บทนำ� หลังจากการเดินเท้าคัดค้านรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ส�ำหรับโครงการหรือกิจการ ที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรง ทั้ง ทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ โครงการเขื่อน แม่วงก์ จังหวัดนครสวรรค์ (EHIA) เมื่อวันที่ 10 -22 กันยายน 2556 อันเนื่อง มาจากรายงานฯฉบับดังกล่าวแสดงให้เห็นถึงความไม่คุ้มค่าทางเศรษฐกิจ และ การไม่ตอบโจทย์ในการบริหารจัดการน�้ำ รวมทั้งรายงานฯขาดความสมบูรณ์ทั้ง จ�ำนวนและชนิดพันธุ์ไม้ สัตว์ป่า และไม่สามารถลดผลกระทบสิ่งแวดล้อมได้จริง จากเสียงคัดค้านของประชาชนจ� ำนวนมากท�ำให้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ได้มีค�ำสั่งที่ 427/2556 แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาข้อมูล ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โครงการเขื่อนแม่วงก์ จังหวัดนครสวรรค์ เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2556 และที่ประชุมคณะกรรมการพิจารณาข้อมูลฯได้มีมติ ในการประชุมครั้งที่ 2 ให้แต่งตั้งคณะท�ำงานตรวจสอบข้อมูลทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ด้านทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่า โครงการเขื่อนแม่วงก์ จังหวัด นครสวรรค์ เพื่อตรวจสอบประเด็นทางวิชาการที่ทางองค์กรเครือข่ายอนุรักษ์ได้มี จดหมายทักท้วงไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้วยกัน 3 ด้าน คือ 1. ด้านทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่า 2. ด้านการบริหารจัดการน�้ำ 3. ด้านเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม
เพื่อให้เกิดความกระจ่างในแง่วิชาการ
ค�ำสั่ง 427/2556 แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาข้อมูลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โครงการเขื่อนแม่วงก์ จังหวัดนครสวรรค์
สรุปผลการตรวจสอบข้อมูลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โครงการเขื่อนแม่วงก์ จังหวัดนครสวรรค์ สื บ เนื่ อ งจากค� ำ สั่ ง กระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม เรื่ อ ง แต่ ง ตั้ ง คณะท� ำ งานตรวจสอบข้ อ มู ล ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โครงการเขื่อนแม่วงก์ จังหวัดนครสวรรค์ ที่ 493/2556 ลงวันที่ 4 ธันวาคม 2556 โดยได้มีการ แต่งตั้งคณะท�ำงาน เพื่อตรวจสอบข้อมูลทางวิชาการ(ในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ส�ำหรับโครงการหรือกิจการที่ อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ โครงการเขื่อนแม่ วงก์ จังหวัดนครสวรรค์) โครงการเขื่อนแม่วงก์ 3 ด้าน 1. ด้านทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่า 2. ด้านการบริหารจัดการน�้ำ 3. ด้าน เศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม โดยมีผลสรุปดังต่อไปนี้
ด้านทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่า คณะท�ำงานฯได้สรุปข้อคิดเห็นในเรื่องความถูกต้องสมบูรณ์ จ�ำนวน 4 ประเด็นหลัก 14 ประเด็นย่อย ดังนี้ 1.1 สภาพปั จ จุ บั น และผลกระทบต่ อ สั ง คมพื ช และการ ทดแทน 1.1.1 การส�ำรวจและเก็บข้อมูลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อม ด้านทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่า มีการใช้เวลาที่ไม่สัมพันธ์กับ ปริมาณข้อมูลที่ต้องการ ส่งผลให้เก็บข้อมูลไม่ครบถ้วนและไม่ครอบคุลม รวมทั้งขาดความสมบูรณ์ทั้งจ�ำนวนและชนิดพันธุ์ไม้และสัตว์ป่า ท�ำให้ คุณภาพของข้อมูลดังกล่าวต�่ำลงและไม่น่าเชื่อถือ 1.1.2 รูปแบบและการวางแผนเก็บข้อมูลขัดกับหลักการส�ำรวจ ทรัพยากรป่าไม้ตั้งแต่ต้น โดยระบุว่าจะใช้การวิธีส�ำรวจแบบ Stratify Sampling Technique ซึ่งต้องวางแปลงตัวอย่างให้เป็นสัดส่วนกับชั้น ข้อมูล แต่ในการปฏิบัติจริงได้ใช้วิธีส�ำรวจแบบ Systematic Line Plot System ท�ำให้ข้อมูลผลผลิตสถานภาพทรัพยากรป่าไม้ที่ได้มีความคลาด เคลื่อนสูง 1.1.3 วิธีการส�ำรวจป่าไม้ ยังขาดการอ้างอิงทางสถิติ และมี การค�ำนวณค่าสถิติที่แสดงถึงขนาดตัวอย่างที่เหมาะสมในการส�ำรวจ (Sample Size) และค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการประมาณ (Standard error of estimate) ในการวิเคราะห์ข้อมูลดังกล่าว 1.1.4 การส�ำรวจเก็บข้อมูลป่าไม้ที่ใช้กลุ่มส�ำรวจเก็บข้อมูล หลายกลุ่มอาจท�ำให้ข้อมูลมีความผันแปรสูง เนื่องจากแต่ละกลุ่มจะมี ความรู้ด้านชนิดพันธุ์ไม้และการวัดไม้ รวมทั้งทักษะความสามารถที่ไม่ เท่ากัน นอกจากนั้น ยังไม่มีกลุ่มตรวจสอบคุณภาพในการสุ่มส�ำรวจซ�้ำ เพื่อใช้ในการหารค่าทางสถิติมาประกอบ เพื่อเพิ่มความน่าเชื่อถือของ ข้อมูลดังกล่าว 1.2 ความถูกต้องของการจ�ำแนกชนิดและจ�ำนวนสัตว์ป่าที่ได้ รับผลกระทบจากการก่อสร้างโครงการ 1.2.1 ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษาและส�ำรวจชนิดและจ�ำนวน สัตว์ป่า ต้องมีความครอบคลุมตลอดทั้งปี (ทั้งในฤดูแล้งและในฤดูฝน) โดยใช้วิธีการและอุปกรณ์ที่ทันสมัย
1.2.2 ขอบเขตพื้นที่ศึกษาด้านทรัพยากรสัตว์ป่า ควรท�ำการ ศึกษาในบริเวณพื้นที่น�้ำท่วม โดยเชื่อมโยงพื้นที่รอบอ่างเก็บน�้ำทั้งหมด เนื่องจากสัตว์ป่ามีการเคลื่อนย้ายพื้นที่หาอาหารตลอดเวลา ซึ่งถ้าท�ำการ ส�ำรวจให้กว้างขึ้น และค�ำนึงถึงชนิดพันธุ์ที่เคยส�ำรวจในพื้นที่ดังกล่าว ด้วย 1.2.3 ควรน�ำข้อมูลของการส�ำรวจสัตว์ป่าของหน่วยงานอื่นๆ หรือนักวิชาการอื่นๆ เข้าไปผนวกไว้ในEHIA เพื่อไม่ให้สูญเสียโอกาส ในการอนุรักษ์ โดยต้องพิจารณาให้ครอบคลุมถึงผลกระทบที่เกี่ยวข้อง กับชนิดพืชพรรณและสัตว์ป่าต่างๆในระบบนิเวศดังกล่าวและประเมิน คุณค่าใหม่ 1.2.4 บริเวณพื้นที่ที่ถูกน�้ำท่วมในระดับต�่ำกว่า 210 มรทก. ซึ่ง เป็นพื้นที่ป่าที่ราบริมน�้ำและมีล�ำน�้ำไหลผ่านบริเวณกลางพื้นที่นั้น เป็น พื้นที่ที่มีความส�ำคัญต่อสัตว์ป่า ทั้งในด้านที่อยู่อาศัย แหล่งอาหาร และ น�้ำ ดังนั้นการสร้างเขื่อนในบริเวณดังกล่าว จะส่งผลกระทบท�ำให้สัตว์ป่า ต้องไปอาศัยอยู่บนที่สูงหรือลาดชัน ซึ่งไม่ใช่แหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า ดังกล่าว
รอยต่อของการกระจายทางชีวภูมิศาสตร์ (Unique Biogeography) ของการกระจายพืชพรรณและสัตว์ป่าจากภาคเหนือและภาคใต้รวมกัน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของผืนป่าตะวันตกที่มีคุณค่าแก่การอนุรักษ์ ดังนั้น ควร จะพิจารณาความเชื่อมต่อของระบบนิเวศที่เป็นรอยต่อพื้นที่ป่าทั้งหมด ซึ่งเป็นพื้นที่ป่าอุทยานแห่งชาติแม่วงก์และผืนป่าตะวันตก
1.3 ผลกระทบต่อระบบนิเวศของพื้นที่อุทยานแห่งชาติแม่ วงก์และพื้นที่ใกล้เคียง 1.3.1 คุณค่าของอุทยานแห่งชาติแม่วงก์และป่าในพื้นที่ราบ ซึ่งมีความส�ำคัญมากต่อการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ สภาพ ถิ่นที่อาศัย ชนิดพืชพรรณ สัตว์ป่า สิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก และพันธุกรรม กลไกของระบบนิเวศในผืนป่าแห่งนี้ 1.3.2 พื้นที่อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ เป็นระบบนิเวศบริเวณ
1.4 ความเหมาะสมของพื้นที่ปลูกป่าทดแทนพื้นที่ที่สูญเสีย ไปในการก่อสร้างโครงการ 1.4.1 การปลูกป่าทดแทน ไม่ควรปลูกทดแทนในเขตอุทยาน แห่งชาติแม่วงก์ ที่มีการทดแทนในพื้นที่ป่าไม้ตามธรรมชาติในระดับที่ ดี ทั้งนี้ พื้นที่ที่จะเป็นพื้นที่น�้ำท่วมนั้น เป็นบริเวณที่มีการเคลื่อนย้าย อพยพราษฎรออกไป ท�ำให้พื้นที่ป่าบริเวณดังกล่าวได้รับการฟื้นตัวแล้ว ซึ่งรายงานฯ ได้มีการะบุไว้ว่าพื้นที่น�้ำท่วมเป็นป่าเสื่อมโทรม เนื่องจาก พิจารณาจากความหนาแน่นของป่า แต่ในขณะเดียวกันป่าบริเวณดัง กล่าวก็มีแนวโน้มจะเติบโตเป็นไม้ขนาดใหญ่ และมีโอกาสคืนสภาพเป็น พื้นที่ป่าที่มีความสมบูรณ์ 1.4.2 พื้นที่ปลูกป่าทดแทน ยังขาดข้อมูลด้านการใช้ ประโยชน์ การถือครองที่ดิน การมีส่วนร่วม และความคิดเห็นของ ประชาชน
ด้านการบริหารจัดการน�้ำ คณะท�ำงานฯ ได้พิจารณาข้อมูลด้านการบริหารจัดการน�้ำใน รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมส�ำหรับโครงการหรือกิจการ ที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้งทางด้านคุณภาพ สิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ โครงการเขื่อนแม่วงก์ จังหวัดนครสวรรค์ และรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม เชิงยุทธศาสตร์ บนความถูกต้องในหลักวิชาการ และมีความเห็นและ ข้อเสนอแนะต่อรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมฯ รวม 6 ประเด็นหลัก 20 ประเด็นย่อย 2.1 การก�ำหนดแนวทางเลือก 5 แนวทาง 2.1.1 ในการเปรียบเทียบการศึกษาแนวทางเลือก 5 แนวทาง ยั ง ขาดรายละเอี ย ดในแต่ ล ะทางเลื อ ก ได้ แ ก่ ข้ อ มู ล จริ ง จากในภาค สนามและความชัดเจนด้านวิศวกรรม เช่นข้อสมมติฐานการค�ำนวณ water demand (อดีต-ปัจจุบัน),ข้อสมมติด้านปริมาณน�้ำต้นทุน (อดีตปัจจุบัน), และข้อมูลสมดุลน�้ำตามอนุกรมเวลาของแต่ละช่วงของล�ำน�้ำ เป็นต้น ทั้งนี้ การเปรียบเทียบทางเลือกต้องเปรียบเทียบอยู่บนฐาน เดียวกัน 2.1.2 ไม่มีข้อมูล Schematic Diagram ของแต่ละแนวทาง เลือก มีเฉพาะกรณีสุดท้าย (รายงานฯ ฉบับหลัก หน้า 3-466) ทั้งนี้ ข้อมูล Schematic Diagram จะต้องมีทั้งสภาพปัจจุบัน และทางเลือก ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เพื่อแสดงให้เห็นภาพรวมทั้งระบบของการบริหาร จัดการน�้ำในพื้นที่โครงการ ว่ามีหน่วยงานใดบ้างที่ด�ำเนินการจัดท�ำ อาคารชลประทานเอาไว้ทั้งในขนาดกลางและขนาดเล็ก ใน Sub basin ทั้งหมด เพราะจะส่งผลต่อการค�ำนวณการไหลเวียนของน�้ำ และการ บริหารจัดการน�้ำในแต่ละทางเลือก
2.2 การก�ำหนดสถานการณ์ของการพัฒนาลุ่มน�้ำด้วยแบบ จ�ำลองทางคณิตศาสตร์ 2.2.1 การใช้แบบจ�ำลอง SWAT มีความเหมาะสมกับ การศึกษาในระดับ SEA แต่การศึกษาระดับโครงการควรพิจารณาเพิ่ม เติมการใช้แบบจ�ำลองด้านการบริหารจัดการน�้ำอื่นๆ ประกอบ เช่น MIKE BASIN, HEC-3 เป็นต้น นอกจากนี้ในการศึกษาแบบจ�ำลองดัง กล่าว ควรมีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงด้านการใช้ประโยชน์ที่ดินในอดีต ประกอบด้วย (ย้อนหลังประมาณ 20 ปี) ทั้งในบริเวณพื้นที่เหนืออ่างเก็บ น�้ำบริเวณพื้นที่อ่างเก็บน�้ำ และบริเวณพื้นที่ท้ายน�้ำ ซึ่งข้อมูลดังกล่าวจะ ส่งผลต่อการค�ำนวณปริมาณน�้ำที่ไหลลงอ่างเก็บน�้ำด้วย
2.2.2 การใช้ แ บบจ� ำ ลองทางคณิ ต ศาสตร์ ใ นรายงานการ 2.4.4 การศึกษาอุทกวิทยา ยังขาดการศึกษาการกระจายตัว วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมฯ ยังขาดการน�ำเสนอการสอบเทียบแบบ ของน�้ำไปเป็นล�ำน�้ำย่อยต่าง ๆ ก่อนปริมาณน�้ำผ่านสถานี CT4 ในมิติ จ�ำลอง ของปริมาณการไหล ท�ำให้การศึกษายังครอบคลุมไม่เพียงพอที่จะอธิบาย พฤติกรรมน�้ำท่วม 2.3 การปล่อยน�้ำเพื่อรักษาระบบนิเวศ 2.4.5 การแสดงผลจากแบบจ�ำลองน�้ำท่วม (รายงานฯ ฉบับหลัก 2.3.1 ในการศึกษาปริมาณน�้ำท่ารายเดือนต�่ำสุดที่เปอร์เซ็น หน้า 3-487 และ 3-488) ให้แสดงในรูปของแผนที่น�้ำท่วมเชิงพื้นที่ โดย ไทล์ที่ 60 ให้น�ำเสนอแหล่งอ้างอิงประกอบด้วย (รายงานฯ ฉบับหลัก ต้องน�ำผลการศึกษาการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินในข้อ 2.1 มา หน้า 3-369) ประกอบด้วยในการค�ำนวณขนาดน�้ำท่วมในรอบปีการเกิดซ�้ำต่างๆ และ 2.3.2 รายงานมักกล่าวว่าการสร้างอ่างเก็บน�้ำแม่วงก์ มีข้อดี เพื่อน�ำมาประกอบการค�ำนวณผลประโยชน์ด้านเศรษฐศาสตร์ ต่อลุ่มน�้ำสะแกกรังตอนล่าง เนื่องจากมีน�้ำรักษาระบบนิเวศในฤดูแล้ง เพิ่มมากขึ้น และลดปริมาณน�้ำหลากในฤดูฝน เป็นข้อความที่ผิดตามหลัก 2.5 พื้ น ที่ ช ลประทานของโครงการเขื่ อ นแม่ ว งก์ และการ Environmental Flow ซึ่งต้องพิจารณาทั้งปริมาณน�้ำและช่วงเวลา รวม จัดสรรน�้ำให้แก่เกษตรกรในเขตพื้นที่ชลประทานทั้งในฤดูฝนและฤดูแล้ง ทั้งต้องประเมินผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงประกอบด้วย (รายงานฯ 2.5.1 ไม่มีรายละเอียดระบบส่งน�้ำและพื้นที่ส่งน�้ำเดิม มีแต่ระบบ ฉบับชี้แจงครั้งที่ 1 หน้า 6 และรายงานฉบับชี้แจงครั้งที่ 2 หน้า 11) ที่ก่อสร้างใหม่ 2.5.2 ในการเปิดพื้นที่ชลประทานใหม่ของโครงการมีการเปิด 2.4 ปัญหาน�้ำท่วมและศักยภาพของโครงการเขื่อนแม่วงก์ใน พื้นที่ข้ามลุ่มน�้ำ ซึ่งในรายงานขาดการน�ำเสนอรายละเอียด สัดส่วนพื้นที่ การบรรเทาปัญหาน�้ำท่วม ได้แก่ ชลประทานที่อยู่ในพื้นที่ลุ่มน�้ำแม่วงก์ ลุ่มน�้ำสะแกกรังตอนล่าง รวมถึงมี 2.4.1 การศึกษาควรจะแยกถึงแหล่งที่มาของปริมาณน�้ำที่ พื้นที่นอก ลุ่มน�้ำด้วย ดังนั้น ต้องมีความชัดเจนว่ามีปริมาณน�้ำเหลือเพียง เป็นสาเหตุของน�้ำท่วมแต่ละบริเวณว่ามาจากล�ำน�้ำย่อยใดบ้างให้ชัดเจน พอที่จะผันออกนอกลุ่มน�้ำ โดยต้องค�ำนึงถึงสิทธิการใช้น�้ำของคนในลุ่มน�้ำ เพื่อน�ำไปสู่แนวทางการแก้ปัญหาที่ตรงประเด็น รวมทั้งปริมาณการไหล โดยเฉพาะคนปลายน�้ำ สูงสุดของแต่ละส่วนของล�ำน�้ำ มีความสัมพันธ์ระหว่างการใช้ที่ดินและ ขนาดของลุ่มน�้ำต่อการเกิดน�้ำท่วมอย่างไร (รายงานฯ ฉบับหลัก หน้า 2.6 ประเด็นอื่น ๆ ได้แก่ 3-486 และรูปที่ 3.4.6-6) นอกจากนี้ควรแสดงอัตราการเปลี่ยนแปลง 2.6.1 ข้อมูลฝายทดน�้ำ ข้อมูลสถานภาพปัจจุบันของฝายทดน�้ำ ของการใช้ประโยชน์ที่ดินว่ามีแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงในอนาคตเป็น ตามตารางที่ระบุไม่เป็นปัจจุบัน ซึ่งจากข้อมูลในสนาม พบว่า ฝายบ้านท่า อย่างไร ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อการไหลของน�้ำลงอ่างและพื้นที่รับน�้ำ รวม ตาอยู่ ฝายทดน�้ำขุนราษฎร์บริบาล และฝายทดน�้ำบ้านวังส�ำราญได้ด�ำเนิน ทั้งการค�ำนวณ return flFlow ที่สมเหตุสมผล การก่อสร้างและปรับปรุงเสร็จแล้ว รวมทั้งยังไม่มีความชัดเจนว่า จะ 2.4.2 ความสามารถในการรองรับน�้ำหลากของล�ำน�้ำย่อยและ บริหารจัดการฝายทั้ง 3 ตัวที่มีอยู่เดิมในพื้นที่อย่างไร (รายงานฯ ฉบับชี้แจง ล�ำน�้ำข้างเคียงไม่ได้กล่าวถึงในรายงานฯ ทั้งนี้ จะต้องพิจารณาล�ำน�้ำ ครั้งที่ 1 หน้า 21 และรายงานฉบับชี้แจงครั้งที่ 2 หน้า 2) สาขาโดยรอบ ว่ามีการไหลของน�้ำอย่างไร และมีปริมาณน�้ำเท่าใด 2.6.2 การวิเคราะห์ไฟฟ้าพลังน�้ำ กราฟของ Power Duration 2.4.3 ในการศึกษาปริมาณน�้ำนองสูงสุดยังไม่ได้น�ำผลการ Curve ผู้ศึกษาได้ใช้ค่าออกแบบก�ำลังไฟฟ้าที่ 15% ของเวลา ซึ่งได้ก�ำลัง ศึกษาการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน มาประกอบในการค�ำนวณ ไฟฟ้าประมาณ 12 MW ไม่น่าคุ้มค่าต่อการลงทุน (รายงานฯ ฉบับชี้แจง ดังกล่าว ครั้งที่ 1 หน้า 152,159 และตารางที่ 11.2-1) 2.6.3 ในรายงานไม่ได้กล่าวถึงการบริหารจัดการน�้ำในปัจจุบันว่า เป็นเช่นไร และมีปัญหาอย่างไร ทั้งกรณีน�้ำท่วมและน�้ำแล้ง สรุปด้านการบริหารจัดการน�้ำ ภาพรวมโครงการ คณะท�ำงานฯ เห็นควรมีข้อสรุปของผลการศึกษาให้ยกเลิกโครงการนี้ เนื่องจากมีผล กระทบด้านสิ่งแวดล้อมมาก หลากหลายประเด็นและผู้ศึกษาไม่อาจแก้ ประเด็นการศึกษาเหล่านั้นจนเป็นที่ยอมรับแก่ทุกภาคส่วนได้
ด้านเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม
กรอบการด�ำเนินงานของคณะท�ำงานฯ ด�ำเนินการใน 2 ส่วน 1) พิจารณาตรวจสอบข้อมูลเกี่ยวกับการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์ สิ่งแวดล้อม ของEHIA โครงการเขื่อนแม่วงก์ จังหวัดนครสวรรค์ โดยพิ จ ารณาจากข้ อ มู ล การก� ำ หนดตั ว แปรในการค� ำ นวณด้ า น เศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม รวมถึงวิธีการค�ำนวณด้านเศรษฐศาสตร์ สิ่งแวดล้อม 2) พิจารณาข้อมูลที่ได้จากคณะกรรมการอีก 2 ชุด ข้าง ต้น โดยใช้หลัก ผู้ได้รับผลกระทบต้องมีคุณภาพชีวิตที่มากกว่าหรือ อย่างน้อยเท่าเดิม มาเป็นหลักในการพิจารณาตรวจสอบข้อมูลด้าน เศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม 3.1 การคิดผลประโยชน์ของโครงการไม่ถูกต้อง โดยยังขาด รายละเอียดความชัดเจน และมูลค่าที่น�ำมาใช้ค�ำนวณมีมูลค่าสูงเกิน จริงและไม่สอดคล้องกับสภาพจริงของพื้นที่ ทั้งประเด็นผลประโยชน์ ทางตรง (การชลประทานในพื้นที่เกษตรกรรม และน�้ำอุปโภคบริโภค) และประเด็นผลประโยชน์ทางอ้อม (การช่วยป้องกันภัยแล้ง และการ ช่วยบรรเทาอุทกภัย) 3.2 การคิดผลประโยชน์โดยไม่คิดต้นทุน ได้แก่ การคิดมูลค่า พลังงานไฟฟ้า
3.3 การเอาต้นทุนมาคิดเป็นผลประโยชน์ ได้แก่ การคิดมูลค่า ไม้ตัดออก และการเพิ่มพื้นที่ป่าไม้ 3.4 การคิดต้นทุนของโครงการต�่ำกว่าความเป็นจริง เนื่องจาก ขาดการประเมินมูลค่าด้านความหลากหลายทางชีวภาพ ป่าที่ราบริมน�้ำ และระบบนิเวศอื่น ๆมาเพื่อโปรดพิจารณา สรุปด้านเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะท�ำงานฯพิจารณา ต้นทุนและผลประโยชน์ตามหลักวิชาการพบว่า โครงการเขื่อนแม่วงก์ จะไม่ผ่านเกณฑ์การวิเคราะห์โครงการตามที่ที่ปรึกษาด�ำเนินการและ เข้ า ใจ เนื่ อ งจากประโยชน์ ที่ ที่ ป รึ ก ษาค� ำ นวณนั้ น สู ง เกิ น จริ ง จากผล ตอบแทนทางการเกษตร และการนับซ�้ำของการป้องกันภัยแล้งและ น�้ำท่วม ในผลตอบแทนทางการเกษตร ในขณะเดียวกันต้นทุนด้านสิ่ง แวดล้อมที่ที่ปรึกษาค�ำนวณ ผลที่ได้ออกมาต�่ำเกินไป โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การน�ำเรื่องการเพิ่มพื้นที่ป่าไม้มาเป็นผลประโยชน์ ดังนั้นหากด�ำเนินการ ตามหลักวิชาการจะพบว่า โครงการเขื่อนแม่วงก์จะเป็นไปไม่ได้ในทาง เศรษฐศาสตร์ โดยมีค่าตอบแทนสุทธิที่เป็นมูลค่าปัจจุบันเป็นลบ
ภาพคณะกรรมการพิจารณาข้อมูลวิชาการโครงการเขื่อนแม่วงก์ ในการประชุมใหญ่
ทางเลือกในการจัดการน�้ำ กรณีไม่ต้องสร้างเขื่อนในอุทยานแห่งชาติแม่วงก์ โดย ศศิน เฉลิมลาภ เลขาธิกราร มูลนิธิสืบนาคะเสถียร
ข้อพิจารณาพื้นฐาน 1. การสร้ า งเขื่ อ นขนาดใหญ่ ใ น อุ ท ยานแห่ ง ชาติ แ ม่ ว งก์ มี ผ ลกระทบอย่ า ง รุ น แรงต่ อ ระบบนิ เ วศที่ เ ป็นถิ่นที่อยู่อาศัยของ สัตว์ป่าในอุทยานแห่งชาติแม่วงก์ ที่เชื่อมโยงถึง ระบบนิเวศ และการกระจายของถิ่นที่อยู่ของ สัตว์ป่าในป่าตะวันตก ที่ผ่านการอนุรักษ์ และ ฟื้นฟูประชากรสัตว์ป่าจนประสบความส�ำเร็จมา ตลอดระยะเวลากว่า 20 ปี 2. โครงการสร้ า งเขื่ อ นแม่ ว งก์ สามารถบรรเทาปัญหาน�้ำท่วมในพื้นที่ราบลุ่ม ของล� ำ น�้ ำ แม่ ว งก์ ไ ด้ เ พี ย งบางส่ ว น เนื่ อ งจาก ยั ง มี ส ายน�้ ำ หลากในช่ ว งฝนตกหนั ก ในพื้ น ที่ ลาดชันและไม่มีป่า และพืชคลุมดินมากพอ ที่ อยู ่ น อกเหนื อ จากพื้ น ที่ รั บ น�้ ำ ที่ เ ขื่ อ นแม่ ว งก์ จะรองรับ รวมถึงการขาดระบบระบายน�้ำที่มี ประสิทธิภาพมากพอในเขตเทศบาลเมือง และ พื้นที่เกษตรกรรม และสาเหตุดังกล่าวน่าจะเป็น ปัจจัยส�ำคัญที่ท�ำให้พื้นที่ลุ่มต�่ำด้านท้ายโครงการ เขื่อนแม่วงก์เกิดปัญหาน�้ำท่วม ไม่ใช่จากการที่ ไม่มีเขื่อนในอุทยานแห่งชาติแม่วงก์
3. โครงการสร้างเขื่อนแม่วงก์ คาดว่าจะบรรเทาภัยแล้งได้พอสมควร ในพื้นที่ราวๆ หนึ่ง ในสามของพื้นที่ชลประทาน ที่ก�ำหนดไว้ 116,545 ไร่ ในช่วงฤดูแล้ง จากพื้นที่ก�ำหนดไว้ทั้งหมด ถึง 291,900 ไร่ ซึ่งเป็นการชลประทานในช่วงฤดูฝน ที่ไม่ขาดแคลนน�้ำ แต่หากต้องการลดภัยแล้ง ให้ครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมดน่าจะมีปริมาณน�้ำไม่เพียงพอ นอกจากนี้การคาดการที่จะเก็บน�้ำในฤดูฝน อาจจะคลาดเคลื่อนจากความเสี่ยงของความเป็นเขตเงาฝนในพื้นที่เหนือเขื่อน ที่มีแนวโน้มฝนตก น้อยกว่าในจุดที่ตรวจวัดปริมาณน�้ำฝน และขนาดของอ่างเก็บน�้ำ ที่เมื่อพิจารณาจากเส้นชั้นความ สูงตามแผนที่ภูมิประเทศ จะมีพื้นที่เก็บกักน�้ำเพียงครึ่งเดียวของพื้นที่อ่างเก็บน�้ำตามโครงการ ดังนั้น การสร้างเขื่อนแม่วงก์จึงมีความเสี่ยงที่จะเก็บน�้ำได้น้อย และบรรเทาภัยแล้งได้ต�่ำกว่าที่คาดไว้
พื้นที่ปัญหาการจัดการน�้ำในโครงการเขื่อนแม่วงก์ เป็นที่ทราบกันดีว่าการจะแก้ปัญหาน�้ำท่วม และ เพิ่มปริมาณน�้ำเพื่อการเกษตรให้เพียงพอในฤดูแล้งจริงๆ แล้วจะต้องสร้างเขื่อนขนาดใหญ่กว่าโครงการเขื่อนแม่วงก์ ตามโครงการปัจจุบัน ที่บริเวณกิ่วเขาแม่กระทู้และเขาพริก ไท (เรียกว่า “เขาชนกัน”) ซึ่งจะได้ปริมาณน�้ำมากกว่า และ รองรับปริมาณน�้ำหลากจากลุ่มน�้ำสาขาได้มากกว่า ตั้งแต่ เมื่อสามสิบปีที่แล้ว ในสมัยที่ยังไม่มีราษฎรอพยพมาอาศัย จ� ำ นวนมาก (บริ เ วณต� ำ บลแม่ เ ล่ ย ์ ) เช่ น ในปั จ จุ บั น ซึ่ ง เป็นเรื่องที่น่าเสียดายโอกาสเป็นอย่างยิ่ง และแทบจะไม่ สามารถคิดกลับไปสร้างเขื่อนในบริเวณนั้นได้อีกในปัจจุบัน เนื่องจากต้องอพยพชุมชนออกเป็นจ�ำนวนมาก ในขณะที่มีข้อมูลมากมายระบุชัดเจนว่า พื้นที่ป่า อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ในบริเวณที่จะสร้างเขื่อนในปัจจุบัน เป็นพื้นที่ที่มีความส�ำคัญอย่างยิ่งต่อการเก็บรักษาไว้เพื่อ อนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ และฟื้นฟูประชากร สัตว์ป่า ในระดับที่สามารถมีศักยภาพในการขอเป็นพื้นที่
มรดกโลก ขยายจากเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้งซึ่งเป็นผืนป่าต่อเนื่อง กัน และได้ผลประโยชน์ไม่คุ้มค่าที่จะถูกท�ำลายโดยน�้ำท่วมจากเขื่อนที่เสนอ โครงการจะสร้างในบริเวณนี้ เนื่องจากอยู่ในเขตเงาฝน ไม่รองรับลุ่มน�้ำที่มี น�้ำหลากมากในฤดูฝน และมีปริมาณความจุอ่างเก็บน�้ำน้อยกว่าพื้นที่สร้าง เขื่อนที่เขาชนกันมาก อย่างไรก็ดี จากการศึกษาปัญหาเรื่องการจัดการน�้ำในพื้นที่ พบ ข้อเท็จจริงที่เป็นปัญหาชัดเจนว่าปัญหาน�้ำท่วมในพื้นที่ส่วนใหญ่ เป็นเพียง ลักษณะน�้ำบ่า น�้ำจะท่วมขังไม่นาน ซึ่งมักจะเกิดความเสียหายไม่มาก นัก ดังนั้นเพื่อการหลีกเลี่ยงการสร้างเขื่อนที่มีผลกระทบรุนแรงต่อระบบ นิเวศในอุทยานแห่งชาติ และบรรเทาปัญหาน�้ำท่วม และภัยแล้งในพื้นที่ ชลประทาน และพื้นที่โดยรอบ อาจจะพิจารณาพื้นที่ลุ่มน�้ำแม่วงก์ และ พื้นที่ที่เกี่ยวข้อง ออกเป็น 4 พื้นที่ดังนี้ 1. พื้นที่ลุ่มน�้ำแม่วงก์ตอนบน ได้แก่ พื้นที่ขอบเขตสันปันน�้ำ ทางฝั่งตะวันตกมาจรดสันปันน�้ำทางตะวันออกเขาชนกัน พื้นที่ในบริเวณ นี้เป็นพื้นที่ระบุในรายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ว่า หากสร้างเขื่อนแม่วงก์แล้วจะสามารถบรรเทาปัญหาน�้ำท่วมได้ทั้งหมด ซึ่ง สภาพความเป็นจริงเป็นพื้นที่เนินเขาสลับที่ราบลูกฟูก มีที่นาเพียงเล็ก น้อย ซึ่งเป็นพื้นที่ที่ไม่ได้มีปัญหาน�้ำท่วมอยู่แล้ว จะมีพื้นที่รับประโยชน์ จากชลประทานระบบท่อ 10,000 ไร่ แต่จริงๆ แล้ว พื้นที่แถวนี้ ราวๆ 200,000 ไร่ ไม่ได้ประโยชน์จากเขื่อนแม่วงก์ สภาพปัญหาน�้ำหลากพบว่า
เมื่อฝนตกหนักจะมีน�้ำหลากจากบริเวณลุ่มน�้ำสาขา มาลงในล�ำน�้ำแม่วงก์ เป็นจ�ำนวนมากเนื่องจากไม่มีพืชคลุมดิน เข้าใจว่าในช่วงน�้ำหลากจะมีน�้ำ มากกว่า 70% ไหลลงมารวมกันที่บริเวณเขาชนกัน มีน�้ำจากพื้นที่รับน�้ำใน อุทยานเพียง 20-30% เนื่องจากมีป่าที่ซับน�้ำไว้ได้มาก 2. พื้นที่แม่วงก์ตอนกลาง ได้แก่ พื้นที่ขอบเขตสันปันน�้ำลุ่มน�้ำ สาขาแม่วงก์ที่เขาชนกัน ไปจนถึงพื้นที่ประตูน�้ำคลองขุนลาด หรือบริเวณ ต�ำบลเขาชนกัน และต�ำบลวังซ่าน อ�ำเภอแม่วงก์ ต่อเนื่องถึงต�ำบลศาลเจ้า ไก่ต่อ ส่วนนี้แทบไม่มีปัญหาน�้ำท่วมเพราะความลาดชันล�ำน�้ำสูง น�้ำไหล ผ่านเร็ว และมีบ่อ มีฝาย และประตูบังคับน�้ำเต็มพื้นที่ จัดการน�้ำง่ายเพราะ ประสานงานกับคนสองต�ำบล น�้ำค่อนข้างพอใช้ เพราะอยู่ต้นน�้ำ มีศักยภาพ น�้ำใต้ดินดีสูบมาเสริมได้ในกรณีฝนทิ้งช่วง หรือในฤดูแล้ง 3. พื้นที่แม่วงก์ตอนล่าง ได้แก่ พื้นที่รับน�้ำห้วยแม่วงก์ ที่เปลี่ยน ชื่อเป็นห้วยวังม้า ขอบเขตสันปันน�้ำที่เขาแม่กระทู้ เขาหลวง สองฝั่งล�ำน�้ำ แม่วงก์ เริ่มจากพื้นที่บ้านวังแจง อ�ำเภอลาดยาวต่อเนื่องกับ ไปถึงที่ตั้ง อ�ำเภอสว่างอารมณ์ (เปลี่ยนชื่อเป็นห้วยวังม้า และแควตากแดด) บริเวณ นี้มีปัญหาน�้ำท่วม-น�้ำแล้งพอสมควร แต่มีการจัดการน�้ำในล�ำน�้ำแม่วงก์ที่ดี พอควร มีการกั้นฝายย่อยๆ เก็บน�้ำในล�ำน�้ำได้มาก มีน�้ำจากลุ่มน�้ำสาขามา เติม ทั้งจากเขาแม่กระทู้และเขาหลวง มีศักยภาพน�้ำใต้ดินพอสมควร 4. พื้นที่รับประโยชน์จากโครงการเขื่อนแม่วงก์อ�ำเภอลาดยาว และอ�ำเภอเมือง ได้แก่ พื้นที่บ้านลานตะแบก บ้านวังยาง บ้านสร้อยละคร พื้นที่ราบลุ่มรอบเทศบาลลาดยาวต่อเนื่องจากพื้นที่แม่วงก์ตอนกลาง ไป
ภาพที่ 1 แสดงพื้นที่การจัดการน�้ำตามลุ่มน�้ำแม่วงก์ และลาดยาว
ทางด้านตะวันออก ที่มีบางส่วนอยู่ในอ�ำเภอเมืองนครสวรรค์ ส่วนใหญ่อยู่ นอกเขตพื้นที่ลุ่มน�้ำแม่วงก์ (หรือขอบเขตลุ่มน�้ำสะแกกรัง) แต่มีความเชื่อม ต่อกับระบบทางน�้ำแม่วงก์ โดยคลองส่งน�้ำคลองใหญ่ และล�ำน�้ำคลองม่วง ที่มีที่ราบน�้ำท่วมถึงและทางน�้ำที่ถูกขุดให้เชื่อมต่อกับล�ำน�้ำแม่วงก์ ต่อเนื่อง ไปครอบคลุมพื้นที่ราบลุ่มกว้างใหญ่ทางตะวันออกจรดถนนสายเอเชีย ตาม แนวคูน�้ำเลียบถนนสาย 1072 และล�ำห้วยหินลับ ห้วยวังยิ้มแย้ม ตามพื้นที่ โครงการชลประทานเขื่อนแม่วงก์ โดยเมื่อพิจารณาตามขอบเขตลุ่มน�้ำพื้นที่ นี้อยู่ในลุ่มน�้ำปิง แต่เมื่อมีปริมาณและระดับน�้ำหลากที่สูงจากลุ่มน�้ำแม่วงก์ ก็อาจจะมีการไหลข้ามลุ่มน�้ำโดยธรรมชาติ และในทางกลับกันเมื่อมีระดับ น�้ำหลากทุ่งมาจากที่ราบน�้ำท่วมถึงที่สูงกว่าของแม่น�้ำปิงก็จะไหลมาถึงได้ บ้างเช่นกัน แผนที่เพื่อการบริหารจัดการน�้ำแบ่งพื้นที่ ออกเป็น 4 พื้นที่ย่อย ดังอธิบาย และประมาณขนาดพื้นที่ที่ต้องการน�้ำไว้ดังตาราง 1 จากแผนที่เพื่อการจัดการน�้ำ พื้นที่แม่วงก์ตอนบน เป็นพื้นที่ น�้ำหลากผ่านบริเวณที่ลอนลาด ไม่เป็นที่น�้ำท่วมขัง (ความลาดชันล�ำน�้ำ ประมาณ 1/300) ส่วนพื้นที่แม่วงก์ตอนกลางที่เป็นที่ราบ จะเป็นลักษณะ ของพื้นที่น�้ำท่วมของธารประสานสาย (Braided Stream) สายน�้ำแม่วงก์ จะแตกออกเป็นร่องน�้ำเล็กๆ ไหลประสานกันไปมา ทั้งแยกจากกัน และ เชื่อมโยงเข้าคล้ายเป็นเปียถัก เกิดจากความตื้นเขินจากตะกอนกรวดทราย ทับถมมาก ท�ำให้น�้ำไหลไม่สะดวก จึงเกิดเป็นการไหลแยกเป็นร่อง ซึ่ง
เป็นลักษณะปกติในบริเวณที่ธารน�้ำกัดผ่านพื้นที่ธรณีสัณฐานที่เป็นเนิน ตะกอนรูปพัดเชิงเขา ในที่นี้เป็นเนินตะกอนรูปพัดของแนวเขาชนกันนั่นเอง ลักษณะเช่นนี้ทางธรณีวิทยาจะเป็นพื้นที่ลาดชันพอสมควรและมีน�้ำหลาก ผ่านอย่างรวดเร็ว ความลาดชันในบริเวณนี้จะมีความชันประมาณ 1/ 700 ส่วนพื้นที่แม่วงก์ตอนล่าง จะเป็นพื้นที่ของเนินตะกอนรูปพัด เชื่อมกับที่ราบกว้าง ที่เป็นธรณีสัณฐานที่ราบน�้ำท่วมถึงของล�ำน�้ำแม่วงก์ (วังม้า) ที่เป็นการสะสมตะกอนน�้ำหลากของล�ำน�้ำแม่วงก์ในที่ราบพ้นจาก พื้นที่เนินตะกอนรูปพัด จะมีน�้ำท่วมขังมากกว่าพื้นที่แม่วงก์ตอนกลาง แต่ พื้นที่นี้มีความลาดชันพอสมควร ท�ำให้น�้ำหลากส่วนใหญ่ไม่ท่วมขังมากนัก (ความลาดชันล�ำน�้ำประมาณ 1/1,000) พื้นที่ลาดยาวจริงแล้วเป็นพื้นที่ในส่วนของสันปันน�้ำแม่วงก์ และ แม่น�้ำปิง แต่เกิดจากการสะสมตัวของตะกอนแบบที่ราบน�้ำท่วมถึงของ เนินตะกอนรูปพัด และธารน�้ำประสานสายบางเส้นของแม่วงก์ในช่วงน�้ำ หลาก รวมกับน�้ำคลองม่วง และคลองขุดน�ำน�้ำไปใช้ที่ลาดยาว เชื่อมต่อกับ ที่ราบน�้ำท่วมถึงกว้างใหญ่ของแม่น�้ำปิง แต่เดิมไม่มีทางน�้ำธรรมชาติผ่าน ท�ำเกษตรจากน�้ำฝน จึงแห้งแล้งในหน้าแล้ง ขาดแหล่งกักเก็บ และไม่มี ศักยภาพน�้ำใต้ดิน มีสภาพน�้ำท่วมใกล้เคียงกับพื้นที่แม่วงก์ตอนล่าง (ความ ลาดชันประมาณ 1/1000) แต่มีปัญหาการทับถมของตะกอนขวางกั้นการ ไหลของน�้ำมากกว่า และมีการจัดการคูระบายน�้ำไม่ดี จึงมักประสบปัญหา น�้ำท่วมในบริเวณเทศบาลบ่อยๆ การมีที่ราบกว้างจึงมีความต้องการน�้ำใน การท�ำนามาก เมื่อมีการเพิ่มการท�ำนานอกฤดูกาล
ตารางที่ 1 สรุปประมาณการพื้นที่การจัดการน�้ำแม่วงก์ เปรียบเทียบกับพื้นที่รับประโยชน์จากเขื่อนแม่วงก์ พื้นที่
พื้นที่ป่าต้นน�้ำ (km2)
พื้นที่เนินเขา -ลอนลาด (km2)
พื้นที่ราบลุ่ม (km2)
รวม (km2)
ประมาณพื้นที่ที่อาจได้รับประโยชน์ เขื่อนแม่วงก์
วงก์ตอนบน
650 (406,250 ไร่)
190 (118,750 ไร่)
10 (6,250 ไร่)
850 (531,250 ไร่)
10,000 ไร่ (1.9%)
วงก์ตอนกลาง
20 (1,250 ไร่)
180 (112,500 ไร่)
100 (62,500 ไร่)
300 (187,500 ไร่)
62,500 ไร่ 33%
ลาดยาว
10 (6250 ไร่)
40 (25,000 ไร่
350 (218,750 ไร่)
400 (250,000ไร่)
218,750 ไร่ 87.5%
วงก์ล่าง
50 (31,250 ไร่
350 (218750 ไร่
200 125,000 ไร่)
600 (375,000ไร่)
40,000 ไร่ 10.6%
รวม
710 (443,750 ไร่)
780 (487,500ไร่)
670 (418,750 ไร่)
2,160 (1,350,000ไร่)
ความต้องการน�้ำ (ล้านคิว)
-
200 (500 m2/ไร่)
800 (2,000 m3/ไร่)
1,000 ล้าน m3
331,250 ไร่ 22.3% (ตามโครงการ 301,000 ไร่) 20% (200 ล้าน m3)
ในพื้นที่ย่อยทั้ง 4 พื้นที่ พื้นที่ที่ต้องการการจัดการแก้ปัญหาน�้ำ ท่วม-น�้ำแล้ง คือพื้นที่ที่ 4 (พื้นที่ที่รับประโยชน์จากโครงการเขื่อนแม่วงก์ บริเวณอ�ำเภอลาดยาวและอ�ำเภอเมือง) บริเวณนี้มีปัญหามากทั้งน�้ำท่วมน�้ำแล้ง น�้ำบ่อตื้นไม่มีศักยภาพเนื่องจากอยู่บริเวณใกล้สันปันน�้ำ เฉพาะ ส่วนนี้นี่เองที่หวังประโยชน์จากเขื่อนแม่วงก์มากที่สุด แต่อย่างไรก็ดี เมื่อพิจารณาจากข้อมูลทั้งหมดแล้วจะพบว่าเขื่อน แม่วงก์สามารถบรรเทาปัญหาความต้องการน�้ำได้ประมาณ 20 % ของ พื้นที่เท่านั้น และหากพิจารณาจริงๆแล้ว ในฤดูแล้งเขื่อนแม่วงก์มีศักยภาพ ในการกระจายน�้ำประมาณ 100,000 ไร่ ซึ่งไม่ถึง 10% ของพื้นที่การ จัดการน�้ำเท่านั้น (พื้นที่ทั้งหมดมีความต้องการน�้ำ 1,000,000 m3) การขุดคลองคลองใหญ่แบ่งน�้ำแม่วงก์ (วังม้า) จากบ้านสะเดา ซ้ า ยมาเชื่ อ มกั บ คลองม่ ว ง ซึ่ง น่าจะเป็น คลองหลัก ที่แท้จริง ของอ�ำเภอ
ลาดยาว น�้ ำ จากคลองใหญ่ แ ละคลองม่ ว ง จะน� ำ น�้ ำ มาท่ ว มเทศบาล เนื่องจากไม่มีการจัดการประตูน�้ำ คลองขุนลาด(สะเดาซ้าย)และฝายบ้าน ดอนปออย่างเป็นระบบ นอกจากนี้ด้านเหนือของคลองม่วง มีเนินเขาที่รับ น�้ำฝนเทลงมารวม พื้นที่มีแต่ไร่มันไม่มีอะไรช่วยในการชะลอน�้ำ พอน�้ำถึง เทศบาลลาดยาว ก็เจอสิ่งปลูกสร้างรุกล�้ำเต็มไปหมด รวมทั้งตัวที่ท�ำการ เทศบาลเองก็รุกถมลงมาในล�ำน�้ำด้วย คูระบายน�้ำ ที่ต้องพาน�้ำออกขาด การบ�ำรุงรักษา มีการรุกล�้ำโดยกั้นประตูน�้ำ ถมดินปิดเป็นระยะ ขาดระบบ สูบน�้ำช่วยระบายน�้ำ และพื้นที่คาบเกี่ยวระหว่างต�ำบลหลายต�ำบลที่ขาด ผู้ประสานงานกัน ที่ปลายคูมีการรุกล�้ำ และถมกั้นจากอาคารขนาดใหญ่ ท�ำให้ระบบน�้ำที่ต้องไหลระบายไปทางทิศตะวันออกไปไม่ได้ เป็นอุปสรรค ต่อการระบายน�้ำเป็นอย่างยิ่ง (ตามภาพ 2)
ภาพที่ 2 แสดงการส�ำรวจพบสิ่งก่อสร้างในคูระบายน�้ำในเทศบาลลาดยาว ช�ำรุดเสียหาย ไม่มีการใช้งานเป็นอุปสรรคต่อการระบายน�้ำในพื้นที่ลาดยาว
โครงการเขื่อนแม่วงก์ เป็นวิธีการมองภาพรวมของทุกพื้นที่ที่ว่า มา เอาความต้องการน�้ำของพื้นที่ปัญหามาเป็นตัวตั้ง ลามไปให้พื้นที่อื่นๆ ที่ ไม่ขาดน�้ำและมีศักยภาพที่จะพัฒนาแหล่งน�้ำขนาดเล็กได้มารอพ่วงไปด้วย ทั้งที่จริงๆ แล้ว หากแยกพื้นที่ชลประทานโครงการเป็นส่วนย่อยๆ จะพบว่า บางส่วนไม่ได้เกี่ยวข้องกับเขา บางส่วนไม่มีปัญหา บางส่วนมีปัญหาบ้างแต่ สามารถแก้ด้วยวิธีอื่นได้ หากแยกส่วนแก้ปัญหา และน�ำศักยภาพที่แก้ปัญหาแต่ละพื้นที่ ย่อยๆมาช่วยพื้นที่ปัญหามากอย่างลาดยาว ก็อาจจะแก้ปัญหาทั้งหมดได้ โดยไม่ต้องสร้างเขื่อนแม่วงก์ จากการค�ำนวณปริมาณน�้ำท่า โดยใช้ สมการ
โดย
QF = QF = A = a และ b = QF =
aAb ปริมาณน�้ำท่ารายปีเฉลี่ย (ล้าน ลบ.ม.) พื้นที่รับน�้ำฝน (ตร.กม.) สัมประสิทธิ์ถดถอย 3.7878A0.6076 (R2 = 0.4135)
พบว่า พื้นที่รับน�้ำประมาณ 2,000 km2 พื้นที่การจัดการน�้ำนี้จะมี น�้ำท่ารายปีประมาณ 755 ล้าน m3 ดังตารางค�ำนวณ ตารางที่ 2 แสดงการประมาณการน�้ำท่ารายเดือนในพื้นที่ประมาณ 2,000 km2
ดังนั้นเมื่อพิจารณาหากจะเก็บกักน�้ำไว้ใช้ในพื้นที่ ที่มีปริมาณน�้ำท่าเฉลี่ยทั่วทั้งพื้นที่ จึงอาจจะใช้การสร้างแหล่งน�้ำขนาดเล็กกระจายให้ทั่วเพื่อ รองรับน�้ำฝนและน�้ำหลากที่อาจจะไม่ได้ไหลมาจากพื้นที่รับน�้ำเหนือพื้นที่โครงการเขื่อนแม่วงก์เท่านั้น จะได้ผลมากกว่า ภาพที่ 3 แสดงแผนผังเส้นทางน�้ำแม่วงก์ และสภาพการวิเคราะห์ปัญหาน�้ำท่วมน�้ำแล้งจากการส�ำรวจในพื้นที่ ข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหาน�้ำท่วมในลุ่มน�้ำแม่วงก์-ลาดยาว
จากการส� ำ รวจสภาพปั ญ หาต่ า งๆ พบสาเหตุ ที่ ท� ำ ให้ น�้ ำ ท่ ว ม ลาดยาวดังแผนผังในภาพที 4 1. การขาดการจัดการพื้นที่น�้ำหลาก ลุ่มน�้ำย่อยคลองไทร-คลอง หินดาด 2. ปริมาณตะกอนในล�ำน�้ำแม่วงก์ และล�ำห้วยสาขาที่แตกออก ในพื้นที่แม่วงก์ตอนกลาง 3. ขาดการบริหารจัดการประตูน�้ำสะเดาซ้าย ให้น�้ำไหลเฉลี่ยไป วังม้าให้พอดี จ�ำเป็นต้องมีคณะกรรมการโดยท้องถิ่น ได้แก่ ต.มาบแก ต.วัง ม้า ต.ลาดยาว ต.ศาลเจ้าไก่ต่อ และ ต.สร้อยละคร ในการจัดการประตูน�้ำ ด้วยกัน โดยมีกรมชลประทานหรือเจ้าหน้าที่เทคนิคมาช่วยในการบริหาร จัดการน�้ำร่วม และพัฒนาระบบให้ครอบคลุมตั้งแต่ต้นน�้ำไปจนถึงปลายน�้ำ 4. ปริมาณน�้ำคลองม่วง ที่หลากจากเนินเขาบ่อถ�้ำต้องจัดการน�้ำ หลาก และผันน�้ำเข้าบึงหล่ม 5. คูระบายน�้ำ มีสิ่งก่อสร้างกีดขวางทางน�้ำ เช่น สะพาน ฝาย หรืออาคารระบายน�้ำที่ไม่ได้ใช้งาน หรือช�ำรุด รวมถึงการถูกรุกล�้ำล�ำน�้ำทั้ง จากอาคารของเอกชน วัด และส่วนราชการ ท�ำให้น�้ำไม่สามารถระบาย และเก็บกักไปยังหนองอีเหนี่ยงกรณีสิ่งก่อสร้างในล�ำน�้ำกีดขวางทางน�้ำ
เช่น ฝาย ประตูระบายน�้ำ หรือสะพานคอนกรีต ไม่ได้ใช้งาน หรือช�ำรุด ใช้งานไม่ได้ ควรมีการรื้อถอนออกเพื่อไม่ให้กลายเป็นเครื่องกีดขวางทาง น�้ำเสียเอง ควรน�ำสิ่งก่อสร้างที่กีดขวางทางน�้ำออก จะช่วยบรรเทาน�้ำท่วม พื้นที่ลาดยาว 6. มีคลองขนานสองเส้น ที่ไม่ได้ใช้ในการระบายน�้ำ เพราะไม่มีคู เชื่อมจากคลองใหญ่ และไม่เชื่อมคลองแม่วงก์ (วังม้า) ซึ่งคลองสองเส้นนี้ น�ำน�้ำไปถึงอ่างหลวงพ่อจ้อยได้ 7. ควรมีการส�ำรวจเพื่อตรวจสอบแนวเขตทางน�้ ำ ตรวจสอบ สิทธิการครอบครองของผู้รุกล�้ำและแนวทางการด�ำเนินการตามกฎหมาย จั ด ท� ำ รายชื่ อ ผู ้ รุ ก ล�้ ำ เส้ น ทางน�้ ำ และก� ำ หนดมาตรการการรื้ อ ถอนหรื อ บังคับใช้มาตรการที่มีอยู่แล้วโดยไม่เลือกปฏิบัติ รวมทั้งการจัดท�ำผังการใช้ ประโยชน์ที่ดินรวม และจัดท�ำผังน�้ำเพื่อให้ประชาชนได้เข้าใจสภาพตาม ธรรมชาติของล�ำน�้ำและไม่บุกรุกเพิ่ม โดยพิจารณาจากลักษณะการใช้พื้นที่ จริงในปัจจุบันเป็นองค์ประกอบด้วย รวมทั้งต้องสอดคล้องกับฤดูการผลิต วิถีชุมชน และสภาวะอากาศภูมิอากาศโลกที่เปลี่ยนแปลงในอนาคต ซึ่ง กระบวนการจัดท�ำจ�ำเป็นต้องมีส่วนร่วมจากภาคประชาชนด้วย
ภาพ 4 แสดงแผนผังศักยภาพทางเลือกการจัดการน�้ำท่วม กรณีไม่สร้างเขื่อนแม่วงก์
ข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหาน�้ำแล้งในลุ่มน�้ำแม่วงก์-ลาดยาว จากการส�ำรวจสภาพปัญหาต่างๆ พบศักยภาพที่สามารถแก้ไขปัญหาน�้ำแล้งในพื้นที่ได้ดังแผนผังใน (ภาพที่ 5) ภาพ 5 แสดงแผนผังศักยภาพทางเลือกการจัดการน�้ำแล้ง กรณีไม่สร้างเขื่อนแม่วงก์
1. พื้นที่แม่วงก์ตอนบน ยุทธศาสตร์คือ การจัดการน�้ำหลากพื้นที่ ปลูกพืชไร่ในพื้นที่แม่วงก์ตอนบน โดยในระยะแรกจ�ำเป็นต้องซ่อมแซมฝาย และประตูระบายน�้ำที่ช�ำรุดในลุ่มน�้ำย่อยคลองไทร และคลองหินดาด เพิ่ม เติมโครงการชลประทานที่เป็นฝายและประตูระบายน�้ำขนาดเล็กที่จ�ำเป็น มีการขุดลอกตะกอนสม�่ำเสมอ ปลูกหญ้าแฝกริมน�้ำเพื่อกันตะกอน โดยใน ระยะยาวควรมีการส่งเสริมการเปลี่ยนพืชไรเป็นเกษตรผสมผสาน สร้าง ประตูน�้ำเพื่อชะลอและลดปริมาณน�้ำหลากที่เขาชนกัน ตลอดจนขุดลอก ล�ำน�้ำแม่วงก์จากแก่งเกาะใหญ่ ถึงเขาชนกันให้สามารถกักเก็บน�้ำในฤดูแล้ง สะสมน�้ำจากล�ำน�้ำในอุทยานแห่งชาติแม่วงก์ที่มีมาตลอดปี ทยอยปล่อยไป ด้านแม่วงก์ตอนกลาง 2. พื้นที่แม่วงก์ตอนกลาง ควรพัฒนาอ่างห้วยหินลับ (คลอง แห้ง) ให้กักเก็บน�้ำเพิ่มเติม และเติมน�้ำเข้าสู่แม่วงก์ตลอดปี เพิ่มเติมฝาย เก็บกักและยกระดับน�้ำในล�ำห้วยแม่วงก์ ที่บ้านวังชุมพร และพื้นที่อื่นๆที่ มีศักยภาพตามหลักวิศวกรรม รวมถึงการปรับปรุงระบบฝายเดิมที่บ้านท่า ตาอยู่ ฝายไส้งู และวังซ่าน รวมถึงประตูน�้ำคลองขุนลาดให้มีประสิทธิภาพ สมบูรณ์ ขุดลอกล�ำห้วยแม่วงก์ และล�ำห้วยที่แยกจากแม่วงก์ทุกเส้นเพื่อ เก็บน�้ำไว้ในล�ำน�้ำ พื้นที่นี้มีศักยภาพในการพัฒนาระบบการสูบน�้ำใต้ดินด้วย ไฟฟ้ามาเสริมในช่วงฤดูแล้ง นอกจากนี้ยังมีพื้นที่ที่มีศักยภาพในการสร้าง เก็บน�้ำขนาดเล็ก บริเวณบ้านวังชุมพรเพิ่มเติม ทั้งหมดจะสามารถชะลอน�้ำ ในช่วงน�้ำหลาก และกักเก็บน�้ำเพื่อทยอยแบ่งให้พื้นที่แม่วงก์ตอนล่าง และ
พื้นที่ลาดยาวต่อไป 3. พื้นที่แม่วงก์ตอนล่าง พื้นที่แม่วงก์ตอนล่างคือ พื้นที่ที่รับน�้ำ มาเติมล�ำน�้ำจากล�ำห้วยตะกวดที่มีต้นน�้ำที่บ้านธารมะยม และห้วยน�้ำหอม ที่มีต้นน�้ำจากบ้านเขาแม่กระทู้ ทางฝั่งตะวันตก และมีพื้นที่รับน�้ำจากฝั่งเขา หลวง มีศักยภาพในการจัดการต้นน�้ำด้วยฝายชะลอน�้ำบนพื้นที่ภูเขา และ พัฒนาอ่างเก็บน�้ำขนาดเล็กในพื้นที่ขอบเขา มากมายเพื่อกักเก็บและเติม น�้ำให้ที่ราบในช่วงฤดูแล้ง นอกจากนี้ที่ราบกว้างใหญ่ของลุ่มน�้ำแม่วงก์ตอน ล่าง (วังม้า) นี้มีศักยภาพในการพัฒนาบ่อน�้ำตื้น และการขุดบ่อน�้ำขนาด เล็กในไร่นา นอกจากนี้ในล�ำน�้ำแม่วงก์ยังมีการสร้างฝายกักเก็บน�้ำสามแห่ง ที่มีประสิทธิภาพดีอยู่แล้ว 4. พื้นที่ลาดยาว มีศักยภาพแหล่งน�้ำที่ซ่อนอยู่ของลาดยาว คือ บึงหล่ม หนองอีเหนี่ยง คลองหินลับ-คลองยิ้มแย้ม รวมถึงอ่างเก็บน�้ำหลวง พ่อจ้อย ซึ่งยังไม่ได้น�ำมาใช้ประโยชน์ และพัฒนาศักยภาพให้มากเท่าที่ควร หากสามารถศึกษาข้อมูล และฟื้นฟูให้เป็นแหล่งน�้ำที่กระจายน�้ำไปกักเก็บ ในบ่อน�้ำในที่ส่วนบุคลให้ทั่วถึงน่าจะสามารถแก้ไขปัญหาภัยแล้งไปได้มาก โดยจะต้องกักเก็บน�้ำส่วนเกินในช่วงน�้ำหลากของคลองม่วง และลุ่มน�้ำแม่ วงก์ ที่ไหลแผ่ข้ามลุ่มน�้ำมาเก็บกักไว้ในแหล่งน�้ำให้ได้ โดยอาจพิจารณาดึง น�้ำบางส่วนจากแม่น�้ำปิงเข้ามาใช้ด้วย แต่จะต้องสร้างระบบกระจายน�้ำ ขนาดเล็กและบ่อเก็บน�้ำขนาดเล็กทั่วทั้งพื้นที่ลาดยาวที่ขาดแคลนน�้ำ จาก แหล่งน�้ำเดิมที่มีอยู่แล้วทั้ง 4 แหล่ง
ภาพรวมของข้อเสนอการจัดการน�้ำทางเลือกไม่สร้างเขื่อนแม่วงก์
สามารถสรุปเป็นแผนภาพรวมข้อเสนอแนะการจัดการน�้ำได้ในแผนภาพที่ 6 และตารางที่ 3 ดังนี้ ภาพ 6 แสดงแผนผังศักยภาพทางเลือกการจัดการน�้ำลุ่มน�้ำแม่วงก์-ลาดยาว
ตารางที่ 3 วิเคราะห์เปรียบเทียบ การจัดการน�้ำจากการสร้างเขื่อนแม่วงก์ และข้อเสนอทางเลือกในการจัดการน�้ำ พื้นที่
ปัญหา
สร้างเขื่อนแม่วงก์
จัดการน�้ำทางเลือก
แม่วงก์ตอนบน
น�้ำท่วม
ไม่ได้เป็นพื้นที่อุทกภัย แต่อาจช่วยลดน�้ำหลากสองฝั่ง ล�ำน�้ำ ประมาณ 10,000 ไร่ มีพื้นที่ชลประทานระบบท่อ 10,000 ไร่ - อาจเกิดปัญหาความเสี่ยงน�้ำล้นทางระบายน�้ำจาก เขื่อนเมื่อมีฝนหนัก - เสี่ยงความเสียหายหากเขื่อนช�ำรุด - ถูกเวนคืนที่ดินคลองชลประทาน
ไม่ได้เป็นพื้นที่อุทกภัย แต่การท�ำฝายชะลอน�้ำทั่วพื้นที่ ช่วยลดน�้ำหลากทั้งลุ่มน�้ำ ประมาณ 200,000 ไร่ กระจายน�้ำทั่วพื้นที่ 100,000 ไร่ - ไม่มีความเสี่ยง - ไม่ถูกเวนคืนที่ดิน
ปกติเป็นพื้นที่น�้ำท่วมน้อย มีเขื่อนแม่วงก์ลดน�้ำท่วม ได้ 30% ปกติท�ำนาได้สองครั้งอยู่แล้ว หากมีเขื่อนอาจจะท�ำได้ มากขึ้น มีพื้นที่รับประโยชน์ประมาณ 100,000 ในที่ราบลุ่ม ถูกเวนคืนที่ดินคลองชลประทาน
ขุดลอกล�ำน�้ำ และชะลอน�้ำในฝาย เพิ่มการระบายน�้ำ ไม่น่าจะน้อยกว่า 30% หากเพิ่มฝายและระบบสูบน�้ำด้วยไฟฟ้า ที่ชาวบ้าน จัดการเองได้ น่าจะได้ผลไม่ต่างจากเขื่อน กระจายการจัดการน�้ำทั่วทั้งลุ่มน�้ำย่อย หลายแสนไร่ ไม่ถูกเวนคืนที่ดิน
ปกติมีอุทกภัยอยู่บ้างเป็นน�้ำหลากผ่าน มีเขื่อนแม่วงก์ น่าจะลดน�้ำท่วมได้แต่น้อยกว่า วงก์กลางเพราะมีน�้ำ จากพื้นที่รับน�้ำอื่นๆ มากมาย ปกติท�ำนาได้ 1-2 ครั้งแล้วแต่ปริมาณฝน มีเขื่อนอาจ จะได้มากขึ้นแต่เป็นพื้นที่ห่างไกล โอกาสที่กระจายน�้ำ มาถึงในช่วงแล้งน่าจะไม่มากนัก - มีพื้นที่รับประโยชน์ประมาณ น้อยกว่า100,000 ใน ที่ราบลุ่ม - ถูกเวนคืนที่ดินคลองชลประทาน
กระจายน�้ำหลากกักเก็บในบ่อ และแก้มลิง ไม่น่าจะ มีความแตกต่างเรื่องลดน�้ำท่วม เมื่อเปรียบเทียบกับ มีเขื่อน องค์กรบริหารส่วนท้องถิ่นพัฒนาแหล่งน�้ำขนาดเล็กได้ เอง กระจายน�้ำ ได้ทุกพื้นที่ มีศักยภาพในการท�ำบ่อ กักเก็บ และระบบสูบน�้ำบ่อตื้นด้วยไฟฟ้า - กระจายการจัดการน�้ำทั่วทั้งลุ่มน�้ำย่อย หลายแสนไร่ - ไม่ถูกเวนคืนที่ดิน
น�้ำท่วม
มีอุทกภัยใหญ่ ในคาบน�้ำท่วม 5-10 ปี ภายหลังมี ความเสี่ยงน�้ำระบายไม่ทันทุกครั้งที่ฝนหนัก-น�้ำหลาก หากมีเขื่อนคาดว่าลดน�้ำท่วมได้ 20-30%
เพิ่มการระบายน�้ำ ไปกักเก็บในแหล่งน�้ำ จัดตั้งคณะ ท�ำงานบริหารประตูน�้ำ จัดการพื้นที่น�้ำหลากที่เนินเขา เหนือคลองม่วง น่าจะมีผลการลดน�้ำท่วมมากกว่าหรือ ไม่น้อยกว่ามีเขื่อน
น�้ำแล้ง
ท�ำนาได้ 1 ครั้ง แต่มีเขื่อนน่าจะได้สองครั้ง
อื่นๆ
- มีความเสี่ยงจะไม่ได้น�้ำเพราะอยู่ไกลจากเขื่อน น�้ำ ถูกน�ำไปใช้พื้นที่ต้นๆก่อน - ถูกเวนคืนที่ดินคลองชลประทาน
แบ่งพื้นที่ออกเป็นส่วนๆ พัฒนาแหล่งกักเก็บน�้ำใน แต่ละส่วนคือ บึงหล่ม หนองอีเหนี่ยง คลองยิ้มแย้มหินลับ และผันน�้ำจากแม่น�้ำปิง น่าจะได้ผลเท่ามีเขื่อน - บริหารน�้ำได้เอง - ไม่ถูกเวนคืนที่ดิน
น�้ำแล้ง อื่นๆ
แม่วงก์ตอนกลาง
น�้ำท่วม น�้ำแล้ง อื่นๆ
วงก์ล่าง
น�้ำท่วม น�้ำแล้ง อื่นๆ
ลาดยาว
ระยะเวลา
8-10 ปี
1-3 ปี
จากแนวคิดการจัดการน�้ำ ได้ทดลองประเมินความเป็นไปได้ในการเสนอการจัดการน�้ำผ่านโครงสร้าง และโครงการต่างๆดังตารางที่ 4 และ 5 และอธิบายแนวคิดในการปฏิบัติจริงในแผนภาพ ที่ 7 ( โดยคิดพื้นที่ 5%ของพื้นที่ราบ ในแต่ละพื้นที่การจัดการขุดบ่อลึก 5 เมตร) ตารางที่ 4 ประมาณปริมาณน�้ำที่มีศักยภาพเป็นไปได้ในการจัดการน�้ำทางเลือก เปรียบเทียบกับเขื่อนแม่วงก์** พื้นที่ พื้นที่แม่วงก์ตอนบน
เก็บน�้ำในล�ำน�้ำ แม่วงก์ 20 km 20,000*10*1 m ล�ำน�้ำสาขา 20 km 20,000*5*1 อ่างเก็บน�้ำขนาดเล็ก ไม่มี บ่อน�้ำในที่ราบ ไม่มี
พื้นที่แม่วงก์ตอนกลาง
เก็บน�้ำในล�ำน�้ำ ล�ำน�้ำ 5 สายๆละ 20 km. 5*20,000*5*1 m อ่างเก็บน�้ำขนาดเล็ก อ่างหินลับ (มีแล้ว) 300 m2*5 อ่างวังชุมพร บ่อน�้ำในที่ราบ 5,000,0000*5
พื้นที่แม่วงก์ตอนล่าง
เก็บน�้ำในล�ำน�้ำ แม่วงก์ 20 km. 20,000*10*2 ล�ำน�้ำสาขา 40 km. 40,000*5*1 อ่างเก็บน�้ำขนาดเล็ก 100,000 บ่อน�้ำในที่ราบ 10,000,000*5
พื้นที่ลาดยาว
เก็บน�้ำในล�ำน�้ำ คลองใหญ่ 10 km. 10,000*10*1 คลองม่วง 5 km. 5,000*5*1 คูน�้ำ 15 km. 15,000*5*1 คลองหินลับ-วังยิ้มแย้ม 30 km 30,000*5*1 อ่างเก็บน�้ำขนาดเล็ก บึงหล่ม 3,000,000 m2*10 หนองอีเหนี่ยง 1,000,000 m2*10 อ่างหลวงพ่อจ้อย บ่อน�้ำในที่ราบ 17,500,000*5 รวมศักยภาพเก็บน�้ำการจัดการทางเลือก
เขื่อนแม่วงก์
ประมาณปริมาณน�้ำการจัดการน�้ำทางเลือก 200,000 m 100,000 m3 3
300,000
25,750,000 500,000 m3 150,000 m3 100,000 m3 25,000,000 m3 400,000 m 200,000 m3 100,000 m3 50,000,000 m3 3
100,000 25,000 75,000 150,000
50,700,000
108,850,000
200,000,000250,000,000
30,000,000 10,000,000 1,000,000 8,750,000 205,600,000
หมายเหตุ ** จ�ำนวนและงบประมาณเป็นการประมาณการเพื่อแสดงให้เห็นความเป็นไปได้ คาดว่าคลาดเคลื่อนไม่เกิน 20%
ตารางที่ 5 ประมาณการงบประมาณในการจัดการน�้ำทางเลือก**
หมายเหตุ **จ�ำนวนและงบประมาณเป็นการประมาณการเพื่อแสดงให้เห็นความเป็นไปได้ คาดว่าคลาดเคลื่อนไม่เกิน 20%
แผนที่ทางเลือกในการจัดการน�้ำแบบบูรณาการ
ภาพ 7 แผนผังสรุปกิจกรรมในการจัดการน�้ำทางเลือกในแต่ละพื้นที่จัดการน�้ำเชื่อมโยงกัน
โมเดลการจัดการน�้ำระดับบุคคล ชุมชน และต�ำบล จากการลงพื้นที่ศึกษารูปแบบการจัดการน�้ำที่มีประสิทธิภาพในพื้นที่ตลอด 3 ปีที่ผ่านมา พบรูปแบบการจัดการน�้ำที่มีศักยภาพและสามารถ ประยุกต์ น�ำมาปรับใช้ในพื้นที่การจัดการน�้ำทางเลือก ได้แก่ การจัดการน�้ำนาลุงกรุ่น ที่เป็นการจัดการน�้ำระดับครอบครัว ในพื้นที่แม่วงก์ตอนกลาง การ จัดการของชุมชนธารมะยม ในพื้นที่แม่วงก์ตอนล่าง และการจัดการน�้ำระดับต�ำบลหนองหลวง ในพื้นที่แม่วงก์ตอนล่าง โดยการจัดการน�้ำทั้ง 3 รูปแบบ โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
1. ทางออกการจัดการน�้ำระดับบุคคล
ต้นแบบของเกษตรกรท่านนี้ อาศัยอยู่ หมู่ที่3 เขตเทศบาลศาลเจ้าไก่ต่อ อ�ำเภอลาดยาว จังหวัดนครสวรรค์ เกษตรกรในเขตเทศบาลศาลเจ้าไก่ต่อ ประกอบ อาชีพการท�ำนาเป็นหลัก เกษตรกรต้นแบบท่านนี้ จึงมีแนวคิดที่จะบริหารจัดการน�้ำ ด้วยตนเอง โดยความมุ่งมั่นบริหารจัดการน�้ำด้วยตัวเองเริ่มมาจากการที่ที่นาของ ตนเองอยู่ไกลกว่าคนอื่นและไม่อยากไปแย่งน�้ำกับใครให้เกิดปัญหา จึงคิดที่จะขุดบ่อ บาดาลน�ำน�้ำมาใช้ด้วยตนเองโดยไม่หวังพึ่งใคร รูปแบบการจัดการพื้นที่นา คือการลดต้นทุนการผลิต เช่น การใช้ระบบ น�้ำหมุนเวียนโดยการสูบน�้ำขึ้นมาจากบ่อบาดาลและก่ออิฐบล็อกเป็นล�ำรางไล่ไปตาม แปลงนาทั้งหมด ถ้าต้องการให้น�้ำไปที่นาแปลงไหนก็อุดช่องรางแปลงอื่นๆ ไว้เพื่อน�้ำ จะได้ถูกส่งต้อไปยังแปลงที่ตนเองต้องการ โดยเกษตรกรต้นแบบมีพื้นที่ท�ำนา จ�ำนวน 22 ไร่ การท�ำนาต่อครั้งจะ ใช้ระยะเวลาประมาณ 5 เดือนได้ข้าวเปลือก 17 เกวียน มีรายได้ครั้งละประมาณ 187,000 บาท น�้ำพอใช้ในการท�ำนาตลอดทั้งปีโดยในแต่ละปี สามารถท�ำนาได้2-3 ครั้ง มีต้นทุนในการท�ำนาเพียง 2,064 บาท ต่อไร่ ค่าไฟฟ้าในการสูบน�้ำเพื่อท�ำนาใน แต่ละครั้ง 10,300 บาท เฉลี่ยค่าไฟที่ใช้ในการสูบน�้ำแต่ละไร่ใน 1 ฤดูกาลเพาะปลูก คือ 468 บาท ดังนั้นเมื่อหักลบต้นทุนจากการท�ำนาทั้งหมด เช่น ค่าปุ๋ยชีวภาพ ค่าจ้าง แรงงานในการเก็บเกี่ยว ค่าขนส่งข้าวเปลือกฯ เกษตรกรท่านนี้จะมีรายได้จากการท�ำ นาต่อ 1 ฤดูกาล ประมาณ 140,000 กว่าบาท และหลังการเก็บเกี่ยวก็ยังมีรายได้จาก การปล่อยน�้ำในนาไปยังสระที่ขุดไว้อยู่ท้ายแปลงนาเพื่อจับปลาขายเป็นรายได้เสริม หลังฤดูเก็บเกี่ยวปีละ 1 ครั้ง ซึ่งท�ำให้มีรายได้เพิ่มอีกหลายพันบาทเลยทีเดียว
ล�ำรางเพื่อปล่อยน�้ำไปยังแปลงนาที่ต้องการ
สระน�้ำท้ายแปลงนา เป็นรายได้เสริมในการจับปลาปีละ 1 ครั้ง หลังจากการเกี่ยวข้าวโดยปล่อยน�้ำจากนาข้าวทั้งหมดให้ไหลมา รวมที่สระน�้ำท้ายแปลงนา
2. ทางออกในการจัดการน�้ำระดับชุมชน ทางออกในการจั ด การน�้ ำ ระดั บ ชุ ม ชน ต้ น แบบอยู ่ ที่ บ ้ า นธาร มะยม เชิงเขาแม่กระทู้ ต�ำบลวังซ่าน อ�ำเภอแม่วงก์ เป็นหนึ่งในพื้นที่ที่ รัฐบาลอ้างว่าเป็นพื้นที่ประสบภัยแล้ง และจะได้รับประโยชน์จากโครงการ เขื่อนแม่วงก์ แต่ในทางกลับกัน ชุมชนธารมะยมสามารถพึ่งตนเองได้ โดย มีระบบประปาของตนเอง รูปแบบการจัดการน�้ำโดยชุมชนเริ่มมาจากการ ที่ แต่เดิมเขาแม่กระทู้เป็นเขาหัวโล้นต้นไม้บนภูเขาถูกตัดโค่นไปหมดไฟป่า เกิดขึ้นทุกปี จะใช้น�้ำแต่ละครั้งต้องลงไปแบกน�้ำเป็นระยะทางไกลหลาย กิโลเมตร ต่อมาปีพ.ศ.2539 การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย หรือ ปตท. ใน ขณะนั้น เข้ามาท�ำโครงการปลูกป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติประมาณ 13,000 ไร่ และหลังจากนั้นสถาบันสิ่งแวดล้อมไทยได้เข้ามาช่วยจัดตั้งกลุ่มชาว บ้านเพื่อดูแลรักษาป่า ในปี 2543 ป่าเริ่มฟื้นตัว ล�ำธารที่ มาจากป่าเริ่มมี น�้ำไหลจากเดิมที่ เคยแห้งเหือด คนในชุมชนจึงเริ่มขึ้นไปท�ำฝายชะลอน�้ำ บนเขาเพื่อกักเก็บน�้ำและได้งบประมาณจากองค์การบริหารส่วนจังหวด นครสวรรค์ 25,000 บาท เพื่อท�ำฝายชะลอน�้ำเพื่อให้ชาวบ้านมีน�้ำใช้ และ ร่วมกันคิด วางแผนจัดการระบบน�้ำในพื้นที่โดยสร้างฝายเล็กๆ ชะลอน�้ำใน หมู่บ้านทั้งหมด 6 ตัว และของบประมาณจากโครงการ SIP หรือโครงการ ลงทุนเพื่อสังคม ต่อท่อประปาจากภูเขาไปยังทุกบ้าน กว่า 200 หลัง ทุก บ้านจะได้ใช้น�้ำโดยไม่ต้องไปรองน�้ำประปามาใช้ โดยติดมิเตอร์น�้ำที่บ้านทุก หลัง และเก็บค่าน�้ำหน่วยละ 3 บาท ใช้งบประมาณทั้งสิ้น 800,000 บาท
นอกจากการบริหารจัดการน�้ำที่ท�ำให้คนในชุมชนมีน�้ำใช้ได้ตลอด แล้ว แต่ยังมีสิ่งที่นอกเหนือจากการบริหารจัดการน�้ำที่ดี คือ ก�ำไรที่ได้จาก การจัดการน�้ำโดยน�ำเงินที่ได้จากการเก็บค่าน�้ำในชุมชน มาตั้งเป็นกองทุน เพื่อใช้เป็นสวัสดิการด้านต่างๆ เช่น ทุนการศึกษาให้เด็กนักเรียน คนชรา ให้กู้ยืมเวลาที่ บ้านใครมีคนเจ็บป่วยกะทันหัน ซ่อมแซมฝายท่อน�้ำและค่า ใช้จ่ายที่เป็นประโยชน์กับชุมชน ซึ่งจะมีการตกลงกันในที่ประชุม ทุกวันที่ 9 ของเดือน จะมีการประชุมหมู่บ้าน และนอกจากนี้ยังมีรายได้จากนาแปลง รวมของหมู่บ้านที่มีอยู่ 2 ไร่ ซึ่งนา 2 ไร่นี้ใช้น�้ำที่ล้นจากหอเก็บน�้ำที่สร้างไว้ เพื่อพักน�้ำที่เหลือจากการใช้สอยทุกปีจะมีน�้ำล้นออกมา น�้ำที่ล้นนี้จะใช้ท�ำ นา เป็นนาที่เป็นพันธุ์ข้าวแม่พันธุ์ สามารถขายได้เกวียนละ 20,000 บาท เงินส่วนนี้จะเข้ากองทุนสวัสดิการของหมู่บ้าน และพันธุ์ข้าวบางส่วนชาว บ้านจะขอไปปลูก ได้บ้านละ 1 ไร่ต่อปี ซึ่งรับประกันว่าปีนั้นเขาจะได้เงิน จากการขายข้าว 20,000 บาท คนในชุมชนมีการพูดคุยกัน แบ่งน�้ำกัน ใช้ น�้ำให้เกิดประโยชน์ ท�ำนา ใช้ในครัวเรือน ผลที่ได้กลับมาก็คืนสู่ชุมชน
ระบบเก็บกักน�้ำ และแจกจ่ายน�้ำของ ชุมชนธารมะยม
3. ทางออกการจัดการน�้ำระดับต�ำบล ทางออกการจัดการน�้ำระดับต�ำบลคือการที่ภาครัฐเข้ามามีส่วน ในการจัดการน�้ำร่วมกับชุมชน เพื่อให้เพียงพอต่อความต้องการใช้น�้ำที่ คนในชุมชนต้องการ ทางออกในการจัดการน�้ำระดับต�ำบล ต้นแบบการ จัดการอยู่ในพื้นที่ต�ำบลหนองหลวง อ�ำเภอสว่างอารมณ์ จังหวัดอุทัยธานี ข้อมูลพื้นฐาน ต�ำบลหนองหลวง มีเนื้อที่ 43,462 ไร่ หรือ 69.54 ตารางกิโลเมตร สภาพพื้นที่โดยทั่วไปของ ต.หนองหลวง มีลักษณะเป็น ที่ราบลุ่มและลาดเอียง โดยลาดเท จากทางด้านทิศตะวันออกต�่ำลงมา ทางทิศตะวันตก มีเทือกเขาหลวงกั้นระหว่างต�ำ บลหนองหลวง อ�ำเภอ สว่างอารมณ์จังหวัดอุทัยธานี กับ อ�ำเภอโกรกพระ จังหวดนครสวรรค์ ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ท�ำนาบริเวณที่ราบลุ่ม การ ท�ำไร่ และเลี้ยงสัตว์ รวมทั้งอาชีพรับจ้างทั่วไป จ�ำนวนพื้นที่เพาะปลูก ต.หนองหลวง ในฤดูฝน 6,255 ไร่ พื้นที่ เพาะปลูกในฤดูแล้ง 1,650 ไร่ปัจจุบัน ต.หนองหลวง มีแหล่งน�้ำส�ำหรับใช้ แบ่งเป็น บ่อบาดาล 9 บ่อ สระน�้ำท่า 12 สระ และอ่างเก็บน�้ำขนาดใหญ่ 2 อ่างเก็บน�้ำ โดยมีปริมาตรรวมทั้งหมด 1,701,200 ลบ.ม. ซึ่งโดยปกติ แล้ว การท�ำนาจากการลงเก็บข้อมูลภาคสนามใน ต.หนองหลวง พบว่า ใน 1 ฤดูกาลสามารถท�ำการเพาะปลูก ต่อ 1 ไร่ โดยใช้น�้ำในปริมาณ 2,000 ลบ.ม.มีน�้ำใช้เพียง พอในฤดูฝนเท่านั้น ส่วนบางพื้นที่ในหน้าแล้ง ที่มีน�้ำไม่พอต่อการเพาะปลูกจะท�ำนาเพียงแค่ 1 ครั้ง ต่อ 1 ปี แต่ถ้าพื้นที่ใดมีน�้ำเพียงพออยู่ แล้ว จะท�ำนาโดยปกติ ปีละ 2-3 ครั้ง จากการ ลงพื้นที่ส�ำรวจยังพบว่าบางพื้นที่ แค่อยู่คนละ ฟากฝั่งถนนเท่านั้น แต่อีกฝั่งหนึ่งมีน�้ำใช้เพียง พอตลอดทั้งปี สามารถท�ำนาได้ ปีละ 2-3ครั้ง แต่อีกฟากของถนนกลับมีน�้ำไม่พอใช้ปัญหาไม่ ได้เกิดจากการมีน�้ำไม่เพียงพอแต่ปัญหาอยู่ที่ ระบบบริหารจัดการน�้ำไม่มีประสิทธิภาพ องค์ ก ารบริ ห ารต� ำ บลหนองหลวง มีแผนพัฒนา 3 ปี 2556 – 2558 เพื่อให้มี น�้ ำ ใช้ เ พี ย งพอต่ อ ความต้ อ งการ โดยมี ก าร วางแผนพัฒนาแหล่งน�้ำในระดับต�ำบล เช่น โครงการขุดสระและสร้างฝายเพื่อการอุปโภค บริโภค และน�้ำเพื่อการเกษตรของประชาชน ขุ ด ลอกสระ การพั ฒ นาแหล่ ง น�้ ำ เพื่ อ การ อุปโภค บริโภคและเพื่อการเกษตรโดยจัดให้ มีการปรับปรุงซ่อมแซม และบ�ำรุงรักษาให้มี คุณภาพ แหล่งน�้ำที่สภาพช�ำรุดเสียหายได้รับ การพัฒนา ปรับปรุงซ่อมแซมและบ�ำรุงรักษา ให้มีประสิทธิภาพพร้อมใช้ประโยชน์ เพื่อให้มี น�้ำเพื่อการอุปโภคบริโภคและเพื่อการเกษตร ของประชาชน รวมทั้งป้องกันปัญหาอุทกภัย ดังนั้นถ้ามีการบริหารจัดการอย่างสอดคล้อง และเป็นไปตามแผนที่วางไว้ 3 ปี พื้นที่เพาะ ปลูกในฤดูแล้ง จ�ำนวน 1,650 ไร่ หากจะให้
มีน�้ำเพียงพอเพื่อท�ำการเกษตรในช่วงฤดูแล้งโดยเฉพาะนาข้าว ต้องเพิ่ม แหล่งกักเก็บน�้ำอีก 1.6 ลบ.ม. ม.3ซึ่งเท่ากับต�ำบลหนองหลวงจะมีน�้ำเพื่อ ท�ำการเกษตร 3,300,000 ลบ.ม.3 โดยแผนระยะยาว 3 ปี จะมีการจัดสร้าง โครงการขุดสระเก็บ น�้ำเอื้ออาทร ขุดสระน�้ำ 288 สระ กว้าง 40 เมตร ยาว 50 เมตร ลึก 3เมตร ใน 1 บ่อ จะได้น�้ำ 6,000 ลบ.ม. จะท�ำให้ได้น�้ำเพิ่มอีก 1,368,000 ลบ.ม. และบวกกับโครงการสร้างอ่างเก็บน�้ำขนาดใหญ่พื้นที่ต�ำบลหนองหลวง อ่าง เก็บน�้ำ (อ่างมะขาม) ม.7 พื้นที่ 30 ไร่ จ�ำนวน 1 แห่ง ความสูง 9.7 เมตร จะได้น�้ำ 465,600 ลบ.ม. (ใช้งบประมาณ 80 ล้านบาท) เมื่อน�้ำทั้งสอง โครงการมารวมกันจะท�ำให้ได้น�้ำทั้งหมด 3,534,800 ลบ.ม. เพียงพอต่อการ ใช้น�้ำของคนทั้งต�ำบลหนองหลวงในฤดูแล้ง
ร่วมรักษาป่าแม่วงก์กับมูลนิธิสืบนาคะเสถียร ธนาคารกรุงไทย สาขามหานาค บัญชีออมทรัพย์ เลขที่บัญชี 156-1-06820-9 ชื่อบัญชีมูลนิธิสืบนาคะเสถียร ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาบางบัว บัญชีออมทรัพย์ เลขที่บัญชี 053-2-38652-4 ชื่อบัญชี มูลนิธิสืบนาคะเสถียร ธนาคารกสิกรไทย ส�ำนักพหลโยธิน บัญชีออมทรัพย์ เลขที่บัญชี 099-2-68730-4 ชื่อบัญชีมูลนิธิสืบนาคะเสถียร ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
www.seub.or.th/youcanhelp *ใบเสร็จสามารถน�ำไปใช้ในการลดหย่อยภาษีได้
“ผลกระทบจากการสร้างเขื่อนเป็นกระบวนการของการท�ำลายแหล่งพันธุกรรม ตลอดจนแหล่งที่อยู่อาศัยและแหล่งอาหารที่ส�ำคัญของสัตว์ป่า ซึ่งถือได้ว่าเป็นหัวใจของผืนป่าทั้งหมดที่มนุษย์มิอาจสร้างขึ้นมาใหม่ได้” - สืบ นาคะเสถียร -