สรุปร่างพ.ร.บ.อุทยานฯ

Page 1


ที่มาการแก้ไข ร่างพ.ร.บ.อุทยานฯ พ.ศ. ....

1

ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉบับที่ 11 ให้แก้ไข กฎหมายที่ยังมีช่องว่างทางนโยบาย การบริหาร จัดการ และความอ่อนแอในการบังคับใช้กฎหมาย

2

นโยบายรั ฐ บาลด้ า นที่ 11 เรื่ อ งการปรั บ ปรุ ง กฎหมายและกระบวนการยุติธรรมเพื่อช่วยเหลือ ผู้ยากจนหรือผู้ด้อยโอกาส

3

ครม.มีมติ เมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2560 อนุ มั ติ หลักการ ร่างพ.ร.บ.อุทยานแห่งชาติ พ.ศ. .... ที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เสนอ


เหตุ ผ ล โดยที่ พ ระราชบั ญ ญั ติ อุ ท ยานแห่ ง ชาติ พ.ศ. 2504 ที่ใช้บังคับอยู่ในปัจจุบันใช้บังคับมาเป็นเวลานาน ไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบันในการสงวน อนุรักษ์ คุ้มครอง และบารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติ เช่น พันธุ์ ไม้ สัต ว์ป่า ตลอดจนทิว ทัศ น์ ป่ าและภู เขา ให้ค งอยู่ใ น สภาพเดิมมิให้ถูกทาลาย ทั้งนี้เพื่อประโยชน์ของประเทศใน การเป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้ทางธรรมชาติหรือนันทนาการ ของปร ะช าช น แล ะเพื่ อ ให้ ก า รใช้ ป ระโย ช น์ จ า ก ทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพใน อุ ท ยานแห่ ง ชาติ เป็ น ไปอย่ า งสมดุ ล และยั่ ง ยื น และ สอดคล้องกับข้อตกลงระหว่างประเทศตามพันธกรณีที่ ประเทศไทยเป็นภาคีสมาชิก


ลาดับช่วงเวลาการดาเนินการ กรมอุทยานฯยกร่าง

2559 10 พ.ย.

2559 ครม.อนุมัติในหลักการ

7 มี.ค.

2560 28 ส.ค.

ภาคประชาชนเสนอ ร่างพ.ร.บ.อุทยานฯ

23 ม.ค.

2562

เชิญภาคประชาชนให้ ข้อมูลกรรมาธิการ

256.

ทูลเกล้าเพื่อทรงลง พระปรมาภิไธย

2561

เข้า สนช. วาระ 1 ตั้งคณะกรรมาธิการ ร่วม ที่ประชุมสนช. ลงมติวาระ3 เห็นชอบให้ บังคับใช้เป็นกฎหมายและ ส่งนายกรัฐมนตรีให้ ดาเนินการตาม รัฐธรรมนูญ

เปิดเวที รับฟังความคิดเห็น

20 ธ.ค.

2561

7 มี.ค.

2562


สรุป ร่าง พ.ร.บ. อุทยานแห่งชาติ พ.ศ. .... ประกอบด้วย 6 หมวด และบทเฉพาะกาล รวม 64 มาตรา


เพิ่มคานิยาม วนอุทยาน สวนพฤกษศาสตร์ สวนรุกขชาติ


ส รุ ป ร่ า ง พ . ร . บ . อุ ท ย า น แ ห่ ง ช า ติ พ . ศ . . . . พระราชบัญ ญัติอุทยานแห่ง ชาติ พ.ศ. 2504 เดิมไม่มีคานิยาม วนอุทยาน สวน พฤกษศาสตร์ สวนรุกขชาติ และไม่มีบทกฎหมายรองรับและบทลงโทษหากมีการกระทา ความผิดใน 3 พื้นที่นี้ มาตรา 4 ในร่างพระราชบัญญัตินี้ “วนอุทยาน” หมายความว่า พื้นที่ที่มีสภาพสวยงามเหมาะแก่การสงวนรักษาไว้ให้เป็น แหล่งคุ้มครองทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หรือเพื่อเป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้ ทางธรรมชาติหรือนันทนาการของประชาชนโดยส่วนรวม “สวนพฤกษศาสตร์ ” หมายความว่า พื้นที่ที่มีการจัดรวบรวมพรรณไม้ โดยมีการ จัดแยกพรรณไม้ออกเป็นหมวดหมู่ตามหลักพฤกษศาสตร์หรือตามหลักอนุกรมวิธาน พื ช เพื่ อ ให้ เ ป็ น แหล่ ง อนุ รั ก ษ์ ค วามหลากหลายทางชี ว ภาพ เป็ น สถานที่ ศึ ก ษา ค้นคว้าวิจัยทางวิชาการ และใช้เป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจของประชาชน “สวนรุกขชาติ” หมายความว่า พื้นที่ที่มีการรวบรวมและอนุรักษ์พรรณไม้ที่มีค่าหา ยาก หรือใกล้สูญพันธุ์ซึ่งมีอยู่ในท้องถิ่น เพื่อให้ได้รับความรู้เกี่ยวกับพันธุ์ไม้ และการ พักผ่อนหย่อนใจของประชาช โดยทั้ง 3 เขตมีการผ่อนปรนการใช้พื้นที่ได้ โดยพนักงานเจ้าหน้าที่ไม่เข้มงวดเหมือน อุทยานแห่งชาติ


กาหนดให้มีแผนบริหารจัดการ พื้นที่อุทยานแห่งชาติ ต้องมีการรับฟังความคิดเห็น

ผู้มีส่วนได้เสียเข้ามามีส่วนร่วม

ประชาชนมีส่วนร่วม ชุมชนที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม


ชุมชนสามารถเข้ า มามี ส่ว นร่ว มในการจัด ตั้ งและการบริห าร จัดการอุทยานแห่งชาติ ในส่วนที่ 3 การคุ้มครองพื้นที่ บารุง ดูแล และรักษาอุทยานแห่งชาติ ได้ระบุให้มีการจัดทาแผนบริหาร จั ด การพื้ น ที่ อุ ท ยานแห่ ง ชาติ แ ต่ ล ะแห่ ง พร้ อ มแผนที่ แ สดง รายละเอียดและแนวเขตการจัดการพื้นที่ โดยอธิบดีเป็นผู้ให้ ความเห็นชอบในแผนการจัดการดังกล่าว ในการกาหนดเขต การจั ด การภายในพื้ น ที่ อุ ท ยานแห่ ง ชาติ ต้ อ งไม่ ก ระทบต่ อ ลักษณะพื้นที่ที่ต้องการอนุรักษ์สภาพธรรมชาติหรือเป็นพื้นที่ เปราะบางของระบบนิเวศ และต้องรักษาไว้ซึ่งสภาพความเป็น อุทยานแห่งชาติ โดยแผนการจัดการดังกล่าวต้องมีการรับฟัง ความคิ ดเห็ นและการมีส่ วนร่วมของผู้ มีส่ว นได้เสีย ชุมชนที่ เกี่ยวข้อง และประชาชนด้วย ตามร่างมาตรา 18


เพิ่มหมวดเงินค่าบริการ หรือค่าตอบแทน แบ่งเงินรายได้ให้ อปท.ในพื้นที่ เ พิ่ ม ส วั ส ดิ ก า ร ช่วยเหลือต่อสู้คดี ของผู้ พิ ทั ก ษ์ ป่ า และอาสาสมัคร

เงินรายได้ เงินบริจาค เงินค่าปรับ ไม่ต้องนาส่งคลัง


หมวด 3 เงินค่าบริการหรือเงินค่าตอบแทน 1. แบ่ ง สั ด ส่ ว นเงิ น รายได้ ใ ห้ อ ปท. เพื่ อ ใช้ ส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น การ ปฏิบัติงาน พื้นที่คุ้มครองที่อยู่ในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ ตามร่างมาตรา 30 2. เงินรายได้ เงินบริจาค เงินค่าปรับ ไม่ต้องนาส่งคลัง โดยนามาใช้เพื่อ การอนุ รักษ์ฟื้น ฟู และบารุงรั กษาอุท ยานแห่ งชาติ วนอุทยาน สวน พฤกษศาสตร์ หรื อ สวนรุ ก ขชาติ หรื อ อุ ท ยานแห่ ง ชาติ เ ตรี ย มการ ค่ า ใช้ จ่ า ยในการท าลาย รื้ อ ถอน ย้ า ยสิ่ ง ปลู ก สร้ า งหรื อ ต้ น ไม้ ที่ มี ผู้กระทาความผิด และนามาใช้เป็นเงินสวัสดิการหรือเงินช่วยเหลือให้แก่ พนักงานเจ้าหน้าที่หรืออาสาสมัครที่ได้รับอันตราย บาดเจ็บ เสียชีวิต หรื อ เป็ น เงิ น ช่ ว ยเหลื อ ในการต่ อ สู้ ค ดี จ ากการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ใ นการ คุ้มครองดูแล ฯลฯ ตามร่างมาตรา 31 - 33


ปรับบทกาหนดโทษให้สูงขึ้น เช่น การยึดถือครอบครอง ก่นสร้าง แผ้วถาง เผาป่า พ.ร.บ.อุทยานฯ พ.ศ.2504 บทกาหนดโทษ จาคุกไม่เกิน 5 ปี หรือ ปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ

ร่างพ.ร.บ.อุทยานฯ พ.ศ. .... บทกาหนดโทษ จาคุก 4 - 20 ปี หรือ ปรับ 400,000-2,000,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ

*เฉพาะการกระท าผิ ด ที่ เกิ ด ขึ้ น ในอุ ท ยานแห่ งชาติ เท่านั้น

*มี บ ทลงโทษทั้ ง การกระท า ความผิดในอุทยานแห่งชาติ วนอุทยาน สวนพฤกษศาสตร์ และสวนรุกขชาติ


ร่างพระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. .... และถ้าได้กระทาในพื้นที่ลุ่มน้าชั้น 1 หรือพื้นที่ลุ่มน้าชั้น 2 หรือพื้นที่เปราะบางของระบบนิเวศ หรือความหลากหลาย ทางชีวภาพ ผู้กระทาต้องระวางโทษหนักว่าโทษที่กฎหมาย บัญญัติไว้อีกกึ่งหนึ่ง ตามร่างมาตรา 41


บทเฉพาะกาล คนอยู่กับป่า สารวจการถือครอง ที่ดินภายใน 240 วัน

เงื่อนไข เพื่อการดารงชีพ เป็นปกติธุระ ไม่ต้องรับโทษ

อส.จัดทาโครงการ เสนอขอความเห็นชอบ คณะกรรมการอช.

ช่วยเหลือประชาชนที่ ไม่มีที่ดินทากินตาม 30 มิ.ย. 2541 และคาสั่ง66/57 เงื่อนไข

มีหน้าที่อนุรักษ์ ฟื้นฟู ดูแลรักษา ทรัพยากรธรรมชาติ

เสนอครม.เห็นชอบ ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา

เจตนารมณ์ : ใช้หลักวิชาการเป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการและควบคุมพื้นที่


มาตรา 64 ให้กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช สารวจการถือครองที่ดินของประชาชนทีอยู่อาศัย หรือทา กินในอุทยานแห่งชาติแต่ละแห่งให้แล้วเสร็จภายในสองร้อยสี่สิบวัน นับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บงั คับ

เมื่อพ้นระยะเวลาตามวรรคหนึ่ง รัฐบาลมีแผนงานหรือนโยบายในการช่วยเหลือประชาชนทีไ่ ม่มที ี่ดนิ ทากินและได้ อยู่อาศัยหรือทากินในอุทยานแห่งชาติทมี่ ีการประกาศกาหนดมาก่อนวันทีพ่ ระราชบัญญัตินใี้ ช้บงั คับ ให้กรมอุทยาน แห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการจัดทาโครงการเกี่ยวกับการอนุรักษ์และดูแล รักษาทรัพยากรภายในอุทยานแห่งชาติโดยมิได้สิทธิในที่ดนิ นัน้ เสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อให้ความเห็นชอบโดยตราเป็น พระราชกฤษฎีกา พระราชกฤษฎีกาตามวรรคสองต้องมีวตั ถุประสงค์เพื่อช่วยเหลือบุคคลที่ไม่มที ี่ดนิ ทากินและได้อยู่อาศัยหรือทา กินในอุทยานแห่งชาติ ภายใต้กรอบเวลาตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน2541 การแก้ไขปัญหาที่ดินใน พื้นที่ป่าไม้ หรือตามคาสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ 66/2557 เรื่องเพิ่มเติมหน่วยงานสาหรับการปราบปราม หยุดยั้งการบุกรุกทาลายทรัพยากรป่าไม้ และนโยบายการปฏิบัติงานเป็นการชั่วคราวในสภาวการณ์ปจั จุบัน ลงวันที่ 17 มิถุนายน 2557 โดยต้องจัดให้มีแผนที่แสดงแนวเขตโครงการที่จะดาเนินการซึ่งจัดทาด้วยระบบภูมสิ ารสนเทศ หรือระบบอื่นซึ่งมีลักษณะใกล้เคียงกันแนบท้ายพระราชกฤษฎีกา และมีระยะเวลาการใช้บังคับคราวละไม่เกินยี่สิบปี และ อย่างน้อยต้องมีสาระสาคัญเกี่ยวกับหลักเกณฑ์การพิจารณาและคุณสมบัติของบุคคลที่อยู่อาศัยหรือทากินในชุมชน ภายใต้โครงการที่จะดาเนินการ หน้าที่ของบุคคลที่อยู่อาศัยหรือทากินในชุมชนในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู ดูแลรักษา ทรัพยากรธรรมชาติ ระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพภายในเขตพื้นทีด่ าเนินโครงการ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการอยู่อาศัยหรือทากิน และมาตรการในการกากับดูแล การติดตาม และการประเมินผลการดาเนิน โครงการ ในกรณีบุคคลที่อยู่อาศัยหรือทากินได้ครอบครองที่ดิน ก่นสร้าง แผ้วถาง หรือกระทาด้วยปะการใดๆ ให้เป็น อันตรายหรือทาให้เสื่อมสภาพหรือเปลี่ยนแปลงภาพพื้นที่ไปจากเดิม เก็บหา นาออกไป กระทาด้วยประการใดๆ ให้ เป็นอันตรายหรือทาให้เสื่อมสภาพ ซึ่งไม้ ดิน หิน กรวด ทราย แร่ ปิโตรเรียม หรือทรัพยากรธรรมชาติอื่น หรือ กระทาการอื่นใดอันส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ ความหลากหายทางชีวภาพหรือทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หรือนาหรือปล่อยสัตว์ ในเขตพื้นที่โครงการตามพระราชกฤษฎีกาทีต่ ราขึ้นตามมาตรานี้ หากการกระทาดังกล่าว เป็นไปเพื่อการดารงชีพอย่างเป็นปกติธุระ และได้ปฏิบัติใหเป็นไปตามระเบียบที่อธิบดีกาหนดโดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการแล้ว ผู้นั้นไม่ต้องรับโทษ


บทเฉพาะกาล คนอยู่กับป่า สารวจประเภท/ชนิด ทรัพยากรที่เกิดใหม่ ทดแทนได้ภายใน 240 วัน

อส.จัดทาโครงการ เสนอขอความเห็นชอบ คณะกรรมการอช.และ เสนอรัฐมนตรี เงื่อนไข

เพื่อดารงชีพเป็น ปกติธุระ ไม่ต้องรับโทษ

เจตนารมณ์ :

20

เสนอครม.ให้ความ เห็นชอบ ออกเป็น ประกาศกระทรวงทส. เงื่อนไข

ให้ใช้ประโยชน์จาก ทรัพยากรบางชนิดที่ เกิดใหม่ทดแทนได้และ มีเพียงพอ แก้ไขปัญหาประมงพื้นบ้าน รวมถึงการเก็บหาของป่า คราวละไม่เกิน 20 ปี


มาตรา 65 เพื่อประโยชน์ในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู บารุงรักษา และควบคุมการใช้ประโยชน์ซึ่งทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในอุทยานแห่งชาติ ให้กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า พันธุ์พืช สารวจข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับประเภทและชนิดของ ทรัพยากรธรรมชาติทสี่ ามารถเกิดใหม่ทดแทนได้ ในอุทยานแห่งชาติที่ได้ประกาศกาหนดโดยพระราชกฤษฎีกาก่อนวันที่ พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับให้แล้วเสร็จภายในสองร้อยสี่สิบวัน นับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ในกรณีที่กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช เห็นว่าพื้นที่ในอุทยานแห่งชาติตามวรรคหนึ่งแห่งใด มี ทรัพยากรธรรมชาติทสี่ ามารถเกิดใหม่ทดแทนได้ตามฤดูกาลที่มีศักยภาพเหมาะสมและเพียงพอในการเก็บหาหรือใช้ประโยชน์ จากทรัพยากรธรรมชาตินั้นโดยไม่ส่งผลกระทบต่อสภาพธรรมชาติ สัตว์ป่า ความหลากหลายทางชีวภาพ และระบบนิเวศ และ เป็นกรณีที่มีความจาเป็นเพื่อแก้ไขปัญหาการดารงชีพตามวิถชี ุมชนหรือวิถีชีวิตดั้งเดิมที่อยู่โดยรอบบริเวณอุทยานแห่งชาติ ดังกล่าว ให้กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการเสนอรัฐมนตรีเพื่อจัดทาโครงการ อนุรักษ์และการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืนในอุทยานแห่งชาตินั้นเป็นประกาศกระทรวง เสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อให้ความ เห็นชอบและให้มีแผนที่แสดงแนวเขตโครงการที่จะดาเนินการซึง่ จัดทาด้วยระบบภูมิสารสนเทศ หรือระบบอื่นซึ่งมีลักษณะ ใกล้เคียงแนบท้ายประกาศกระทรวงนั้นด้วย เพื่อประโยชน์ในการควบคุมและลดการพึ่งพิงการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติในอุทยานแห่งชาติ โครงการอนุรักษ์ และการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืนที่จะดาเนินการภายใต้ประกาศกระทรวงตามวรรคสองให้มีระยะเวลาไม่เกินยี่สิบปี และ จะต้องสอดคล้องกับนโยบายการจัดการพื้นที่อุทยานแห่งชาติ และแผนการบริหารจัดการพื้นที่อุทยานแห่งชาติแห่งนั้น และ อย่างน้อยต้องมีสาระสาคัญเกี่ยวกับหลักเกณฑ์การพิจารณาและคุณสมบัติของบุคคลทีจ่ ะได้รับอนุญาตภายใต้โครงการที่จะ ดาเนินการ หน้าที่ของบุคคลที่ได้รับอนุญาตในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู ดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติ ระบบนิเวศ และความ หลากหลายทางชีวภาพภายในเขตพื้นที่ดาเนินโครงการ ประเภท ชนิด จานวน หรือปริมาณของทรัพยากรธรรมชาติทสี่ ามารถ เกิดใหม่ทดแทนได้ตามฤดูกาลทีอ่ นุญาตให้เก็บหาหรือใช้ประโยชน์ ช่วงระยะเวลาดาเนินการทีเ่ หมาะสม มาตรการตรวจสอบและ ควบคุมผลกระทบ และการฟื้นฟูสภาพพืน้ ที่หรือทรัพยากรธรรมชาติ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการอนุญาตการเก็บหา หรือการใช้ปะโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ และการสิ้นสุดการอนุญาต มาตรการในการกากับดูแล การตรวจสอบ กรติดตาม การควบคุมผลกระทบและการฟื้นฟูสภาพพื้นที่หรือทรัพยากรธรรมชาติ และการประเมินผลการดาเนินโครงการ และแนวทางใน การลดการพึ่งพิงการใช้ทรัพยากรธรรมชาติดงั กล่าวในเขตพื้นที่ดาเนินโครงการ การเก็บหาหรือการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติทสี่ ามารถเกิดใหม่ทดแทนได้ตามฤดูกาลของบุคคลทีไ่ ด้รับอนุญาต ในเขตพื้นที่โครงการตามประกาศกระทรวงที่ตราขึ้นตามมาตรานี้ หากเป็นการเก็บหาหรือใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ ตามประเภท ชนิด และจานวนตามที่ได้รับอนุญาต และเป็นไปเพื่อการดารงชีพอย่างเป็นปกติธรุ ะ และได้ปฏิบัติให้เป็นไปตาม ระเบียบที่อธิบดีกาหนดโยความเห็นชอบของคณะกรรมการแล้ว ผู้นั้นไม่ต้องรับโทษ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.