ร่าง พ.ร.บ.ป่าชุมชน พ.ศ. ....

Page 1


ร่าง พ.ร.บ.ป่าชุมชน พ.ศ. .... ประกอบด้วย • 8 หมวด 104 มาตรา • มีโทษทางปกครอง/อาญา • บทเฉพาะกาล สาหรับป่าชุมชนที่ ได้จัดตั้งและยังไม่หมดอายุก่อน พ.ร.บ. นี้บังคับใข้


เหตุผลในการร่ างพระราชบัญญัตปิ ่ าชุมชน พ.ศ. .... โดยที่เป็ นการสมควรส่งเสริมให้ ชมุ ชนได้ มีสว่ นร่วมในการกับรัฐในการอนุรักษ์ ฟื น้ ฟู จัดการ บารุงรักษา และใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรป่ าไม้ สิ่งแวดล้ อม และ ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างสมดุลและยัง่ ยืน ในรูปแบบของการจัดตังป่ ้ า ชุมชน และให้ ชมุ ชนได้ จดั การป่ าชุมชนให้ เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ของป่ าชุมชน แผนการจัดการป่ าชุมชน และระเบียบของคณะกรรมการนโยบายป่ าชุมชน อัน ส่งผลให้ ทรัพยากรป่ าไม้ และสิง่ แวดล้ อมของประเทศมีความสมบูรณ์และยัง่ ยืน จึง จาเป็ นต้ องตราพระราชบัญญัตินี ้ จากร่ างพระราชบัญญัตปิ ่ าชุมชน พ.ศ. .... หมวด 1 บททัว่ ไป มาตรา 6 - มาตรา 8 หมวด 2 คณะกรรมการนโยบายป่ าชุมชน มาตรา 9 - มาตรา 22 หมวด 3 คณะกรรมการป่ าชุมชนประจาจังหวัด มาตรา 23 -มาตรา 30 หมวด 4 การจัดตังป่ ้ าชุมชน มาตรา 31 - มาตรา 41 หมวด 5 การจัดการป่ าชุมชน มาตรา 42 - มาตรา 62 หมวด 6 การควบคุมดูแลป่ าชุมชน มาตรา 63 - มาตรา 77 หมวด 7 การเพิกถอนป่ าชุมชน มาตรา 78 - มาตรา 81 หมวด 8 บทกาหนดโทษ ส่วนที่ 1 โทษทางปกครอง มาตรา 82 - มาตรา 93 ส่วนที่ 2 โทษทางอาญา มาตรา 94 - มาตรา 95 บทเฉพาะกาล มาตรา 96 - มาตรา 104


ป่าชุมชน ป่าที่อยู่นอกเขตอนุรักษ์ จัดตั้งโดย ชุมชนร่วมกันดูแลทรัพยากรรวมถึง สามารถใช้ประโยชน์จากป่านี้ได้


ความหมายของป่ าชุมชนมาจากคานิยามตาม ร่ างพระราชบัญญัติ ป่ าชุมชน พ.ศ. .... มาตรา 4 "ป่ าชุมชน" หมายความว่า ป่ านอกเขตป่ า อนุรักษ์ หรื อพื ้นที่อื่นของรัฐนอกเขตป่ าอนุรักษ์ ที่ได้ รับ อนุมตั ิให้ จดั ตังเป็ ้ นป่ าชุมชน โดยชุมชนร่วมกับรัฐในการ อนุรักษ์ ฟื น้ ฟู จัดการ บารุงรักษา ตลอดจนใช้ ประโยชน์ จากทรัพยากรป่ าไม้ สิง่ แวดล้ อม และความหลากหลาย ทางชีวภาพ ในป่ าชุมชนอย่างสมดุลและยัง่ ยืนตาม พระราชบัญญัตินี ้


โครงสร้างการดาเนินงาน คณะกรรมการในการช่วยบริหารจัดการ ป่าชุมชนใน 3 ระดับ คณะกรรมการนโยบายป่าชุมชน คณะกรรมการประจาจังหวัด คณะกรรมการจัดการป่าชุมชน


อธิบดีกรมป่ าไม้ ประกาศอนุมัตจิ ดั ตัง้ ป่ าชุมชน และให้ มีผลเมื่อได้ ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา (ร่ างมาตรา 39) และมีคณะกรรมการในการช่ วยบริหาร จัดการป่ าชุมชนใน 3 ระดับ 1.คณะกรรมการนโยบายป่ าชุมชน ทาหน้ าที่เสนอความเห็นต่อคณะรัฐมนตรี ทกุ ประเด็น รวมถึงพิจารณาอุทธรณ์ในเรื่ องที่ เกี่ยวข้ อง โดยมีองค์ประกอบคณะกรรมการฯ ในร่างมาตรา 8 2.คณะกรรมการป่ าชุมชนประจาจังหวัด ทาหน้ าที่พิจารณาเกี่ยวกับคาขอจัดตังป่ ้ าชุมชน ขยาย เพิกถอน ป่ าชุมชน และพิจารณา คาคัดค้ าน โดยมีองค์ประกอบคณะกรรมการตามร่างมาตรา 22 และอานาจหน้ าที่ ตาม ร่างมาตรา 25 3.คณะกรรมการจัดการป่ าชุมชน เป็ นองค์กรระดับปฏิบตั ิการในการดาเนินการจัดการป่ าชุมชนให้ เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ ของป่ าชุมชนและแผนการจัดการป่ าชุมชนทีค่ ณะกรรมการป่ าชุมชนประจาจังหวัดอนุมตั ิ โดยมีองค์ประกอบคณะกรรมการตามร่างมาตรา 32 และอานาจหน้ าที่ ตามร่างมาตรา 44


เกณฑ์การจัดตั้งป่าชุมชน 1. ชุมชนและพื้นที่ป่าอยู่อาเภอเดียวกัน 2. สมาชิ ก อย่ า งน้ อ ย 50 คน และมี ภูมิลาเนาอยู่ในเขตป่าชุมชนที่จะจัดตั้ง 3. เพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรให้ยั่งยืน


วัตถุประสงค์ ในการจัดตัง้ ป่ าชุมชนเพื่อ 1. อนุรักษ์ ทรัพยากรป่ าไม้ สิง่ แวดล้ อมและความหลากหลายทาง ชีวภาพ 2. การฟื น้ ฟูพื ้นที่ป่าในเขตป่ าชุมชน โดยการปลูกป่ าทดแทน 3. การเสริมสร้ างความร่วมมือทุกภาคส่วนในการจัดการป่ าชุมชน 4. การส่งเสริมวัฒนธรรมประเพณีที่หลากหลายของชุมชนในการ อนุรักษ์ การฟื น้ ฟู พัฒนา ควบคุมดูแล และใช้ ทรัพยากรธรรมชาติในป่ า ชุมชน 5. การใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติในป่ าชุมชนอย่างสมดุลและ ยัง่ ยืน ตามร่างมาตรา 6 หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขอจัดตังป่ ้ าชุมชนและการอนุมตั ิ ให้ จดั ตังป่ ้ าชุมชน ให้ เป็ นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการนโยบาย กาหนด ตามร่างมาตรา 31


สิทธิการใช้ประโยชน์ เก็บหาของป่าได้ จากัดการใช้ประโยชน์ Do

Don’t

กิจกรรมภายในชุมชน


สมาชิกป่ าชุมชน มีสิทธิเข้ าป่ าชุมชนเพื่อการพักผ่อนหย่อนใจ และมี สิทธิใช้ ประโยชน์จากผลผลิตและบริการป่ าชุมชน ร่างตามมาตรา 50 การใช้ ประโยชน์จากผลผลิตและบริการ ต้ องเป็ นไปอย่างสมดุลและ ยัง่ ยืน ไม่ทาลายความหลากหลายทางชีวภาพ หรื อส่งผลกระทบต่อ สิง่ แวดล้ อมในป่ าชุมชน โดยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเป็ นไปตาม ระเบียบที่คณะกรรมการนโยบายกาหนด

บุคคลที่ไม่ใช่สมาชิกป่ าชุมชน มีสิทธิเข้ าป่ าชุมชนเพื่อศึกษาเรี ยนรู้ หรื อ พักผ่อนหย่อนใจ และเก็บหาของป่ าได้ เฉพาะเท่าที่กาหนดในข้ อบังคับ เกี่ยวกับการใช้ ประโยชน์จากผลผลิตและบริการป่ าชุมชนตามร่าง มาตรา 44 (2) และร่างมาตรา 53


การควบคุมดูแลป่าชุมชน

ห้าม ครอบครองเป็นที่อยู่อาศัย ห้าม ล่าสัตว์ป่า แผ้วถาง ห้าม ก่อสร้างสิ่งปลูกสร้าง


การควบคุมดูแลป่ าชุมชน ห้ ามมิให้ บคุ คลใดกระทาการดังต่อไปนี ้

1. ยึดถือครอบครองหรื อใช้ เป็ นที่อยูอ่ าศัยหรื อที่ทากิน 2. ก่นสร้ าง แผ้ วถาง เผาป่ า ขุดหาแร่ ล่าสัตว์ป่าสงวน สัตว์ป่าคุ้มครอง หรื อสัตว์ป่าอื่นใดที่ได้ รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้ วยการสงวน และคุ้มครองสัตว์ป่า 3. ก่อสร้ างสิง่ ปลูกสร้ าง เว้ นแต่เป็ นการก่อสร้ างสิง่ ปลูกสร้ างที่จาเป็ น เพื่อประโยชน์ในการปฏิบตั ิหน้ าที่ของคณะกรรมการจัดการป่ าชุมชน จามมาตรา 44 (3) เช่น การสร้ างหอดูไฟป่ า ที่พกั ลาดตระเวน หรื อ ศาลาเรี ยนรู้ โดยสิง่ ปลูกสร้ างดังกล่าวต้ องมีลกั ษณะกลมกลืนกับ สภาพแวดล้ อม ไม่เป็ นการทาลายสภาพธรรมชาติเดิม และต้ องได้ รับ การอนุญาตจากคณะกรรมการป่ าชุมชนประจาจังหวัดก่อน ตามร่าง มาตรา 63


หน้าที่ของสมาชิก 1. ปฏิบัติตามกติกาที่ตกลงกันไว้ 2. ร่วมมือกับราชการดูแลรักษาป่า 3. ร่วมมือกับคณะกรรมการจัดการ ป่าชุมชน


เจ้ าหน้ าที่ป่าชุมชนที่ได้ รับการแต่งตังตามร่ ้ างมาตรา 26 มีหน้ าที่ตาม ร่างมาตรา 64 เช่น ตรวจสอบพื ้นที่ ตรวจตาดูแลการใช้ ผลผลิตจากป่ า ชุมชน แนะนา ให้ ความรู้ สร้ างจิตสานึกในการดูแลรักษา ทรัพยากรธรรมชาติในป่ าชุมชน พนักงานเจ้ าหน้ าที่มีอานาจหน้ าที่ ตามร่างมาตรา 67 เช่น เข้ าไปในป่ า ชุมชนเพื่อตรวจสอบและติดตามผลการดาเนินการเกี่ยวกับป่ าชุมชน กรณีพบว่าคณะกรรมการจัดการป่ าชุมชนฝ่ าฝื นหรื อไม่ปฏิบตั ิตาม พระราชบัญญัติ ระเบียบ หรื อข้ อบังคับ ให้ รายงานผลต่ออธิบดี กรณีมี ข้ อเท็จจริงหรื อมีเหตุอนั ควรสงสัยว่ามีการกระทาความผิดตาม พระราชบัญญัตินี ้สามารถสัง่ ให้ ผ้ หู นึง่ ผู้ใดออกไปจากป่ าชุมชน หรื องด เว้ นให้ กระทาการใดๆในป่ าชุมชนได้


บทกาหนดโทษ โทษทางปกครอง

หากฝ่าฝืน ระเบียบ

ปรับสูงสุด

150,000 บาท

และมี ค่ า ปรั บ รายวั น จนกว่ า จะปฏิ บั ติ ใ ห้ ถูกต้อง


โทษทางปกครอง 1.ผู้ใดฝ่ าฝื นหรื อไม่ปฏิบตั ิตามระเบียบของคณะกรรมการนโยบาย ตาม มาตรา 16 ต้ องระวางโทษปรับทางปกครองไม่เกิน 50,000 บาท และ ปรับทางปกครองอีกวันละไม่เกิน 1,000 บาท จนกว่าจะปฏิบตั ิให้ ถูกต้ อง ตามร่างมาตรา 82 2. ผู้ใดฝ่ าฝื นหรื อไม่ปฏิบตั ิตามระเบียบของคณะกรรมการนโยบาย ตาม มาตรา 17 ต้ องระวางโทษปรับทางปกครองไม่เกิน 150,000 บาท และ ปรับทางปกครองอีกวันละไม่เกิน 3,000 บาท จนกว่าจะปฏิบตั ิให้ ถูกต้ อง ตามร่างมาตรา 83 3. ผู้ใดฝ่ าฝื นหรื อไม่ปฏิบตั ิข้อบังคับของคณะกรรมการจัดการป่ าชุมชน ตามมาตรา 44(2) ต้ องระวางโทษปรับทางปกครองอีกวันละไม่เกิน 5,000 บาท จนกว่าจะปฏิบตั ิให้ ถกู ต้ อง ตามร่างมาตรา 8


บทกาหนดโทษ โทษทางอาญา

จาคุกตั้งแต่

ปรับสูงสุด

หากล่าสัตว์ 6 เดือน – 5 ปี 500,000 บาท


โทษทางอาญา 1. ผู้ยดึ ถือ ครอบครอง หรื อใช้ ป่าชุมชนเป็ นที่อยูอ่ าศัยหรื อที่ทากิน ตาม ร่างมาตรา 63(1)ต้ องโทษจาคุกตัง้ 6 เดือน - 5 ปี หรื อปรับตังแต่ ้ 50,000 บาท - 500,000 บาทหรื อปรับจานวน 5 เท่า ของมูลค่าที่ดินนัน้ แล้ วแต่วา่ จานวนใดสูงกว่าหรื อทังจ ้ าทังปรั ้ บ ตามร่างมาตรา 95 2. ผู้ใดก่อสร้ าง แผ้ วถาง เผาป่ า ขุดหาแร่ ล่าสัตว์ป่าสงวนหรื อสัตว์ป่า คุ้มครอง หรื อกระทาด้ วยประการใดๆให้ เสื่อมเสียแก่สภาพป่ าชุมชน ตามร่างมาตรา 63(2) ต้ องโทษจาคุกตัง้ 6 เดือน - 5 ปี หรื อปรับตังแต่ ้ 50,000 บาท - 500,000 บาทหรื อปรับจานวน 5 เท่า ของมูลค่าแร่ หรื อ สัตว์ป่านัน้ แล้ วแต่วา่ จานวนใดสูงกว่าหรื อทังจ ้ าทังปรั ้ บ ตามร่างมาตรา 96

3. ผู้ใดใช้ ประโยชน์จากไม้ ยกเว้ นการกระทาตามร่างมาตรา 50(2) หรื อ ร่างมาตรา 52 ต้ องโทษจาคุกตัง้ 6 เดือน - 5 ปี หรื อปรับตังแต่ ้ 10,000 บาท - 100,000 บาท หรื อทังจ ้ าทังปรั ้ บ ตามร่างมาตรา 97


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.