Publisher
ÍÒ¨ÒàÈÔÃÔà¾çÞ ¡Ò¨¹Ò¸ÔÁÒÈ ·Õè»ÃÖ¡ÉÒ
¹Ò¸ÕÃÈÑ¡´Ôì §ÒÁʧ‹Ò Í͡Ẻ
1
¹Ò ³Ñ¯ÃÑ¡É à¾ç§·ÃѾ ¾ÔÊÙ¨¹ ÍÑ¡ÉÃ
foreword “ชีวิตสั้น ศิลปะยั่งยืน” มันท่าจะจริงไม่ว่าจะตั้งแต่ที่เราเรียนกันมาตั้งแต่อนุบาลจวบจนประถม มัธยมและมหาลัย ศิลปะนั้นตามติดเราไปตลอดปะปนไปในชีวิตประจําวันอย่างกลมกลืน ไม่ว่าจะเป็นอาคาร พาหนะ อาหาร หรือสื่อต่างๆนั้นล้วนเป็นศิลปะทั้งสิ้น กว่าจะได้สิ่งต่างๆที่เราเห็นกันปัจจุบันนั้น ก็ต้องผ่านกระบวนการหลายๆอย่าง ทั้งการจัดองค์ประกอบหรือการ ออกแบบดีไซด์ให้งานนั้นดูน่าสนใจขึ้นมา การโฆษณาหรือโปรโมทผลงานสินค้าผ่านสื่อต่างๆ ให้ดูน่าสนใจนั้นก็ต้องผ่านการออกแบบดีไซด์ แล้วเราจะทํายัง ไงล่ะ? ให้ลูกค้ามาสนใจงานของเราวันนี้เราจะมาเสนอเล็กน้อยๆให้เพื่อจะเป็นแนวทางต่อไปสําหรับดีไซด์เนอร์มือ ใหม่ ด้วยการที่ทางนิตยสารของเราก็ได้เรียนทางด้านกราฟฟิกคอมพิวเตอร์มาจึงสนใจที่จะนําเสนอการออกแบบดีไซด์ ต่างๆในรูปแบบของ E-bookและจัดทําขึ้นมาเนื่องจากเป็นการประเมินความรู้ปวช.ตลอด3ปีที่เราได้เรียนมา ทางนิตยสารของเราก็หวังว่าจะสามรถเป็นแรงบันดาลใจในการทํางานให้ผู้อ่านไม่มากก็น้อย และหวังว่าผู้อ่านก็จะ ชอบผลงานชิ้นนี้ด้วยเช่นกัน
2
Contents ͧ¤ »ÃСͺ㹧ҹ¡ÃÒ¿¿ ¡ 5
ÇÔ¸Õ¡ÒÃÍ͡Ẻàº×éͧµŒ¹ 7
ËÅÑ¡¡ÒÃÍ͡Ẻ 8
¤Ø³¤‹ÒáÅФÇÒÁÊÓ¤Ñޢͧ§Ò¹Í͡Ẻ§Ò¹¡ÃÒ¿¿ ¡áÅÐÊ×èÍ
9
¡Ãкǹ¡ÒäԴÊÌҧÊÃä 10
¡ÒÃàÅ‹ÒàÃ×èͧ㹧ҹÍ͡Ẻ¡ÃÒ¿¿ ¡ 11
ÁÒÃÙŒ¨Ñ¡§Ò¹ÀÒ¾»ÃСͺ 3
12
4
ͧ¤ »ÃСͺ㹡ÒÃÍ͡Ẻ¡ÃÒ¿¿ ¡ อง์ประกอบในการออกแบบกราฟฟิกจะแบ่งได้เป็น สิ่งต่างๆมากมาย นักออกแบบควรจะทําความรู้จัก มากมายกับความหมายลอารมณ์ที่ได้จากองค์ประกอบ ต่างๆ และการนําองค์ประกอบเหล่านั้นมาจัดวางร่วม กันเพื่อสื่อสารสิ่งที่ต้องการออกไปได้ ดังนั้น เราจะมา ทําความเข้าใจกับสองสิ่งนี้คือ -องค์ประกอบต่างๆ สําหรับงานกราฟฟิก -การจัดวางองค์ประกอบสําหรับออกแบบงานกราฟฟิก องค์ประกอบต่างๆสําหรับงานกราฟฟิก องค์ประกอบ ต่างๆสําหรับงานกราฟฟิก คือองค์ประกอบพื้นฐาน ทางศิลปะที่จะถูกนํามาใช้ในการออกแบบ โดยองค์ ประกอบเหล่านั้นจะแบ่งออกได้ ดังนี้ 1.จุด เส้น ระนาบ 2.รุปร่าง รูปทรง ปริมาตร 3.Perspective 4.พื้นผิว(Texture) 5.ขนาด (Scale) 6.สี(Colours)
5
¡ÒèѴÇҧͧ¤ »ÃСͺÊÓËÃѺÍ͡Ẻ§Ò¹¡ÃÒ¿¿ ¡ การจัดองคืประกอบทําขึ้นเพื่อให้งานที่ออกไปสื่อความ หมายที่ต้องการ และมองเห็นจุดเด่นของงานอย่างชัดเจน โดยที่ภาพรวมของงานไปในทิศทางที่ส่งเสริมกันและกัน การจัดองคืประกอบสําหรับออกแบบงานกราฟฟิกจะมี หลักการต่างๆคือ 1.จังหวะและความสมดุล 2.ความสมมาตรและความอสมาตร 3.การซ้ําและการเปลี่ยนแปลง 4.จังหวะและเวลา 5.จังหวะและระยะก้าว 6.ภาพพื้นหลังและภาพ 7.การใช้กรอบ 8.การจัดลําดับ 9.เลเยอร์ 10.ความโปร่งแสง 11.ระบบสัญลักษณ์ 12.ระบบกริด
6
ÇÔ¸ÕÍ͡Ẻàº×éͧµŒ¹ ความลงตัวและการแสดงออกที่สวยงามคือ หัวใจสําคัญประการหนึ่ง ของการออกแบบเบื้องต้น ความลงตัวมีหลายรูปแบบแต่โดยเบื้องต้นจะ กล่าว 2รูปแบบด้วยกัน 1.ความลงตัวของเหตุผล 2.ความลงตัวของฟอร์ม ความลงตัวของเหตุผล เนื่องจากมนุษยืเป็นผู้ที่มีนิสัยพึงพอใจใน เหตุที่ลงตัว รวมถึงการเปรียบเทียบ ความต่อเนื่องและการกลมกลืน ของเหตุผล เพราะฉะนั้น ถ้าการออกแบบมีเหตุผลรองรับหนักแน่นก็ จะทําให้เกิดความพึงพอใจในงาน สําหรับงานออกแบบกราฟฟิกความ ลงตัวในเหตุผลหมายถึงการใช้ตรรกะที่สมเหตุสมผลตามบริบทที่ควร จะเป็น การลงตัวของฟอร์ม ความหมายของมันก็คือการที่มีฟอร์มลักษณะ ร่วมกันบางอย่าง
7
ความลงตัวแบบอื่น นอกจากความลงตัวที่กล่าวมาข้างต้นแล้ว ยังมี ความลงตัวต่างตามสถานการณ์อีก เช่น ความลงตัวของเสียงกับภาพ เช่น งานออกแบบโลโก้ IBMของ Paul Rand กราฟฟิกดีไซเนอร์ ชาวอเมริกัน ที่ใช้เสียง คําว่า eye bee m แทนคําว่า IBM ได้อย่างนาสนใจ งาน ออกแบบกราฟฟิกของสถานีรถไฟ ชื่อ Memories of twenty street โดย ใช้ความลงตัวเมื่อภาพบนผนังจะสวมลงพอดีกับศีรษะคน
ËÅÑ¡¡ÒÃÍ͡Ẻ การออกแบบกราฟิกและสื่อเป็นขั้นตอนหนึ่งของการสร้างสรรค์งานที่ เกี่ยวข้อง กับกระบวนการงานกราฟิก งานทางด้านสิ่งพิมพ์ โดยมีหลัก การคิดและวิธีการดําเนินการที่ต้องอาศัยแนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการ สื่อความหมาย หลักการทางศิลปะประยุกต์และทฤษฎีการรับรู้ทาง จิตวิทยา การออกแบบงานกราฟิกจึงต้องกระทําอยู่บนพื้นฐานขององค์ ประกอบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องดังนี้ การออกแบบงานกราฟิกและสื่อ ควรจะต้องคํานึงถึงหลักการ ดังนี้ 1. ความมีเอกภาพ (unity) 2. ความกลมกลืน (harmony) 3. ความมีสัดส่วนที่สวยงาม (propertion) 4. ความมีสมดุล (balance) 5. ความมีจุดเด่น (emphasis)
ͧ¤ »ÃСͺ㹡ÒÃÍ͡Ẻ§Ò¹¡ÃÒ¿¿ ¡áÅÐÊ×èÍ ส่วนสําคัญที่จะสร้างสรรค์ความสุนทรีย์บนงานออกแบบ มีองค์ ประกอบอยู่ 2 ส่วน คือ 1. อักษรและตัวพิมพ์ ตัวอักษรจะทําหน้าที่เป็นส่วนแจกแจงรายละเอียดของ ข้อมูล สาระที่ต้องการนําเสนอด้วยรูปแบบและการจัดวางตําแหน่ง อย่างสวยงาม มีความชัดเจน การออกแบบ การเลือกแบบตลอดจนการ กําหนดรูปแบบของตัวอักษรที่จะนํามาใช้ ต้องมีลักษณะเด่น อ่านง่าย สวยงาม น่าสนใจ ลักษณะที่แตกต่างของตัวอักษร จึงต้องกําหนดตาม สภาวะการนําไปใช้ โดยแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่เป็นหัวเรื่อง หรือชื่อสินค้า จะต้องเน้นความโดดเด่นของรูปแบบมากที่สุดและ ส่วนที่เป็นข้อความหรือเนื้อหา ที่ต้องการแสดงรายละเอียดต่าง ๆ นิยม ใช้ตัวอักษรที่มีรูปแบบเรียบง่ายสะดวกในการอ่านมากที่สุด ในการเลือกใช้ตัวอักษรให้มีความเหมาะสมกับงานที่ออกแบบ ผู้ออกแบบควรได้พิจารณาถึงรูปแบบตัวอักษร ขนาดตัวอักษร รูปร่าง ลักษณะของตัวอักษร การกําหนดระยะห่างและพื้นที่ว่าง การกําหนดสี และการจัดวางตําแหน่งให้มีความสมดุลเหมาะสมพอดี 2. ภาพและส่วนประกอบตกแต่งภาพ ภาพและส่วนประกอบตกแ่ต่งภาพ ที่ต้องการเน้นให้เกิดคุณค่า ทางความงาม ซึ่งจะทําหน้าที่ในการถ่ายทอดจินตนาการออกมาเป็นรูป แบบ และนําเสนอแนวคิดให้เป็นรูปธรรมดาตามความคิดของตน เพื่อ ต้องการให้เกิดประสิทธิผลในการสื่อสารมากที่สุด งานออกแบบที่ดีควรนําภาพมาใช้ให้เหมาะสมกับโอกาสและหน้าที่ อย่างกลมกลืน คือ 2.1 เมื่อต้องการดึงดูดความสนใจ 2.2 เมื่อต้องการใช้ประกอบการอธิบายความรู้ 2.3 เมื่อต้องการคําอธิบายความคิดรวบยอด 2.4 เมื่อต้องการอ้างอิงสิ่งที่ปรากฏขึ้นจริง 2.5 เมื่อต้องการใช้ประกอบข้อมูลทางสถิติ
8
¤Ø³¤‹ÒáÅФÇÒÁÊÓ¤Ñޢͧ§Ò¹Í͡Ẻ§Ò¹¡ÃÒ¿¿ ¡áÅÐÊ×èÍ งานกราฟิกที่ดีจะต้องทําให้เห็นถึงความคิดในการออกแบบเป็นเลิศ มี คุณค่าและความสําคัญในตัวเองที่แสดงออกได้ ดังนี้ 1. เป็นสื่อกลางในการสื่อความหมายให้เกิดความเข้าใจตรงกัน ถูก ต้องและชัดเจน 2. สามารถทําหน้าที่เป็นสื่อเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ได้เป็นอย่างดี 3. ช่วยทําให้งานเกิดความน่าสนใจ ประทับใจ และน่าเชื่อถือแก่ผู้ พบเห็น 4. ช่วยให้เกิดการกระตุ้นทางความคิด และการตัดสินใจได้อย่าง รวดเร็ว 5. ช่วยสร้างสรรค์งานสัญลักษณ์ทางสังคม และพัฒนาระบบการ สื่อสารให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
9
การวางแผนการผลิตขั้นตอนในการออกแบบงานกราฟฟิกและสื่อ ในการออกแบบงานกราฟิก ควรมีการวางแผนและกําหนดขั้นตอนการ ทํางานให้เป็นระบบ เพื่อจะทําให้งานที่ผลิตขึ้นมีคุณภาพดี โดยคํานึงถึง ขั้นตอนที่ใช้ในการผลิตและการออกแบบ ดังนี้ 1. ขั้นการคิด ต้องคิดว่า จะทําอะไร ทําเพื่อใคร ทําอย่างไร และ การออกแบบอย่างไร 2. ขั้นตอนการรวบรวมข้อมูล เป็นการเสาะหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องให้ มากที่สุ รวมถึงวัสดุอุปกรณ์ด้วย 3. ขั้นการร่างหรือสร้างหุ่นจําลอง โดยการเขียนภาพคร่าว ๆ หลาย ๆ ภาพ แล้วเลือกเอาภาพที่ดีที่สุด 4. ขั้นการลงมือสร้างงาน เป็นการขยายผลงานด้วยวัสดุและวิธีการ ที่เตรียมไว้ 5. หลักที่ควรพิจารณาเกี่ยวกับการใช้สี
¡Ãкǹ¡ÒäԴÊÌҧÊÃä àº×éͧµŒ¹ สมองคนเราทํางานตลอดเวลา ไม่ว่าหลับหรือตื่น แต่การทํางาน ในแต่ละส่วนจะแตกต่างกัน การทํางานของสมองขึ้นอยู่กับเซลล์ ประสาทที่มีอยู่จํานวนแสนล้านเซลล์ เซลล์ประสาทเหล่านี้จะติดต่อพูด คุยกันโดยใช้ระบบสารเคมีและประจุไฟฟ้า สมองคนเราทํางานเป็น2ส่วนได้แก่ สมองซีกซ้ายและสมองซีกขวา
การทํางานของสมองซีกขวา ได้แก่ 1.เป็นเรื่องไม่เกี่ยวกับเหตุผล 2.เป็นเรื่องของการอุปมาอุปไมย 3.เป้นการคิดแบบรูปธรรม 4.คิดอิสระไม่เป็นเส้นตรง เห็นภาพ-ทั้งหมด 5.เรื่องของการสังเคราะห์
การทํางานของสมองซีกซ้ายได้ แก่
6.ใช้จินตนาการ
1.เรื่องของสติปัญญาแบบเหตุผล
7.คิดไม่เป็นไปตามลําดับ มีความหลากหลายต่อการเชื่อมหลาย มุม
2.เรื่องเกี่ยวกับตัวเลข 3.การคิดแบบนามธรรม 4.คิดเป็นเส้นตรง 5เรื่องของการวิเคราะห์ 6.เกี่ยวกับจินตนาการ 7.คิดแบบต่อเนื่องตามลําดับ 8.เป็นเรื่องของวัตถุวิสัย
8.เป็นเรื่องของอัตถวิสัย 9.ไม่เกี่ยวกับคําพูด ,เห็นภาพ สมองซีกขวาจะทําการควบคุมการทํางานของอวัยวะด้านซ้าย ของร่างกาย และทํางานในลักษณะของภาพรวม ความคิดรวบ ยอด จินตนาการ การใช้ความรู้สึกและอารมณ์ ดังนั้น บรรดา ศิลปิน นักวาดภาพ ช่างปั้น นักร้อง นักแต่งเพลง นักเขียน ก็จะใช้ สมองซีกนี้มากกว่า ตัวอย่างของคนที่มีสมองซีกขวาดีเลิศได้แก่ Wolfgang Amadeus Mozart (1759-1791)นักประพันธ์ดนตรี คลาสสิคของชาวออสเตรีย
9.เกี่ยวข้องกับคําพูด สมองซีกซ้ายจะควบคุมการทํางานของอวัยวะด้านขวาของร่างกาย แลพ ทํางานในลักษณะ ของความเป็นเหตุเป็นผล เป็นลําดับขั้นตอน เป็น ตรรกะ ดังนั้น บรรดาผู้ทํางานด้านวิทยาศาสตร์ วิศวกร นักคณิตศาสตร์ หรือนัดเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ก็จะใช้สมองซีกนี้มากกว่าอีกซีก หนึ่ง ตัวอย่างของคนที่ใช้สมองซีกซ้ายดีเลิศไก้แก่ Sir Isaac Newton (1643-1727)นักคณิตศาสตร์และนักวิทยาศาสตร์ของอังกฤษ
10
¡ÒÃàÅ‹ÒàÃ×èͧ㹧ҹÍ͡Ẻ¡ÃÒ¿¿ ¡ การเล่าเรื่องในงานอกแบบกราฟฟิก ภาพบางภาพสามารถ แทนความหมายได้มากมาย งานกราฟฟิกจึงมีส่วนสําคัญกับการเล่า เรื่องเพราะเป็นการสื่อสารรุปแบบหนึ่งเช่นกัน งานกราฟฟิกจะมีลักษณะของการเล่าเรื่องเหมือนสื่อๆแต่จะเป็นการเล่า เรื่องอย่างสั้น (Short Narrative) ซึ่งต่างจากการเล่าเรื่องในภาพยนตร์ที่เป็นเรื่องเล่าอย่างยาว(Long Narrative) ชนิดของการเล่าเรื่องในงานกราฟฟิก ชนิดของการเล่าเรื่องในงานกราฟฟิกที่น่าสนใจ จะมีอยู่2ชนิด คือ 1.การเล่าเรื่องอย่างสั้น (Short Narrative)เช่นงานออกแบบ โปสเตอร์ 2.การเล่าเรื่องอย่างยาว(Long Narrative)เช่น งานอนิเมชั่น งานหนังสือการ์ตูน งานกราฟฟิกในหนังสือต่างๆ สําหรับการเล่าเรื่องอย่างสั้นนั้นทําให้เกิดความคิดที่ว่าสามารถส่งสาร ในข้อจํากัดได้อย่างไร เช่นโปสเตอร์หนึ่งภาพจะสามารถเล่าเรื่องทั้งหมดที่เราต้องการสื่อได้ อย่างไร หรือสามารถบ่งบอกความรู้สึก ทัศนคติ บุคลิกภาพ และอื่นๆ ได้อย่างไร
ภาพประกอบบรรยายเล่าถึงสนามบอล Old Trafford (Manchester United)
ภาพประกอบเล่าเรื่องราวต่างในฟุตบอลโลก 2014ที่ประเทศบราซิล
11
ÃÙŒ¨Ñ¡§Ò¹ÀÒ¾»ÃСͺ ภาพประกอบ คือ รุปภาพที่ถูกจัดทําขึ้นเพื่อใช้ประกอบกับสื่อ ในลักษณะเพื่อการส่งเสริมการสื่อความหมาย หรือ เพื่อความสวยงามของข้อความ หรือเรื่องราวที่ถูกอ้างอิง ภาพประกอบแบ่งออกเป็น 3ประเภทใหญ่ๆ คือ ภาพวาด-คือภาพที่ถูกเขียนขึ้นตามความต้องการของผู้วาดเพื่อมุ่งเน้นความหมายและรายละเอียดโดยการเพิ่มลด หรือเลือกสรรตามต้องการ ภาพถ่าย-เป็นการเก็บภาพในความเป็นจริงด้วยกล้องถ่ายรูป เพื่อสะท้อนให้รู้สึกถึงอารมณ์และบรรยากาศของผู้ถ่ายภาพต้องการ ภาพลายเส้นเชิงข้อมูล-เป็นภาพประกอบที่มุ่งเน้นในการแสดงข้อมูลเพื่อให้เกิดความเข้าใจได้ง่ายขึ้นโดยที่พบเห็นกันทั่วไปก็เช่น ภาพกราฟ แผนผัง หรือตาราง ฯลฯ ภาพประกอบเกิดขึ้นตั้งแต่ก่อนยุคประวัติศาสตร์ โดยที่ยงัมีหลักฐานมาจนถึงทุกวันนี้ก็คือภาพวาดบนผนังถ้ํา หลังจากนั้นจึงเริ่มพบเห็นภาพ ประกอบที่ใช้เป็นเทคนิคการพิมพ์ในเชิงหนังสือประวัติสาสตร์ของประเทศจีนและญึ่ปุ่นในช่วงคริสต์ศตวรรษที่8ด้วยเทคนิค woodcut ในช่วงต้นปี1990 คอมพิวเตอร์เริ่มเข้ามามีบทบาทในการพิมพ์และการทํางานภาพประกอบเป็นอย่างมาก ซึ่งสามารถลดขั้นตอนการทําที่ยุ่งยากทั้งใน การพิมพ์รวมไปถึงการการจัดภาพประกอบจนเรียกได้ว่าเป็นการปฏิวัติเข้าสู่ยุคของคอมพิวเตอร์โดยแท้จริงเลยก็ว่าได้ ขั้นตอนการทํางานด้านภาพ ประกอบในปัจจุบันสามารถทําให้เสร็จสิ้นได้บนคอมพิวเตอร์ตั้งแต่เริ่มต้นการวาดจนถึงการพิมพ์ ด้วยโปรแกรมตระกูล
12
Adobe และการวาดรูปผ่าน Tablets หรือที่รู้จักกันในนามเม้าส์ปากกา ในทุกวันนี้จากเดิมที่นักวาดภาพประกอบเป็นเพียงส่วนเล็กๆของ วงการ ออกแบบและอุตสาหกรรมการบันเทิง ได้มีการขยายบทบาทและความ สําคัญมากขึ้นอย่างเห็นได้ชัดนอกเหนือจากสิ่งพิมพ์แล้ว ยังมีการใช้นัก วาดภาพประกอบในรุปแบบอาชีพ Concept art ที่เข้ามามีบทบาทสําคัญ ในวงการ เกมส์ อนิมชั่น รวมไปถึงภาพยนตร์และโฆษณา ซึ่งทําหน้าที เป็นผู้ออกแบบและควบคุม ในขั้นตอนการเตรียมงาน (pre-product)ด้วย การวาดภาพประกอบที่แสงดถึงคอนเซปต์ด้านภาพและการออกแบบที่ ปรากฎในการทํางานนั่นเอง
ILLUSTRATION
13
thank you
-ÇÔ·ÂÒÅÑÂà·¤â¹âÅÂÕÊÂÒÁ(ÊÂÒÁà·¤) siam institute of technology -¤³ÐÍÒ¨ÒàἹ¡¤ÍÁ¾ÔÇàµÍà -www.f0nt.com -www.dafont.com -www.issuu.com -º·¤ÇÒÁ¨Ò¡Ë¹Ñ§Ê×Í Graphic design principles(ËÅÑ¡¡ÒÃáÅСÃкǹ¡ÒÃÍ͡Ẻ§Ò¹¡ÃÒ¿¿ ¡´Õ䫹 ) -º·¤ÇÒÁ¨Ò¡Ë¹Ñ§×Í Let’s Paint -ÀÒ¾·Õè㪌»ÃСͺ㹹ԵÂÊÒÃàÅ‹Á¹Õé·Ø¡ÀÒ¾ -µÑÇÍ‹ҧ/áçºÑ¹´ÒÅ㨡ÒÃÍ͡Ẻ¨Ò¡ ¹ÔµÂÊÒà a day / ¹ÔµÂÊÒà starpics
15
16