SE Mag / issue 3

Page 1

SE MAG นิ ต ยสารกิ จ การเพื ่ อ สั ง คม

ISSUE

OCTOBER-DECEMBER www.tseo.or.th

ส่งต่อสังคม Pay it

Forward

OCTOBER-DECEMBER ISSUE SEMAG

1


สกส. ส�ำนักงานสร้างเสริมกิจการเพื่อสังคมแห่งชาติ (สกส.)เป็นองค์กรที่จัดตั้งขึ้นตามระเบียบกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพว่าด้วยการจัดตั้งส�ำนักงาน สร้างเสริมกิจการเพื่อสังคมแห่งชาติ พ.ศ.2553 เพื่อเป็นกลไกสนับสนุนการด�ำเนินงานตามแผนแม่บทว่าด้วยการสร้างเสริมกิจการเพื่อสังคม พ.ศ.2553-2557 สกส.มีเป้าหมายส�ำคัญในการกระตุ้น สนับสนุน ประสานความร่วมือเพื่อให้เกิดกิจการเพื่อสังคมและพัฒนาเป็นเครือข่ายกิจการเพื่อสังคมทั่วประเทศไทย รวมทั้งตอบสนองต่อปัญหาที่เกิดขึ้นทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม

การท�ำกิจการเพื่อสังคม = การแก้ปัญหาสังคมอย่างยั่งยืน ปัญหาแบบเดิม

การแก้ปัญหาแบบใหม่โดยใช้ นวัตกรรมอย่างยั่งยืน คุณ+ไอเดีย+ทุน

คุณ+ทุน แก้ปัญหาลักษณะเดิม ครั้งที่ 1 สร้างนวัตกรรม ใช้นวัตกรรมแก้ปัญหา

คุณ+ทุน แก้ปัญหาลักษณะเดิม ครั้งที่ 2

คุณ+ทุน แก้ปัญหาลักษณะเดิม ครั้งที่ 3

สิ้นเปลือง! และหมดไป

เพราะต้องใช้ทุนทุกครั้งเพื่อแก้ไข ปัญหาลักษณะเดิม

ยั่งยืน และ ต่อยอด ไม่ว่าปัญหา ลักษณะเดิมจะ เกิดกี่ครั้งก็ สามารถใช้ นวัตกรรมที่ สร้างมาแก้ไขได้

แก้ปัญหาได้ส�ำเร็จ

ใช้นวัตกรรมแก้ไข ปัญหาในพื้นที่อื่น

สร้างรายได้

มีทุนต่อยอดนวัตกรรม

ได้นวัตกรรมใหม่


OCTOBER-DECEMBER ISSUE SEMAG

3


CREDIT

ที่ปรึกษา เบญจมาภรณ์ จันทรพัฒน์ ผู้อ�ำนวยส�ำนักงานพัฒนาภาคีสัมพันธ์ และวิเทศสัมพันธ์ (สสส.) มงคล เกษมสันต์ ณ อยุธยา ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานสร้างเสริมกิจการ เพื่อสังคมแห่งชาติ (สกส.) อารันดร์ อาชาพิลาส กรรมการผู้จัดการ บริษัท ชิล ชิล แคปปิตอล จ�ำกัด บรรณาธิการบริหาร ญาณนี ศิริวงศ์ ณ อยุธยา ปัทมาพร ไชยเชษฐ์พิพัฒกุล บรรณาธิการ รัตติกาล พูลสวัสดิ์ กองบรรณาธิการ โอมศิริ วีระกุล กราฟฟิกดีไซน์ พงศ์ธร ยิ้มแย้ม ช่างภาพ จิตรพงษ์ จีระฉัตร ประสานงาน ธชวรรณ แก้วชนะ สร้างสรรค์และผลิต ความเคลื่อนไหว SE รอบโลก BE Magazine บริษัท ชิล ชิล แคปปิตัล จ�ำกัด

CONTENTS

06

CONTACT US

ส�ำนักงานสร้างเสริมกิจการเพื่อสังคม แห่งชาติ (สกส.) 979 ชั้น 15 อาคาร เอส.เอ็ม ทาวเวอร์ ถ.พหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทร. 0-2298-0500 ต่อ 2130 โทรสาร 0-2298-0500 ต่อ 2114

06 SE NEWS WORLDS 08 SE NEWS THAILAND 10 ABOUT ความเคลื่อนไหว SE ประเทศไทย

เรื่องราวน�ำเสนอผ่าน CLEAR-CUT

E-MAIL : info@tseo.or.th WEBSITE : www.tseo.or.th FACEBOOK : fackbook/tseopress ขอบคุณภาพปก : Children Mind

4

SEMAG OCTOBER-DECEMBER ISSUE

12 CLEARCUT

มากกว่า “ให้” เพื่อนมนุษย์ ๑4๑ / สวนเงินมีมา / Match Game / Children Mind

22 CLEARCUT

มากกว่า “ให้” สังคม ขยะออมทรัพย์ / ปลาจะเพียร / ปันกัน / BikeXenger

1


36

32 LOLL AROUND เอกเขนก Lichen Nature / โฮมสเตย์บา้ นสามขา 36 HEADWAY ต่มองโลกอนาคต ออนาคต กิจการเพื่อสังคม

12

นพ.ก้องเกียรติ เกษเพ็ชร

40 VIEWPOINT

44

ก้สถาบัานวทั น วิ ส ย ั ทั ศ น์ บรรจุภัณฑ์ กับ ร้าน 0 บาท 44 SHOWCASE นุ่น-ศิรพันธ์ ชวน ‘เชอฟ เชอฟ’ 46 SE-NOTED สุขสันต์ปีใหม่พร้อมครอบครัวกับร้าน อาหารที่ห่วงใยคุณ

40 OCTOBER-DECEMBER ISSUE SEMAG

5


SE NEWS WORLD

SE

NEWS

WORLD

รวมด้วยช่วยกัน

WO R K

ที่มา : http://www.tseo.or.th/sepresent/1487

ในปี 1997 เกาหลีใต้ประสบปัญหาทางเศรษฐกิจครัง้ ใหญ่หลวงอีก ครั้ ง หนึ่ ง จากค่ า เงิ น อ่ อ นตั ว ไม่ ต ่ า งไปจากประเทศไทยและ ประเทศอื่นๆ แถบเอเชียในขณะนั้น ส่งผลให้ภาคเศรษฐกิจล่มสลาย บริษัทน้อยใหญ่พากันล้มครืน จ�ำนวนผู้ตกงานเพิ่มสูงขึ้นเป็นเท่าตัว ใน เวลาเดียวกันความต้องการทางสวัสดิการสังคมก็เพิ่มขึ้นเป็นเงาตามตัว นั่นท�ำให้ภาครัฐ (ในขณะนั้น) เริ่มหาหนทางแก้ไข หนึ่งปีต่อมาคือในปี 1998 รัฐบาลเกาหลีใต้จัดตั้งคณะกรรมการขึ้นมาชุดหนึ่งเพื่อจัดการ ปัญหาคนว่างงานในอนาคต ใช้ชอื่ ว่า National Movement Committee for Overcoming Unemployment และต่อมาในปี 2003 ก็เปลี่ยนเป็น องค์กรทีไ่ ม่แสวงหาผลก�ำไรทีช่ อื่ ‘Work Together Foundation’ อยูภ่ าย ใต้การดูแลของกระทรวงแรงงาน โดยมีวตั ถุประสงค์หลักคือแก้ไขปัญหา ทางสังคมอย่างยั่งยืนและพัฒนาฝีมือผู้ว่างงาน จนถึงปัจจุบันนี้ Work Together Foundation ได้ช่วยเหลือคนตกงานและครอบครัวของพวก เขา รวมทั้งคนที่ไร้ที่อยู่อาศัยให้ได้มีงานมีการท�ำไปแล้วกว่า 5,380,000 คน หรือคิดเป็น 10 เปอร์เซ็นต์ของประชากรทั้งหมดของเกาหลีใต้ผ่าน โครงการและแคมเปญต่ า งๆ มากมาย ติ ด ตามความเคลื่ อ นไหว ของ Work Together Foundation ได้ที่ www.hamkke.org

การไม่มีลูก

คุณยาย Saalumarada Thimmakka และสามี อาศัยอยู่ในหมู่บ้านเล็กๆ แห่งหนึ่งของบังกาลอร์ ประเทศอินเดีย ทัง้ คูอ่ ยูก่ นิ กันมานานแต่ไม่สามารถมี ลูกได้ จนวันหนึ่งคุณตาเลยออกความคิดว่า ‘ในเมื่อมี ลูกไม่ได้ งั้นเราปลูกต้นไม้แล้วกัน’ ซึ่งต้นไม้ที่ว่ามัน คือต้นไทร (banyan tree) ซึ่งเป็นต้นไม้สัญลักษณ์ ประจ�ำชาติอนิ เดียทีแ่ ผ่กงิ้ ก้านได้กว้างใหญ่ทสี่ ดุ ในโลก ในปี 1991 คุณตาเสียชีวิต แต่คุณยายยังคงเดินหน้า ปลูกต้นไทรต่อ การกระท�ำของคุณยายเป็นที่กล่าว ขานจนได้รับรางวัลเชิดชูจากองค์กรต่างๆ โดยหนึ่ง กว่าหลายปีทบี่ ริษทั ขนส่งระดับโลกอย่าง FEDEX ในนั้นคือรางวัลพลเมืองดีเด่นที่เธอถูกยกย่องให้เป็น ได้พยายามปรับเปลีย่ นการท�ำงานให้เข้ากับสิง่ แวดล้อม ‘อนุสาวรียท์ ยี่ งั มีชวี ติ อยู’่ ทัง้ กลุม่ ชาวบ้านทีเ่ ลือ่ มใสเธอ ด้วยการลดก๊าซคาร์บอนจากการขนส่งด้วยเรือโดยสาร ก็เติมค�ำว่า Saalumarada ซึ่งแปลว่า ‘ทิวแถวของ มหาสมุทร บริษัทจึงหันมาใช้พลังงานไฟฟ้าทดแทน ต้นไม้’ ไว้ที่ด้านหน้าชื่อของเธอ จน Saalumarada ในปี 2008 พวกเขาประกาศว่าจะมุ่งมั่นต่อการลด Thimmakka กลายเป็นชือ่ ทีร่ จู้ กั กันโดยทัว่ ไป คุณยาย คาร์บอนไดออกไซค์จากการขนส่งทางเครือ่ งบินด้วยการ ยังเดินหน้าต่อเพือ่ เผยแพร่และสร้างความตระหนักให้ ปรับปรุงพลังงานเชือ้ เพลิงอย่างน�ำ้ มันใน 20 เปอร์เซ็นต์ คนได้ลกุ ขึน้ มาปลูกต้นไม้ เธอบอกว่า “อุตส่าห์เกิดมา และอีก 4 ปีตอ่ มาการท�ำตามวิสยั ทัศน์ของบริษทั ก็ทำ� ได้ ทัง้ ที ก่อนตาย ก็ควรทิง้ สมบัตอิ ะไรไว้ให้กบั มนุษยชาติ ส�ำเร็จ ดังนัน้ วันนีบ้ ริษทั FEDEX จึงตัง้ เป้าหมายใหม่ดว้ ย บ้าง” ทั้งเธอยังท�ำอีกความตั้งใจสูงสุดส�ำเร็จ นั่นคือ การสร้างโรงพยาบาลขึ้นในหมู่บ้านของเธอ ซึ่งจากนี้ การพยายามลดคาร์บอนให้ได้ถงึ 50 เปอร์เซ็นต์ ไป คนจนจะได้มที รี่ กั ษายามเจ็บไข้…ถึงตรงนีแ้ ล้ว ใน ขณะที่คุณยายอายุ 83 ปีก�ำลังปลูกต้นไม้ แล้วคุณล่ะ ที่มา : www.inhabitat.com ได้มอบอะไรให้กับโลกไว้บ้าง

FEDEX

ลดคาร์บอนเพื่อโลก

6

SEMAG OCTOBER-DECEMBER ISSUE

ที่มา : NDTV

TOGETHER

คุ ณ ยายชาวอิ น เดี ย ปลู ก ต้ น ไม้ ท ดแทน


รู้หนึ่ง สอนหนึ่ง อร่อยเป็นร้อย! S H A R E

ที่มา : http://www.tseo.or.th/sepresent/1477

Koto Restaurant เป็นองค์กรทางสังคมทีไ่ ม่มงุ่ หวัง ผลก�ำไรก่อตัง้ ครัง้ แรกขึน้ ในฮานอย ประเทศเวียดนาม ใน ปี 1996 โดยจิมมี่ แพม เชฟชาวออสเตรเลียนทีถ่ นัดการท�ำ อาหารเกาหลี-เวียดนามแท้ๆ เขาพบเด็กๆ ข้างถนนที่ เร่รอ่ นอยูใ่ นฮานอย จึงเข้าไปถามเด็กเหล่านัน้ ว่าท�ำไมไม่ไป ท�ำงานท�ำการ ค�ำตอบทีไ่ ด้รบั จากเด็กเหล่านัน้ ก็คอื “พวก เราไม่มที กั ษะหรือความรูอ้ ะไรเลย ถ้าเรามีทกั ษะเราก็นา่ จะ หางานท�ำได้” ด้วยค�ำตอบนีเ้ องทีบ่ นั ดาลใจให้เขาเปิดร้าน อาหารขนาด 120 ทีน่ งั่ ชือ่ ว่า KOTO และท�ำให้มนั เป็นเหมือน ศูนย์อบรมวิชาชีพการท�ำอาหารโดยมีคอนเส็ปต์ “Know One, Teach One” หมายความว่าเด็กแต่ละคนทีม่ าเรียน รู้กับเขาต้องน�ำวิชาความรู้นี้ไปสอนเด็กต่ออีกหนึ่งคนเป็น อย่างน้อย ต่อมานอกจากเรือ่ งการท�ำอาหาร เสิรฟ์ อาหาร แล้ว จิมมีย่ งั สอนเรือ่ งมารยาทในสังคม สอนภาษาอังกฤษ ฯลฯ KOTP ของเขาจึงเป็นมากกว่าสถาบันสอนท�ำอาหารไป โดยปริ ย าย ติ ด ตามความเคลื่ อ นไหวของ Koto Restaurant ได้ที่ www.koto.com.au

สบู่เหลือใช้

SHARE FOOD

ปัญหาสังคมที่ยากที่สุดคือ ความอดอยากของ คนยากไร้ ซึ่งมีกว่า 900 ล้านคนทั่วโลก แต่โครงการ ทางด้านไอทีของบริษทั Microsoft ทีจ่ ดั ขึน้ ทุกปีในนาม ของ Imagine Cup มีไอเดียมาช่วยแก้ปัญหาข้อนี้ เป็นโครงการการที่เปิดโอกาสให้นักเรียนนักศึกษาทั่ว โลกส่งผลงานทีจ่ ะช่วยแก้ปญ ั หาของโลกด้วยนวัตกรรม ไอทีเข้าประกวด ซึ่งในแต่ละปีจะมีโจทย์ต่างกันไป และในปี 2012 โจทย์คือ Imagine a world where technology helps solve the toughest problems ซึ่งก็คือปัญหาการขาดแคลนอาหารอย่างรุนแรง ทาง Microsoft Australia จึงได้น�ำเสนอแนวไอเดียเป็น ตัวอย่างแรงบันดาลใจให้ทีมต่างๆ ที่จะเข้าประกวด ด้วยแนวคิด Food For Thougth ที่มีแนวคิดง่ายๆ คือ การเอาไอเดียไปแลกซื้ออาหาร พร้อมกันนั้นเงิน 1 USD ก็จะถูกน�ำไปบริจาคยัง Foodbank เพื่อน�ำไป ช่วยคนอดอยากต่อไป และแนวคิดนั้นก็จะถูกน�ำไป พิจารณาว่าสามารถแก้ไขปัญหาสังคมได้ตอ่ ไปหรือไม่ ซึง่ นับเป็นการระดมไอเดียจากคนหมูม่ ากด้วยวิธงี า่ ยๆ และตอนนี้แนวคิดนี้ก็ถูกน�ำไปทดลองใช้กับร้านค้าทั่ว ออสเตรเลียแล้ว นีเ่ ป็นหนึง่ ในโครงการดีๆ จากบริษทั ใหญ่ๆ ที่ช่วยส่งเสริมและสร้างคนรุ่นใหม่ให้สามารถ คิดและแก้ไขปัญหาสังคมของโลกได้

ช่วยชีวิตเด็กๆ

การล้างมือด้วยสบูเ่ ป็นวิธปี อ้ งกันเชือ้ โรคทีไ่ ด้ผลและประหยัดทีส่ ดุ เด็กๆ ทีไ่ ม่มสี บูใ่ ห้ใช้ ก็หมาย ถึงพวกเขาไม่มีสุขอนามัยที่ดีได้ รู้ไหมว่ามีเด็กเสียชีวิตเพราะขาดการดูแลสุขลักษณะที่ดีถึง 3.5 ล้าน คนต่อปี เพราะเหตุนี้ Derrek Kayonko ผู้ลี้ภัยจากอูกันดา อพยพมาเป็นพลเมืองสหรัฐอเมริกาจึง ไม่อาจนิง่ เฉยต่อปัญหานี้ เขาสร้าง The Global Soap Project ขึน้ มารับบริจาคสบู่เหลือทิ้งจากโรงแรม ต่างๆ เริ่มจากในอเมริกา และต่อมาก็เปิดรับจากประเทศต่างๆ ที่ยินดีเข้าร่วมโปรเจ็กต์นี้ด้วย สบู่ที่ ได้รับมาทั้งหมดจะน�ำไปผ่านกระบวนการท�ำความสะอาด แล้วหลอมขึ้นมาเป็นสบู่ก้อนใหม่ แจกจ่าย ไปยังพื้นที่ที่ขาดแคลนทั่วโลก โดยประสานงานกับองค์กรที่ท�ำงานเพื่อชุมชนในท้องถิ่นนั้น เพื่อให้สบู่ ไปถึงยังแหล่งทีต่ อ้ งการจริงๆ แถมยังแบ่งปันให้คนไร้บา้ นอีกต่างหาก นีค่ อื การให้ตอ่ ความเป็นอยูข่ อง สุขภาวะที่น่ารักทางหนึ่งเลยทีเดียว ที่มา : the global soap project OCTOBER-DECEMBER ISSUE SEMAG

7

ที่มา : http://creativemove.com/creative/food-for-thought/#ixzz256jrWx2Y

K O T O R E S T A U R A N T

IDEA


SE NEWS THAILAND

SE

NEWS

THAILAND

คอนเสิร์ต

ครีเอทีฟอาสา

ปฏิ วั ติ

กับ 4 กิจการเพื่อสังคม องค์กรสร้างสรรค์เพื่อสังคม (iCARE) ร่วม กับ ส�ำนักงานสร้างเสริมกิจการเพือ่ สังคมแห่งชาติ (สกส.) ขอเชิญชวนเหล่านักศึกษา ครีเอทีฟ รุ่นใหม่ไฟแรงในแวดวงโฆษณา หรือบุคคลทั่วไป ที่ต้องการระเบิดพลังความคิดสร้างสรรค์ เสนอ ไอเดียโดน และดี ในโครงการ “iCARE Award 2012 ครีเอทีฟอาสา : Creative Volunteer Contest” เพื่อใช้ในการโฆษณาประชาสัมพันธ์ อย่างไม่จำ� กัดรูปแบบให้กบั “ 4 กิจการเพือ่ สังคม ธุ ร กิ จ ที่ จ ะท� ำ ให้ สั ง คมดี ขึ้ น ” ประกอบด้ ว ย 1.ธนาคารขยะออมทรัพย์ 2.Children Mind ศิ ล ปะสั ม ผั ส ด้ ว ยหั ว ใจ 3.Brian Sport Edutainment และ 4.ไฟฟ้าชุมชน Wind Solar เพื่อชิงรางวัลมูลค่ากว่า 100,000 บาท ที่ได้รับ การสนับสนุนโดย แมกโนเลีย ควอลิตี้ ดีเวล็อป เม้นต์ ครอ์ปอเรชั่น โดยก�ำหนดเปิดตัวรับโจทย์ พร้อมกันในวันพฤหัสบดีที่ 4 ตุลาคม 255 และ ปิ ด รั บ ผลงานร่ ว มประกวดในวั น พฤหั ส บดี ที่ 8 พฤศจิกายน 2555 นี้ สอบถามข้อมูล เพิ่มเติม โทร.0-2742-9141 ต่อ 4405 หรือ www.icare-club.com

ม.สุรนารี สถานศึกษา ต้ น แบบเปิ ด สอนวิ ช า

ส่ อ งประสบการณ์ ไ ทย-เทศ

“กิจการเพื่อสังคม” 8

พลั ง งาน

ปฏิวัติความคิดสู่ความสุขด้วยพลังงานหมุนเวียน ปิดฉากความสนุกสนานส่งท้ายคอนเสิร์ตปฏิวัติพลังงาน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการรณรงค์ ผลักดันร่างกฎหมายพลังงานหมุนเวียนฉบับแรกของไทยกันด้วยรอยยิ้ม กับการแสดงสตรีทมิวสิคใน ตอน “OODSTOCK: ฝนตกขีห้ มูไหล พลังไฟฟ้า พลังงานหมุนเวียน” ทีม่ สี าวหน้าหวานเสียงใส “แป้ง โกะ” มาร้องเพลงอคูสติคเพราะๆ ให้ฟังกันที่เอเชียทีค ริเวอร์ฟรอนท์ ถนนเจริญกรุง เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม ที่ผ่านมา โดยในครั้งนี้สาวน้อยขวัญใจชาวไซเบอร์คนนี้ไม่ได้มาคนเดียว แต่ยังพา แขกรับเชิญคนส�ำคัญมาด้วย นัน่ คือลูกหมูนอ้ ยวัยซนปนน่ารัก จะไม่ให้เรียกว่าแขกคนส�ำคัญได้อย่างไร เพราะไฟฟ้าที่ใช้ในงานนี้มาจาก “ขี้หมู” ล้วนๆ! ถือเป็นคอนเสิร์ตที่เป็นปรากฎการณ์ให้คนฟังได้ ความรู้กลับไปพร้อมกับความประทับใจที่แปลกใหม่อีกด้วย

สกส. ร่วมกับ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี ได้ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ เพื่อร่วมกันพัฒนาเนื้อหารายวิชา “กิจการเพื่อ สังคม” เพื่อสร้างการรับรู้และความเข้าใจใน ประเด็นกิจการเพือ่ สังคม ให้กบั กลุม่ นิสติ นักศึกษา

SEMAG OCTOBER-DECEMBER ISSUE

และเครือข่ายกิจการเพื่อสังคมในภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อันจะน�ำไปสู่การเชื่อมโยง และ ผลักดันให้เกิดการสร้างเสริมกิจการเพื่อสังคม อย่างเป็นรูปธรรม เพื่อแก้ไขปัญหา และพัฒนา สังคมในมิติต่างๆ ได้อย่างยั่งยืน


“ใจถึงใจ...

การให้ที่ยั่งยืน”

เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม 2555 สกส. ร่วมกับ สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (Ismed) และโครงการ Unltd Thailand ได้ร่วม กันจัดงานเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เครือข่ายกิจการ เพื่อสังคม ครั้งที่ 1 “ใจถึงใจ...การให้ที่ยั่งยืน” ขึ้น ณ ห้ อ งธาราเทพ โรงแรมเจ้ า พระยาปาร์ ค ถ.รัชดาภิเษก เพื่อเปิดเวทีในการพบปะ และแลก เปลี่ยนประสบการณ์การด�ำเนินธุรกิจในกิจการ เพื่อสังคมร่วมกัน ระหว่างกลุ่มผู้ประกอบกิจการ เพื่อสังคมกว่า 30 ราย โดยการจัดงานในวันนั้น ได้ มี ก ารเชิ ญ วิ ท ยากรผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ใ นด้ า นการ ตลาด การเงิน และการพัฒนาแบรนด์ เพือ่ มาเผย เคล็ดลับ และกลยุทธ์การสร้างสรรค์กิจการเพื่อ สังคมให้มีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ ภายในงานยังได้รับ เกียรติจาก ทพ.กฤษดา เรืองอารีย์รัชต์ ผู้จัดการ กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เป็นประธานการมอบรางวัล Social Enterprise ให้กับผู้ประกอบการเพื่อสังคม และกล่าวสร้าง แรงบันดาลใจในการขับเคลือ่ นกิจการเพือ่ สังคมให้ พัฒนา และก้าวหน้าอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป

ขับเคลื่อนงานสร้างเสริมกิจการเพื่อ สังคมด้านคุณภาพชีวิตคนพิการ เมื่อวันที่ 18 ส.ค. ที่มูลนิธิพระมหาไถ่เพื่อ การพัฒนาคนพิการ นายสุเมธ มโหสถ รองอธิบดี กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน เป็นประธาน ในพิธีลงนามบันทึกความร่วมมือ “การขับเคลื่อน งานสร้างเสริมกิจการเพื่อสังคมด้านคุณภาพชีวิต คนพิการ” ระหว่างมูลนิธิพระมหาไถ่ฯ บริษัท เซ็นทรัล รีเทล คอร์เปอร์เรชัน่ จ�ำกัด และส�ำนักงาน สร้างเสริมกิจการเพื่อสังคมแห่งชาติ (สกส.) โดย นายสุเมธ กล่าวว่า ผู้พิการจ�ำนวนมาก สามารถประกอบอาชีพ เป็นก�ำลังส�ำคัญขับเคลือ่ น เศรษฐกิจของประเทศได้ แต่จากการส�ำรวจของ กระทรวงแรงงาน พบว่าผู้พิการทั่วประเทศกว่า 90,000 คน มีเพียง 10,000 คนเท่านั้นที่พร้อม ท�ำงาน ซึ่งกระทรวงแรงงานพยายามกระตุ้นการ จ้างงานผู้พิการอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ผู้พิการมี ศักดิ์ศรีในการด�ำรงชีวิต โดยเร่งขับเคลื่อนการมี งานท�ำของผูพ้ กิ าร ตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมและพัฒนา คุณภาพชีวิตคนพิการ นอกจากนี้ยังมีบุคคลส�ำคัญที่มาร่วมงาน

ได้แก่ บาทหลวง ดร.พิชาญ ใจเสรี ประธานมูลนิธิ พระมหาไถ่เพื่อการพัฒนาคนพิการ, นายมงคล เกษมสันต์ ณ อยุธยา ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานสร้าง เสริมกิจการเพื่อสังคมแห่งชาติ (สกส.), นายเรือง เวช วิทวัสการเวช ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ฝ่ายบริหารทรัพยากรบุคคล บริษทั เซ็นทรัล รีเทล คอร์เปอร์ชนั่ จ�ำกัด ทีม่ าร่วมกล่าวแสดงความคิดเห็น เพื่อขับเคลื่อนคุณภาพชีวิตให้แก่คนพิการ

ยิ่งให้...

ยิ่งได้รับ เมือ่ วันที่ 15-16 กันยายน ทีผ่ า่ นมา สกส. ร่วมกับ ศูนย์การค้า K Village (ถ.สุขมุ วิท 26) จัดพื้นที่ส่งเสริมการขายให้กับกิจการเพื่อสังคม ระดมผูป้ ระกอบการหัวใจสะอาด ยกพลแสดงและ จ�ำหน่ายสินค้าและบริการคุณภาพ ทั้งอาหาร ปลอดภัยอย่าง ข้าวเป็นสุข, ไข่อนิ ทรียบ์ า้ นต้นรักษ์, ผักปลอดสารพิษทวีวัฒนา และร่วมสร้างสรรค์ จินตนาการ เรียนรูไ้ ปกับผลิตภัณฑ์เพือ่ สังคมอย่าง ของเล่นไม้ ๑4๑, เกมกระดานคณิตศาสตร์ Math Game Center, เครื่องประดับรีไซเคิล และ อุปกรณ์เรียนรูธ้ รรมชาติ จาก ร้านไลเคน พร้อม ร่วมซือ้ ของทีร่ ะลึกจาก ร้านปันกัน เพือ่ น�ำรายได้ มาเป็นทุนการศึกษาเด็กภายใต้มลู นิธยิ วุ พัฒน์ OCTOBER-DECEMBER ISSUE SEMAG

9


ABOUT

Pay it

Forward ส่งต่อ

เชื่อว่าการให้จะเป็นเหมือน โครงสร้างโมเลกุลทางสังคมที่จะ แตกตัวเพิ่มขึ้นเป็นทวีคูณ หาก ภายใต้การให้นั้นมีประโยชน์ส่วน ร่วมและมีเจตนาดีเป็นรากฐาน

10

SEMAG OCTOBER-DECEMBER ISSUE


หลายครั้งที่ผมเคยตั้งค�ำถามกับบริบทที่เรียกว่า “การให้” จะให้ค�ำนิยามกับค�ำนี้ว่าอะไรดี เพราะการให้คงมีความหมาย และความส�ำคัญแตกต่างกันไปตามเหตุการณ์ และวันเวลาที่มาเกี่ยว โยง สร้างความหมายมากน้อยและคุณค่าแตกต่างกันออกไป จะมีขอ้ ดีกต็ รงทีไ่ ม่วา่ เราจะอยูป่ ระเทศ ไหน ชาติอะไร ผิวสีไหน ก็รับรู้ได้ว่าการให้มันคือพฤติกรรมสากลที่คนทั่วโลกต่างรู้จักและรับรู้ Catherine Ryan Hyde เป็นนักเขียนที่ ท�ำให้หลายคนเริม่ รูจ้ กั ต่อกระบวนการส่งต่อ ผ่าน ตัวหนังสือทีเ่ ขาเขียนขึน้ มาและได้มีการดัดแปลง เป็นบทภาพยนตร์ขนึ้ พร้อมกับการสร้างกระแสให้ กั บ คนทั่ ว โลกเริ่ ม รู ้ จั ก การส่ ง ต่ อ แบบมหาศาล โดยทีส่ ามารถสร้างผลกระทบทีย่ งิ่ ใหญ่ได้เพียงแค่ เริ่ ม จากคนตั ว เล็ ก ๆ จากเด็ ก น้ อ ยคนหนึ่ ง ที่ ต้องการคิดทฤษฎีเปลี่ยนแปลงโลก โดยทฤษฎีที่ ว่านี้ต้องเริ่มจากตัวเองก่อน ด้วยการช่วยเหลือ เพื่อนร่วมโลกอย่างน้อยสามคน และก็ปล่อยให้ สามคนนี้ท�ำความดีไม่ว่าจะเป็นการช่วยเหลือ บริจาค หรือเป็นจิตอาสาให้กระจายไปอีกสามคน ถัดไปจนขยายเป็นวงกว้างเหมือนหยดน�้ำหยด เดียวที่สร้างแรงกระเพื่อมเป็นวงกว้าง จากหนั ง สื อ สู ่ บ ทภาพยนตร์ ใ นโลกของ กระดาษและจอสี่เหลี่ยม ทฤษฎีนี้ได้เกิดขึ้นจริง เมื่อมีคนเริ่มน�ำมาใช้แพร่หลาย อย่างเช่น ใน ประเทศสหรัฐอมริกาที่มีการจ่ายค่ากาแฟและ เหลือเงินทอนที่พอเพียงต่อการที่จะซื้อกาแฟได้ อีกแก้วหนึ่งโดยที่เจ้าของเงินทอนได้ก� ำชับกับ พนักงานว่า จงน�ำเงินทอนของเราไปจ่ายคนที่จะ มาดื่มกาแฟคนต่อไปและเมื่อคนต่อไปได้รับก็จะ ส่งต่อไปยังลูกค้าคนถัดไปจนกลายเป็นกระแส และกิจกรรมน่ารักๆ ในสังคมที่ส่งต่อไปเป็น

ทอดๆ และท�ำให้บรรยากาศภายในร้านกาแฟ เหล่านั้นดีมากขึ้น จนมีคนล้อเลียนว่าอยากให้ ทฤษฎี นี้ ม าใช้ ต ่ อ การจ่ า ยหนี้ แ ทนคนที่ ก� ำ ลั ง ประสบปัญหาทางด้านการเงินเหมือนกัน จะว่าไปทฤษฎีทวี่ า่ นีไ้ ม่เพียงแต่จะใช้ในทาง ด้านสังคมศาสตร์เท่านั้น แต่หากเราสังเกตให้ดี ศาสตร์ทางด้านกีฬายังคงซ่อนในเรื่องของการส่ง ต่อเหมือนกัน ไม่ว่าจะเป็น กรีฑา, ฟุตบอล, วอลเล่ย์บอล, บาสเก็ตบอล, รักบี้ ฯลฯ ที่เริ่มจาก คนแรกไปยังเพื่อนร่วมทีมคนต่อๆ ไป เพื่อไปสู่ การท�ำประตู การท�ำแต้มและเส้นชัย จะว่าไปเกม กีฬาหากมองให้ลกึ ก็เหมือนสังคมเล็กๆ ทีส่ อนให้ เราได้เรียนรูก้ ารแบ่งปัน การให้ทไี่ ม่สนิ้ สุด ไม่เห็น แก่ตวั เพือ่ ความอยูร่ อดด้วยการลดโอกาสของการ พ่ายแพ้ให้น้อยที่สุด การให้ ค งไม่ จ� ำ เป็ น ต้ อ งรอการให้ เ พี ย บ พร้อมจนเกินไป เราอาจไม่เชื่อว่าการไม่พร้อมก็ สามารถเป็ น บุ ค คลที่ ส ามารถเป็ น ผู ้ ใ ห้ ไ ด้ โ ดย สมบูรณ์ เฉินซู่จวี้ แม่ค้าขายผักชาวไต้หวัน เป็น อีกบุคคลหนึ่งที่พิสูจน์ให้คนทั่วโลกได้เห็นว่าคนที่ มีฐานะที่อาจเรียกได้ว่ายากจนก็สามารถเป็นผู้ให้ เหมือนเศรษฐีคนอื่นๆ ได้ โดยที่ไม่ต้องรอให้มี ฐานะขึน้ มาก่อน ชีวติ ของเธอท�ำงานหนักมาตัง้ แต่ เด็ก ถึงขัน้ ท�ำงานจนไม่มลี ายนิว้ มือและกินข้าววัน

ละมื้อ ใช้เงินวันละเล็กน้อย แต่บริจาคเงินช่วย เหลือผูอ้ นื่ ไปแล้วร่วมสิบล้าน น่าตกใจใช่ไหมครับ ในฐานะแม่ค้าขายผัก จนกระทั่งนิตยสารไทม์ ยกย่องให้เธอเป็นร้อยบุคคลผูท้ รงอิทธพลของโลก ในปี 2010 และเป็นบุคคลยอดเยี่ยมแห่งปี 2010 ของเอเชีย เป็นต้น ยังมีอีกหลายเรื่องราวที่เกิดขึ้นจากการให้ ภายใต้ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงโลกที่มีจริงบนโลก ใบนีแ้ ละไม่ยากเกินไปทีเ่ ราจะหยิบน�ำมาใช้เพือ่ ส่ง ต่อไปยังบุคคลหรือสังคมที่อยู่รอบๆ ตัวเรา การส่งต่อทัง้ หมดทีก่ ล่าวมาจะเกิดขึน้ ถ้าเริม่ ที่ตัวเรา เหมือนกับ SE MAGAZINE ฉบับ “การให้” เล่มนี้ที่ผมก�ำลังจะส่งต่อไปยังผู้อ่าน ให้ได้สัมผัส ถึงเรื่องราวต่างๆ จากกลุ่มบุคคลและสังคมใน แวดวงของกิจการเพื่อสังคม มีหนึ่งจึงมีต่อ หากอ่านแล้วอย่าคิดที่จะให้ แต่ขอให้ลกุ ขึน้ มาท�ำ ในโลกของสังคมทีข่ าดแคลน ก�ำลังรอความช่วยเหลือในสิ่งที่เรามีและไม่มีอยู่ ก็ได้ครับ สุดท้าย ผมลืมบอกไปว่า ทฤษฎีการเปลีย่ น แปลงโลกของ Catherine Ryan Hyde มีชื่อว่า “Pay it Forward” ครับ

OCTOBER-DECEMBER ISSUE SEMAG

11


CLEAR-CUT

Energy of Minority ส่งต่อบุคคล การเปลี่ยนแปลงที่ยิ่งใหญ่สามารถเริ่มจากจุดเล็กๆ ได้เสมอจากกลุม่ บุคคลทีม่ คี วามตัง้ ใจทีจ่ ะมอบสิง่ ดีๆ ให้แก่สังคมโดยน�ำเรื่องราวในอดีต เรื่องราวใกล้ตัว ปัญหา และความคิดเห็นมาสร้างเป็นแรงผลักดันให้ เป็นแรงขับเคลือ่ นต่อตัวเองแล้วค่อยๆ ขยับขยายไป สูห่ นทางต่อการเปลีย่ นแปลง ทัง้ การพัฒนาทางด้าน ความคิดและจิตใจ ๑4๑ (one-for-one) ตั้งใจ ออกแบบของเล่นเพื่อเด็กในวันนี้จะเติบใหญ่เป็น ผู้ใหญ่ในวันหน้าได้อย่างแข็งแรง การมีหนังสือดีๆ จากปัญหาทางเลือกทีข่ าดแคลนในอดีต สวนเงินมีมา กลายเป็นส�ำนักพิมพ์ทางเลือกทางอาหารสมองให้แก่ หนอนหนังสือและคนทั่วไป การท�ำวิชาคณิตศาสตร์

12

SEMAG OCTOBER-DECEMBER ISSUE

ให้มีเสน่ห์ผ่านเกมการเล่นโดยได้รับแรงบันดาลใจ จากการเล่นเกมในอดีตอย่าง Math Game และ การน�ำงานศิลปะมาบ�ำบัดต่อเด็กด้อยโอกาสอย่าง Children Mind & Child Gallery ทั้งหมดที่เอ่ย ถึงล้วนเป็นเพียงคนกลุ่มหนึ่งเท่านั้นที่เลือกท�ำในสิ่ง ที่พวกเขาสนใจ เพียงแต่ทั้งหมดที่พวกเขาท�ำ ไม่ได้ มองว่าตัวเองเป็นผู้รับเพียงอย่างเดียว แต่ในขณะ เดี ย วกั น พวกเขาก็ ด� ำ รงในสถาณะผู ้ ใ ห้ ซึ่ ง จะ เปลีย่ นแปลงได้มากน้อยแค่ไหนเราเชือ่ ว่าค�ำตอบของ บุคคลกลุ่มนี้ก�ำลังจะเกิดขึ้นจากบรรทัดแรกที่เรา เขียนขึ้นมาถึงพวกเขาแล้ว


OCTOBER-DECEMBER ISSUE SEMAG

13


CLEAR-CUT

SPECIAL PROMOTION

GIFT SET : Play Set รายละเอียด : นาฬิกาพร้อมชุดของเล่นทีใ่ ห้ครอบครัวช่วยกันท�ำกับลูกตัง้ แต่ กระบวนการที่ไม่สมบูรณ์อย่างการช่วยขัดผิวไม้ให้เรียบ ลงสีให้สวย และ ประกอบให้สมบูรณ์ เชือ่ ว่ากระบวนการระหว่างท�ำของเล่นชุดนีจ้ ะท�ำให้เกิด ความผูกพันระหว่างเด็กกับคนในครอบครัว ราคา : 1,000 บาท

The Missing Piece

ช่องว่างแห่งการให้ ๑4๑

เด็กในวันนี้คือผู้ใหญ่ในวันหน้า ประโยคที่เก่าแก่และไม่เคยเสื่อมคลาย เพราะนั่นคือ ข้อเท็จจริงที่มนุษย์ทุกคนเคยผ่านช่วงเวลาของวัยเหล่านั้นมาแล้ว รวมไปถึงของเล่น ในวัยเด็กของแต่ละคนทีไ่ ม่วา่ เวลาจะผ่านไปนานแค่ไหน หากเรามองย้อนกลับไป ของ เล่นในแต่ละชิ้นก็มักท�ำให้เรามีรอยยิ้มได้เสมอ พีอ่ ว้ น-คมกฤช กับ พีแ่ พท-กฤติยา ตระกูลทิวากร เป็นคู่รักที่ชอบการออกแบบเหมือนกัน พี่อ้วน ท� ำ งานออกแบบรถยนต์ ส่ ว นพี่ แ พทท� ำ งาน ออกแบบเฟอร์นิเจอร์ และเมื่อทั้งคู่แต่งงานจน กระทั่งมีลูก และได้ส่งเข้าโรงเรียนที่มีหลักสูตร การสร้างความสมดุลของร่างกาย จิตใจ และ ปัญญา ดังนั้นเมื่อลูกยังอยู่ในวัยเด็ก พวกเขาจึง คิดค้นการสร้างของเล่นจากการใช้ทกั ษะทีม่ อี ยูใ่ น สายอาชีพการงาน ออกแบบเป็นของเล่นทีแ่ ตกต่าง จากท้องตลาดทัว่ ไป จากการใช้วสั ดุไม้ยางพาราง ที่หมดอายุการใช้งานให้ลูกและเด็กๆ อีกหลาย คนได้สัมผัสกับพื้นผิวของธรรมชาติเพื่อต่อยอด จินตนาการจากสัดส่วนที่หายไปจากของเล่นบาง ประเภท นอกจากการออกแบบแล้ว สีจากของเล่น 14

ยังแสดงถึงความอ่อนโยนเหมือนเจตนาของพวก เขาทั้งสอง ที่เชื่อว่าสิ่งที่พวกเขาท�ำอยู่เหมาะแก่ วัยเด็กทีก่ ำ� ลังอยูใ่ นช่วงเรียนรูส้ งิ่ ต่างๆ งานของเขา ทัง้ สองยังได้ออกแบบเพื่อให้เกิดการให้แบบส่งต่อ ไปเรื่อยๆ จากช่องว่างของเฟอร์นิเจอร์ที่เมื่อคน หนึ่งซื้อ สัดส่วนที่หายไปจะไปตกอยู่ที่ผู้รับอีกคน หนึ่ง ด้วยวิธีออกแบบรอยฉลุให้กลายเป็นช่องว่าง แห่งการให้ ทั้งสองเชื่อว่าการให้ในลักษณะนี้จะ เป็นการเติมเต็มสังคมให้เกิดการให้อีกแบบหนึ่ง และหวังว่าผูซ้ อื้ และผูร้ บั ในอดีตทีเ่ คยผ่านของเล่น ชุดเดียวกัน สักวันหนึง่ จะเกิดการตามหาเพือ่ เติมเต็ม จากช่องว่างและสัดส่วนที่หายไปซึ่งกันและกัน ทั้งหมดคือของเล่นส�ำหรับเด็กและสังคมที่ชื่อว่า ๑4๑

SEMAG OCTOBER-DECEMBER ISSUE

แรงสนับสนุน

สิ่งที่คนให้การสนับสนุนคือเสน่ห์ของการให้ ก่อนที่เราจะท�ำตรงนี้เราแอบมีความหวังว่าใน ฐานะผูบ้ ริโภคเวลาเราจะซือ้ ของสักอย่างหนึง่ จะมี ตัวเลือกมากมาย ในขณะเดียวกันเราก็แอบหวังว่า สินค้าแห่งการให้จะเป็นตัวเลือกทีเ่ ขาคิดถึงแทนที่ เขาจะไปซื้อของน�ำเข้า เพราะของเราเป็นของที่ ออกแบบให้เหมือนของน�ำเข้า เป็นผลิตภัณฑ์ของ ตกแต่งบ้านอย่างที่คั่นหนังสือ นาฬิกา และชุด DIY ที่เน้นการออกแบบให้มีช่องว่างของการให้ ที่ จะส่งต่อชิ้นส่วนที่หายไป เป็นของเล่นเด็ก ซึ่งนั่น คือ สินค้าแห่งการให้ในชุมชน ให้ในประเทศ แอบหวังว่าสินค้าแห่งการให้จะเกิดขึน้ ในกระแสได้ โดยเราจะน� ำ ของเล่ น ใส่ ก ล่ อ งไปแล้ ว เขี ย นชื่ อ


ของเล่น คือ อาหารใจ ที่เป็นส่วนเติมเต็มให้ กับเด็กและผู้ใหญ่

ผู้สนับสนุนที่ซื้อสินค้าของเราไปแต่เราจะไม่เขียน ค�ำว่า “ลูกค้า” เราแทนด้วยค�ำว่า “คนใจดี” ก็จะ มีรายชือ่ คนใจดีทงั้ หมดติดอยูใ่ นกล่อง เมือ่ เด็กได้ ของเล่นเราก็จะเห็นรอยยิม้ ของพวกเขาซึง่ มันเป็น อะไรที่มีคุณค่ามากต่อการเติมเต็มให้พวกเขา

สิ่งที่สังคมจะได้รับ

ระหว่างที่จะท�ำให้ของเล่นชิ้นนั้นสมบูรณ์ ซึ่งเราก็ มีวสิ ยั ทัศน์ตอ่ การเล่นของเล่นแบบ Slow Play เล่น แบบช้าๆ มีความสุขแบบง่ายๆ ทุกอย่างไม่ต้อง ฉูดฉาด หวือหวา ของเล่นบางอย่างมันคิดเยอะจน ไม่มีช่องว่างส�ำหรับการต่อจินตนาการเลย ซึ่งถ้า แบบนี้เด็กๆ มีความสุขได้อีกหน่อยเขาก็จะมอง หาความสุขง่ายขึ้น

๑4๑ ผูด้ แู ลกิจการ: คมกฤช ตระกูลทิวากร, กฤติยา ตระกูลทิวากร ที่ตั้ง: 294/24 ถนนร่มเกล้า 1 แขวง คลองสามประเวศน์ เขตลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520 ติดต่อ: 08 1490 5711, 08 1615 0235 เว็บไซต์: www.141.in.th

ความผูกพันกันในครอบครัวที่มาร่วมกันท�ำ ของเล่นในชุดที่เราตั้งใจให้มันเกิดกระบวนการ OCTOBER-DECEMBER ISSUE SEMAG

15


CLEAR-CUT

SPECIAL PROMOTION

GIFT SET : ปัญญาผูกโบว์ ดุลยภาพแห่งชีวิต รายละเอียด : สู่วัยชราอย่างมีศิลปะ (ผู้เขียน: จอห์น เลน, ผู้แปล: สายพิณ กุลกนกวรรณ ฮัมดานี) ศิลปะการปฏิบัติสมาธิ (ผู้เขียน: มาติเยอ ริการ์, ผู้แปล: สดใส ขันติวรพงศ์) เข็มทิศจิตวิญญาณ (ผู้เขียน: สาทิส กุมาร, ผู้แปล: สายพิณ กุลกนกวรรณ ฮัมดานี) ราคา : ปกติ 550 บาท ลดเหลือ 440 บาท

Food for Thought

อาหารเสริมในร้านหนังสือ ‘สวนเงินมีมา’

ในกระแสทีร่ า้ นหนังสืออิสระก�ำลังจะถูกกลืนกินจากระบบธุกจิ หนังสือทีถ่ กู ผูกขาดโดย ร้านหนังสือเจ้าใหญ่ ท�ำให้ทางเลือกของผูบ้ ริโภคอาจลดน้อยลงทีจ่ ะได้อา่ นหนังสือดีๆ หรือหนังสือเฉพาะทาง ซึง่ นอกจากร้านหนังสืออิสระจะเป็นร้านเฉพาะของคนบางกลุม่ แล้ว มันยังเป็นสถานที่นัดรวมตัว พูดคุย พบปะและเป็นแหล่งค้นคว้าหาความรู้จน กลายเป็นหอสมุดเล็กๆ ของใครหลายๆ คน ส�ำนักพิมพ์สวนเงินมีมา เป็นหนึ่งในร้าน หนังสืออิสระทีเ่ ข้าข่ายจะได้รบั ผลกระทบต่อกระแส ทีเ่ กริน่ มาข้างต้น แต่คณ ุ วัลภา แวนวิลเลียนส์วาร์ด เจ้าของและผู้ก่อตั้งส�ำนักพิมพ์ยังเชื่ออยู่ว่าร้าน หนังสือร้านนี้ยังจะสามารถอยู่ได้ด้วยประโยชน์ที่ สร้างทางเลือกให้แก่กลุม่ คนหลายๆ กลุม่ ได้อย่าง แน่นอน ตามวัตถุประสงค์หลักของร้านทีเ่ น้นการ เสริ ม สร้ า งภู มิ ป ั ญ ญาและผลิตสินค้าดีๆ โดย เฉพาะการได้เขยิบจากการท�ำหนังสือที่เป็นเรื่อง หลักมาท�ำสินค้าสีเขียวทีส่ วนเงินมีมาก็เห็นความ ส�ำคัญเท่าๆ กัน ซึ่งพยายามที่จะโยงระหว่างผู้ บริโภคในเมืองกับเกษตรกรมาเป็นสมาชิกกันผ่าน การจัดกิจกรรมต่างๆ ส�ำหรับหนังสือของสวนเงินมีมานั้นมีหลาย 16

หมวดทีน่ า่ ใจ อาทิ หมวดศาสนา ธรรมะร่วมสมัย, กระบวนทัศน์การศึกษาธรรมชาติ และธุรกิจใน แนวคิดใหม่ เป็นต้น ทั้งหมดเป็นสิ่งที่ส�ำนักพิมพ์ สวนเงินมีมาพยายามที่จะสร้างทางเลือกให้กับผู้ บริโภคเพื่อได้รับอาหารทางสมองมากยิ่งขึ้น

แรงสนับสนุน

หนังสือของส�ำนักพิมพ์สวนเงินมีมาเข้าได้กบั คนทุกกลุม่ ซึง่ มันอาจเกิดแรงสนับสนุนจากการได้ อ่านหนังสือ เวลาเราบริโภคหนังสือมันบ่มเพาะ โลกภายในของเราให้เจริญงอกงาม ชีวติ เรียบง่าย จะเกิดได้ การที่เราจะละทิ้งชีวิตให้มันน้อยหน่อย มันต้องมีความรวยอยู่ข้างใน ท�ำไมชีวิตจะต้องไป หาแบรนด์สนิ ค้าเพราะว่าโลกภายในมันพร่อง เรา

SEMAG OCTOBER-DECEMBER ISSUE

ก็ต้องเติมด้วยโลกภายนอก ทีนี้เราให้คนอ่าน หนั ง สื อ ดี มี คุ ณ ภาพ เราเชื่ อ ว่ า เขาจะมี เ กราะ ป้ อ งกั น ที่ แ ข็ ง แรงจากข้ า งในที่ จ ะต่ อ สู ้ กั บ โลก ภายนอกได้ มันจะสร้างความรู้สึกอิ่มใจ คือไม่ใช่ พออย่างเดียว มันอิ่มข้างในถึงจะมีชีวิตเรียบง่าย เป็นชีวิตน้อยๆ หน่อยได้ แต่ถ้าเราอ่านหนังสือ แบบเร็วๆ แบบไอแพด เราไม่ได้ปฎิเสธนะ แต่ ว่าการอ่านแบบนี้มันจะสร้างสมาธิให้เราสั้น การ อ่านมันเป็นผลกระทบอย่างหนึง่ เวลาเราอ่าน เรา ต้องเงยหน้าขึ้นมองและก็คิดทบทวนหรือแม้แต่ บางทีกอ็ ยากขีดเส้นใต้ แต่สำ� หรับสือ่ อิเล็กทรอนิกส์ มั น ขาดความลึ ก ซึ้ ง ตรงนี้ ไ ปเหมื อ นกั น นะ มี หนังสือเล่มหนึง่ พูดเรือ่ งความตืน้ เขิน พูดถึงว่าคน รุน่ ใหม่ทอี่ ยูก่ บั สือ่ อิเล็กทรอนิกส์ทฉี่ บั ไว สร้างสาระ


เราเป็นหนี้บุญคุณ ของคนรุ่นก่อนจาก หนังสือ ดังนั้นเราอยาก ให้คนรุ่นนี้ได้ประโยชน์ จากหนังสือเหมือน คนรุ่นเรา จากสิ่งที่ไวๆ เป็นภาพหมด บางทีเราลืมไปว่า ความลึกซึ้ง บางอย่างมันจะช่วยให้เราจัดการกับ ชีวติ ได้ เวลาเรายืนอยูก่ บั การทีเ่ ราไม่รจู้ ะตัดสินใจ อย่างไร โลกข้างในการอ่านมันช่วยส่งเสริมก�ำลัง ใจให้เรา แต่อินเตอร์เน็ตมันจะไวไปหมดและคน รุน่ ใหม่จะไม่มภี มู คิ มุ้ กัน ไม่มพี ลังชีวติ ทีจ่ ะผลักดัน ตัวเองในเวลาที่ตัวเองมีปัญหา ในชีวิตเราย่อมมี ทุกข์ มีสุข ยามที่เรามีทุกข์ หนังสือจะช่วยให้เรา คลี่คลายชีวิตได้ หนังสือบอกแนวคิดบางอย่าง บอกชีวิตตัวละครบางเรื่องที่ท�ำให้เราเข้าใจและ ท�ำให้เราคลี่คลายตัวเองได้ แม้มันไม่ได้บอก ไม่ ได้ให้ค�ำตอบตรงๆ แต่การที่เราโยงตัวเรากับตัว ละครในหนังสือ มันท�ำให้เราได้ฉุกคิดแล้วเราแก้ ปัญหาชีวิตได้ ในโลกอิเล็กทรอนิกส์เราไม่รู้นะ

บางทีมันเร็วเกินไป ท�ำให้เราโฟกัสชีวิตไม่ได้

สิ่งที่สังคมจะได้รับ

ถ้าเราคิดว่าหนังสือคือการศึกษาความรู้ แล้ว มันเป็นการศึกษาในความหมายกว้างด้วย มัน ไม่ใช่การศึกษาในโรงเรียนอย่างเดียว ถ้าเราบอก ว่าหนังสือคือการศึกษาเป็น Life Long Learning มันจะอยู่กับเราได้ตลอด เราอ่านแต่ละช่วงวัยไม่ เหมือนกัน เรายิง่ พบว่าหนังสือบางเล่มช่วยเรามาก หนังสือทีม่ คี ณ ุ ค่าแบบนีม้ นั จะน้อยลงเรือ่ ยๆ ระบบ ธุรกิจหนังสือจะเข้ามา แล้วบอกว่าหนังสือที่อ่าน ง่ายขายคล่อง ส�ำนักพิมพ์ทที่ ำ� หนังสือดีๆ จะไม่มี ที่อยู่ ถ้าคนอ่านหรือผู้บริโภคเข้ามาเจอตรงนี้เข้า ถ้าเขาเป็นส่วนหนึง่ ของการซือ้ หนังสือสวนเงินมีมา

บริษัท สวนเงินมีมา จ�ำกัด ผูด้ แู ลกิจการ: วัลภา แวนวิลเลียนส์วาร์ด ที่ตั้ง: 77-79 ถนนเฟื่องนคร แขวงวัดราชบพิตร เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 ติดต่อ: 0 2622 0955, 0 2622 0966 เว็บไซต์: www.suan-spirit.com, www.thaigreenmarket.com เขาเป็นส่วนหนึ่งของการสนับสนุนส�ำนักพิมพ์ หรื อ กิจ การเล็กๆ แบบนี้ที่ท� ำ ด้ วยความรั ก หนังสือ เห็นหนังสือเป็นการศึกษาในความ หมายกว้าง เขาจะมีส่วนช่วยสนับสนุนอาหาร สมองและปัญญา เพราะดังนั้นถ้าเราไม่อยาก ให้สติปัญญาของสังคมฟ่อไป เราจะเป็นส่วน หนึง่ ของสังคม ไม่ใช่ไม่รหู้ นังสืออ่านได้ แต่ตอ้ ง อ่านสังคมให้แตก เราอยากให้คนอ่านสังคมให้ แตกและเท่าทันจากการได้บทเรียนจากหนังสือ เท่ า ทั น ชี วิ ต เท่ า ทั น สั ง คม เพราฉะนั้ น ถ้ า สนับสนุนสวนเงินมีมา หมายความว่าจะช่วย ให้เรามีก�ำลังผลิตหนังสือดีๆ เพื่อเป็นอาหาร สมองให้คนรุ่นต่อๆ ไป

OCTOBER-DECEMBER ISSUE SEMAG

17


CLEAR-CUT

SPECIAL PROMOTION

GIFT SET : ONE FOR ONE รายละเอียด : เป็นชุดเกมกระดาน 3 อย่างด้วยกัน ประกอบไปด้วย 1.Othello Game 2.Hexa Game 3.Sudoku Color Game หากท่านใดซือ้ เกมชุดนีไ้ ปแล้วหนึง่ ชุดจะถือเป็นการได้มอบเกมทีท่ า่ น ซือ้ ในชุดเดียวกับไปมอบทีบ่ า้ นพักคนชรา เพือ่ ให้พวกเขาได้มกี จิ กรรมเล่น ในยามว่าง เพราะ Math Game Center เล็งเห็นถึงผลประโยชน์ของเกม ที่มีต่อผู้สูงวัยที่จะท�ำให้ไม่เกิดอาการสมองเสื่อม ราคา : 499 บาท

MIX AND MATH

เกมคณิตส่วนผสมที่ลงตัว ‘Math Game Center’ หนึง่ ในวิชาทีเ่ ด็กไม่ชอบมากทีส่ ดุ นัน่ คือ วิชาคณิตศาสตร์ และจะท�ำอย่างไรทีจ่ ะให้วชิ า ทีข่ นึ้ ชือ่ ว่าน่าเบือ่ และเอาแต่ทอ่ งจ�ำนีใ้ ห้กลายเป็นวิชาทีม่ เี สน่หแ์ ละน่าเรียนรูม้ ากยิง่ ขึน้ ครูกุ้ง ธรณ จันทร์อัมพร ผู้ออกแบบเกมเพื่อเป็นหลักสูตรการเรียนคณิตศาสตร์ ผ่านการเล่นเกมต้องการที่จะสร้างความเข้าใจใหม่ในประโยคแรกที่เราได้เอ่ยถึงวิชา คณิตศาสตร์วา่ ความสนุกในการเรียนจะเกิดขึน้ ถ้าเราเข้าใจธรรมชาติของคนเล่นและ การน�ำเสนอของวิชาคณิตศาสตร์ ครูกงุ้ เติบโตมาในครอบครัวทีท่ �ำการค้าขาย โดยเฉพาะการได้ยนื ช่วยแม่ของเธอขายของ และ รับทอนเงินอยู่เสมอ แต่แล้ววันหนึ่งเธอก็ประสบ ปัญหาเหมือนเด็กทั่วไปคือการไม่เข้าใจการหา ผลลัพธ์ของค�ำตอบวิชาคณิตศาสตร์ จนกระทั่ง เย็นวันหนึ่งได้ไปถามแม่ของเธอต่อโจทย์เลขที่ ได้รับ แม่ของครูกุ้งน�ำเหรียญบาทที่ขายของได้ มาวางและได้สอนให้เธอเห็นและเข้าใจถึงผลลัพธ์ ที่ได้ จากไม่ชอบกลายเป็นหลงรักเพราะความ เข้ า ใจในวิ ช าคณิ ต ศาสตร์ จึ ง ท� ำ ให้ เ กิ ด เกม กระดานอย่าง MATH GAME CENTER ขึ้นมา เธอได้ใช้ควบคู่ไปกับการสอนเด็กนักเรียนไปด้วย จากสาเหตุหลักเดียวกับเธอทีเ่ ด็กเรียนคณิตศาสตร์ 18

แล้วรู้สึกเบื่อ และคิดว่าระบบการสอนแบบเดิมไม่ สร้างสรรค์ การทดลองของเธอกับเกมที่เตรียมมา จึงได้ผล ท�ำให้นักเรียนรู้สึกสนุกและส่งผลให้เด็ก หลายคนเริม่ มีพฒ ั นาการความคิดทางตรรกะมาก ขึน้ ซึง่ สือ่ การสอนแบบนีเ้ ริม่ เผยแพร่ไปยังสถาบัน การศึกษาต่างๆ และไม่ได้มลี กั ษณะทีซ่ บั ซ้อนมาก จนเกินไปต่อความเข้าใจ ทั้งหมดจึงเกิดเป็นรูป กิจการเพื่อสังคมที่สร้างความแตกต่างต่อเกม ประเภทอื่นๆ ที่สอนให้เด็กมีความคิดและเคารพ กฎกติกามารยาทในสังคมทีส่ อดแทรกไปในเกมที่ เป็นการปลูกฝังจากพื้นฐานเล็กๆ ในเกมกระดาน ทีอ่ าจมีผลท�ำให้สงั คมในอนาคตเข้าใจการอยูร่ ว่ ม ในสังคมเดียวกันมากยิ่งขึ้น

SEMAG OCTOBER-DECEMBER ISSUE

แรงสนับสนุน

คนสนับสนุนเพราะตัวของเกมเองที่ให้ทักษะ ต่างๆ ทางความคิด การวางแผน เราไม่เคยบอก เลยว่ า เกมนี้ มั น เพื่ อ สั ง คมหรื อ เพื่ อ อะไรทั้ ง สิ้ น อย่างทีจ่ ฬุ าฯ เคยน�ำเข้าไปจ�ำหน่ายบอกว่ากระแส ตอบรับดี กล่องสวย เกมน่าเล่น ราคาโอเค ฝึกให้ เราคิดเป็นระบบ เป็นที่ยอมรับของตลาด สรุปมัน เกิดเพราะประโยชน์ของมันเอง เขาซื้อกันเขาก็ไม่ ได้รับรู้ว่าเพื่อสังคมอะไรขนาดนั้น แต่ส� ำหรับ โปรโมชั่น One for One ของคนชราเราเพิ่งได้ ไอเดียมา ปีหนึ่งเราเอาไปให้เขาครั้งสองครั้งมัน จะได้กันสักเท่าไหร่เชียว แต่ถ้าโปรเจคนี้มันใช้ได้ เขาก็อาจจะได้รับมากขึ้น


การละเล่นมันเป็นการเรียนรู้ของ มนุษย์ ถ้ามีการละเล่นในการ เรียนรู้นั้น การเรียนรู้จะได้ผล

สิ่งที่สังคมจะได้รับ

จริ ง ๆ แล้ ว มนุ ษ ย์ เ ราลื ม ไปแล้ ว ว่ า เอา คณิตศาสตร์มาใช้ในชีวิตประจ�ำวัน เราใช้เครื่อง คิดเลขเครือ่ งทุนแรงเป็นหลัก คนถามว่าเรียนการ ประมาณเอาไปท�ำอะไร ไม่เห็นใช้อะไรเลย เราก็ บอกจริงเหรอ นักลงทุน นักเล่นหุ้นเขาใช้ศาสตร์ นี้เป็นอันดับหนึ่งเลยรับประกัน ไม่เช่นนั้นเขาจะ มองพอร์ตได้ยังไงว่าตัวไหนท�ำเงิน เพราะฉะนั้น ตรรกะนี่ต้องใช้ การคิดเปอร์เซ็นต์ ก�ำไร ก็จ�ำเป็น เพราะคุณอาจจะโดนโกงราคาก็ได้ นีค่ อื ทุกวันของ ชีวติ เลขใช้ได้แต่คนไม่ใช้ ส่วนเกมนัน้ แยกระหว่าง เกมคอมพิวเตอร์กบั เกมกระดาน เกมคอมพิวเตอร์ เล่นเมื่อไหร่ก็ได้และมีคนเล่นด้วยเสมอ แต่เกม กระดานมั น ดี ต รงที่ ก ารเล่ น เกมไม่ ไ ด้ ส อนแค่

Math Game Center ผู้ดูแลกิจการ: ธรณ จันทร์อัมพร ที่ตั้ง: ศูนย์เล่นเกมคณิตศาสตร์ 33 ถนนสุคนธสวัสดิ์ ลาดพร้าว 71 เขตลาดพร้าว กรุงเทพฯ 10230 ติดต่อ: 08 1732 1572 เว็บไซต์: www.mathgamecenter.com, www.facebook.com/ mathgamecenter.mgc

ตรรกะในเกม สอนมารยาท สอนการรู้แพ้รู้ชนะ เพราะเวลาเราเล่นกับคอมพิวเตอร์รู้แพ้ชนะ เรารู้ อยูค่ นเดียว แต่เมือ่ ไหร่ทเี่ ราเล่นกับคน เราจะรูส้ กึ ว่าแพ้ไม่ได้ แต่ถา้ แพ้แล้วเราก็จะเคารพซึง่ กันและ กั น เคารพในกติ ก า แต่ ก็ มี เ ด็ ก ที่ มี ค วามคิ ด สร้างสรรค์นะ บอกว่า ถ้าแก้หรือเพิ่มกฎนี้เข้ามา เขาก็อาจจะชนะได้ แต่เราก็ตอ้ งดูวา่ มันเหมาะสม หรือไม่ ถ้ามันโอเคเราก็ไม่ได้ไปปิดกัน้ ต่อความคิด สร้างสรรค์ของเด็ก แต่ถา้ กติกาเพือ่ ตัวเองสร้างขึน้ มาเรื่อยๆ เราก็ต้องหยุด ซึ่งผู้ใหญ่ในสังคมบ้าน เพื่ อ ให้ สั ง คมสงบ เพื่ อ ให้ เ ราอยู ่ ร ่ ว มกั น ได้ เราก็เป็นกันอยูน่ ะ สร้างกติกามาเพือ่ ให้ตวั เองชนะ แต่ ชี วิ ต ไม่ มี ก รอบก็ ไ ด้ ใ นบางเรื่ อ งแต่ ไ ม่ ใ ช่ นี่คือ คุณค่าของเกม ต้องหัดรู้จักเคารพผู้อื่น ทุกเรือ่ ง เคารพกฎ กติกามีไว้เพื่อให้สังคมสงบ บางคน บอกตีกรอบ ใช่เพราะกรอบบางกรอบมันจ�ำเป็น OCTOBER-DECEMBER ISSUE SEMAG

19


CLEAR-CUT

SPECIAL PROMOTION

GIFT SET : รูปร่างความสุข รายละเอียด : โปสการ์ดแห่งความสุข ราคา : 199 บาท

CHILD GALLERY

เข้าใจเด็กผ่านศิลปะ ‘CHILDREN MIND’

ในสังคมที่เต็มไปด้วยเด็กเร่ร่อนที่ด้อยโอกาสทั้งทางที่อยู่อาศัย การกิน การศึกษา ฯลฯ ซึง่ ปัญหาการขาดแคลนเหล่านีล้ ว้ นบีบบังคับเส้นทางให้พวกเขาเดินไปยังในโลก ที่มืดมัวอย่าง การลักทรัพย์ การติดยาเสพติด ซึ่งหากศึกษาดูแล้วทุกอย่างเป็นผล กระทบแบบระบบห่วงโซ่ที่เราควรเริ่มต้นด้วยการแก้ไขปัญหาด้วยการมอบโอกาสให้ เด็กเหล่านี้อย่างไรในสายขององค์กรที่ชื่อว่า CHILDREN MIND CHILDREN MIND เกิดขึน้ จากการรวมตัวของ คนสามคนทีม่ าจากสามสาขาวิชาชีพ คือ จิตวิทยา, ศิ ล ปะและสื่ อ สารมวลชน โดยมี แ กนหลั ก ที่ สนใจเรือ่ งของการศึกษาเด็กโดยน�ำศาสตร์ทางศิลปะ เข้ามาบ�ำบัด คือ คุณนิม่ -นิภาภรณ์ แสงสว่าง หนึ่งใน สามผู้ก่อตั้งองค์กร จากการได้เข้าไปพบปัญหา ของเด็กส่วนใหญ่ที่เธอสัมผัสคือสภาพจิตใจที่ ย�่ำแย่ ดังนั้นเธอจึงมุ่งไปที่การแก้ไขจากภายในสู่ ภายนอกนัน่ คือ การน�ำศิลปะทีไ่ ด้ศกึ ษามาเข้าไป ฟื้นฟูสภาพจิตใจให้เด็กเหล่านี้ก่อน ซึ่งเธอเชื่อว่า ศิลปะที่เธอให้เด็กๆ เหล่านี้ได้ทดลองวาดภาพ ระบายสี ปั้นงาน และออกแบบ จะสามารถ บ่งบอกอารมณ์และความคิด ที่จะท�ำให้เธอและ เพื่อนร่วมงานสามารถที่จะเข้าใจปัญหาและมี หนทางที่ช่วยบรรเทาต่อพฤติกรรมที่ก้าวร้าวและ 20

สนับสนุนเลยด้วยซ�้ำน่าจะเห็นศักยภาพของเด็ก กลุ่มเหล่านี้มากขึ้น ว่าเขาไม่ใช่เด็กเร่ร่อนไปวันๆ ที่ ไ ม่ มี ค วามสามารถแต่ เ ขามี ฝ ี มื อ ทางศิ ล ปะ ถ่ายรูป ท�ำหนังได้ การที่ได้น�ำงานของเขามา เผยแพร่และจ�ำหน่ายมันถือเป็นการเปิดเวทีให้เขา มีตวั ตนบนโลกใบเดียวกับเรานะ เราต้องเปิดพืน้ ที่ ให้เหมาะสมกับเขา ถ้ามันเกิดการยอมรับผ่านการ ซื้อหรืออะไรต่างๆ ก็ตามเขาจะมีก�ำลังใจและ ปัญหาต่างๆ จะน้อยลงและเราควรมองพวกเขา อย่างเด็กธรรมดาคนหนึ่ง ไม่ว่าเขาจะประกอบ อาชีพอะไรก็ตามเราก็ควรให้เกียรติเขา บางครั้ง มั น อาจจะไม่ ดี แ ต่ เ ราก็ ต ้ อ งมองให้ ลึ ก เข้ า ไป มากกว่านั้นว่าเหตุผลอะไรที่ท�ำให้เด็กเหล่านี้ต้อง แรงสนับสนุน หนีออกจากบ้าน การที่จะช่วยเหลือบ�ำบัดและ คิดว่าคนสนับสนุนหรือคนในสังคมที่ไม่ได้ เยียวยาเด็กพวกนีต้ อ้ งอาศัยความเข้าใจสูงมากซึง่ อารมณ์ทรี่ นุ แรงได้ รวมไปถึงการน�ำผลงานศิลปะ ของเด็กด้อยโอกาสเหล่านี้ที่เธอเรียกว่า “เด็กชาย ขอบ” น�ำไปเป็นสินค้าเพือ่ แปรเป็นรายได้ให้กบั เด็ก และส่งคืนสู่เจ้าของผลงาน เธอยังมองอีกว่านอก จากศาสตร์ศิลปะที่มาช่วยบ�ำบัดและสร้างรายได้ ให้กับเด็กแล้ว ศิลปะยังคงเป็นเส้นทางที่ท�ำให้ เด็กๆ เหล่านี้ค้นหาตัวตนและอาชีพในอนาคตได้ อีกด้วย ซึ่งเรามองเห็นว่าการด�ำเนินกิจการบวก กับแนวทางขององค์กรนี้ คือ การช่วยลดปัญหาที่ จะรุนแรงมากขึ้น หากเด็กกลุ่มนี้ไม่มีหนทางที่จะ เดินต่อเพือ่ อนาคตทีว่ นั หนึง่ พวกเขาจะต้องเติบโต เป็นผู้ใหญ่ในวันข้างหน้า

SEMAG OCTOBER-DECEMBER ISSUE


การให้โอกาสคน มัน คือการให้อย่างไม่มี สิ้นสุด ให้โอกาสคน สักคนเพื่อแก้ไขมันถือ เป็นการปรับเปลี่ยน ชีวิตที่ดีต่อเราต่อสังคม ต่อโลกเลยนะ

มันต้องใช้ระยะเวลา ถามว่าช่วยโดยการให้เงินได้ ไหม ได้...แต่ถามว่าเด็กจะสามารถหลุดออกจาก วงจรเหล่านั้นได้ไหม มันก็เป็นไปได้ยาก เพราะ ฉะนัน้ มันเป็นเรือ่ งทีแ่ ก้ไขยากอยู่ เพราะจริงๆ มัน เกิดมาจากสภาวะครอบครัวหรือผู้ใหญ่นั่นเอง ต้องให้โอกาสเขาเยอะๆ จนเด็กรู้สึกว่าเราไม่ได้ ตัดสินเขาเพียงครั้งเดียว

สิ่งที่สังคมจะได้รับ

ชีวิตเด็กเหล่านี้ติดลบกว่าคนอื่นๆ เยอะ ซึ่ง มันใช้เวลาในการเปลี่ยนแปลงเด็ก อย่างน้อยเขา น่าจะมองเห็นโลกอ่อนโยนขึ้น และก็ยังมองเห็น ผู้ใหญ่หรือคนอื่นๆ ที่ยังเข้าใจพวกเขาอยู่บ้าง ถ้า

เขามีศกั ยภาพพอเราก็พยายามดันให้เขาไปในทาง นั้น ให้เขาเห็นว่าศิลปะมันหล่อเลี้ยงชีวิตคุณได้ แทนที่จะไปเร่รอน ขายบริการ ขโมย ซึ่งเราก็จะ คัดเด็กว่าคนไหนมีแววเราก็จะถามความสนใจ ของเขา หากอยากเรียนก็จะพยายามติดต่อหา สถานทีเ่ รียนให้ซงึ่ เราก็จะดูความพร้อมของเด็ก

Children Mind ผูด้ แู ลกิจการ: นิภาภรณ์ แสงสว่าง ทีต่ งั้ : 122/10 นวมินทร์58 ถ. นวมินทร์ คลองกุ่ม เขตบึงกุ่ม กทม. 10240 ติดต่อ: 08 1584 3538 อีเมล์: animtime@gmail.com

OCTOBER-DECEMBER ISSUE SEMAG

21


CLEAR-CUT

Changing of Minority ส่งต่อชุมชน ใครว่าปัญหาไม่มที างออกเห็นว่าจะไม่ใช่ เพราะปัญหาได้ สร้างเส้นทางแห่งการแก้ไขหลากหลายมิตใิ ห้แก่สงั คม เพราะการจราจรทีต่ ดิ ขัดจึงเกิดกลุม่ BikeXenger ที่ บอกว่ า ไม่ ต ้ อ งไปมองผลกระทบว่ า จะเกิ ด ต่ อ สิ่ ง แวดล้อมแต่มันเกิดแล้วในตัวคุณ ปัญหาหนี้นอก ระบบกับขยะมูลฝอยในเขตชุมชนแฟลตดินแดงที่ ท�ำให้เกิดโครงการดีๆ อย่าง ธนาคารขยะออมทรัพย์ เหตุการณ์นำ�้ ท่วมครัง้ ใหญ่เมือ่ ปลายปี 2554 ทีท่ �ำให้ กลุ่มคนกลุ่มหนึ่งได้เล็งเห็นถึงความส�ำคัญต่อการ

22

SEMAG OCTOBER-DECEMBER ISSUE

ช่ ว ยเหลื อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ชุ ม ชนให้ มี ร ายได้ อ ย่ า ง ปลาจะเพียร และการเพิ่มช่องทางสนับสนุนให้เด็ก ด้อยโอกาสได้มีโอกาสทางการศึกษาจากการจัดตั้ง ร้านปันกัน เพื่อให้บุคคลทั่วไปได้มีส่วนร่วมมอบ โอกาสให้กบั เด็กๆ ไปพร้อมกับสินค้าเช่นกัน ปัญหา ทั้งหมดจะเกิดขึ้นและจะจบลงได้ก็ต่อเมื่อสังคมเริ่มมี จิตส�ำนึกต่อการช่วยเหลือผ่านค�ำสั้นๆ แต่ยิ่งใหญ่ ภายใต้ค�ำว่า “การให้”


OCTOBER-DECEMBER ISSUE SEMAG

23


CLEAR-CUT

SPECIAL PROMOTION

GIFT SET : CHRISTMAS DECORATION SET รายละเอียด : สายไฟดอกไม้ประดับต้นคริสมาส,พวงดอกไม้ (เล็ก-ใหญ่) ที่ ท�ำมาจากซองน�้ำยาปรับผ้านุ่ม และที่รองแก้วน�้ำ ราคา : 1,990 บาท

Product Life Cycle

ออมแบบไม่มีอด ธนาคารขยะออมทรัพย์

เรื่องราวที่ดูไม่เกี่ยวข้องต่อที่มาของธนาคารขยะออมทรัพย์ของผู้ก่อตั้งอย่าง คุณ ปุ๊ ฉัตรศนัน มาสว่างไพโรจน์ ที่วันหนึ่งร้านอาหารที่เธอชอบทานเป็นประจ�ำต้องปิดลง เพราะปัญหาหนี้นอกระบบ ท�ำให้เธอได้รับผลกระทบในฐานะผู้บริโภคที่ต้องการตอบ สนองความหิวโหย จากเรื่องราวเล็กๆ ในชุมชนจนเธอกลับมานั่งคิดทบทวนว่าผล กระทบที่เธอได้รับจากเหตุการณ์นั้น หากไม่แก้ไขและรักษาข้อต่อที่มีรอยร้าวต่อ ปัญหา เรื่องนี้อาจจะไม่ใช่แค่ตัวเธอที่หิวโหยแต่อาจเป็นชุมชนและสังคมโดยรอบที่ อาศัยอยู่ในระยะยาว ระยะเวลาที่เติบโตอยู่ในพื้นที่แฟลตดินแดง มาตัง้ แต่ปี 2522 เป็นธรรมดาทีจ่ ะเกิดความผูกพัน ต่ อ พื้ น ที่ แ ละผู ้ ค นในชุ ม ชน ปั ญ หาที่ ไ ด้ พ บ นอกจากหนี้นอกระบบแล้ว ยังมีปัญหาจากขยะ มูลฝอยจากการใช้ของชุมชนและผู้ด้อยโอกาสใน เรื่องของการศึกษา อาชีพ เป็นต้น ท�ำให้เธอได้ คิดถึงการแก้ไขระหว่างสองปัญหานี้ไปพร้อมๆ กัน จนกระทัง่ ได้สงั เกตถึงพฤติกรรมการขาดวินยั การออมของชุมชนและค่อยๆ เริ่มก่อร่างสร้าง แผนพัฒนาชุมชนเป็นรูปแบบธนาคารที่สามารถ น�ำขยะมาเก็บออมเพื่อแปรเปลี่ยนเป็นมูลค่าเงิน 24

บาทได้ และยังเล็งเห็นความส�ำคัญของการแปรรูป วัสดุขยะมูลฝอยเหลือใช้ให้กลายเป็นสินค้าจัด จ�ำหน่าย โดยได้รบั การช่วยเหลือจากจิตอาสาทีม่ า ถ่ายทอดความรูใ้ ห้แก่คนในชุมชนทีส่ นใจเพือ่ สร้าง รายได้และวิชาชีพต่อคนในชุมชนเอง

แรงสนับสนุน

สิ่งที่เราท�ำมันตอบโจทย์ นั่นคือการท�ำความ ดี คนทีม่ าสนับสนุนสินค้าทีน่ เี่ ขาก็คงมองว่าไหนๆ ก็ต้องจ่ายเงินอยู่แล้วก็เลือกเอาสิ่งที่มันมีคุณค่า และเปิดโอกาสให้กับคนด้อยโอกาสมากกว่า การ

SEMAG OCTOBER-DECEMBER ISSUE

ได้ให้โอกาส ได้ให้งานกับชุมชนได้ทำ� ต่อไป รูไ้ หม ว่าในเรือนจ�ำกว่าแปดสิบเปอร์เซ็นต์ติดคุกเพราะ ว่าเรือ่ งของยาเสพติด สาเหตุกเ็ พราะเดีย๋ วนีค้ นเรา ชอบท�ำงานง่ายๆ แต่มีเงินเยอะๆ นั่นเป็นความ คิดที่ผิดมาก เพราะตอนนี้สังคมก�ำลังหล่อหลอม ให้คนมีพฤติกรรมที่ฉาบฉวยมากเกินไป การที่ คนในชุมชนผลิตสินค้าแล้วมีคนเห็นคุณค่า จาก การสนับสนุนเพื่อไปให้คนใดคนหนึ่งหรือเพื่อเอา ไปท�ำอะไรสักอย่างกระบวนการเหล่านีม้ นั ส่งผลให้ คนในชุมชนรูส้ กึ ว่าตัวเองมีคณ ุ ค่าขึน้ มาเหมือนกัน นะ


เราไม่มีเงินทองอะไร มาให้ชุมชนนอกจาก หัวใจที่ตั้งใจว่าจะช่วย เหลือกัน

สังคมจะได้อะไร

อย่างน้อยคนจะได้จิตส�ำนึก แต่ส�ำนึกใน นั้นจะอยู่ในใจของพวกเขาและน�ำไปปฎิบัติหรือ เปล่าตรงนั้นอีกเรื่องหนึ่ง เพราะฉะนั้นใครมาคุย กับเราแล้วมาบอกว่า ธนาคารขยะออมทรัพย์เป็น แนวคิดที่ดีเราก็มักจะบอกกับเขาเสมอว่าแน่นอน มันจะดีมากถ้าคุณน�ำไปปฎิบตั ิ ผลดีไม่ได้อยูท่ เี่ รา มันอยู่ที่ตัวเขาเอง เรามีหน้าที่แค่บอกเขา เป็น ตัวอย่างให้เขาดู ถ้าคุณอยากได้ชีวิตที่ดีก็ต้องมา ศึกษาสิง่ ทีด่ แี ละน�ำไปท�ำซะ อย่างการท�ำกิจการที่ ท�ำอยู่เราก็พยายามศึกษาจากคนที่เขาประสบ

ความส�ำเร็จโดยศึกษาระหว่างทางทีเ่ ขาได้ผา่ นมา ว่าต้องมีความพยายาม ความมุมานะ ความอดทน นี่คือสิ่งที่เป็นหลักการง่ายๆ ที่สุดที่สังคมจะได้รับ หากเขามาศึกษาจริงๆ

ธนาคารขยะออมทรัพย์ (รวมมิตร2011) ผูด้ แู ลกิจการ: ฉัตรศนัน มาสว่างไพโรจน์ ที่ตั้ง: 2508/184 ถนนดินแดง แขวง ดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 ติดต่อ: 0 2642 9367, 08 1752 2443 เว็บไซต์: www.ruammit2011.com

OCTOBER-DECEMBER ISSUE SEMAG

25


CLEAR-CUT

SPECIAL PROMOTION

GIFT SET : Nature Set, Relaxing Basket รายละเอียด : เป็นชุดชาออร์แกนิกจากป่าที่ชุมชนดูแลในจังหวัดน่าน มีคุณสมบัติช่วยลดความเสี่ยง ต่อการเป็นมะเร็งและคอเลสเตอรอล พร้อมกับกระเป๋าสานจากเส้นพลาสติกที่ท�ำจากฝีมือของชุมชน ราคา : เฉพาะชุดชา 800 บาท, ชุดชาพร้อมกระเป๋าสาน 1,250 บาท

Social Impact

ว่ายไปช่วยเหลือ ‘ปลาจะเพียร’

แรงบันดาลใจยังเป็นสิ่งที่ส�ำคัญเสมอต่อการสร้างความเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่ก่อ ให้เกิดประโยชน์สว่ นร่วม ซึง่ โครงการปลาจะเพียรถือเป็นโครงการทีเ่ กิดขึน้ จากสาเหตุ ดังกล่าว ที่เป็นช่องทางต่อการเปิดโอกาสให้สินค้าของชาวบ้านในชุมชนอื่นๆ ได้มี โอกาสแสดงฝีมือและสร้างรายได้จากช่องทางเล็กๆ ซึ่งเต็มไปด้วยโอกาสและความ หวังจากแรงบันดาลใจที่อยากจะช่วยเหลือ กิจการเพื่อสังคม ปลาจะเพียร เริ่มขึ้นจาก ตอนหลังช่วงน�้ำท่วมปลายปี 2554 โดย ทรงกลด บางยี่ขัน บรรณาธิการนิตยสารอะเดย์ ได้ชักชวน คนที่รู้จักมาคิดว่าจะช่วยอะไรได้บ้างต่อชุมชนที่ เสียหาย โดยมีความต้องการอยากฟืน้ ฟู และส่งเสริม ผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น เพื่อสร้างงานและรายได้ให้ ชุมชน หลังจากนั้นเขาเลยตัดสินใจชวน TCDC ซึ่งเป็นศูนย์ออกแบบและการเรียนรู้ และองค์กร เพือ่ สังคมอย่าง Change Fusion มาร่วมโครงการนี้ ที่ ม าของชื่ อ ปลาจะเพี ย ร มาจากความ ต้องการชือ่ ทีจ่ ะสือ่ ถึงความเป็นไทย “ปลาตะเพียร” จึงผุดขึน้ มาในหัวของ ใครหลายๆ คน ซึง่ ถือเป็น สิ่งที่เป็นงานคราฟ์ของไทยที่เรามักเห็นได้ทั่วไป จากงานสานและได้มีการใช้ค�ำว่า “เพียร” เข้ามา เล่นค�ำ เพราะว่าต้องการให้ชุมชนในกลุ่มที่เรา 26

ต้ อ งการเข้ า ไปช่ ว ยเหลื อ จ� ำ เป็ น ต้ อ งมี ค วาม ต้องการอยากพัฒนา และหากอยากจะต่อยอด ต้องมีความเพียรพยายามและเน้นความสามารถ ทางความคิดสร้างสรรค์ ออกแบบ ให้สร้างสินค้า ของชุมชนเพื่อเพิ่มมูลค่าและสร้างโอกาสต่อการ จัดจ�ำหน่ายสินค้าภายในพืน้ ทีส่ ยามสแควร์ทที่ ำ� ให้ คนรุ่นใหม่และชาวต่างชาติได้เห็นสินค้าดีๆ จาก ชุมชนอีกด้วย โดยสินค้าของปลาจะเพียรจะมีทั้ง สินค้าแนวแฟชั่นและสปา ซึ่งคาดว่าในอนาคตจะ มีสินค้าจากชุมชนอื่นเข้ามาเป็นตัวเลือกเพื่อสร้าง ความหลากหลายมากยิ่งขึ้น

แรงสนับสนุน

เพราะตัวสินค้าของมันเอง จริงๆ แล้วสินค้าของ ชุ ม ชนสามารถดึ ง ดู ด สายตาของคนได้ การที่ ปลาจะเพียรมาเปิดร้านในสยาม เพราะต้องการ พิสจู น์วา่ สินค้าชุมชนก็มรี สนิยมเหมือนกัน คนเขา อยากจะจับ อยากจะซื้อ มันมีไหมซึ่งมันก็มีนะ ส่วนเรือ่ งราวก็เป็นแค่สงิ่ ทีส่ ง่ เสริมเข้ามาเหมือนกัน เราเชื่อว่าผู้ที่สนับสนุนจะได้สินค้าที่มีคุณภาพดี ราคาที่เป็นธรรม ในขณะเดียวกันก็ได้มีความรู้สึก อิ่ม เพราะสินค้ามาจากชุมชนเหมือนเขาได้ท�ำ อะไรซักอย่างเพื่อสังคมไปด้วย

สิ่งที่สังคมจะได้รับ

อย่างสินค้าสปาเราเอามาจากกลุ่มแม่บ้าน กลุ ่ ม ผู ้ ส นั บ สนุ น โดยมากเป็ น ชาวต่ า งชาติ ชุมชนบ้านมั่นคง ซ.สวนพลู กรุงเทพฯ ที่เขาไม่ มากกว่าครึง่ ส่วนใหญ่ลกู ค้าสนใจสินค้าปลาจะเพียร สามารถออกไปหางานท� ำ ข้ า งนอกได้ เขาก็

SEMAG OCTOBER-DECEMBER ISSUE


การให้ คือ การเติมเต็มเรื่องจิตใจ ต่อคุณค่าในสิ่งที่เราท�ำ มันคือสิ่ง ที่เรารู้สึกและนี่คือเหตุผลที่ได้ มาท�ำ SE

รวมกลุ่มกันท�ำสินค้ากันเองในชุมชนซึ่งผมมอง ว่าการทีเ่ ราเข้าไปสนับสนุนตรงนี้ เขามีสนิ ค้าแต่ก็ เป็ น ปั ญ หาคลาสสิ ค ของประเทศไทยคือ ช่อง ทางการขาย ถึงแม้เขาจะมีบางแต่เราก็เป็นอีกแรง หนึง่ ทีท่ ำ� ให้เขามีรายได้ขนึ้ มา รายได้สว่ นหนึง่ ของ เขาจะกระจายไปยังชุมชน ไปยังสมาชิกแล้ว เขา ยังแบ่งเป็นกองทุนการศึกษาส�ำหรับเด็กที่ไม่มี โอกาสได้เรียนอีก เพราะพ่อแม่ติดคุก มันก็เลย เป็นผลกระทบทางสังคมของสินค้าชิ้นนี้

ปลาจะเพียร ผูด้ แู ลกิจการ: คุณธนภณ เศรษฐบุตร ที่ตั้ง: สยามสแควร์ ซอย 6 ติดต่อ: 08 6500 0012 เว็บไซต์: www.plajapian.org www.facebook.com/plajapian OCTOBER-DECEMBER ISSUE SEMAG

27


CLEAR-CUT

SPECIAL PROMOTION

Gift Set : ปันสุข รายละเอียด : กระเช้าปันสุขทีม่ ขี องหลากหลาย เช่น เสือ้ ยืดปันกัน, กระเป๋าผ้าดิบ, ร่มสีสม้ , โปสการ์ด และปฎิทินศิลปะฝีมือเยาวชน เป็นต้น โดยขนาดของขวัญปันสุขแบ่งออกเป็น 3 ขนาดด้วยกันคือ ไซส์ L / M / S ราคา : ไซส์ L ราคา 799 บาท, ไซส์ M ราคา 499 บาท, ไซส์ S ราคา 199 บาท

Never Ending Giving

โลกหมุนได้จากการ ‘ปันกัน’

สองลบหนึ่งเท่ากับสาม นี่คือสมการของการให้ในแบบฉบับของปันกัน ที่มองว่าการ ให้ไม่ใช่การสูญเสีย แต่มันคือการเพิ่มขึ้น เพราะท�ำให้เราได้มอบโอกาสที่ยิ่งใหญ่ให้ แก่บุคคลอื่นแพร่กระจายไปในสังคมที่ยังรอคอยการแบ่งปันดีๆ จากคุณอยู่ก็ได้ คุณสุธาสินี ศุภศิรสิ นิ ธุ์ ผูจ้ ดั การโครงการปันกัน บอกกับเราว่า ปันกันเป็นส่วนหนึ่งของมูลนิธิ ยุ ว พั ฒ น์ ที่ ก ่ อ ตั้ ง มาตั้ ง แต่ ป ี พ.ศ. 2535 มี วัตถุประสงค์หลักด้วยการมอบโอกาสทางการ ศึกษาให้กับเยาวชนไทยที่มีอยู่ทั่วประเทศ สิ่งที่ มูลนิธเิ ชือ่ คือการทีเ่ ด็กได้รบั การศึกษา เขาจะเป็น ผู้ใหญ่ที่ดีได้ในอนาคต ซึ่งเงินที่น�ำมาใช้บริหาร และทุนการศึกษามาจากเงินบริจาค จึงมองเห็น ว่าน่าจะมีช่องทางอื่นที่ให้คนในสังคมได้เข้ามามี ส่วนร่วมกันมากกว่านี้ เพราะว่าคนทีจ่ ะให้เงินมัก

28

จะเป็นคนทีม่ เี งินเดือนมาก ผูป้ ระกอบการทีม่ กี ำ� ไร สูง เลยคิดว่าช่องทางไหนที่จะให้บุคคลทั่วไปใน หลากหลายอาชีพเข้ามามีส่วนร่วมได้ให้โอกาส ทางการศึกษาแก่เด็ก ดังนั้นร้านปันกันจึงเกิดขึ้น เพื่อรวมรวบสินค้าบริจาคและเปิดเป็นร้านปันกัน อย่ า งเป็ น ทางการในปี 2543 โดยได้ รั บ การ อนุเคราะห์จากพื้นที่ในห้างเสรีเซ็นเตอร์ จนเกิด กระบวนการให้มาตลอด 12 ปี โดยทีป่ นั กันมุง่ หวัง ว่ า โครงสร้ า งตรงนี้ จ ะขยายไปทั่ ว ไปประเทศ ภายใต้พื้นฐานของการให้

SEMAG OCTOBER-DECEMBER ISSUE

แรงสนับสนุน

ปันกันพยายามท�ำให้คนรู้สึกว่าเรื่องของการ แบ่งปันมันไม่ใช่เรื่องยาก มันเป็นเรื่องใกล้ตัวถึง แม้ไม่มาปันกับเราก็สามารถปันกับคนอื่นๆ ได้ จริงๆ แล้วการให้หนึ่งครั้งมันจะมีครั้งที่สองและ ครั้งที่สามตามมาเรื่อยๆ ซึ่งนอกจากจะท�ำให้เกิด ความสุขของผู้ที่ได้รับแล้ว ตัวของผู้สนับสนุนเอง ก็ได้รับความสุขด้วย เพราะสิ่งที่เขาให้มันสร้าง โอกาสให้กับคนอื่นด้วย


สิ่งที่สังคมจะได้รับ

การทีเ่ ราอยูด่ ว้ ยกันในสังคมเท่ากับว่าเราต้อง ช่วยเหลือและดูแลซึง่ กันและกัน เมื่อเด็กได้รับทุน การศึกษาและเขาเห็นคุณค่าของการศึกษา เขาก็ จะพยายามส่งเสริมการศึกษานั้นให้แก่ลูกหลาน เขา โอกาสที่ลูกหลานเขาจะเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับสิ่ง ทีไ่ ม่ดมี นั ก็จะลดน้อยลง สังคมก็จะดีขนึ้ นัน่ คือสิง่ ที่สังคมจะได้รับ ยกตัวอย่าง นักเรียนทุนที่เรียน พละศึกษาซึ่งเขาเกือบไม่ได้มาเรียน เพราะชีวิต เขาล�ำบากมาก หลังจากเรียนจบแล้วห่างหายไป

สังคมจะดีได้ถ้าหาก รู้จักการแบ่งปัน 8 ปีได้ และมาพบอีกครั้งหนึ่ง เขาเป็นเทรนเนอร์ สอนมวยอยู ่ ที่ อิ รั ก เงิ น เดื อ นก็ ดี เราก็ ถ ามว่ า เอาเงินเดือนไปท�ำอะไร ซื้อบ้าน ซื้อรถ ซื้อที่ เขาตอบกลับมาว่า เก็บเอาไว้ให้ลูกเรียนหนังสือ นีค่ อื คุณค่าทีส่ ง่ ต่อได้และเป็นความส�ำเร็จทีเ่ ราได้ ตั้งเป้าไว้

ปันกัน ผูด้ แู ลกิจการ: คุณสุธาสินี ศุภศิรสิ นิ ธุ์ ที่ตั้ง: ตลาดเสรีมาร์เก็ต ศูนย์การค้า พาราไดซ์พาร์ค ถนนศรีนครินทร์ ติดต่อ: 08 9201 7952 ที่ตั้ง: ตลาดเสรีมาร์เก็ต ศูนย์การค้า เดอะไนน์ ถนนพระรามเก้า ติดต่อ: 08 1375 7114 เว็บไซต์: www.pankansociety. com, www.facebook.com/ pankansociety อีเมล์: admin@pankansociety.com

OCTOBER-DECEMBER ISSUE SEMAG

29


CLEAR-CUT

SPECIAL PROMOTION

รายละเอียด : รอบข้างผู้รับถ้ามีโอกาสได้เห็น BikeXenger ไปส่ง คงรู้สึกแปลกและแตกต่างกว่า เมสเซนเจอร์คนอื่น เพราะไปอย่างเต็มยศทั้งเสื้อกางเกงหมวก ถึงขนาดที่มีคนขอถ่ายรูปด้วย จุดนีเ้องคือความแตกต่างที่พิเศษส�ำหรับผู้ส่งและผู้รับที่ได้จาก BikeXenger ราคา : ระยะเริ่มต้นที่ 90 บาท (จุดสตาร์ทสาทรจนถึงสีลม สี่พระยา สุรวงศ์)

Give Cycle

ส่งความสุขเพื่อการเปลี่ยนแปลง ‘BikeXenger’

พาหนะที่ขึ้นชื่อว่า “จักรยาน” นั้นดูเหมือนจะเป็นเพียงแค่พาหนะในอดีตของใคร หลายๆ คนทีเ่ คยปัน่ พาตัวเองออกไปพบเจอความสนุกและกลับมาพร้อมกับสุขภาพ ที่แข็งแรงขึ้นอย่างไม่รู้ตัว และไม่แปลกที่พาหนะประเภทนี้กลับถูกมองว่าเป็นเพียง พาหนะที่เหมาะส�ำหรับขี่ในสวนสาธารณะอย่างเดียว เนื่องจากถนนหนทางไม่ได้เอื้อ อ�ำนวยต่อการขับขี่สักเท่าไหร่ แต่มีกลุ่มที่ชื่อว่า BikeXenger มองว่าปัญหาอาจไม่ ได้อยูต่ รงเส้นทางแต่เริม่ จากตัวเราก่อนว่าจะกล้าน�ำจักรยานมาสร้างทางเลือกให้เป็น ประโยชน์ต่อตัวเราและสังคมได้หรือไม่ น่าแปลกหากจะบอกว่าผู้ก่อตั้งและผู้ดูแล กิจการ BikeXenger อย่าง มนตรี ฉันทะยิ่งยง และปณต พุทไธสง ไม่ได้เป็นคนชอบขี่จักรยาน มาตั้งแต่เด็ก แต่เพิ่งมาขี่ได้จริงจังเมื่อไม่กี่ปีหลัง มานี่เอง การเปลี่ยนแปลงของทั้งสองเริ่มจาก ปัญหารถติดที่ท�ำให้เขาต้องเสียเวลาจากการรอ สัญญาณไฟจราจรและหลังจากนัน้ มีการรวมกลุม่ คนปั่นจักรยานหลังเลิกงานยามว่าง ท�ำให้มีการ รวมตัวกันไปท�ำประโยชน์ต่อสังคม เช่น การแบ่ง ปันจักรยานให้น้องตามจังหวัดต่างๆ และได้เกิด ค�ำถามต่างๆ มากมายว่าจะท�ำอย่างไรให้กลุ่ม 30

นักปัน่ มีรายได้พอทีจ่ ะช่วยเหลือสังคมโดยทีไ่ ม่ตอ้ ง หยิบเงินจากกระเป๋าของตัวเองโดยตรง จึงมีการ เปิดรับบริจาคชิน้ ส่วนจักรยานด้วยการเปิดร้านค้า ออนไลน์ขึ้นมาซึ่งได้ส่งผลไปต่อการขนส่งทาง จักรยานด้วย หลังจากนั้นไม่นานได้มีการระดม ความคิดกันจนเกิดเป็นโครงการ BikeXenger ขึน้ มาอย่างจริงจัง และน�ำโครงการนี้ไปเข้าเวทีการ ประกวดกิจการเพือ่ สังคมจนได้รบั ทุนมาส่วนหนึง่ เป็นการด�ำเนินกิจการ และหากคุณก�ำลังเดินอยู่ ตามท้ อ งถนนหรื อ แม้ ก ระทั่ ง ท� ำ งานอยู ่ ต าม ส�ำนักงานและเห็นผู้ชายสวมเสื้อกีฬารัดรูปพร้อม

SEMAG OCTOBER-DECEMBER ISSUE

กับหมวกทรงสวยก�ำลังปั่นไปพร้อมกับกระเป๋าใบ ใหญ่ทอี่ ยูด่ า้ นหลังทีบ่ รรจุของเพือ่ ไปส่ง ณ ทีห่ มาย อาจเป็นภาพที่ไม่คุ้นตา แต่นี่คือการเปลี่ยนแปลง เล็กๆ ที่คนกลุ่มเล็กๆ เชื่อว่าได้มอบของขวัญชิ้น ใหญ่ให้กบั โลกเทียบเท่ากับความส�ำคัญทีเ่ ขาก�ำลัง ปั่นไปส่งของให้กับลูกค้าด้วยมือของพวกเขาเอง

แรงสนับสนุน

มองว่าน่าจะเป็นกลุ่มว่าจ้างที่มีความคิดเชิง บวกมากกว่า เป็นคนรุ่นใหม่ที่ชอบเรื่องเกี่ยวกับ สิง่ แวดล้อมทางสังคม บางคนก็คำ� นวนกับมอเตอร์ไซต์


การปั่นจักรยาน ไม่ต้องไปรอดูความ เปลี่ยนแปลงของสังคม และสิ่งแวดล้อมหรอกที่ มันเปลี่ยนแปลงและ ชัดเจนที่สุดคือตัวเรา BikeXenger ผูด้ แู ลกิจการ: คุณมนตรี ฉันทะยิง่ ยง, คุณปณต พุทไธสง ที่ตั้ง: 73/26 ซอยวัดราชสิงขร ถนน เจริญกรุง เขตบางคอแหลม กรุงเทพฯ 10120 ติดต่อ: 08 6994 1301 เว็บไซต์: www.facebook.com/ BikeXenger

เขาตัดสินใจมาขี่จักรยาน มีอยู่วันหนึ่งปั่นข้าม สะพานสาธร รถติดมากแล้วมีคนขับรถเปิดกระจก มาถามขอเบอร์ติดต่อเพื่อที่จะขอค�ำแนะน�ำการขี่ จั ก รยาน จริ ง ๆ แล้ ว มั น สร้ า งการขยายไปสู ่ กิจกรรมด้วย อย่างเช่น ถ้ามีคนในครอบครัวปัน่ ลูก หรือภรรยาก็อาจลุกขึ้นมาปั่นด้วย เป็นกิจกรรมที่ เพิม่ ทางเลือกต่อกิจกรรมในครอบครัว อย่างทุกวัน นี้เรามีรถคันหนึ่ง แต่ไม่ได้ใช้ มาปั่นจักรยานแทน สิ่งที่สังคมจะได้รับ ดังนัน้ เท่ากับว่ารถหนึง่ คันทีเ่ คยวิง่ อยูบ่ นถนนก็ลด คิดว่ามันได้รับอยู่นะ เพราะเราปั่นไปที่อื่นๆ ไปแล้วหนึ่งคัน ซึ่งเราก็หันมาใช้รถด้วยความ ระยะหลังๆ รถส�ำหรับเราคือการขับออกไปพักผ่อน คนอื่นก็เห็นและเราก็เคยออกผ่านสื่อ จนบางครั้ง จ�ำเป็นมากขึ้น เช่น เราจะไปปากซอยยังไงโดยไม่ ตามต่างจังหวัดมากกว่าที่จะใช้ในเมืองด้วยซ�้ำไป ไปร้านจักรยานก็มคี นมาทักว่ากลุม่ เรามีสว่ นท�ำให้ ต้องใช้รถ จะเดินหรือจะปั่นจักรยานไปก็ยังได้ หรือเอาไปบรรทุกของที่เยอะจริงๆ ที่เคยใช้ส่งทั้งราคาและเวลาก็พอๆ กัน ก็ใช้ จักรยานดีกว่า บางครัง้ องค์กรบางแห่งใช้มอเตอร์ไซต์ ให้ไปส่งของแต่มอเตอร์ไซต์ไม่ไปจักรยานก็ไป แทน โดยทีเ่ ราก็คดิ เรตตามความเหมาะสม ถ้าเขา ยอมจ่ายเราก็ไป ซึ่งรวมๆ แล้วมองว่าลูกค้าชอบ คอนเซปต์เรามากกว่า

OCTOBER-DECEMBER ISSUE SEMAG

31


LOLL AROUND-เอกเขนก

Lichen Nature

เรียนรู้ป่า เรียนรู้ตัวเอง

กิจกรรมการเดินป่าถือเป็นการท่องเทีย่ วอีกแบบหนึง่ ทีก่ ำ�ลังได้รบั ความนิยมเมือ่ ไม่มกี ป่ี ใี ห้หลัง เสน่ห์ ของการท่องเที่ยวกับธรรมชาติมักสอนให้เราได้เรียนรู้อะไรใหม่ๆ เสมอ อีกทั้งยังเปิดโอกาสให้เราได้ ศึกษาต่อสิง่ มีชวี ติ ทีอ่ ยูร่ อบตัวเรา หากคุณมีโอกาสได้ลองไปแล้วละก็ความคิดต่อสิง่ แวดล้อมของเราที่ คิดว่าเข้าใจดีอยูแ่ ล้วอาจจะเข้าใจมากขึน้ ไปอีก ก่อนทีพ ่ น้ื ทีป่ า่ จะลดลงจนไม่เหลือให้เราได้เข้าไปทำ�ความ รูจ้ กั กับธรรมชาติอย่างแท้จริง ไลเคน เนเจอร์ คือร้านจัดจ�ำหน่ายสิง่ ของ การเรียนรูท้ างธรรมชาติ ไม่วา่ จะเป็น หนังสือ ศึ ก ษาชนิ ด ของแมลง หลั ก การดู ก ้ อ นเมฆ อุปกรณ์ส่องพืช หรือแม้กระทั่งโมเดลจ�ำลอง การศึกษาแมลง เป็นต้น ซึ่งทั้งหมดทั้งมวลนี้ เริ่มต้นมาจากความหลงไหลธรรมชาติตั้งแต่ เด็กของ นิพัทธ์พงษ์ ชวนชื่น ผู้ก่อตั้งร้าน ไลเคน เนเจอร์ ขึ้นมาซึ่งมีประสบการณ์อย่าง โชกโชนในการท่องเที่ยวในรูปแบบแบ็กแพ็ค และเดินป่าและยังเป็นผู้ก่อตั้งเว็บไซต์ชื่อดัง อย่าง Trekking.com ที่เป็นแหล่งชุมนุม ส� ำ หรั บ ผู ้ ที่ ชื่ น ชอบเดิ น ทางมาร่ ว มแบ่ ง ปั น ประสบการณ์ดีๆ ให้คนที่สนใจได้รับรู้ เสน่ห์ ของการท่องเที่ยวแบบเดินป่า คือ การเพิ่ม ระดับความอดทน คุณนิพัทธ์ยังบอกกับเรา อีกว่า มันเหมือนการฝึกตัวเราให้เป็นจอมยุทธ์ ที่แข็งแกร่งที่ต้องผ่านสนามที่ยากๆ มาก่อน ซึ่งคนที่เข้าสู่ธรรมชาติจะใช้ชีวิตในเมืองได้มี ความสุขมากกว่าเดิม เพราะมีภูมิคุ้มกันต่อ ความยากล�ำบากมาแล้ว กิจ กรรมการเดิ นป่ า ยังสอนให้มนุษย์มี ความเท่าเทียมกันหมด ไม่ว่าใครจะมียศหรือ อีโก้ เมื่อเราเดินเข้าไปในป่าแล้วทุกคนอยู่ใน สถานะเดียวกันคือเพือ่ นร่วมทาง จะว่าไปแล้ว 32

การเดินป่าคงคล้ายกับเกมเรียลลิตยี้ อดนิยมใน ส่งสัญญาณว่าเริ่มมีกลุ่มคนใหม่ที่หันมาสนใจ ยุคนีท้ จี่ ะมีโจทย์ตา่ งๆ จากสภาพแวดล้อมทาง สิ่ ง แวดล้ อ มทางธรรมชาติ ม ากยิ่ ง ขึ้ น ก็ เ ป็ น ธรรมชาติมอบให้นักเดินทางได้แก้ไขปัญหา ได้ ท�ำให้เกิดความสามัคคี เกิดการยอมรับและ ปรับตัวได้ ซึ่งมันอาจช่วยกล่อมเกลาความ คิดและนิสยั ใจคอของเราให้เปลีย่ นแปลงไปใน ทิศทางที่ดีขึ้น เหตุ ผ ลที่ น ่ า สนใจที่ ท� ำ ให้ นั ก เดิ น ทาง หรื อ นั ก ท่ อ งเที่ ย วหลายคนหั น กลั บ มาท่ อ ง เที่ยวเชิงธรรมชาติอย่างการเดินป่า อาจเป็น เพราะสภาพแวดล้อมได้ตักเตือนผ่านภัยพิบัติ มากมายให้มนุษย์หันมาสนใจต่อสิ่งแวดล้อม เมื่อป่ากับคนเกิดความเกี่ยวพันกัน เรา อาจจะเห็นประโยชน์แห่งความยั่งยืนมากกว่า ที่จะคิดรุกร�้ำไปตัดไม้และส่องสัตว์พันธุ์หา ยากเพื่อก�ำไรส่วนตน เหตุผลนี้คงเป็นเหตุผล หลักที่ ไลเคน เนเจอร์ พยายามทีจ่ ะปลูกฝัง เยาวชนหลายๆ คนที่ได้เข้ามาร่วมทริปการ เดินป่าให้เกิดความรูส้ กึ รักและผูกพันทีจ่ ะหวง พืน้ ทีส่ เี ขียวเอาไว้เสมือนป่าคือเพือ่ นของเราคน หนึ่ง ซึ่งเรามองว่านี่คือจุดเริ่มต้นแห่งความ ยัง่ ยืนเล็กๆ ทีจ่ ะสามารถวัดได้จากร้านไลเคน เนเจอร์ได้เหมือนกัน หากกิจการเพื่อสังคม ร้านนี้มีอัตราการเจริญเติบโตขึ้น อาจเป็นการ

SEMAG OCTOBER-DECEMBER ISSUE


เหตุผลที่น่าสนใจที่ท�ำให้นักเดิน ทางหรือนักท่องเที่ยวหลายคน หันกลับมาท่องเที่ยวเชิง ธรรมชาติอย่างการเดินป่า อาจ เป็นเพราะสภาพแวดล้อมได้ ตักเตือนผ่านภัยพิบัติมากมาย ให้มนุษย์หันมาสนใจต่อ สิ่งแวดล้อม

Lichen Nature สถานที่ตั้ง: สถานีสนามเป้า 1031/7 ถ พหลโยธิน สามเสนใน พญาไท กทม 10400 ติดต่อ: 0 2619 7993 เวลาบริการ: จันทร์-ศุกร์ เวลา 09.30-19.00 น. / เสาร์-อาทิตย์ เวลา 11.30-18.00 น. เว็บไซต์: www.lichenshop.net ระหว่างเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2555 มีการจัดทริปดูนกภาคสนาม ณ อ�ำเภอ หุบเมย จังหวัด นครนายก พร้อมวิทยากรที่ เชี่ยวชาญไปให้ความรู้เรื่องอื่นๆ รับรอบละ 9 คน OCTOBER-DECEMBER ISSUE SEMAG

33


Small Village Big Idea “โฮมสเตย์บ้านสามขา” วิถีความสุข ของมนุษย์สองมือสองขาที่ยั่งยืน หากมีสถานที่แห่งหนึ่งในเมืองไทย มีท�ำเลอยู่เชิงเขา แต่อากาศไม่หนาวพอจะมีแม่คะนิ้ง ไกลจาก ทะเลเกือบพันกิโลเมตร ไม่มีแม่น�้ำสายใหญ่ไหลผ่าน ไม่มีตลาดน�้ำ สถานที่แห่งนั้นกลับมีผู้คน ต้องการเดินทางไปอยู่ไม่ขาดสาย คิดว่าสิ่งใดคือมือกวักเรียกคนเข้าสู่ชุมชนกัน โฮมสเตย์บ้านสามขา จ.ล�ำปาง เป็นหมู่บ้าน ที่มีคณะศึกษาดูงาน นักเรียน นักศึกษา เข้ามา ศึกษาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กระบวนการจัดการ ระบบเศรษฐกิจ สังคม และการจัดการทรัพยากร สิ่งแวดล้อม มีโฮมสเตย์และลองสเตย์เพื่อรองรับ ในรูปแบบการท่องเทีย่ วเชิงวัฒนธรรม หากจะน�ำ ความรู้กลับไปพัฒนาศักยภาพตัวเอง ต้องเรียน รู้กันหลายวัน นั่นคือเหตุผลที่อาคันตุกะต้องพัก โฮมสเตย์ในหมู่บ้าน คุณบุญเรือง เฒ่าค�ำ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 6 ต�ำบล หั ว เสื อ อ� ำ เภอแม่ ท ะ มองเห็ น ปั ญ หาการ พัฒนาการท่องเที่ยวเพียงวัตถุ ไม่ใช่ความยั่งยืน บ้านสามขามีระบบการท�ำงานที่ดีเป็นทุนเดิม จึง พัฒนศักยภาพท่องเที่ยวที่มีแผนรับมือชัดเจน ผ่อนถ่ายงานสูเ่ ยาวชน การท่องเทีย่ วน�ำเสนอชีวติ ภูมปิ ญ ั หาท้องถิน่ สัมผัสและเรียนรูใ้ นการอนุรกั ษ์ สิ่งแวดล้อม ก�ำหนดเส้นทางเพื่อไม่ให้กระทบ ต่อป่าต้นน�้ำ สะท้อนวิถีชีวิตการพึ่งพาอาศัยกัน ระหว่างคนกับป่า และสร้างความเข้าใจกับผู้มา เยือนให้เคารพต่อวัฒนธรรมประเพณีของชุมชน สิง่ ส�ำคัญคือ คัดกรองและจ�ำกัดจ�ำนวนนักท่องเทีย่ ว ไม่ตำ�่ กว่า 2-3 คณะต่อเดือน มีระบบคิวหมุนเวียน โฮมสเตย์และวิทยากร เพราะต่างก็มีอาชีพหลัก ผลทีต่ ามมาคือ จ�ำนวนนักท่องเทีย่ วเหมาะสมกับ ศักยภาพของชุมชน ชาวบ้านมีรายได้เพิม่ ขึน้ และ 34

จัดสรรรายได้ผ่านกองทุนต่างๆ เพื่อสาธารณะ ประโยชน์ เกิดรายได้กับกลุ่มต่างๆ ไม้แกะสลัก ทอผ้า แม่บ้าน โฮมสเตย์ บ ้ า นสามขา จึ ง เป็ น สถานที่ รองรับและสนับสนุนกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กระบวนการจัดการระบบเศรษฐกิจ สังคม และ การจัดการทรัพยากรสิง่ แวดล้อมของชุมชน ซึง่ เป็น ระบบการจัดการรับมือกับการท่องเที่ยวส่งผลให้ นั ก ท่ อ งเที่ ย วเหมาะสมกั บ ศั ก ยภาพของชุ ม ชน ชาวบ้านมีรายได้เพิม่ ขึ้น เกิดรายได้กบั กลุม่ ต่างๆ ในชุมชน และคงวิถีชีวิตของชาวบ้าน อีกทัง้ บ้านสามขาเป็นแหล่งถ่ายทอดองค์ความ รู้ในการจัดการบริหารชุมชนให้ศึกษามากมาย อาทิ การแก้ไขปัญหาหนีส้ นิ การท�ำฝายชะลอน�ำ้ โครงการธนาคารสมอง กลุ่มสัจจะออมทรัพย์ เป็นต้น มีค่าใช้จ่ายส�ำหรับวิทยากร 1,500 บาท หากเป็นกิจกรรมภาคปฏิบัติทุกคณะต้องได้ลงมือ ท�ำจริง ตัวอย่างเช่น สร้างฝายชะลอน�้ำซึ่งเป็น กิจกรรมเอกของชุมชน ของดีสามขา คือมีผลิตภัณฑ์จากกลุ่มอาชีพ ต่างๆ ในชุมชน ได้แก่ กล้วยตากต้นน�้ำ รสชาติ หอม หวาน มัน อร่อย, ผ้าย้อมสีธรรมชาติ ผ้าฝ้ายย้อมมือจากวัสดุธรรมชาติในท้องถิ่น, ม้า แกะสลักขนาดเล็ก งานฝีมอื ทีน่ า่ สะสมเป็น สนใจ ผลิตภัณฑ์ชุมชน สามารถติดต่อสอบถามได้ที่

SEMAG OCTOBER-DECEMBER ISSUE

โทร. 09 0109 5584 จากปัญหาการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวแบบ ฉาบฉวย ยังเป็นผลให้ความเจริญเข้าสู่ชุมชน อย่างรวดเร็วจนชาวบ้านรับมือไม่ทัน สิ่งเหล่านั้น ได้สร้างความตระหนัก ท�ำให้ได้ศึกษารูปแบบ การจัดการและพัฒนาการท่องเที่ยวให้เหมาะกับ วิถีชีวิต วัฒนธรรมประเพณี และสิ่งแวลด้อมของ ชุมชน ผลที่เกิดตามคือ ชาวบ้าน มีรายได้เสริม ควบคูค่ วามเข้าใจ รักในท้องถิน่ ของตัวเองมากขึน้ ไม่วิ่งตามกระแสของการท่องเที่ยวที่อิงวัตถุนิยม จนหลงลืมสิง่ ดีๆ ทีต่ วั เองมีนอกจากนีย้ งั เป็นแหล่ง เรียนรู้ให้กับผู้สนใจ เพื่อหวังว่าผู้ที่ได้รับจะซึมซับ ความเป็นคนไทยให้อยู่ในใจอย่างถาวร การเข้าถึงแก่นแท้ของโฮมสเตย์ที่เป็นกิจการ เพื่อสังคม ผลที่ได้รับกลับมาคือ ชาวบ้านยังคง วิถีชีวิตแบบปกติ ไม่ฟุ่มเฟือยเพื่อพัฒนาความ สวยหรู มีรายได้เสริมเพิ่มขึ้น ส่วนแขกที่มาพัก ก็ได้รับความสะดวกสบายตามศักยภาพชุมชน ความประทับใจจากวิถีชวิตเฉพาะถิ่น ภาพรวม ในหมู่บ้านไม่ได้พัฒนาความเจริญด้านวัตถุจน ท�ำลายความเป็นชุมชน และนั่นเองคือคุณภาพ ชีวิตอย่างยั่งยืนที่น่าสัมผัส


โฮมสเตย์ชาวบ้าน เพื่อสนับสนุนการ ถ่ายทอดความรู้ชุมชน สู่คุณภาพชีวิตที่ดีกว่า โฮมสเตย์บ้านสามขา สถานที่ตั้ง: บ้านเลขที่ 150 หมู่ 6 ต�ำบลหัวเสือ อ�ำเภอแม่ทะ จังหวัด ล�ำปาง 52150 เวลาบริการ: ทุกวัน โทรศัพท์: 08 1179 4771 เว็บไซต์: www.bansamkha. com,www.facebook.com/ baansamkha.village อัตราค่าพักโฮมสเตย์ คนละ 120 บาทต่อคืน มีสมาชิก 11 หลัง รองรับได้จ�ำนวน 50-60 คน ค่าอาหารหัวละ 70 ต่อมือ้ โดยร่วมรับประทานอาหารกับ เจ้าบ้านโฮมสเตย์ OCTOBER-DECEMBER ISSUE SEMAG

35


HEADWAY-ต่ออนาคต

HUMAN

RICE ตั้งค�ำถามเพื่อสุขภาพ

นพ. ก้องเกียรติ เกษเพ็ชร

ไม่น่าเชื่อว่าอาหารหลักอย่างข้าวที่เรารับประทานอยู่ทุกวันจะกลายเป็น วายร้ายต่อสุขภาพได้หากเรารับประทานในปริมาณที่มากเกินไปจนส่งผล ให้ระดับน�้ำตาลในเลือดสูงจนเป็นต้นเหตุให้เกิดโรคเรื้อรังต่างๆ ในขณะที่ อายุยังน้อยหากเทียบเท่ากับคนในอดีต ในขณะเดียวกับข้าวก็ยังเป็นฮีโร่ ที่จะมาท�ำให้สุขภาพเราแข็งแรงและมีเรี่ยวแรงที่จะท�ำสิ่งดีๆ ได้อีกครั้ง แต่ จะท�ำอย่างไรให้คนทั่วไปสนใจและยอมรับว่า สิ่งที่ให้ทั้งทุกข์และสุขมาก ที่สุดนั่น อยู่ในจานอาหารทุกมื้อของเรา

จุดเริ่มต้นของเป็นสุข

เดิ ม ท� ำ งานทางด้ า นระบบข้ อ มู ล ของการ ดูแลคนไข้ในโรงพยาบาล เราก็ท�ำซอฟแวร์ตัว หนึ่งซึ่งมันสามารถใช้ด้วยกันได้หมด ใช้ฟรีใน โรงพยาบาลชุมชน ในคลีนิกที่อยู่ภายใต้ประกัน สุขภาพ เราพบว่าตลอด 12 ปีที่ท�ำงานมาเรา เห็นปัญหาของสุขภาวะที่มันเปลี่ยนแปลงไปจาก สมัยก่อน เป็นโรคติดเชื้อ เจ็บไข้ได้ป่วย ความไม่ สะอาด ส่งผลไปยังความไม่แข็งแรงของร่างกาย ปัจจุบันนี้มันเปลี่ยนไป คือเป็นกลุ่มโรคเรื้อรังที่ ไม่ติดต่อแทน คือ โรคเบาหวาน โรคความดัน โรคหัวใจ ซึง่ สิง่ เหล่านีท้ มี่ นั เกิดขึน้ มันจะท�ำให้คา่ ใช้จา่ ยในการรักษาเพิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆ การป้องกันมัน 36

ไม่น่าจะถูกต้องที่ต้องมาค้นหาตอนที่ใกล้จะเป็น และก็มาพยายามยับยั้งไม่ให้เขาเป็นซึ่งมันต้อง ไปยับยั้งก่อนหน้านั้น โรคเรื้อรังพวกนี้มันมาจาก พฤติกรรมของคนเป็นส่วนใหญ่ เช่น พฤติกรรม การบริโภค พฤติกรรมการสูบบุหรี่ การไม่ออก ก�ำลังกาย เพราะฉะนั้นท�ำอย่างไรเราถึงจะเข้าไป เปลี่ยนแปลงในพฤติกรรมของเขาก่อน

จับจุดหลักต่อพฤติกรรมคือการบริโภค

ทีนี้การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม เรื่องบุหรี่ก็ มีคนท�ำเยอะ เรื่องออกก�ำลังกายก็มีคนท�ำเยอะ แต่เรื่องอาหารกลับกลายเป็นสิ่งที่คนเราให้ความ ส�ำคัญน้อย เรากินโดยทีเ่ ราไม่คอ่ ยรู้ เขาขายอะไร

SEMAG OCTOBER-DECEMBER ISSUE

เราก็ซื้อกิน เราก็เลยมาสนใจเรื่องนี้ ถ้าเราจะ ท�ำให้คนสุขภาพดีขนึ้ เราน่าจะมาดูแลเรือ่ งของการ บริโภคร่วมไปกับการรักษาแพทย์แผนปัจจุบนั เพือ่ เป็นการวินิฉัยและติดตามดูแลเขาในระยะยาวได้ เพราะฉะนั้นเป็นสุขก็จะเป็นรูปแบบของการดูแล สุขภาพ มุ่งหวังให้เขาเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมใน การด�ำเนินชีวิตผ่านการบริโภคที่ถูกต้อง เป็นการ ดูแลสุขภาพด้วยแพทย์ ด้วยความรู้สมัยใหม่ทุก อย่าง ไม่ว่าจะเป็นเทคโนโลยีก็ตาม เพราะว่าเรา เห็นอนาคตว่าถ้าเราไม่ขยับท�ำอะไรเลย ความเจ็บ ป่วยของคนจะเพิม่ อย่างมหาศาล ดังนัน้ เป็นสุขก็ เริ่มต้นที่สนใจพวกนี้


สุขภาพไม่ได้มี ตลาดหลักทรัพย์ให้เรามา ลงทุนแต่เราต้องเป็นฝ่าย ลงทุนด้วยตัวเอง

อาหารประจ�ำชาติคือหนทางออก

ข้ อ มู ล จากสื่ อ ต่ า งๆ มั น ก็ เ ป็ น ปั ญ หาใน ลักษณะของโฆษณาชวนเชือ่ คือเวลาเราตัง้ ค�ำถาม ทางการแพทย์ เราทุกคนถูกสอนมาว่าข้าวซ้อม มือมีวิตามินดีป้องกันโรคเหน็บชา นี่คือประโยชน์ ที่นักเรียนทุกคนเคยได้ยินมา แต่ค�ำถามคือต้อง กินกี่ช้อน กินกี่ค�ำ กินนานเท่าไหร่ แล้วถ้าหยุด กินจะหายไหม คือผมคิดว่าสิ่งที่เราควรจะตั้ง ค�ำถามกับเรือ่ งพวกนีค้ อื แบบนี้ เหมือนทีเ่ ราได้ยนิ ว่าดื่มเครื่องดื่มชนิดนี้เข้าไป อยากเป็นหมอแล้วก็ จะได้เป็นหมอ มันเป็นไปได้ยังไง แต่เราก็กินกัน นะ เรากินรังนกให้หน้าใส รังนกคือน�้ำลายของนก คือ โปรตีน เมือ่ โปรตีนเข้าไปในร่างกายก็ยอ่ ยหมด แล้ว มันจะไปหน้าใสได้อย่างไร แต่เราก็ยังเลือก กินผลิตภัณฑ์แบบนั้นเพราะคิดว่ากินแล้วจะเป็น ศิลปินดารา คนไทยไม่หัดตั้งค�ำถามแต่ไปรีบหา ค�ำตอบ

ตอนแรกเราก็มานั่งคิดว่าเราจะให้ผู้บริโภค กินอะไร กินอาหารเสริม กินอาหารบ�ำรุง แต่เรา ก็พบว่ามันเลี่ยงไม่ได้ที่คนไทยจะต้องทานข้าว เพราะข้าวก็ถือเป็นสาเหตุหนึ่งที่ก่อให้เกิดปัญหา ต่อสุขภาพ เนื่องจากข้าวเป็นแป้งและจะกลาย เป็นน�้ำตาล ถ้าเราทานข้าวที่ย่อยเป็นแป้งได้ 100 เปอร์เซ็นต์ มันก็จะท�ำให้นำ�้ ตาลในเลือดเพิม่ สูงขึน้ ซ�้ำๆ จนสุดท้ายก็จะเกิดเป็นโรคเรื้อรัง เราจึงได้มี การเข้าไปค้นคว้าหาว่ามีพนั ธุข์ า้ วใดบ้างทีเ่ มือ่ ทาน แล้วจะไม่กลายเป็นน�้ำตาลทั้งหมด ในที่สุดเรา ก็เจอมา 3-4 ชนิด แล้วก็เอามาวิเคราะห์ตอ่ เอามา ดูว่ามันเชื่อถือได้ไหม พอเราพบแล้วเราก็ไปชวน เกษตรกรที่ปลูกจากเกษตรเคมีเปลี่ยนเป็นเกษตร อินทรีย์ แล้วเราก็รบั ซือ้ มาแปรรูปมาสีเพือ่ เป็นข้าว ซ้อมมือมาจัดจ�ำหน่ายโดยผ่านร้านแล้วก็คลินิก ของเป็นสุขโดยที่เราก็จะออกแบบให้ผู้ที่เข้ามามี อาหารเสริมท�ำให้คนไทยไม่หาค�ำตอบ ประสบการณ์ที่ดีด้วยการลองทาน เพราะฉะนั้น มันเป็นวิธีคิดแบบหาทางลัดไงครับ เราไม่ ตรงนี้คือจุดที่เราได้มอบไปให้ผ่านการบริโภค ลงทุน อยากได้สุขภาพดีเราก็ต้องดูแลสุขภาพแต่ ต่อสู้ด้วยการตั้งค�ำถามจากสื่อที่กระตุ้น เรามักจะคิดว่าถ้าซื้ออาหารเสริมมากิน 5 เม็ด เราจะกลายเป็นมนุษย์มหัศจรรย์อดนอนมาแล้ว ให้ผู้บริโภคเกิดการกิน

ทั้งคืนก็ตื่นได้ ร่างกายสดใส หน้าตาดี ถ้ามีอย่าง นั้นมันก็มหัศจรรย์มากแล้ว และเราก็อยู่บนความ เชือ่ ว่ากินแล้วเราจะดี วิตามินหลายอย่างก็ยงั ไม่มี การรับรองอย่างชัดเจนว่ากินแล้วเป็นผลบวกต่อ สุขภาพ เพราะฉะนัน้ ถ้าเรายังบริโภคต่อไปเรือ่ ยๆ เราก็จะอยู่ในสภาพที่ถูกเขาหลอกไปตลอด

ท�ำอย่างไรให้คนรับรู้และเข้าใจ

เราก็คงต้องพยายามสื่อสาร เป็นสุขเราก็ พยายามอธิบาย สาเหตุที่เราเลือกข้าวเพราะเรา ก็ไม่ได้เอาข้าวไปแปรรูปเป็นอย่างอื่น เพราะเรา ถือว่านี่คือสิ่งที่เราต้องทานทุกวัน ดังนั้นเราเชื่อ ว่าการใช้ความคิดแบบนี้จะค่อยๆ ให้คนเปลี่ยน พฤติกรรมไม่ได้หวังรวดเร็ว

ความส�ำคัญของสุขภาพที่คนยุคนี้เรียง ล�ำดับความส�ำคัญผิดไปหมด

เพราะว่าเราไม่ได้ถกู สอนให้คดิ อย่างเช่นคุณ สูบบุหรี่ คุณมีความสุขในการสูบบุหรี่ แต่คณ ุ ก็ตอ้ ง รู้ว่าคุณสูบมา 20 ปีนะแล้วจะเกิดถุงลมโป่งพอง คุณจะมีมะเร็งกล่องเสียงนะ คุณจะเป็นมะเร็งปอด นะ คุณพร้อมรับมือกับมันไหม ถ้าพร้อมก็สูบไป สิ สูบไปหาเงินไป สูบไปถ้าเป็นมะเร็งกล่องเสียง

OCTOBER-DECEMBER ISSUE SEMAG

37


HEADWAY-ต่ออนาคต

ข้าวมีตัวตนของเขาที่เรา ควรใส่ใจมากกว่าการ ยัดใส่ปากเพียงอย่างเดียว

จะท�ำอย่างไร คิดไว้ด้วยเพราะคุณได้ซื้อความสุข วันนี้ไปแล้ว คุณก็ต้องเตรียมรับปัญหาในอนาคต แต่สิ่งเหล่านี้เราไม่เคยถูกสอนให้มองไงครับ เรา ถูกสอนให้มองว่ามีเงินต้องใช้หาความสุขให้แก่ตวั เอง อนาคตเป็นเรื่องไม่แน่นอน แต่จริงๆแล้วมัน แน่นอนครับ ข้อมูลทางการแพทย์มันบอกได้ แล้ว ค่ารักษาพยาบาลเดือนสุดท้ายของชีวติ มันสูงมาก เพราะฉะนัน้ วิธคี ดิ การมองสุขภาพเป็นทรัพย์สนิ จึง เป็นสิ่งที่เราควรต้องมอง

ส่วนมากคนยังเข้าใจการใช้ชีวิตแบบนั้น

โมเดลระบบ SE เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ

ผมอาจมีมมุ มองต่างจากคนอืน่ ๆ นะ ผมมอง ว่า Social Business ต้องเริ่มจากปัญหาสังคมไป เป็นที่ตั้ง ไม่ใช่เริ่มจากการน�ำธุรกิจเป็นที่ตั้ง เขา ต้องมีเป้าหมายว่าจะแก้ไขปัญหาสังคมเรื่องอะไร และต้องมี Innovation ว่าเขาจะใช้นวัตกรรมอะไร ในการแก้ไขปัญหาสังคมนั้นแล้วถึงใช้ธุรกิจเป็น เครื่องมือในการท�ำซึ่งบางครั้งผมก็กังวลมากว่า หลายคนพูดถึงกิจการเพื่อสังคม ก็คือ ท�ำธุรกิจ แล้วให้เกิดผลดีต่อสังคม เช่น ผมท�ำให้เด็กได้ แสดงออกเป็นธุรกิจ เป็นโรงเรียน ค�ำถามคือเขา ต้องการแก้ไขปัญหาสังคมอะไร ใช่เด็กมีความสุข กล้าแสดงออก แต่แก้ไขอะไร ผมจะมองไม่เหมือน กับหลายๆ คนที่มองว่าธุรกิจเพื่อสังคม เอาธุรกิจ มาก่อนแล้วสังคมได้ประโยชน์ ทีม่ นั กว้างขวางขึน้ อาจจะเกิดจากการประชาสัมพันธ์ การโปรโมต ท�ำให้คนรู้จัก แต่มันไม่ง่ายอย่างที่หลายคนเข้าใจ นะครับ

เพราะเรามีความคิดว่าหมอเก่ง เป็นอะไรก็ รักษาได้หมด ใช่ หมอไทยนี่เก่งนะครับจะเปลี่ยน ตับ ย้ายไต ไม่มีปัญหาแต่ค�ำถามก็คือ หมอว่าง ไหม เราไม่เคยให้รางวัลหมอที่ดูแลคนไข้ไม่ป่วย แต่เราให้รางวัลที่หมอรักษาคนไข้ที่เจ็บป่วยหนัก ทีส่ ดุ ไปไว้บนพืน้ ทีห่ นังสือพิมพ์หน้าหนึง่ แต่เราไม่ เคยหันมาดูว่าคนไข้ที่อยู่กับหมออีกคนหนึ่งที่ไม่มี ใครป่วยไข้เลย ดังนัน้ สังคมมีวธิ คี ดิ ทีต่ ลก นีค่ อื วิธี คิดในเชิงสุขภาพ โฆษณากันไป โรงพยาบาลทีแ่ ห่ง โมลเดลของกิจการสังคมที่ประสบส�ำเร็จ นี้โดดเด่นอะไร โรงพยาบาลอีกที่หนึ่งเก่งอะไร ซึ่ง คือการเจ๊งไปพร้อมๆกับการแก้ไขปัญหา มันไม่ใช่ มันควรจะเป็นมาตรฐานที่จะรักษาไม่ให้ สังคม คนเริ่มป่วย 38

SEMAG OCTOBER-DECEMBER ISSUE


ผมมองว่าถ้าเป็น Social Business ต้องเจ๊ง หมายความว่า ถ้ามันเจ๊งแสดงว่าปัญหาสังคมนั้น หายไป เพราะฉะนั้นมันจะมองไม่เหมือนธุรกิจ ทั่วไปที่ห้ามเจ๊ง แต่ธุรกิจเพื่อสังคมท�ำไปแล้วมัน ต้องเจ๊งเพราะปัญหามันหมดแล้ว ถ้าคุณแก้ได้ เป้าหมายเราต้องอยูต่ รงนัน้ ไม่ใช่จะมามองความ ยั่งยืน มันไม่ใช่ ถ้ายั่งยืนมากๆ คุณก�ำลังอยู่ใน กับดักที่สองก็คือ คุณก�ำลังเลี้ยงปัญหาสังคมอยู่ อันนี้คือค�ำถามที่ผมก�ำลังท้าทายกับหลายๆ คน มากกว่า คุณเลี้ยงคนจนไว้หรือเปล่าเพื่อที่คุณจะ ได้มงี านท�ำ เพราะฉะนัน้ คุณต้องกล้าพอทีจ่ ะท�ำให้ ปัญหามันหมดและท�ำให้กจิ การเจ๊ง เพือ่ ทีจ่ ะได้ไป แก้ไขปัญหาใหม่ต่อไป

นอกจากปัญหาสุขภาพมีปัญหาอย่างอื่น ที่มองเห็นไหม

เหตุของปัญหาสังคมมันเกิดอยู่สามเรื่องเขา เรียกว่า วัฏจักรแห่งความหายนะ คือ โง่ จน และ เจ็บ โง่คือความไม่รู้ แต่ปัจจุบันไม่ใช่ไม่รู้หนังสือ นะครับแต่ไม่สามารถเข้าถึงโอกาสในประเด็นของ ความโง่ คือต่อให้คุณมีความรู้แต่เข้าถึงโอกาส ไม่ได้ จน คือไม่มีทรัพยากรรวมถึงการเข้าถึง ทรัพยากรด้วย แต่คุณไม่มีที่ท�ำกินด้วย เจ็บคือ ความเจ็บไข้ได้ป่วยรวมไปถึงโอกาสที่จะเข้าถึง การบริการต่างๆ เพราะฉะนั้นสามเรื่องเป็นเหตุ ของทัง้ หมดทัง้ มวลวนอยูแ่ ค่นี้ ตอนนีง้ านทีผ่ มท�ำมี อยูส่ องเรือ่ งคือ เรือ่ งของสุขภาพกับเรือ่ งการศึกษา ผมยังไม่มีเงินพอที่จะเข้าไปท�ำเรื่องความยากจน

การบริโภคยังคงเป็นปัจจัย 4 ทีม่ นุษย์พงึ่ ต้อง มีอยู่เสมอและขาดไม่ได้ ท่ามกลางยุคที่กระแส ทุนนิยมที่เชี่ยวกรากไปด้วยสื่อโฆษณาเกินจริง เพื่อสร้างยอดขายให้แก่ตัวเองและองค์กรต่อการ แลกความเจ็บป่วยต่อสุขภาพของผู้บริโภคท�ำให้ ทุกปัญหาตกไปอยูท่ โี่ รงพยาบาลและคลินกิ ซะเป็น ส่วนใหญ่ การทีไ่ ด้บคุ คลทีเ่ สียสละอย่าง นพ. ก้อง เกียรติ เข้ามาแก้ไขพฤติกรรมของผูบ้ ริโภคในยุคนี้ ด้วยการจับวัตถุดิบอาหารหลักของคนไทยอย่าง ข้าวพันธุ์ดีที่ไม่ก่อให้เกิดแป้งมากเกินไป น่าจะ

ท�ำให้ผู้บริโภคมีช่องทางในการรักษาสุขภาพจาก ภายในมากยิ่งขึ้นในอนาคตและป้องกันการเสีย ค่าใช้จ่ายการรักษาโรคต่างๆ อย่างมหาศาลได้ เช่นกัน

OCTOBER-DECEMBER ISSUE SEMAG

39


VIEWPOINT-ก้าวทันวิสัยทัศน์

Stranger

Currency

แปรขยะเป็นมูลค่า

สถาบันการจัดการบรรจุภัณฑ์และรีไซเคิลเพื่อสิ่งแวดล้อมหรือ TIPMSE (ทิป-เอ็ม-เซ้) ก�ำลังเดิน หน้าเพื่อให้คนไทยมองขยะอย่างมีคุณค่า โดยเริ่มจากขั้นตอนง่ายๆ อย่างกระบวนการแบ่งแยก ประเภทของขยะและเรียนรูม้ ลู ค่าของขยะในแต่ละแบบทีส่ ามารถสร้างรายได้กลับมาให้กบั เรา จนเกิด โครงการที่น่าจับตามองอย่าง ร้าน 0 บาท (ร้านศูนย์บาท) ที่กลายเป็นโมเดลการซื้อ-ขาย โดย ปราศจากตัวกลางอย่างเงินได้อย่างน่าสนใจ

ผอ.ยุทธพงษ์ วัฒนะลาภา สถาบันการจัดการบรรจุภัณฑ์และรีไซเคิล เพื่อสิ่งแวดล้อม (TIPMSE)

40

SEMAG OCTOBER-DECEMBER ISSUE


เริ่มต้นที่ปัญหา

ความจริงทางสถาบันเราก็ด�ำเนินการมาเพื่อ ลดปัญหาสิ่งแวดล้อมในเรื่องของขยะ อย่างที่เรา รูก้ นั ว่าปริมาณขยะในเมืองไทยมันเยอะมาก มีอยู่ 15 ล้านตันต่อปีซึ่งมันก็แบ่งกันออกเป็นขยะเปียก ขยะแห้ง ขยะอันตราย ฯลฯ มันก็มีอยู่วันหนึ่งซึ่ง เราไม่ได้อยากเรียกมันว่า “ขยะ” คือว่าภาษาไทย มันไม่มคี ำ� สวยๆ เช่น อย่างขยะรีไซเคิลภาษาต่าง ประเทศเขาเรียกว่า “waste” ซึ่งมันอาจมีมูลค่า และไม่ใช่ขยะ แต่ภาษาไทยไม่รู้จะเรียกอะไรเรา ก็เรียกขยะมูลฝอย เราก็มองในส่วนที่เป็นวัสดุ รีไซเคิลในกองขยะว่ามันมีค่ามาก อย่างหนึ่งปีมี ขยะ 15 ล้านตัน เราเอามารีไซเคิล 6 ล้านกว่า ตัน 6 ล้านกว่าตันนี่เรารณรงค์ด้วยการคัดแยก ขยะก่อน บรรจุภัณฑ์ทุกอย่างมันมีมูลค่าอยู่แล้ว เพราะฉะนัน้ เราก็รณรงค์ทงั้ เทศบาล มหาวิทยาลัย ชุมชน หมูบ่ า้ น ฯลฯ เมือ่ เรารณรงค์ได้มนั สามารถ สร้างมูลค่ามหาศาลหลายหมืน่ ล้านบาท ซึง่ มูลค่า ที่ เ ที ย บมาสามารถสร้ า งอาชี พ ให้ แ ก่ ก ลุ ่ ม คน จ� ำ นวนมากได้ มี ก ารสอนเด็ ก ให้ รู ้ จั ก คั ด แยก ผลิตภัณฑ์ ทั้งหมดเรามีคู่มือ เรามีสื่อเช่น ทีวี เว็บไซต์ สถานีรไี ซเคิลทีจ่ ะสามารถบอกราคาของ วั ส ดุ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ว ่ า ราคาขึ้นหรื อลง และมีกลุ่ม ซาเล้งที่เราพัฒนากลายเป็นกลุ่ม THE BEST OF THE WORLD ซึ่งมีคนมาดูงานที่ประเทศไทย พร้อมกับแหล่งการเรียนรู้อย่างร้าน 0 บาท

ร้าน 0 บาท

ตอนช่วงน�้ำท่วมเราน�ำกลุ่มเครือข่ายอย่าง ซาเล้งไปช่วยเขา ไปสอนการคัดแยกขยะ เพราะพอ เราไปถึงเราเห็นสองข้างทางขยะเต็มไปหมดเลย เลยตัง้ ค�ำถามว่าจะท�ำอย่างไรกับมันเพราะทุกคน รู้ว่าสิ่งที่กองอยู่ข้างหน้าคือเงินคือทอง แล้วพอดี มันเกิดเรื่องของค่าครองชีพสูง กลุ่มล่างๆ ก็จะ ตายเอา เราก็เลยช่วยคิดว่าอะไรจะลดค่าครองชีพ ได้ และเราก็รู้อยู่แล้วว่าวัสดุรีไซเคิลมันขายได้ กระบวนการทีใ่ ช้คอื เอาวัสดุรไี ซเคิลไปขายให้รา้ นค้า แล้วเอาเงินมาซื้อของ แต่คือเราจะไปหาร้านค้า จากไหน ก็คยุ กันแล้วก็มานัง่ คิดกันซึง่ การเปิดร้าน มันต้องมีหุ้น เราก็บอกว่าหุ้นละ 50 บาท แต่คุณ ไม่ต้องใช้เงินสดมา แค่เอาวัสดุรีไซเคิลมาแทน

ระยะแรกเราหาชื่อร้านไม่ได้ ก็เลยตั้งว่าเป็นชื่อ “สหกร” ซึ่งไม่มี “ณ์” เพราะต้องการให้ร่วมมือกัน แต่ถา้ มันมี “ณ” ต้องมีการลงทะเบียนและแยกย้าย ส่วนตัวไป จนกระทั่งมาลงเอยที่ชื่อร้าน 0 บาท มันก็เลยเป็นที่มาของร้าน

ความต้องการของชุมชน

เรียนรู้ไปด้วย

โมเดลต้องขยาย

เราคิดว่าชุมชนในเครือข่ายพร้อมเมื่อไหร่ก็ พร้อมขยายไปและก็ยงั มีกลุม่ ทีเ่ ขาอยากจะไปช่วย ท�ำ ในปีนอี้ าจจะได้อกี ซัก 20 แห่งในปีหน้าก็อยาก ให้มันกระจายไปตาม อบต. หมู่บ้าน ชุมชน ซึ่ง มองว่าตรงนี้มันจะตอบสนองความต้องการของ คนในแต่ละพื้นที่ได้ชัดเจนและสินค้ามันก็ไม่ได้ หลากหลายเหมือนห้างสรรพสินค้าทั่วไป เพราะ ฉะนัน้ สินค้าอืน่ ๆ ทีค่ ณ ุ ต้องการก็ยงั สามารถไปซือ้ ได้ตามสถานที่ต่างๆ

ดูความต้องการของชุมชน ถ้าคุณต้องการร้าน ขายของช�ำก็ขายของช�ำ ถ้าคุณต้องการร้านขาย ข้าวแกงก็ขายข้าวแกง ถ้าคุณต้องการร้านขายยา ก็ว่ากันไป เพราะมันจะตอบโจทย์ความต้องการ ของเขา แต่มันจะเข้าข่ายในสิ่งที่เราตั้งใจท�ำใน แบบกิจการเพื่อสังคม (Social Enterprise) เราไม่ สามารถเอาโมเดลของ7-11 มาท�ำได้ หรืออย่าง สังคมรีไซเคิล อื่นๆ เพราะมันต้องมีแบบสอบถามมากมาย ซึ่ง เรามองว่าตรงนี้เป็นสังคมรีไซเคิล ประกอบ มันปวดหัว ก็ไม่ต้องไปท�ำอะไรยากๆ ด้วย ผู้ผลิต ภาครัฐ ประชาชน ภาครัฐจะดูแล เรื่องนโยบาย ส่วนอุตสาหกรรมก็อยากได้วัตถุดิบ ความแตกต่างกับร้านทั่วไป ต่ า งๆ ผลิ ต เสร็ จ ก็ จ ะส่ ง ไปขายผู ้ บ ริ โ ภคเช่ น ไม่กระทบกับร้านทั่วไปครับ ต้องบอกคอน นักศึกษามหาลัยก็จะรู้จักการคัดแยก แล้วก็ยังมี เซ็ปต์กอ่ นว่าหน้าร้าน 0 บาท จะมีตราชัง่ อยู่ เวลา การลงบันทึกความเข้าใจ MOU กับโครงการ เราขนของก็มาชัง่ แล้วก็มาตีเป็นมูลค่าและมาแลก สันนิบาตแห่งประเทศไทยเพื่อการบอกต่อและ ของในร้าน ปกติคณ ุ ไปร้านขายของช�ำไม่วา่ จะเป็น รณรงค์โครงการนี้ แต่ก่อนอย่างกลุ่มซาเล้งสังคม ร้านทัว่ ไปหรือร้านสะดวกซือ้ ร้านเหล่านีต้ อ้ งไปซือ้ มองเขาว่าเป็นส่วนหนึ่งที่ไม่มีค่า แต่ตอนนี้ไม่มี ของที่ห้างสรรพสินค้าทั่วไปเพื่อหาสินค้า แต่เรา แล้ว น้อยมาก เพราะเขาเริ่มมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น บอกว่าของที่เป็น 0 บาท คือของที่พวกเราทั้ง สามารถยืนได้ด้วยตัวเอง ซึ่งจุดตรงนี้ก็เป็นอีก หลายที่มองว่ามันไม่มีค่าและคิดจะทิ้ง ไปซื้อของ จุดหนึ่งที่เราเรียกว่า “สังคมรีไซเคิล” ร้านขายของช�ำทั่วไปมาแลก จากของที่เราคิดว่า ไม่มีค่า เพราะฉะนั้นมันไม่ได้แข่งขันกันระหว่าง ร้าน 0 บาท กับ ร้านทั่วไป แต่จะเป็นในลักษณะ ของการช่วยเหลือกันมากกว่า ซึ่งมันก็เป็นกิจการ เพื่อสังคมเนี่ยแหละ ชุมชนบริหารชุมชนและช่วย เหลือซึง่ กันและกัน ซึง่ เราไม่ได้ตอ้ งการบอกว่ามัน มีก�ำไรมากหรือน้อย สิ่งที่มันตามมาคือการได้ พบปะเกิดการแลกเปลี่ยน มันเกิดความสนิทสนม กัน เพราะปกติคนกรุงเทพฯไม่ค่อยได้คุยกันซัก เท่าไหร่ และตรงจุดนีย้ งั ช่วยลดปัญหาเรือ่ งของยา เสพติดได้ เรื่องขโมย ฯลฯ เพราะมันเกิดการรวม กัน ในพืน้ ที่ 14 ไร่ มีคติเรือ่ งของการไม่รบั บริจาค เรือ่ งเงิน ห้ามยึดติดต�ำแหน่ง ซึง่ ถ้าตัดตรงนีไ้ ด้มนั ก็จะเกิดความยัง่ ยืน ส่วนสถาบันก็คอยเป็นพีเ่ ลีย้ ง ที่คอยดูแลช่วยเหลือไป ตรงนั้นก็เป็นศูนย์การ

อะไรก็ตามที่ท�ำแล้ว สอดคล้องกับชีวิต ผู้บริโภคได้ มันก็จะ ส�ำเร็จง่ายขึ้น

OCTOBER-DECEMBER ISSUE SEMAG

41


พีรธร เสนีย์วงศ์

ทีป่ รึกษากลุม่ ซาเล้ง ศูนย์วสั ดุรไี ซเคิล กลุ่มซาเล้งชุมชนอ่อนนุช 14 ไร่ และ เจ้าของร้าน 0 บาท

เป็นคนรูมาก่อน

เริ่ ม มาจากการรวมตั ว กั น ของคนกลุ ่ ม ใต้ สะพานลอย เขาเรียกกันว่า “คนรู” หรือ “หลังคา ร้อยล้าน” เพราะเราอาศัยอยู่ใต้ทางด่วน แล้ว พอถึงช่วงหนึ่งพวกเราซึ่งเป็นคนใต้สะพานที่มี มากกว่า 3,000 ครอบครัวต้องอพยพไปอยู่ใน พื้นที่ใหม่ ทีนี่การไปอยู่ที่ใหม่เนี่ย มันยากเพราะ คนใต้สะพานจะไปอยู่ไหนได้ เราก็เลยสู้ด้วยการ เสนอปัญหาไปทีห่ น่วยงานภาครัฐว่าเราจะไปอยูท่ ี่ ไหน เรารวมตั ว จากกลุ ่ ม คนใต้ ส ะพาน เช่ น สะพานมักกะสัน สะพานพระราม 9 เป็นต้น แล้ว ก็ไปที่หน่วยงาน ไปบอกเขาก็ไม่ค่อยได้ฟังเท่า ไหร่ เขาก็มีงบมาให้แก้ไขปัญหา แต่การย้ายคน ก็เหมือนการย้ายเมืองซึ่งมันเยอะมาก เขาก็ให้ ย้ายไปอยู่แถวลาดกระบัง เราก็เห็นว่าเป็นปัญหา อีกเพราะคนรวมกันอยู่เยอะๆ มันแน่น มันกลาย เป็นไม่ใช่ทางแก้ไขปัญหาแต่จะเป็นการเพิม่ ปัญหา ด้วยซ�้ำไป เราจะท�ำอะไรกิน ณ ตรงนั้น ลูกหลาน จะอยูอ่ ย่างไร การใช้งบประมาณของรัฐทีท่ มุ่ ลงไป 42

SEMAG OCTOBER-DECEMBER ISSUE

นั้นมันไม่ได้แก้ไขปัญหาจริงๆ เพราะสุดท้ายคน เหล่านี้ก็อยู่ไม่ได้ก็กลับไปบุกรุกอีก

เริ่มท�ำงานกับ TIPMSE

ช่วงนั้นเราเปิดร้านสหกร ค�ำว่า “สหกร” คือ การรวมกัน ไม่มี “ณ์” เพราะเราต้องไปจดทะเบียน คิดโครงการง่ายๆ คือ “ขยะในบ้านคุณมาแลก สินค้า” ท�ำกันเล็กๆ ไม่ได้ใหญ่โต แต่ก่อนพื้นที่ ตรงนีเ้ ป็นทีด่ นิ ลูกรัง แล้วก็มกี ารบอกให้เอาขยะใน บ้านคุณมาแลกกับสินค้าในสหกร พอเราท�ำทีน่ เี่ รา ก็เริม่ ไปคัดแยกขยะตามชุมชน ไปบอกกับประธาน ชุมชนว่าเราจะเอาขยะไปแยกนะ แล้วก็มีจุดขยะ เคลื่อนที่ ใครมีขวดพลาสติกก็เอามาแลกได้ ทุก คนได้ขยะมาเยอะ แล้วเราก็มีการเปิดให้ถือหุ้น กันด้วย พอท�ำแล้วมันท�ำให้ชุมชนสะอาดขึ้นและ มีรายได้ ส่วน TIPMSE เข้ามาในเรื่องของการให้ ความรู้ต่อการคัดแยกขยะ เรื่องการขึ้นทะเบียน ซาเล้ง ซึ่งเราท�ำแบบนี้มา 3 ปีแล้ว เราคาดหวังว่า


จะน�ำร้านระบบแบบนีไ้ ปตัง้ ตามชุมชนต่างๆ มันมี ก�ำไร ดูแลชุมชนได้ ไม่ต้องง้อภาครัฐด้วย

ท�ำไมต้องเอาขยะมาแลก

เรามีเป้าตั้งค�ำถามไว้ว่า ถ้าคุณไม่มีเงิน คุณ จะแก้ไขปัญหาอย่างไรแล้วก็จะสอนคุณด้วย เช่น เอาพลาสติกมาชั่งได้ 30 บาท แต่ใช้แลกของไป 20 บาท ดังนั้นคุณก็จะได้เงินไปอีก 10 บาท ด้วย มันก็ประหยัดเงินในกระเป๋าด้วย ก�ำไรมาสองส่วน คือ สินค้าที่เราแลกได้ กับ เงินจากขยะที่เราไม่ได้ ใช้แลก ซึ่งมันอยู่รอดได้

เงินหมุนเวียนในร้าน

ตกเดือนละ 2 แสน ที่นี่มีการปันผลทุกๆ 6 เดือน แบ่งสัดส่วนออกเป็น ปันผลสมาชิก 30% เจ้า หน้าที่สหกร 20% และการพัฒนา 50% เช่น สวน เกษตรของที่นี่ ซึ่งใครอยากกินปลา ก็เอาขยะมา แลก ใช้ขยะดูแลชีวิตซึ่งเรามีเสื้อกั๊กซาเล้งมีเบอร์ พร้อมติดต่อ เลยท�ำโครงการขยะในบ้านคุณน�ำมา ท�ำประกันชีวิตได้

เสื้อซาเล้ง

ชุ ม ชนที่ นี่ รั ก เสื้ อ ซาเล้ ง มากเพราะมี ค วาม ปลอดภัยและความมั่นคงในชีวิตของเขา สังคม ส่วนใหญ่ชอบตั้งภาพว่ากลุ่มซาเล้งชอบขโมย ซึ่ง ภาพตรงนี้เขาก็ยังมองอยู่ การมีเสื้อกั๊กท�ำให้มี การติดต่อตามตัวได้ อย่างโดนรถชนคนอืน่ ทีเ่ ห็นก็ สามารถติดต่อผ่านมายังเราได้วา่ มีอะไรเกิดขึน้ กับ กลุม่ ซาเล้งของเรา ซึง่ มันตอบโจทย์เราได้มากกว่า การติดตราอะไรอื่นๆ เยอะแยะ เมื่อไหร่ที่กลุ่ม ซาเล้งเข้าระบบได้เมื่อไหร่อาชญากรรมจะน้อย ลง อย่างที่ศรีลังกาอาชญากรรมส่วนใหญ่เกิดใน ชุมชน เขาแก้ปญ ั หาโดยการตัง้ ป้อมต�ำรวจไว้ดแู ล ในชุมชนอย่างน้อยสองคน แต่เมืองไทยต�ำรวจอยู่ ร้านทองซึง่ มันแตกต่างกัน มันมีขอ้ ดีขอ้ เสียต่างกัน

ปฎิเสธเงินช่วยเหลือ

ที่นี่ไม่เอาเงินช่วยเหลือ เพราะคิดว่ามันจะ สร้างการแตกแยกให้กับพวกเรา แต่ถ้ามีคนให้ แผ่นกระเบื้อง หลังคา เราเอา แต่ถ้าเป็นเงินเรา มีการแยกขยะบางส่วนอาจจะได้เยอะกว่านั้น ไม่เอา มีประเทศศรีลงั กาเขามาดูงานเขาอยากให้ เงินพวกเราแต่เราไม่เอา เป็นการรื้อฟื้นความทรงจ�ำ บางครอบครัวเขาได้ขา่ วก็พาลูกๆ มาทีน่ แี่ ล้ว กลายเป็นแหล่งเรียนรู้ ก็อธิบายว่าเมื่อก่อนพ่อก็มีการแลกของด้วยของ ทุกคนที่มาที่นี่ผมมีกิจกรรมหมด คือ มีการ เหมือนกันนะ เป็นการรื้อฟื้นอดีตให้คนรุ่นใหม่ สอนในการคัดแยกขยะ การชั่งขยะ และไปแลก ได้เห็นวิถีเก่าๆ ซึ่งแต่ก่อนเราก็ใช้ระบบแลกของ นัน่ คือของขวัญทีช่ มุ ชนให้กลับไปและสอนให้รจู้ กั กันอยู่แล้ว เพียงแต่ที่นี่ไม่ได้ใช้เงินแลกแต่ใช้ขยะ มูลค่าในขยะและการสร้างมูลค่าด้วย เช่น ถ้าคุณ แลก

การคลุกคลีกับขยะ มากกว่าคนอื่นๆ ท�ำให้ เราเห็นคุณค่าขยะ มากกว่าคนอื่นๆ

ร้าน 0 บาท เปิดทุกวัน 06.00 - 20.00 น. ชุมชนอ่อนนุช 14 ไร่ เขตประเวศ กทม. สอบถามเพิ่มเติม 0 2726 4263

OCTOBER-DECEMBER ISSUE SEMAG

43


SHOWCASE

DESIGN

IS EVERYTHING การช่วยเหลือออกแบบได้

นุน่ -ศิรพันธ์ วัฒนจินดา เป็นนักแสดง พิธกี ร และนักออกแบบ ส่วน ปอ-ชิดชนก ธเนศบวร เป็น สถาปนิก ทัง้ สองมาเจอกันครัง้ แรกที่ CIDI สถาบันการออกแบบ พร้อมกับเป้าหมายเดียวกันจากข้อคิด ของอาจารย์ที่ได้มอบให้แก่ลูกศิษย์ทั้งสองว่างานออกแบบมันต้องให้เกิดประโยชน์กับคนในสังคม มากกว่านี้ เมือ่ ทัง้ สองเริม่ คุยกัน น่าแปลกทีน่ อกจากคุยกันเข้าใจและถูกคอ ทัง้ สองยังเป็นคนเชียงใหม่ และเรียนจบสถาบันเดียวกันตามมาอีกด้วย จากอาชีพพิธีกรที่ได้ไปออกพื้นที่สัมภาษณ์ตาม ชุมชนต่างๆ ท�ำให้นุ่น ศิรพันธ์ ได้พบกับวัตถุดิบอย่าง เกลือธรรมชาติ ที่อ�ำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน และได้ รูค้ ณ ุ ค่าของเกลือว่าเป็นเกลือบริสทุ ธิท์ สี่ ามารถน�ำมาท�ำ เป็นผลิตภัณฑ์ความสวยความงามได้ โดยได้ความร่วม มือจากหัวหน้าในชุมชนและผู้เชี่ยวชาญทางสมุนไพร ธรรมชาติต่อการคิดค้นและท�ำออกมาภายใต้แบรนด์ ที่ชื่อว่า เชอพ เชอพ (CHERB CHERB) เชอพเป็นตัวแทนของผูห้ ญิงทีล่ ะมุนละไม นุม่ นวล จับต้องได้แต่ไม่ได้เนี๊ยบจนเกินไปซึ่งทั้งหมดถูกตีออก จากบุคลิกของทั้งสองคนและยังรับผิดชอบในส่วนของ การตกแต่งและการออกแบบเป็นหลักด้วยพืน้ ฐานความ สนใจต่องานทางด้านดีไซน์ที่เธอมองว่าการออกแบบ ช่วยส่งเสริมเรื่องของภาพลักษณ์ผลิตภัณฑ์ที่ท�ำจาก วัตถุดิบธรรมชาติอย่างเกลือบริสุทธิ์ให้มีมูลค่ามากขึ้น ให้สมกับคุณค่าและคุณภาพของเกลือบริสุทธิ์ชนิดนี้ที่ ไม่มีใครสนใจวัตถุดิบดีๆ ในท้องถิ่น เธอยังเชื่อว่าการออกแบบไม่ได้จบเพียงแค่สิ่งของ แต่มันสามารถท�ำให้เกิดชีวิตและทัศนคติได้จริง การ ได้ลงมาท�ำงานทีต่ วั เองสนใจและตัง้ เป้าว่านีค่ อื หนทาง ทีจ่ ะน�ำวิชาไปใช้ตอ่ การช่วยเหลือสังคมและสร้างคุณค่า ให้กับผลิตภัณฑ์ที่ดีของชุมชนให้เอื้ออ�ำนวยต่อการส่ง เสริมช่องทางการจ�ำหน่ายเพือ่ ให้ชมุ ชนมีรายได้ตอ่ การ เลีย้ งชีพและให้ชมุ ชนได้รวู้ า่ ตัวเองมีคณ ุ ค่ามากกว่าทีจ่ ะ ให้รู้สึกว่าโดนสังคมทอดทิ้ง การเติมเต็มจึงกลายเป็น สิ่งที่ส�ำคัญภายใต้บริบทการให้อย่างที่ทั้งสองได้ทำ� อยู่ แม้วา่ ต่างคนจะมีภาระหน้าทีก่ ารท�ำงานหลักก็ตาม ซึง่ 44

SEMAG OCTOBER-DECEMBER ISSUE


การท�ำโปรเจคนี้อยากให้ เหมือนก้อนหินก้อนหนึ่งที่โยน ลงไปในน�้ำแล้วเกิดวงรอบของ การกระเพื่อม ถึงแม้เราจะเป็น สะเก็ดบางอย่างตกลงไป แต่ เชื่อว่าการกระเพื่อมนี้มัน จะเกิดบางสิ่งบางอย่างขึ้นมา

เธอยังเชือ่ ในเรือ่ งของพลังแห่งการให้ตอ่ สังคม อย่างจริงใจ ความสุขที่เกิดจากการให้จึงวน กลับมาที่สองสาวในฐานะผู้ส่ง เธอย�้ำกับเรา อย่างมีความสุขแม้ว่าเรื่องราวที่ท�ำจะไม่ใช่ เพื่อตัวเองก็ตาม ที่ต้องมีการผ่านการลองผิด ลองถูก เหนือ่ ยบ้าง ท้อบ้างในเรือ่ งของการท�ำ ผลิตภัณฑ์แต่สุดท้ายก็ยังมีรอยยิ้ม การมาสัมผัสงานช่วยเหลือในครั้งนี้ เรา เชื่อว่ามันอาจเป็นจุดเริ่มต้นเล็กๆ ที่ท�ำให้ใคร หลายคนทีก่ ำ� ลังติดตามนักแสดงสาวอย่างใกล้ ชิดได้ท�ำความรู้จักกับอีกมุมหนึ่งของเธอใน บทบาทใหม่ที่ไม่ได้อยู่ในจอแต่อยู่ในโลกแห่ง

ความเป็ น จริ ง ที่ ไ ด้ ส ร้ า งความเปลี่ ย นแปลง และการรับรู้ให้กับคนรุ่นใหม่ได้หันมาสานต่อ ให้เกิดเป็นกระแสที่มีพื้นฐานแห่งการให้ต่อ สังคม จะมากจะน้อยไม่ส�ำคัญหากสิ่งที่สอง สาวก�ำลังท�ำอยู่ช่วยกระตุ้นจิตส�ำนึกของคน กลุ่มหนึ่งซึ่งเรามองว่ามันก็เป็นการประสบ ความส�ำเร็จขั้นหนึ่งเพื่อให้ก้าวไปสู่เป้าหมาย ต่อไปของสองสาวทีต่ อ้ งการให้รปู แบบการช่วย เหลือนีก้ ระจายไปทัว่ ทุกพืน้ ทีใ่ ห้ได้มากทีส่ ดุ ต่อ การน�ำวัตถุดิบที่มีไปพัฒนาให้เกิดผลิตภัณฑ์ ที่มีศักยภาพมากขึ้น ซึ่งในอนาคตเธอตั้งใจ อยากที่จะน�ำวิชาการออกแบบที่ได้เรียนมา

ทิศทางการตอบรับของสังคมในอนาคต กระแสความสวยความงามก�ำลังมาและเชือ่

กั บ กลุ ่ ม เป้ า หมายที่ ว างเอาไว้ แ ละการสร้ า ง แบรนด์ของเชอพให้มคี ณ ุ ค่าและตัวตนทีโ่ ดดเด่น ฉีกไปต่างจากแบรนด์ในสายเดียวกัน

ว่าสัดส่วนประชากรที่เพศหญิงมีมากกว่าเพศ ชายซึ่ ง เมื่ อ ทั้ ง สองปั จ จั ย นี้ ร วมกั น บวกกั บ ผลิตภัณฑ์ที่มีรากฐานมาจากธรรมชาติด้วย แล้ว ท�ำให้ผลิตภัณฑ์เชอพน่าจะเป็นตัวเลือกที่ น่าสนใจต่อการน�ำมาเป็นทางเลือกต่อการใช้ ดูแลสุขภาพผิวได้ แต่อาจจะต้องเจอคู่แข่งใน สายผลิตภัณฑ์ประเภทเดียวกันหนักหนาเสีย หน่อย

ศักยภาพทีค่ วรเติมเต็มเพือ่ ความสมบูรณ์ ของธุรกิจ ปัญหาที่ผลิตภัณฑ์เพิ่งจะออกมาสร้างการ รับรูต้ อ่ ประชาชนทัว่ ไป คือ ช่องทางการสือ่ สาร ทีเ่ จ้าของผลิตภัณฑ์ตอ้ งพยายามสือ่ สารให้ตรง

สร้างประโยชน์ให้แก่ชมุ ชนทีม่ วี ตั ถุดบิ ดีๆ แต่ ยังไม่ได้รับการช่วยเหลือและเผยแพร่ซึ่งเชื่อ ว่าจากการกระท�ำของเธอ เป็นเรื่องที่น่ายินดี ที่มีบุคคลที่มีชื่อเสียงและเป็นบุคคลต้นแบบ ของคนรุ่นใหม่หลายคนที่หันมาสนใจต่อการ ช่วยเหลือชุมชนและสังคมให้ได้มโี อกาสแสดง สินค้าที่มีคุณภาพและเพิ่มรายได้ให้กับคนใน ชุมชน ทั้งหมดนี้คือความตั้งใจของสองสาว มากความสามารถที่ออกมาช่วยเหลือสังคม ในหน้าที่ของนักออกแบบ ที่เธอทั้งสองย�้ำต่อ สถานะของทั้งคู่กับเราอย่างนั้น

ผลิตภัณฑ์ของเขามีสว่ นช่วยพัฒนาชุมชน อย่างไร

ด้วยความที่นุ่น และปอ สนใจด้านการตลาด และงานออกแบบเป็นล�ำดับต้น เธอจึงสนใจ สินค้าและผลิตภัณฑ์ที่กำ� เนิดขึ้นบนพื้นฐานของ ชุมชนท้องถิ่น ช่วยหาช่องทางการจัดจ�ำหน่าย และน�ำความรู้ด้านงานออกแบบมาช่วยพัฒนา โดยการน�ำเกลือที่ขึ้นชื่อของ อ.บ่อเกลือ ท�ำเป็น ผลิตภัณฑ์สปา เพราะถ้าปล่อยให้ อ.บ่อเกลือ จ�ำหน่ายเกลือเพียงแค่เพื่อบริโภค คงยากที่จะ เพิ่มมูลค่าให้กับวัตถุดิบได้ OCTOBER-DECEMBER ISSUE SEMAG

45


SE-NOTED

05

01

05. มังคุดคาเฟ่ By Club Arts

03

01. Cabbages & Condomse

เมนูแนะน�ำ : ย�ำถุงยาง, ไก่ห่อใบเตย, ต้มย�ำกุ้ง สถานที่ : เลขที่ 8 สุขุมวิท 12 (ซ.สุดใจ) ถนน สุขุมวิท แขวง/เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 เปิดบริการ : 11.00 - 23.00 น. ปิดรับออเดอร์ 22.30 น. เปิดบริการทุกวัน โทรศัพท์ : 0 2229 4610 เว็บไซต์ : www.pda.or.th/restaurant

02. ครัวใส่ใจ

เมนูแนะน�ำ : น�้ำพริกปลาทู, สลัดฟักทอง, คั่ว กลิ้งเห็ด สถานที่ : ซอยวิภาวดี 22 (ทางลัดไปเชื่อมต่อ ซอยลาดพร้าว 8) ถนนวิภาวดีรังสิต กรุงเทพฯ เปิดบริการ : 11.00 – 14.00 น. หยุดทุกวัน เสาร์-อาทิตย์ และวันนักขัตฤกษ์ โทรศัพท์ : 0 2983 8534, 08 7915 3440 เว็บไซต์ : www.saijaihealthyfood.com, www.facebook.com/saijaihealthyfood

เมนูแนะน�ำ : ห่มรักในสวน, ผัดไทย ล้านนา, เขียวหวานหมูย่างล�ำใย สถานที่ : 258 อรุณอมรินทร์ 18 ซอยวัดระฆัง แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700 เปิดบริการ : อังคาร-พฤหัสบดี และอาทิตย์ 11.00 – 22.00 น. / ศุกร์-เสาร์ มีการแสดง ละครร่วมสมัย และดนตรี 11.00 – 23.00 น. หยุดทุกวันจันทร์ โทรศัพท์ : 0 2866 2143, 08 1843 1598 เว็บไซต์ : www.clubartsgallery.com

03. นะโมน�้ำมนต์

เมนูแนะน�ำ : ซีซาร์สลัด, โตรตีย่าไก่ย่าง, ซุป เห็ด-ผักโขม สถานที่ : 70 ถนนพระสุเมรุ แขวงชนะสงคราม เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 เปิดบริการ : 10.00 – 20.00 น. หยุดทุกวัน อาทิตย์ โทรศัพท์ : 0 2282 5770, 08 9921 2839 อีเมล์ : urai_nini_p@hotmail.com

06. Be Organic By Lemon Farm

04

เมนูแนะน�ำ : สลัดบีออแกนิค, ซุปฟักทอง, น�้ำ เสาวรสพร้อมดื่ม สถานที่ : The Portico ชิดลม (ตรงข้าม โรงเรียนมาแตร์เดอี) ซ.หลังสวน จากสถานี รถไฟฟ้า BTS ทางออกที่ 4 เข้าซอยมาประมาณ 300 เมตร เปิดบริการ : 11.00 – 21.00 น. ปิดรับออเดอร์ 20.20 น. เปิดบริการทุกวัน โทรศัพท์ : 0 2652 1975 เว็บไซต์ : www.lemonfarm.com, www. facebook.com/lemonfarmfan

04. AKHA AMA

46

02

เมนูแนะน�ำ : เครื่องดื่ม (เอสเพรสโซ่ร้อน, ลาเต้ ร้อน, ลาเต้เย็น) เบเกอรี่ (Mango Lover) สถานที่ : 9/1 มาตาอพาร์ตเมนต์ ถนนหัสดิเสวี ซอย 3 ต�ำบลช้างเผือก อ�ำเภอเมือง เชียงใหม่ 50300 เปิดบริการ : 08.00 – 20.00 น. หยุดทุกวันพุธ โทรศัพท์ : 08 6915 8600 เว็บไซต์ : www.akhaama.com, www. facebook.com/akhaama

SEMAG OCTOBER-DECEMBER ISSUE

06


OCTOBER-DECEMBER ISSUE SEMAG

47


ไม่ว่าคุณ... จะเป็นใคร

ขอเพียงคิดร่วมเดินทางไปสู่สังคมที่ยั่งยืน คุณ ก็คือ หนึ่งในเครือข่ายกิจการเพื่อสังคม คลิ๊กดูรายละเอียดและลงทะเบียน เครือข่ายกิจการเพื่อสังคมได้ที่

www.tseo.or.th ลงทะเบียนเครือข่าย กิจการเพื่อสังคม เพิ่มพลังกิจการเพื่อสังคมที่ยั่งยืน ถ้าคุณ เป็นคนหนึ่งที่ประกอบกิจการ เพื่อมุ่งหวังช่วยแก้ไขปัญหาและพัฒนา สังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม ถ้าคุณ ตัง้ ใจอยากน�ำผลก�ำไรคืนสูส่ งั คม และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ถ้าคุณ เริ่มต้นท�ำกิจการเพื่อสังคมและ ต้องการเติบโตในเส้นทางนี้หรือเป็น ผูป้ ระกอบการกิจการเพือ่ สังคมทีเ่ ข้มแข็ง และพร้อมถ่ายทอดประสบการณ์ให้กับ เพื่อนๆ สู่การเดินทางเพื่อสังคมที่ยั่งยืน

48

SE REGISTRATION

SEMAG OCTOBER-DECEMBER ISSUE

SE MARK

SE ACCRDITATION


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.