สุขภาพป่า - 1
ี ด า ่ ป พ สุขภา ? น ห ไ ดูที่ตรง
สาส์นสืบ ฉบับ สุขภาพป่า พิมพ์ครั้งแรก ธันวาคม พ.ศ. 2560 ผู้เขียน/เรียงเรียงเนื้อหา ฝ่ายวิชาการ มูลนิธิธิสืบนาคะเสถียร บรรณาธิการ เอกวิทย์ เตระดิษฐ์ กองบรรณาธิการ ชฎาภรณ์ ศรีใส
สุขภาพป่า - 2
บทคัดย่อ
การตั้ ง หลั ก เกณฑ์ ป ระเมิ น กลุ ่ ม ป่ า ไม้ ใ น ประเทศไทยที่ จั ด ท� ำ มาจากแหล่ ง ข้ อ มู ล ต่ า งๆ พบว่ า ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ แ สดงผลเชิ ง ปริ ม าณหรื อ ตั ว เลขที่ บ ่ ง บอก ถึ ง จ� ำ นวนของพื้ น ที่ ป ่ า ไม้ เ พี ย งอย่ า งเดี ย วไม่ ส ามารถ บ่ ง บอกถึ ง คุ ณ ภาพหรื อ ความอุ ด มสมบู ร ณ์ ข องป่ า ไม้ ในประเทศไทยได้ ยกตัวอย่างเช่น ความสมบูรณ์ของ ระบบนิเวศ หน้าที่ทางนิเวศของป่า ความสมบูรณ์ของ แหล่งต้นน�้ำ หรือการจ�ำแนกภัยคุกคามที่เกิดขึ้นในพื้นที่ เป็นต้น ปั จ จุ บั น พื้ น ที่ ป ่ า ไม้ ใ นประเทศไทยมี อั ต รา ค่อนข้างคงที่ หรือลดลงเพียงเล็กน้อย ส่วนพื้นที่ป่าไม้ที่ เป็นหย่อมป่าต่างๆ มีการลดลงจากการบุกรุกพื้นที่ รวม ถึงการจัดการป่าไม้ที่ไม่เป็นไปตามระบบเดียวกัน นอกจากนี้บางพื้นที่มีขนาดพื้นที่ใหญ่เกินไป ท�ำให้หน่วยพิทักษ์ไม่สามารถดูแลได้อย่างครอบคลุม และเกิดการตกหล่นของข้อมูลบางส่วนที่จะน�ำมาใช้ใน การวางแผนจัดการป่า มูลนิธิสืบนาคะเสถียรจึงได้เกิดแนวคิดในการ รวบรวมข้อมูลให้เป็นระบบแบบแผนเดียวกัน และได้ เชิญผู้เชี่ยวชาญทางด้านป่าไม้ สัตว์ป่า และสิ่งแวดล้อม มาร่วมเสนอแนะและให้ความคิดเห็นเพื่อหาแนวทาง ในการด� ำ เนิ น งานด้ า นการประเมิ น คุ ณ ภาพป่ า และ ตัวชี้วัดที่ส�ำคัญในการบ่งบอกถึงความอุดมสมบูรณ์ของ ผืนป่า โดยแสดงออกมารูปแบบของการประเมินสุขภาพ
ป่าทั้งหมด 17 กลุ่มป่าบกที่มีปัจจัยต่างๆ เกี่ยวข้อง ได้แก่ พื้นที่ป่า สัตว์ป่า ภัยคุกคาม และประสิทธิภาพในการ จัดการ จากการวิเคราะห์ขอ้ มูลโดยใช้ปจั จัยทัง้ 4 ข้างต้น เป็ น ตั ว ก� ำ หนดความอุ ด มสมบู ร ณ์ ข องกลุ ่ ม ป่ า พบว่ า สามารถแบ่งระดับกลุ่มป่าได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ กลุ่ม ป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์มากที่สุด (3 คะแนน) ทั้งหมด 4 กลุ่มป่า ได้แก่ กลุ่มป่าตะวันตก, ภูเขียวน�้ำหนาว, ตะวันออก และดงพญาเย็น-เขาใหญ่ และกลุ่มป่าที่มี ความอุดมสมบูรณ์มาก (2 คะแนน) ทั้งหมด 13 กลุ่มป่า ได้แก่ กลุ่มป่าฮาลา-บาลา, แก่งกระจาน, ภูเมี่ยง-ภูทอง, ลุม่ น�ำ้ ปาย-สาละวิน, คลองแสง-เขาสก, ศรีลานนา-ขุนตาล, แม่ปิง-อมก๋อย, พนมดงรัก-ผาแต้ม, ภูพาน, เขาหลวง, เขาบรรทัด, ดอยภูคา-แม่ยม และชุมพร ในการวิ เ คราะห์ ค รั้ ง นี้ ยั ง มี ป ั จ จั ย อื่ น ๆ ที่ ไ ม่ สามารถน�ำมาวิเคราะห์ข้อมูลในครั้งนี้ได้ ยกตัวอย่าง ปัจจัยการท่องเที่ยว แผนการจัดการ การล่าสัตว์ การเก็บ หาของป่า การตัดไม้ การท�ำปศุสัตว์ โรคระบาด จ�ำนวน ชนิดพันธุ์ต่างถิ่น เป็นต้น ข้อมูลเหล่านี้มีไม่เพียงพอ และ ขาดความชัดเจนต่อการน�ำมาวิเคราะห์ ในอนาคตการประเมินสุขภาพป่าอาจจะเป็น แนวทางหนึ่งในการน�ำไปประยุกต์และพัฒนาต่อยอดให้ เป็นแผนงานที่มีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น
สุขภาพป่า - 3
รายชื่อกลุ่มป่าในประเทศไทย 1. ลุ่มน�้ำปาย-สาละวิน 2. ศรีลานนา-ขุนตาล 3. ดอยภูคา-แม่ยม 4. แม่ปิง-อมก๋อย 5. ภูเมี่ยง-ภูทอง 6. ภูเขียว-น�้ำหนาว 7. กลุ่มป่าภูพาน 8. กลุ่มป่าพนมดงรัก-ผาแต้ม 9. กลุ่มป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่ 10. กลุ่มป่าตะวันออก (รอยต่อ 5 จังหวัด) 11. กลุ่มป่าตะวันตก 12. กลุ่มป่าแก่งกระจาน 13. กลุ่มป่าชุมพร 14.. กลุ่มป่าคลองแสง-เขาสก 15. กลุ่มป่าเขาหลวง 16. กลุ่มป่าเขาบรรทัด 17. กลุ่มป่าฮาลา-บาลา 18. หมู่เกาะสิมิลัน-พีพี-อันดามัน 19. หมู่เกาะอ่างทอง-อ่าวไทย สุขภาพป่า - 4
ที่มาและความสําคัญ
พื้ น ที่ ป ่ า ไม้ หมายถึ ง พื้ น ที่ ป กคลุ ม ของพื ช พรรณที่สามารถจ�ำแนกได้ว่าเป็นไม้ยืนต้นปกคลุมเป็น ผืนต่อเนื่องขนาดไม่น้อยกว่า 3.125 ไร่ และหมายรวม ถึงทุ่งหญ้าและลานหินที่มีอยู่ตามธรรมชาติ โดยไม่รวม ถึงสวนยูคาลิปตัส หรือพื้นที่ที่เป็นวนเกษตร สวนผลไม้ สวนยางพารา และสวนปาล์ม จากการรวบรวมและจัดท�ำข้อมูลพื้นที่ป่าไม้ ที่ เ หลื อ ในประเทศไทยจากกรมป่ า ไม้ ด ้ ว ยวิ ธีก ารแปล ภาพถ่ายดาวเทียม พบว่าข้อมูลที่ได้จากกรมป่าไม้แสดง ผลเชิงปริมาณหรือตัวเลขที่บ่งบอกถึงจ�ำนวนของพื้นที่ ป่าไม้เพียงอย่างเดียวเท่านั้น ซึ่งข้อมูลเชิงปริมาณไม่ สามารถบ่งบอกถึงคุณภาพหรือความอุดมสมบูรณ์ของ ป่าไม้ในประเทศไทยได้ ยกตัวอย่างเช่น ความสมบูรณ์ ของระบบนิเวศ หน้าที่ทางนิเวศของป่า ความสมบูรณ์ ของแหล่งต้นน�้ำ หรือการจ�ำแนกภัยคุกคามที่เกิดขึ้นใน พื้นที่ เป็นต้น ปัจจุบันพื้นที่ป่าไม้ในประเทศไทยพบว่ามีอัตรา ค่อนข้างคงที่หรือลดลงเพียงเล็กน้อย และมีพื้นที่ป่าเป็น หย่อมป่าต่างๆ พื้นที่ป่าลดลงจากการบุกรุกพื้นที่ รวมถึง การจัดการป่าไม้ที่ไม่เป็นไปตามระบบเดียวกัน นอกจาก นี้พื้นที่อนุรักษ์บางแห่งมีขนาดพื้นที่ใหญ่กว่าหน่วยพิทักษ์ ส่งผลให้ในแต่ละพื้นที่มีการจัดการดูแลพื้นที่แตกต่างกัน ไป มู ล นิ ธิสื บ นาคะเสถี ย รจึ ง ได้ เ กิ ด แนวคิ ด ใน การรวบรวมข้อมูลให้เป็นระบบแบบแผนเดียวกัน โดย การน�ำแผนงานในยุทธศาสตร์ที่ 1 วิชาการและงาน
เฝ้าระวังสถานการณ์ผืนป่าและสัตว์ป่า เพื่อคงความ เป็นองค์กรที่เข้มแข็งด้านนโยบาย โครงการที่ส่งผลกระ ทบต่อระบบนิเวศ การเฝ้าระวังและบังคับใช้กฎหมาย ผ่านการสื่อสารต่อสาธารณะชนและเครือข่ายสื่อมวลชน (social media) รวมถึงการท�ำงานร่วมกับเครือข่าย อนุรักษ์และสร้างเครือข่ายในงานรณรงค์ ด้วยการน�ำ เสนอข้อมูลและแสดงเจตนาคัดค้านต่อผู้มีอ�ำนาจตัดสิน ใจให้เป็นบทบาทระดับประเทศ และมุ่งเน้นที่การสร้าง ผืนป่าตะวันตกให้เป็นพื้นฐานด้านการจัดการเป็นอันดับ แรก ทางมูลนิธิสืบนาคะเสถียรได้เชิญผู้เชี่ยวชาญ ทางด้านป่าไม้ สัตว์ป่า และสิ่งแวดล้อม มาร่วมเสนอ แนะและให้ความคิดเห็นเพื่อหาแนวทางในการด�ำเนิน งานด้านการประเมินคุณภาพป่าและร่วมก�ำหนดตัวชี้ วัดที่ส�ำคัญในการบ่งบอกถึงความอุดมสมบูรณ์ของผืน ป่า โดยฝ่ายวิชาการได้จัดท�ำเกณฑ์การประเมินคุณภาพ ด้วยการใช้ชื่อ “การประเมินสุขภาพป่า” เพื่อเสนอต่อ ผู้เชี่ยวชาญให้พิจารณาความเหมาะสมของปัจจัย ดัง ตารางที่ 1
สุขภาพป่า - 5
ตารางที่ 1 เกณฑ์การประเมิน สุขภาพป่า
ปัจจัยหลัก
ปัจจัย (ดัชนีชี้วัด)
พื้นที่ป่า
ขนาดพื้นที่ป่า ความต่อเนื่องของผืนป่า ความหลากหลายด้านระบบนิเวศ ระบบนิเวศเฉพาะ
สัตว์ป่า
ความหลากชนิดของสัตว์ป่า จ�ำนวนชนิดสัตว์ป่าสงวน จ�ำนวนชนิดสัตว์ป่าที่ถูกคุกคาม จ�ำนวนชนิดสัตว์ป่าเฉพาะถิ่น สัตว์ผู้ล่าขนาดใหญ่
ภัยคุกคาม
ปริมาณพื้นที่การบุกรุก การล่าสัตว์/เก็บหาของป่า/ตัดไม้ ปศุสัตว์/โรคระบาด ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นรุกราน การท่องเที่ยว
ประสิทธิภาพในการบริหาร จัดการพื้นที่
ลาดตระเวน หน่วยพิทักษ์ แผนการจัดการระดับพื้นที่ แผนการจัดการระดับกลุ่มป่า มีพื้นที่ชุ่มน�้ำที่มีความส�ำคัญระหว่างประเทศ และพื้นที่มรดกโลก มีพื้นที่คุ้มครองเชื่อมต่อระหว่างประเทศ
อื่นๆ
สุขภาพป่า - 6
ทั้งนี้ผู้เชี่ยวชาญส่วนใหญ่มีความเห็นว่าตัวชี้วัดที่ทางฝ่ายวิชาการได้น�ำเสนอบางเกณฑ์ที่ใช้วัดสุขภาพป่าจะ เน้นความโดดเด่นของแต่ละพื้นที่อาจจะไม่สามารถชี้วัดสุขภาพได้จริง จึงได้ปรับเปลี่ยน/ แก้ไขตัวชี้วัดตามความเห็น ของผู้เชี่ยวชาญดังตารางที่ 2 ตารางที่ 2 มติที่ประชุม เกณฑ์การประเมิน สุขภาพป่า
ปัจจัยหลัก
ปัจจัย (ดัชนีชี้วัด)
พื้นที่ป่า
ขนาดพื้นที่ป่า ความต่อเนื่องของผืนป่า ความหลากหลายของประเภทป่า แนวเชื่อมผืนป่าระหว่างประเทศ
สัตว์ป่า
ความหลากชนิดของสัตว์ป่า จ�ำนวนชนิดสัตว์ป่าที่ถูกคุกคาม สัตว์ผู้ล่าขนาดใหญ่ สัตว์กินพืชขนาดใหญ่
ภัยคุกคาม
ปริมาณพื้นที่การบุกรุก การล่าสัตว์/เก็บหาของป่า/ตัดไม้ ปศุสัตว์/โรคระบาด ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นรุกราน การท่องเที่ยว
ประสิ ท ธิ ภ าพในการบริ ห าร จัดการพื้นที่
ลาดตระเวน หน่วยพิทักษ์ แผนการจัดการระดับพื้นที่ แผนการจัดการระดับกลุ่มป่า
สุขภาพป่า - 7
ส�ำหรับการประเมินสุขภาพป่าได้ก�ำหนดหลัก เกณฑ์ความส�ำคัญ โดยการหารือของกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ ทางด้านป่าไม้ สัตว์ป่า และสิ่งแวดล้อม ได้หลักเกณฑ์ ดังนี้ 1. พื้นที่ป่า (Area) หมายถึง พื้นที่เพื่อด�ำรง ชีวิตและกิจกรรมอื่นๆ เป็นสิ่งจ� ำเป็นพื้นฐานที่ส� ำคัญ ต่ อ การอยู ่ ร อดของสั ต ว์ ป ่ า เนื่ อ งจากสั ต ว์ ป ่ า แต่ ล ะ ชนิดมีขอบเขตหรืออาณาเขตการหากินไม่เท่าเทียมกัน เช่ น เสื อ โคร่ ง ต้ อ งใช้ พื้ น ที่ ใ นการหาอาหารเพื่ อ ด� ำ รง ชีพ (Home rang) ในตัวผู้ประมาณ 200-300 ตร.กม. เป็นต้น 1.1 ขนาดพื้นที่ป่า หมายถึง ขอบเขตของพื้นที่ ป่าโดยใช้แนวคิดที่ยึดหลักทางวิชาการว่า พื้นที่ขนาด เล็กมีโอกาสที่สัตว์ป่าจะด�ำรงชีวิตอยู่ได้ยาก รวมทั้งอาจ เกิดการสืบสายพันธุ์แบบเลือดชิด จนท�ำให้พันธุกรรม อ่อนแอลง 1.2 ความต่ อ เนื่ อ งของผื น ป่ า หมายถึ ง ขอบเขตพื้ น ที่ ป ่ า มี ก ารเชื่ อ มต่ อ กั บ ป่ า อื่ น ๆ (Forest complex) ท�ำให้มีความหลากหลายของระบบนิเวศและ รองรับการเดินทางของสัตว์ป่าในแต่ละพื้นที่อนุรักษ์ 1.3 ความหลากหลายของประเภทป่า หมาย ถึง พื้นที่อนุรักษ์มีระบบนิเวศที่หลากหลายท�ำหน้าที่แตก ต่างกัน เช่นระบบนิเวศป่าดิบชื้น ป่าดิบเขา หรือป่า เบญจพรรณผสมปะปนไปในพื้นที่นั้น ท�ำให้เป็นดัชนีชี้วัด ความหลากหลายของถิ่นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า เนื่องจาก สัตว์ป่าแต่ละชนิดมีความต้องการแหล่งที่อยู่อาศัยและ แหล่งหากินแตกต่างกัน นั้นแสดงถึงพื้นที่อนุรักษ์มีความ หลากหลายของชนิดป่าสูง ส่งผลให้ความหลากชนิดของ สัตว์ป่าสูงเช่นกัน 1.4 แนวเชื่อมผืนป่าระหว่างประเทศ หมาย ถึ ง พื้ น ที่ อ นุ รั ก ษ์ ที่ มี ข อบเขตติ ด ต่ อ กั บ พื้ น ที่ อ นุ รั ก ษ์ ระหว่างประเทศ
2. สัตว์ป่า (Wildlife) หมายถึง สิ่งมีชีวิตทุก ชนิดที่อาศัยอยู่ในป่า มีบทบาทและมีความส�ำคัญที่เป็น ดัชนีชี้วัดความอุดมสมบูรณ์ของระบบนิเวศ 2.1 ความหลากชนิดของสัตว์ป่า หมายถึง จ�ำนวนชนิด หรือความหลากหลายของชนิดสิ่งมีชีวิต (species) ที่มีอยู่ในพื้นที่หนึ่ง 2.2 จ�ำนวนชนิดสัตว์ป่าที่ถูกคุกคาม หมายถึง กลุ่มสัตว์ป่าที่สุ่มเสี่ยงต่อการถูกคุกคามจากการกระท�ำ ของมนุษย์ จ�ำนวนประชากรลดลงอย่างน่าเป็นห่วง เช่น การถูกล่า การท�ำลายถิ่นที่อยู่อาศัย หรือการระบาดของ โรคจากปศุสัตว์ 2.3 สัตว์ผู้ล่าขนาดใหญ่ หมายถึง สัตว์ผู้ล่า ที่อยู่ชั้นสูงสุดของห่วงโซ่อาหาร คอยควบคุมประชากร
สุขภาพป่า - 8
สัตว์กินพืชและมีบทบาทส�ำคัญในการควบคุมสุขภาพ ของระบบนิ เ วศ ยกตั ว อย่าง เสือ โคร่ง และเสือ ดาว เป็นต้น 2.4 สั ต ว์ กิ น พื ช ขนาดใหญ่ หมายถึ ง สั ต ว์ ที่ ค อยควบคุ ม ปริ ม าณของพื ช และคุ ณ ภาพป่ า ได้ แ ก่ กระทิง วัวแดง กวางป่า เป็นต้น 3. ภัยคุกคาม (Threats) หมายถึง การกระท�ำ หรือการรบกวนที่ส่งผลทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อสิ่งมี ชีวิตหรือระบบนิเวศ 3.1 ปริมาณพื้นที่การบุกรุก หมายถึง ร้อยละ ของพื้นที่อนุรักษ์ที่ถูกบุกรุกโดยมนุษย์ในการท�ำกิจกรรม ต่างๆ เช่น การท�ำเกษตร การตัดไม้ หรือสร้างครัวเรือน
ป่าตะวันตก ทุ่งใหญ่นเรศวร ผืนป่ามรดกโลก แหล่งที่ อยู่อาศัยส�ำคัญของสัตว์ป่าที่ยังคงความอุดมสมบูรณ์ ภาพ มูลนิธิสืบนาคะเสถียร
เป็นต้น ส่งผลให้พื้นที่อนุรักษ์ได้รับความเสียหาย 3.2 ปศุสัตว์/โรคระบาด หมายถึง พื้นอนุรักษ์ ที่ที่มีสัตว์เลี้ยงจากชุมชนเข้าไปหากินในพื้นที่นั้น ซึ่งสุ่ม เสี่ยงต่อการติดต่อของโรคจากปศุสัตว์สู่สัตว์ป่า 3.3 ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นรุกราน หมายถึง พื้นที่ อนุ รั ก ษ์ ที่ มี ช นิ ด พั น ธุ ์ ต ่ า งถิ่ น เจริ ญ เติ บ โตและแพร่ กระจายได้ดีในธรรมชาติ ซึ่งส่งผลต่อการสูญเสียทาง ชีวภาพและระบบนิเวศในท้องถิ่น 3.4 การท่องเที่ยว หมายถึง สถานที่มีการจัด กิจกรรมจากการนันทนาการหรือกิจกรรมอื่นๆ จากนัก ท่องเที่ยวเข้ามาใช้ประโยชน์ในพื้นที่เพื่อการพักผ่อนหรือ นันทนาการ 4. ประสิ ทธิ ภ าพในการบริ ห ารจั ด การพื้ น ที่ หมายถึง การจัดการและดูแลพื้นที่อนุรักษ์อย่างมีระบบ และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพด้ ว ยข้ อ มู ล ทางวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยีเสริมการท�ำงานของเจ้าหน้าที่พิทักษ์ป่า 4.1 ลาดตระเวน หมายถึง พื้นที่ที่มีระบบการ เดินลาดตระเวนในพื้นที่ป่าอนุรักษ์อย่างเป็นระบบ เพิ่ม ศักยภาพในการป้องกัน ปราบปราม และการจัดการ พื้นที่ โดยการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) เพื่อวางแผนลาดตระเวน การเก็บข้อมูล วิเคราะห์ ประมวลผลในมาตรฐานเดียวกัน 4.2 หน่ ว ยพิ ทั ก ษ์ หมายถึ ง พื้ น ที่ อ นุ รั ก ษ์ ที่ หน่วยพิทักษ์ตั้งเป็นศูนย์กลางในการอ�ำนวยความสะดวก การจัดการและดูแลพื้นป่านั้นๆ 4.3 แผนการจั ด การระดั บ พื้ น ที่ หมายถึ ง แผนการจัดการที่เป็นระบบในพื้นที่อนุรักษ์นั้นๆ 4.4 แผนการจัดการระดับกลุ่มป่า หมายถึง แผนการจัดการแบบภาพรวมที่มีการน�ำข้อมูลจากพื้นที่ อนุรักษ์หลายแห่งมารวบรวมและวิเคราะห์ให้เป็นภาพ รวมระดับกลุ่มป่า
สุขภาพป่า - 9
การ วิเคราะห์ ข้อมูล
มติที่ประชุม เกณฑ์การประเมิน สุขภาพป่า
1. รวบรวมข้อมูลจากจากกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช และกรมป่า ไม้ ยกตัวอย่างเช่น แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทย โครงการศึกษาความเหมาะ สมในการจัดท�ำแนวเชื่อมต่อทางนิเวศวิทยาของผืนป่าในกลุ่มป่าที่ส�ำคัญของประเทศไทย และฐานข้อมูลกลุ่มป่าที่ส�ำคัญในประเทศไทย เป็นต้น โดยจ�ำแนกข้อมูลออกมาเป็นแต่ละ ปัจจัย ดังตารางมติที่ประชุมเกณฑ์การประเมินสุขภาพป่า 2. จัดท�ำข้อมูลเพื่อน�ำเสนอและข้อค�ำแนะน�ำแก่ผู้เชี่ยวชาญทางด้านป่าไม้ สัตว์ ป่า และสิ่งแวดล้อมในการประเมินข้อมูลสุขภาพป่า 3. วิเคราะห์หาค่าเฉลี่ยในแต่ละกลุ่มป่าด้วยปัจจัยต่างๆ ที่น�ำเสนอข้างต้น เพื่อ วิเคราะห์เป็นภาพรวมและบอกแนวโน้มสุขภาพของกลุ่มป่าแต่ละประเภท
ปัจจัยหลัก
ปัจจัย (ดัชนีชี้วัด)
พื้นที่ป่า
ขนาดพื้นที่ป่า ความต่อเนื่องของผืนป่า ความหลากหลายของประเภทป่า แนวเชื่อมผืนป่าระหว่างประเทศ
สัตว์ป่า
ความหลากชนิดของสัตว์ป่า จ�ำนวนชนิดสัตว์ป่าที่ถูกคุกคาม สัตว์ผู้ล่าขนาดใหญ่ สัตว์กินพืชขนาดใหญ่
ภัยคุกคาม
ปริมาณพื้นที่การบุกรุก การล่าสัตว์/เก็บหาของป่า/ตัดไม้ ปศุสัตว์/โรคระบาด ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นรุกราน การท่องเที่ยว
ประสิ ท ธิ ภ าพในการบริ ห าร จัดการพื้นที่
ลาดตระเวน หน่วยพิทักษ์ แผนการจัดการระดับพื้นที่ แผนการจัดการระดับกลุ่มป่า
สุขภาพป่า - 10
ผลการประเมินตัวชี้วัดสุขภาพป่า
พื้นที่ป่า ขนาด พื้นที่ป่า
ล�ำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
กลุ่มป่า
ขนาดพื้นที่ (ไร่)
ตะวันตก ลุ่มน�้ำปาย - สาละวิน ดอยภูคา - แม่ยม ศรีลานนา – ขุนตาล ภูเขียว - น�้ำหนาว แม่ปิง – อมก๋อย ดงพญาเย็น - เขาใหญ่ คลองแสง - เขาสก ภูเมี่ยง – ภูทอง แก่งกระจาน พนมดงรัก - ผาแต้ม ภูพาน ตะวันออก เขาบรรทัด ชุมพร เขาหลวง ฮาลา-บาลา
11,426,414.96 6,701,923.55 6,157,162.37 5,932,948.50 4,816,420.75 4,082,039.00 3,872,938.78 3,426,935.50 3,208,689.00 3,151,187.30 1,881,250.00 1,706,436.67 1,675,985.55 1,461,818.38 1,442,270.00 1,416,046.00 1,287,427.25
หมายเหตุ : แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทย. ส�ำนักอุทยานแห่งชาติ กรมอุทยานแห่ง ชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช, 2557
สุขภาพป่า - 11
ความต่อเนือ่ ง ของผืนป่า
ล�ำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
กลุ่มป่า
ร้อยละ
ตะวันตก ลุ่มน�้ำปาย-สาละวิน ภูเขียว-น�้ำหนาว แม่ปิง-อมก๋อย ภูเมี่ยง-ภูทอง ดงพญาเย็น-เขาใหญ่ ศรีลานนา-ขุนตาล ดอยภูคา-แม่ยม แก่งกระจาน ตะวันออก ภูพาน คลองแสง-เขาสก พนมดงรัก-ผาแต้ม ฮาลา-บาลา ชุมพร เขาบรรทัด เขาหลวง
89.45 60.91 60.48 59.66 59.03 58.5 56.12 54.41 53.47 41.44 40.23 40.13 39.75 33.35 33.34 33.31 31.64
หมายเหตุ : ฐานข้อมูลกลุ่มป่าที่ส�ำคัญในประเทศไทย ส่วนสารสนเทศด้านอนุรักษ์สัตว์ป่า กรมอุทยานฯ ลุ่มน�้ำปาย สาละวิน ภาพ http://travel2.maehongson.go.th
สุขภาพป่า - 12
ความหลาก หลายของ ประเภทป่า
ล�ำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
กลุ่มป่า ตะวันตก ลุ่มน�้ำปาย - สาละวิน ศรีลานนา - ขุนตาล แม่ปิง – อมก๋อย ภูเมี่ยง – ภูทอง ภูเขียว - น�้ำหนาว ดงพญาเย็น - เขาใหญ่ แก่งกระจาน พนมดงรัก - ผาแต้ม ตะวันออก ดอยภูคา – แม่ยม ภูพาน ฮาลา-บาลา ชุมพร คลองแสง-เขาสก เขาหลวง เขาบรรทัด
จ�ำนวนความหลากหลาย ของชนิดป่า
8 6 6 6 6 6 6 6 5 5 4 4 3 2 2 2 2
หมายเหตุ : ฐานข้อมูลกลุ่มป่าที่ส�ำคัญในประเทศไทย ส่วนสารสนเทศด้านอนุรักษ์สัตว์ป่า กรมอุทยานฯ อุทยานแห่งชาติน�้ำหนาว ภาพ facebook อุทยานแห่งชาติน�้ำหนาว
สุขภาพป่า - 13
แนวเชื่อมป่า ระหว่าง ประเทศ
ล�ำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
กลุ่มป่า ตะวันตก ตะวันออก ดงพญาเย็น - เขาใหญ่ พนมดงรัก - ผาแต้ม ดอยภูคา – แม่ยม แก่งกระจาน ฮาลา-บาลา ชุมพร คลองแสง - เขาสก แม่ปิง – อมก๋อย ภูเมี่ยง – ภูทอง เขาบรรทัด ภูเขียว - น�้ำหนาว ลุ่มน�้ำปาย - สาละวิน เขาหลวง ศรีลานนา - ขุนตาล ภูพาน
ขนาดพื้ น ที่ คุ ้ ม ครองเชื่ อ มต่ อ ระหว่างประเทศ (ไร่)
12,488,915.96 5,258,644.75 4,352,088.50 3,818,593.75 3,794,657.25 3,440,438.50 2,555,680.25 1,817,107.25 0 0 0 0 0 0 0 0 0
หมายเหตุ : แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทย. ส�ำนักอุทยานแห่งชาติ กรมอุทยาน แห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช, 2557 พื้นที่คุ้มครองเชื่อมต่อระหว่างประเทศ 1. กลุ่มป่าตะวันตก เชื่อมต่อกับ Tanintharyi Nature Reserve 2. กลุ่มป่าตะวันออก เชื่อมต่อกับ Samlaut Multiple Use Management Area และ Phnom Samkos Wildlife Sanctuary 3. กลุ่มป่าดงพญาเย็น - เขาใหญ่ เชื่อมต่อกับ Banteay Chhmar Protected Landscape 4. กลุ่มป่าพนมดงรัก – ผาแต้ม เชื่อมต่อกับ Phou Xieng Thong National Biodiversity Conservation Area และ Preah Vihear Protected Forest 5. กลุ่มป่าดอยภูคา – แม่ยม เชื่อมต่อกับ Nam Poui National Biodiversity Conservation Area 6. กลุ่มป่าแก่งกระจาน เชื่อมต่อกับ Tanintharyi National Park 7. กลุ่มป่าฮาลา – บาลา เชื่อมต่อกับ Belum Wildlife Reserve และ Ulu Muda Wildlife Reserve 8. กลุ่มป่าชุมพร เชื่อมต่อกับ Lenya National Park
สุขภาพป่า - 14
กลุ่มป่าที่อยู่ในระดับ 3 ได้แก่ กลุ่มป่าที่อยู่ในระดับ 2 ได้แก่ กลุ่มป่าที่อยู่ในระดับ 1 ได้แก่
กลุ่มป่าตะวันตก, ดงพญาเย็น-เขาใหญ่ และแก่งกระจาน กลุ่มป่าศรีลานนา-ขุนตาล, ดอยภูคา-แม่ยม, แม่ปิง-อมก๋อย, ภูเมี่ยง-ภูทอง, ภูเขียว-น�้ำหนาว, ลุ่มน�้ำปาย-สาละวิน, พนมดงรัก-ผาแต้ม, ตะวันออก, ภูพาน, คลองแสง-เขาสก และฮาลา-บาลา กลุ่มป่าชุมพร, เขาหลวง และเขาบรรทัด
ป่าตะวันตก น�้ำตกทีลอซู เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอุ้มผาง ภาพ มูลนิธิสืบนาคะเสถียร
สุขภาพป่า - 15
ภาพแสดงระดับการประเมิน พื้นที่ป่า
กลุ่มป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์มากที่สุด (3 คะแนน) กลุ่มป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์มาก (2 คะแนน) กลุ่มป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง (1 คะแนน)
สุขภาพป่า - 16
ผลการประเมินตัวชี้วัดสุขภาพป่า
สัตว์ป่า ความหลากหลาย ชนิดของสัตว์ป่า
ล�ำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
กลุ่มป่า ตะวันตก ภูเขียว-น�้ำหนาว ดงพญาเย็น - เขาใหญ่ ลุ่มน�้ำปาย - สาละวิน ตะวันออก คลองแสง-เขาสก ฮาลา-บาลา เขาบรรทัด แม่ปิง – อมก๋อย ชุมพร ภูเมี่ยง – ภูทอง เขาหลวง ภูพาน แก่งกระจาน ดอยภูคา – แม่ยม ศรีลานนา - ขุนตาล พนมดงรัก - ผาแต้ม
จ�ำนวนความหลากหลาย ของสัตว์ป่า
876 808 805 774 735 693 573 505 494 432 406 391 370 316 251 98 ไม่มีข้อมูล
หมายเหตุ : ไม่มีข้อมูลบัญชีรายชื่อสัตว์ป่าของกลุ่มป่าพนมดงรัก – ผาแต้ม
สุขภาพป่า - 17
จ�ำนวนชนิด สัตว์ป่าที่ถูก คุกคาม
ล�ำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
กลุ่มป่า ฮาลา-บาลา ตะวันตก ลุ่มน�้ำปาย - สาละวิน คลองแสง - เขาสก ภูเขียว - น�้ำหนาว ตะวันออก เขาบรรทัด ชุมพร เขาหลวง แม่ปิง – อมก๋อย ภูเมี่ยง – ภูทอง แก่งกระจาน ภูพาน ดอยภูคา – แม่ยม ศรีลานนา - ขุนตาล พนมดงรัก - ผาแต้ม ดงพญาเย็น - เขาใหญ่
จ�ำนวนชนิดสัตว์ป่า ที่ถูกคุกคาม
201 166 163 154 120 116 111 87 66 53 39 39 36 26 5 ไม่มีข้อมูล ไม่มีข้อมูล
หมายเหตุ : ไม่มีข้อมูลบัญชีรายชื่อสัตว์ป่าของกลุ่มป่าพนมดงรัก – ผาแต้ม และกลุ่ม ป่าดงพญาเย็น – เขาใหญ่ เสือกระต่าย สัตว์ป่าหายากที่คิดว่าสูญพันธุ์ไปแล้วใน ประเทศไทย สามารถถ่ายภาพได้เมื่อกุมภาพันธ์ 2560 ณ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอมก๋อย ภาพ ปริญญา ผดุงถิ่น
สุขภาพป่า - 18
สัตว์ผู้ล่า ขนาดใหญ่
ล�ำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
กลุ่มป่า ตะวันตก ฮาลา-บาลา ดงพญาเย็น-เขาใหญ่ ลุ่มน�้ำปาย-สาละวิน แม่ปิง-อมก๋อย ภูเขียว-น�้ำหนาว ตะวันออก คลองแสง-เขาสก แก่งกระจาน ชุมพร เขาบรรทัด ศรีลานนา-ขุนตาล ดอยภูคา-แม่ยม พนมดงรัก-ผาแต้ม ภูเมี่ยง-ภูทอง ภูพาน เขาหลวง
สัตว์ผู้ล่าขนาดใหญ่ ตั้งแต่เสือดาวขึ้นไป
2 2 2 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 0 0
หมายเหตุ : 1. เสือดาวและเสือโคร่งปรากฏในพื้นที่ให้ชนิดละ 1 คะแนน 2. สถานภาพของสั ต ว์ เ ลี้ ย งลู ก ด้ ว ยน�้ ำ นมขนาดใหญ่ ใ นประเทศไทย, กลุ่มงานวิจัยสัตว์ป่า ส�ำนักอนุรักษ์สัตว์ป่า กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช เสือโคร่ง ผืนป่าตะวันตก ภาพ ม.ล.ปริญญากร วรวรรณ
สุขภาพป่า - 19
สัตว์กินพืช ขนาดใหญ่
ล�ำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
กลุ่มป่า ตะวันออก ดงพญาเย็น-เขาใหญ่ ตะวันตก ภูเขียว-น�้ำหนาว แก่งกระจาน ชุมพร ลุ่มน�้ำปาย-สาละวิน แม่ปิง-อมก๋อย คลองแสง-เขาสก ฮาลา-บาลา ภูเมี่ยง-ภูทอง เขาหลวง เขาบรรทัด พนมดงรัก-ผาแต้ม ศรีลานนา-ขุนตาล ดอยภูคา-แม่ยม ภูพาน
กวางป่า กระทิง วัวแดง 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 0.00 1.00 0.00
1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 0.00 0.00 1.00 0.00 0.00
1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
รวม 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 2.00 2.00 2.00 2.00 1.00 1.00 1.00 1.00 0.00
หมายเหตุ : 1. สัตว์แต่ละชนิดที่ก�ำหนดถ้าปรากฏในพื้นที่ให้ชนิดละ 1 คะแนน 2. สถานภาพของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน�้ำนมขนาดใหญ่ในประเทศไทย, กลุ่มงาน วิจัยสัตว์ป่า ส�ำนักอนุรักษ์สัตว์ป่า กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กระทิง เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ภาพ วัชรบูล ลี้สุวรรณ
สุขภาพป่า - 20
กลุ่มป่าที่อยู่ในระดับ 3 ได้แก่ กลุ่มป่าที่อยู่ในระดับ 2 ได้แก่ กลุ่มป่าที่อยู่ในระดับ 1 ได้แก่
กลุ่มป่าลุ่มน�้ำปาย-สาละวิน, ภูเขียว-น�้ำหนาว, ดงพญาเย็น-เขาใหญ่, ตะวันออก และตะวันตก กลุ่มป่าแม่ปิง-อมก๋อย, ภูเมี่ยง-ภูทอง, แก่งกระจาน, ชุมพร, คลองแสง-เขาสก, เขาหลวง, เขาบรรทัด และฮาลา-บาลา กลุ่มป่าศรีลานนา-ขุนตาล, ดอยภูคา-แม่ยม, ภูพาน และพนมดงรัก-ผาแต้ม เสือโคร่ง เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ภาพ วัชรบูล ลี้สุวรรณ
สุขภาพป่า - 21
ภาพแสดงระดับการประเมิน ด้านสัตว์ป่า
กลุ่มป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์มากที่สุด (3 คะแนน) กลุ่มป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์มาก (2 คะแนน) กลุ่มป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง (1 คะแนน)
สุขภาพป่า - 22
ผลการประเมินตัวชี้วัดสุขภาพป่า
ภัยคุกคาม ปริมาณพื้นที่ การบุกรุก
ล�ำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
กลุ่มป่า ชุมพร เขาบรรทัด เขาหลวง คลองแสง-เขาสก ดอยภูคา-แม่ยม แม่ปิง-อมก๋อย พนมดงรัก-ผาแต้ม ดงพญาเย็น-เขาใหญ่ ลุ่มน�้ำปาย-สาละวิน ภูพาน ภูเมี่ยง-ภูทอง ภูเขียว-น�้ำหนาว ศรีลานนา-ขุนตาล ตะวันตก ฮาลา-บาลา แก่งกระจาน ตะวันออก (ป่ารอยต่อ5จังหวัด)
ร้อยละการบุกรุก 24.15 21.76 18.18 9.03 8.41 8.23 8.01 7.40 7.08 6.00 4.74 4.60 4.36 3.97 2.93 2.86 0.55
หมายเหตุ : ตารางแสดงข้อมูลพื้นที่รับผิดชอบและพื้นที่บุกรุกด้วยภาพถ่ายดาวเทียม THEOS ปี 2557 รายป่าอนุรักษ์ 3.2 ปศุสัตว์/โรคระบาด 3.3 ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นรุกราน 3.4 การท่องเที่ยว
สุขภาพป่า - 23
กลุ่มป่าที่อยู่ในระดับ 3 ได้แก่ กลุ่มป่าที่อยู่ในระดับ 2 ได้แก่ กลุ่มป่าที่อยู่ในระดับ 1 ได้แก่
กลุ่มป่าลุ่มศรีลานนา-ขุนตาล, ภูเมี่ยง-ภูทอง, ภูเขียว-น�้ำหนาว, ตะวันออก, ตะวันตก, แก่งกระจาน และฮาลา-บาลา กลุ่มป่าลุ่มน�้ำปาย-สาละวิน, ดอยภูคา-แม่ยม, แม่ปิง-อมก๋อย, ภูพาน, พนมดงรัก-ผาแต้ม, ดงพญาเย็นเขาใหญ่ และคลองแสง-เขาสก กลุ่มป่าชุมพร, เขาหลวง และเขาบรรทัด
พื้นที่ใช้ประโยชน์ชุมชน เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่ตื่น ภาพ มูลนิธิสืบนาคะเสถียร
สุขภาพป่า - 24
ภาพแสดงระดับการประเมิน ด้านภัยคุกคาม
กลุ่มป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์มากที่สุด (3 คะแนน) กลุ่มป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์มาก (2 คะแนน) กลุ่มป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง (1 คะแนน)
สุขภาพป่า - 25
ผลการประเมินตัวชี้วัดสุขภาพป่า
ประสิทธิภาพการจัดการ หน่วยพิทักษ์ป่า
ล�ำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
กลุ่มป่า ตะวันออก เขาบรรทัด ภูพาน พนมดงรัก-ผาแต้ม ภูเขียว-น�้ำหนาว คลองแสง-เขาสก ฮาลา-บาลา เขาหลวง ตะวันตก ลุ่มน�้ำปาย-สาละวิน ดงพญาเย็น-เขาใหญ่ ชุมพร ศรีลานนา-ขุนตาล แม่ปิง-อมก๋อย ภูเมี่ยง-ภูทอง แก่งกระจาน ดอยภูคา-แม่ยม
สัดส่วนประสิทธิภาพการจัดการ หน่วยพิทักษ์ต่อพื้นที่
212.03% 145.00% 136.64% 133.09% 123.49% 104.62% 103.31% 102.55% 85.01% 84.63% 83.96% 73.77% 73.07% 70.60% 68.67% 60.07% 57.79%
หมายเหตุ : ฐานข้อมูลหน่วยพิทักษ์ (รายพื้นที่) กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และ พันธุ์พืช 4.1 ลาดตระเวน 4.3 แผนการจัดการระดับพื้นที่ 4.4 แผนการจัดการระดับกลุ่มป่า
สุขภาพป่า - 26
กลุ่มป่าที่อยู่ในระดับ 3 ได้แก่ กลุ่มป่าที่อยู่ในระดับ 2 ได้แก่ กลุ่มป่าที่อยู่ในระดับ 1 ได้แก่
กลุ่มป่าตะวันออก, เขาบรรทัด, ภูพาน, พนมดงรัก-ผาแต้ม, ภูเขียวน�้ำหนาว, คลองแสง-เขาสก, ฮาลา-บาลา และเขาหลวง กลุ่มป่าตะวันตก, ลุ่มน�้ำปาย-สาละวิน, ดงพญาเย็น-เขาใหญ่, ชุมพร, ศรีลานนา-ขุนตาล, แม่ปิง-อมก๋อย และภูเมี่ยง-ภูทอง กลุ่มป่าแก่งกระจาน และดอยภูคา-แม่ยม
หน่วยพิทักษ์ป่า ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวรด้านตะวันออก กลุ่มป่าตะวันตก ภาพ มูลนิธิสืบนาคะเสถียร
สุขภาพป่า - 27
ภาพแสดงระดับการประเมิน ด้านประสิทธิภาพการจัดการ
กลุ่มป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์มากที่สุด (3 คะแนน) กลุ่มป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์มาก (2 คะแนน) กลุ่มป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง (1 คะแนน)
สุขภาพป่า - 28
ภาพแสดงระดับการประเมิน โดยภาพรวม
กลุ่มป่าที่อยู่ในระดับ 3 ได้แก่ กลุ่มป่าตะวันตก, ภูเขียวน�้ำหนาว, ตะวันออก และดงพญาเย็น-เขาใหญ่ กลุ่มป่าที่อยู่ในระดับ 2 ได้แก่ กลุ่มป่าฮาลา-บาลา, แก่งกระจาน, ภูเมี่ยง-ภูทอง, ลุ่มน�้ำปาย-สาละวิน, คลองแสง-เขาสก, ศรีลานนา-ขุนตาล, แม่ปิง-อมก๋อย, พนมดงรัก-ผาแต้ม, ภูพาน, เขาหลวง, เขาบรรทัด, ดอยภูคาแม่ยม และชุมพร หมายเหตุ : ไม่มีกลุ่มป่าที่อยู่ในระดับ 1
สุขภาพป่า - 29
สรุปวิเคราะห์ผลการประเมิน สุขภาพป่า
พื้ น ที่ ป ่ า : พื้ น ที่ ป ่ า สามารถสื่ อ ความหมาย ได้เป็นขนาดพื้นที่ของกลุ่มป่า และเป็นหนึ่งในเครื่อง มื อ ที่ ส� ำ คั ญ ที่ ใ ช้ เ ป็ น ดั ช นี ชี้ วั ด ความสมบู ร ณ์ ข องผื น ป่า ยิ่งขนาดของป่ามีขนาดพื้นที่ใหญ่ยิ่งเพิ่มโอกาสต่อ การด�ำรงชีวิตแก่สิ่งมีชีวิตได้มากกว่าพื้นที่ป่าที่มีขนาด เล็กและเป็นหย่อมป่า (พื้นที่ป่าที่ถูกแยกออกจากกัน) การมีรอยต่อหรือเขตแนวป่าเชื่อมติดกันระหว่างระบบ นิเวศของแต่ละพื้นที่ เป็นการน�ำไปสู่ความหลากหลาย ของชนิดพันธุ์ในผืนป่าทั้งพันธุ์พืชและสัตว์ป่า กรณีนี้ รวมไปถึงแนวเชื่อมผืนป่าระหว่างประเทศด้วย โดยใน ประเทศไทยสามารถจัดประเภทได้ดังนี้ กลุ่มป่าที่มีขนาดพื้นที่ป่ามากที่สุด 3 ล�ำดับ แรก ได้แก่ กลุ่มป่าตะวันตก กลุ่มป่าลุ่มน�้ำปาย - สาละ วิน และกลุ่มป่าภูคา - แม่ยม กลุ่มป่าที่มีความต่อเนื่องของผืนป่า มากที่สุด 3 ล�ำดับแรก ได้แก่ กลุ่มป่าตะวันตก กลุ่มป่าลุ่มน�้ำปาย สาละวิน และกลุ่มป่าภูเขียว น�้ำหนาว กลุ่มป่าที่มีความหลากหลายของชนิดป่า มาก ที่สุด 3 ล�ำดับแรก ได้แก่ กลุ่มป่าตะวันตก กลุ่มป่าศรี ลานนา - ขุนตาล และกลุ่มป่าแม่ปิง - อมก๋อย กลุ่มป่าที่มีแนวเชื่อมผืนป่าระหว่างประเทศ มากที่สุด 3 ล�ำดับแรก ได้แก่ กลุ่มป่าตะวันตก กลุ่มป่า ตะวันออก กลุ่มป่าดงพญาเย็น - เขาใหญ่ สัตว์ป่า : สัตว์ป่านั้น ถือเป็นตัวชี้วัดความ สมบูรณ์ความผืนป่าที่ส�ำคัญ ดังเช่นที่มีค�ำอธิบายว่า
“ผืนป่าที่มีเสือโคร่งนั้น ถือได้ว่าเป็นป่าที่มีความอุดม สมบูรณ์” เพราะเสือแต่ละตัวมีอาณาเขตพื้นที่หากินที่ ไม่ซ้อนทับกับตัวอื่น ต้องมีปริมาณอาหารที่เหมาะสม เช่น จ�ำนวนสัตว์กีบที่เพียงพอ และสัตว์กีบยังมีบทบาทที่ ถ่ายทอดพลังงานและควบคุมสายใยอาหารให้แก่ป่า ซึ่ง เสือโคร่งก็เป็นหนึ่งในผู้บริโภคอันดับสูงสุดและควบคุม จ�ำนวนสัตว์กีบ ท�ำให้เสือโคร่งสามารถใช้เป็นเครื่องมือ ชี้วัดสุขภาพกลุ่มป่าได้ ประเด็ น ในการประเมิ น สุ ข ภาพด้ ว ยสั ต ว์ ป ่ า นั้น ประกอบไปด้วย ความหลากหลายชนิดของสัตว์ป่า ยกตัวอย่างเช่น การมีประเภทของสัตว์ป่า (ประกอบ ด้วย สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สัตว์ปีก สัตว์สะเทินน�้ำสะเทิน บก และสัตว์เลื้อยคลาน) และจ�ำนวนประชากรในชนิด เดียวกันจ�ำนวนมาก สัตว์ป่าสามารถการเกิดการแลก เปลี่ยนปฏิสัมพันธ์ระหว่างชนิดและพันธุกรรมในชนิด เดียวกันได้มากขึ้น ซึ่งหมายถึงการเพิ่มโอกาสการอยู่รอด (fiFfiitness) ได้สูงขึ้น หากกลุ่มป่าไหนมีความหลากชนิด หรือจ�ำนวนน้อย ก็อาจเกิดปัญหาการแข่งขันต่อสู้แย่ง ชิงพื้นที่หาอาหาร หรือเกิดการผสมพันธุ์ในชนิดเดียวกัน เองจนเกิดลักษณะด้อยทางพันธุกรรม ซึ่งหมายถึงเกิด การลดโอกาสในการอยู่รอด ท�ำให้น�ำไปสู่การลดลงของ จ�ำนวนประชากรในอนาคต โดยในประเทศไทยสามารถ จัดประเภทได้ดังนี้ กลุ่มป่าที่มีความหลากชนิดของสัตว์ป่า มาก ที่สุด 3 ล�ำดับแรก ได้แก่ กลุ่มป่าตะวันตก กลุ่มป่าภูเขียว - น�้ำหนาว และกลุ่มป่าลุ่มน�้ำปาย - สาละวิน
สุขภาพป่า - 30
กลุ่มป่าที่สัตว์ป่าถูกคุกคามมากที่สุด 3 ล�ำดับ แรก ได้แก่ กลุ่มป่าฮาลา - บาลา กลุ่มป่าตะวันตก และ กลุ่มป่าลุ่มน�้ำปาย - สาละวิน กลุ่มป่าที่มีสัตว์ผู้ล่าขนาดใหญ่ มากที่สุด 3 ล�ำดับแรก ได้แก่ กลุ่มป่าตะวันตก กลุ่มป่าฮาลา - บาลา และกลุ่มป่าดงพญาเย็น - เขาใหญ่ กลุ่มป่าที่มีสัตว์กินพืชขนาดใหญ่ มากที่สุด 3 ล�ำดับแรก ได้แก่ กลุ่มป่าตะวันออก กลุ่มป่าดงพญาเย็น - เขาใหญ่ และกลุ่มป่าตะวันตก การท�ำปศุสัตว์ในป่าอนุรักษ์ หรือการลักลอบ น�ำสัตว์มาเลี้ยงในพื้นที่อนุรักษ์ ตลอดจนโรคระบาดที่ เกิดจากการเลี้ยงสัตว์ยังคงคลุมเครือและมีข้อมูลไม่เพียง พอ ชนิ ด พั น ธุ ์ ต ่ า งถิ่ น รุ ก ราน ข้ อ มู ล ที่ ใ ช้ ใ นการ วิเคราะห์มีข้อมูลไม่เพียงพอ เนื่องจากมีบางพื้นที่อนุรักษ์ ไม่ส่งแบบสอบถามการพบชนิดพันธุ์ต่างถิ่นรุกรานตอบ
กลับทางกรมอุทยานฯ แต่อย่างไรก็ตาม ปัจจัยนี้ทางผู้ เชี่ยวชาญยังเล็งเห็นถึงความส�ำคัญ และจะใช้ในการน�ำ ไปประเมินสุขภาพป่าครั้งต่อไป ซึ่งก�ำหนดชนิดพันธุ์ต่าง ถิ่นรุกรานร้ายแรงลงไปในแบบสอบถาม หรือลงพื้นที่ เพื่อส�ำรวจชนิดพันธุ์ต่างถิ่นรุกราน การท่ อ งเที่ ย ว เนื่ อ งจากข้ อ มู ล ก� ำ หนดขี ด ความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยวของแต่ละพื้นที่ มี ข ้ อ มู ล ไม่ เ พี ย งพอ ซึ่ ง การประเมิ น ในครั้ ง ต่ อ ไปอาจ เปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการประเมินเป็นประเด็นผลกระทบ จากนักท่องเที่ยวแทน การวิ เ คราะห์ ภั ย คุ ก คามในครั้ ง นี้ จึ ง มี เ พี ย ง ปัจจัยการบุกรุกพื้นที่ป่าที่ใช้ข้อมูลจากภาพถ่ายดาวเทียม ในการประเมิน กลุ ่ ม ป่ า ที่ ถู ก บุ ก รุ ก มากที่ สุ ด 3 ล� ำ ดั บ แรก ได้แก่ กลุ่มป่าชุมพร กลุ่มป่าเขาบรรทัด และกลุ่มป่าเขา หลวง
แก่งลานนกยูง อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ กลุ่มป่าตะวันตก ภาพ มูลนิธิสืบนาคะเสถียร
สุขภาพป่า - 31
รูปแบบงานลาดตระเวนเชิงคุณภาพ หรือ Smart Patrol เป็นหนึ่งในเครื่องมือส�ำคัญในการดูแลรักษาผืนป่า สัตว์ป่า ที่พื้นที่อนุรักษ์ทั่ว ประเทศควรน�ำไปปฏิบัติในพื้นที่ ภาพ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวร ด้านตะวันออก
ประสิทธิภาพการจัดการ : ประเด็นสุดท้ายที่ น�ำมาใช้ในการประเมินสุขภาพกลุ่มป่า คือ ประสิทธิภาพ การจั ด การ ซึ่ ง เน้ น ไปที่ เ รื่ อ งของการป้ อ งกั น กล่ า ว คือ กลุ่มป่าหรือพื้นที่อนุรักษ์ที่จะสามารถรักษาความ สมบูรณ์ได้นั้นจ�ำเป็นต้องมีการป้องกันที่เหมาะสม ซึ่งการป้องกันในที่นี้ชี้วัดจากจ�ำนวนที่ตั้งของ หน่วยพิทักษ์ป่าที่มีความเพียงพอต่อพื้นที่หรือไม่ หากพื้น ป่ามีขนาดพื้นที่ใหญ่และมีหน่วยพิทักษ์ตั้งอยู่ครอบคลุม พื้นที่ที่เพียงพอ นั้นหมายถึงหน่วยพิทักษ์ป่า 1 หน่วย สามารถลาดตระเวน ดูแลและเก็บข้อมูลได้ครอบคลุม
พื้ น ที่ ในทางตรงกั น ข้ า มถ้ า มี พื้ น ที่ ป ่ า ขนาดใหญ่ แต่ หน่วยพิทักษ์ป่ามีไม่ครอบคลุมพื้นที่อาจท�ำให้การลาด ตระเวน ดู แ ลและเก็ บ ข้ อ มู ล เกิ ด การตกหล่ น และไม่ ครอบคลุมพื้นที่ โดยในประเทศไทยสามารถจัดประเภท ได้ดังนี้ การลาดตระเวน ไม่สามารถวิเคราะห์ผลได้ เนื่องจาก การลาดตระเวนในพื้นที่อนุรักษ์ส่วนใหญ่ไม่ ได้มีการลาดตระเวนเชิงคุณภาพ (Smart Patrol) อย่าง กลุ่มป่าตะวันตก จึงไม่สามารถวิเคราะห์ผลได้ ส่ ว นแผนการจั ด การพื้ น ที่ และแผนการ
สุขภาพป่า - 32
จัดการระดับกลุ่มป่า ที่ไม่สามารถวิเคราะห์ผลได้เช่นกัน เนื่องจากมีข้อมูลไม่เพียงพอ และบางพื้นที่อยู่ในระหว่าง การจัดท�ำแผนการจัดการ/บางพื้นที่แผนการจัดการหมด อายุ กลุ่มป่าที่มีหน่วยพิทักษ์ป่าเพียงพอต่อพื้นที่ 3 ล�ำดับแรก ได้แก่ กลุ่มป่าตะวันออก กลุ่มป่าเขาบรรทัด และกลุ่มป่าภูพาน จากข้อมูลข้างต้นสามารถน�ำไปก�ำหนดทิศทาง จัดล�ำดับความส�ำคัญ และวางแผนการบริหารจัดการ กลุ่มป่าแต่ละพื้นที่ ซึ่งในแต่ละกลุ่มป่ามีความแตกต่าง กันตามพื้นที่ การใช้ดัชนีแบบการประเมินสุขภาพป่า ลักษณะนี้จะท�ำให้มองเห็นภาพรวม สามารถก�ำหนด รูปแบบในการจัดการไปในทางเดียวกัน และสามารถ ก� ำ หนดมาตรฐานการจั ด การขั้ น พื้ น ฐานให้ เ ป็ น ระบบ เดี ย วกั น แต่ อ าจจะมี บ างพื้ น ที่ ที่ มี รู ป แบบข้ อ ก� ำ หนด ที่เฉพาะเจาะจงท�ำให้สามารถใช้การจัดการแบบปรับ เปลี่ยนรูปแบบ (adaptive management) เพื่อให้เกิด ความเหมาะสมต่อการจัดการพื้นที่ได้ การวิเคราะห์สุขภาพป่าจึงเป็นการใช้ตัวชี้วัด ถึงสภาพโดยรวม และน�ำข้อมูลนั้นไปใช้ก�ำหนดรูปแบบ มาตรการที่จะน�ำไปใช้ในการวางแผน และจัดการต่อไป ในที่นี้การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีสุขภาพป่าโดยใช้ปัจจัย ทั้ง 4 ข้างต้น ได้แก่ พื้นที่ป่า สัตว์ป่า ภัยคุกคาม และ ประสิทธิภาพการจัดการ เป็นเกณฑ์ก�ำหนดความอุดม สมบูรณ์ของกลุ่มป่า พบว่าสามารถแบ่งระดับกลุ่มป่าใน ประเทศไทยได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ กลุ่มป่าที่มีความ อุดมสมบูรณ์มากที่สุด (3 คะแนน) และกลุ่มป่าที่มีความ อุดมสมบูรณ์มาก (2 คะแนน) โดยกลุ่มป่าที่มีความอุดม สมบูรณ์มากที่สุด พบทั้งหมด 4 กลุ่มป่า ได้แก่ กลุ่ม ป่าตะวันตก, ภูเขียวน�้ำหนาว, ตะวันออก และดงพญา เย็น-เขาใหญ่ และกลุ่มป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์มาก พบ ทั้งหมด 13 กลุ่มป่า ได้แก่ กลุ่มป่าฮาลา-บาลา, แก่ง กระจาน, ภูเมี่ยง-ภูทอง, ลุ่มน�้ ำปาย-สาละวิน, คลอง
แสง-เขาสก, ศรีลานนา-ขุนตาล, แม่ปิง-อมก๋อย, พนม ดงรัก-ผาแต้ม, ภูพาน, เขาหลวง, เขาบรรทัด, ดอยภูคาแม่ยม และชุมพร ถึงอย่างไรก็ตามยังมีปัจจัยอื่นๆ หลายประเภท ที่ไม่สามารถน� ำมาวิเคราะห์ข้อมูลในการประเมินครั้ง นี้ ได้แก่ การล่าสัตว์/เก็บหาของป่า/ตัดไม้, ปศุสัตว์/โรค ระบาด, จ�ำนวนชนิดพันธุ์ต่างถิ่น, การท่องเที่ยว, การ ลาดตระเวน, แผนการจัดการระดับพื้นที่ และแผนการ จัดการระดับกลุ่มป่า เนื่องจากส่วนใหญ่เป็นข้อมูลที่ไม่มี ความชัดเจน และจัดประเภทยาก ท�ำให้ไม่สามารถน�ำมา ใช้ในการวิเคราะห์ในครั้งนี้ได้ อีกทั้งจากการศึกษาและ รวบรวมข้อมูลยังพบว่าข้อมูลระบบการลาดตระเวนที่ใช้ ในพื้นที่อนุรักษ์ยังไม่เป็นระบบมาตรฐานเดียวกัน ไม่มี เกณฑ์มาตรฐานในการชี้วัดที่ชัดเจน การประเมินคุณภาพป่าด้วยวิธีนี้เป็นรูปแบบ การประเมินขั้นพื้นฐานเพื่อให้เกิดความสะดวกและการ ใช้ข้อมูลที่รวดเร็ว สามารถน�ำไปประยุกต์และพัฒนา ต่อยอดต่อไปได้ ซึ่งการประเมินลักษณะนี้อาจจะเป็น วิธีการศึกษาหรือเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพในการจัด การพิ่มพื้นที่อนุรักษ์ให้มากขึ้นต่อไปในอนาคต ตาม ยุทธศาสตร์ชาติ ว่าด้วยการมีพื้นที่อนุรักษ์ ร้อยละ 40 ของประเทศ
สุขภาพป่า - 33
รายนามผู้ทรงคุณวุฒิ ศศิน เฉลิมลาภ ประธานมูลนิธิสืบนาคะเสถียร รตยา จันทรเทียร ประธานที่ปรึกษามูลนิธิสืบนาคะเสถียร ดร.ศักดิ์สิทธิ์ ซิ้มเจริญ นักวิชาการป่าไม้ช�ำนาญการพิเศษหัวหน้ากลุ่มงานวิจัยสัตว์ป่า กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช สมโภชน์ มณีรัตน์ ผู้อ�ำนวยการศูนย์ศึกษาการพัฒนาการจัดการเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช รศ.ดร.รัตนวัฒน์ ไชยรัตน์ ที่ปรึกษามูลนิธิสืบนาคะเสถียร และอาจารย์ประจ�ำคณะสิ่งแวดล้อมและ ทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล รศ.ดร.นริศ ภูมิภาคพันธ์ อาจารย์ประจ�ำภาควิชาชีววิทยาป่าไม้มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ดร.อนรรฆ พัฒนวิบูลย์ ผู้อ�ำนวยการสมาคมอนุรักษ์สัตว์ป่า (WCS) ประเทศไทย ดร.สรณรัชฎ์ กาญ จนะวณิชย์ ประธานกรรมการมูลนิธิโลกสีเขียว ดร.ชวลิต วิทยานนท์ กรรมการมูลนิธิสืบนาคะเสถียร และผู้เชี่ยวชาญ ด้านปลา โดม ประทุมทอง องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ ไพรวัลย์ ศรีสม ผู้เชี่ยวชาญด้านสัตว์สะเทินน�้ำ สะเทินบก น.สพ.ภัทรพล มณีอ่อน สัตวแพทย์สัตว์ป่า ประจ�ำกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช รุ่งสุริยา บัว สาลี นักนิเวศวิทยา นพรัตน์ นาคสถิตย์ กรรมการมูลนิธิสืบนาคะเสถียร เพชร มโนปวิตร ผู้ประสานงานองค์การ ระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ (IUCN) ประจ�ำประเทศไทย โชคนิธิ คงชุ่ม กลุ่มใบไม้ และเจ้าหน้าที่ฝ่าย วิชาการมูลนิธิสืบนาคะเสถียร
เอกสารอ้างอิง บัญชีรายชื่อสัตว์ป่าที่พบในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า. กลุ่มงานวิจัยสัตว์ป่า ส�ำนักอนุรักษ์สัตว์ป่า กรมอุทยาน แห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. บทสรุปสัตว์มีกระดูกสันหลังที่ถูกคุกคามของประเทศไทย พ.ศ. 2558 ฝ่ายความหลากหลายทางชีวภาพ ส�ำนักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทย. ส�ำนักอุทยานแห่งชาติ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช, 2557. โครงการศึกษาความเหมาะสมในการจัดท�ำแนวเชื่อมต่อทางนิเวศวิทยาของผืนป่าในกลุ่มป่าที่ส�ำคัญของ ประเทศไทย. ฐานข้อมูลกลุ่มป่าที่ส�ำคัญในประเทศไทย. ส่วนสารสนเทศด้านอนุรักษ์สัตว์ป่า กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. สถานภาพของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน�้ำนมขนาดใหญ่ในประเทศไทย, กลุ่มงานวิจัยสัตว์ป่า ส�ำนักอนุรักษ์สัตว์ป่า กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ตารางแสดงข้อมูลพื้นที่รับผิดชอบและพื้นที่บุกรุกด้วยภาพถ่ายดาวเทียม THEOS ปี 2557 รายป่าอนุรักษ์ ฐานข้อมูลหน่วยพิทักษ์, ส�ำนักอนุรักษ์สัตว์ป่า กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช สุขภาพป่า - 34
ร่วมสนับสนุนการรักษาป่าใหญ่กับมูลนิธิสืบนาคะเสถียรกับ ชุดจิ๊กซอว์ Tropical Rainforest of Thailand เปิดให้สั่งซื้อกันอีกครั้งแล้วส�ำหรับชุดจิ๊กซอว์ Tropical Rainforest of Thailand ที่สร้างสรรค์ผลงาน โดยเอเจนซี่ชื่อดังอย่าง Ogilvy Group Thailand โดย ในการสั่งซื้อจิ๊กซอว์ Tropical Rainforest of Thailand ครั้งนี้ผู้สนใจสามารถสั่งซื้อได้ทันที ไม่ต้องรอ หรือสั่ง จองล่วงหน้า และจะเป็นการผลิตรอบสุดท้าย จ�ำนวน จ�ำกัดเพียง 200 กล่อง หากหมดในครั้งนี้จะไม่มีการ ผลิตซ�้ำอีก จิ๊กซอว์ Tropical Rainforest of Thailand ราคากล่ อ งละ 1,500 บาท สั่งซื้อ ผ่านทางไลน์ไ อดี SNFSHOP หรือโทรสอบถามเพิ่มเติมได้ที่หมายเลข โทรศัพท์ 061-009-6690 หมายเหตุ จิ๊ ก ซอว์ ชุ ด นี้ ผ ลิ ต ด้ ว ยกระดาษรี ไ ซเคิ ล ทั้งหมด สุขภาพป่า - 35
สุขภาพป่า - 36