรม-การค้าการลงทุนที่เป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ตลอดจนมิติด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม และวิถีชีวิต ที่มีจุดเด่นและมีเอกลักษณ์น่าสนใจ
AD.indd 164
9/12/2562 14:30:26
Wat Sangkharam
148
SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยนาท
วัดสังฆาราม
ตัง้ อยูท ่ ี่ 91 ม.2 ต.เทีย ่ งแท้ อ.สรรคบุรี จ.ชัยนาท 17140 โทร. 084 114 1261
.indd 148
ขอเชิญร่วมทำ�บุญบูรณะปฏิสังขรณ์ ธ.กรุงไทย เลขที่บัญชี124-0-41965-1 ชื่อบัญชี บูรณะอุโบสถหลวงพ่อปลื้ม วัดสังฆาราม
21/12/2562 12:02:03