ร่างพ.ร.บ.ป่าไม้ (ฉบับที่...) พ.ศ. ... สามารถทาไม้และเคลื่อนย้ายไม้ที่ปลูก ในที่ดินกรรมสิทธิ์ หรือที่ดินของรัฐที่ อนุญาตเข้าทาประโยชน์ได้
เหตุผล โดยที่พระราชบัญญัติป่าไม้ พุทธศักราช 2484 มีบทบัญญัติ บางประการเกี่ ย วกั บ การก าหนดให้ ไ ม้ ที่ มี ค่ า ทางเศรษฐกิ จ ที่ ขึ้ น ในที่ ดิ น ประเภทอื่นที่ไม่ใช่ป่า เป็นไม้หวงห้าม จึงทาให้การทาไม้และการเคลื่อนย้าย ไม้ในที่ดินดังกล่าวต้องอยู่ภายใต้มาตรการควบคุมตามกฎหมายว่าด้วยป่า ไม้ ดังนั้นเพื่อให้การทาไม้และการเคลื่อนย้ายไม้นั้นเป็นไปได้โดยสะดวกไม่ เกิดภาระแก่ประชาชนทั้งยังเป็นประโยชน์ต่อการส่งเสริมอุตสาหกรรมไม้และ การบริ หารจัด การด้ านการป่า ไม้ใ ห้มี ประสิท ธิภ าพสมควรแก้ ไขเพิ่ม เติ ม กฎหมายว่าด้วยป่าไม้เพื่อกาหนดให้ไม้ที่ขึ้นในที่ดินที่มีกรรมสิทธ์หรือสิทธิ ครอบครองตามประมวลกฎหมายที่ดิน ไม่เป็นไม้หวงห้าม รวมทั้งกาหนด เพิ่ มหลั กเกณฑ์ ก ารออกหนัง สื อรั บ รองไม้ เ พื่อ ประโยชน์ ในการจ าแนก แหล่งที่มาของไม้ซึ่งเป็นมาตรการในการป้องกันการนาไม้ที่ลักลอบทาออก จากป่ามาสวมสิทธิว่าเป็นไม้ที่ทาออกจากที่ดินดังกล่าว และเพื่อการค้าหรือ การส่งออกไปนอกราชอาณาจักร จึงจาเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
หลักการแก้ไข พ.ร.บ. ป่าไม้ฉบับนี้
1
ไม้ทุกชนิดที่ขึ้นในที่ดินกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครอง ตามประมวลกฎหมายที่ดิน ไม่เป็นไม้หวงห้าม และทาไม้ใน ที่ดินดังกล่าว ไม่ต้องได้รับอนุญาตจากพนักงานเจ้าหน้าที่
2
ก าหนดมาตรการรั บ รองไม้ เพื่ อ เป็ น ประโยชน์ ใ นการ จาแนกแหล่งที่มาของไม้ และเพื่อการค้าหรือการส่งออก นอกราชอาณาจักร
3
กาหนดเพิ่มลักษณะของไม้ที่มีไว้ในครอบครองโดยชอบ ด้วยกฎหมายในสถานที่ที่ได้รับอนุญาต
หลักการในการแก้ไขร่าง พ.ร.บ. ป่าไม้ ฉบับนี้ 1. ไม้ ทุ ก ชนิ ด ที่ ขึ้ น ในที่ ดิ น กรรมสิ ท ธิ์ ห รื อ สิ ท ธิ ค รอบครองตาม ประมวลกฎหมายที่ดิ น ไม่เป็น ไม้หวงห้า ม หรือที่ป ลูกขึ้นในที่ ดินที่ได้รั บ อนุญาตให้ทาประโยชน์ตามประเภทหนังสือแสดงสิทธิที่รัฐมนตรีประกาศ กาหนดโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี ไม่เป็นไม้หวงห้ามเช่นเดียวกัน การท าไม้ ใ นที่ ดิ น ดัง กล่ า วไม่ ต้ องได้ รับ อนุ ญาตจากพนั ก งานเจ้า หน้ า ที่ รวมถึงมีการแก้ไขบทนิยามคาว่า "ทาไม้" ให้สอดคล้องกันอีกด้วย (แก้ไข เพิ่มเติมมาตรา 4 (5) มาตรา 7 วรรคหนึ่ง และมาตรา 25 วรรคหนึ่ง และยกเลิกมาตรา 14 ทวิ) 2. ก าหนดมาตรการรั บ รองไม้ เพื่ อ เป็ น ประโยชน์ ใ นการจ าแนก แหล่ งที่ ม าของไม้ และเพื่ อการค้ า หรือ การส่ ง ออกนอกราชอาณาจั ก ร (เพิ่มส่วนที่ 2/1 การรับรองไม้ มาตรา 18/1 มาตรา 18/2 และ มาตรา 18/3 ของหมวด 1 การทาไม้และเก็บหาของป่า) 3. ก าหนดเพิ่ ม ลั ก ษณะของไม้ ที่ มี ไ ว้ ใ นครอบครองโดยชอบด้ ว ย กฎหมายในสถานที่ที่ได้รับอนุญาต (เพิ่มมาตรา 51(6)
ลาดับช่วงเวลาการดาเนินการ กรมป่าไม้ยกร่าง
2560 15 ม.ค. – 29 ม.ค.
รับฟังความคิดเห็น ผ่านเว็บไซต์
15 ม.ค. - 10 เม.ย 27 มี.ค. - 15 เม.ย.
2561
เปิดเวที 4 ภาค รับฟังความคิดเห็น
2561
25 ธ.ค.
2561 เปิดเวปไซต์รับฟัง ความคิดเห็น
นาเข้า สนช. พิจารณา วาระ 2 ลงมติ 3 และ ส่งนายกรัฐมนตรี
ครม.เสนอเข้า สนช.
4 - 18 ม.ค.
2562 23 ม.ค.
2562
เข้า สนช. วาระ 1 ตั้งคณะกรรมาธิการร่วม
256…
ทูลเกล้าเพื่อทรงลง พระปรมาภิไธย
31 ม.ค.
2562
สรุป ร่าง พ.ร.บ. ป่าไม้ (ฉบับ ...) พ.ศ. ... มาตราที่มีการแก้ไขเพิ่มเติม พ.ร.บ.ป่าไม้ พ.ศ. 2484
สรุป ร่าง พ.ร.บ. ป่าไม้ (ฉบับ..) พ.ศ. ... มาตราสาคัญที่มีการแก้ไขเพิ่มเติม พ.ร.บ.ป่าไม้ พ.ศ. 2484 ยกเลิกความใน (5)มาตรา 4 เดิม ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะ รักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับที่ 106/2557 และแก้ไขเป็น “(5) “ทาไม้ ” หมายความว่า ตัด ฟัน กาน โค่น ลิด เลื่อย ผ่า ถาก ทอน ขุด ชักลากไม้ ในป่า หรือนาไม้ออกจากป่าด้วยประการใดๆ” ยกเลิก ความในมาตรา ม.7 เดิม ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะ รักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับที่ 106/2557 และแก้ไขเป็น “มาตรา 7 ไม้ ชนิด ใดที่ขึ้ นในป่า จะให้เ ป็น ไม้ หวงห้า มประเภทใด ให้ กาหนดโดยพระราช กฤษฎีกา สาหรับไม้ทุกชนิดที่ขึ้นในที่ดินกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครอง ตามประมวลกฎหมายที่ดิน ไม่เป็นไม้หวงห้าม หรือไม้ที่ปลูกขึ้นในที่ดินที่ ได้รับอนุญาตให้ทาประโยชน์ตามประเภทหนังสือแสดงสิทธิตามที่รัฐมนตรี ประกาศกาหนดโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี ให้ถือว่าไม่เป็นไม้หวง ห้าม
ปลดล็อค มาตรา 7 1. ที่ดินกรรมสิทธิ์ หรือ สิทธิครอบครอง เช่น โฉนดที่ดิน น.ส.3ก น.ส.4 ส.ค.1 * ไม้ที่ขึ้นตามธรรมชาติหรือปลูกขึ้นทุกชนิด ตัด แปรรูป เคลื่อนย้าย โดยไม่ต้องขออนุญาต
ปลดล็อค มาตรา 7 2. ที่ดินของรัฐที่อนุญาตเข้าทาประโยชน์ เช่น สปก.4-01 นค.3
หนังสืออนุญาตให้เข้าทาประโยชน์ หรือ อยู่อาศัยภายในเขตป่าสงวนแห่งชาติ เช่น สทก. คทช. *ไม้ทุกชนิดที่ปลูกในที่ดินดังกล่าวไม่เป็นไม้หวงห้าม
ไม้ที่ขึ้นเองตามธรรมชาติ และถูกกาหนดเป็นไม้หวงห้ามตามพระราช กฤษฎีกายังคงเป็นไม้หวงห้ามอยู่ การตัด โค่น แปรรูป มีไว้ในครอบครอง ไม้ที่ปลูกในที่ดิน เช่น สปก. นค.3 หรือที่ป่าที่อยู่นอกเขตป่าสงวนแห่งชาติ ไม่ต้องขออนุญาตพนักงาน เจ้าหน้าที่เนื่องจากไม่เป็นไม้หวงห้าม การตัด โค่น ไม้ที่ปลูกในที่ดินที่ได้รับอนุญาตเข้าทาประโยชน์ในเขตป่า สงวนแห่งชาติ ไม่เป็นไม้หวงห้าม แต่การตัดหรือโค่นต้องได้รับอนุญาต จากพนักงานเจ้าหน้าที่ ตามพ.ร.บ.ป่าสงวนแห่งชาติ ม.14 ส่วนการแปร รูปไม้ หรือมีไว้ในครอบครอง ไม่ต้องขออนุญาต
การรับรองไม้
สถาบัน / องค์กรต่างๆ สามารถเข้า มามีส่วนร่วมในการรับรองไม้
ส่วนที่ 2/1 การรับรองไม้ มาตรา 18/1 เพื่อประโยชน์ในการจาแนกแหล่งที่มาของไม้ เจ้าของไม้ที่ขึ้นใน ที่ดิน ที่มีก รรมสิท ธิ์ครอบครองตามประมวลกฎหมายที่ดิน หรือผู้ป ลูก ไม้ หรือ ทายาท ที่ได้รับ สิทธิในไม้และที่ดิน ที่ได้รับอนุญาตให้เข้าทาประโยชน์ ตามประเภท หนังสือแสดงสิทธิ์ที่รัฐมนตรีประกาศโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี จะแจ้ง พนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อขอหนังสือรับรองไม้ก็ได้ มาตรา 18/3 การออกหนังสือรับรองมาตรา 18/1 หรือมาตรา18/2 กรม ป่าไม้จะกาหนดให้สถาบันหรือองค์กรอื่นดาเนินการแทนก็ได้ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในระเบียบที่อธิบดีกรมป่าไม้กาหนด ในการนี้ให้ถือว่าพนักงาน หรือเจ้าหน้าที่ของสถาบันหรือองค์กรอื่นที่ดาเนินการแทนพนักงานเจ้าหน้าทีเ่ ป็นเจ้า พนักงานตามประมวลกฎหมายอาญาเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติตาม ความในส่วนนี้ มาตรา 25 การน าไม้ ที่ ไ ม่ ใ ช่ ไ ม้ ห วงห้ า มเข้ า เขตด่ า นป่ า ไม้ ต้ อ งเสี ย ค่าธรรมเนียมตามอัตราที่รัฐมนตรีก าหนด เว้นแต่เอาไปใช้ส่วนตัวในท้องที่หรือ จังหวัดที่ทาไม้นั้น หรือการนาไม้ที่ปลูกขึ้นในที่ดินที่ได้รับอนุญาตให้ทาประโยชน์ ... ตามมาตรา 7 เข้าเขตด่านป่าไม้ไปใช้สอยส่วนตัวโดยไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียม
การเคลื่อนย้ายไม้
ผ่านเขตป่าไม้ ไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียม เฉพาะใช้สอยส่วนตัวหรือปลูกในที่ดินที่ได้รับอนุญาต
มาตรา 25 ผู้ใ ดนาไม้ ที่ มิใ ช่ไ ม้ หวงห้ า มเข้า เขตด่า นป่า ไม้ ต้อ งเสี ย ค่าธรรมเนียมตามอัตราที่รัฐมนตรีกาหนด เว้นแต่เป็นการนาไปเพื่อใช้สอย ส่วนตัวภายในเขตท้องที่จังหวัดที่ทาไม้นั้น หรือเป็นการนาไม้ที่ปลูกขึ้นใน ที่ดินที่ได้รับอนุญาตให้ทาประโยชน์ตามประเภทหนังสือแสดงสิทธิที่รัฐมนตรี ประกาศกาหนดโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี ตามมาตรา 7 วรรค หนึ่ง เข้าเขตด่านป่าไม้ไปใช้สอยส่วนตัวไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียม