Seubbiodiversity2012

Page 1

รายงานฉบับสมบูรณ

โครงการบูรณาการคุณคา ความหลากหลายทางชีวภาพ สูแนวทางการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ

ในประเทศไทย

ระบบนิเวศ ปาไม โดย มูลนิธิสืบนาคะเสถียร ธันวาคม 2554


กิติกรรมประกาศ การศึกษานี้ ไดใชขอมูลจากการรวบรวมขอมูลสถิติของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช กรมปาไม และ เอกสารวิชาการเผยแพร ของสํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม ศูนยฝกอบรมวนศาสตรชุมชนแหงภูมิภาคเอเชีย แปซิฟค เปนขอมูลหลัก ซึ่งตองขอแสดงความชื่นชมนักวิชาการ และคณะทํางานที่กรุณาศึกษาวิจัย และจัดทําขอมูลที่มี ความสําคัญยิ่งเหลานี้ บันทึกไวเปนประโยชนตอการศึกษา วิเคราะหสถานการณความหลากหลายทางชีวภาพในครั้งนี้ เปนอยางยิ่ง ใครขอขอบคุณเปนพิเศษตอ สํานักงาน IUCN ประเทศไทย มูลนิธิสืบนาคะเสถียร สถาบันธรรมรัฐเพื่อพัฒนา สังคมและสิ่งแวดลอม ศูนยฝกอบรมวนศาสตรชุมชนแหงภูมิภาคเอเชียและแปซิฟก ที่ไดรวมแบงปนขอมูลและ ประสบการณ ขอขอบคุณบริษัท มิตซุย จํากัด (มหาชน) ที่ใหการสนับสุนนงบประมาณดําเนินงาน ผูศึกษา : ศศิน เฉลิมลาภ วรรโณบล ควรอาจ


สารบัญ รายการ

หนา

คํานํา กิติกรรมประกาศ 1. บทนํา

1

2. แนวคิดและการดําเนินงานดานความหลากหลายทางชีวภาพและการจัดการ ระบบนิเวศปาไมของประเทศไทย

6

3. สถานการณความเปลี่ยนแปลงเนื้อทีป่ าไมในรอบ 50 ป

19

4. สถานการณความเปลี่ยนแปลงชนิดของปาไมประเทศไทย

54

5. สถานการณการประกาศพื้นที่อนุรักษปาไมประเทศไทย

61

6. สถานการณความหลากหลายทางชีวภาพของพรรณพืชประเทศไทย

76

7. สถานการณความหลากหลายทางชีวภาพของพันธุสัตวปาประเทศไทย

94

8. สรุปและเสนอแนะ เอกสารอางอิง ภาคผนวก

111


คํานํา

กวา 10 ปที่ผานมานี้ คําวา “ความหลากหลายทางชีวภาพ” (Biodiversity) ไดถูกกลาวถึงในแวดวงวิชาการกวางขวาง ขึ้น โดยสวนใหญใหความสําคัญไปที่ระบบนิเวศปาไม อันเปนที่ยอมรับวาเปนระบบนิเวศที่มีความหลากหลายทาง ชีวภาพมากที่สุด แตอยางไรก็ดี ในชวงที่ผานมายังไมมีการรวบรวมสถานการณในภาพรวมของระบบนิเวศปาไมให ชัดเจนวามีขอมูลการเปลี่ยนแปลงในชวง 50 ป ที่ผานมาจนถึงปจจุบันเปนอยางไร องคกรสมาชิก IUCN ประเทศไทย จึงรวมกันริเริ่มโครงการบูรณาการคุณคาความหลากหลายทางชีวภาพสูแนวทางการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติในประเทศไทยนี้ โดยไดรับการสนับสนุนจากกองทุนสิ่งแวดลอม บริษัท มิตซุย จํากัด (มหาชน) โดยใหความสําคัญตอระบบนิเวศหลัก อันประกอบดวย ระบบนิเวศทางทะเลและชายฝง ระบบนิเวศน้ําจืด ระบบนิเวศปาไม ระบบนิเวศเกษตร และระบบนิเวศเมือง มูลนิธิสืบนาคะเสถียร ไดมีสวนรวมกับองคกรสมาชิก IUCN ประเทศไทย รวมดําเนินโครงการบูรณาการคุณคาความ หลากหลายทางชีวภาพสูแนวทางการจัดการทรัพยากรธรรมชาติในประเทศไทย (Integrating Biodiversity Values into National Resource Management Practices in Thailand) และไดรับมอบหมายใหรวบรวมขอมูลรวมถึงประเมิน สถานการณในภาพรวมเพื่อเพื่อนําไปสูการวางแผนจัดการทรัพยากรธรรมชาติในระดับตางๆ ตอไป รายงานการศึกษาฉบับนี้ ไดรวบรวมผลการศึกษาออกเปน แนวคิดและการดําเนินงานดานความหลากหลายทาง ชีวภาพและการจัดการระบบนิเวศปาไมของประเทศไทย สถานการณความเปลี่ยนแปลงเนื้อที่ปาไมในรอบ 50 ป สถานการณ ค วามเปลี่ ย นแปลงชนิ ด ของป า ไม สถานการณ ก ารประกาศพื้ น ที่ อ นุ รั ก ษ ป า ไม สถานการณ ค วาม หลากหลายทางชีวภาพของพรรณพืชและพันธุสัตวปา การวิเคราะหและประเมินสถานการณความหลากหลายทาง ชีวภาพประเทศไทย คณะผูศึกษา หวังวารายงานผลการดําเนินงานฉบับนี้ จะเปนประโยชนทั้งในแงการบันทึกขอมูลใหมีความชัดแจง และ ขอเสนอที่จะเปนประโยชนตอการบริหารจัดการในระดับตางๆ รวมทั้งสามารถนําไปขยายผลและเรียนรูใหกวางขวาง มากขึ้น มูลนิธิสืบนาคะเสถียร ธันวาคม 2555

คํานํา


1

1.บทนํา ความหลากหลายทางชีวภาพ หมายถึง การที่มีสิ่งมีชีวิตมากมายหลากหลายสายพันธุและชนิดในบริเวณหนึ่ง บริเวณใด นี้มีทั้งความผิดแผกแตกตางหลายหลากของพันธุกรรมในชนิดพันธุเดียวกัน และความหลากหลายในชนิด พันธุ รวมถึงความหลากหลายในระบบนิเวศ ประเทศไทยตั้งอยูในเขตรอนชื้น เปนแหลงพรรณไมจํานวนมากสรรพสัตวนานาชนิด และจุลินทรียมากมาย หากเทียบกับในระบบนิเวศเขตอบอุนและเขตหนาว ซึ่งสภาพแวดลอมในบริเวณนั้น มิไดเอื้ออํานวยใหสิ่งมีชีวิตหลาย ชนิดสามารถดํารงชีวิตอยูรอดจึงมีความหลากหลายทางชีวภาพนอยกวาระบบนิเวศเขตรอน ประเทศไทยมีพรรณพืชประมาณ 15,000 ชนิด คิดเปนรอยละ 8 ของพรรณพืชทั้งโลก ในขณะที่ประเทศ ใน ยุโรปเหนือ เชน นอรเวย และสวีเดน มีพรรณพืชประมาณ 1,800 ชนิดเทานั้น เชนเดียวกันประเทศไทยมีสัตวมี กระดูก สันหลังประเภทสัตวเลี้ยงลูกดวยนม นก สัตวเลื้อยคลาน และสัตวสะเทินนํ้าสะเทินบก รวมแลวประมาณ 1,721 ชนิด ในขณะที่ประเทศนอรเวยและสวีเดน มี 299 และ 328 ชนิด ตามลําดับ ในทองทะเลไทยพบวา มีปลาทะเลประมาณวา ไมตํ่ากวา 2,000 ชนิด ซึ่งคิดเปนรอยละ 10 ของทั่วโลก หอยประมาณ 2,000 ชนิด สัตวไมมีกระดูกสันหลังอื่นๆ รวมกันอีก 11,900 ชนิด ในอนุภูมิภาคอินโดมาลายันนี้เปนศูนยกลางของการกระจายตัวของสัตวทะเลในภูมิภาคแถบนี้ นานนํ้าไทยจึงมีความหลากชนิดของสัตวทะเล สูงมากเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณอื่นๆ ในโลก (สํานักงานนโยบายและ แผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม, 2547) ประเทศไทยอยูในเขตชีวภูมิศาสตรอินโดมาลายัน ซึ่งทางตอนเหนือของประเทศอยูในเขตอนุภูมิภาคอินโดจีน สวนทางใตอยูในเขตอนุภูมิภาคซุนดา แตพืชและสัตวจะไดรับอิทธิพลบางสวนจากเขตอินเดีย (Indian region) และพาลี อารคทิค (Palearctic region) ดวย (Mackinnon และ Mackinnon, 1986) โดยแบงออกเปน 6 เขต ชีวภูมิศาสตรใหญๆ ซึ่งจํากัดขอบเขตของทองถิ่นและชนิดพันธุประจําถิ่น ดังนี้ • ที่สูงภาคเหนือ ลอมรอบดวยแนวเขา และหุบเขากวางๆ ลงมาทางตอนใต จากแนวชายแดนพมาและ ลาว ประมาณละติจูดที่18 องศาเหนือ สภาพโดยทั่วไปเปนภูเขาที่มีระดับความสูงมากกวา 1,000 เมตร ทําใหเหมาะสมแกการเจริญเติบโตของพรรณไมปาดิบเขาบริเวณที่มีความลาดชันนอย จะพบ ปา ผสมผลัดใบเขตมรสุม และพบปา เต็งรั งในบริ เวณที่ราบหุ บเขา ซึ่งถู ก เปลี่ย นแปลงไปเพื่อทํ า การเกษตรที่สูง • ที่ราบสูงโคราช ครอบคลุมทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชวงระหวางเพชรบูรณทางตะวันตกและ เทือกเขาดงรักทางตอนใต ทอดตามแนวยาวชายแดนกัมพูชา ปจจุบันมีพื้นที่ปาถูกทําลายอยาง กวางขวาง แตยังคงมีปาดิบชื้น ปาดิบแลง เหลืออยูในบริเวณนี้บางสวน


2

• ที่ราบภาคกลางของแมนํ้าเจาพระยา ปจจุบันเปนพื้นที่ที่มีการทํานาขาวอยางกวางขวาง บึงนํ้าจืด ดั้งเดิมและปา มรสุมไดหมดไปแลว ที่สูงตะวันออกเฉียงใต คือสวนที่ตอเนื่องมาจากภูเขา ชายแดน แถบเทือกเขาพนมกระวานในกัมพูชาซึ่งมีสภาพภูมิ ประเทศเอื้ออํานวยตอสังคมปากึ่งดิบชื้นเขต รอน . • เทือกเขาตะนาวศรีทอดแนวไปทางใตตามแนวชายแดนประเทศพมามีความสูงชันจากระดับนํ้าทะเล ประมาณ 1,000 เมตร แตเทือกเขานี้จะอยูภายใตเขตเงาฝนของเทือกเขาเดียวกันในประเทศพมาที่ สูงกวา บนเทือกเขานี้ปากึ่งดิบชื้นเขต รอนเกิดขึ้นบนพื้นที่ที่มีระดับความสูง บริเวณที่ลาดชันปก คลุมดวยปาผลัดใบ ซึ่งปจจุบันไดถูกถางออกหรือทําลายจนเสื่อมโทรมและแทนที่ดวยไผและทุงหญา • คาบสมุทรตอนใต ครอบคลุมพื้นที่ทางตอนใตของประเทศไทย ตั้งแตคอคอดกระจนถึงชายแดน ไทย–มาเลเซียและที่คอคอดกระนี้แยกชนิดพันธุพืชและสัตวกลุมอินโดจีน ออกจากกลุมคาบสมุทร มาเลเซียอยางชัดเจนเดิมคาบสมุทรตอนใตเปนพื้นที่ที่มีฝนตกชุกและครอบคลุมดวยปาดิบชื้น แตปา ที่ราบตํ่าเกือบทั้งหมด ไดถูกใชเปนพื้นที่เพื่อทําการเกษตร ปาที่เหลือยังคงมีแนวเขตปาตามเนินเขา แตก็ถูกคุกคามโดยการบุกรุกทําไรและปลูกยางพารา ความแตกตางในระบบนิเวศดังกลาวไดทําใหชนิดพันธุพืชและสัตวมีความหลากหลายตางกัน ดังนั้นชนิดพันธุ นกและ สัตวเลี้ยงลูกดวยนมบนที่สูงภาคเหนือจะเกี่ยวของสัมพันธกับชนิดพันธุในเขตประเทศจีน และยังพบวามีสัตว จํานวนมากที่ไม พบในที่อื่นใดในประเทศไทยอีกนอกจากบริเวณนี้ สวนทางคาบสมุทรตอนใตจะเปนแหลงรวมจํานวน ชนิดพันธุ ซึ่งพบวา ลักษณะชนิดพันธุนกและสัตวเลี้ยงลูกดวยนมมีความสัมพันธกับชนิดพันธุในเขตซุนดา ความหลากหลายของพรรณพฤกษชาติ ตามภาคตา ง ๆ สวนใหญจะคลายคลึงกับพรรณพฤกษชาติของ ประเทศเพื่อนบาน ประเทศ ไทยจึงเปนแหลงรวมของกลุมพรรณพฤกษชาติ (Floristic elements) ประจําภูมิภาคใหญ ๆ ถึง 3 กลุมดวยกัน ไดแก กลุม พรรณพฤกษชาติภูมิภาคอินเดีย–พมา (India–Burmese elements) กลุมพรรณ พฤกษชาติภูมิภาคอินโดจีน (Indo–Chinese elements) และกลุมพรรณพฤกษชาติภูมิภาคมาเลเซีย (Malesian elements) ในทางวิชาการดานชีววิทยา มีการศึกษาวาโลกมีการสูญเสียสัตวและพืชในปาเขตรอน อยางนอย 27,000 ชนิดตอป จากหลักฐานพบวาในยุคกอนที่มนุษยจะถือกําเนิดมา อัตราสูญพันธอยูใน 1 ชนิด ใน 4 ป เทากับอัตราการ สูญพันธุสูงกวายุคกอนประวัติศาสตรถึง 120,000 เทา คาดวาในอนาคต โลกจะตองสูญเสียชนิดพันธุครึ่งหนึ่งของที่มี อยูภายในสิ้นศตวรรษหนา ประเทศไทยเปนพื้นที่สูญเสีย สมัน (Cervus schomburgki) เมื่อป 2475 ไปจากโลก และยืนยันไดวา มีสัตว ปาที่สูญพันธุไปจากประเทศไทย แลว คือ นกชอนหอยใหญ (Pseudibis giganlen) และนกพงหญา (Graminicola bengalensis) รวมถึงไมพบ แรดชวา (Rhinoceros sondaicus) กูปรี (Bos sauyeli) นกกระสาปากเหลือง (Mycteria cineria) นกชอนหอยดํา (Pseudibis papillosa) นกกระเรียน (Grus antigone) และจระเขปากกระทุงเหว (Tomistoma schlegelii) ในสภาพธรรมชาติอีกตอไป (สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม, 2547)


3

การคุกคามที่รุนแรงที่สุดตอการรักษาความหลากหลายทางชีวภาพไดแก การรบกวนสภาพที่อยูอาศัยตาม ธรรมชาติและระบบนิเวศ การเปลี่ยนแปลงเนื้อที่ปาไมเปนพื้นที่เกษตรกรรม การสรางเขื่อนและอางเก็บน้ํา ความเปน เมืองการทองเที่ยว และภาวะมลพิษ ลวนแตกอใหเกิดการลดลงของจํานวนประชากรพืช และสัตวปา และเกิดการ คุกคามตอชีวิตในปา ในปจจุบันเปนที่ยอมรับในระดับของภาคีอนุสัญญาความหลากหลายทางชีวภาพ (Convention on Biological Diversity-CBD) ถึงหลักการที่วาความหลากหลายทางชีวภาพมีบทบาทสําคัญบางประการ ดังตอไปนี้ (วิเทศ ศรีเนตร, 2549) • ความหลากหลายทางชีวภาพเกื้อหนุนค้ําจุนหนาที่ของระบบนิเวศ • บริการจากระบบนิเวศที่สมบูรณเปนรากฐานใหเกิดการกินดีอยูดีของมนุษย • หากรบกวนหนาที่ของระบบนิเวศโดยทําใหสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ จะทําใหระบบนิเวศ ออนแอลง • ระบบนิเวศที่สมบูรณสําคัญตอความเปนอยูของผูคนตลอดเวลา (ภาพประกอบที่ 1) • มูลคาที่ไดจากระบบนิเวศที่ไดรับการจัดการดีอยางยั่งยืนมากกวาที่ไดจากระบบนิเวศที่เปลี่ยนไป เพื่อประโยชนทางธุรกิจ ซึ่งทําใหเกิดการจัดการอยางไมยั่งยืน (ภาพประกอบที่ 2) • ในระดั บ ภาคี ข องอนุ สั ญ ญาดั ง กล า วมี ค วามจํ า เป น ที่ ต อ งผสานเชื่ อ มต อ ส ว นที่ มี บ ทบาทสํ า คั ญ (actors) ในภาคสวนเศรษฐกิจ ซึ่งเปนตัวผลักดันสําคัญที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงเพื่อลดและ บรรเทาผลกระทบ (ภาพประกอบที่ 3) • การผสานความหลากหลายทางชีวภาพสูภาคสวนที่เกี่ยวของไดแก อาการและการเกษตร พลังงาน การคา การพัฒนาและลดความยากจน (ภาพประกอบที่ 4)


4

ภาพที่ 1 ความหลากหลายทางชีวภาพ บทบาทหนาที่ของระบบนิเวศ, การใหบริการของระบบนิเวศ และ แรงผลักดันใหเกิดการเปลี่ยนแปลง จากรายงานโลกทรรศความหลากหลายทางชีวภาพ (2549)

ภาพที่ 2 ผลประโยชนทางเศรษฐกิจภายใตวิถีการปฏิบัติตางๆ ที่แสดงใหเห็นวามูลคาที่ไดจากระบบนิเวศที่ ไดรับจากการจัดการที่ดีมากกวาระบบนิเวศที่ถูกเปลี่ยนแปลงเพื่อประโยชนทางธุรกิจ จากรายงานโลกทรรศ ความหลากหลายทางชีวภาพ (2549)


5

ภาพที่ 3 ปจจัยผลักดันโดยตรงตอการเปลี่ยนแปลงของความหลากหลายทางชีวภาพและระบบนิเวศ จาก รายงานโลกทรรศความหลากหลายทางชีวภาพ (2549)

ภาพที่ 4 ความเชื่อมโยงระหวาง อาหาร พลังงาน และการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ จากรายงาน โลกทรรศความหลากหลายทางชีวภาพ (2549)


6

2. แนวคิดและการดําเนินงานดานความหลากหลายทาง ชีวภาพและการจัดการระบบนิเวศปาไมของประเทศไทย 2.1

ความหลากหลายทางชีวภาพและการอนุรักษ

ความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity หรือ Biological diversity) ถูกนํามาใชในแวดวงวิชาการของ ประเทศไทย เมื่อปลายป 2532 มีความหมายกวางขวางและครอบคลุมถึงความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตทั้งพืช สัตว จุลิ นทรียในทุกระดับ ที่มีความเชื่อมโยงกันเปนสายใยในระบบนิเวศ โดยทั่วไปจําแนกออกเปน 3 ระดับ ไดแก (1) ความหลากหลายทางพันธุกรรม (Genetic diversity) หรือ ลักษณะทางพันธุกรรมที่สิ่งมีชีวิตแต ละชีวิตไดรับการถายทอดมาจากรุนพอแม และสงตอไปยังรุนถัดไป ความหลากหลายทางพันธุกรรมมีอยูทุกหนแหง ตั้งแตสีของใบไม สีของขนนก รสและกลิ่นของผลไมที่แตกตางกัน ในกรณีของมนุษยจะเห็นไดชัดเจนจาก สีและ ลักษณะของเสนผม สีของนัยนตา รวมถึงสีผิวที่แตกตางกัน ถึงแมจะเปนพี่นองสืบสายเลือดเดียวกันก็ตาม (2) ความหลากหลายทางชนิดพันธุ (Species diversity) หมายถึงจํานวนชนิด และจํานวนหนวย สิ่งมีชีวิตที่เปนสมาชิก ของแตละชนิดที่มีอยูในแหลงที่อยูอาศัยของประชากรนั้นๆ หรือหมายถึงความหลากหลายของ ชนิดสิ่งมีชีวิต (species) ที่มีอยูในพื้นที่หนึ่งนั่นเอง นักวิทยาศาสตรเชื่อกันวา สิ่งมีชีวิตทั้งหมดที่วิวัฒนาการอยูบนโลก นี้ในปจจุบันมีจํานวนชนิดอยูระหวาง 2-30 ลานชนิด โดยที่มีบันทึกอยางเปนทางการแลวประมาณ 1.4 ลานชนิด (3) ความหลากหลายของระบบนิเวศ (Ecological diversity) คือความซับซอนของลักษณะพื้นที่ที่ แตกตางกันในแตละภูมิภาคของโลก เมื่อประกอบกับสภาพภูมิอากาศ ลักษณะภูมิประเทศทําใหเกิดระบบนิเวศหรือถิ่น ที่อยูอาศัยของสิ่งมีชีวิตที่แตกตางกัน การที่สามารถพบสิ่งมีชีวิตอาศัยอยูในแตละพื้นที่ไดโดยผานการคัดเลือกตาม ธรรมชาติตามกระบวนการวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต หลักการทั่วไปในการอนุรักษทรัพยากรทางชีวภาพ มีแนวคิดหลัก 2 ประการ คือ • anthropocentric มีเจตนาที่ใหผลประโยชนแกมนุษยทั้งสิ้น การอนุรักษสัตวปา และพืชปาก็เพื่อที่ มนุษยจะไดประโยชนตอไป • biocentric เห็นความสําคัญของพืชปาและสัตวปาโดยความสําคัญของตัวมันเอง เปนการอนุรักษ เพราะเห็นคุณคาของการอนุรักษ ในการกําหนดกฏเกณฑเพื่อการอนุรักษ แบงเปน 3 แนวทาง คือ • species approach คือการอนุรักษและคุมครองชนิดพันธุ ตัวอยางเชน อนุสัญญาไซเตส วิธีคุมครอง คือ การกําหนดบัญชีรายชื่อชนิดพันธุวาชนิดพันธุใดตองการจะคุมครอง โดยแยกออกเปน บัญชี หมายเลข 1, 2, และ 3 กฏหมายภายในเชน พระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวืปา ก็ใชวิธี เดียวกัน คือ การกําหนดบัญชีรายชื่อสัตวเปนสัตวปาสงวนและสัตวปาคุมครอง และใชมาตรการทาง กฏหมายเปนเครื่องมือในการคุมครอง • habitat approach การอนุรักษแหลงที่อยูอาศัย จะทําโดยกําหนดพื้ยที่ เชน อนุสัญญาแรมซาร ซึ่งมี วิวัฒนาการมาจากการอนุรักษนกน้ําในยุโรป ซึ่งอนุรักษแหลงน้ําที่เปนแหลงที่อยูและแหลงอาการ


7

ตลอดจนแหลงขยายพันธุ พระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปา กําหนดพื้นที่คุมครองเปนสอง ประเภท คือ เขตรักษาพันธุสัตวปา และ เขตหามลาสัตวปา กฏหมายประมงกําหนดเปนเขตรักษา พืชพันธุ • activities/ process approach ในปจจุบันเริ่มเนนมากขึ้นโดยเฉพาะกฏหมายที่เกี่ยวของกับ สิ่งแวดลอมโดยตรง เชนอุตสาหกรรมควบคุมการผลิตในโรงงาน หรือตัวอยางการกําหนดใหประเทศ ที่จะสงกุงไปสหรัฐถาจับโดยวิธีลากอวนจะตองติดตั้งเครื่องมือแยกเตา ถาไมติดตั้งเครื่องมือก็จะไม สามารถสงกุงไปได อนุสัญญาและกฏหมายระหวางประเทศซึ่งคุมครองและอนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพ สําหรับขอตกลง ทางสิ่งแวดลอม (Environmental agreement) ที่สําคัญเกี่ยวของกับระบบนิเวศปาไม มีดังนี้ ป พ.ศ. 2493 (ค.ศ. 1950) อนุสัญญาวาดวยการคุมครองนก (International Convention for the Protection of Bird, Paris) เพื่อคุมครองนกในธรรมชาติ ป พ.ศ. 2494 (ค.ศ. 1951) อนุสัญญาวาดวยการคุมครองพืช (International Plant Protection Convention, Rome) เพื่อรักษาระดับและเพิ่มความรวมมือนานาชาติในการควบคุมแมลง และเชื้อโรค ป พ.ศ. 2513 (ค.ศ.1970) อนุสัญญาวาดวยการคุมครองมรดกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติของโลก (Convention Concerning the Protection of the world Cultural and Natural Heritage) ไทยไดเขารวมเปนภาคี สมาชิกและไดกําหนดใหเขตรักษาพันธุสัตวปาทุงใหญ-หวยขาแขงเปนมรดกทางธรรมชาติ ป พ.ศ. 2514 (ค.ศ.1071) อนุสัญญาวาดวยการอนุรักษพื้นที่ชุมน้ํา (Convention on Wetland of International Importance especially as Waterfowl Habitat) หรือ Ramsar Convention ป พ.ศ. 2516 (ค.ศ. 1973) อนุสัญญาไซเตส (The Convention on International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and Flora) ซึ่งมีเจาหนาที่จากกรมปาไม (ในขณะนั้น) รวมรางอนุสัญญา และลงนามรับรอง อนุสํญญาในป พ.ศ. 2518 (ค.ศ. 1975) และใหสัตยาบันในป 2526 (ค.ศ.1983) ถึงแมกรมปาไมจะมีพระราชบัญญัติ สงวนและคุมครองสัตวปา พ.ศ. 2503 แตก็มิไดมีบทบัญญัติที่รองรับอนุสัญญาไซเตสอยูเลย จนกระทั่งประเทศไทยถูก ประกาศหามทางการคา จึงเปนเหตุใหตองรางกฏหมายสงวนและคุมครองสัตวปาฉบับใหมขึ้นมาใน พ.ศ. 2535 และมี การประกาศรายชื่อสัตวปาคุมครองใหอยูในบัญชีไซเตส ตามบัญชีหมายเลข 1, 2 และ 3 โดยใชอํานาจตามมาตรา 23 เพราะมีบทบัญญัติลงโทษ (ชุมเจตน กาญจนเกษร, 2539) ป พ.ศ. 2522 (ค.ศ. 1979) อนุสัญญาวาดวยการอนุรักษชนิดพันธุที่มีการอพยพยายถิ่น (Bonn Convention of Migratory Species of Wild Animals) เพื่ออนุรักษชนิดพันธุที่มีการอพยพยายถิ่น ซึ่งไทยยังมิไดเขา เปนภาคีสมาชิก ป พ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1992) การประชุมสุดยอดสิ่งแวดลอมโลกที่ริโอ เดอ จาเนโร จบสิ้นลงดวยการมีอนุสัญญา 2 ฉบับ คือ อนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพ (Convention on Biological Diversity-CBD) และ อนุสัญญาวาดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก (Framework Convention on Climate Change) ซึ่ง ประเทศไทยไดลงนามในอนุสัญญาทั้งสองฉบับในการประชุมดังกลาว ปจจุบัน ประเทศไทยไดเขาเปนภาคีอนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพ ลําดับที่ 118 และมีผล บังคับใชเมื่อวันที่ 29 มกราคม 2547 ซึ่งประเทศไทยตองดําเนินงานตามมติและพันธกรณีตลอดจนโปรแกรมงานของ อนุสัญญา ในฐานะภาคีตามมาตรา 7(a) ตามอนุสัญญาที่กําหนดใหภาคีจําแนก วินิจฉัย องคประกอบของความ


8

หลากหลายทางชีวภาพที่สําคัญสําหรับการอนุรักษและการใชประโยชนอยางยั่งยืน โดยพิจารณารายการซึ่งระบุตาม ประเภทชนิดพันธุที่ใกลสูญพันธุ ชนิดพันธุหายาก และชนิดพันธุเฉพาะถิ่น หรือชนิดพันธุที่ถูกคุกคาม และมาตรา 8(k) กํา หนดใหภาคีจั ดทํา หรือธํารงครัก ษากฏขอบังคับที่ จําเปนและ/หรือขอกําหนดระเบียบบังคับตางๆ เพื่อเปน การ คุมครองชนิดพันธุและประชากรที่ถูกคุกคาม

2.2

เกณฑจําแนกชนิดพันธุที่ถูกคุกคาม

ประเทศไทยไดดําเนินการอนุรักษทรัพยากรชีวภาพมาเปนเวลานาน การศึกษาเกี่ยวกับอนุกรมวิธานของพืช และสัตวมีมาเกือบรอยป ปจจุบันมีการรวบรวมพรรณพฤกษชาติและพันธุสัตวไดเกินกวา 80 % ของประเทศ การจัด สถานภาพเฉพาะในประเทศไทยนั้น มีการประชุมทางวิชาการเรื่องความหลากหลายทางชีวภาพ และมีนักวิชาการซึ่ง เปนผูเชี่ยวชาญในการศึกษาในกลุมตางๆที่ไดรับการยอมรับในระดับประเทศดานชีววิทยาไดวิเคราะหประเมินไวใน เบื้องตน ในหนังสือ ความหลากหลายทางชีวภาพประเทศไทย (2532) ครอบคลุมสิ่งมีชีวิตในประเทศไทยเกือบทุกกลุม และสถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทยไดจัดทําไวใน พ.ศ. 2533 แตอยางไรก็ตามอาจกลาวไดวา สถานภาพดั ง กล า วยั ง มี ค วามเห็ น ที่ ไ ม ส อดคล อ งอยู บ า งจากนั ก วิ ช าการบางส ว น (สํ า นั ก งานนโยบายและแผน สิ่งแวดลอม, 2539) เกณฑจําแนกชนิดพันธุที่ถูกคุกคาม (Threatened species categories) ที่ใชใน Red Data book และ Red List ของ IUCN เปนเกณฑที่ไดรับการยอมรับอยางกวางขวางในระดับนานาชาติ ไดถูกนํามาใชอางอิงในเอกสารและ บัญชีรายชื่อในประเทศตางๆ เกณฑในการจําแนกชนิดพันธุที่ถูกคุกคามประกอบดวยวิธีการในการระบุชนิดพันธุที่มี ความเสี่ยงตอการสูญพันธุที่เขาใจงาย เพื่อชวยในการกําหนดมาตรการดานการอนุรักษและคุมครองชนิดพันธุดังกลาว ตั้งแต พ.ศ. 2539 เปนตนมา สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม (ในขณะนั้น) ไดจัดทํา “รายงาน สถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย (Biodiversity Country Study) ขึ้น ในฐานะหนวยงาน ประสานงานกลางของอนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อรวบรวมขอมูล ตลอดจน สถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพที่เปนปจจุบัน เพื่อใชเปนหลักฐานในการคนควาอางอิง ตลอดจนใชเปนขอมูล พื้นฐานในการพิจารณาดําเนินโครงการพัฒนาและใชประกอบการพิจารณาในการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมที่เกิด จากโครงการพัฒนาตางๆ ที่มักประสบปญหาเกี่ยวกับสถานภาพที่ไดรับการยอมรับวาชนิดพันธุใดอยูในภาวะหายาก ใกลสูญพันธุ หรืออยูในภาวะถูกคุกคาม ที่มีเอกสารอางอิงที่ตรวจสอบไดเพียง IUCN Red DATA Book เทานั้น ซึ่ง แสดงสถานภาพและแหลงที่พบของพืชและสัตวทั่วโลก ไมมีจําเพาะเจาะจงของประเทศไทย ปจจุบัน สํา นักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ไดจัดประชุมเพื่อจัดสถานภาพ ทรัพยากรชีวภาพประเทศไทยขึ้น โดยไดพิจารณาสถานภาพของสัตวเลี้ยงลูกดวยนม นก สัตวเลื้อยคลาน สัตวสะเทิน น้ําสะเทินบก และปลา รวมถึงพืช โดยพิจารณาสถานภาพตามแนวทางเอกสาร IUCN Red List Categories รุน (version) 2.3: IUCN (1994) และ (version) 3.1: IUCN (2001) ซึ่งเปนเกณฑปจจุบัน สามารถจัดทําขอมูลสถานภาพ ถิ่นที่อยูอาศัย การแพรกระจาย และทะเบียนรายการชนิดพันธุที่ถูกคุกคามของประเทศไทย (Thailand Red Data) ในป 2548 (2005) สามารถใชเปนขอมูลพื้นฐานในการปรับปรุง กลไก มาตรการ ในการอนุรักษ คุมครอง และบริหารความ หลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทยตอไป


9

ในการประเมินสถานภาพของชนิดพันธุในป 2539 ใชเกณฑจําแนกรุน (version) 2.3: IUCN (1994) ซึ่ง ประกอบไปดวย • • • • • • • •

สถานภาพสูญพันธุ (Extinct-EX) สูญพันธุในธรรมชาติ (Extinct in Wild-EW) ใกลสูญพันธุอยางยิ่ง (Critically Endangered-CR) ใกลสูญพันธุ (Endangered-EN) มีแนวโนมใกลสูญพันธุ (Vulnerable-VU) มีความเสี่ยงนอย (Lower Risk-LK) ขอมูลไมเพียงพอ (Data Deficient-DD) ไมไดรับการประเมิน (Not Evaluated-NE)

สําหรับสถานภาพที่มีความเสี่ยงนอย (Lower Risk-LR) ยังแบงออกเปน 3 กลุมยอย คือ กลุมที่ขึ้นอยูกับการ อนุรักษ (Conservation Dependent-CD) กลุมที่ใกลถูกคุกคาม (Near Threatened-NT) และกลุมที่เปนกังวลนอยที่สุด (Least Concern-LC) สําหรับโครงสรางในการประเมินสถานภาพตาม IUCN ในป 2548 (2005) ไดยกระดับสถานภาพกลุมยอยของ สถานภาพที่มีความเสี่ยงนอย (Lower Risk-LR) กลุมที่ใกลถูกคุกคาม (Near Threatened-NT) กลุมที่เปนกังวลนอย ที่สุด (Least Concern-LC) ขึ้นเปนสถานภาพหลัก และตัดสถานภาพความเสี่ยงนอย ในกลุมยอยกลุมที่ขึ้นอยูกับการ อนุรักษ (Conservation Dependent-CD) ออก (รายละเอียดการใชเกณฑประเมินแสดงไวในภาคผนวก)


10

ภาพที่ 2-1 โครงสรางของเกณฑในการจําแนกรุน (version) 2.3: IUCN (1994) เพื่อใชในการจัดทําบัญชีรายชื่อระหวางป 2539-2544 (1996-2001)

ภาพที่ 2-1 โครงสรางของเกณฑในการจําแนกรุน (version) 3.1: IUCN (2001) เพื่อใชในการจัดทําบัญชีรายชื่อป 2546 (2003) เปนตนมา


11

2.3 สาเหตุของการลดลงของความหลากหลายทางชีวภาพ 1

ภัยคุกคามตอความหลากหลายทางชีวภาพ (Threats to Biodiversity)
 Edward O. Wilson 
ไดเสนอคํายอ ของภัยคุกคามตอความหลากหลายทางชีวภาพ โดยใชคํายอ H.I.P.P.O (ฮิปโป) โดยนําตัวอักษรนําหนาของภัยคุกคาม ตอความหลากหลายทางชีวภาพมาประกอบเปนคําเพื่อใหงายตอการจดจํา ประกอบดวย 1. H: Habitat Lost หรือการสูญเสียถิ่นที่อยูอาศัย นับวาเปนปญหาสําคัญที่สุด เนื่องจากประชากร มนุษยมีเพิ่มมากขึ้นทุกป และเริ่มขยายถิ่นฐานออกไปเรื่อยๆ ทําใหเกิดการทําลายพื้นที่ตามธรรมชาติ มากขึ้น ซึ่งหมายความวาสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ที่เคยอยูในพื้นที่นั้นก็จําตองสูญเสียถิ่นที่อยูไป

 2. I: Invasive Species หรือการรุกรานของชนิดพันธุตางถิ่น คือสิ่งมีชีวิตที่มาจากถิ่นฐานอื่น ซึ่งไมได วิวัฒนาการในถิ่นฐานนั้นโดยธรรมชาติแตถูกโยกยายใหเขาไปอยูในถิ่นนั้น จึงไมมีผูลา(Predator) หรือ ผูบริโภคเปนอาหารตามธรรมชาติและบอยครั้งที่สิ่งมีชีวิตตางถิ่นจะหาทรัพยากรอาหาร ดํารงชีวิต หรือมี ความตานทานตอการเปลี่ยนแปลงดานสิ่งแวดลอมไดดีกวาสิ่งมีชีวิตเดิมที่อยูในถิ่นฐานนั้น จึงทําใหเกิด การแกงแยงเชิงนิเวศ และการผสมขามสายพันธุ ทําใหสายพันธุดั้งเดิมหายากมากขึ้น หรือหายไปจาก พื้นที่นั้น 3. P: Population หรือจํานวนประชากร ซึ่งหมายถึงปญหาประชากรมนุษย (Human Population) เมื่อ จํานวนประชากรมนุษยพุงสูงขึ้นก็จําเปนตองใชทรัพยากรมากขึ้นและตองมีพื้นที่เพื่อรองรับประชากรที่ เพิ่มจํานวนมากขึ้น 4. P: Pollution หรือมลพิษ มลพิษสงผลตอสุขภาพของสิ่งมีชีวิต ทําใหเกิดโรค เจ็บปวย ตาย และ สิ่งมีชีวิตมีจํานวนลดลง 5. O: Over Exploitation หรือการใชประโยชนมากเกิดความพอดี ซึ่งในที่นี้หมายถึงการที่มนุษยใช ประโยชน จ ากสิ่ ง แวดล อ มมากเกิ น ไป ทั้ ง การเก็ บ พื ช การตั ด ไม ทํ า ลายป า การล า สั ต ว และการนํ า ทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ มาใชในอัตราที่สูงจนเกินที่ธรรมชาติจะทดแทนไดทัน สําหรับสาเหตุของการลดลงของความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย ไดแก การนํามาใชประโยชน มากเกินไป การคาขายสัตวและพืชปาแบบผิดกฎหมาย การรบกวนแหลงที่อยูอาศัยตามธรรมชาติ และการสูญเสีย แหลงที่อยูอาศัย ตัวอยางเชนการลาสัตวในอดีตที่มาเกินไปสงผลใหสัตวเฉพาะถิ่นอยางสมัน ซึ่งอาศัยอยูในปาดงดิบที่ ลุมแมน้ําเจาพระยาตอนกลาง สูญพันธุไปจากประเทศไทย เมื่อสัตวเฉพาะถิ่นสูญพันธุนั่นคือการสูญพันธุไปจากโลก ดวย การคาสัตวและพืชปาอยางผิดกฎหมายเปนการคุกคามโดยตรงอีกประการหนึ่งตอความหลากหลายทาง ชีวภาพ ความตองการสัตวและพืชหากยาก ทําใหราคาของสิ่งมีชีวิตชนิดนั้นสูงมาก และทําใหสัตวและพืชที่กําลังจะสูญ พันธุตองเผชิญกับการลาและการขุดถอนอยางผิดกฎหมาย เพื่อการบริโภคในทองถิ่นและเพื่อสงออก การกระทําเชนนี้ เปนเหตุใหเกิดการลดลงของประชากรสัตวและพืชปาอยางรวดเร็ว จนบางชนิดไดสูญพันธุไปในที่สุด การคุกคามที่รุนแรงที่สุดตอการรักษาความหลากหลายทางชีวภาพไดแก การรบกวนสภาพที่อยูอาศัยตาม ธรรมชาติและระบบนิเวศ การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ปาไมทั้งปาดิบชื้นและปาชายเลน การกอสรางอางเก็บน้ําและเขื่อนพลัง น้ํา ความเปนเมืองการทองเที่ยวและภาวะมลพิษ ลวนแตกอใหเกิดการลดลงของจํานวนประชากรสัตวและพืชปา และ เกิดการคุกคามตอชีวิตในปา 1

"Hippo dilemma".Windows on the Wild: Science and Sustainabiliy. New Africa Books. 2005.


12

การตัดไมจากปาธรรมชาติ เปนสาเหตุหนึ่งที่กอใหเกิดผลกระทบอยางลึกซึ้งตอความหลากหลายทางชีวภาพ โดยการลดจํานวนไมยืนตนลงเปนการทําใหโครงสรางของปาเปลี่ยนแปลงไป ไมใหญในปาใหอาหารและที่อยูอาศัยแก สัตวปา ควบคุมโครงสรางของปาและสภาพภูมิอากาศ ลดการทับถมยอยสลายของไมท่ีตายลง ทําใหเกิดการสะสมธาตุ อาหารในพื้นลางของปาลดลง อันจะสงผลกระทบถึงความหลากหลายของชนิดพันธุสัตวและจุลินทรีย รวมถึงไมพุมและ พืชระดับลาง นอกจากนี้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศซึ่งมีสาเหตุมาจากการภาวะโลกรอน ก็เปนสาเหตุหนึ่งที่จะทําให เกิดการลดลงของชนิดพันธุพืช และสัตว ที่ไมสามารถปรับตัวตามการเปลี่ยนแปลงได

2.4 วิวัฒนาการของนโยบายและกฎหมายเพื่อการจัดการทรัพยากรปาไมของประเทศไทย (ปรับปรุงจาก ระวี ถาวร, ไมระบุป) ประเทศไทยในยุคแรกๆ ราษฏรไดใชประโยชนจากการลาสัตวปา และเก็บหาของปาตางๆ มีการสงหนังกวาง งาชาง นอแรด ไม และของปาตางๆ ไปขายยังตางประเทศเปนจํานวนมาก เพื่อการกําหนดชนิดไม และเก็บภาษีไม สงออก โดยเฉพาะไมสักซึ่งมีการคาขายมายาวนานตั้งแตกรุงรัตนโกสินทรตอนตนอยูในเฉพาะตลาดเอเชีย ตอมา ชาวตางชาตินําไมสักไปขายที่อังกฤษ จึงมีนายทุนชาวยุโรปมาลงทุนทําไมมากขึ้นในประเทศ โดยอํานาจอยูที่เจาครอง นครตางๆ มีการคาขายกับตางชาติยุโรปมากขึ้นโดยเฉพาะไมสัก และเครื่องเทศ ตั้งแต เกิดสนธิสัญญบาวริ่งตังแต ในป พ.ศ.2398 ที่เปดประตูการคาสูสากลทั้งทรัพยากรธรรมชาติ และผลผลิตทางการเกษตร พ.ศ. 2417 พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) เก็บภาษีการสงออกไมแปรรูป พ.ศ. 2439 จัดตั้งกรมปาไม ในราชสมัย ราชการที่ 5 ไดตั้งกรมปาไมเพื่อใหมีหนวยงานที่ทําหนาจัดระบบการ จัดการปาไม โดยเฉพาะการทําไมสัก ตามรายงานการศึกษาของ Mr. H.A. Slade นักวิชาการปาไมชาวอังกฤษ มี นักการปาไมเขามาวางแผนการจัดการปาไมของชาติ คือ Mr. H.A. Slade สงไมออกตางประเทศ อังกฤษ พ.ศ. 2441 พ.ร.บ. ควบคุมการตัดไมสัก กําหนดขนาดจํากัดของไมสักที่ตัดฟนไดที่ขนาดตั้งแต 6 ฟุต 4.5 นิ้ว ขึ้นไปจากกฎหมายดังกลาวนําไปสูการเกิดระบบการเลือกตัด (selection system) เนื่องจากมีการจําแนกชั้นไมที่ตัดได เหลือไมชั้นรองที่ไมไดขนาดจะถูกเก็บไวตัดในรอบตอไปเมื่อไดขนาด พ.ศ. 2443 พ.ร.บ. รักษาชางปา เนื่องจากการที่ราษฎรไดคลองชางปาเพื่อนํามาใชเปนจํานวนมากเกิน ความสามารถในการดูแล พ.ศ. 2481 พรบ.คุมครองสงวนปา กฎหมายฉบับแรกที่สนใจปาในฐานะ อาณาเขตพื้นที่ จากเดิมที่สนใจ เฉพาะ “ตนไม” โดยสิทธิหนือพื้นที่ปาทั้งหมดของประเทศเปนของรัฐ (รวมศูนยอํานาจ) โดยกําหนดพื้นที่ปาออกเปนปา คุมครอง และปาสงวนโดยมีแผนที่แนบทาย จับจอง กอสราง แผาถาง หรือเผาปา หากบุคคลอางวามีสิทธิที่ดินตาม กฎหมายที่ดินใหเพิกถอนสิทธิออกโดยใหจายคาชดเชย การจัดการปาที่ยึดตัวกฎหมายนี้ขัดกับจารีต และวิถีชีวิตคน ไทยที่ยังชีพอยูในปามากอน พ.ศ. 2484 พ.ร.บ. ปาไม และรัฐตั้งหนวยงานรัฐวืสาหกิจทําไมเองมีเจตนารมณเพื่อรวบรวมปรับปรุงกฏหมาย เกี่ยวกับการทําไม การใชประโยชนจากไมและของปา โดยมีสาระสําคัญคือนิยามปาหมายถึง “ที่ดินที่ยังไมมีบุคคลไดมา ตามตามกฎหมายที่ดิน” ซึ่งเปนการขยายขอบเขตของปาไปยังพื้นที่อื่นๆครอบคลุมที่ดินกวางขวางทั่วประเทศซึ่ง อาจจะมีสภาพเปนปาที่มีตนไมปกคลุม หรือไมก็ตาม แตหากไมมีหลักฐานโฉนดที่ดินก็ตีความวาเปน “ปา” ตกอยูใน สิ ท ธิ อํ า นาจของรั ฐ ตามกฎหมาย นอกจากนี้ ยั ง กํ า หนดชนิ ด ไม ของป า หวงห า ม และควบคุ ม กิ จ กรรมการทํ า ไม


13

โดยเฉพาะทําไมสัก ไมยางและเก็บหาของปาและกิจกรรมพัฒนาตางๆในเขตปา การเสียคาภาคหลวง และหามการตัด ไมที่ใกลสูญพันธุ/กรมปาไม พ.ศ. 2490 รัฐตั้งองคการอุตสาหกรรมปาไม (อ.อ.ป. Forestry Industry Organization: FIO) ซึ่งเปน หนวยงานหลักในการสัมปทานและจัดการผลประโยชนการทําไมแกรัฐ มีพื้นที่ปามากกวารอยละ 60 /พื้นที่ปา หรือที่ดิน ที่ยังไมไดมาซึ่งตามกม.ที่ดินนั้นรัฐเปนกรรมสิทธิ์หรือเจาตามกฎหมาย รวมทั้งตนไม ของปาที่สําคัญทางการคา การใช ประโยชนจากพื้นที่ปา และของปาที่ระบุตองขออนุญาตและเสียคาภาคหลวง พ.ศ. 2500 มีการรณรงคใหรัฐบาลสงวนพื้นที่เพื่อการอนุรักษความเปนปาจากรายงานการทําลายจาก FAO สงผลตอนโยบายของการจัดการปาไมไทยโดยหลังจากในยุคหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ปญหาการทําลายปามีความ ชัดเจนมากขึ้นในชวงภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ตอมา Dr Loetch ผูเชียวชาญที่องคการอาหารและเกษตรแหง สหประชาชาติไดสงตัวมาชวยสํารวจปาไมสักในประเทศไทย โดยระบุวาปาไมสักของประเทศไทยประสบการบุกรุกแผว ถาง การลักลอบตัดไม จนทําใหเหลือไมสักจริงเพียงสองในสามของปริมาณที่ควรมีอยูตามระบบเลือกตัดของ ดร.แบ รนดิส หากไมแกไขจะทําใหการจัดการปาไมสักไทยสิ้นสุด ซึ่งในชวงเวลาดังกลาว นายแพทยบุญสง เลขะกุล ซึ่งเห็น การทําลายปา และการลาสัตวอยางมาก จึงริเริ่มรณรงคและพยายามพูดคุยกับรัฐบาลใหมีการสงวนพื้นที่ปาเพื่อการ อนุรักษความเปนปา (wilderness area) จนทําใหรัฐบาลตองออกกฎหมายในการอนุรักษหลายๆฉบับในระยะตอมา จะเห็นวาปญหาการจัดการปาของประเทศไทยตั้งแต อดีตถึง พ.ศ. 2500 คือ ขาดแผนการจัดการปาไม (forest management plan) ของปาสัมปทานแตละปา พ.ศ.2503 พ.ร.บ.สงวนและคุมครองสัตวปา กําหนดบริเวณเขตรักษาพันธุสัตวปา หามมิใหผุใดเขาไป ครอบครองยึดถือที่ดิน ตัดโคน แผวถางในเขตที่สงวนไวใหความคุมครองสัตวปาตามบัญชีทานพระราชบัญญัติเปนสัตว ปาคุมครอง และสัตวปาสงวน หามลาสัตวปาสงวนและสัตวปาคุมครองเพื่อการคาและครอบครอง พ.ศ. 2504 พ.ร.บ. อุทยานแหงชาติ เพื่อคุมครองรักษาทรัพยากรธรรมชาติบริเวณพื้นที่ปาที่มีความสําคัญ โดดเดนทางธรรมชาติ พรอ มทั้งกิจ กรรมนันทการและการทองเที่ยว / จัดตั้งพื้น ที่ที่มีความโดดเดน สวยงามทาง ธรรมชาติ แบงโซนจัดการ กําหนดกฎระเบียบในการใชพื้นที่ และทรัพยากรปาไม สัตวปาในพื้นที่/กรมปาไม พ.ศ. 2501 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 1 แผนแมบทในการพัฒนาประเทศ และจัดจัดตั้ง สํานักงานพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ จัดโครงการกระทรวง กรมตางๆ การจัดการปาไมอยูในความรับผิดชอบ ของกรมปาไม ภายใตกระทรวงเกษตรและสหกรณ โดยมีเปาหมายในการรักษาปาใหไดรอยละ 50 หรือ 162 ลานไร โดยมุงหวังใหเปนพื้นที่ปาถาวรของประเทศ พ.ศ. 2507 พ.ร.บ. ปาสงวนแหงชาติ พัฒนามาจาก พ.ร.บ.สงวนและคุมครองปา พ.ศ. 2481 แตมีความ เขมขนกวาในแงรองรับการใชอํานาจของรัฐ เพื่อปกปองคุมครองพื้นที่ปาและลดการทําลายปาใหชาลงซึ่งในขณะนั้นปา ถูกทําลายอยางมากมาย โดยเฉพาะที่อยูนอกอุทยานแหงชาติโดยมีเปาหมายรักษาพื้นที่ปาไวที่รอยละ 50 ของพื้นที่ ประเทศ หรือ 156 ลานไร ตามเปาหมายในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับที่ 1 ซึ่งตอมาลดลงเหลือรอยละ 40 หรือ 128 ลานไร โดยมีเปาหมายใหเปนปาอนุรักษ 15 เปอรเซ็นต และปาเศรษฐกิจ 25 เปอรเซ็นต กฎหมายฉบับนี้เปนการ ปรับเปลี่ยนยุทธศาสตรจากการควบคุมทรัพยากรมาสูการควบคุมอาณาเขตเปนหลัก โดยการเรงรีบปกปนเขตปาสงวน แหงชาติและพื้นที่คุมครองใหเร็วขึ้น การปกปนเขตพื้นที่ปาสงวนไดรวมหมูบานที่มีมานานแลว ชุมชนทองถิ่นพื้นเมือง ไวหลายแหงและในขณะเดียวกันไมสามารถปองกัน “การบุกรุก” จากที่เรรอนหาที่ตั้งถิ่นฐานได ,โดยใชทรัพยากรปาไม ตอบสนองทางดานเศรษฐกิจมากกวาที่จะเปนการจัดการทรัพยากรอยางยั่งยืน และในทางปฏิบัติการมักเกิดปญหา มากมาย ซึ่งเปนสวนหนึ่งที่มีผลตอความลมเหลวของการจัดการปาไมในระยะตอมา พ.ศ. 2510-2520 เร ง พั ฒ นาโครงสร า งพื้ น ฐานทุ ก ด า น ส ง เสริ ม ปลู ก พื ช เชิ ง เดี่ ย วเพื่ อ การส ง ออก พั ฒ นา โครงสรางพื้นฐานของประเทศ โดยการตัดถนน สรางเขื่อน จัดทํานิคมสรางตนเอง และในชวงดังกลาวนี้ เกิดสงครามใน แถบอินโดจีนรุนแรง จึงมีการตัดถนนเพื่อความมั่นคง มีนโยบายการสูรบปราบปรามระบบคอมมิวนิสต และยังคง


14

ดําเนินการใหเอกชนสัมปทานปาไมอยู ตอมาภายหลังสงครามอินโดจีนเรงสงเสริมการปลูกพืชไร “คลื่นพืชเศรษฐกิจ” ไดแก ออย ขาวโพด ปอ มันสําปะหลัง ถัวเหลือง พรอมทั้งการขยายพื้นที่ปลูกขาว ซึ่งเปนการเปลี่ยนแปลงจากระบบ เศรษฐกิจทองถิ่นสูระบบตลาดมากขึ้น แตผุที่ไดกําไรรายใหญจริงๆ กลับเปนพวกพอคาและเจาหนี้ซึ่งมักเปนผุจัดการ ใหมีการถางปาและปลูกพืชในพื้นที่ที่เคยเปนปา โดยมีความพยายามใหไดสิทธิที่ดินในอนาคต (เบรนเนอรและคณะ 2543) ซึ่งเรียกยุคนี้วา “ยุคปาแตก” ซึ่งปาไมถูกทําลายมากในชวงป พ.ศ. 2519-2521 อยางไรก็ตาม ในพ.ศ. 2511 รัฐบาลกําหนดให วันที่ 26 ธันวาคม ของทุกป เปนวันคุมครองสัตวปาแหงชาติ พ.ศ. 2520 -2530 สงเสริมรณรงคการปลูกสรางสวนปาภาคเอกชน และพัฒนาแหลงพลังงาน พรอมๆกับ กําหนดนโยบายปาไมแหงชาติ ในชวงนี้ อัตราการทําลายปาของประเทศไทยยังมีอัตราที่สูงอยางตอเนื่องจากการ ขยายตัวของพืชเศรษฐกิจ อัตราการลดลงของพื้นที่ปาของประทศไทยในชวงป พ.ศ. 2519-2525 มีอัตราที่รอยละ 3.85 เปนอัตราลดลงสูงสุดของประเทศเขตรอนทั่วโลก จึงมีนโยบายและเงื่อนไขใหผูรับสัมปทานปาปลูกปาทดแทน แตใน ขณะเดียวกันนั้นรัฐเริ่มมีการสงเสริมและใหสัมปทานพื้นที่เพื่อการปลูกภาคเอกชนโดยเพื่ออุตสาหกรรมโดยเฉพาะ อุตสาหกรรมเยื่อกระดาษ ชิ้นไมสับ โดยรัฐบาลพยายามที่จะลดพื้นที่สัมปทานปาธรรมชาติลงกวาครึ่งหนึ่ง เพื่อรักษา ปาธรรมชาติ แตยังคงมีการลักลอบทําไมอยางผิดกฎหมาย และขณะเดียวกันยังมีความพยามการสรางเขื่อนขนาดใหญ เพื่อใชผลิตไฟฟาเพื่อตอบสนองการใชพลังงานของภาคอุตหสกรรมตางๆที่กําลังเจริญเติบโตอยางรวดเร็ว จนเกิด กระแสการอนุรักษขึ้นอยางกวางขวางใน ประเทศไทย กรณีโครงการกอสรางเขื่อนน้ําโจนในเขตรักษาพันธุสัตวปาทุง ใหญนเรศวร ในป พ.ศ. 2529 พ.ศ. 2528 นโยบายปาไมแหงชาติ ในขณะนั้นประเทศไทยมีพื้นทีปาเหลือ 93 ลานไร หรือรอยละ 29 ของ พื้นที่ประเทศ ซึ่งในขณะนั้นรัฐบาลไทยระบุวาประสบปญหาหลักดานทรัพยากรปาไม 3 ประการ คือ อัตราการบุกรุก ทําลายปายังสูง ความขัดแยงในการใชที่ดิน และยังมีความตองการในการใชเนื้อไมที่เพิ่มขึ้น จึงตองการใหมีการพัฒนา นโยบายปาไมแหงชาติขึ้นโดยมีเปาหมายเพื่อใหมีแผนแมบทปาไม (Master plan) และมีกลไกการประสานแผนงาน ทรัพยากรปาไมและทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ ทั้งที่ดิน แหลง และแรธาตุ โดยนโยบายปาไมแหงชาติไดระบุขอนโยบาย ไว 20 ขอ โดยมีขอสําคัญหลักอยู 2 ประการ คือ ประการแรกกําหนดใหมีพื้นที่ปาไมทั่วประเทศอยางนอยรอยละ 40 ของพื้นที่ เปนปาอนุรักษ 15 %และปาเศรษฐกิจ 25 %ประเทศ ตามเจตนารมณของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1 ดังนั้นใน สวนพื้นที่ปาเศรษฐกิจกรมปาไมจึงยังคงใหสัมปทานเนื้อที่ปาธรรมชาติ 13 % อีก 12 %เปนกิจกรรมปลูกสรางสวนปา เพื่อใหสอดคลองกับเปาหมายจึงมีนโยบายที่สําคัญประการที่สองคือเรงสงเสริมการปลูกปา ซึ่งเปนการมองคุณคาแต เพียงสถานเดียวคือ “เนื้อไมและปริมาณไม” และเปนนโยบายที่กําหนดวัตุประสงคไปตามกระแสการพัฒนาที่เปนอยู เฉพาะดานคือ เพื่อประโยชนในการอุตสาหกรรมและการสงออก เชน อุตสาหกรรมกระดาษโดยการสงเสริมการปลูกปา ประเภทไมโตเร็วเพื่อเนนตอบสนองอุตสาหกรรม นอกจากนี้ยังคงหลักการเหมือนกับการจัดการปาที่ผานมาคือ การใช ประโยชนจากปาดานเศรษฐกิจ เปนหลัก แตที่เพิ่มเติม โจทยเขามาคือ จะทําอยางไรที่จะใหธุรกิจเอกชนเขามาใช ประโยชนจากปาใหมีประสิทธิภาพสูงสุดดวย นอกเหนือจากที่รัฐเคยเปนพระเอกแตผูเดียว แตอยางไรก็ตามประเทศ ไทยก็ใชนโยบายปาไม พ.ศ. 2528 เปนกรอบในการดําเนินการจัดการปา สงผลใหเกิดความขัดแยงในประเด็น การใช ประโยชนที่ดินในเขตปาอยางมาก เชน โครงการปลูกสรางสวนปายูคาลิปตัสของเอกชนโดยรัฐใหเชาพื้นที่ปาสงวน แหงชาติที่ทับซอนซอนที่ทํากินของชาวบานและพื้นที่สาธารณะประโยชนของชุมชนอยูเดิม ซึ่งบังคับใชมาตรการบังคับ ทางกฎหมายภายใต พรบ.ปาสงวนแหงชาติ พ.ศ. 2507 มาตราที่ 16 และ 20 ทําใหเกิดขบวนการตอตานสวนปายูคาลิ ปตัสอยางหนักในภาคอีสาน ซึ่งตอมารัฐพยายามแกไขปญหาดังโดยใชนโยบายการจัดสรรที่ทํากินแกราษฎรภายใต โครงการจัดสรรที่ดินทํากินแกราษฎรผุยากไรในเขตปาสงวนแหงชาติเสื่อมโทรม (คจก.) แตกลับอันนําไปสูความขัดแยง ที่รุนแรงมากขึ้นในระยะตอมา พ.ศ. 2532 ยกเลิกการทําสัมปทานปาไม เกิดแผนแมบทปาไม และเกิดกระแสการพัฒนาปาชุมชน เนื่องจาก ยังมีการทําไมผิดกฎหมายมาอยางตอเนื่อง จนเกิดภัยพิบัติ วาตภัย และแผนดินถลมในภาคใตปลายป พ.ศ. 2531 เกิด


15

การสูญเสียชีวิต ทรัพยสินจํานวนมาก สื่อตางๆมีการประโคมขาวเกิดจากการทําไม จนเกิดกระแสการอนุรักษภาค ประชาชนที่ทําใหรัฐบาลตองยกเลิกการสัมปทานการทําไม ประเทศไทยตองพึ่งพาทรัพยากรปาไมจากประเทศเพื่อน บานอยางหนักโดยเฉพาะมาเลเซีย กัมพูชา ลาว และพมา ในขณะเดียวกันในไทยการทําลายปาก็ยังดําเนินตอไปดวย การขยายโครงสรางพื้นฐาน การเปลี่ยนแปลงปาธรรมชาติที่อางวาเปนปาเสื่อมโทรมเปนการปลูกสรางสวนปา และการ ลักลอบทําไมอยางผิดกฎหมาย พ.ศ. 2533 เกิดแผนแมบทปาไม ที่ไดรับการชวยเหลือและความรวมมือจากผูเชียวชาญประเทศฟนแลนดมา จัดทําแผนแมบท และมีแผนงานจัดสรรที่ทํากินใหกับชาวบานที่มีปญหาทับซอนกับพื้นที่ปาสงวนแหงชาติ ภายใต โครงการจัดที่ดินทํากินใหกับราษฎรผูยากไรในพื้นที่ปาสงวนเสื่อมโทรม หรือโครงการ คจก. โดยทําการสํารวจการถือ ครอง จําแนกพื้นที่การใชประโยชนที่ดินปาไมและอพยพชาวบานออกจากพื้นที่ทํากินและที่อยูอาศัยเดิมซึ่งบางแหงไป ทับซอนกับพื้นที่ชุมชนอื่นๆ โดยมีเปาหมายที่จะนําพื้นที่ที่อพยพชาวบานออกไปแลวใหเอกชนเชาพื้นที่ขนาดใหญเพื่อ ปลู ก สวนป า ประเภทไม โ ตเร็ ว เพื่ อ อุ ต สาหกรรมกระดาษในอั ต ราไร ล ะ 10 บาท ระยะเวลา 30 ป ซึ่ ง ทํ า ให เ กิ ด กระบวนการคัดคานตอตานจากชาวบานอยางกวางขวางโดยเฉพาะภาคอีสาน สงผลใหยกเลิกโครงการดังกลาวในป พ.ศ. 2535 ในขณะเดียวกันนั้นรัฐก็สงเสริมการลงสงเสริมชุมชนการปลูกปาไมโตเร็วในลักษณะสหกรณปลูกปา หรือ การเกษตรพันธะสัญญา (contract farming) และในขณะชวงเริ่มตนดําเนินการตามแผนแมบทในชวงป พ.ศ. 2533 ซึ่งที่ มีทั้งที่สงเสริมการปลูกสวนปาซึ่งกลายเปนประเด็นปญหาดังที่กลาวมาแลวขางตนนั้น ภาครัฐก็มีแผนการประกาศและ ขยายพื้นที่คุมครองครอบคลุมพื้นที่ปาควบคูกันไปดวยซึ่งในขณะนั้นมีชาวบานที่ติดอยูในเขตปาหลายลานคน และ กลายเปนประเด็นจุดชนวนความขัดแยงเรื่องที่ดินทํากินในเขตปาอยางรุนแรงและกวางขวางในทุกภูมิภาคในสังคมไทย โดยเฉพาะภาคเหนือซึ่งมีชุมชนชาติพันธุอาศัยในเขตปาจํานวนมาก ซึ่งตอมาเกิดความเคลื่อนไหวประเด็นเรื่องปา ชุมชนขึ้นในประเทศไทย ซึ่งชุมชนทองถิ่นมีความหวังวาปาชุมชนคือ ทางออกของสังคมไทย ในขณะนั้น พ.ศ. 2534 จึงเกิดโครงการวิจัยเชิงปฏิบัติการในทุกภูมิภาคเรื่อง “ปาชุมชนในประเทศไทย: แนวทางการ พัฒนา” โดยความรวมมือของมหาวิทยาลัยเชียงใหม มหาวิทยาลัยขอนแกน สถาบันชุมชนทองถิ่นพัฒนา (LDI) รวมกับ องคกรพัฒนาเอกชน พ.ศ. 2535 พ.ร.บ. สวนปา และ การจําแนกพื้นที่การใชประโยชนในพื้นที่ปาสงวนแหงชาติ จําแนกชั้น คุณภาพลุมน้ํา เพื่อเปนการสนับสนุนโยบายการพัฒนา “ปาเศรษฐกิจ” (พื้นที่ปาที่สามารถใชประโยชนทางเสรษฐกิจได หรือเปนปาที่มีการอนุญาตใหทําไมออกโดยการสัมปทานได หรืออนุญาตใหมีการนําทรัพยากรธรรมชาติอยางอื่น ออกมาใชประโยชนได) ใหไดตามเปาหมายที่วางไวที่รอยละ 25 นโยบายปาไมแหงชาติ พ.ศ. 2528 เพื่อสงเสริม กิจการปลูกสรางสวนปาเพื่อการคาในที่ดินของรัฐที่เปนปาเสื่อมโทรมและที่ดินของเอกชน และคุมครองสิทธิการทําไม หวงหามที่ไดจากการปลูกสรางสวนปา เปาหมายการทําสวนปาคือ มุงเนนเพิ่มพื้นที่ทําไมใหมีปริมาณมากขึ้นและเปน แหลงวัตถุดิบสําหรับอุตาหกรรมเยื่อกระดาษภายหลังจากยกเลิกการสัมปทานปาไม ทั้งนี้ยังมีมาตราการสงเสริมสําหรับ ผูทําสวนปาดวยการใหสิทธิพิเศษ ใหไดรับการยกเวนการชําระคาภาคหลวง และไมตองอยูภายใตบังคับตาม พ.ร.บ.ปา ไม 2484 แล พ.ร.บ.ปาสงวนแหงชาติ พ.ศ. 2507 พ.ศ. 2535 มีการประชุม Earth Summit ของสหประชาชาติวาดวยสิ่งแวดลอมและการพัฒนา หรือ แนวคิด การพัฒนาอยางยั่งยืน นครริโอ เดอจาเนโร ประเทศ บราซิล เกิดอนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่ง ประเทศไทยเขารวมเปนอนุภาคี และใหความสําคัญกับการอนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพ จึงเปลี่ยนแปลง สั ด ส ว นเป า หมายที่ จ ะมี พื้ น ที่ ป า ระหว า งพื้ น ที่ ป า อนุ รั ก ษ และป า เศรษฐกิ จ จากเดิ ม มี เ ป า หมายป า เศรษฐกิ จ 25 เปอรเซ็นต และปาอนุรักษ 15 เปอรเซ็นต เปนลดพื้นที่ปาเศรษฐกิจเหลือ 15 เปอรเซ็นต และเพิ่มพื้นที่ปาอนุรักษเปน 25 เปอรเซ็นต ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับที่ 7 ซึ่งในขณะนั้นยังมีพื้นที่ปาอนุรักษตามกฎหมายทั้งอุทยาน แหงชาติ เขตรักษาพันธุสัตวปา เหลือจริงเพียง 12.5 เปอรเซ็นต ดังนั้นจึงมีนโยบายใหจําแนกเขตชั้นคุณภาพลุมน้ําเพื่อ เพิ่มพื้นที่อนุรักษหากเปนแหลงตนน้ํา หรือชั้นคุณภาพลุมน้ํา 1 เอ ตาม มติครม. จัดชั้นคุณภาพลุมน้ําในระยะตอมา


16

สงผลใหชาวบานติดอยูในพื้นที่อนุรักษเพิ่มขึ้นอีกจํานวนหนึ่ง พรอมทั้งจําแนกเขตการใชประโยชนทรัพยากรและที่ดิน ปาไมในพื้นที่ปาสงวนแหงชาติ ออกเปนปาอนุรักษ (โซนซี) ปาเศรษฐกิจ (โซน อี) และพื้นที่เหมาะสมตอการเกษตร (โซน เอ) ซึ่งทําใหกรมปาไมสงมอบพื้นที่ปาสงวนเสื่อมโทรมใหกับสํานักงานปฎิรูปที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม (สปก.) พ.ศ. 2536 นโยบายปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม พรอมกับสนับสนุนใหเกษตรกรปลูกตนไมในพื้นที่ตนเอง ซึ่งทําใหกรมปาไมสงมอบพื้นที่ปาสงวนเสื่อมโทรมโซนเอในป พ.ศ. 2536 จํานวน 7 ลานไร และปาสงวนเสื่อมโทรม โซนอี ในป พ.ศ. 2537 อีก จํานวน 37 ลานไร รวมพื้นที่ปาเสื่อมโทรมที่นําไปจัดสรรเปนเนื้อที่กวา 44 ลานไรใหกับ สํานักงานปฎิรูปที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม (สปก.) โดยมีเปาหมายเพื่อลดความขัดแยงกับคนในทองถิ่นในเรื่องสิทธิการ ใชที่ดิน ลดการแผวถาง และเพิ่มผลผลิตไมที่มีคาทางเศรษฐกิจ ใหการภาครัฐใหการสนับสนุนดานการเงินไรละ 3,000 บาทตอ 5 ป พ.ศ. 2537 พรบ.องคการบริหารสวนตําบล และเริ่มโครงการปลูกปาเฉลิมพระเกียรติ มีการจัดตั้งองคการ บริหารสวนตําบลเพื่อที่จะบริหารและพัฒนาทองถิ่น ซึ่งเปนแนวทางการกระจายแผนงานที่เดิมทําจากสวนกลางใหเป นภาระกิจของทองถิ่น และในป พ.ศ. 2537 เปนปที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงครองราชครบ 50 ป จึงเกิด โครงการปลูกปาถาวรเฉลิมพระเกียรติฯ ทั่วทุกภูมิภาค โดยภาคธุรกิจเอกชนเขามีสวนรวมในการปลูกปาถาวรเฉลิม พระเกียรติฯ ซึ่งเกิดกระบวนการพัฒนา CSR ขึ้นในชวงเวลาดังกลาว โดยมีเปาหมาย 5 ลานไรทั่วประเทศ เพื่อฟนฟู ระบบนิเวศปาไม และแหลงตนน้ําลําธาร โดยกวารอยละ 65 ของพื้นที่เปาหมายเนนที่ภาคเหนือ พ.ศ. 2539 กระแสรณรงคปาชุมชนอยางกวางขวาง บวชปา 50 ลานตน และราง พรบ. ปาชุมชน เครือขายเกษตรกรภาคเหนือตอนบน ไดจัดทําแผนการฟนฟูปา และการคุมครองปาใหชื่อวา “การบวชปา 50 ลานตน โดยคัดเลือกปาชุมชน 100 แหง ครอบคลุมพื้นที่ 160,000 ไร เพื่อเปนกิจกรรมรณรงคเรื่อง ปาชุมชนในสังคมไทย พ.ศ. 2540 มีการประกาศใชรัฐธรรมนูญใหม -ใหสิทธิบุคคล และชุมชนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และ สิ่งแวดลอม มาตรา 78 , 282 -290 ใหกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่นเพื่อเสริมสรางความหลากหลาย ทางสังคม วัฒนธรรม และความหลากหลายทางชีวภาพ และเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการและการใชทรัพยากร โดยใหมีการออกกฎหมายวาดวยการกระจายอํานาจตอไป จัดตั้งองคกรอิสระ เชน คณะกรรมการสิทธิม นุษยชน แห งชาติ (ป 44) สภาที่ป รึ ก ษาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห ง ชาติ พอช.(ป 43) โดยรวมทั้ ง 3 หนว ยงานซี ง มี บ ทบาท สนับสนุนชุมชนในการจัดการทรัพยากรปาไม และใหคําแนะนําปรึกษาแกภาครัฐ เกิดกระบวนการรณรงค พรบ.ปา ชุมชน พ.ศ. 2541 มีมติคณะรัฐมนตรี 30 มิถุนายน พ.ศ.2541 จากการที่รัฐสงเสริมพืชพลังงงานทดแทน ยางพารา และมีจากปญหาความขัดแยงที่ดินปาไม โดยเฉพาะชุมชนที่อยูในพื้นที่ปาที่ถูกเรงประกาศเปนพื้นอนุรักษทําใหเกิดการ ทับซอนของพื้นที่อนุรักษกับพื้นที่ทํากินชาวบาน รัฐจึงออก มติ ครม. 30 มิ.ย. 2541 เพื่อที่จะทําการสํารวจ พิสูจนสิทธิ์ หากอยูกอนประกาศเขตอนุรักษก็จะรวมกําหนดเขตผอนปรนพื้นที่ทํากินในพื้นที่อนุรักษ แตในทางปฎิบัติยังมีปญหา มากมายโดยเฉพาะหลักฐานทั้งแผนที่ภาพถายที่ใชในการพิสูจนวาจะใชชวงปไหนเพราะแตละพื้นที่อนุรักษมีการ ประกาศแตกตางกันไป ในขณะเดียวกันนั้นจากเหตุประเทศไทยประสบภาวะเศรษฐกิจอันเนื่องมากจากหลายสาเหตุ พรอมกับประสบภาวะวิกฤติพลังงาน น้ํามันจึงมีนโยบายสงเสริมการปลูกพืชพลังงานทดแทน พลังงานชีวมวล เชน ปาลมน้ํามัน มันสําปะหลัง ออย ไมโตเร็ว รวมทั้งยางพารา ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงการใชที่ดิน รวมทั้งการบุกรุก พื้นที่ปาสงวนแหงชาติ พ.ศ. 2542 พ.ร.บ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ กําหนดการถายโอนภารกิจและงบประมาณ จากสวนกลางไปยังหนวยงานปกครองสวนทองถิ่นกวา 7,857 แหง โดยตองถายโอนภารกิจทั้งหมด จํานวน 245 ภารกิจ ภายในสิบป (พ.ศ. 2544-2553) รวมทั้งภาระกิจดานการจัดการทรัพยากรสิ่งแวดลอม 35 เรื่อง ที่สําคัญเกี่ยวกับ การจัดการทรัพยากรปาไม 2 ภาระกิจ คือ การดูแลรักษาปา และการจัดการไฟปา


17

พ.ศ. 2545 พ.ร.บ. ปฏิรูประบบราชการ และเนนนโยบายการฟนฟูระบบนิเวศปาไม 25 ลุมน้ํา มีการ ปรับเปลี่ยนระบบราชการกลาวคือ หนวยงานที่รับผิดชอบการจัดทรพยากรปาไม เดิมมี 1 กรมคือ กรมปาไม ภายใต สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ และมีการปฏิรูปตามกฎหมายฉบับนี้ใหมี 3 หนวยงาน คือ กรมปาไมรบั ผิดชอบ และ จัดตั้งกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพัน ธูพืช รวมถึงกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง สังกัดกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มีโครงการเกี่ยวกับการฟนฟูปาตอเนื่องมากจากป พ.ศ. 2537 ทั้งจากภาครัฐ ภาคเอกชน ทงการปลูกปา จัดทําฝายชะลอน้ํา กรมปาไมมีโครงการสนับสนุนปาชุมชนซึ่งอยูในพื้นที่ปาสงวนแหงชาติ แหง พ.ศ. 2547 เกิดโครงการจัดการพื้นที่คุมครองอยางมีสวนรวม(Joint Management of Protected AreaJoMPA) ซึ่งเปนโครงการความรวมมือของรัฐบาลเดนมารกรวมกับประเทศไทยโดยมีพื้นที่โครงการในพื้นทีคุมครอง กระจายในประเทศไทย โดยการดําเนินโครงการภายใตความรวมมือขององคกรพัฒนาเอกชน กรมอุทยานแหงชาติ และ ชุมชนในเขตพื้นที่คุมครองนั้นๆ พ.ศ. 2550 รัฐธรรมนูญใหม มาตราที่ 66 ระบุใหสิทธิชุมชน ชุมชนทองถิ่นในการจัดการ การบํารุงรักษา และ การใชประโยชนจากทรัพายกรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางสมดุลและยั่งยืน

2.3

กลไกการคุมครองระบบนิเวศปาไมตาม IUCN

การจัดการพื้นที่อนุรักษในปจจุบัน อาศัยรูปแบบจากอุทยานแหงชาติแหงแรกของโลก คือ เยลโลสโตนของ สหรัฐอเมริกา ซึ่งจัดตั้งเมื่อป พ.ศ.2415 กอนตั้งอุทยานแหงชาติเยลโลสโตนนี้ ความจริงมีชนเผาอินเดียนแดงอยูกันมา หลายพันป ไดแก เผาโชโชน, โคร และแบลกฟุต แตในสายตาของคนผิวขาวที่อพยพเขาไปในตะวันตกของอเมริกา ถือ วายังเปนปาบริสุทธิ์ดั้งเดิม จึงตั้งเปนอุทยานแหงาติขึ้น เพื่อรักษาความเปนปาดั้งเดิม (wilderness) ไว ชนเผา อินเดียนแดงดั้งเดิมถูกกํา ลังทหารขับไลออกไป อุทยานแหงชาติที่ตั้งขึ้นนี้ หามมิใหผูใดอาศัยอยู ยกเวนก็เฉพาะ เจาหนาที่อุทยานเทานั้น ประเทศตาง ๆ ตอมารับรูปแบบเยลโลสโตนนี้ไปจัดทําพื้นที่อนุรักษกันแพรหลาย ในรูปแบบ อุทยานแหงชาติ หรือเขตรักษาพันธุสัตวปา โดยเฉพาะอยางยิ่งทํากันมากหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 คือ หลัง พ.ศ.2500 และพื้ น ที่ อ นุ รั ก ษ เ พิ่ ม ปริ ม าณมากที่ สุ ด คื อ หลั ง ป พ.ศ.2515 หรื อ เพี ย งประมาณ 20 ป ม านี้ เ อง พื้ น ที่ อ นุ รั ก ษ มี ความหมายมากกวาอุทยานแหงชาติ หรือเขตรักษาพันธุสัตวปา หรือปาตนน้ําที่ทํากันอยูในขณะนี้ เมื่อพูดถึงวัตถุประสงคของการอนุรักษในพื้นที่อนุรักษ สวนใหญมักจะพูดถึงการรักษาระบบนิเวศธรรมชาติ ความหลากหลายทางนิเวศวิทยา ทรัพยากรพันธุกรรม อนุรักษดินและน้ํา เพื่อการศึกษาวิจัย และนันทนาการ ที่มักไม พูดถึงก็คือ การอนุรักษมรดกทางวัฒนธรรมของมนุษยชาติ มนุษยเผาพันธุดั้งเดิมตาง ๆ ที่มีภาษาและวัฒนธรรมของ ตนเอง ก็ถือเปนมรดกทางวัฒนธรรม ความจริงแลวคํานิยามก็คือ " พื้นที่อนุรักษ คือ พื้นที่ซึ่งกันไวเพื่อคุมครองความ หลากหลายทางชีวภาพและทรัพยากรทางธรรมชาติ และวัฒนธรรมที่มีอยูในพื้นที่นั้น ซึ่งมีการจัดการโดยวิธีทาง กฎหมายและวิธีอื่น ๆ " IUCN (The World Conservation Union) และคณะกรรมาธิการวาดวยอุทยานแหงชาติและพื้นที่อนุรักษ (Commission on National Parks and Protected Areas - CNPPA) ระบุวา การจัดการพื้นที่อนุรักษไมใชใชกฎหมาย แตเพียงอยางเดียว โดย พ.ศ.2521 แบงพื้นที่อนุรักษออกเปน 6 ประเภท อันเปนผลสืบเนื่องจากการประชุมสภาโลกวา ดวยอุทยานแหงชาติ และพื้นที่อนุรักษครั้งที่ 4 ณ กรุงคาราคัส ประเทศเวเนซุเอลา ซึ่งมีผูเขารวมประชุม 1,800 คน จาก 130 ประเทศ คือ พื้นที่อนุรักษประเภทตาง ๆ จากการประชุมสภาโลกวาดวยอุทยานแหงชาติและพื้นที่อนุรักษครั้ง ที่ 4


18

• พื้นที่อนุรักษประเภท I - ที่สงวนทางธรรมชาติอยางเขมงวด / พื้นที่ดั้งเดิมที่ รักษาความเปนปาไว (Strict Nature Reserve / Wilderness Area) • พื้นที่อนุรักษประเภท II - อุทยานแหงชาติ (National Park) • พื้นที่อนุรักษประเภท III - บริเวณที่มีลักษณะเดนเฉพาะในทางธรรมชาติ และ/หรือวัฒนธรรม (Natural Monument) • พื้นที่อนุรักษประเภท IV - พื้นที่ซึ่งจัดการถิ่นที่อยู และสิ่งมีชีวิต (Habitat / Species Management Area) • พื้นที่อนุรกั ษประเภท V - พื้นที่อนุรักษภูมิทัศน (Protected Landscape / Seascape) • พื้นที่อนุรักษประเภท VI - พื้นที่อนุรักษที่มีการจัดการทรัพยากรอยางยั่งยืน (Managed Resource Protected Area) พื้นที่อนุรักษที่จัดทํามากที่สุด คือ ประเภทที่ II และ IV อันไดแกอุทยานแหงชาติกับเขตรักษาพันธุสัตวปา พื้นที่อนุรักษประเภทที่ VI นี้ เปนระบบนิเวศธรรมชาติที่ไมถูกเปลี่ยนสภาพ มีการจัดการเพื่อปกปองและธํารงไวซึ่ง ความหลากหลายทางชีวภาพ ขณะเดียวกันเพื่อชุมชนไดใชประโยชนอยางยั่งยืน แตในอนาคตพื้นที่อนุรักษประเภทนี้ จะมีบทบาทสําคัญยิ่งที่จะเปนเครื่องมือ VI อาจเปนสวนหนึ่งของเขตกันชน (buffer Zone) หรือทําอยูในบริเวณที่เปน แกนกลาง (core zone) ใกลหมูบานที่ติดอยูในปาอนุรักษ โดยทําหนาที่เปนกันชน ปกปองแกนกลาง และชวยบรรเทา ความทุกขยากของชุมชนที่ยังตองพึ่งพิงทรัพยากรจากปา การใชประโยชนจากปาอนุรักษประเภทที่ VI นี้อยูบนพื้นฐาน ของความยั่ งยืน ชุมชนจึงต องมีสวนรวมอยางแทจ ริง ซึ่งรวมถึงการมีสวนรวมในการจัดการ และพิทักษรั กษาปา


19

3. สถานการณความเปลี่ยนแปลงเนื้อที่ ปาไมในรอบ 50 ป จากการสืบคนขอมูลพื้นที่ปาไมจากฐานขอมูลกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช และกรมปาไม พบวาเนื้อที่ปาไมตามขอมูลนี้หมายถึง เนื้อที่ปาชนิดตางๆ ไดแก ปาดงดิบ ปาสน ปาชายเลน ปาชายเลน ปาเบญจ พรรณ ปาเต็งรัง ปาเต็งรังแคระแกร็น ปาพรุ ปาไผ และสวนปา ไมวาจะอยูในเขตปาสงวนแหงชาติอุทยานแหงชาติ เขต รักษาพันธุสัตวปา ปาโครงการ ปาสัมปทาน หรือเนื้อที่ปาแหงอื่นๆ ที่เดิมสามารถแปลตีความไดจากภาพดาวเทียม LANDSAT - TM แตไมรวมถึงเนื้อที่สวนยางพารา และสวนผลไม โดย มีหนวยเปนตารางกิโลเมตร และคํานวณ % ของพื้นที่เทียบกับพื้นที่ประเทศไทย ภาค และจังหวัดตางๆ โดย มีขอมูลเนื้อที่ปาดังกลาวนับถึงปจจุบัน 17 ป ไดแก เนื้อทีปาไม พ.ศ. 2504, 2516, 2519, 2521, 2525, 2528, 2531, 2532, 2534, 2536, 2538, 2541, 2543, 2547, 2548, 2549, และ 2552

% เนื้อที่ปาเทียบกับเนื้อที่ประเทศไทย 60 50 40 30

% เนื้อที่ปา

20 10

2552

2549

2548

2547

2543

2541

2538

2536

2534

2532

2531

2528

2525

2521

2519

2516

2504

0

แผนภูมิที่ 3- 1 เปรียบเทียบเนื้อที่ปาไมจากขอมูลที่มีการสํารวจในป 2504 - 2552

3.1 สถานการณเนื้อที่ปาไมในรอบ 50 ปที่ผานมาของประเทศไทย ขอมูลดังกลาวแจกแจงจํานวนพื้นที่ เปนจํานวนตารางกิโลเมตรเทียบเปน % ของพื้นที่ประเทศไทย และขอมูล พื้นที่เทียบเปน % ของแตละภาค แยกเปน ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก ภาคกลาง และภาคใต โดยเทียบพื้นที่ทั้งประเทศ พบวาปจจุบันเนื้อที่ปาไมประเทศไทยมีการสํารวจลาสุดถึงป 2552 มีเนื้อที่ 171,585.65


20

ตารางกิโลเมตร หรือ 33.44 % ลดลงจาก ขอมูลในป 2504 ซึ่งเปนขอมูลที่มีการสํารวจโดยวิธีการแปลภาพถาย ดาวเทียมในปแรกที่มีการจัดเก็บขอมูล ที่มีเนื้อที่ 273,629.00 ตารางกิโลเมตร หรือ 53.33 % ถึง 102,043.35 ตาราง กิโลเมตร หรือ 19.89 % หรือลดลงไปถึงรอยละ 37.3 ของพื้นที่ปาไมที่เคยมีในป 2504 ทั้งนี้ขอมูลเนื้อที่ปาไมในปจจุบัน ไดมีการปรับเปลี่ยนวิธีการแปลภาพถายดาวเทียม ใหสามารถตรวจสอบ พื้นที่ปาในพื้นที่เล็กๆ ไดมากขึ้นแลวนับจากป 2543 ทําใหขอมูลเนื้อที่ปาไม ในป 2543 มีเนื้อที่ถึง 33.15% (170,110.789 ตารางกิโลเมตร) มากกวาขอมูลในป 2541 ที่มีเนื้อที่ปาไม 25.62% (131,485.00 ตารางกิโลเมตร) ถึง 7.87% (40,388.78 ตารางกิโลเมตร) ดังนั้นหากประมาณการเปลี่ยนแปลงเนื้อที่ปาไม ตั้งแตป 2504 จนกระทั่งถึงป 2541 ซึ่งเปนขอมูลในการแปล ภาพถายในวิธีการที่เทียบเคียงกันไดจริงในชวง ราว 40 ป พบวาประเทศไทยควรมีเนื้อที่ปาไมลดลงถึง 143,907 ตารางกิโลเมตร หรือ 28.25 % ของพื้นที่ประเทศไทย หรือลดลงไปรอยละ 52.97 ของพื้นที่ปาไมที่เคยมีในป 2504 ในการศึกษาขอมูลเนื้อที่ปาพบวา เนื้อที่ปาไมเมื่อเทียบกับเนื้อที่ประเทศไทยลดลงไป 10.12 % ในชวงป 2504-2516 (12 ป) และ ลดลง 4.54 %, 4.52 %, และ 3.9 % จากการสํารวจเนื้อที่ปา ในป 2519, 2521, และ 2525 จะ เห็นวาอัตราเฉลี่ยของการลดลงของพื้นที่ปาไมมากที่สุดจะอยูในชวงป 2519-2521 ที่มีอัตราการลดลงเฉลี่ยปละ 2.26 % หรือ 11,596.4 ตารางกิโลเมตร หลังจากนั้นอัตราการลดลงของพื้นทีปาไมจะลดลง 0.85 %. 1.37 %, 0.08 %. 1.31 %, 0.61 %, 0.41 %, 0.34 % จากการสํารวจเนื้อที่ปาไม ในป 2528, 2531, 2532, 2534, 2536. 2538, และ 2541 โดย ชวงนี้อัตราเฉลี่ยของการลดลงของพื้นที่ปาไมมากที่สุดจะอยูในชวงป 2532-2534 ที่มีอัตราลดลงเฉลี่ยปละ 0.66 % หรือ 3,360.9 ตารางกิโลเมตร 10 5 0 2516 2519 2521 2525 2528 2531 2532 2534 2536 2538 2541 2543 2547 2548 2549 2552

พื ้นที่ลดลง

‐5 ‐10 ‐15

แผนภูมิที่ 3-2 เปรียบเทียบเนื้อที่ปาไมที่ลดลงเปน % เมื่อเทียบกับเนื้อที่ประเทศไทยจากขอมูลที่มีการสํารวจในป 2504-2552

หลังจากการปรับวิธีการสํารวจเนื้อที่ปาในป 2543 ที่ทําใหเนื้อที่ปาไมเพิ่มขึ้นจากขอมูลป 2541 ถึง 7.87 % แตหลังจากนั้นก็ยังมีอัตราการลดลงของพื้นที่ปาไมอยางตอเนื่อง 0.49 %, 1.28 %, 0.46 % จากขอมูลเนื้อที่ปาไมเทียบ กับเนื้อที่ประเทศไทยในป 2547, 2548, และ 2549 โดยในป 2548-2549 ยังมีอัตราลดลงของเนื้อที่ปาไมถึง 1.28 % หรือ 6,567.87 ตารางกิโลเมตร แตทั้งนี้นาจะเกิดจากวิธีการสํารวจเนื้อที่ที่สํารวจพบเนื้อที่ที่ลดลงไดมากขึ้น อยางไรก็


21

ตาม จากขอมูลในป 2552 พบวาเนื้อที่ปาไมประเทศไทย มีเนื้อที่เพิ่มขึ้น 2.52 % หรือ 128.809.85 ตารางกิโลเมตร จากป 2549 หรือเพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ย 0.84 % ตอป ตารางที่ 3.1 แสดงขอมูลเนื้อที่ปาไมในประเทศไทยตั้งแต พ.ศ. 2504 ตามปที่มีขอมูล จนถึงป 2552 โดย แสดงเนื้อที่และ % พื้นที่ปาเทียบกับพื้นที่รายภาคไวดวย ตารางที่ 3-1 แสดงเนื้อที่ปาของประเทศไทย ป 2504-2552 ข อ มู ล ลดลง พื้นที่ปาแยกรายภาค (%) เทียบกับพื้นที่ภาคตางๆ พื้นที่ปา เหนือ ลดลง ตะวันออกเฉียงเหนือ ลดลง ตะวันออก ลดลง กลาง ประเทศ ไ ท ย (%) 2504 2516

53.33 43.21

10.12

68.54

41.99

66.96

1.58

57.98

30.01

11.98

2519

38.67

4.54

60.32

6.64

24.57

2521

34.15

4.52

55.96

4.36

2525

30.25

3.9

51.73

2528

29.40

0.85

2531

28.03

2532

ลดลง

ใต

ลดลง

41.89 26.07

15.82

52.91

41.19

16.79

35.56

17.35

5.44

34.60

6.59

32.38

3.18

28.48

+2.77

18.49

6.08

30.24

4.36

30.31

2.07

24.89

3.59

4.23

15.33

3.16

21.92

8.32

27.47

2.84

23.25

1.64

49.59

2.14

15.15

0.18

21.89

0.09

26.24

1.23

21.90

1.35

1.37

47.39

2.2

14.03

1.12

21.46

0.43

25.59

0.65

20.69

1.21

27.95

0.08

47.29

0.1

13.97

0.06

21.33

0.03

25.55

0.04

20.65

0.04

2534

26.64

1.31

45.47

1.82

12.91

1.06

21.06

0.27

24.65

0.9

19.02

1.63

2536

26.03

0.61

44.35

1.12

12.72

0.19

20.91

0.27

24.34

0.31

18.11

0.91

2538

25.62

0.41

43.55

0.8

12.59

0.13

20.79

0.12

24.17

0.17

17.61

0.5

2541

25.28

0.34

43.06

0.49

12.43

0.16

20.56

0.23

23.81

0.36

17.15

0.46

2543

33.15

+7.87

56.75

+13.69

15.71

+3.28

23.12

+2.33

31.84

+8.03

24.62

+7.47

2547

32.66

0.49

54.27

2.48

16.64

+0.93

22.57

0.55

31.52

0.32

25.37

+0.75

2548

31.38

1.28

52.69

1.78

15.00

1.64

21.74

0.83

30.68

0.84

24.99

0.38

2549

30.92

0.46

52.09

0.6

14.54

0.46

21.60

0.14

30.50

0.18

24.46

0.35

2552

33.44

+2.52

56.09

+4

16.32

+1.78

21.01

0.59

29.21

1.29

27.03

+2.57

หมาย เหตุ

(คํานวณจาก กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช, 2553)


22

จากการศึกษาขอมูลดังกลาวสามารถวิเคราะหภาพรวมการเปลี่ยนแปลงในชวง 50 ป ออกเปนสองชวง ใหญๆ ไดแก ในชวง 2504-2525 และ 2528-2549 โดยในชวงขอมูลในชวง 25 ป แรกจะมีอัตราการลดลงของพื้นที่ปาไมเฉลี่ย โดยประมาณ ถึง 1- 2% ตอป เมื่อเทียบกับเนื้อที่ประเทศไทย และหลังจากนั้นในชวงขอมูลป 2525 – 2549 จะมีอัตรา ลดลง ไมถึงปละ 1 % ตอป เมื่อเทียบกับเนื้อที่ประเทศไทย โดยในปจจุบันเชื่อไดวาเนื้อที่ปาไมมีเนื้อที่เพิ่มขึ้นถึงเกือบป ละ 1 % สถานการณความเปลี่ยนแปลงเนื้อที่ปาไมในของประเทศไทย สามารถสรุปเปนตารางเปรียบเทียบขอมูลที่ สําคัญ ตามชวงเวลาได 4 ชวง ไดแก 2504-2516, 2516-2525, 2525-2541,2541-2549 และ 2549-2552 ไดในตารางที่ 1-2 สรุปเปรียบเทียบเปนรายภาคในตารางที่ 1-3 รูปที่ 3-1 – 3-7 แสดงแผนที่เนื้อที่ปาไมประเทศไทยเทาที่สามารถรวบรวมไดจากการศึกษาในปตางๆ ตารางที่ 3-2 สรุปสถานการณความเปลี่ยนแปลงเนื้อที่ปาไมในของประเทศไทย

2504-2516 (7 ป)

2516-2525 (9 ป)

2525-2541 (16 ป)

2541-2549 (9 ป)

2549-2552 (3 ป)

1) พื้นที่ปาไมป 04 1) พื้นที่ปาไมป 16 1) พื้นที่ปาไมป 25 1) พื้นที่ปาไมป 41 1) พื้นที่ปาไมป 49 53.33%

43.21%

30.52%

25.28%

30.92%

2) พื้นที่ปาไม 2) พื้นที่ปาไม 2) พื้นที่ปาไม 2) พื้นที่ปาไม 2) พื้นที่ปาไม ลดลง 10.12 ลดลง 12.96 ล ด ล ง 4.96 43-49 ลดลง เ พิ่ ม ขึ้ น เนื้อที่ประเทศไทย 513,115.02 ตร.กม.

% ในชวงนี้

2.23% ในชวงนี้ 2.5% ในชวงนี้ ( เ ฉ ลี่ ย เ พิ่ ม ป ล ะ 0.88%) 3) ชวงที่พื้นที่ปา 3) ชวงที่พื้นที่ปา 3) ชวงที่พื้นที่ปา 3) – ลดลงม ากที่ สุ ด ป ลดลงม ากที่ สุ ด ป ลดลงมากที่สุด ป 19-21 เฉลี่ยปละ 32-34 เฉลี่ยปละ 47-48 เฉลี่ยปละ 1.28% 2.26% 0.66% % ในชวงนี้

% ในชวงนี้

4) พื้นที่ปาป 52 ลดลงจากป 04 รอย 41ลดลงจาก ละ37.31

4)

พื้นที่ปาป

ป 04 รอยละ 52.97 5) พื้นที่ปาเพิ่มจาก วิ ธี สํ า รวจในป 43 7.87%

5) -


23

รูปที่ 3-1 แผนที่ปาไมของประเทศไทยป 2506 (กองคนควา กรมปาไม, 2506)


24

รูปที่ 3-2 แผนที่เนื้อที่ปาไมป 2516 (จากหนังสือ จากหวงอวกาศสูพื้นแผนดินไทย โดยสํานักงานพัฒนา เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องคกรมหาชน) 2546)


25

รูปที่ 3-3 แผนที่เนื้อที่ปาไมป 2534 (ไมทราบที่มา).


26

รูปที่ 3-4 แผนที่เนื้อที่ปาไมป 2538 (.จากหนังสือ จากหวงอวกาศสูพื้นแผนดินไทย โดย สํานักงานพัฒนา เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องคกรมหาชน) 2546

)


27

รูปที่ 3-5 แผนที่เนื้อที่ปาไมป 2516 (.จากหนังสือ จากหวงอวกาศสูพื้นแผนดินไทย โดย สํานักงานพัฒนา เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องคกรมหาชน) 2546)


28

รูปที่ 3-6 แผนที่เนื้อที่ปาไมป 2547 (กรมอุทยานแหงชาติ http:/dnp.go.th)

)

รูปที่ 3-7 แผนที่ เ นื้ อ ที่ ป า ไ ม ป


29

2551 (กรมอุทยานแหงชาติ)

)


30

3.2

สถานการณเนื้อที่ปาไมในแตละภาค

ขอมูลเนื้อที่ปาไมประเทศไทยจากฐานขอมูลของกรมปาไม และกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ได แบงพื้นที่ภาคตางๆของประเทศไทยไวเปน 5 ภาค มีเนื้อที่ตามขอบเขตเนื้อที่จังหวัดที่จัดแบงไวรวมในภาคตางๆ ไดแกภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก ภาคกลาง และภาคใต โดย เปนที่นาสังเกตวา ในภาคเหนือ จะครอบคลุมพื้นที่ลงมาถึงจังหวัดอุทัยธานีทางดานใต และครอบคลุมไปถึงจังหวัดเพชรบูรณ พิจิตร และนครสวรรค ทางดานตะวันออกเฉียงใต ซึ่งเปนพื้นที่กวางใหญมาก ถึง 169,644.29 ตารางกิโลเมตร หรือ 33.06 % ของพื้นที่ ประเทศไทยนับเปนภาคที่มีพื้นที่ใหญที่สุดมากกวา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่มีพื้นที่ 168,854.40 ตารางกิโลเมตร หรือ 32.91 % ของพื้นที่ประเทศไทย พื้นที่ภาคใตนับแตจังหวัดชุมพรลงไป มีเนื้อที่ 70,715.19 ตารางกิโลเมตร หรือ 13.78 % ของพื้นที่ประเทศไทย ภาคกลางจะรวมถึงจังหวัดในดานชายแดนตะวันตก ตั้งแตกาญจนบุรี จนถึง ประจวบคีรีขันธ อยูดวย มีเนื้อที่ 67,398.70 หรือ 13.14 % และ ภาคตะวันออก เปนภาคที่มีเนื้อที่นอยที่สุด 36,502.50 % หรือ 7.11 % ของพื้นที่ประเทศไทย (ประเทศไทย ตามฐานขอมูลนี้มีเนื้อที่ 513,115.02 ตารางกิโลเมตร) ดังนั้น ในการศึกษาและเปรียบเทียบเนื้อที่ปาไมเปน % ของเนื้อที่ประเทศ และเนื้อที่ภาคตางๆ จะใชตัวเลขที่ กลาวมาเปนฐานในการคํานวณ โดยขอมูลเนื้อที่ปาไมจะแบงจังหวัดตางๆในแตละภาคดังนี้ 1) ภาคเหนือ ประกอบไปดวยจังหวัดตางๆ ไดแก กําแพงเพชร เชียงใหม เชียงราย ตาก นครสวรรค นาน เพชรบูรณ แพร พะเยา พิจิตร พิษณุโลก แมฮองสอน ลําปาง ลําพูน สุโขทัย อุตรดิตถ และ อุทัยธานี รวม 17 จังหวัด 2) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประกอบไปดวยจังหวัดตางๆ ไดแก กาฬสินธุ ขอนแกน ชัยภูมิ นครพนม นครราชสีมา บุรีรัมย มหาสารคาม มุกดาหาร ยโสธร รอยเอ็ด เลย ศรีสะเกษ สกลนคร สุรินทร หนองคาย หนองบัวลําภู อํานาจเจริญ อุดรธานี อุบลราชธานี รวม 19 จังหวัด 3) ภาคตะวันออก ประกอบไปดวยจังหวัดตางๆ ไดแก จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ตราด นครนายก ปราจีนบุรี ระยอง สระแกว รวม 8 จังหวัด 4) ภาคกลาง ประกอบไปด ว ยจั ง หวั ด ต า งๆ ได แ ก กรุ ง เทพมหานคร ชั ย นาท นครปฐม นนทบุ รี ปทุม ธานี พระนครศรีอยุธยา ลพบุรี สมุทรปราการ สมุทรสงคราม สมุทรสาคร สระบุรี สิงหบุรี สุพรรณบุรี อางทอง กาญจนบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ ราชบุรี รวม 18 จังหวัด 5) ภาคใต ประกอบไปดวยจังหวัดตางๆ ไดแก กระบี่ ชุมพร ตรัง นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปตตานี พังงา พัทลุง ภูเก็ต ยะลา ระนอง สงขลา สตูล และสุราษฎรธานี รวม 14 จังหวัด


31

ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ภาคกลาง

ภาคตะวันออก

ภาคใต

รูปที่ 3-8 แสดงการแบงภาคประเทศไทยในการจัดเก็บขอมูลเนื้อที่ปาไมของกรมปาไมและกรมอุทยานแหงชาติ จากขอมูลเปรียบเทียบเนื้อที่ปาไมในตารางที่ 1 สามารถแจกแจงเนื้อที่ปาตั้งแตป 2504 – 2552 พบวาในป 2504 พื้นที่ภาคเหนือ มีเนื้อที่ปาปกคลุมถึง 68.54 % ของพื้นที่ภาค (116,275 ตารางกิโลเมตร) ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ มีเนื้อที่ปาปกคลุมถึง 41.99 % ของพื้นที่ภาค (70,904 ตารางกิโลเมตร) ภาคตะวันออกมีเนื้อที่ปา ปกคลุมถึง 57.98 % ของพื้นที่ภาค (21,163 ตารางกิโลเมตร) ภาคกลางมีเนื้อที่ปาปกคลุมถึง 52.91 % ของพื้นที่ภาค (35,661 ตารางกิโลเมตร) ขณะที่ภาคใตมีเนื้อที่ปาปกคลุมถึง 41.33 ของพื้นที่ภาค (29,626 ตารางกิโลเมตร) อาจกลาว ไดวาในทุกภาคของประเทศไทยมีปาไมปกคลุมอยู ราว 40-70 % ของพื้นที่ โดยที่ภาคเหนือมีเนื้อที่ปาปกคลุมมากที่สุด รองลงมาไดแกภาคตะวันออก สวนภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคใต มีพื้นที่ปาปกคลุมเมื่อป 2504 นอยกวาภาคอื่น แตอยางไรก็ดีเปนที่นาสนใจวาในขณะนั้นภาคตะวันออกเฉียงเหนือยังมีเนื้อที่ปาปกคลุมมากกวาภาคใตเสียอีก เมื่อเปรียบเทียบขอมูลในป 2552 พบวาพื้นทีปาภาคเหนือมีเนื้อที่ปาเหลืออยู 56.04 % (95,074.7 ตาราง กิโลเมตร) ลดลง 12.5 % ของพื้นที่ภาค พื้นที่ปาภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีเนื้อที่ปาเหลืออยู 16.32 % (27,555.5 ตารางกิโลเมตร) ลดลง 25.67 % ของพื้นที่ภาค ภาคตะวันออกมีเนื้อที่ปาเหลืออยู 21.01 % (8,033.4 ตารางกิโลเมตร) ลดลง 36.97 % ของพื้นที่ภาค ภาคกลางมีพื้นที่ปาเหลืออยู 29.81% (20,089.04 ตารางกิโลเมตร) ลดลง 23.1 % ของ พื้นที่ภาค และภาคใตมีเนื้อที่ปาเหลืออยู 27.03 % (20,832 ตารางกิโลเมตร) ลดลง 14.3 % โดยภาคเหนือเปนพื้นที่ที่ ยังคงมีปาไมปกคลุมมากที่สุดเกิน 50 %ของพื้นที่ ภาคกลาง ภาคใตและ ภาคตะวันออก ยังคงเหลือพื้นที่ปาไมปกคลุม มากกวา 20 % สวนภาคตะวันออกเฉียงเหนือเปนพื้นที่ท่มี ีปาปกคลุมนอยที่สุดไมถึง 20%


32

แผนภูมิที่ 3-3 แสดงกราฟเปรียบเทียบ %เนื้อที่ปาเมื่อเทียบกับพื้นที่รายภาคตามขอมูลตั้งแตป 2504-2552 80 70 60

เหนือ

50

ตะวัน ออกเฉียงเหนือ

40

ตะวัน ออก

30 20

กลางและตะวัน ตก

10

ใต 2552

2549

2548

2547

2543

2541

2538

2536

2534

2532

2531

2528

2525

2521

2519

2516

2504

0

สถานการณการลดลงของเนื้อที่ปาไมรุนแรงที่สุดที่ภาคตะวันออกและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เปนภาคที่เนื้อ ที่ปาไมหายไปถึงรอยละ 63.76 และ 61.13 ของที่เคยมีเมื่อป 2504 สวนภาคกลางและภาคใตเนื้อที่ปาหายไปรอยละ 43.65 และ 34.59 ของที่เคยมีเมื่อป 2504 ขณะที่ภาคเหนือเนื้อที่ปาหายไปรอยละ 18.83 % ของที่เคยมีเมื่อป 2504

แผนภูมิที่ 3-4 แสดง % เนื้อที่ปาไมเทียบกับพื้นที่ประเทศไทย แยกเปนรายภาค 60 50 ประเทศไทย

40

เหนือ 30

ตะวัน ออกเฉียงเหนือ ตะวัน ออก

20

กลางและตะวัน ตก ใต

10

2552

2549

2548

2547

2543

2541

2538

2536

2534

2532

2531

2528

2525

2521

2519

2516

2504

0


33

ขอมูลป 52 เทียบเคียงกับ%เนื้อที่ปาเทียบกับพื้นที่ประเทศไทยที่มีอยู 33.44% พบวามีเนื้อที่ปาเหลืออยูใน ภาคตางๆเรียงลําดับไดในภาคเหนือมากที่สุดถึง 18.54 % ของเนื้อที่ประเทศไทย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 5.37 % ของเนื้อที่ประเทศไทย ภาคกลาง 3.83 % ของเนื้อที่ประเทศไทย ภาคใต 3.73 % ของเนื้อที่ประเทศไทย และภาค ตะวันออก 1.50 % ของเนื้อที่ประเทศไทย นั่นคือเนื้อที่ปาไมกวาครึ่งหนึ่งเหลืออยูที่ภาคเหนือ แผนภูมิที่ 3-5 เปรียบเทียบ %ของเนื้อทีปาที่ลดลงเปนรายภาคในขอมูลป 2504-2552

3.2.1

สถานการณเนื้อที่ปาไมภาคเหนือ

พื้นที่ปาภาคเหนือมีการสํารวจลาสุดถึงป 2552 มีเนื้อที่ 95,074.7 ตารางกิโลเมตร หรือ 56.04 %ของพื้นที่ ภาค ลดลงจาก ขอมูลในป 2504 ซึ่งเปนขอมูลที่มีการสํารวจโดยวิธีการแปลภาพถายดาวเทียมในปแรกที่มีการจัดเก็บ ขอมูล ที่มีเนื้อที่ 116,275 ตารางกิโลเมตร หรือ 68.54 % ถึง 21,200.3 ตารางกิโลเมตร หรือ 12.5 % หรือลดลงไปรอย ละ 18.23 ของพื้นที่ปาไมที่เคยมีในป 2504 ทั้งนี้ขอมูลเนื้อที่ปาไมในปจจุบัน ไดมีการปรับเปลี่ยนวิธีการแปลภาพถายดาวเทียม ใหสามารถตรวจสอบ พื้นที่ปาในพื้นที่เล็กๆ ไดมากขึ้นแลวนับจากป 2543 ทําใหขอมูลเนื้อที่ปาไมภาคเหนือ ในป 2543 มีเนื้อที่ถึง หรือ


34

56.75 % 96,270.28 (ตารางกิโลเมตร ) มากกวาขอมูลในป 2541 ที่มีเนื้อที่ปาไม 43.06% (73,057 ตารางกิโลเมตร) ถึง 13.69% (23,213.28 ตารางกิโลเมตร) ดังนั้นหากประมาณการเปลี่ยนแปลงเนื้อที่ปาไม ตั้งแตป 2504 จนกระทั่งถึงป 2541 ซึ่งเปนขอมูลในการแปล ภาพถายในวิธีการที่เทียบเคียงกันไดจริงในชวง ราว 40 ป พบวาภาคเหนือควรมีเนื้อที่ปาไมลดลงถึง 43,218 ตาราง กิโลเมตร หรือ 25.48 % ของพื้นที่ภาคเหนือ หรือลดลงไปรอยละ 37.17 ของพื้นที่ปาไมที่เคยมีในป 2504 จากตารางที่ 1.1 แสดงขอมูลเนื้อที่ปาไมตั้งแต พ.ศ. 2504 ตามปที่มีขอมูล จนถึงป 2552 โดยแสดงเนื้อที่และ % พื้นที่ปาเทียบกับพื้นที่รายภาคไวดวยพบวาเนื้อที่ปาไมเมื่อเทียบกับเนื้อที่ภาคเหนือลดลงไป 1.58 % ในชวงป 2504-2516 (12 ป) และ ลดลง 6.64 %, 4.36 %, และ 4.23 % จากการสํารวจเนื้อที่ปา ในป 2519, 2521, และ 2525 จะเห็นวาอัตราเฉลี่ยของการลดลงของพื้นที่ปาไมมากที่สุดจะอยูในชวงป 2516-2519 ที่มีอัตราการลดลงเฉลี่ยปละ 2.21 % หรือ 3,749.14 ตารางกิโลเมตร หลังจากนั้นอัตราการลดลงของพื้นทีปาไมจะลดลง 2.14 %. 2.2 %, 0.1 %. 1.82 %, 1.12 %, 0.8 %, 0.49 % จากการสํารวจเนื้อที่ปาไม ในป 2528, 2531, 2532, 2534, 2536. 2538, และ 2541 โดยชวง นี้อัตราเฉลี่ยของการลดลงของพื้นที่ปาไมมากที่สุดจะอยูในชวงป 2532-2534 ที่มีอัตราลดลงเฉลี่ยปละ 0.91 % หรือ 1543.76 ตารางกิโลเมตร หลังจากการปรับวิธีการสํารวจเนื้อที่ปาในป 2543 ที่ทําใหเนื้อที่ปาไมเพิ่มขึ้นจากขอมูลป 2541 ถึง 13.69 % แตหลังจากนั้นก็ยังมีอัตราการลดลงของพื้นที่ปาไมอยางตอเนื่อง 2.48 %, 1.78 %, 0.6 % จากขอมูลเนื้อที่ปาไมเทียบ กับเนื้อที่ภาคในป 2547, 2548, และ 2549 โดยในป 2547-2548 ยังมีอัตราลดลงของเนื้อที่ปาไมถึง 1.78 % หรือ 3,019.66 ตารางกิโลเมตร แตทั้งนี้นาจะเกิดจากวิธีการสํารวจเนื้อที่ที่สํารวจพบเนื้อที่ที่ลดลงไดมากขึ้น อยางไรก็ตาม จากขอมูลในป 2552 พบวาเนื้อที่ปาไมภาคเหนือ มีเนื้อที่เพิ่มขึ้น 4 % หรือ 6,785.76 ตารางกิโลเมตร จากป 2549 หรือเพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ย 1.33 % ตอป


35

แผนภูมิที่ 3-6 แสดงเปรียบเทียบขอมูลในป 2504 2516 2525 2536 2547 และ 2552 ของเนื้อที่ปาไมรายจังหวัดใน ภาคเหนือ เพื่อแสดงการเปลี่ยนแปลงสถานการณปาไมในแตละจังหวัดในภาคเหนือในชวงเวลาตางๆ 120 กํา แพงเพชร เชียงใหม 100

เชียงราย ตาก นครสวรรค

80

นา น เพชรบูรณ แพร

60

พะเยา พิจิตร พิษณุโลก

40

แมฮองสอน ลํา ปาง ลํา พูน

20

สุโขทัย อุตรดิตถ 0

อุท ัยธานี 2504

3.2.2

2516

2525

2536

2547

2552

สถานการณเนื้อที่ปาไมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

พื้นที่ปาภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีการสํารวจลาสุดถึงป 2552 มีเนื้อที่ 27,555.54 ตารางกิโลเมตร หรือ 16.32 % ของพื้นที่ภาค ลดลงจาก ขอมูลในป 2504 ซึ่งเปนขอมูลที่มีการสํารวจโดยวิธีการแปลภาพถายดาวเทียมในป แรกที่มีการจัดเก็บขอมูล ที่มีเนื้อที่ 70,904 ตารางกิโลเมตร หรือ 41.99 % ถึง 43,348.46 ตารางกิโลเมตร หรือ 25.67 % หรือลดลงไปรอยละ 61.13 ของพื้นที่ปาไมที่เคยมีในป 2504 ทั้งนี้ขอมูลเนื้อที่ปาไมในปจจุบันไดมีการปรับเปลี่ยนวิธีการแปลภาพถายดาวเทียมใหสามารถตรวจสอบพื้นที่ ปาในพื้นที่เล็กๆไดมากขึ้นนับจากป 2543 ทําใหขอมูลเนื้อที่ปาไมภาคตะวันออกเฉียงเหนือในป 2543 มีเนื้อที่ถึง 26,526.94 ตารางกิโลเมตร หรือ 15.71 % มากกวาขอมูลในป 2541 ที่มีเนื้อที่ปาไม 20,984 ตารางกิโลเมตร หรือ 12.43 % ถึง 5,542.94 ตารางกิโลเมตร หรือ 3.28 % ดังนั้นหากประมาณการเปลี่ยนแปลงเนื้อที่ปาไม ตั้งแตป 2504 จนกระทั่งถึงป 2541 ซึ่งเปนขอมูลในการแปล ภาพถายในวิธีการที่เทียบเคียงกันไดจริงในชวง ราว 40 ป พบวาภาคตะวันออกเฉียงเหนือควรมีเนื้อที่ปาไมลดลงถึง 49920 ตารางกิโลเมตร หรือ 29.56 % ของพื้นที่ภาค หรือลดลงไปรอยละ 70.4 ของพื้นที่ปาไมที่เคยมีในป 2504


36

จากตารางที่ 1.1 แสดงขอมูลเนื้อที่ปาไมตั้งแต พ.ศ. 2504 ตามปที่มีขอมูลจนถึงป 2552 โดยแสดงเนื้อที่และ % พื้นที่ปาเทียบกับพื้นที่รายภาคไวดวย พบวาเนื้อที่ปาไมเมื่อเทียบกับเนื้อที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือลดลงไป 11.98 % ในชวงป 2504-2516 (12 ป) และ ลดลง 5.44 %, 6.08 %, และ 3.16 % จากการสํารวจเนื้อที่ปา ในป 2519, 2521, และ 2525 จะเห็นวาอัตราเฉลี่ยของการลดลงของพื้นที่ปาไมมากที่สุดจะอยูในชวงป 2519-2521 ที่มีอัตราการลดลง เฉลี่ยปละ 3.34 % หรือ 5,639.74 ตารางกิโลเมตร หลังจากนั้นอัตราการลดลงของพื้นทีปาไมจะลดลง 0.18 %. 1.12 %, 0.06 %. 1.06 %, 0.19 %, 0.13 %, 0.16 % จากการสํารวจเนื้อที่ปาไม ในป 2528, 2531, 2532, 2534, 2536. 2538, และ 2541 โดยชวงนี้อัตราเฉลี่ยของการลดลงของพื้นที่ปาไมมากที่สุดจะอยูในชวงป 2532-2534 ที่มีอัตราลดลง เฉลี่ยปละ 0.53 % หรือ 894.92 ตารางกิโลเมตร หลังจากการปรับวิธีการสํารวจเนื้อที่ปาในป 2543 ที่ทําใหเนื้อที่ปาไมเพิ่มขึ้นจากขอมูลป 2541 ถึง 3.28 % หลังจากนั้นก็ยังมีอัตราการเพิ่มขึ้นของพื้นที่ปาไม 0.93 % .ในป 2547 และลดลง1.64 %, 0.46 % ในป 2548, และ 2549 โดยในป 2547-2548 ยังมีอัตราลดลงของเนื้อที่ปาไมถึง 1.64 % หรือ 2,769.2 ตารางกิโลเมตร แตทั้งนี้นาจะเกิด จากวิธีการสํารวจเนื้อที่ที่สํารวจพบเนื้อที่ที่ลดลงไดมากขึ้น อยางไรก็ตาม จากขอมูลในป 2552 พบวาเนื้อที่ปาไมภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ มีเนื้อที่เพิ่มขึ้น 1.78 % หรือ 3005.61 ตารางกิโลเมตร จากป 2549 หรือเพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ย 0.59 % ตอป


37

แผนภูมิที่ 3-7 แสดงเปรียบเทียบขอมูลในป 2504 2516 2525 2536 2547 และ 2552 ของเนื้อที่ปาไมรายจังหวัดใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพื่อแสดงการเปลี่ยนแปลงสถานการณปาไมในแตละจังหวัดในชวงเวลาตางๆ

100 90 80 70 60 50 40 30 20 10 0

2504

2516

2525

2536

2547

กาฬสินธุ

ขอนแกน

ชัยภูมิ

นครพนม

นครราชสีมา

บุรีรัมย

มหาสารคาม

มุกดาหาร

ยโสธร

ร อยเอ็ด

เลย

ศรีสะเกษ

สกลนคร

สุรินทร

หนองคาย

หนองบัวลําภู

อํานาจเจริญ

อุดรธานี

อุบลราชธานี

2552


38

3.2.3

สถานการณเนื้อที่ปาไมภาคตะวันออก

พื้นที่ปาภาคตะวันออกมีการสํารวจลาสุดถึงป 2552 มีเนื้อที่ 8,033.40 ตารางกิโลเมตร หรือ 21.01 % ของ พื้นที่ภาค ลดลงจาก ขอมูลในป 2504 ซึ่งเปนขอมูลที่มีการสํารวจโดยวิธีการแปลภาพถายดาวเทียมในปแรกที่มีการ จัดเก็บขอมูล ที่มเี นื้อที่ 21,163 ตารางกิโลเมตร หรือ 57.98 % ถึง 13,129.6 ตารางกิโลเมตร หรือ 36.97 % หรือลดลง ไปรอยละ 63.76 ของพื้นที่ปาไมที่เคยมีในป 2504 ทั้งนี้ขอมูลเนื้อที่ปาไมในปจจุบัน ไดมีการปรับเปลี่ยนวิธีการแปลภาพถายดาวเทียมใหสามารถตรวจสอบพื้นที่ ปาในพื้นที่เล็กๆ ไดมากขึ้นแลวนับจากป 2543 แตขอมูลเนื้อที่ปาไมภาคตะวันออก ในป 2543 มีเนื้อที่ 8,438.28 ตารางกิโลเมตร หรือ 23.12 % ยังลดลงจากขอมูลในป 2541 ที่มีเนื้อที่ปาไม 7,507 ตารางกิโลเมตร หรือ 20.17 % ถึง 931.28 ตารางกิโลเมตร หรือ 2.55 % ดังนั้นหากประมาณการเปลี่ยนแปลงเนื้อที่ปาไม ตั้งแตป 2504 จนกระทั่งถึงป 2541 ซึ่งเปนขอมูลในการแปล ภาพถายในวิธีการที่เทียบเคียงกันไดจริงในชวง ราว 40 ป พบวาภาคเหนือควรมีเนื้อที่ปาไมลดลงถึง 13,656 ตาราง กิโลเมตร หรือ 37.81 % ของพื้นที่ภาคตะวันออก หรือลดลงไปรอยละ 65.21 ของพื้นที่ปาไมที่เคยมีในป 2504 จากตารางที่ 1.1 แสดงขอมูลเนื้อที่ปาไมตั้งแต พ.ศ. 2504 ตามปที่มีขอมูล จนถึงป 2552 โดยแสดงเนื้อที่และ % พื้นที่ปาเทียบกับพื้นที่รายภาคไวดวยพบวาเนื้อที่ปาไมเมื่อเทียบกับเนื้อที่ภาคตะวันออกลดลงไป 16.79 % ในชวงป 2504-2516 (12 ป) และ ลดลง 6.59 %, 4.36 %, และ 8.32 % จากการสํารวจเนื้อที่ปา ในป 2519, 2521, และ 2525 จะเห็นวาอัตราเฉลี่ยของการลดลงของพื้นที่ปาไมมากที่สุดจะอยูในชวงป 2516-2519 ที่มีอัตราการลดลงเฉลี่ยปละ 2.2 % หรือ 803.1 ตารางกิโลเมตร หลังจากนั้นอัตราการลดลงของพื้นทีปาไมจะลดลง 0.09 %. 0.43 %, 0.03 %. 0.27 %, 0.27 %, 0.12 %, 0.22 % จากการสํารวจเนื้อที่ปาไม ในป 2528, 2531, 2532, 2534, 2536. 2538, และ 2541 โดย ชวงนี้อัตราเฉลี่ยของการลดลงของพื้นที่ปาไมมากที่สุดจะอยูในชวงป 2528-2531 ที่มีอัตราลดลงเฉลี่ยปละ 0.14 % หรือ 51.10 ตารางกิโลเมตร หลังจากการปรับวิธีการสํารวจเนื้อที่ปาในป 2543 ที่ทําใหเนื้อที่ปาไมเพิ่มขึ้นจากขอมูลป 2541 ถึง 2.53 % แต หลังจากนั้นก็ยังมีอัตราการลดลงของพื้นที่ปาไมอยางตอเนื่อง 0.55 %, 0.83 %, 0.14 % จากขอมูลเนื้อที่ปาไมเทียบ กับเนื้อที่ภาคในป 2547, 2548, และ 2549 โดยในป 2547-2548 ยังมีอัตราลดลงของเนื้อที่ปาไมถึง 0.83 % หรือ 302.97 ตารางกิโลเมตร แตทั้งนี้นาจะเกิดจากวิธีการสํารวจเนื้อที่ที่สํารวจพบเนื้อที่ที่ลดลงไดมากขึ้น และจากขอมูลใน ป 2552 พบวาเนื้อที่ปาไมภาคตะวันออกยังมีเนื้อที่ลดลง 0.59 % หรือ 1310.43 ตารางกิโลเมตร จากป 2549 หรือ ลดลงในอัตราเฉลี่ย 0.19 % ตอป


39

แผนภูมิที่ 3-8 แสดงเปรียบเทียบขอมูลในป 2504 2516 2525 2536 2547 และ 2552 ของเนื้อที่ปาไมรายจังหวัดใน ภาคตะวันออก เพื่อแสดงการเปลี่ยนแปลงสถานการณปาไมในแตละจังหวัดในชวงเวลาตางๆ

3.2.4

สถานการณเนื้อที่ปาไมภาคกลาง

พื้นที่ปาภาคกลางมีการสํารวจลาสุดถึงป 2552 มีเนื้อที่ 20,089.04 ตารางกิโลเมตร หรือ 29.81 %ของพื้นที่ ภาค ลดลงจาก ขอมูลในป 2504 ซึ่งเปนขอมูลที่มีการสํารวจโดยวิธีการแปลภาพถายดาวเทียมในปแรกที่มีการจัดเก็บ ขอมูล ที่มีเนื้อที่ 35,611 ตารางกิโลเมตร หรือ 52.91 % ถึง 15,521.06 ตารางกิโลเมตร หรือ 23.1 % หรือลดลงไป รอยละ 43.66 ของพื้นที่ปาไมที่เคยมีในป 2504 ทั้งนี้ขอมูลเนื้อที่ปาไมในปจจุบัน ไดมีการปรับเปลี่ยนวิธีการแปลภาพถายดาวเทียม ใหสามารถตรวจสอบ พื้นที่ปาในพื้นที่เล็กๆ ไดมากขึ้นแลวนับจากป 2543 ทําใหขอมูลเนื้อที่ปาไมภาคกลาง ในป 2543 มีเนื้อที่ถึง 21,461.85 ตารางกิโลเมตร หรือ 31.84 % มากกวาขอมูลในป 2541 ที่มีเนื้อที่ปาไม 16,049 ตารางกิโลเมตร หรือ 23.81 % ถึง 5,412.86 ตารางกิโลเมตร หรือ 8.03 % ดังนั้นหากประมาณการเปลี่ยนแปลงเนื้อที่ปาไม ตั้งแตป 2504 จนกระทั่งถึงป 2541 ซึ่งเปนขอมูลในการแปล ภาพถายในวิธีการที่เทียบเคียงกันไดจริงในชวง ราว 40 ป พบวาภาคกลางควรมีเนื้อที่ปาไมลดลงถึง 19,562 ตาราง กิโลเมตร หรือ 29.1 % ของพื้นที่ภาคกลาง หรือลดลงไปรอยละ 55 % ของพื้นที่ปาไมที่เคยมีในป 2504 จากตารางที่ 1.1 แสดงขอมูลเนื้อที่ปาไมตั้งแต พ.ศ. 2504 ตามปที่มีขอมูล จนถึงป 2552 โดยแสดงเนื้อที่และ % พื้นที่ปาเทียบกับพื้นที่รายภาคไวดวยพบวาเนื้อที่ปาไมเมื่อเทียบกับเนื้อที่ภาคกลางลดลงไป 17.35 % ในชวงป 2504-2516 (12 ป) และ ลดลง 3.18 %, 2.07 %, และ 2.84 % จากการสํารวจเนื้อที่ปา ในป 2519, 2521, และ 2525 จะเห็นวาอัตราเฉลี่ยของการลดลงของพื้นที่ปาไมมากที่สุดจะอยูในชวงป 2516-2519 ที่มีอัตราการลดลงเฉลี่ยปละ 1.06 % หรือ 714.4 ตารางกิโลเมตร หลังจากนั้นอัตราการลดลงของพื้นทีปาไมจะลดลง 1.23 %. 0.65 %, 0.04 %. 0.9 %,


40

0.31 %, 0.17 %, 0.36 % จากการสํารวจเนื้อที่ปาไม ในป 2528, 2531, 2532, 2534, 2536. 2538, และ 2541 โดย ชวงนี้อัตราเฉลี่ยของการลดลงของพื้นที่ปาไมมากที่สุดจะอยูในชวงป 2525-2528 ที่มีอัตราลดลงเฉลี่ยปละ 0.41 % หรือ 276.33 ตารางกิโลเมตร หลังจากการปรับวิธีการสํารวจเนื้อที่ปาในป 2543 ที่ทําใหเนื้อที่ปาไมเพิ่มขึ้นจากขอมูลป 2541 ถึง 13.69 % แต หลังจากนั้นก็ยังมีอัตราการลดลงของพื้นที่ปาไมอยางตอเนื่อง 0.32 %, 0.84 %, 0.18 % จากขอมูลเนื้อที่ปาไมเทียบ กับเนื้อที่ภาคในป 2547, 2548, และ 2549 โดยในป 2547-2548 ยังมีอัตราลดลงของเนื้อที่ปาไมถึง 0.84 % หรือ 566.15 ตารางกิโลเมตร แตทั้งนี้นาจะเกิดจากวิธีการสํารวจเนื้อที่ที่สํารวจพบเนื้อที่ที่ลดลงไดมากขึ้น และจากขอมูลใน ป 2552 พบวาเนื้อที่ปาไมภาคกลางยังมีเนื้อที่ลดลง 1.29 % หรือ 869.44 ตารางกิโลเมตร จากป 2549 หรือลดลงใน อัตราเฉลี่ย 0.43 % ตอป

แผนภูมิที่ 3-9 แสดงเปรียบเทียบขอมูลในป 2504 2516 2525 2536 2547 และ 2552 ของเนื้อที่ปาไมรายจังหวัดใน ภาคกลางเพื่อแสดงการเปลี่ยนแปลงสถานการณปาไมในแตละจังหวัดในชวงเวลาตางๆ

100 90

กรุงเทพมหานคร

80

ชัยนาท

70

นครปฐม

60

นนทบุรี

50

ปทุมธานี

40

พระนครศรีอยุธ ยา

30

ลพบุรี

20

สมุทรปราการ

10

สมุทรสงคราม

0 2504

3.2.5

2516

2525

2536

2547

2552

สมุทรสาคร

สถานการณเนื้อที่ปาไมภาคใต

พื้นที่ปาภาคใตมีการสํารวจลาสุดถึงป 2552 มีเนื้อที่ 20,832.92 ตารางกิโลเมตร หรือ 27.03 % ของพื้นที่ภาค ลดลงจาก ขอมูลในป 2504 ซึ่งเปนขอมูลที่มีการสํารวจโดยวิธีการแปลภาพถายดาวเทียมในปแรกที่มีการจัดเก็บขอมูล ที่มีเนื้อที่ 29,626 ตารางกิโลเมตร หรือ 41.89 % ถึง 8,802.08 ตารางกิโลเมตร หรือ 14.86 % หรือลดลงไปรอยละ 35.47 ของพื้นที่ปาไมที่เคยมีในป 2504


41

ทั้งนี้ขอมูลเนื้อที่ปาไมในปจจุบัน ไดมีการปรับเปลี่ยนวิธีการแปลภาพถายดาวเทียม ใหสามารถตรวจสอบ พื้นที่ปาในพื้นที่เล็กๆ ไดมากขึ้นแลวนับจากป 2543 ทําใหขอมูลเนื้อที่ปาไมภาคใต ในป 2543 มีเนื้อที่ถึง 17,413.43 ตารางกิโลเมตร หรือ 24.62 % มากกวาขอมูลในป 2541 ที่มีเนื้อที่ปาไม 12,125 ตารางกิโลเมตร หรือ 17.15 % ถึง 3,087.57 ตารางกิโลเมตร หรือ 7.47 % ดังนั้นหากประมาณการเปลี่ยนแปลงเนื้อที่ปาไม ตั้งแตป 2504 จนกระทั่งถึงป 2541 ซึ่งเปนขอมูลในการแปล ภาพถายในวิธีการที่เทียบเคียงกันไดจริงในชวง ราว 40 ป พบวาภาคใตควรมีเนื้อที่ปาไมลดลงถึง 17,501 ตาราง กิโลเมตร หรือ 24.74 % ของพื้นที่ภาคใต หรือลดลงไปรอยละ 59.05 % ของพื้นที่ปาไมที่เคยมีในป 2504 จากตารางที่ 1.1 แสดงขอมูลเนื้อที่ปาไมตั้งแต พ.ศ. 2504 ตามปที่มีขอมูล จนถึงป 2552 โดยแสดงเนื้อที่และ % พื้นที่ปาเทียบกับพื้นที่รายภาคไวดวยพบวาเนื้อที่ปาไมเมื่อเทียบกับเนื้อที่ภาคใตลดลงไป 15.82 % ในชวงป 25042516 (12 ป) และ มีตัวเลขขอมูลที่เพิ่มขึ้นในป 2519 ถึง 2.77 % จากนั้นมีพื้นที่ปาลดลง 3.59 % และ 1.64 จากการ สํารวจเนื้อที่ปา ในป 2521 และ 2525 จะเห็นวาอัตราเฉลี่ยของการลดลงของพื้นที่ปาไมมากที่สุดจะอยูในชวงป 25192521 ที่มีอัตราการลดลงเฉลี่ยปละ 1.8 % หรือ 1,272.87 ตารางกิโลเมตร หลังจากนั้นอัตราการลดลงของพื้นทีปาไมจะ ลดลง 1.35 %. 1.21 %, 0.04 %. 1.63 %, 0.91 %, 0.5 %, 0.46 % จากการสํารวจเนื้อที่ปาไม ในป 2528, 2531, 2532, 2534, 2536. 2538, และ 2541 โดยชวงนี้อัตราเฉลี่ยของการลดลงของพื้นที่ปาไมมากที่สุดจะอยูในชวงป 25322534 ที่มีอัตราลดลงเฉลี่ยปละ 0.82 % หรือ 579.86 ตารางกิโลเมตร หลังจากการปรับวิธีการสํารวจเนื้อที่ปาในป 2543 ที่ทําใหเนื้อที่ปาไมเพิ่มขึ้นจากขอมูลป 2541 ถึง 7.47 % และมีอัตราเพิ่มขึ้น 0.75 % จากขอมูลในป 2547 แตหลังจากนั้นก็ยังมีอัตราการลดลงของพื้นที่ปาไมอยางตอเนื่อง 0.38 % และ 0.35 % จากขอมูลเนื้อที่ปาไมเทียบกับเนื้อที่ภาคในป 2548, และ 2549 โดยในป 2547-2548 ยังมีอัตราลดลง ของเนื้อที่ปาไมถึง 0.38 % หรือ 268.71 ตารางกิโลเมตร แตทั้งนี้นาจะเกิดจากวิธีการสํารวจเนื้อที่ที่สํารวจพบเนื้อที่ที่ ลดลงไดมากขึ้น อยางไรก็ตาม จากขอมูลในป 2552 พบวาเนื้อที่ปาไมภาคใต มีเนื้อที่เพิ่มขึ้น 2.57 % หรือ 1,817.38 ตารางกิโลเมตร จากป 2549 หรือเพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ย 0.86 % ตอป


42

แผนภูมิที่ 3-10 แสดงเปรียบเทียบขอมูลในป 2504 2516 2525 2536 2547 และ 2552 ของเนื้อที่ปาไมรายจังหวัด ในภาคใตเพื่อแสดงการเปลี่ยนแปลงสถานการณปาไมในแตละจังหวัดในชวงเวลาตางๆ

100 90 กระบี่ 80

ชุมพร ตรัง

70

นครศรีธรรมราช นราธิวาส

60

ปั ตตานี 50

พังงา พัท ลุง

40

ภูเก็ต ยะลา

30

ระนอง สงขลา

20

สตูล 10

สุราษฎรธานี

0 2504

2516

2525

2536

2547

2552

จากขอมูลที่กลาวมาแลวในแตละภาค สามารถสรุปสถานการณเปรียบเทียบขอมูลแตละภาค ในชวงเวลา ตางๆ (04-16, 16-25, 25-41, 41-49 และ 49-52) ไดตาม ตารางที่ 1-3


43

ภาคตะวันออก 36,502.20 ตร.กม.

ภาคต.อ.เฉียงเหนือ 168,854.40 ตร.กม

ภาคเหนือ 169,644.29 ตร.กม.

ตารางที่1-3 เปรียบเทียบขอมูลที่สําคัญเนื้อที่ปาไมภาคตางๆ ในชวงขอมูล พ.ศ. ตางๆ 2504-2516 1) พื้นที่ปาไมป 04 68.54%ของภาค 2) พื้นที่ปาไมลดลง 1.56% ในชวงนี้

2516-2525 1) พื้นที่ปาไมป 16 66.96% 2) พื้นที่ปาไมลดลง 15.23 % ในชวงนี้

2525-2541 1) พื้นที่ปาไมป 28 49.59%ของภาค 2) พื้นที่ปาไมลดลง 8.67% ในชวงนี้

3) ชวงที่พื้นที่ปาลดลง 3) ชวงที่พื้นที่ปาลดลง มากที่สุดป16-19 เฉลี่ย มากที่สุด 32-34 เฉลี่ย ปละ 2.21% ปละ 0.91%

1) พื้นที่ปาไม ป 04 41.99%ของภาค 2) พื้นที่ปาไมลดลง 11.98%ในชวงนี้

1) พื้นที่ปาไมป 16 30.01% 2) พื้นที่ปาไมลดลง 14.64% ในชวงนี้

1) พื้นที่ปาไม ป 28 15.15%ของภาค 2) พื้นที่ปาไมลดลง 2.9%ในชวงนี้

3) ชวงที่พื้นที่ปาลดลง 3) ชวงที่พื้นที่ปาลดลง ม า ก ที่ สุ ด ป 19-21 ม า ก ที่ สุ ด ป 32-34 เฉลี่ยปละ 3.34% เฉลีย่ ปละ 0.53%

1) พื้นที่ปาไม ป 04 57.98%ของภาค 2) พื้นที่ปาไมลดลง 16.79%ในชวงนี้

1) พื้นที่ปาไมป 16 41.19%ของภาค 2) พื้นที่ปาไมลดลง 19.27 % ในชวงนี้ 3) ชวงที่พื้นที่ปาลดลง ม า ก ที่ สุ ด ป 16-19 เฉลี่ยปละ 2.2%

1) พื้นที่ปาไม ป 28 21.89%ของภาค 2) พื้นที่ปาไมลดลง 1.43%ในชวงนี้ 3) ชวงที่พื้นที่ปาลดลง ม า ก ที่ สุ ด ป 28-31 เฉลี่ยปละ 0.14%

2541-2549 1) พื้นที่ปาไมป 41 43.06%ของภาค 2) พื้นที่ปาไม43-49 ลดลง 4.86% ในชวงนี้

2549-2552 1) พื้นที่ปาไมป 52 56.09%ของภาค 2) พื้นที่ปาไมเพิ่มขึ้น 4% ในชวงนี้ (เฉลี่ยเพิ่มปละ1.33%) 3) ชวงที่พื้นที่ปาลดลง 3) – มากที่สุด ป 47-48 เฉลี่ยปละ 1.78% 4) พื้นที่ปาป 41ลดลง 4) พื้นที่ปาป 52 ลดลง จากป 04 รอยละ37.17 จากป 04 รอยละ18.23 5) พื้นที่ปาเพิ่มจากวิธี 5) สํารวจในป43 13.69% 1) พื้นที่ปาไม ป41 1) พื้นที่ปาไม ป 52 16.32%ของภาค 12.43%ของภาค 2) พื้นที่ปาไม43-49 2) พื้นที่ปาไมเพิ่มขึ้น ลดลง 1.17%ในชวงนี้ 1.78%ในชวงนี้ (เฉลี่ยเพิ่มปละ 0.59%) 3) ชวงที่พื้นที่ปาลดลง 3) – ม า ก ที่ สุ ด ป 47-48 เฉลี่ยปละ 1.64% 4) พื้นที่ปาป 41ลดลง 4)พื้นที่ปาป 52 ลดลง จากป 04 รอยละ70.4 จากป 04 รอยละ61.13 5) พื้นที่ปาเพิ่มจากวิธี 5) สํารวจในป 43 3.28% 1) พื้นที่ปาไม ป 41 1) พื้นที่ปาไม ป 52 20.50%ของภาค 21.01%ของภาค 2) พื้นที่ปาไม43-49 2) พื้นที่ปาไมลดลง ลดลง1.52%ในชวงนี้ 0.59%ในชวงนี้ 3) ชวงที่พื้นที่ปาลดลง 3) – ม า ก ที่ สุ ด ป 47-48 เฉลี่ยปละ 1.64% 4) พื้นที่ปาป 41ลดลง 4) พื้นที่ปาป 52 ลดลง จากป 04 รอยละ65.21 จากป 04 รอยละ61.13 5) พื้นที่ปาเพิ่มจากวิธี 5) สํารวจในป 43 2.55%


44

ภาคใต 70,715.19 ตร.กม.

ภาคกลาง 67,398.70 ตร.กม.

1) พื้นที่ปาไม ป 04 52.91%ของภาค 2) พื้นที่ปาไมลดลง 17.35%ในชวงนี้

1) พื้นที่ปาไมป 16 35.56%ของภาค 2) พื้นที่ปาไมลดลง 8.09 % ในชวงนี้ 3) ชวงที่พื้นที่ปาลดลง ม า ก ที่ สุ ด ป 16-19 เฉลี่ยปละ 1.06%

1) พื้นที่ปาไม ป 28 26.24%ของภาค 2) พื้นที่ปาไมลดลง 3.66%ในชวงนี้ 3) ชวงที่พื้นที่ปาลดลง ม า ก ที่ สุ ด ป 25-28 เฉลี่ยปละ 0.41%

1) พื้นที่ปาไม ป 41 23.81%ของภาค 2) พื้นที่ปาไม43-49 ลดลง 1.34%ในชวงนี้ 3) ชวงที่พื้นที่ปาลดลง ม า ก ที่ สุ ด ป 47-48 เฉลี่ยปละ 0.84% 4) พื้นที่ปาป 41ลดลง จากป 04 รอยละ55 5) พื้นที่ปาเพิ่มจากวิธี สํารวจในป 43 8.03% 1) พื้นที่ปาไม ป 04 1) พื้นที่ปาไมป 16 1) พื้นที่ปาไม ป28 1) พื้นที่ปาไม ป 41 41.89%ของภาค 26.07%ของภาค 21.90%ของภาค 17.15%ของภาค 2) พื้นที่ปาไมลดลง 2) พื้นที่ปาไมลดลง 2) พื้นที่ปาไมลดลง 2) พื้นที่ปาไม43-49 15.82ในชวงนี้ 2.46 % ในชวงนี้ 6.1%ในชวงนี้ เพิ่มขึ้น 0.02% ชวงนี้

1) พื้นที่ปาไม ป 52 29.21%ของภาค 2) พื้นที่ปาไมลดลง 1.29%ในชวงนี้ 3) –

4) พื้นที่ปาป52 ลดลง จากป04 รอยละ43.66 5) -

1) พื้นที่ปาไม ป 52 27.03%ของภาค 2) พื้นที่ปาไมเพิ่มชึ้น 2.57% ในชวงนี้ (เฉลี่ย เพิ่มปละ0.86%) 3) ชวงที่พื้นที่ปาลดลง 3) ชวงที่พื้นที่ปาลดลง 3) ชวงที่พื้นที่ปาลดลง 3) – ม า ก ที่ สุ ด ป 19-21 ม า ก ที่ สุ ด ป 32-34 ม า ก ที่ สุ ด ป 47-48 เฉลี่ยปละ1.8% เฉลี่ยปละ 0.82% เฉลี่ยปละ 0.38% 4) พื้นที่ปาป 41ลดลง 4) พื้นที่ปาป 52 ลดลง จากป 04รอยละ 59.05 จากป 04 รอยละ38.47 5) พื้นที่ปาเพิ่มจากวิธี 5) สํารวจในป 43 7.47%

3.3 สถานการณพื้นที่ปาไมเปนรายจังหวัด ขอมูลเนื้อทีปาไมรายจังหวัดไดสํารวจโดยภาพจากดาวเทียม ในป 2504 – 2552 ไดแสดงขอมูลไวเชนเดียวกับ เนื้อที่ปาไมรายภาค ในการศึกษาครั้งนี้ไมสามารถศึกษารายละเอียดความเปลี่ยนแปลงในแตละจังหวัดไดเนื่องจาก ขอจํา กัดในเรื่องระยะเวลาการศึกษา โดยทําไดเพียงจัดกลุม จังหวัดที่มีเนื้อที่ปาปกคลุมเปรียบเทียบใหเห็นความ เปลี่ยนแปลงในชวงระยะที่สําคัญ 3.3.1 เนื้อที่ปาไมปกคลุมจังหวัดตางๆในอดีต จากการเปรียบเทียบเนื้อที่ปาไมในแตละจังหวัด พบวาในราว 50 ปที่ผานมาสามารถแบงกลุมจังหวัดที่มีเนื้อที่ปา ไมปกคลุมพื้นที่จังหวัดออกไดเปน 5 กลุมใหญๆ ดังนี้ 1. จังหวัดที่เคยมีเนื้อที่ปาไมปกคลุมมากกวา 70 % ของพื้นที่ • ในภาคเหนือ ไดแก จังหวัดกําแพงเพชร เชียงใหม ตาก นาน เพชรบูรณ แมฮองสอน ลําปาง ลําพูน อุตรดิตถ อุทัยธานี • .ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไดแก จังหวัดสกลนคร • ในภาคกลางไดแก จังหวัดกาญจนบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ


45

• ในภาคใต ไดแกจังหวัด ชุมพร พังงา ระนอง และ สตูล 2. จังหวัดที่มีเคยมีเนื้อที่ปาไมปกคลุม 50-70 % ของพื้นที่ (รวมตรัง 49.80) •

ในภาคเหนือ ไดแก จังหวัดเชียงราย แพร พะเยา พิษณุโลก สุโขทัย

ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไดแกจังหวัด กาฬสินธุ ชัยภูมิ นครพนม นครราชสีมา เลย หนองคาย

ในภาคตะวันออก ไดแกจังหวัดจันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ตราด นครนายก ปราจีนบุรี ระยอง

ในภาคกลาง ไดแกจังหวัดราชบุรี

• ในภาคใต ไดแก จังหวัด กระบี่ ตรัง ภูเก็ต สุราษฎรธานี 3. จังหวัดที่เคยมีเนื้อที่ปาไมปกคลุม 25-50 % ของพื้นที่ • ในภาคเหนือไดแก จังหวัดนครสวรรค • ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือไดแก จังหวัดขอนแกน บุรีรัมย ศรีสะเกษ สุรินทร อํานาจเจริญ อุดรธานี อุบลราชธานี • ในภาคกลาง ไดแก จังหวัด ลพบุรี สุพรรณบุรี • ในภาคใต ไดแก จังหวัดนครศรีธรรมราช ยะลา 4. จังหวัดที่เคยมีเนื้อที่ปาปกคลุม 1-25% • ในภาคเหนือไดแกจังหวัดพิจิตร • ในภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ได แ ก จั ง หวั ด มหาสารคาม มุ ก ดาหาร ยโสธร ร อ ยเอ็ ด หนองบัวลําภู • ในภาคตะวันออก ไดแกจังหวัดสระแกว • ในภาคกลางไดแก จังหวัด ชัยนาท สระบุรี สมุทรปราการ สมุทรสงคราม สมุทรสาคร • ในภาคใตไดแก จังหวัดปตตานี พัทลุง สงขลา นราธิวาส 5. จังหวัดที่ไมเคยมีเนื้อที่ปาหรือเคยมีเนื้อที่ปาปกคลุมไมถึง 1% ไดแก จังหวัด กรุงเทพมหานครนครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา สิงหบุรี อางทอง 3.3.2 เนื้อที่ปาไมปกคลุมจังหวัดในปจจุบัน จากการเปรียบเทียบเนื้อที่ปาไมในแตละจังหวัด พบวาในป 2552, มีจังหวัดที่มีเนื้อที่ปาไมปกคลุมพื้นที่จังหวัด ออกไดเปน 5 กลุมใหญๆ ดังนี้ 1. จังหวัดที่มีเนื้อที่ปาไมปกคลุมมากกวา 70 % ของพื้นที่ • ในภาคเหนือ ไดแก จังหวัดเชียงใหม ตาก นาน แมฮองสอน ลําปาง • ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไมมี • ในภาคตะวันออก ไมมี


46

• ในภาคกลาง ไมมี • ในภาคใต ไมมี 2. จังหวัดที่มีเนื้อที่ปาไมปกคลุม 50-70 % ของพื้นที่ •

ในภาคเหนือ ไดแก จังหวัดแพร พะเยา ลําพูน อุตรดิตถ อุทัยธานี

ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไมมี

ในภาคตะวันออก ไมมี

ในภาคกลาง ไดแก กาญจนบุรี เพชรบุรี

• ในภาคใต ไดแก จังหวัดระนอง 3. จังหวัดที่มีเนื้อที่ปาไมปกคลุม 25-50 % ของพื้นที่ • ในภาคเหนือไดแก จังหวัดเชียงราย เพชรบูรณ พิษณุโลก สุโขทัย • ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือไดแก จังหวัดชัยภูมิ มุกดาหาร เลย • ในภาคตะวันออกไดแก จังหวัดจันทบุรี ตราด นครนายก ปราจีนบุรี • ในภาคกลาง ไดแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ ราชบุรี • ในภาคใต ไดแก จังหวัดนราธิวาส พังงา ภูเก็ต ยะลา สตูล สุราษฎรธานี 4. จังหวัดที่มีเนื้อที่ปาปกคลุม 1-25% • ในภาคเหนือไดแกจังหวัดกําแพงเพชร นครสวรรค • ในภาคตะวัน ออกเฉี ยงเหนื อไดแ ก จังหวั ด กาฬสิน ธ ขอนแก น นครพนม นครราชสี ม า บุ รี รั ม ย มหาสารคาม ยโสธร ร อ ยเอ็ ด ศรี ส ะเกษ สกลนคร สุ ริ น ทร หนองคาย หนองบัวลําภู อํานาจเจริญ อุดรธานี อุบลราชธานี • ในภาคตะวันออก ไดแกจังหวัดฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง สระแกว • ในภาคกลางไดแก จังหวัดชัยนาท ลพบุรี สมุทรปราการ สมุทรสงคราม สมุทรสาคร สระบุรี สุพรรณบุรี • ในภาคใตไดแก จังหวัดกระบี่ ชุมพร ตรัง นครศรีธรรมราช ปตตานี พัทลุง สงขลา 5. จังหวัดที่ไมเคยมีเนื้อที่ปาหรือเคยมีเนื้อที่ปาปกคลุมไมถึง 1% จังหวัดที่ไมมีเนื้อที่ปา หรือมีเนื้อที่ปาปกคลุมไมถึง 1% คือ พิจิตร กรุงเทพมหานคร นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา สิงหบุรี อางทอง 3.3.3

การสูญเสียเนื้อที่ปาไมในจังหวัดตางๆ จากการศึกษาขอมูลเนื้อที่ปาไมรายจังหวัด สามารถจัดกลุมจังหวัดที่มีการเปลี่ยนแปลงเนื้อที่ปาออกไดเปน 4 ระดับ ดังนี้ I. สูญเสียเนื้อที่ปาไมรุนแรงมาก คือจังหวัดที่เคยมีเนื้อที่ปาไมมากกวา 70 % ในอดีตแตในปจจุบัน ลดลงไมถึง 25 % ของพื้นที่จังหวัด ไดแก กําแพงเพชร สกลนคร และชุมพร


47

สูญเสียเนื้อที่ปาไมอยางรุนแรง คือจังหวัดที่เคยมีปาไมปกคลุมมากกวา 70% ในอดีตแตใน ปจจุบันลดลงไมถึง 50% ไดแก จังหวัด เพชรบูรณ ประจวบคีรีขันธ พังงา สตูล และจังหวัดที่เคยมี ปาไมปกคลุมกวา 50% แตในปจจุบันลดลงไมถึง 25 % ไดแก จังหวัดกาฬสินธุ นครพนม นครราชสีมา หนองคาย ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง กระบี่ ตรัง III. สูญเสียเนื้อที่ปาไมมาก คือจังหวัดที่เคยมีปาไมปกคลุมมากกวา 70% ในอดีตแตในปจจุบัน ลดลงอยุในชวง 50-70% ไดแก จังหวัดลําพูน อุตรดิตถ อุทัยธานี กาญจนบุรี เพชรบุรี ระนอง , จังหวัดที่เคยมีปาไมปกคลุมกวา 50% แตในปจจุบันลดลงอยูในชวง 25-50 % ไดแก จังหวัด เชี ย งราย พิ ษ ณุ โ ลก สุ โ ขทั ย ชั ย ภู มิ เลย จั น ทบุ รี ตราด นครนายก ปราจี น บุ รี ราชบุ รี ภู เ ก็ ต สุราษฏรธานี และ จังหวัดที่เคยมีปาไมปกคลุม 25-50 % แตในปจจุบันลดลงจนนอยกวา 25 % ไดแกจังหวัดนครสวรรค ขอนแกน บุรีรัมย ศรีสะเกษ สุรินทร อํานาจเจริญ อุดรานี อุบลราชธานี ลพบุรี สุพรรณบุรี นครศรีธรรมราช สงขลา รวมถึงพิจิตร ที่เคยมีปาไมอยูถึงเกือบ 20 % แตปจจุบัน แทบจะไมมปี าไมเหลืออยูเลย IV. จังหวัดที่สูญเสียปาไมปานกลาง คือจังหวัด จังหวัดที่เคยมีปาไมปกคลุมมากกวา 70% ในอดีต และในปจจุบันลดลงแตยังคงมีปาไมมากกวา 70% ไดแก จังหวัดเชียงใหม ตาก นาน แมฮองสอน และ ลําปาง, จังหวัดที่เคยมีปาไมปกคลุมกวา 50% ในปจจุบันลดลงแตยังคงมีปาไมมากกวา 50 % ไดแก จังหวัดแพร พะเยา และ จังหวัดที่เคยมีปาไมปกคลุม 25-50 % ในปจจุบันลดลงแตยังคงมีปา ไมมากกวา 25 % ไดแกจังหวัดยะลา รวมถึง จังหวัดมหาสารคาม รอยเอ็ด หนองบัวลําภู สระแกว ชัยนาท สระบุรี สมุทรปราการ สมุทรสงคราม สมุทรสาคร ปตตานี และพัทลุง ที่เคยมีปาไมอยูบาง ซึ่งในกลุมนี้ อาจจะรวมถึง กรุงเทพมหานคร และ และในปจจุบันก็ยังมีเนื้อที่ปาไมเหลืออยู พระนครศรีอยุธยาไวดวยก็ได นอกจากนี้ยังพบวาขอมูลเนื้อที่ปาไมเพิ่มขึ้นในจังหวัด มุกดาหาร และนราธิวาส ไมเพียงพอในการวิเคราะห ดังกลาวเนื่องจากไมมีขอมูลในชวงกอนป 2525 อาจเนื่องมาจากภาพดาวเทียมมีเมฆปกคลุมมาก II.

การเปลี่ยนแปลงเนื้อที่ปาไมของจังหวัดตางๆในปจจุบัน แมวาในปจจุบันภาพรวมของเนื้อที่ประเทศไทยจะมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้น ตามขอมูลเปรียบเทียบ พ.ศ. 2547 และ 2552 ดังที่ไดกลาวแลว โดยแนวโนมที่เพิ่มขึ้นในภาคเหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต (ภาคกลางและภาค ตะวันออก ยังมีแนวโนมลดลง) เมื่อพิจารณาขอมูลรายจังหวัดสามารถจัดกลุมพื้นที่จังหวัดตามเนื้อที่ปาไมที่เพิ่มขึ้นหรือ ลดลงไดตอไปนี้ a) พื้นที่จังหวัดที่มีขอมูลเนื้อที่ปาไมเพิ่มขึ้น กลุมจังหวัดที่มีเนื้อที่ปาไมเพิ่มขึ้น 1-5% ของเนื้อที่ จังหวัด ไดแก จังหวัดเชียงใหม เพชรบูรณ พิษณุโลก อุตรดิตถ อุทัยธานี ขอนแกน มหาสารคาม สุรินทร หนองบัวลํา ภู อุบลราชธานี สระแกว สมุทรปราการ สมุทรสงคราม สมุทรสาคร สระบุ รี กาญจนบุรี เพชรบุรี ราชบุรี กระบี่ ชุมพร นครศรีธรรมราช ระนอง สงขลา และสุราษฏรธานี ใน จํานวนนี้ พบวาจังหวัดลําปาง ลพบุรี พังงา มีเนื้อที่ปาไมเพิ่มขึ้นสูงเกิน 5 % ของเนื้อที่จังหวัด และ พบวา ในชวงเวลาดังกลาว จังหวัดภูเก็ตมีพื้นที่ปาไมเพิ่มขึ้นถึง 10.14 % ของเนื้อที่จังหวัด 3.3.4


48

b) พื้นที่จังหวัดที่มีขอมูลเนื้อที่ปาไมคงที่ หรือเพิ่มขึ้นลดลงไมเกิน 0.5% ของเนื้อที่จังหวัด ไดแก นครสวรรค พิจิตร นครราชสีมา บุรีรัมย รอยเอ็ด ศรีสะเกษ อํานาจเจริญ จันทบุรี กรุงเทพมหานคร นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา สิงหบุรี อางทอง นราธิวาส ยะลา c) พื้นที่จังหวัดที่มีขอมูลเนื้อที่ปาไมลดลง กลุมจังหวัดที่มีเนื้อทีปาไมลดลง 1-3% ของเนื้อที่จังหวัด ไดแ ก จั งหวัดกําแพงเพชร เชียงราย ตาก พะเยา แมฮองสอน ลําพูน สุโขทั ย กาฬสิน ธุ ชัยภูมิ มุกดาหาร ยโสธร สกลนคร อุดรราชธานี ระยอง ตรัง และมีขอมูลเนื้อที่ปาไมลดลงประมาณ 5-9 % ของเนื้อที่จังหวัด ไดแกจังหวัดตาก นาน แพร นครพนม ตราด ประจวบคีรีขันธ ในขณะที่จังหวัด สตูลมีเนื้อที่ปาไมลดลงถึง 11.18 % ของเนื้อที่จังหวัด จากการจัดกลุมจังหวัดตามขอมูลที่กลาวมาแลว แสดงเปนแผนที่ไดในรูป 3-8, 3-9, 3-10, และ 3-11


49

รูป 3-8 แสดงจังหวัดที่มีปาไมปกคลุมมาก-นอยในป 2504


50

รูป 3-9 แสดงจังหวัดที่มีปาไมปกคลุมมาก-นอยในป 2552


51

รูป 3-10 แสดงภาพเปรียบเทียบจังหวัดที่มีปาไมปกคลุมระหวางป พ.ศ. 2504 และ 2552


52

รูป 3-11 แสดงจังหวัดที่มีการสูญเสียปาไมมาก-นอยในรอบ 50 ป (2504 -2552)


53

รูป 3-12 แสดงจังหวัดที่มีปาไมปกคลุมมากขึ้น-ลดลงในปจจุบัน (2549=2552)


54

4. สถานการณ ค วามเปลี่ ย นแปลงชนิ ด ของปาไมประเทศไทย จากขอมูลของกรมปาไมและกรมอุทยานแหงชาติ พบวา สวนภูมิสารสนเทศ กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ไดสํารวจเนื้อที่ปาไมของประเทศไทยแยกตามชนิดปา ในป 2525 และ 2543 เทานั้น โดยในขอมูลป 2525 จําแนกชนิดปา ออก เปน ปาดงดิบ ปาผสมผลัดใบ ปาเต็งรัง ปาชายเลน ปาสน และปาละเมาะ แตขอมูลในป 2543 ไมมีการจําแนกชนิดปาเปน ปาละเมาะ แตเพิ่ม ประเภทการใชประโยชนที่ดินเปนชนิดปาพรุ ปาบุงปาทาม ปา ชายหาด ปาไผ รวมถึงเพิ่มเติมขอมูลพื้นที่สวนปาและพื้นที่ปาฟนฟูตามธรรมชาติ ขึ้นมาอีกดวย ขอมูลเนื้อที่ปาไมในป 2525 (มีเนื้อที่ปา 30.25 % ของพื้นทีประเทศไทย) จําแนกเปนปาดงดิบ 67,861 ตาราง กิโลเมตร หรือ รอยละ 43.33 ปาผสมผลัดใบ 33,929 ตารางกิโลเมตร หรือ รอยละ 21.67 ตารางกิโลเมตร ปาเต็งรัง 48,930 ตารางกิโลเมตร หรือรอยละ 31.25 ปาชายเลน 2,872 ตารางกิโลเมตร หรือรอยละ 1.83 ปาสน 2,162 ตาราง กิโลเมตร หรือรอยละ 1.38 และ ปาละเมาะ 846 ตารางกิโลเมตร หรือรอยละ 0.54 ในขณะที่ขอมูลเนื้อที่ปาไมในป 2543 (มีเนื้อที่ปาตามการสํารวจดวยภาพจากดาวเทียมความละเอียดสูงขึ้นทําใหมีเนื้อที่ปาทั้งประเทศถึง 33.1 % เนื้อ ที่มากกวาขอมูลป 2525 ) จําแนกเปนปาดงดิบ 52,679 ตารางกิโลเมตร พื้นที่ลดลงรอยละ 22.44 ปาผสมผลัดใบ (เปลี่ยนชื่อชนิดปาเปนปาเบญจพรรณ) 87,444.7 ตารางกิโลเมตร เพิ่มขึ้นรอยละ 161.69 ปาเต็งรัง 18,569.5 ตาราง กิโลเมตร ลดลงรอยละ 61.89 ปาชายเลน 2,093.1 ตารางกิโลเมตร หรือลดลงรอยละ 26.78 ปาสน 462.1 ตาราง กิโลเมตร ลดลงรอยละ 80.95 และเพิ่มขอมูลพื้นที่ปาพรุ 304 ตารางกิโลเมตร ปาบุงปาทาม 256.8 ตารางกิโลเมตร ปาชายหาด 125 ตารางกิโลเมตร ปาไผ 1503.5 ตารางกิโลเมตร รวมชนิดปายอยๆเหลานี้เพิ่มเปนรอยละ 141.18 รวมถึงมีขอมูลพื้นที่สวนปา 3,477 ตารางกิโลเมตร และพื้นทีปาฟนฟูตามธรรมชาติ 237.4 ตารางกิโลเมตร สําหรับเนื้อ ที่ปาไมเทียบกับเนื้อที่ประเทศไทยของชนิดปาตางๆ แสดงในตารางที่ 2.1 และ แสดงขอมูลแยกรายภาคของเนื้อทีปา ชนิดตางๆในตารางที่ 2.2 ตารางที่2.1 แสดงขอมูลเนื้อที่ปาเทียบกับเนื้อที่ประเทศไทยของชนิดปาตางๆจากขอมูลป 2525 และ 2543 พ.ศ.

ดงดิบ เบญจ พรรณ/ ปาผสม ผลัดใบ 13.19 6.5 2525 10.24 17.01 2543 เปลี่ยนแปลง 2.95 +10.51 (%) 22.44 +161.69 รอยละ

ปา เต็ง รัง 9.5 3.62 5.88 61.89

ปา พรุ

0.06

ปา บุง ทาม

ปา ปา ชายหาด ไผ

ปาละเมาะ = 0.17 0.05 0.02 +0.25 +141.18

0.29

ปา สน

ปา ชาย เลน

สวน ปา

ปาฟนฟู รวม ตาม ธรรมชาติ

0.42 0.08 0.34

0.56 0.48 0.15

0.68 +0.68

0.55 +0.55

30.34 33.1 +2.75

80.95

26.78

-

-

9.06


55

จากขอมูลเปรียบเทียบ % ที่เปลี่ยนแปลงพบวาในพื้นที่ปาธรรมชาติที่หลงเหลืออยู มีเพียงชนิดปาเบญจ พรรณเพียงชนิดเดียว ที่มีเนื้อที่เพิ่มขึ้นจากการสํารวจโดยใชภาพจากดาวเทียมรายละเอียดสูงและเปลี่ยนแปลงวิธี สํารวจโดยนับเนื้อที่ปาหยอมเล็กๆเขามารวมดวย โดยมีขอมูลเนื้อที่มากขึ้นถึง 10.51 % สวนปาดงดิบ ปาเบจพรรณ ปาเต็งรัง ปาสน และ ปาชายเลน ลวนมีขอมูลเนื้อที่ลดลง และสําหรับขอมูลเนื้อที่ปาที่เพิ่มขึ้นจากป 2525 ถึง 2.76 % สวนหนึ่งไดจากการนับเนื้อที่สวนปา และพื้นที่ฟนฟูตามธรรมชาติถึง 1.23 % หรือเกือบครึ่งหนึ่ง สวนเนื้อที่ปาชนิด ยอยๆ ไมสามารถเปรียบเทียบไดเนื่องจากมีการเก็บขอมูลเพียงปเดียว แตหากนับเปนพื้นที่ปาละเมาะก็จะพบวามี ขอมูลเนื้อที่ปาชนิดยอยๆมากกวาพื้นที่ปาละเมาะเมื่อป 2525 เล็กนอย แสดงขอมูลเปรียบเทียบเนื้อที่ชนิดปาในกราฟ รุปที่ 2.1 และ แสดงเปรียบเทียบรอยละของเนื้อที่ที่ลดลงของชนิดปารายภาค ในกราฟรูปที่ 2.2 รูปที่ 2.1 แสดงเนื้อที่เปน % ของปาชนิดตางๆเทียบกับเนื้อที่ประเทศไทยเปรียบเทียบจากขอมูล พ.ศ. 2525 และ 2543

18 16 14 12 10 8 6 4 2 0

2525

2543

จากการเปรียบเทียบขอมูลพบวาในระดับประเทศแลวเนื้อที่ปาที่หายไปมากที่สุดคือปาเต็งรัง (5.88%) ของ เนื้อที่ประเทศไทย หรือหายไปรอยละ 61.89 แตหากพิจารณาเปนสัดสวนรอยละของชนิดปา จะพบวาปาสนเปนชนิด ปาที่หมดไปมากที่สุดจากที่เคยมีในป 2525 หายไปถึงรอยละ 80.95


56

ตารางที่ 2.2 เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงขอมูลเนื้อที่เปนรอยละของเนื้อที่ที่ลดลง หรือเพิ่มขึ้นของเนื้อที่ปาชนิดตางๆ แยกรายภาค 250

200

\ #""

150

\#

100

50

#

0

#

##

‐50

 !

‐100

‐150

สําหรับขอมูลเปรียบเทียบรายภาคจะอธิบายในหัวขอยอยตามชนิดปาตอไป รูปที่ 4-1 แสดงเนื้อที่ปาไม แยกตามชนิดปา ในป 2543


57

รูป 4-1 การกระจายตัวของปาชนิดตางๆในประเทศไทย (กรมปาไม, 2543)


58

4.1

ปาดิบ

จากขอมูลเปรียบเทียบพบวาปาดิบเปนชนิดปาที่มีเนื้อที่มากที่สุดของชนิดปาที่มีอยูในประเทศไทยในป 2525 คือมีอยูถึง 13.19 % จากเนื้อที่ปาทั้งหมด 30.34 %ของเนื้อที่ประเทศไทย หรืออาจจะกลาวไดวาเกือบครึ่งหนึ่งของปา ประเทศไทยเป นปาดิบ โดยกระจายอยูในภาคเหนือเปนพื้นที่มากที่สุด รองลงมาคือ ภาคใต ภาคกลาง และภาค ตะวันออก แตหากพิจารณาสัดสวนของชนิดปาตอพื้นที่ปาในแตละภาคจะพบวาปาดิบกินเนื้อที่เกือบทั้งหมดในปา ภาคใตและภาคตะวันออก (87.11 และ 77.70 %) ในขณะที่ขอมูลป 2543 พบวาเนื้อที่ปาดิบลดลง 2.95 % โดยเปนการ ลดลงในภาคกลางถึง 12.41 %ของเนื้อที่ภาคกลาง ( 843.72 ตารางกิโลเมตร) และลดลงในภาคเหนือ 3.3 %ของเนื้อที่ ภาคเหนือ (5598.26 ตารางกิโลเมตร) สวนภาคอื่นๆมีเนื้อที่ปาดิบลดลงไมมากนักเนื่องจากเทคนิคการแปลภาพถายที่ นับรวมปาหยอมเล็กจากภาพรายละเอียดสูงเขามาดวย อาจกลาวไดวาสถานการณการลดลงของเนื้อทีปาดิบรุนแรง ที่สุดในพื้นที่ภาคกลางนั่นคือเนื้อทีปาดิบหายไปถึงรอยละ 65.98 ขอมูลรายจังหวัดป 2543 มีรายงานเนื้อที่ปาดิบมากถึง 4,908.6 ตารางกิโลเมตร ในจังหวัดเชียงใหม 3,893.8 ตารางกิโลเมตร ในจังหวัดตาก และ 3,628.9 ตารางกิโลเมตร ในจังหวัดสุราษฏรธานี นอกจากนี้ยังมีปาดิบมากกวา 2,000 ตารางกิโลเมตรในจังหวัด แมฮองสอน กาญจนบุรี และยังมีเนื้อที่ปาดิบมากกวา 1,000 ตารางกิโลเมตร ใน จังหวัด นาน เพชรบูรณ ชัยภูมิ นครราชสีมา อุบลราชานี จันทบุรี ปราจีนบุรี สระแกว ชุมพร นครศรีธรรมราช พังงา ยะลา และระนอง 4.2

ปาเบญจพรรณ หรือ ปาผสมผลัดใบ

จากขอมูลเปรียบเทียบพบวาปาผสมผลัดใบเปนชนิดปาที่มีเนื้อที่ไมมากนักของชนิดปาที่มีอยูในประเทศไทย ในป 2525 คือมีอยูเพียง 6.5 % จากเนื้อที่ปาทั้งหมด 30.34 %ของเนื้อที่ประเทศไทย โดยกระจายอยูในภาคเหนือเปน พื้นที่มากที่สุด รองลงมาคือภาคกลาง และภาคตะวันออก โดยไมพบปาชนิดนี้ในภาคใตเลย ในขณะที่ขอมูลป 2543 พบวาเนื้อที่ปาชนิดนี้เพิ่มขึ้นถึง 10.51 %ของเนื้อที่ประเทศไทย โดยเปนการเพิ่มขึ้นในภาคเหนือถึง 22.35 %ของเนื้อที่ ภาคเหนือ ( 37,915.5 ตารางกิโลเมตร) และในภาคกลาง 13.58 %ของเนื้อที่ภาคกลาง (9,152.74 ตารางกิโลเมตร) สวนภาคอื่นๆมีเนื้อที่ปาชนิดนี้เพิ่มไมมากนัก อาจกลาวไดวาขอมูลเนื้อที่ปาที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากเทคนิคการแปลภาพถาย ที่นับรวมปาหยอมเล็กจากภาพรายละเอียดสูงจะปรากฏเนื้อที่ปาชนิดนี้ในพื้นที่ภาคเหนือและภาคกลางทําใหขอมูลเนื้อ ที่ปาของประเทศไทยมีตัวเลขสูงขึ้นอยางมาก และจากขอมูลดังกลาว อาจกลาวไดวาเนื้อที่ปาเบญจพรรณ (17.01%) มี สัดสวนชนิดปามากที่สุดกวาครึ่งหนึ่งของเนื้อที่ปาประเทศไทยในป 2543 (33.09%) โดยเกือบทั้งหมดอยูในภาคเหนือ และภาคกลาง ขอมูลรายจังหวัดป 2543 มีรายงานเนื้อที่ปาเบญจพรรณมากถึง 8,355.3 ตารางกิโลเมตร ในจังหวัดเชียงใหม 8,308.1 ตารางกิโลเมตร ในจังหวัดแมฮองสอน และ 7,771.5 ตารางกิโลเมตร ในจังหวัดกาญจนบุรี นอกจากนี้ยังมีปา ดิบมากกวา 5,000 ตารางกิโลเมตรในจังหวัด ตาก นาน ลําปาง และยังมีเนื้อที่ปาดิบมากกวา 1,000 ตารางกิโลเมตร ในจังหวัด กําแพงเพชร เชียงราย พะเยา พิษณุโลก เพชรบูรณ แพร ลําพูน สุโขทัย อุตรดิษถ อุทัยธานีชัยภูมิ เลย ประจวบคีรีขันธ เพชรบุรี ราชบุรี


59

4.3

ปาเต็งรัง

จากขอมูลเปรียบเทียบพบวาปาเต็งรังเปนชนิดปาที่มีเนื้อที่มากของชนิดปาที่มีอยูในประเทศไทยในป 2525 คือมีอยูถึง 9.5 % จากเนื้อที่ปาทั้งหมด 30.34 %ของเนื้อที่ประเทศไทย หรืออาจจะกลาวไดวาเกือบหนึ่งในสามของปา ประเทศไทยเปนปาเต็งรัง โดยกระจายอยูในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเปนพื้นที่มากที่สุด รองลงมาคือ ภาคเหนือ แต หากพิ จ ารณาสั ด ส ว นของชนิ ด ป า ต อ พื้ น ที่ ป า ในแต ล ะภาคจะพบว า ป า เต็ ง รั ง กิ น เนื้ อ ที่ ถึ ง ครึ่ ง หนึ่ ง ในป า ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ (53.38%) และกินเนื้อที่มากที่สุดในสัดสวนปาภาคเหนือ (39.11 %) สวนภาคตะวันออกและภาค กลางมีปาชนิดนี้อยูเล็กนอยและไมมีปาชนิดนี้ในภาคใต ในขณะที่ขอมูลป 2543 พบวาเนื้อที่ปาเต็งรังลดลง 5.88 % โดยเปนการลดลงในภาคเหนือถึง 14.31 %ของเนื้อที่ภาคเหนือ ( 24,276.19 ตารางกิโลเมตร) และลดลงในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ 3.36 %ของเนื้อที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ( 5,673.50 ตารางกิโลเมตร) อาจกลาวไดวา สถานการณการลดลงของเนื้อทีปาเต็งรังรุนแรงที่สุดในพื้นที่ภาคเหนือนั่นคือเนื้อทีปาเต็งรังหายไปถึงรอยละ 71.84 สวนภาคตะวันออกเฉียงเหนือหายไปรอยละ 40.78 แตอยางไรก็ตามปาเต็งรังที่มีอยู 0.69% ของเนื้อที่ภาคตะวันออก ( 44.87 ตารางกิโลเมตร) ไดหายไปถึง 0.62% หรือปาเต็งรังรอยละ 89.8 ในภาคตะวันออกถูกทําลายไป ขอมูลรายจังหวัดป 2543 มีรายงานเนื้อที่ปาเต็งรังมากถึง 2812.7 ตารางกิโลเมตร ในจังหวัดเชียงใหม 2,120.7 ตารางกิโลเมตร ในจังหวัดตาก นอกจากนี้ยังมีปาดิบมากกวา 1,000 ตารางกิโลเมตรในจังหวัด สกลนคร และ อุบลราชธานี 3.4

ปาสน

จากขอมูลเปรียบเทียบพบวาปาสนเปนชนิดปาที่มีเนื้อที่ไมมากนักของชนิดปาที่มีอยูในประเทศไทยในป 2525 คือมีอยูเพียง 0.42 % จากเนื้อที่ปาทั้งหมด 30.34 %ของเนื้อที่ประเทศไทย โดยกระจายอยูในภาคเหนือเปนพื้นที่มาก ที่สุด และพบอีกที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (1.17 และ 0.09 %) ในขณะที่ขอมูลป 2543 พบวาเนื้อที่ปาสนลดลง 0.34 % โดยเปนการลดลงในภาคเหนือถึง 0.98 %ของเนื้อที่ภาคเหนือ ( 1,662.51 ตารางกิโลเมตร) และลดลงในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือเพียง 0.08% ของเนื้อที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ( 135.08 ตารางกิโลเมตร) อาจกลาวไดวา สถานการณการลดลงของเนื้อทีปาสนรุนแรงที่สุดในพื้นที่ภาคเหนือนั่นคือเนื้อที่ปาสนหายไปถึงรอยละ 83.7 ขอมูลรายจังหวัดป 2543 มีรายงานเนื้อที่ปาสนมากถึง 179.5 ตารางกิโลเมตร ในจังหวัดเชียงใหม 79.7 ตารางกิโลเมตร ในจังหวัดเชียงราย และ 62.1 ตารางกิโลเมตร ในจังหวัดชัยภูมิ นอกจากนี้ยังมีปาสนเนื้อที่กวา 40 ตารางกิโลเมตรในจังหวัด เพชรบูรณ และ เลย 3.5

ปาชายเลน จากขอมูลเปรียบเทียบพบวาปาชายเลนมีเนื้อที่ป 2525 เปน 0.56% จากเนื้อที่ปาทั้งหมด 30.34 %ของเนื้อที่ ประเทศไทย โดยกระจายอยูในภาคใตเปนพื้นที่มากที่สุด รองลงมาคือ ภาคตะวันออกและ ภาคกลาง ในขณะที่ขอมูลป 2543 พบวาเนื้อที่ปาชายเลนลดลง 0.15 % โดยเปนการลดลงในภาคตะวันออกถึง 0.5 %ของเนื้อที่ภาคตะวันออก (


60

182.51 ตารางกิโลเมตร) และลดลงในภาคกลาง 0.31 %ของเนื้อที่ภาคกลาง (209.94 ตารางกิโลเมตร) สวนภาคใตมี เนื้อที่ปาชายเลนลดลงเพียง 0.04% ของเนื้อที่ภาคใต อาจกลาวไดวาสถานการณการลดลงของเนื้อทีปาดิบรุนแรงที่สุด ในพื้นที่ภาคกลางคือมีเนื้อที่ปาชายเลนหายไปถึงรอยละ 62 และที่ภาคตะวันออกหายไปรอยละ 43.85 ขอมูลรายจังหวัดป 2543 มีรายงานเนื้อที่ปาชายเลนมากถึง 453.7 ตารางกิโลเมตร ในจังหวัดพังงา 353.4 ตารางกิโลเมตร ในจังหวัดสตูล 349 ตารางกิโลเมตร ในจังหวัดกระบี่ และ 334.8 ตารางกิโลเมตร ที่จังหวัดตรัง นอกจากนี้ยังมีปาชายเลนมากกวา 40 ตารางกิโลเมตรในจังหวัด เพชรบุรี จันทบุรี ตราด ชุมพร นครศรีธรรมราช และ สงขลา ดกาสว รูป


61

5. สถานการณการประกาศพื้นที่ อนุรักษปาไมประเทศไทย 5.1 รูปแบบการประกาศเขตพื้นที่ปาอนุรักษในประเทศไทย สําหรับประเทศไทย มีการประกาศพื้นที่เพื่อการอนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพของปาไมในพื้นที่อยาง เปนทางการ 5 รูปแบบ คือ อุทยานแหงชาติ เขตรักษาพันธุสัตวปา วนอุทยาน เขตหามลาสัตวปา สวนรุกขชาติ และ สวนพฤกษศาตร นอกจากนี้ยังมีพื้นที่อนุรักษ อื่นๆ ไดแก ปาเพื่อการอนุรักษตามมติคณะรัฐมนตรี เปนปาที่ คณะรัฐมนตรีกําหนดใหเปนพื้นที่ตนน้ําชั้น 1 ปาชายเลนเขตอนุรักษ และปาที่คณะรัฐมนตรีกําหนดใหเปนปาอนุรักษ เพิ่มเติม แตปจจุบันนับไดวามีเพียงมาตรการคุมครองตามมติคณะรัฐมนตรีเทานั้นแตมาตรการคุมครองความ หลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่เหลานี้ยังไมมีความชัดเจนเพียงพอที่จะรักษาสภาพความหลากหลายไดอยางจริงจัง พื้นที่อนุรักษที่กลาวมาทั้งหมดจะประกาศขอบเขตตามที่ไดประกาศเปนพื้นที่ปาสงวนไวเดิมทั้งสิ้น แตอยางไรก็ตาม พื้นที่ปาสงวนในปจจุบันที่ไมถูกประกาศเปนพื้นที่อนุรักษอยางเปนทางการก็ถือไดวาเปนเพียงการสงวนที่ดินมิใหถูก บุกรุกทําประโยชนแตไมมีมาตรการคุมครองความหลากหลายอยางแทจริงเชนกัน เนื้อที่ปาอนุรักษรุปแบบดังกลาว เทียบเปน % กับเนื้อที่ประเทศไทย และเนื้อที่ประกาศเขตปาสงวนแหงชาติ (ทับซอนกับพื้นที่อนุรักษ) แสดงในแผนภูมิ ที่ 5-1 และ ตารางที่ 5-1 แผนภูมิที่ 5-1 แสดงเนื้อที่การประกาศเนื้อที่ปาสงวน และปาอนุรักษตั้งแตป 2536-2553 เทียบเปน % กับเนื้อที่ ประเทศไทย 50 45 40

ปา สงวน

35

อุท ยาน

30

เขตรักษาพัน ธุฯ

25

เขตหา มลา

20

วนอุท ยาน

15

รุกขชาติ

10

พฤกษศาสตร รวมปา อนุรักษ

5

2553

2552

2551

2550

2549

2548

2547

2546

2545

2544

2543

2542

2541

2540

2539

2538

2537

2536

2535

0


62

ตารางที่ 5-1 แสดงขอมูลเนื้อที่ปาสงวน ปาอนุรักษ รวมถึงปาชุมชน ที่มีการประกาศจนถึงป 2553

การศึกษาครั้งนี้จึงรวบรวมขอมูลเฉพาะในพื้นที่อนุรักษอยางเปนทางการ โดยในขอมูลถึงป 2553 มีจํานวน พื้นที่อนุรักษทั้งสิ้น 411 แหง เนื้อที่ 103,809.92 ตารางกิโลเมตร หรือ 20.19% ของเนื้อที่ประเทศไทย มีพื้นที่กระจาย ตัวอยูในภาคเหนือ 25.54% ของพื้นที่ภาค (43,327 ตารางกิโลเมตร) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 10.16% ของพื้นที่ภาค (17,156 ตารางกิโลเมตร) ภาคกลาง 25.75 % ของพื้นที่ภาค (17,355 ตารางกิโลเมตร) ภาคตะวันออก 14.15% ของ พื้นที่ภาค (5,165 ตารางกิโลเมตร) และภาคใต 18.06% ของพื้นที่ภาค (12,711 ตารางกิโลเมตร) ซึ่งแตละรูปแบบ มี ความแตกตางกันดังตอไปนี้ • อุทยานแหงชาติ คือ พื้นที่ซึ่งรัฐบาลเห็นวามีสภาพธรรมชาติเปนที่นาสนใจสมควรสงวนเปนพิเศษ เพื่อรักษาสภาพธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหคงสภาพเดิมถาวรตลอดไป เพื่อประโยชนทางการศึกษาและนันทนาการ การจะเปนประกาศเปนอุทยานแหงชาติได ตองประกาศในพระราชกฤษฎีกา มีแผนที่แสดงแนวเขตแหงบริเวณที่ กําหนดนั้นแนบทายพระราชกฤฏีกา และที่ดินที่จะกําหนดใหเปนอุทยานแหงชาติตองเปนที่ดินที่มิไดอยูในกรรมสิทธิ์ หรือครอบครองโดยชอบดวยกฎหมายของบุคคลใดซึ่งมิใชทบวงการเมือง จนถึงป 2553 มีอุทยานแหงชาติรวม 123 แหง รวมพื้นที่ 60,320.11 ตารางกิโลเมตร คิดเปนเนื้อที่ 11.73% ของเนื้อที่ประเทศไทย กระจายตัวอยูในภาคเหนือ 43 แหง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 23 แหง ภาคกลาง 14 แหง ภาคตะวันออก 9 แหง และภาคใต 34 แหง


63

• เขตรักษาพันธุสัตวปา คือ พื้นที่กําหนดขึ้นเพื่อใหเปนที่อยูอาศัยของสัตวปาโดยปลอดภัย เพื่อวา สัตวในพื้นที่ดังกลาวจะไดมีโอกาสสืบพันธุ และขยายพันธุตามธรรมชาติไดมากขึ้นทําใหสัตวปาบางสวนไดมีโอกาส กระจายจํานวนออกไปในทองที่แหงอื่น ๆ ที่อยูใกลเคียงกับเขตรักษาพันธุสัตวปา จนถึงป 2553 มีเขตรักษาพันธุสัตว ปา 58 แหง รวมพื้นที่ 36,929.37 ตารางกิโลเมตร คิดเปนเนื้อที่ 7.18% ของเนื้อที่ประเทศไทย กระจายตัวอยูใน ภาคเหนือ 24 แหง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 12 แหง ภาคกลาง 5 แหง ภาคตะวันออก 4 แหง และภาคใต 13 แหง • วนอุทยาน คือ พื้นที่ขนาดเล็กจัดตั้งเพื่อการพักผอนหยอนใจ มีความสําคัญในระดับทองถิ่น จุดเดน อาจไดแกน้ําตก หุบเหว หนาผา ถ้ําหรือหาดทราย จนถึงป 2553 มีวนอุทยานรวม 113 แหง รวมพื้นที่ 1,239 ตาราง กิโลเมตร คิดเปนเนื้อที่ 0.24 % ของเนื้อที่ประเทศไทย กระจายตัวอยูในภาคเหนือ 63 แหง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 28 แหง ภาคกลาง 11 แหง ภาคตะวันออก 3 แหง และภาคใต 8 แหง • เขตหามลาสัตวปา คือ บริเวณสถานที่ที่ใชในราชการ หรือใชเพื่อสาธารณะประโยชน ปรือประชาชน ใชประโยชนรวมกันรัฐมนตรีวาการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เปนผูกําหนด โดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการสงวนและคุมครองสัตวปาแหงชาติ โดยกําหนดใหเปนเขตหามลาสัตวปาชนิดหรือประเภทใดก็ได โดย ประกาศในราชกิจจานุเบกษา จนถึงป 2553 มีเขตหามลาสัตวปารวม 60 แหง รวมพื้นที่ 5,233.04 ตารางกิโลเมตร คิด เปนเนื้อที่ 1.02 % ของเนื้อที่ประเทศไทย กระจายตัวอยูในภาคเหนือ 13 แหง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 10 แหง ภาค กลาง 15 แหง ภาคตะวันออก 3 แหง และภาคใต 19 แหง • สวนรุกขชาติ คือ แหลงรวมพันธุไมของทองถิ่นที่มีคา โดยจัดปลูกใหมีความสวยงาม เพื่อเปน สถานที่ศึกษาดานพันธุไมสําหรับประชาชน และเปนที่พักผอนหยอนใจ จนถึงป 2553 มีสวนรุกขชาติรวม 56 แหง รวม พื้นที่ 43.02 ตารางกิโลเมตร คิดเปนเนื้อที่ 0.008% ของเนื้อที่ประเทศไทย กระจายตัวอยูในภาคเหนือ 23 แหง ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ 17 แหง ภาคกลาง 8 แหง ภาคตะวันออก 4 แหง และภาคใต 4 แหง • สวนพฤกษศาสตร คือ คือสวนที่รวบรวมพันธุไมทั้งสดและแหง และแสดงถิ่นที่กําเนิดของพรรณพืช เพื่อเปนแหลงศึกษาทางพฤษศาสตร ศึกษาความแตกตางของชนิดพันธุ สภาพทางสรีรวิทยา การเจริญเติบโต การ แพรกระจาย การอนุรักษ การใชประโยชน ฯลฯ โดยในสวนพฤษศาสตรจะจัดปลูกพันธุไมตาง ๆ โดยในสวนพฤษ ศาสตรจะจัดปลูกพันธุไมตาง ๆ ทั้งของไทยและของตางประเทศใหเปนหมวดหมูตามหลักสากล และตามหลักวิชาการ ทางพฤษศาสตรใหดูสวยงาม และเปนที่พักผอนหยอนใจ จนถึงป 2553 มีสวนพฤกษศาสตรรวม 16 แหง รวมพื้นที่ 46.28 ตารางกิโลเมตร คิดเปนเนื้อที่ 0.009 % ของเนื้อที่ประเทศไทย กระจายตัวอยูในภาคเหนือ 2 แหง ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ 3 แหง ภาคกลาง 4 แหง ภาคตะวันออก 2 แหง และภาคใต 6 แหง


64

ตารางที่ 5-2 สรุปเนื้อที่ปาสงวน และปาอนุรักษรูปแบบตางๆแยกตามรายภาคเทียบเปน % กับพื้นที่ภาค

แผนภูมิที่ 5-2 แสดงจํานวนแหงของการประกาศพื้นที่อนุรักษรูปแบบตางๆ ตั้งแตป 2536-2552 140 120 100

อุท ยานแหงชาติ เขตรักษาพัน ธุสัตวปา

80

วนอุท ยาน 60

เขตหา มลา สวนพฤกษศา สตร

40

สวนรุกขชาติ 20

แผนภูมิที่ 5-3 แสดงจํานวนการประกาศพื้นที่อนุรักษรูปแบบตางๆ แยกตามรายภาค

2553

2552

2551

2550

2549

2548

2547

2546

2545

2544

2543

2542

2541

2540

2539

2538

2537

2536

2535

0


65

70 60 50

อุทยานแหงชาติ

40

เขตรักษาพัน ธุสัตวปา วนอุท ยาน

30

เขตหา มลา สวนพฤกษศา สตร

20

สวนรุกขชาติ 10 0 เหนือ

อิสาน

กลาง

ตะวันออก

ใต

พื้นที่ปาอนุรักษของไทยสวนใหญจะอยูในรุปแบบของอุทยานแหงชาติและเขตรักษาพันธุสัตวปา 93 % ที่เหลือจึงเปน เขตหามลาและวนอุทยาน สวนสวนรุกขชาติและสวนพฤษศาสตรมีพื้นที่นอยมากเมื่อเทียบกับพื้นที่ ประเทศไทย อุทยานแหงชาติและเขตรักษาพันธุสัตวปาของไทยมีพื้นที่สวนมากอยูระหวาง 100-1500 ตารางกิโลเมตร (เฉลี่ยประมาณ 500 ตารางกิโลเมตร) โดยมีอุทยานแหงชาติและเขตรักษาพันธุสัตวปาขนาดใหญ กวา 1500 ตาราง กิโลเมตร หรือเล็กกวา 100 ตารางกิโลเมตร อยูบาง ประมาณ 10 แหง

5.2 ไทย

สถานการณเนื้อที่การประกาศพื้นที่ปาอนุรักษ พื้นที่ปาสงวน เทียบกับพื้นที่ปาประเทศ

ตารางที่ 5-1 แจกแจงการเพิ่มขึ้นของเนื้อที่ปาอนุรักษตามการประกาศ ตั้งแต ป 2535-2553 เห็นไดวาใน เวลา 18 ป รัฐบาลสามารถเพิ่มพื้นที่อนุรักษได 6.18 % หรือเฉลี่ยปละ 0.34 % (1,744.59 ตารางกิโลเมตร) โดย แบงเปนอุทยานแหงชาติเพิ่มขึ้น 46 แหง เขตรักษาพันธุสัตวปา 23 แหง วนอุทยาน 69 แหง เขตหามลา 11 แหง สวน รุกขชาติ 12 แหง สวนพฤกษศาสตร 11 แหง เมื่อพิจารณาเฉพาะการประกาศอุทยานแหงชาติและเขตรักษาพันธุสัตวื ปาที่เปนพื้นที่อนุรักษที่มีพื้นที่มาก พบวาพื้นที่อนุรักษทั้งสองประเภท เพิ่มขึ้นเฉลี่ยปละ 3.8 แหง เมื่อเทียบเคียงกับการลดลงของพื้นที่ปาในชวงป 36-41 ที่พื้นที่ปาลดลง 0.75% มีการลดลงพื้นที่ปาไมป เฉลี่ยปละ 0.15% ในชวงดังกลาวมีการประกาศพื้นที่ปาอนุรักษเพิ่มขึ้นถึง 1.85 % หรือเฉลี่ยปละ 0.37% โดยประกาศ อุทยานแหงชาติเพิ่มขึ้น 10 แหง และเขตรักษาพันธุสัตวปาเพิ่มขึ้นอีกถึง 10 แหง ในป 43-49 มีอัตราการลดลงของ พื้นที่ปาไมตามการสํารวจในระบบใหม 2.23% หรือเฉลี่ยปละ 0.37 มีการประกาศพื้นที่อนุรักษเพิ่มขึ้นเพียง 0.51% หรือเฉลี่ยปละ 0.09 % เทานั้น โดยประกาศอุทยานแหงชาติเพิ่มเพียง 1 แหงและเขตรักษาพันธุสัตวปาไดเพิ่มเพียง 2


66

แหง แมวาในชวงนี้จะมีการประกาศวนอุทยานเพิ่มขึ้นถึง 44 แหง แตเปนพื้นที่เล็กๆเทานั้น และในป 2549-2552 มี อัตราการเพิ่มของพื้นที่ปา 2.52% หรือเฉลี่ยปละ 0.84% มีการประกาศพื้นที่อนุรักษเพิ่มขึ้น 1.68% หรือเฉลี่ยปละ 0.56 % โดยประกาศอุทยานแหงชาติไดถึง 20 แหง เขตรักษาพันธุสัตวปา 3 แหง การประกาศพื้นที่อนุรักษแตละรูปแบบของประเทศไทยจะประกาศพื้นที่จากขอบเขตที่ไดประกาศเปนพื้นที่ปา สงวนไว เนื้อที่ปาสงวนไมมีการเปลี่ยนแปลงจากการประกาศเพิ่มเติมมากนักจนถึงปจจุบันมีการประกาศปาสงวน 1,221 ปา รวมเนื้อที่ 230,280.05 ตารงกิโลเมตร หรือประมาณ 44.80 % ของเนื้อที่ประเทศไทย แบงเปนภาคเหนือ 257 ปา เนื้อที่ 111,875.04 ตารางกิโลเมตร คิดเปน 65.99% ของพื้นที่ภาค ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 353 ปา เนื้อที่ 55,333.40 ตารางกิโลเมตร คิดเปน 30.29%ของพื้นที่ภาค ภาคกลางและภาคตะวันออก 143 ปา เนื้อที่ 34,886.06 ตารางกิโลเมตร คิดเปน 39.86 % และ 39.66% ของพื้นที่ภาค และภาคใต 486 ปา เนื้อที่ 28,183.15 ตารางกิโลเมตร คิดเปน 39.86% ของพื้นที่ภาค ในปจจุบันพบวาเนื้อที่ปาสงวนจํานวนมากถูกเปลี่ยนสภาพเปนที่ทํากินและที่อยูอาศัย โดยเมื่อเปรียบเทียบกับเนื้อที่ปาในปจจุบัน 33.44 % ประมาณวาเนื้อที่ปาสงวนและพื้นที่ปาอนุรักษถูกเปลี่ยนสภาพไป 11.36% หรือ 58,290 ตารางกิโลเมตร แยกเปนในภาคเหนือ 9.9 % ของพื้นที่ภาค(16,795 ตารางกิโลเมตร) ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ 13.88% ของพื้นที่ภาค (22,508 ตารางกิโลเมตร) ภาคกลาง 6.83% ของพื้นที่ภาค (4,603 ตาราง กิโลเมตร) ภาคตะวันออก 17.57% ของพื้นที่ภาค (6,414 ตารางกิโลเมตร) และ ภาคใต 12.8 % ของพื้นที่ภาค (9,051 ตารางกิโลเมตร) ตามขอมูลที่ปรากฏในปจจุบันยังไมมีขอมูลที่สํารวจพื้นที่ปาอนุรักษที่ถูกเปลี่ยนสภาพไปเปนที่ทํากินใน พื้นที่ได แตจากการติดตามปญหาในภาพรวมจะพบปญหาการบุกรุกพื้นทีปาในปาสงวนแหงชาติที่ยังไมถูกประกาศเปน พื้นที่อนุรักษเปนสวนใหญ ขอมูลจนถึงปจจุบันพบวายังมีพื้นที่ที่คงสภาพปานอกการประกาศเปนพื้นที่อนุรักษทั้งสิ้น 13.25 % ของพื้นที่ประเทศไทย ( 67,988 ตารางกิโลเมตร) หรือกลาวไดวา รอยละ 59.68 ของพื้นทีปาประเทศไทย เปนปาอนุรักษ สวนที่เหลือรอยละ 40.32 มีสถานภาพเปนปาสงวนแหงชาติ พื้นทีปานอกการประกาศพื้นที่อนุรักษ ดังกลาวกระจายตัวอยูในภาคเหนือ 30.55% ของพื้นที่ภาค (51,826 ตารางกิโลเมตร) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 6.25% ของพื้นที่ภาค (10,553 ตารางกิโลเมตร) ภาคกลาง 7.08 % ของพื้นที่ภาค (4,772 ตารางกิโลเมตร) ภาคตะวันออก 7.94 % ของพื้นที่ภาค (2,898 ตารางกิโลเมตร) และภาคใต 9% ของพื้นที่ภาค (6,364 ตารางกิโลเมตร) ขอมูลเปรียบเทียบเนื้อที่ปาอนุรักษรูปแบบตางๆ กับเนื้อที่ปาสงวน เมื่อเทียบกับเนื้อที่ประเทศไทย และ เนื้อที่รายภาคแสดงแผนภูมิเปรียบเทียบในแผนภูมิที่ 5-3 และ แผนภูมิที่ 5-4 รูปที่ 5-1 – 5-5 แสดง แผนที่การประกาศปาสงวนแหงชาติ การประกาศเขตปาอนุรักษ (อุทยานแหงชาติ และเขตรักษษพันธุสัตวปา ป 2544) และสถานภาพปาสงวนแหงชาติ สถานภาพปาอนุรักษ และแผนที่อุทยาน แหงชาติในปจุบัน ภาคผนวกที่ 5-1 แสดงรายละเอียดการประกาศพื้นที่อนุรักษในชวงปปจจุบัน


67

แผนภูมิที่ 5-4 เปรียบเทียบการประกาศพื้นที่ปาอนุรักษปจจุบันเทียบกับเนื้อที่ปาที่ยังไมประกาศเปนพื้นที่อนุรักษ และ เนื้อที่ปาสงวน 70 60 50 40

% พื้นที่ปา

30

ปา สงวนแหงชาติ ปา อนุรักษ

20 10 0 เหนือ

อิสาน

กลาง

ตะวัน ออก

ใต

แผนภูมิ 5-5 เปรียบเทียบการประกาศพื้นที่อนุรักษรูปแบบตางๆ ในแตละภาค เทียบกับเนื้อที่ปาที่ยังไมประกาศเปน อนุรักษ 35 30 อุทยานแหงชาติ

25

เขตรักษาพันธุสัตวปา 20

วนอุทยาน

15

เขตหา มลา สวนพฤกษศา สตร

10

สวนรุกขชาติ ปา นอกเขตอนุรักษ

5 0 เหนือ

อิสาน

กลาง

ตะวันออก

ใต


68

รูปที่ 5-1 แสดงพื้นที่เขตปาสงวนประเทศไทย (ฝายรังวัดแนวเขตที่ดินปาไม กรมอุทยานแหงชาติ 2544)


69

รูปที่ 5-2 แสดงพื้นที่เขตปาอนุรักษ (ฝายรังวัดแนวเขตที่ดินปาไม กรมอุทยานแหงชาติ 2544)


70

รูปที่ 5-3 แสดงสถานภาพพื้นที่ปาสงวน (ฝายรังวัดแนวเขตที่ดินปาไม กรมอุทยานแหงชาติ 2544)


71

รูปที่ 5-4 แสดงสถานภาพพื้นที่ปาอนุรักษ (ฝายรังวัดแนวเขตที่ดินปาไม กรมอุทยานแหงชาติ 2544)


72

รูปที่ 5-5 แสดงพื้นที่อุทยานแหงชาติในปจจุบัน (สํานักอุทยานแหงชาติ กรมอุทยานแหงชาติฯ, 2553)


73

ภาพที่ 5-6 แสดงภาพการใชประโยชนที่ดินในประเทศไทย รวมพื้นที่ปาและปาอนุรักษ (Thailand: National Report on Protected Areas and Development, 2003)


74

ภาพที่ 5‐7 แสดงพื้นที่อนุรักษ และจํานวนประชากรในพื้นที่ตางๆ ในประเทศไทย (Thailand: National Report on Protected Areas and Development, 2003)


75

ภาพที่ 5‐8 แสดงพื้นที่อนุรักษ และระดับความยากจนในพื้นที่ตางๆ ของประเทศไทย (Thailand: National Report on Protected Areas and Development, 2003)


76

6. สถานการณ ค วามหลากหลายทาง ชีวภาพของพรรณพืชประเทศไทย 6.1

ความหลากหลายของพรรณพืชประเทศไทย สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม (2547) ในฐานะหนวยงานประสานงานกลางของอนุสัญญาวา

ดวยความหลากหลายทางชีวภาพไดจัดพิมพเอกสารเผยแพรเรื่องความหลากหลายทางชีวภาพครั้งลุดในป 2547 รายงานความหลากหลายของพรรณพฤกษชาติของไทยตามภาคตางๆ สวนใหญวาจะคลายคลึงกับ พรรณพฤกษชาติของประเทศเพื่อนบาน ประเทศไทยจึงเปนแหลงรวมของกลุมพรรณพฤกษชาติ (Floristic elements) ประจําภูมิภาคใหญ ๆ ถึง 3 กลุมดวยกัน ไดแก กลุมพรรณพฤกษชาติภูมิภาคอินเดีย–พมา (India– Burmese elements) กลุมพรรณพฤกษชาติภูมิภาคอินโดจีน (Indo–Chinese elements) และกลุมพรรณ พฤกษชาติภูมิภาคมาเลเซีย (Malaysian elements) พรรณพืชของประเทศไทยที่ไดรับการศึกษาทบทวน และ บันทึกไวในหนังสือพรรณพฤกษชาติของประเทศไทยแลว มีประมาณ 2,819 ชนิด หรือประมาณรอยละ 23 ของจํานวนพืชที่มีทอลําเลียงของไทย ประมาณวา ประเทศไทยมีชนิดพรรณพืชที่มีทอลําเลียงอยูประมาณ 12,000 ชนิด เปนเฟน 658 ชนิด และกลวยไมมาก กวา 1,000 ชนิด และประมาณวาในจํานวนพรรณพืชนี้มีพืช ที่เปนสมุนไพรที่ไดถูกใชสําหรับเปนยารักษาโรคในทองถิ่น ประมาณ 1.000 ชนิด ทั้งนี้ยังไมรวมเห็ดราที่มี ประมาณ 3,000 ชนิด ในรายงานระบุวา หอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช มีตัวอยางพรรณไมแหงที่เก็บสะสม ไวถึงประมาณ 200,000 ตัวอยาง เปนตัวอยางตนแบบ (type specimens) ประมาณ 255 ตัวอยาง ในจํานวนตัวอยาง พรรณไมแหงทั้งหมดนี้ครอบคลุมพรรณพฤกษชาติที่มีทอลําเลียงของประเทศไมตํ่ากวารอยละ 80 คาดวา ถาหากมีการ สํารวจและเก็บตัวอยางพรรณไมเฉพาะพื้นที่แบบตอเนื่องเพิ่มเติมจะตองพบชนิดพันธุใหมแนนอน เชน ที่พรุโตะแดง จังหวัดนราธิวาส ซึ่งมีพื้นที่ประมาณ 5,000 ไร พบพืชที่มีทอลําเลียง 101 วงศ 316 ชนิด ในจํานวนนี้ 48 ชนิด เปนพืช ที่พบครั้งแรกในประเทศไทย หรือที่อุทยานแหงชาติดอยสุเทพ–ปุย ไดมีการสํารวจพรรณพฤกษชาติที่มีทอลําเลียงพบ 679 ชนิด และจากการสํารวจตอเนื่องจนถึงปจจุบัน พบจํานวนเพิ่มอีกเปน 2,247 ชนิด พรรณไมของไทยที่ไดสํารวจและกําลังศึกษา (ไมรวม Thallophyte และ Bryophyte) มีประมาณ 303 วงศ 1,363 สกุล 10,234 ชนิด แยกเปน • พวกเฟน (Fern) จํานวน 658 ชนิด จากพรรณไม 34 วงศ และ 132 สกุล ซึ่งทําการทบทวนเสร็จสิ้น แลวทั้งหมด


77

• พวกไมเนื้อออน Gymnosperm) จํานวน 25 ชนิด จากพรรณไม 6 วงศ และ 7 สกุล ซึ่งทําการวิจัย ทบทวนเสร็จสิ้นแลวทั้งหมด • พวกแองจิโอสเปรม (Angiosperm) จํานวนประมาณ 9,551 ชนิด จากพรรณไม 263 วงศ และ 1,224 สกุล ในจํานวนนี้ทําการวิจัยทบทวนเสร็จสิ้น 2,136 ชนิด จากพรรณไม 109 วงศ และ 705 สกุล ดังที่ไดกลาวมาแลววาประเทศไทยไมมีกลุมพรรณพฤกษชาติที่เปนเอกลักษณของตัวเอง จึงทําใหพบพรรณ พืชประจําถิ่นไมมากนัก จากการศึกษาในโครงการพรรณพฤกษชาติของประเทศไทย พบวามีพรรณพืชประจําถิ่น 248 ชนิด จาก 43 วงศ 94 สกุล โดยแบงเปน เฟน 24 ชนิด 13 วงศ 22 สกุล (ภาคผนวกที่ 4-1/1) แองจิโอสเปรม 224 ชนิด 30 วงศ 72 สกุล โดยแบงเปน พืชใบ เลี้ยงเดี่ยว 25 ชนิด จาก 6 วงศ 8 สกุล (ภาคผนวกที่ 4-1/2) และพืชใบเลี้ยงคู 199 ชนิด จาก 24 วงศ 64 สกุล (ภาคผนวกที่ 4-1/3) (Smitinand และ Larsen, 1970–1993, Santisuk และ Larsen, 1996–2002) จากขอมูลดังกลาวประมาณไดวาประเทศไทยมีความหลากหลายของชนิดพรรณพืชเทาที่พบเปนรอยละ 4-5 ของจํานวนชนิดพรรณพืชที่พบทั่วโลก มีประเภทเฟน ประมาณรอยละ 6 ประเภทแองจิโอสเปรมประมาณรอยละ 5 ประเภทพืชใบเลี้ยงเดี่ยวประมาณรอยละ 3.5 และประเภทพืชใบเลี้ยงคูประมาณรอยละ 4.5 เนื่องจากสภาพทางนิเวศวิทยาของประเทศไทยที่มีความหลากหลายสูง ความหลากหลายของพืชจึงมีสูงดวย เชนกัน จึงมีพืชอีกเปนจํานวนมากที่ตองทําการสํารวจและจําแนก แตถึงแมวาประเทศไทยจะมีความหลากหลายทาง พรรณพืชสูงมาก แตก็ยังมีพืชหลายชนิดที่เปนพืชหายาก และใกลสูญพันธุ พืชหายาก (rare plants) คือ พืชชนิดที่มีประชากรขนาดเล็กซึ่งยังไมอยูในสถานภาพใกลจะสูญพันธุ (endangered) แตมีความเสี่ยงที่จะเปนพืชที่ใกลจะสูญพันธุได พืชหายากเปนพืชที่เราทราบจํานวนประชากรที่มีอยูตาม แหลงตางๆ และสวนใหญมีจํานวนนอยเมื่อเทียบกับพืชชนิดอื่นๆ พืชถิ่นเดียว ที่ปรากฏในหนังสือพรรณพฤกษชาติ สวนใหญจะเปนพืชหายาก ยกเวนพืชถิ่นเดียวเพียงไมกี่ชนิดที่มีจํานวนประชากรขึ้นแพรพันธุตามธรรมชาติอยูมากมาย เชน ถั่วแปบชาง ( Afgekia sericea ) กาญจณิการ ( Santisukia pagetii ) และ อรพิม (Bauhinia winitii ) เปนพืชถิ่น เดียวของประเทศไทย แตไมอยูในสถานภาพพืชหายาก เนื่องจากในถิ่นกําเนิดตามธรรมชาติอันจํากัดนั้น มีจํานวนตน หนาแนนทั่วพื้นที่ พืชถิ่นเดียวบางชนิดเคยอยูในสถานภาพพืชหายากมากอน แตตอมามีผูนําไปขยายพันธุปลูกเปน การคาทั่วไป จึงหมดสภาพพืชหายาก พืชที่สํารวจพบวาหายากปจจุบัน อาจมีแนวโนมที่จะกระจายพันธุอยาง กวางขวางขึ้นไดในอนาคต หรือพืชที่มีเขตกระจายพันธุกวางขวางในปจจุบัน อาจจะเปนพืชหายากตอไปในกาล ขางหนา พืชชนิดหนึ่งอาจเปนพืชหายากในทองถิ่นหนึ่ง แตอีกทองถิ่นหนึ่งกลับมีการกระจายพันธุอยางกวางขวางก็ เปนได ราชันย ภูมา (2548) ไดเสนอบทความเรื่อง พืชเฉพาะถิ่นและพืชหายากในกลุมปาตาง ๆ ในประเทศไทย ดังนี้ กลุมปา (Forest complex) เปนการเสนอการจัดการ โดยคํานึงถึงความใกลเคียงกันของระบบนิเวศนขนาดใหญ ที่นํามารวมกัน เพื่อความสะดวกในการบริหารจัดการ โดยไมคํานึงวาพื้นที่นั้นจะเปนอุทยานแหงชาติ เขตรักษาพันธุ สัตวปา หรือเขตหามลาสัตวปา ในขณะนี้มีอยูจํานวน 20 กลุมปา ไดแก


78

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19.

กลุมปาปาย-สาละวิน กลุมปาศรีลานนา-ขุนตาล กลุมปาดอยภูคา-แมยม กลุมปาแมปง-อมกอย กลุมปาภูเมี่ยง-ภูทอง กลุมปาภูเขียว-น้ําหนาว กลุมปาภูพาน กลุมปาพนมดงรัก-ผาแตม กลุมปาดงพระยาเย็น-เขาใหญ กลุมปาตะวันออก กลุมปาตะวันตก กลุมปาแกงกระจาน กลุมปาชุมพร กลุมปาคลองแสง-เขาสก กลุมปาเขาหลวง กลุมปาเขาบรรทัด กลุมปาฮาลา-บาลา กลุมปาหมูเกาะทะเลอันดามัน กลุมปาหมูเกาะอางทอง-อาวไทย

20. กลุมปาหมูเกาะชาง


79

กลุมปาปาย-สาละวิน : ประกอบดวยผืนปาที่ตอเนื่องและไมตอเนื่องทางภาคเหนือตอนบน ติดกับชายแดน พมาทางภาคตะวันตก พื้นที่ที่สําคัญสําหรับพืชถิ่นเดียวและหายากที่เปนที่รูจักกันดี ไดแก ดอยอินทนนทจากสภาพปา ดิบเขาที่สูงซึ่งสูงที่สุดในประเทศ และดอยเชียงดาวที่เปนเขาหินปูนขนาดใหญที่สูงที่สุดในประเทศเชนกัน ทั้งสองแหงมี พันธุพืชเฉพาะถิ่นและพืชหายากอยูมาก

และหลายชนิดมีชื่อชนิดตามแหลงที่พบคือ

inthanonensis หรือ

chiangdaoensis แตอยางไรก็ตามในกลุมปานี้ยังมีพื้นที่ปาอีกจํานวนมากที่ยังไมเคยสํารวจ หรือสํารวจแตเพียงผิว เผินโดยเฉพาะแถบชายแดนไทย-พมา และดอยผาหมปกที่มีความสูงเปนอันดับสอง กลุมปาศรีลานนา-ขุนตาล : กลุมปาศรีลานนาและขุนตาล ปาที่สําคัญและเปนที่รูจักกันดีไดแก อุทยาน แหงชาติขุนแจ

ซึ่งตั้งอยูบริเวณรอยตอระหวางจังหวัดเชียงใหม

กับจังหวัดเชียงราย

มีตนกอสามเหลี่ยม

Trigonobalanus doichangensis ซึ่งสกุลนี้ในประเทศไทยมีเพียงชนิดเดียว และชื่อชนิดก็ตั้งตามชื่อดอยชางที่เปน สวนหนึ่งของอุทยานแหงชาติขุนแจ และอีกสถานีที่นาสนใจมากแตอยูนอกกลุมปาคือดอยตุง จ. เชียงราย สถานที่แหง นี้มีพันธุไมหายากหลายชนิดและบางชนิดเปนชนิดใหมของโลก กลุมปาดอยภูคา-แมยม : ปาที่สําคัญสําหรับพืชถิ่นเดียวและพืชหายากไดแก ดอยภูคาเปนแหลงที่พบตน ชมพูภูคา (Bretschneidera sinensis Hemsl.) เพียงแหงเดียวในประเทศ ซึ่งเปนตนไมหายากที่สวยงามที่ทําให ดอยภูคาเปนที่รูจักกันดี นอกจากนี้ยังมีเตารางยักษดอยภูคา หรือปาปาลมพันป ขึ้นเปนผืนปาขนาดใหญ และยังมีพืช ชนิดใหมของโลกเชน รางจืดภูคา (Thunburgia colpifera B.Hansen ) และ คัดเคาภูคา (Fosbergia

thailandica Tirveng.& Sastre )เปนตน กลุมปาแมปง-อมกอย : เปนผืนปาที่ไดรับการสํารวจนอย แตเปนที่นาสนใจมาก โดยเฉพาะสวนที่ติดกับ ผืนปาตะวันตก เชน น้ําตกพาเจริญ และสวนรอยตอกับกลุมปาสาละวิน มีพันธุไมชนิดใหมของโลกที่กําลังไดรับการ ตีพิมพไดแก ดอกจากา ในสกุล Globba วงศขิงขา (Zingiberaceae) ที่ชาวบานใชสําหรับบูชาพระมาชานาน แต เพิ่งจะมีการคนพบและกําลังไดรับการตั้งชื่อและตีพิมพ นอกจากนี้ยังมีพันธุไมเถาในวงศชบา (Malvaceae) ซึ่งปนส กุลใหมของโลกดวย กลุมปาภูเมี่ยง-ภูทอง : กลุมปาภูเมี่ยง ภูทอง นอกจากภูหินรองกลา และเขาคอซึ่งเปนที่รูจักกันดีแลว ภู เมี่ยง ภูทอง ก็เปนปาที่นาสนใจ เปนแหลงพืชถิ่นเดียวและพืชหายากในกลุมปานี้ เชน เสี้ยวสยาม (Bauhinia

siamensis K. Larsen & S.S.Larsen) ที่เพิ่งถูกคนพบผืนปาทางตอนบนมีการสํารวจนอยมาก กลุมปาภูเขียว-น้ําหนาว : กลุมปาภูเขียว-น้ําหนาว เปนแหลงที่มีกลุมเทือกเขาหินทรายขนาดใหญมากที่สุด มีความสําคัญในดานเขตภูมิศาสตรพืชพรรณ เนื่องดวยเปนเขตสิ้นสุดการกระจายพันธุของพืชพรรณอินโดจีน แหลงพืช ถิ่นเดียวและพืชหายากที่รูจักกันดีไดแก ภูเรือ ภูกระดึง ภูเขียว ภูหลวง และน้ําหนาว ซึ่งมีพืชถิ่นเดียวและพืชหายาก


80

กระจายอยูมาก นอกจากนี้ยังพบพืชโบราณจากเขตอบอุนที่กระจายพันธุมาสิ้นสุดที่นี่เชน สนแผง (Calocedrus

macrolepis Kurz) และสรอยสมเด็จ (Alnus nepalensis D.Don) กลุมปาภูพาน : กลุมปานี้คลายกับกลุมปาภูเขียว-น้ําหนาว คือเปนกลุมเทือกเขาหินทรายแตมีระดับความสูง ต่ํากวามาก แหลงพืชถิ่นเดียวและพืชหายากไดแก ภูพาน และมุกดาหาร นอกจากนี้บริเวณเขตรักษาพันธุสัตวปาภูวัว ซึ่งอยูนอกกลุมปา และเปนปาที่ไมคอยไดรับการสํารวจมากนักในอดีต เนื่องจากอยูทางตอนเหนือของกลุมปา ทําใหมี การคนพบพืชชนิดใหมเปนจํานวนมาก และสวนใหญเปนพืชหายากและใกลสูญพันธุ เชน กฤษณานอย (Gyrinops

vidalii Pham-hoang Ho) ที่มีคุณสมบัติเชนเดียวกับไมกฤษณาแตอยูคนละสกุล ซอหิน (Gmelina racemosa (Lour.) Merr.) ซึ่งเปนไมซอชนิดใหมของไทย เกล็ดเข (Parashorea densiflora V.Sloot. & Symington subsp. kerrii) เปนไมหายากในไมวงศยาง และกาฝากชนิดใหม Tolypanthus sp. ที่กําลังตีพิมพในหนังสือ Thai Forest Bulletin เลมที่33 ซึ่งกําลังจะออกเผยแพร กลุมปาพนมดงรัก-ผาแตม : กลุมปานี้ทอดยาวตามแนวชายแดนไทย-กัมพูชา ซึ่งเปนพื้นที่นาสนใจมาก เนื่องจากมีการคนพบกลุมปานี้มีพืชหายากและพืชชนิดใหม ๆ อยูเสมอ เมื่อเทียบกับขนาดพื้นที่ปาที่มีขนาดเล็กโดย เฉพาะที่อุทยานแหงชาติผาแตม และเขาพระวิหาร ไดแก บีโกเนียชนิดใหม (Begonia sp.) ที่ยังไมไดรับการตีพิมพ กาฝากชนิดใหมของไทย (Tolypanthus lageniiferus) ซึ่งกําลังตีพิมพเชนเดียวกับพืชวงศขิงขาชนิดใหมของโลก

(Zingiber pyroglossum) และวงศเข็ม (Hedyotis bahaiiJ.F.Maxwell)ที่ไดรับการตีพิมพแลว นอกจากนี้ ยังมี พืชหายากมาก 2 ชนิดในวงศไมยางคือ Hopeathorelii Pierre และ Vatica philastreana Pierre ที่ พบเฉพาะใน กลุมปานี้เทานั้น กลุมปาดงพระยาเย็น-เขาใหญ : กลุมปาที่เปนที่รูจัก และมีขอมูลพรรณพืชและสัตวปาเผยแพรกันมาก คือ อุทยานแหงชาติเขาใหญ ที่สําคัญคือกลุมปานี้ไดรับการขึ้นทะเบียนเปนมรดกโลก พืชพรรณธรรมชาติประกอบดวยปา ดิบเขาในระดับสูง และมีพืชโบราณพวกสนสามพันป (Dacrydium elatum Wall.) พญาไม(Podocarpus spp.) และพญามะขามปอม (Dacrycarpus imbricatus (Blume) de Laub.) ขึ้นหนาแนนเปนผืนปาขนาดใหญ กลุมปาตะวันออก : กลุมปานี้ครอบคลุมผืนปาตะวันออกรวมถึง อางฤาใน เขาสอยดาว และน้ําตกพริ้ว ใน แงเขตภูมิศาสตรพืชพรรณ กลุมปานี้เปนที่รวมของพรรณพฤกษชาติอินโดจีน โดยเฉพาะพืชพรรณในสภาพปาแบบ

Cardamom mountain rain forest ของกัมพูชา พืชถิ่นเดียวและพืชหายากที่พบ ไดแกHiptage monopteryx P.Sirirugsa (Malphigiaceae) และ Didymocarpus newmanii (Gesneriaceae) กลุมปาตะวันตก : กลุมปานี้เปนกลุมปาที่สําคัญและเปนผืนติดตอกันขนาดใหญที่สุด แหลงพืชถิ่นเดียวและ พืชหายากที่สําคัญไดแก หวยขาแขง-ทุงใหญนเรศวร และที่ดอยหัวหมด ของเขตรักษาพันธุสัตวปาอุมผาง เปนที่รวม พันธุไมที่กระจายพันธุลงมาจากดอยเชียงดาวมากที่สุด มีพืชถิ่นเดียวและพืชหายากหลายชนิด เชน ขาเจาคุณวินิจ


81

(Globba winittii C.H.Wright) และ Begonia soluta Craib และพืชชนิดใหมของโลกในสกุล Tuecrium (Labiatae) นอกจากนี้ในเขตทุงใหญนเรศวรไดพบปาลมนเรศวร (Wallichia disticha T. Anders) ซึ่งหายากมาก กระจายอยูเปนบริเวณกวาง กลุมปาแกงกระจาน : กลุมปานี้ถือวามีความสําคัญมากในแงของสัตวปา เพราะเปนแนวแบงเขตที่สําคัญ ระหวางสัตวกลุมอินโดจีน และสัตวกลุมมาเลเซีย สําหรับดานพืชก็ถือวาสําคัญเชนเดียวกันโดยเฉพาะพืชหายากที่มีอยู เปนจํานวนมาก ซึ่งสวนใหญเปนพืชที่กระจายลงมาสิ้นสุดที่บริเวณนี้ นอกจากนี้เพิ่งมีการคนพบพืชชนิดใหมคือ

Kamettia handii (Apocynaceae) ซึ่งเปนสกุลที่พบในประเทศไทยเปนครั้งแรกอีกดวย พืชชนิดใหมของโลกใน สกุล Sauropus ในวงศเปลา (Euphorbiaceae) ยังไมไดรับการตีพิมพ และพืชชนิดใหมของไทย Neothorelii laotica วงศ (Capparaceae) กลุมปาชุมพร : กลุมปานี้กระจายหาง ๆ ทางภาคใตตอนบน มีความสําคัญนอยในแงพืชถิ่นเดียวและหายาก อยางไรก็ตามมีแหลงที่นาสนใจ เชน ปาพรุและเขาหินปูนฝงทะเลดานตะวันออก พบพืชที่นาสนใจบางชนิดเชน เทียน ที่ยังไมทราบชื่อ พบบริเวณเขาหินปูน บานบางเบิด จ. ชุมพร และเอื้องโมก(Papilionanthe hookeriana) ซึ่งเปน กลวยไมพบในปาพรุ นอกจากนี้แถบบริเวณเขตรักษาพันธุสัตวปาทุงระยะ นาสัก จ. ระนอง ยังพบพรรณไมหายากที่ ยังไมไดวิเคราะหอีกหลายชนิด กลุมปาคลองแสง-เขาสก : กลุมปาที่มีจํานวนพืชเฉพาะถิ่นและพืชหายากสูงมาก โดยเฉพาะบริเวณเขา หินปูนบริเวณอุทยานแหงชาติเขาสก

ซึ่งเพิ่งมีการคนพบพืชสกุลใหมของโลกในวงศกก

(Cyperaceae) คือ

Khaosokia caricoides และชื่อสกุลก็ตั้งใหเปนเกียรติแกสถานที่พบ นอกจากนี้ยังพบเฟนเขากวางแบบตั้ง Platycerium ridleyi จํานวนมากโดยเฉพาะตอนสรางเขื่อน หลังจากนั้นจํานวนประชากรก็ลดลงอยางมาก นอกจากนี้ Temmochloa แถบบริเวณอุทยานแหงชาติคลองพนมยังพบพืชถิ่นเดียวและพืชหายากอีกหลายชนิดเชนไผ (Bambusaceae) เปนสกุลใหมของโลก พืชชนิดใหมในสกุลStichneuron (Stemonaceae) และ Aristolochia sp. ซึ่งกําลังไดรับการตีพิมพ กลุมปาเขาหลวง : กลุมปาที่เปนที่รูจักอีกกลุม และมีเทือกเขาที่สูงที่สุดในภาคใตคือเขาหลวง โดยเฉพาะใน ระดับความสูงตั้งแต 1,500 เมตร ถือวาเปนสภาพปาแบบ Peninsular Malaysia mountain rain forestถือวา เปนพื้นที่ที่สําคัญในการศึกษาพืชถิ่นเดียวและพืชหายากแหงหนึ่งในทางภาคใตของไทย เชน ที่เขาเหมน อุทยาน แหงชาติน้ําตกโยง เพิ่งมีการคนพบพืชวงศขิงขาชนิดใหมของโลกและไดตั้งชื่อเพื่อเปนเกียรติแกแหลงที่พบคือ

Globba khaomaensis กลุมปาเขาบรรทัด : กลุมปาที่มีขนาดยอม เปนเทือกเขาที่ทอดยาวแบงฝงตะวันออกและตะวันตกชวงกอน ถึงภาคใตตอนลาง มีปาดิบชื้นที่ยังมีความสมบูรณอยูมาก สภาพพื้นที่ในระดับความสูงตั้งแต 1,000 เมตร เปนสภาพ


82

ปาแบบeninsular Malaysia mountain rain forest พบพืชหายากหลายชนิด เชน เอื้องคางกบใต

(Paphiopedilum callosum var. sublaeve) นอกจากนี้ยังมีเขาหินปูนนอยใหญกระจัดกระจาย และเปนแหลงพบ พืชหายากจําพวก Begonia spp., Impatiens spp. และพืชในวงศ Gesneriaceae กลุมปาฮาลา-บาลา : กลุมปาที่มีความสําคัญมากในแงเขตภูมิศาสตรพืชพรรณ เปนที่พบพรรณไมแบบปา ดิบมาลายันแท ๆ กระจายพันธุลงมาสิ้นสุดที่ผืนปานี้ ทั้งปาดิบชื้นระดับต่ําและบนภูเขาสูงที่มีพืชพรรณแบบ Malay

Peninsula montane rain forest พบพืชพรรณมาเลเซียกระจายพันธุมาสิ้นสุดในบริเวณแถบนี้จํานวนมาก รวมทั้ง พืชวงศยางและกลวยไมตาง ๆ บางชนิดมีจํานวนประชากรหนาแนนมากในมาเลเซีย แตพบจํานวนนอยมากและจํากัด ในบริเวณกลุมปานี้ เชนเขาหันกูด เขา 1490 เขานาคราชและแถบ อ. เบตง พืชวงศยางที่เพิ่งพบใหมในประเทศไทย ไดแก Dipterocarpus acutangulus,Hopea sublanceolata, Shorea bracteolata, S. longisperma,

Vatica maingayi และ Vatica nitens กลวยไมที่พบใหมในไทยไดแก Coelogyne stenochila, Dendrobium hasseltii, Lecanorchis javanica, Pristiglottis macratha และ Spathoglottis aurea สวนพืชหายากชนิดอื่น ไดแก Nepenthes sanguinea (Nepenthaceae) และ Weinmannia blumei Cunoniaceae) เปนตน กลุมปาหมูเกาะทะเลอันดามัน : กลุมปานี้ประกอบดวยเกาะนอยใหญในทะเลอันดามัน ถือวาเปนแหลงพืช เฉพาะถิ่นและพืชหายากที่สําคัญอีกแหลงหนึ่ง โดยเฉพาะเกาะที่เปนเขาหินปูน แตการสํารวจยังไมทั่วถึง อยางไรก็ตาม สภาพปาดิบชื้นและเขาหินปูนตามชายฝงในเขตพื้นที่กลุมปานี้พบพืชถิ่นเดียวและพืชหายากอยูหนาแนน เชนที่เขต รักษาพันธุสัตวปาเขาพระแทว พบตนเจาเมืองถลาง (Kerriodoxa elegans) ที่เปนพืชถิ่นเดียวของไทย และที่เขา พนมเบญจา เขาประบางคราม และเขาหินปูนเล็ก ๆ ซึ่งเปนแหลงพืชถิ่นเดียวและพืชหายากที่สําคัญ เชนพืชชนิดใหม ของโลกที่กําลังไดรับการตีพิมพคือ Rothmania niyodhamii (Rubiaceae) และพืชชนิดใหมของไทยในวงศยาง

Vatica mangachapoi subpp. obtusifolia ซึ่งพบเพียงแหงเดียวในประเทศไทยที่ถ้ําเสือ จ. กระบี่ กลุมปาหมูเกาะอางทอง-อาวไทย : กลุมปานี้ครอบคลุมพื้นที่เกาะและชายฝงภาคทะเลดานอาวไทย คือหมู เกาะทะเลใต และหมูเกาะชุมพร มีความสําคัญนอยในแงพืชถิ่นเดียวและพืชหายากนอย เพราะเปนพื้นที่ขนาดเล็ก กลุมปาหมูเกาะชาง : กลุมปานี้ครอบคลุมหมูเกาะชางและหมูเกาะเสม็ด มีความสําคัญในดานการศึกษาและ สํารวจดานพฤกษศาตรมาก เนื่องดวยมีการสํารวจโดยนักพฤกษศาตรชาวตางประเทศเปนครั้งแรกในประเทศไทย และ ไดตีพิมพหนังสือพรรณไมเกาะชางเปนครั้งแรกเมื่อป พ.ศ. 2443 ซึ่งถือวาเปนหนังสือทางวิชาการดานพฤกษศาตร เลมแรกของประเทศไทย นอกจากนี้ยังมีพืชถิ่นเดียวและพืชหายากหลายชนิดโดยเฉพาะพืชพรรณอินโดจีนตอนใต


83

6.2 สถานภาพชนิดพรรณพืชที่ถูกคุกคาม สาเหตุ-ปจจัยที่ทําใหเกิดการสูญพันธุของพืช จากรายชื่อพืชที่ไดมีการประเมินสถานภาพแลวตามขอมูล สถานภาพพืชจาก Thailand Red Data 2006 และ Criteria 1994-2001 พบวามีสาเหตุหลักๆ ที่มีผลตอการลดลงของ พืชดังนี้ กลุมที่ 1 ถิ่นที่อยูอาศัยถูกรุกราน เชน การบุกรุกพื้นที่เพื่อทําการเกษตร การพัฒนาของชุมชน การทําเหมือง การเปลี่ยนแปลงสภาพทางนิเวศ การเกิดไฟปา เปนตน กลุมที่ 2 การเก็บพืชเกินกําลัง และเพื่อการคา การเก็บเกินกําลังเพื่อใชประโยชนในดานตางๆ เชน นํามา จําหนายเพื่อเปนไมประดับ การใชเปนอาหารหรือพืชสมุนไรเปนตน กลุมที่ 3 ชนิดพันธุตางถิ่นคุกคาม ทําใหเกิดผลกระทบโดยตรงตอพื้นทองถิ่น คือ ทําใหเกิดการแกงแยงเชิง นิเวศหรือการเกิดผสมขามพันธุขึ้น ตัวอยางเชน จากรายงานการวิจัยสถานภาพและการกระจายของชนิดพืช ถิ่นเดียว หายากหรือใกลสูญพันธุในพื้นที่เขตรักษาพันธุสัตวปาดอยเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม (ตรีภพ ทิพย ศักดิ์, 2550) พบวาพืชถิ่นเดียว พืชหายาก พืชใกลสูญพันธุที่เคยมีรายงานพบบริเวณดอยเชียงดาวแตปจจุบัน ไมพบอีกเนื่องมาจากการลุกลามของวัชพืชพวกหญา และสาบหมา กลุมที่ 4 กิจกรรมการทองเที่ยว เปนกิจกรรมที่สงผลตอการลดลงของจํานวนประชากรของกลุมพืช โดยเฉพาะพืชลมลุก เชน การเหยียบย่ําของนักทองเที่ยวในพื้นที่ทุงแสลงหลวง โดยเฉพาะในชวงฤดู ทองเที่ยวที่มีนักทองเที่ยวเปนจํานวนมาก การเดินทองเที่ยวของนักทองเที่ยวสงผลกระทบตอสภาพปาไม รวมถึงพันธุไมดวย โดยเฉพาะที่พบในบริเวณ เสนทางเดินปา เนื่องจากนักทองเที่ยวมักจะเดินออกนอกเสนทางที่กําหนด ทําใหเหยียบยอบนกลาไมและ ตนไม โดยตั้งใจและไมตั้งใจ หรือความคึกคะนอง

โดยพบวาสาเหตุที่คุกคามตอความหลากหลายของพืชมีผลกระทบตอพืชสูญพันธุและพืชใกลสูญพันธุทั้ง 4 กลุม สามารถจําแนกไดตามสถานภาพของพืชไดดังตาราง 6-1


84

ตาราง 6-1 แสดงจํานวนกลุมพืชในแตละสถานภาพ จําแนกตามสาเหตุที่คุกคามตอสถานภาพของพืช จํานวนชนิดพืชจําแนกตามกลุมสาเหตุที่คุกคาม กลุมสถานภาพ

พื้นที่ถิ่นที่อยู

การเก็บพืช

ชนิดพันธุตางถิ่น

กิจกรรมการ

รวม

ถูกคุกคาม

เกินกําลัง

คุกคาม

ทองเที่ยว

พืชสูญพันธุในธรรมชาติ (EW)

-

2

-

-

2

พืชที่ใกลสูญพันธุอยางยิ่ง (CR)

17

3

-

-

20

พืชใกลสูญพันธุ (EN)

64

62

6

2

135

พืชมีแนวโนมใกลสูญพันธุ (VU)

120

460

18

-

598

พื้นที่ใกลถูกคุกคาม (NT)

23

3

-

-

26

พื้นถิ่นเดียวที่มีความกังวลนอยที่ ใกลจะสูญพันธุ (LC)

6

-

-

-

6

(สํานักงานหอพรรณไม, กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช, กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม, 2554)

กองกานดา ชยามฤต และราชัน ภูมา สรุปการติดตามประเมินวา ใหสํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม ในรายงานการประชุมความหลากหลายทางชีวภาพ (2549) พืชที่เปนพืชหายากและใกลสูญพันธ 1,410 ชนิด 137 วงศ แบงเปนเฟน 17 วงศ 42 ชนิด พืชเมล็ดเปลือย 5 วงศ 27 ชนิด พืชดอก แบงเปนพืชใบเลี้ยงเดี่ยว 19 วงศ 417 ชนิด และพืชใบเลี้ยงคู 96 วงศ 924 ชนิด เปนพืชเฉพาะถิ่น 15 ชนิด นอกนั้นเปนพืชทั่วไป เชน พืชที่ถูกนํามาใชประโยชน และพืชวงศกลวยไมอยูในทะเบียนนี้มากที่สุด 174 ชนิด มีการแจกแจงดังตารางที่ 6-1 และ แสดงเอกสารดังกลาวใน ภาคผนวกที่ 6-2) ตารางที่ 6-2 ทะเบียนรายการและสถานภาพพืชที่ถูกคุกคาม พืชหายากและพืชเฉพาะถิ่นของประเทศไทย


85

• • • • • •

พืชเฉพาะถิ่น (Endemic plant-E) พืชกึ่งเฉพาะถิ่น (Semi-endemic plant-Semi-E) พืชหายาก (R (RT)) มีแนวโนมใกลสูญพันธุ (Vulnerable-VU) ใกลสูญพันธุ (Endangered-EN) ใกลสูญพันธุ (Endangered-EN) (กองกานดา ชยามฤต และราชัน ภูมา (2549)

อนึ่ง ในการศึกษาครั้งนี้ผูศึกษาไมสามารถเปรียบเทียบสถานภาพพืชถูกคุกคามในอดีตและปจจุบันได เนื่องจากขาดขอมูลการอางอิงในอดีต

6.3 พื้นที่สําคัญเพื่อการอนุรักษพืชในประเทศไทย 1 พื้นที่สําคัญในการอนุรักษพืช (Important Plant Areas: IPAs) คือ พื้นที่ธรรมชาติหรือพื้นที่กึ่งธรรมชาติที่ ประกอบไปดวยความมากมายทางพฤกษศาสตร และ/หรือ มีพืชหายาก พืชถูกคุกคาม และ/หรือ พืชเฉพาะถิ่น และ/ หรือ สังคมพืชที่มีคุณคาทางพฤกษศาสตรสูงหรืออาจจะเปนการพิจารณาจากสังคมพืชที่มีคุณคาทางพฤกษศาสตร คือ มีความโดดเดนตอความหลากหลายของพืช ในเงื่อนไชที่นํามาหรือเลือกพื้นที่ จึงมีหลายเกณฑและเงื่อนไขที่นํามา คัดเลือกพื้นที่ พื้นที่สําคัญเพื่อการอนุรักษพืช (IPAs) เปนพื้นที่ที่ไมเปนทางการซึ่งแตกตางจากการกําหนดพื้นที่อนุรักษ เชน อุทยานแหงชาติ เขตรักษาพันธุสัตว และพื้นที่ปาสงวนแหงชาติ การกําหนด IPAs เปนการคัดเลือกโดยอาศัย ขอมูลทางวิทยาศาสตร ซึ่งเปนขอมูลที่มีการปรับปรุงเปนปจจุบันอยูตลอดเวลา โดยไดรับขอมูลสนับสนุนการตัดสินใจ จากผูเชี่ยวชาญดานพฤกษศาสตร ในหลายพื้นที่การกําหนดเงื่อนไขของการคัดเลือกพื้นที่ IPAs นั้นรวมถึงพืชทั้งหมด และอาณาจักรเห็ดรา (พืชมีทอลําเลียง ไบรโอไฟต ไลเคน และเห็ดรา) ที่มีการปรากฏพื้นที่ของพืชที่ถูกคุกคามและถิ่น ที่ อยู โดยเงื่อ นไขตอ งเป น ที่ ย อมรับ สว นดา นความมากมายของพื ช จะกํา หนดเป น พื้น ที่ม ากกวา เป น ภูมิ ภาค ซึ่ ง เหมาะสมตอการดูแลและการจัดการที่มีกําหนดคัดเลือก IPAs

1

(เรียบเรียงจาก “พื้นที่สําคัญเพื่อการอนุรักษพืชในประเทศไทย Thailand Important Plant Areas: IPAs) ภายใตกลยุทธทั่วโลกวา

ดวยการอนุรักษพืช Global Strategy of Plant Conservation (GSPC) สํานักงานหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุ พืช, กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม, 2554)


86

โดยทั่วไปพื้นที่ IPAs จะเปนพื้นที่ที่มีการปรากฏของพืชหายากหรืออาจเปนลักษณะของสังคมพืช ซึ่งจะทําให การจัดการพื้นที่นั้นมีความเหมาะสม หรือทําใหผูที่มีบทบาทหนาที่ในการดูแลพื้นที่นั้นมีความเขาใจและสามารถดูแล จัดการพื้นที่ไดเปนอยางดีมากกวาปกติ ดังนั้นพื้นที่ IPAs จึงแตกตางจากการกําหนดพื้นที่อนุรักษโดยทั่วไป

หลักเกณฑของการพิจารณาพื้นที่สําคัญเพื่อการอนุรักษพืช IPAs ในการพิจารณาพื้นที่ IPAs ไดดําเนินการโดยใชหลักเกณฑลักษณะเดียวกับพื้นที่ที่เรียกวา Important Bird Area (IBA) โดยหลักในการพิจารณาพื้นที่ IPAs ถูกปรับปรุงมาจากการใชตัวบงชี้ของพื้นที่ IBA ซึ่งการประเมินพื้นที่ สําคัญเพื่อการอนุรักษนก หลักเกณฑ IBA มีหนวยงานที่เรียกวา Audubon Society กับ Bird Life International เปน ผูดําเนินการ สําหรับหลักเกณฑการพิจารณากลุมหรือพื้นที่สําคัญเพื่อการอนุรักษพืช สามารถแบงออกเปน 3 ประเภท ดวยกันคือ -

เกณฑ A พืชถูกคุกคาม (Threatened Species) คือพื้นที่ที่แสดงถึงจํานวนประชากรของพืชที่ถูกประเมิน สถานภาพในระดับโลกหรือภูมิภาค ซึ่งอาจพบพืชหนึ่งชนิดหรือมากกวาหนึ่งชนิด สามารถแบงออกไดเปน 4 ระดับ o เกณฑยอย A1 เปนพื้นที่ที่ปรากฏชนิดพันธุพืชที่ถูกคุกคามระดับโลก ตามทะเบียนรายการพืชถูก คุกคามของ IUCN o เกณฑยอย A2 เปนพื้นที่ที่ปรากฏชนิดพันธุพืชที่ถูกคุกคามในระดับภูมิภาค ตามทะเบียนรายการ พืชถูกคุกคามของ IUCN o เกณฑยอย A3 เปนพื้นที่ที่ปรากฏชนิดพันธุพืชเฉพาะถิ่นที่ไมถูกประเมินในระดับโลก หรือระดับ ภูมิภาค แตเปนเปนระดับประเทศ o เกณฑยอย A4 เปนพื้นที่ที่ปรากฏชนิดพันธุพืชกึ่งเฉพาะถิ่นหรือมีเขตการกระจายจํากัด พืชกลุมนี้ เปนพืชที่มีลักษณะการกระจายหางออกจากจุดศูนยกลางของการกระจายพันธุ เชน กฤษนานอยพบ ในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวเปนจํานวนมากพอสมควร แตการกระจายหางออกมาใน พื้นที่ของประเทศไทย ซึ่งเปนแบบการกระจายพันธุทําใหพบจํานวนนอย เปนตน

-

เกณฑ B ความมากมาย (หรือความร่ํารวย) ทางพฤกษศาสตร (Botanical Richness) คือพื้นที่ที่มีความ มากมายทางพฤกษศาสตรในระดับภูมิภาคที่สําคัญตอเขตชีวภูมิศาสตร เปนพื้นที่ที่พิจารณาในเรื่องความ หลากหลายของชนิดพันธุพืชที่มีอยูในถิ่นกําเนิด ถิ่นที่อยู หรือสังคมพืช ในระดับที่มีความหลากหลายของ ชนิดสูง


87

-

เกณฑ C ถิ่นที่อยูถูกคุกคาม (Threatened Habitats) พื้นที่ที่เปนตัวแทนของถิ่นที่อยู หรือสังคมพืชที่ควร อนุรักษ และมีความสําคัญทางพฤกษศาสตรในระดับโลกหรือระดับภูมิภาค ในการประเมินพื้นที่สําคัญเพื่อการอนุรักษพืชนั้น พื้นที่หนึ่งๆ สามารถกําหนดไดมากกวาหนึ่งเกณฑ เชน พื้นที่สามารถถูกกําหนดใหเปนเกณฑ A, B หรือ C หรือรวมในหลายเกณฑ ซึ่งทั้ง 3 เกณฑนี้สามารถนําไป ปรับใชในแตละภูมิภาคของโลกได โดยการประเมินทั้งสามกลุมตองอาศัยทะเบียนรายการชื่อของ IUCN red list ประกอบดวยไมวาจะเปนระดับภูมิภาคหรือระดับโลก

การคัดเลือกพื้นที่สําคัญเพื่อการอนุรักษพืชในประเทศไทย ในการพิจารณาพื้นที่สําคัญเพื่อการอนุรักษพืชจํานวน 102 แหง ตามเกณฑจําแนกตางๆ พบกวา ประเภท ของพื้นที่ IPAs เกณฑ A1 มีจํานวน 13 แหง เกณฑ A2 จํานวน 0 แหง เกณฑ A3 จํานวน 91 แหง เกณฑ A4 จํานวน 2 แหง เกณฑ B จํานวน 3 แหง และเกณฑ C จํานวน 99 แหง ตาราง 6-3 แสดงบัญชีจํานวนพื้นที่สําคัญเพื่อการอนุรักษพืช (IPAs) ของประเทศไทย จําแนกตามเกณฑตาง พื้นที่ IPAs

A1

A2

A3

A4

B

C

จํานวนพื้นที่ IPAs

13

0

91

2

3

99

ในการพิจารณาพื้นที่สําคัญเพื่อการอนุรักษพืชตามภูมิภาคของประเทศ พบวาภาคใตมีจํานวนพื้นที่มากที่สุด จํานวน 35 แหง ภาคเหนือจํานวน 22 แหง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือจํานวน 20 แหง ภาคตะวันตกจํานวน 10 แหง ภาคกลางจํานวน 8 แหง และภาคตะวันออกจํานวน 7 แหง โดยพื้นที่ที่มีคุณสมบัติตามเกณฑวินิจฉัย A1 ในประเทศไทย 13 แหงไดแก อุทยานแหงชาติเขาใหญ ตาราง 6-4 แสดงจํานวนพื้นที่สําคัญเพื่อการอนุรักษพืช (IPAs) โดยจําแนกตามรายภาค พื้นที่ IPAs

เหนือ

กลาง

ใต

จํานวนพื้นที่ IPAs

22

8

35

ตะวันออกเฉียงเหนือ ตะวันออก 20

7

ตะวันตก 10

และเมื่อพิจารณาพื้นที่สําคัญเพื่อการอนุรักษพืชตามประเภทการคุมครองพื้นที่ พบวาพื้นที่ที่อยูในอุทยาน แหงชาติมีจํานวน 52 แหง ในเขตรักษาพันธุสัตวปาจํานวน 19 แหง ในเขตปาสงวนแหงชาติจํานวน 5 แหง ไมมีเขต คุมครองจํานวน 1 แหง ในเขตหามลาสัตวปาจํานวน 5 แหง ในเขตวนอุทยานจํานวน 4 แหง และในเขตที่มีองคกร


88

ทองถิ่นดูแลจํานวน 5 แหง เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบแลวพบวาพื้นที่สําคัญเพื่อการอนุรักษพืชจํานวน 102 แหงใน ประเทศไทย อยูในพื้นที่ปาอนุรักษตามกฎหมายประมาณ 83.34% ของทั้งหมด ซึ่งเกินจากเปาหมายที่กําหนดไววา รอยละ 50 ของพื้นที่สําคัญเพื่อการอนุรักษพืชไดรับหลักประกันในการคุมครอง

ตาราง 6-5 แสดงสถานภาพของพื้นที่สําคัญเพื่อการอนุรักษพืช (IPAs) จําแนกตามประเภทการคุมครองพื้นที่ ประเภทพื้นที่

อุทยาน

เขตรักษา

แหงชาติ

พันธุสัตว

วนอุทยาน

เขตหามลา

ปาสงวน

องคการ

ไมมีการ

สัตวปา

แหงชาติ

ทองถิ่น

คุมครอง

ปา จํานวนพื้นที่ IPAs (แหง)

52

ดูแล

19

4

5

5

5

1

อยางไรก็ตามแมพื้นที่สําคัญเพื่อการอนุรักษพืชในประเทศไทยทั้ง 102 จะมีการดูแลตามกฎหมายอยูถึง 87 แหง แตก็ยังอยูภายใตปจจัยคุกคามตางๆ โดยพบวาพื้นที่สําคัญเพื่อการอนุรักษพืชจํานวน 73 แหงถูกคุกคามดวยการ ลดลองของพื้นที่ปา จํานวน 59 แหงถูกคุกคามดวยกิจกรรมการทองเที่ยว จํานวน 51 แหงถูกคุกคามดวยการพัฒนา พื้นที่ดานตางๆ จํานวน 50 แหงถูกคุกคามดวยการเกษตร จํานวน 71 แหงถูกคุกคามดวยการเก็บพืชเกินขนาด และ จํานวน 4 แหงถูกคุกคามดวยพืชตางถิ่นรุกราน (ดังตาราง 6-6)

ตาราง 6-6 แสดงจํานวนพื้นที่สําคัญเพื่อการอนุรักษพืช (IPAs) จําแนกตามปจจัยคุกคาม (Threats) ประเภทปจจัยคุกคาม

การลดลง

กิจกรรม

การพัฒนา

พืชตางถิ่น

พื้นที่

ของพื้นที่ปา

การ

พื้นที่ดาน

รุกราน

ทองเที่ยว

ตางๆ

59

51

จํานวนพื้นที่ IPAs (แหง)

73

4

การเกษตร

การเก็บพืช เกินขนาด

50

71


89

ตาราง 6-7 แสดงพื้นที่สําคัญเพื่อการอนุรักษพืช และเกณฑวินิจฉัยของแตละพื้นที่ พื้นที่สําคัญเพื่อการอนุรักษพืช

คุณสมบัติตามเกณฑวินิจฉัย

เกณฑวินิจฉัย

A1, A3, C

A3, C

A3, C

A3, C

A1, A3, C

A3, C

C

C

A1, A3, C

A1, A3, C

ดอยตุง

A3, C

A3, C

ชองเย็น อุทยานแหงชาติแมวงก

A3, C

A3, C

ดอยปุยหลวง อุทยานแหงชาติแมสุริน

A3, C

A3, C

A3

A3

A3, C

A3, C

น้ําตกตาดหลวง อุทยานแหงชาติดอยภูคา

C

C

แปลงอนุรักษพันธุไมปาแมกา

C

C

A3, C

A3, C

บานรมเกลา อุทยานแหงชาติภูหินรองกลา

C

C

ภูหินรองกลา อุทยานแหงชาติภูหินรองกลา

A3, C

A3, C

เขาหลวง อุทยานแหงชาติรามคําแหง

A3, C

A3, C

น้ําตกทีลอซู เขตรักษาพันธุสัตวปาอุมผาง

A3, C

A3, C

น้ําตกทีลอเล เขตรักษาพันธุสัตวปาอุมผาง

A3, C

A3, C

เขาพระวอ อุทยานแหงชาติน้ําตกพาเจริญ

A3, C

A3, C

ดอยหัวหมด

A3, C

A3, C

ภูสอยดาว อุทยานแหงชาติภูสอนดาว

A3, C

A3, C

ภาคเหนือ 22 แหง กลุมเขาหินปูนดอยเชียงดาว เขตรักษาพันธุสัตวปาดอยเชียงดาว ดอยผาหมปก อุทยานแหงชาติดอยผาหมปก ดอยสุเทพ ดอยปุย อุทยานแหงชาติดอยสุเทพ-ปุย สวนพฤกษศาสตรสมเด็จพระนางเจาสิริกิตติ์ ดอยสุเทพ-ปุย ดอยอินทนนท อุทยานแหงชาติดอยอินทนนท

น้ําตกหมอแปง ดอยภูคา อุทยานแหงชาติดอยภูคา

ภูเมี่ยง ภูทอง เขตรักษาพันธุสัตวปาภูเมี่ยง-ภูทอง


90

ดอยผีปนน้ํา อุทยานแหงชาติขุนนาน

A3, C

A3, C

ซับจําปา

A3, C

A1, A3, C

เขตหามลาสัตวปาเขาสมโภชน

A3, C

A3, C

เขตรักษาพันธุสัตวปาซับลังกา

C

C

A1, A3, B, C

A1, A3, B, C

วัดพระพุทธบาท

A3, C

A3, C

อุทยานแหงชาติเขาสามหลั่น

A3, C

A3, C

A3

A3, C

A1, A3

A1, A3

C

C

เขตรักษาพันธุสัตวปาเขาสอยดาว (เขาสอยดาวใต)

A3, C

A1, A3, C

อุทยานแหงชาติเขาชะเมา

A1, A3

A1, A3

A1, A3, C

A1, A3, C

บึงจํารุง สวนรวมพรรณไมภาคตะวันออก องคการสวนพฤกษศาสตร

A3, C

C

เขตรักษาพันธุปาเขาเขียว (เขาเขียว-เขาชมพู)

A1, A3

A1, A3

C

C

A3, C

A3, C

A3

A3, C

A3, C

A3, C

-

A1, A3, C

ภาคกลาง 8 แหง

อุทยานแหงชาติเขาใหญ

วังตะไคร ศูนยวิจัยขาวปราจีนบุรี ภาคตะวันออก 7 แหง เกาะมันใน

อุทยานแหงชาติหมูเกาะชาง (เกาะชาง – เกาะกูด)

เกาะแสมสาร ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 20 แหง พนมดงรัก อุทยานแหงชาติพนมดงรัก พลาญปาชาด อุทยานแหงชาติภูจองนายอย ผาแตม อุทยานแหงชาติผาแตม ยอดโดม เขตรักษาพันธุสัตวปายอดโดม


91

สวนพฤกษศาสตรดงฟาหวน

A1, C

A1, C

C

C

น้ําตกผาหลวง วนอุทยานน้ําตกผาหลวง

A3, C

A3, C

ทับลาน อุทยานแหงชาติทับลาน

A3, C

A3, C

แกงตะนะ อุทยานแหงชาติแกงตะนะ

A3, C

A3, C

C

C

ภูเขียว เขตรักษาพันธุสัตวปาภูเขียว

A3, C

A3, C

ปาหินงาม อุทยานแหงชาติปาหินงาม

A3, C

C

ภูหลวง เขตรักษาพันธุสัตวปาภูหลวง

A1, A3, C

A3, C

สวนหินผางามปวนพุ กลุมเขาหินปูน อ.หนองหิน

A3, C

A3, C

อุทยานแหงชาติภูกระดึง

A3, C

A3, C

นาแหว อุทยานแหงชาตินาแหว

A3

A3

ภูผากูด

C

C

ภูลังกา อุทยานแหงชาติภูลังกา

A3, C

A3, C

ภูวัว เขตรักษาพันธุสัตวปาภูวัว

A1, A3, C

A3, C

เขตสงวนชีวมณฑลสะแกราช

A3, B, C

A3, B, C

A3, B, C

A3, B, C

บริเวณพุ อุทยานแหงชาติทองผาภูมิ

A4, C

A4, C

น้ําตกไทรโยค อุทยานแหงชาติไทรโยค

A3, C

A3, C

กลุมหินปูนกาญจนบุรี อุทยานแหงชาติไทรโยค

A3, C

A3, C

เขาหินปูน อุทยานแหงชาติกุยบุรี

A1, A3, C

A1, A3, C

เขาหลวง อุทยานแหงชาติหวยยาง

A3, C

A3, C

สามรอยยอด อุทยานแหงชาติสามรอยยอด

A3, C

A3, C

หนองหาน

ผาน้ํายอย วนอุทยานผาน้ํายอย

ภาคตะวันตก 11 แหง ทุงใหญ-หวยขาแขง เขตรักษาพันธุปาทุงใหญนเรศวร-หวยขาแขง


92

แกงกระจาน อุทยานแหงชาติแกงกระจาน

A3, A4, C

A3, A4, B, C

ปาเตาดํา

C

C

วัดภูเตย

A3

A3, C

วัดบางกะมา

A3

A3

สระมรกต เขตรักษาพันธุสัตวปาเขาประบางคราม

A1, A3, C

A1, A3, C

เขาถ้ําเสือ วัดถ้ําเสือ

A1, A3, C

A3, C

เขาพนมเบญจา อุทยานแหงชาติเขาพนมเบญจา

A1, A3

A3, C

เขาหัวชาง กลุมเขาหินปูนกระบี่-พังงา

A3, C

A3, C

A1, A3, C

A3, C

เขาเหมน อุทยานแหงชาติน้ําตกโยง

A3, C

A3, C

เขารามโรม อุทยานแหงชาติน้ําตกโยง

A1, A3, C

A3, C

เขาหลวง อุทยานแหงชาติเขาหลวง

A1, A3, C

A3, C

พรุโตะแดง เขตรักษาพันธุสัตวปาพรุโตะแดง

A1, A3, C

A3, C

น้ําตกซีโป อุทยานแหงชาติน้ําตกซีโป

A1, A3, C

A1, A3, C

เขตรักษาพันธุสัตวปาฮาลาบาลา (ปาฮาลา-บาลา)

A1, A3, C

A1, A3, C

เขาปู-เขายา อุทยานแหงชาติเขาปูเขายา

A1, A3, C

A3, C

เกาะสุรินทร อุทยานแหงชาติหมูเกาะสุรินทร

A1, A3, C

A3, C

A1, A3

C

หมูเกาะหินปู อุทยานแหงชาติอาวพังงา

A3

A3, C

เขาพระแทว อุทยานแหงชาติเขาพระแทว

A1, A3, C

A3, C

A3, C

A3, C

เขตสงวนชีวมณฑลระนอง

A1, A3, C

C

ทะเลบัน อุทยานแหงชาติทะเลบัน

A1, A3, C

A3, C

ภาคใต 34 แหง

เขานัน อุทยานแหงชาติเขานัน

หาดทายเหมือง อุทยานแหงชาติหาดทายเหมือง-ลําป

คลองนาคา เขตรักษาพันธุสัตวปาคลองนาคา


93

เกาะตะรุเตา อุทยานแหงชาติเกาะตะรุเตา

A3, C

A3, C

เกาะเภตรา อุทยานแหงชาติหมูเกาะเภตรา

A3, C

A3, C

A1, A3, C

A1, A3, C

C

C

A1, A3, C

B, C

เขาคลองพนม อุทยานแหงชาติคลองพนม

A3, C

A3, C

เกาะอางทอง อุทยานแหงชาติหมูเกาะอางทอง

A3, C

A3, C

A1, A3, C

B, C

C

C

A1, A3, C

A3, C

-

A1, C

หาดเจาไหม อุทยานแหงชาติหาดเจาไหม

A1, A3, C

A1, A3, C

บางลาง อุทยานแหงชาติบางลาง

A1, A3, C

A1, A3, C

บานจุฬาภรณ 10

A1, A3, C

B, C

A3

A3, C

เขาน้ําคาง อุทยานแหงชาติเขาน้ําคาง หนองทุงทอง อุทยานแหงชาติหนองทุงทอง เขาสก อุทยานแหงชาติเขาสก

เขาบรรทัด เขตรักษาพันธุสัตวปาเทือกเขาบรรทัด เกาะลิบง เตหามลาสัตวปาเกาะลิบง เขาน้ําพราย เขตหามลาสัตวปาเขาน้ําพราย ปาทุงคาย สวนพฤกษศาสตรสากลภาคใต(ทุงคาย)

ศรีพังงา อุทยานแหงชาติศรีพังงา


94

7. สถานการณความหลากหลายทาง ชีวภาพของพันธุสัตวปาประเทศไทย 7.1

ความหลากหลายของพันธุสัตวปาประเทศไทย

สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม (2547) ในฐานะหนวยงานประสานงานกลางของอนุสัญญาวาดวย ความหลากหลายทางชีวภาพไดจัดพิมพเอกสารเผยแพรเรื่องความหลากหลายทางชีวภาพครั้งลุดในป 2547 รายงาน ความหลากหลายของพันธุสัตว ในประเทศไทยพบสัตวเลี้ยงลูกดวยนม 294 ชนิด (ประทีป, 2541) โดยรอยละ 42 มา จากทางตอนใตของภูมิภาค รอยละ 34 จากอินโดจีนหรืออนุภูมิภาคอินโดจีนและอินเดีย และรอยละ 24 แพรกระจาย ตลอดทั่วทวีปเอเซีย ในจํา นวนนี้ เปน ชนิด พัน ธุเฉพาะถิ่น 5 ชนิด (ภาคผนวกที่ 7) (สํา นั กงานนโยบายและแผน สิ่งแวดลอม, 2540) และสัตวเลี้ยงลูกดวยนมที่พบมากที่สุดคือ คางคาว ซึ่งมีถึง 108 ชนิด หรือรอยละ 38 โดยแบงเปน คางคาวกินผลไม หรือนํ้าหวาน 18 ชนิด คางคาวกินแมลง 89 ชนิด คางคาวกินสัตวอื่นเปนอาหาร 1 ชนิด สวนชนิดที่ พบรองลงมาไดแก อันดับฟนแทะ (Rodentia) ซึ่งมีประมาณรอยละ 25 ในสวนของสัตวปก มีการสํารวจพบนก 915 ชนิด เมื่อป 2533 และปจจุบันนี้มีการสํารวจพบนกเพิ่มขึ้นเปน 982 ชนิด ((จารุจินต นภีตะภัฏ วัชระ สงวนสมบัติ และธัญญา จั่นอาจ,2549) ในจํานวนนี้เปนชนิดพันธุเฉพาะถิ่น 2 ชนิด ไดแก นกเจาฟาหญิงสิรินธร และนกกินแมลงเด็กแนน (ภาคผนวกที่ 7-) โดยในปจจุบันพบวามีรายงานการพบนก ในประเทศไทยทั้งสิ้น 1,007 ชนิด (วัชระ สงวนสมบัติ, 2553) ซึ่งนับวามีความหลากหลายเปนอันดับที่ 2 ในเขตภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต (อันดับหนึ่งไดแกประเทศพมา) การศึกษาดานความหลากหลายของสัตวเลื้อยคลาน มีการยืนยันวา ในประเทศไทยสํารวจพบสัตวเลื้อยคลาน เปนจํานวน 350 ชนิด จํานวน ชนิดที่พบมากที่สุด ไดแก งู ซึ่งมีถึงรอยละ 54.15 รองลงมาไดแกกลุมตุกแก กิ้งกา จิ้งเหลน คือ รอยละ 36.6 จํานวนชนิดพันธุที่ สํารวจพบนอยที่สุด คือ จระเข พบเพียง 3 ชนิด นอกจากนี้ (กําธร, ไม ระบุปที่พิมพ) ยังพบเตา 27 ชนิด จากที่มีอยูในโลก 257 ชนิด เปนเตาบก 3 ชนิด เตาปูลู 1 ชนิด เตานํ้าจืด 13 ชนิด ตะพาบ 5 ชนิด เตาทะเล 4 ชนิด และเตามะเฟอง 1 ชนิด นอกจากนี้ เปนชนิดพันธุเตาที่นําเขาจากตางประเทศอีก 2 ชนิด ในจํานวนสัตวเลื้อยคลานทั้งหมดที่พบเปนชนิดพันธุเฉพาะถิ่น 29 ชนิด (สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม, 2540) (ภาคผนวกที่ 7) สัตวสะเทินนํ้าสะเทินบก ไดมีการสํารวจพบ 137 ชนิด โดยพบวาอยูในพวกกบ เขียด ถึงรอยละ 95 หรือ ชนิด ชนิดที่สํารวจพบนอยที่สุด คือ กะทาง หรือจักกิ้มนํ้า พบเพียงชนิดเดียว สัตวสะเทินนํ้าสะเทินบกที่เปนสัตว เฉพาะถิ่นของไทย มีทั้งหมด 7 ชนิด (สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม, 2540) (ภาคผนวกที่ 7) จากขอมูลในภาพรวมของประเทศ จํานวนชนิดพันธุของสัตวมีกระดูกสันหลังของประเทศไทย เทียบเปน จํานวนประมาณ 9-10 % ของจํานวนชนิดพันธุที่พบในโลก


95

สําหรับขอมูลสัตวไมมีกระดูกสันหลังจําพวกแมลง แมลงในประเทศไทยมีมากมาย โดยเฉพาะแมลงปกแข็ง และผีเสื้อกลางคืน สําหรับประเทศไทยยังรูจักแมลงนอยมาก เมื่อเทียบกับแมลงทั้งหมดในประเทศไทย เฉพาะขอมูล จากกรมวิชาการเกษตร มีแมลงที่ทราบชื่อแลวกวา 7,000 ชนิด ซึ่งเปนเพียงรอยละ 10 ของตัวอยางแมลงที่มีอยูในกรม วิชาการเกษตร ซึ่งนอยกวาที่มีอยูจริงในประเทศ และอีกรอยละ90 ที่เหลือยังไมไดมีการวินิจฉัย หรือวินิจฉัยไมได

7.2

สถานภาพชนิดพันธุสัตวปาที่ถูกคุกคาม

จารุจินต นภีตะภัฏ วัชระ สงวนสมบัติ และธัญญา จั่นอาจ สรุปการติดตามประเมินวา ใหสํานักงานนโยบาย และแผนสิ่งแวดลอมในรายงานการประชุมความหลากหลายทางชีวภาพ (2549) สรุปจํานวนชนิดพันธุสัตวมีกระดูกสัน หลังที่ถูกคุกคามของประเทศไทย 548 ชนิด เปนสัตวเลี้ยงลูกดวยนม 116 นก 180 ชนิด สัตวเลื้อยคลาน 32 ชนิด สัตวสะเทินน้ําสะเทินบก 5 ชนิด ปลา 215 ชนิด และมีชนิดพันธุเฉพาะถิ่น เปนสัตวเลี้ยงลูกดวยนม 5 ชนิด นก 2 ชนิด สัตวเลื้อยคลาน 47 ชนิด สัตวสะเทินน้ําสะเทินบก 7 ชนิด ปลา 72 ชนิด ดังรายละเอียดในตารางที่ 7-1 และ 7-2 และ แสดงเอกสารดังกลาวในภาคผนวกที่ 7-2 ตารางที่ 7-1 จํานวนชนิดพันธุสัตวมีกระดูกสันหลังในประเทศไทย ชนิดพันธุเฉพาะถิ่น (endemic) และ ชนิดพันธุที่ถูก คุกคาม (threatened)

(จารุจินต นภีตะภัฏ วัชระ สงวนสมบัติ และธัญญา จั่นอาจ,2549)


96

ตารางที่ 7-2 จํานวนชนิดพันธุสัตวมีกระดูกสันหลังที่ถูกคุกคามของประเทศไทย

(จารุจินต นภีตะภัฏ วัชระ สงวนสมบัติ และธัญญา จั่นอาจ,2549)

ผูศึกษาไดรวบรวมสถานภาพของสัตวปาทั้งไมมีกระดูกสันหลังและมีกระดูกสันหลังเพิ่มเติมไดในเบื้องตนดังนี้

7.2.1 สัตวไมมีกระดูกสันหลัง สัตวไมมีกระดูกสันหลังเปนสัตวที่มีจํานวนชนิด และความหลากหลายสูงมาก และมีจํานวนมากที่สุดในเชนกัน สัตวไมมีกระดูกสันหลังหลายชนิดที่ออนไหวตอการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมสูงกวาสัตวในกลุมอื่นๆ ดังนั้นหากใน ระบบนิเวศมีการเปลี่ยนแปลงมักจะสงผลกระทบตอสัตวไมมีกระดูกสันหลังกอนสัตวในกลุมอื่น สัตวไมมีกระดูกสันหลังแบงออกเปนไฟลัม(Phylum) ตางๆทั้งหมดประมาณ 31-33 ไฟลัมซึ่งขึ้นอยูกับนักสัตว วิทยาแตละคนที่จะแบงใหละเอียดออกไปซึ่งรวม ทั้งการแบงชั้น (class) ของแตละไฟลัมเพิ่มจํานวนขึ้นดวยเนื่องจาก สัตวไมมีกระดูกสันหลัง เปนกลุมสัตวที่มีจํานวนมาก และบางกลุมสามารถพบไดทั่วไปทุกหนทุกแหงทั้งในน้ํา บนดิน ใตดิน และในอากาศ ปจจุบันในประเทศไทยยังมีนักวิทยาศาสตรและนักวิชาการที่ทําการศึกษาสัตวไมมีกระดูกสันหลังจํานวนนอย มาก และศึกษากันอยูในวงแคบๆ เพียงไมกี่กลุมของสัตวพวกนี้ ซึ่งสวนใหญจะทําการศึกษาเฉพาะกลุมที่มีคุณคาทาง


97

เศรษฐกิจเกี่ยวกับการประมงและตลอดจนนํามาใชเปนอาหารของประชาชนและที่เกี่ยวของทางการแพทยเทานั้น การศึกษาเพื่อเปนพื้นฐานทางดานการสอนและการวิจัยนั้นยังมีจํานวนนอย เพราะไมมีขอมูลและเอกสารในการศึกษา ไดเพียงพอ ประกอบกับยังไมมีการเก็บตัวอยางสัตวครอบคลุมทั่วประเทศ ทําใหในปจจุบัน ยังไมสามารถบอกไดวามี จํานวนชนิด(Species) ที่แนนอนของพวกสัตวไมมีกระดูกสันหลังเทาใดที่พบในประเทศไทย นอกจากนั้นยังไมสามารถ บอกไดว า ขณะนี้ พ บสัต ว ก ลุม นี้ แ ล วกี่ เ ปอร เ ซ็ น ตแ ละยัง ไม ไ ดพ บอี ก กี่ เ ปอรเ ซ็ น ต เ พราะการวิจั ย เกี่ ย วกั บ ทางด า น อนุกรมวิธานของสัตวไมมีกระดูกสันหลัง มีนักวิชาการตามกรม กองตางๆและอาจารยในมหาวิทยาลัยบางคนเทานั้นที่ ทํางานทางดานนี้ และก็มีปญหาตามมาดังที่กลาวมาแลวจึงทําใหงานทางดานนี้กาวหนาไปชามาก แมลงที่มีรายชื่อเปนสัตวปาคุมครองทั้งสิ้น 20 ชนิด สัตวไมมีกระดูกสันหลังประเภทอื่นที่อยูในบัญชีรายชื่อ สัตวปาคุมครองทั้งสิ้น 12 ชนิด การศึกษาเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของจํานวนชนิดพันธุที่ถูกคุกคามของสัตวไมมีกระดูกสันหลัง ไม สามารถดําเนินการไดในการศึกษาครั้งนี้เนื่องจากมีขอมูลไมเพียงพอ

7.2.2 สัตวมีกระดูกสันหลัง (1) สัตวสะเทินน้ําสะเทินบก สัตวสะเทินน้ําสะเทินบกพบในประเทศไทยประมาณ 137 ชนิด (138 ชนิดยอย) และคาดวาจะมีรายงานการ พบเพิ่มมากขึ้นในอนาคต ในจํานวนนี้พบวาเปนสัตวที่อยูในสถานะมีแนวโนมใกลสูญพันธุ (Vulnerable) ทั้งสิ้น 5 ชนิด (Thailand Red Data: Mammals, Reptiles and Amphibian, 2005) ไดแก (i) กบอกหนามเหนือ (Bourret’s Spiny-brasted Frog: Paa bourreti) พบไดที่จังหวัดแมฮองสอน และดอยผา หมปก จังหวัดเชียงใหม (ii) กบหกหนามจันทบุรี (Chanthaburi Spiny-breasted Frog: Paa fasciculispina) ในประเทศไทยมีรายงาน พบเฉพาะที่จังหวัดจันทบุรี (iii) ปาดตะปุมใหญ (Large Warted Tree Frog: Theloderma gordoni) มีรายงานการพบที่บริเวณดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม และภูหลวง จังหวัดเลย (iv) ปาดตะปุมมลายู (Thorny Warted Tree Frog: Theloderma horridum) มีรายงานการพบที่บริเวณเขา หลวง จังหวัดนครศรีธรรมราช โคกโพธิ์ จังหวัดปตตานี และ จังหวัดนราธิวาส (v) ปาดตะปุมจันทบุรี (Taylor’s Warted Tree Frog: Theloderma stellatum) มีรายงานการพบที่ สะแกราช จังหวัดนครราชสีมา, เขาอางฤาไน จังหวัดฉะเชิงเทรา และจังหวัดจันทบุรี


98

สัตวสะเทินน้ําสะเทินบกทั้ง 5 ชนิด มีถิ่นอาศัยอยูบนเขาสูงที่มีลักษณะปาเปนปาดิบเขา ปาดิบแลง และปาดิบ ชื้น นอกจากนี้ยังพบวามีสัตวสะเทินน้ําสะเทินบกจํานวน 33 ชนิด มีสถานะใกลถูกคุกคาม (Near threatened) 64 ชนิด (65 ชนิดยอย) ที่อยูในกลุมที่ความกังวลนอยที่สุด และขอมูลไมเพียงพอจํานวน 35 ชนิด ในจํานวนสัตวสะเทินน้ําสะเทินบกทั้งหมดพบวามีถึง 7 ชนิดที่เปนสัตวเฉพาะถิ่น สัตวสะเทินน้ําสะเทินปกในประเทศไทยอยูในบัญชีรายชื่อสัตวปาคุมครองทั้งสิ้น 12 ชนิด จากหนังสือความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย, 2532 ในหัวขอสัตวสะเทินน้ําสะเทินบก จารุจินต นภีตะภัฏ ไดระบุวามีประเทศไทยมีสัตวในกลุมสัตวสะเทินน้ําสะเทินบกทั้งสิ้น 107 ชนิด ซึ่งไดระบุสัตวสะเทินน้ําสะเทิน บกที่หายากและใกลสูญพันธุทั้งสิ้น 8 ชนิด และเมื่อนําเปรียบเทียบกับการจัดสถานการณถูกคุกความของสัตวมีกระดูก สันหลังโดย IUCN (2005; พ.ศ. 2548) ซึ่งระบุจํานวนชนิดสัตวสะเทินน้ําสะทินบกไวที่ 138 ชนิด โดยแบงเปนแหลงที่อยู อาศัย มีขอสังเกตที่นาสนใจคือ จากการเปรียบเทียบพบความแตกตางของสัตวสะเทินน้ําสะเทินบกที่อาศัยในบริเวณปาดิบเขา และปาดิบแลง มีการจัดสถานภาพที่ถูกคุกคามสูงที่สุด คือ ปาดิบเขาจาก 1.87% (ตอจํานวนชนิดสัตวสะเทินน้ําสะเทินบกทั้งหมดใน เวลานั้น) เพิ่มขึ้นเปน 10.87% ในป 2548และในปาดิบแลงพบสัตวสะเทินน้ําสะเทินบกถูกจัดวาเปนสัตวหายากและใกล สูญพันธุคิดเปน 3.74% ในป 2532 ถูกจัดสถานภาพถูกคุกคามเพิ่มขึ้นเปน 10.14% หรือเพิ่มถึง 3.9 เทาตัว (ตารางที่ 7-3 และ 7-4) ตาราง 7-3 แสดงจํานวนชนิดของสัตวสะเทินน้ําสะเทินบก แบงตามสถานภาพ เมื่อเปรียบเทียบระหวางป 2532 และ 2548 จํานวนชนิด สถานภาพ Vu Nt

%

5

2532 (107) 0.93

2548 (138) 3.62

33

4.67

23.91

2532

2548

1 5

Lc

64

46.38

DD

35

23.91

รวม

6

137

5.61

99.28


99

ตาราง 7-4 เปรียบเทียบขอมูลสถานภาพสัตวปา จากหนังสือความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย, 2532 กับ ชนิดพันธุที่ถูกคุกคามของประเทศไทย, 2548 โดยเปรียบเทียบตามลักษณะที่อยูอาศัย (Habitat) สถานภาพ Vulnerable Near threatened

รวม % ตอจํานวนทั้งหมด(ณ เวลานั้น) จํานวนชนิดทั้งหมด

ปาดิบเขา 2532 2548 1 3 1 12 2 15 1.87 10.87

ปาดิบแลง 2532 2548 1 4 13 4 14 3.74 10.14

% รวม 2532 2548 2532 2548 1 4 5 25 6 29

107

138

(2) สัตวเลื้อยคลาน ประเทศไทยพบสัตวเลื้อยคลานไมต่ํากวา 350 ชนิด (366 ชนิดยอย) จาก 3 อันดับ 23 วงศ 139 สกุล ใน จํานวนนี้คาดวามี 1 ชนิดที่ไดสูญพันธุไปจากธรรมชาติแลวไดแก ตะโขง (False Gavial: Tomistoma schlegelii) นอกจากนี้พบวามีสัตวเลื้อยคลาน 11 ชนิด อยูในสถานะใกลสูญพันธุอยางยิ่ง (Critically endangered), 5 ชนิด (6 ชนิด ยอย) มีสถานะใกลสูญพันธุ (Endangered), 48 ชนิด (50 ชนิดยอย) มีสถานะมีแนวโนมใกลสูญพันธุ (Vulnerable) ในจํานวนสัตวเลื้อยคลานที่พบในประเทศไทยพบวามีสัตวเฉพาะถิ่นถึง 47 ชนิด (49 ชนิดยอย) สัตวเลื้อยคลายในประเทศไทยอยูในบัญชีรายชื่อสัตวปาคุมครองทั้งสิ้น 91 ชนิด จากหนังสือความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย, 2532 ในหัวขอสัตวเลื้อยคลาน จารุจินต นภีตภัฎ ไดระบวามีสัตวเลื้อยคลานในประเทศไทยทั้งสิ้น 298 ชนิด และไดระบุสัตวเลื้อยคลานที่หายากและใกลสูญพันธุทั้งสิ้น 29 ชนิด ซึ่งเมื่อนํามาเปรียบเทียบโดยแบงตามแหลงที่อยูอาศัย เปรียบเทียบกับการจัดสถานการณถูกคุกความของ สัตวมีกระดูกสันหลังโดย IUCN (2005; พ.ศ. 2548) ซึ่งระบุจํานวนชนิดของสัตวเลื้อยคลานไวที่ 366 ชนิด พบวามี ขอสังเกตที่นาสนใจคือ สัตวเลื้อยคลานที่อ าศัยอยูใ นปา ไมผ ลัดใบ (ปา ดิบเขา ปา ดิบแลง ปา ชื้นเขตรอน) ถูก จัด สถานภาพถูกคุกคามเพิ่มขึ้นอยางมีเห็นไดชัดคือ จาก 4.03% ตอจํานวนชนิดทั้งหมด ในปพ.ศ. 2532 เปน 15.7% ในป พ.ศ. 2548 (ตาราง 7-5) หรือเพิ่มขึ้น 3.9 เทาตัว


100

และเมื่อพิจารณาตามประเภทของสัตวเลื้อยคลาน พบวาสัตวในกลุมเตา (ไมรวมเตาทะเล) สัตวในกลุมกิ้งกา จิ้งเหลน จิ้งจก-ตุกแก และงู ถูกจัดสถานภาพถูกคุกคามเพิ่มขึ้น ดังตาราง 7-6

ตาราง 7-5 เปรียบเทียบขอมูลสถานภาพสัตวเลื้อยคลาน จากหนังสือความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย, 2532 กับ ชนิดพันธุที่ถูกคุกคามของประเทศไทย, 2548 โดยเปรียบเทียบตามลักษณะที่อยูอาศัย (Habitat) แมน้ํา ริมแมน้ํา

สถานภาพ

Extinct in the wild Critically Endangered Endangered Vulnerable Near threatened รวม % ตอจํานวนทั้งหมด จํานวนชนิดทั้งหมด

2532

2548

1 4

1 7

5 1.68

8 2.19

ปาดงดิบ 2532

2548

2 2 8 12 4.03

6 13 38 57 15.57

รวม

%

2532

2548

1 4 2 2 8 17 5.70 298

1 7 6 13 38 65 17.76 366

80

2532 (298) 0.34 1.34 0.67 0.67 2.68 5.70

2548 (366) 0.23 1.91 1.64 3.55 10.38 17.76

65

57 60 40 20

5

8

12

17

2532 2548

0 แมน้ํา ริมแมน้ํา

ปาดงดิบ

รวม

แผนภูมิที่ 7-1 เปรียบเทียบจํานวนชนิดสัตวเลื้อยคลานที่ถูกจัดวาเปนสัตวหายากและใกลสูญพันธุจากหนังสือความ หลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย พ.ศ. 2532 กับจํานวนสัตวเลื้อยคลานที่ถูกจัดสถานภาพถูกคุกความโดย IUCN พ.ศ. 2548 โดยแบงตามแหลงที่อยูอาศัย


101

20

17.76

18

15.57

16 14 12

2532

10 8

5.7

6 4

2548

4.03 1.68

2.19

2 0 แมน้ํา ริมแมน้ํา

ปาดงดิบ

รวม

แผนภูมิที่ 7-2 เปรียบเทียบเปอรเซ็นตตอจํานวนชนิดทั้งหมด ของสัตวเลื้อยคลานที่ถูกจัดวาเปนสัตวหายากและใกล สูญพันธุจากหนังสือความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย พ.ศ. 2532 กับจํานวนชนิดของสัตวเลื้อยคลานที่ถูก จัดสถานภาพถูกคุกความโดย IUCN พ.ศ. 2548 โดยแบงตามแหลงที่อยูอาศัย


102

ตารางที่ 7-6 แสดงจํานวนชนิดสัตวเลื้อยคลานที่ถูกจัดวาเปนสัตวหายากและใกลสูญพันธุจากหนังสือความหลากหลาย ทางชีวภาพในประเทศไทย พ.ศ. 2532 กับจํานวนชนิดสัตวเลื้อยคลานที่ถูกจัดสถานภาพถูกคุกความโดย IUCN พ.ศ. 2548 โดยแบงตามแหลงที่อยูอาศัย

แผนภูมิที่ 7-3 เปรียบเทียบเปอรเซ็นตตอจํานวนชนิดทั้งหมด ของสัตวเลื้อยคลานที่ถูกจัดวาเปนสัตวหายากและใกล สูญพันธุจากหนังสือความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย พ.ศ. 2532 กับจํานวนชนิดของสัตวเลื้อยคลานที่ถูก จัดสถานภาพถูกคุกความโดย IUCN พ.ศ. 2548 โดยแบงตามจําพวกของสัตวเลื้อยคลาน 100

86.34

90 80 70 60

53.83

50

2532

40

2548

30 20 10 0

1.01 0.82 จระเข ตะโขง

2.01 เตา ตะพาบ

14.21

9.56

6.56 1.34

กิ้งกา

1.34 จิ้งเหลน

12.84 0.67 จิ้งจกตุก แก

8.39 2.01 งู

0 0.82 ตะกวด

รวม


103

(3) นกและสัตวปก ปจจุบันคาดวาในประเทศไทยพบนกมากกวา 996 ชนิด (สมาคมอนุรักษนกแหงประเทศไทย, 2551) หรือ ประมาณรอยละ 10 ของจํานวนนกที่พบทั่วโลก ซึ่งนับวาประเทศไทยเปนแหลงอาศัยสําคัญของนก และเปนแหลงรวม ความหลากหลายของนกที่สําคัญแหงหนึ่งของโลก นกที่พบในประเทศไทยมีแนวโนมวาจะมีการสํารวจพบเพิ่มขึ้น เรื่อยๆ เนื่องจากการสํารวจนกโดยกลุมผูนิยมการดูนก และการศึกษาจากนักวิชาการ ที่มีการดําเนินการรวบรวมขอมูล อยางเปนระบบ จากขอมูลการสํารวจนกเมื่อ 10 ที่ผานมา มีการรายงานจํานวนชนิดของนกที่พบในเมืองไทย ดังนี้ - หนังสือ Thailand Red Data: Birds ฉบับ ค.ศ. 2005 (พ.ศ. 2548) รายงานวาพบนกในประเทศไทยทั้งสิ้น 982 ชนิด - หนังสือคูมือดูนกในประเทศไทย a guide to the birds of Thailand ฉบับภาษาไทย ตีพิมพเมื่อป พ.ศ. 2550 มีการระบุชนิดของนกเพิ่มเปนจํานวน 986 ชนิด จากเดิมที่ระบุวาพบนกทั้งสิ้น 915 ชนิดในหนังสือ

Birds Guide of Thailand ฉบับตีพิมพครั้งแรกเมื่อป พ.ศ. 2511 - ป พ.ศ. 2551 คณะกรรมคณะกรรมการพิจารณาขอมูลนก ของสมาคมอนุรักษนกและธรรมชาติ

แหงประเทศไทย BCST Bird Records Committee ไดระบุวาประเทศไทยพบนกทั้งสิ้น 996 ชนิด และคาดวาจะ มีการรายงานเพิ่มเติมอยูเปนระยะ ถึงแมจะมีการรายงานการพบนกชนิดตางๆ ในประเทศไทยเพิ่มมากขึ้น แตมีหลายชนิดที่ไดสูญพันธุจาก ประเทศไทยแลวจํานวน 2 ชนิด (Thailand Red Data: Birds ฉบับ ค.ศ. 2005) ไดแก นกชอนหอยใหญ (Giant Ibis: Pseudibis gigantean) และ นกพงหญา (Rufous-romped Grassbird: Graminicola bengalensis) สูญพันธุไปจาก ธรรมชาติจํานวน 2 ชนิด ไดแก นกกระเรียนไทย (Sarus Crane: Grus Antigone) และ นกชอนหอยดํา (Whiteshouldered Ibis: Pseudibis davisoni) นอกจากนี้ยังพบวามีนก จํานวน 43 ชนิดอยูในสถานะใกลสูญพันธอยางยิ่ง (Critically endangered), 71 ชนิด อยูในสถานะมีแนวโนมใกลสูญพันธุ (Vulnerable), 89 ชนิดอยูในสถานะใกลถูกคุกคาม (Near threatened), 9 ชนิด ขอมูลไมเพียงพอ ในจํานวนนกทั้งหมดพบวามี 2 ชนิดที่พบวาเปนสัตวเฉพาะถิ่น (พบไดเฉพาะในประเทศไทย) ไดแก นก เจาฟาหญิงสิรินธร (White-eyed River Martin: Pseudochelidon sirintarae) และนกกินแมลงเด็กแนน (Deignan’s Babber: Stachyris rodolphei) สัตวในกลุมนกและสัตวปกในประเทศไทย อยูในบัญชีรายชื่อสัตวปาสงวน 3 ชนิด ซึ่งไดแกนกกระเรียน นก เจาฟาหญิงสิรินธร และนกแตวแรวทองดํา และอยูในบัญชีรายชื่อสัตวปาคุมครองทั้งสิ้น 952 ชนิด


104

ตารางที่ 7-7 แสดงจํานวนชนิดสัตวปกที่ถูกจัดวาเปนสัตวหายากและใกลสูญพันธุจากหนังสือความหลากหลายทาง ชีวภาพในประเทศไทย พ.ศ. 2532 กับจํานวนชนิดสัตวปกที่ถูกจัดสถานภาพถูกคุกความโดย IUCN พ.ศ. 2548 โดยแบง ตามแหลงที่อยูอาศัย

แผนภูมิที่ 7-4 เปรียบเทียบจํานวนชนิดสัตวปกที่ถูกจัดวาเปนสัตวหายากและใกลสูญพันธุจากหนังสือความ หลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย พ.ศ. 2532 กับจํานวนสัตวปกที่ถูกจัดสถานภาพถูกคุกความโดย IUCN พ.ศ. 2548 โดยแบงตามแหลงที่อยูอาศัย

200

180

180 160

141

140 120

2532

100 80 60

45

40 20 0

16 3 ปาที่ลุมต่ํา ปาที่ราบ

2 ปาเต็งรัง

7

2548

53

16 3 ปาเบญจพรรณ

ปาดงดิบ

รวม


105

แผนภูมิ 7-5 เปรียบเทียบเปอรเซ็นตตอจํานวนชนิดทั้งหมด ของสัตวปกที่ถูกจัดวาเปนสัตวหายากและใกลสูญพันธุจาก หนังสือความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย พ.ศ. 2532 กับจํานวนชนิดของสัตวปกที่ถูกจัดสถานภาพถูกคุก ความโดย IUCN พ.ศ. 2548 โดยแบงตามแหลงที่อยูอาศัย

% 20

18.39 14.36

15

2532

10 4.91

5 0

0.33

1.63

ปาที่ลุม

0.23

0.71

ปาเต็งรัง

0.33

5.79

2548

1.63

ปาเบญจพรรณ

ปาดงดิบ

รวม

พื้นที่สําคัญเพื่อการอนุรักษนกในประเทศไทย1 พื้นที่สําคัญเพื่อการอนุรักษนก (Important Bird Area: IBA) คือ พื้นที่ที่ไดรับการกําหนดขึ้นภายใตมาตราฐาน และหลักเกณฑที่เปนสากลเพื่อการอนุรักษนกในระดับโลก ระดับภูมิภาค และระดับประเทศ ซึ่งมิไดหมายความวามี ความสําคัญเฉพาะกับนกเทานั้น แตยังเกื้อหนุนตอการดํารงอยูของสัตวปาและพันธุพืชชนิดอื่นๆ ยิ่งกวานั้นในหลาย พื้นที่ยังมีความสําคัญตอการดํารงชีวิตและความผาสุกของ มนุษย เปนแหลงทรัพยากรธรรมชาติที่มนุษยใชในการดํารง ชีพ โดย IBA เปนเครื่องมือที่ไดผลในการอนุรักษ แตก็มีบางกรณีที่ไมสามารถอนุรักษนกไดโดย IBA เพียงอยาง เดียว เชน นกเหยี่ยวที่พบมีจํานวนไมมาก แตแพรกระจายอยางกวางขวาง หรือนกบางชนิดที่มารวมกันอยางหนาแนน เพื่อสรางรังวางไข จากนั้นก็กระจัดกระจายไปที่อื่น นอกฤดูวางไข หรือ IBA อาจไมสําคัญตอชนิดพันธุอื่น เชนระบบ นิเวศทางทะเลที่มีความเฉพาะ ดังนั้นจึงเปนสวนหนึ่งของแนวทางการอนุรักษอื่นๆที่มีความเกี่ยวของกัน ทั้งการปกปอง ถิ่นอาศัย การอนุรักษภูมิทัศนและชนิดพันธุที่มีความสําคัญ 1

สํานักความหลากหลายทางชีวภาพ สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


106

เกณฑในการจําแนกพื้นที่สําคัญเพื่อการอนุรักษนกในประเทศไทย สําหรับเกณฑที่ใชจําแนกพื้นที่สําคัญเพื่อการอนุรักษนกในประเทศไทยนั้นใชเกณฑการจําแนกเชนเดียว ประเทศอื่นๆ ดังนี้ A1: ชนิดพันธุนกที่อยูในสภาวะถูกคุกคามระดับโลก โดยพื้นที่นั้นจะตองมีชนิดนกอาศัยอยูอยางสม่ําเสมอใน จํานวนที่มากพอ ในประเทศไทยพบนกที่ใกลสูญพันธุอยางยิ่ง 7 ชนิด ใกลสูญพันธุ 8 ชนิด มีแนวโนมใกลสูญพันธุ 33 ชนิด และมีการเพิ่มรายชื่อนกอีก 2 ชนิดไดแก? นกแวนภูเขา และนกปรอดแมทะ A2: ชนิดพันธุที่มีขอบเขตการแพรกระจายจํากัด โดยเปนพื้นที่ที่รับรู หรือคาดวาเปนถิ่นที่อยูของชนิดนกใน จํานวนที่มากพอ ซึ่งไดแกพื้นที่สําหรับนกเฉพาะถิ่น (Endemic Bird Area: EBA) หรือพื้นที่ทุติยภูมิ (Secondary Area: SA) เกณฑประเภทนี้ หมายถึงนกชนิดที่มีขอบเขตการกระจายพันธุจํากัดทั่วโลกนอยกวา 50,000 ตารางกิโลเมตร ถา มีชนิดนกตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไปไดรับการกําหนดใหเปนพื้นที่ สําหรับนกเฉพาะถิ่น (EBA) สวนพื้นที่ที่พบนกที่มีขอบเขต การแพรกระจายพันธุจํากัดนอยกวา 2 ชนิดไดรับการกําหนดเปน (SA) - EBA พบ 2 แหง คือเทือกเขาพรมแดนไทย-กัมพูชา และพื้นที่แบบสุมาตราและคาบสมุทรมลายู - SA พบ เทือกเขาพรมแดนไทย-พมา ปาที่ราบต่ําตอนใตของไทย ปาที่ราบต่ําคาบสมุทรมลายู บางสวนของ ฝงแมน้ําโขงตอนใต A3: เขตเฉพาะทางชีวมณฑล (Biome-restricted assembly) เปนพื้นที่ที่รับรู หรือคาดวามีองคประกอบของ กลุมนกที่แพรกระจายอยางกวางขวาง หรือครอบคลุมพื้นที่ขนาดใหญ หรือเขตชีวมณฑลนั้นๆ A4: พื้นที่ที่มีนกมาชุมนุมกัน (Congregation of birds) พื้นที่ที่เขาเกณฑนี้ จะตองมีคุณสมบัติสอดคลองกับขอ ใดขอหนึ่ง ดังนี้ A4i พื้นที่เปนแหลงรองรับประชากรนกน้ําที่มาชุมนุมกันอยางสม่ําเสมอไมนอยกวารอยละ 1 ของนก น้ําในเขตชีวภูมิศาสตรนนั้น A4ii พื้นที่ที่รับรูวาเปนแหลงชุมนุมอยางสม่ําเสมอของนกทะเล หรือนกที่อาศัยอยูบนแผนดินจํานวน ไมนอยกวา รอยละ 1 ของประชากรนกเหลานั้นที่พบในโลก A4iii พื้นที่เปนที่ชุมนุมอยางสม่ําเสมอของนกน้ําไมนอยกวา20,000 ตัว หรือนกทะเลไมนอยกวา 10,000 คู ใน 1 ชนิด หรือมากกวานั้น A4iv พื้นที่เปนชองทางบินผานเขามาของนกอพยพจํานวนมากที่มีลักษณะคอขวด (ตอง ประกอบดวยจํานวนนกอพยพไมนอยกวา 20,000 ตัว สําหรับเหยี่ยวทุกชนิดหรือนกกระเรียนชนิดตางๆ ใน ฤดูอพยพหนึ่งๆ)


107

ภาพที่ 7-1 แสดงพื้นที่สําคัญเพื่อการอนุรักษนกในประเทศไทย


108

ในปจจุบันประเทศไทยมีพื้นที่สําคัญเพื่อการอนุรักษนกจํานวนทั่งสิ้น 62 แหง ใน 52 จังหวัด คิดเปนพื้นที่ 44,425.52 ตารางกิโลเมตร

(4) สัตวเลีย้ งลูกดวยนม หนังสือ Thailand Red Data: Mammals, Reptiles and Amphibian 2005 (พ.ศ. 2548) ไดรายงานวา ประเทศไทยมีสัตวเลี้ยงลูกดวยนมทั้งสิ้น 13 อันดับ 42 วงศ 147 สกุล และ 302 ชนิด ชนิดที่สูญพันธุไปแลวอยาง สิ้นเชิงคือ สมันหรือเนื้อสมัน (Schomburgk’s Deer: Cervus schomburgki) ซึ่งสมันตัวสุดทายไดเสียชีวิตเมื่อป พ.ศ. 2481 ที่วัดในอําเภอมหาชัย จังหวัดสมุทรสาคร สัตวเลี้ยงลูกดวยนมจํานวน 3 ชนิดที่สูญพันธุไปจากธรรมชาติ (Extinct in The Wild) ไดแก (i) ละมั่ง (Eld’s deer: Cervus eldii) ปจจุบันไดมีการเพาะเลี้ยงในสถานีเพาะเลี้ยงสัตวปา และการทดลอง ปลอยในธรรมชาติ ณ เขตรักษาพันธุสัตวปาหวยขาแขง (ii) แรด (Javan Rhino: Rhinoceros sondaicus) สูญพันธุจากธรรมชาติประเทศไทย แตยังพบในเวียดนาม และอินโดนีเซีย (iii) กูปรี (Kouprey or Gray Ox: Bos sauveli) ปจจุบันคาดวายังคงมีอยูในปาประเทศกัมพูชา ลาว และ เวียดนาม และสัตวที่คาดวาสูญพันธุไปจากธรรมชาติในประเทศไทยไปแลว แตไดมีรายงานการพบรองรอยในเขตรักษา พันธุสัตวปาภูเขียวไดแก กระซู (Sumatran Rhino: Didermocerus sumatraensis) นอกจากนี้จากการจัดสถานะของสัตวเสี้ยงลูกดวยนมโดยหนังสือ Thailand Red Data: Mammals, Reptiles and Amphibian 2005 (พ.ศ. 2548) พบวามีสัตวปาจํานวน 9 ชนิดอยูในสถานะใกลสูญพันธุอยางยิ่ง (Critically endangered), 21 ชนิดอยูในสถานะใกลสูญพันธุ (Endangerd) ในจํานวนสัตวเลี้ยงลูกดวยนมทั้งหมดพบวามีจํานวน 13 ชนิดที่มีขอมูลไมเพียงพอ และพบวาสัตวเลี้ยงลูกดวยนมเฉพาะถิ่นในประเทศไทย (Endemic Species) จํานวน ทั้งสิ้น 5 ชนิด ไดแก (1) สมัน (Schomburgk’s Deer: Cervus schomburgki) ในอดีตพบไดเฉพาะในประเทศไทยบริเวณที่ราบลุม แมน้ําเจาพระยา และบริเวณใกลเคียง (2) หนูถ้ํา (Niell’s Rat: Leopoldamys neilli) พบไดเฉพาะในบริเวณเขาหินปูนในจังหวัดสระบุรี กาญจนบุรี และสุราษฎรธานี


109

(3) หนูขนเสี้ยนเขาหินปูน (Limestone Rat: Niviventer hinpoon) พบไดเฉพาะในถ้ําหินปูน จังหวัดสระบุรี เทานั้น (4) คางคาวหนายักษจมูกปุม (Thai Horseshoe Bat: Hipposideros halophyllus) พบที่จังหวัดสระแกว ลพบุรี และจังหวัดอุทัยธานี (5) คางคาวทองสีน้ําตาลสุราษร (Surat Serotine: Eptesicus demissus) พบจังหวัดสุราษฎรธานี และพังงา โดยสัตวเฉพาะถิ่นทั้งหมดนี้ (ไมรวมสมันซึ่งสูญพันธุไปแลว) มีความเสี่ยงตอการสูญพันธุอยางยิ่งถึงแมวาจะมี การบรรจุหนูถ้ํา หนูขนเสี้ยนเขาหินปูน และคางคาวหนายักษจมูกปุม เปนสัตวคุมครองแลวก็ตาม เพราะสัตวทั้ง 4 ชนิด สวนใหญพบเห็นในพื้นที่ไมใชพื้นที่อนุรักษ ทําใหไมมีมาตรการสําหรับการคุมครองตามกฎหมาย ในจํานวนสัตวเลี้ยงลูกดวยนมทั้งหมดในประเทศไทย พบวามีสัตวในกลุมคางคาวถึง 119 ชนิด (ประทีป ดวง แค, BATS OF THAILAND: For field identification 2011) ซึ่งนับวาเปนกลุมสัตวเลี้ยงลูกดวยนมที่มีความหลากหลาย มาก สัตวเลี้ยงลูกดวยนมในประเทศไทยอยูในบัญชีสัตวปาสงวนถึง 12 ชนิด และอยูในบัญชีสัตวปาคุมครองทั้งสิ้น 201 ชนิด ตารางที่ 7-8 แสดงสถานภาพสัตวเลี้ยงลูกดวยนมโดยแบงเปนตามอันดับ (Order) ของสัตวเลี้ยงลูกดวยนม


110

แผนภูมิที่ 7-6 เปรียบเทียบจํานวนชนิดสัตวเลี้ยงลูกนมที่ถูกจัดวาเปนสัตวหายากและใกลสูญพันธุจากหนังสือความ หลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย พ.ศ. 2532 กับจํานวนสัตวเลี้ยงลูกดวยนมที่ถูกจัดสถานภาพถูกคุกความโดย IUCN พ.ศ. 2548 โดยแบงตามแหลงที่อยูอาศัย 133

140 120

104

100 80

2532 2548

60 39

40

26

20 4

6

3

8 1

2

11

2

1

4

0

ปา เบญจพรรณ

ปา ดงดิบ

ปาที่ลุมต่ํา

ปาเต็งรัง

ปาชายเลน

ถ้ํา หินปูน

รวม

แผนภูมิที่ 7-7 เปรียบเทียบเปอรเซ็นตตอจํานวนชนิดทั้งหมด ของสัตวเลี้ยงลูกนมที่ถูกจัดวาเปนสัตวหายากและใกล สูญพันธุจากหนังสือความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย พ.ศ. 2532 กับจํานวนสัตวเลี้ยงลูกดวยนมที่ถูกจัด สถานภาพถูกคุกความโดย IUCN พ.ศ. 2548 โดยแบงตามแหลงที่อยูอาศัย 55 44.04

45 34.44

35 25

13.83

15

2.65

1.42

3.64

รวม

0.66 0.35

ถ้ําหินปูน

ปาที่ลุมต่ํา

และปาพรุน้ํา

0.66 0.35

ปาชายเลน

1.06 ปาดงดิบ

ปาเบญจพรรณ

-5

1.99 1.42

ปาเต็ง รัง

5

9.22

2532 2548


111

8. สรุปผลการศึกษา 1. ประเทศไทยตั้งอยูในเขตรอนชื้น มีพรรณพืช และพันธุสัตวปาอยูในราวรอยละ 8-10 ของชนิดพันธุในโลก ประมาณวานาจะมีความหลากหลายกวาประเทศในเขตอบอุนถึงสิบเทา ปจจุบัน นอกจาก สมัน ที่ยืนยันวาสูญพันธุไป จากประเทศไทยเมื่อเกือบรอยปที่แลว ยืนยันไดวามีสัตวปาที่สูญพันธุไปจากประเทศไทย แลว คือ นกชอนหอยใหญ (Pseudibis giganlen) และนกพงหญา (Graminicola bengalensis) รวมถึงไมพบ แรดชวา (Rhinoceros sondaicus) กูปรี (Bos sauyeli) นกกระสาปากเหลือง (Mycteria cineria) นกชอนหอยดํา (Pseudibis papillosa) นกกระเรียน (Grus antigone) และจระเขปากกระทุงเหว (Tomistoma schlegelii) ในสภาพธรรมชาติอีกตอไป 2. สาเหตุของการลดลงของความหลากหลายทางชีวภาพที่สําคัญไดแก การนํามาใชประโยชนมากเกินไป การคา ขายสัตวปาและพืชปาแบบผิดกฎหมาย การรบกวนแหลงที่อยูอาศัยตามธรรมชาติ และการสูญเสียแหลงที่อยูอาศัย โดย การคุกคามที่รุนแรงที่สุดตอการรักษาความหลากหลายทางชีวภาพ ไดแก การรบกวนสภาพที่อยูอาศัยตามธรรมชาติ และระบบนิเวศ การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ปาไมโดยเฉพาะปาดิบ และปาชายเลน การกอสรางอางเก็บน้ําและเขื่อนพลังน้ํา เปนตน 3. ปจจุบัน ประเทศไทยไดเขาเปนภาคีอนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพ ลําดับที่ 118 และมีผล บังคับใชเมื่อวันที่ 29 มกราคม 2547 ซึ่งประเทศไทยตองดําเนินงานตามมติและพันธกรณีตลอดจนโปรแกรมงานของ อนุสัญญา 4. เนื้อที่ปาไมเมื่อเทียบกับเนื้อที่ประเทศไทยลดลงไป 10.12 % ในชวงป 2504-2516 (12 ป) และ ลดลง 4.54 %, 4.52 %, และ 3.9 % จากการสํารวจเนื้อที่ปา ในป 2519, 2521, และ 2525 จะเห็นวาอัตราเฉลี่ยของการลดลงของ พื้นที่ปาไมมากที่สุดจะอยูในชวงป 2519-2521 ที่มีอัตราการลดลงเฉลี่ยปละ 2.26 % หรือ 11,596.4 ตารางกิโลเมตร หลังจากนั้นอัตราการลดลงของพื้นทีปาไมจะลดลง 0.85 %. 1.37 %, 0.08 %. 1.31 %, 0.61 %, 0.41 %, 0.34 % จาก การสํารวจเนื้อที่ปาไม ในป 2528, 2531, 2532, 2534, 2536. 2538, และ 2541 หลังจากการปรับวิธีการสํารวจเนื้อที่ปา ในป 2543 ที่ทําใหเนื้อที่ปาไมเพิ่มขึ้นจากขอมูลป 2541 ถึง 7.87 % แตหลังจากนั้นก็ยังมีอัตราการลดลงของพื้นที่ปาไม อยางตอเนื่อง 0.49 %, 1.28 %, 0.46 % จากขอมูลเนื้อที่ปาไมเทียบกับเนื้อที่ประเทศไทยในป 2547, 2548, และ 2549 โดยในป 2548-2549 ยังมีอัตราลดลงของเนื้อที่ปาไมถึง 1.28 % หรือ 6,567.87 ตารางกิโลเมตร แตทั้งนี้นาจะเกิดจาก วิธีการสํารวจเนื้อที่ที่สํารวจพบเนื้อที่ที่ลดลงไดมากขึ้น อยางไรก็ตาม จากขอมูลในป 2552 พบวาเนื้อที่ปาไมประเทศ ไทย มีเนื้อที่เพิ่มขึ้น 2.52 % หรือ 128.809.85 ตารางกิโลเมตร จากป 2549 หรือเพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ย 0.84 % ตอป ในชวง 2504-2525 และ 2528-2549 โดยในชวงขอมูลในชวง 25 ป แรกจะมีอัตราการลดลงของพื้นที่ปาไมเฉลี่ย โดยประมาณ ถึง 1- 2% ตอป เมื่อเทียบกับเนื้อที่ประเทศไทย และหลังจากนั้นในชวงขอมูลป 2525 – 2549 จะมีอัตรา ลดลง ไมถึงปละ 1 % ตอป เมื่อเทียบกับเนื้อที่ประเทศไทย โดยในปจจุบันเชื่อไดวาเนื้อที่ปาไมมีเนื้อที่เพิ่มขึ้นถึงเกือบป ละ 1 % (พื้นที่ 1 % ของประเทศไทย = 5131.15 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 2 เทาของเขตรักษาพันธุสัตวปาหวยขา แขง)


112

5. ภาคเหนือเปนพื้นที่ที่ยังคงมีปาไมปกคลุมมากที่สุดเกิน 50 %ของพื้นที่ ภาคกลาง ภาคใตและ ภาคตะวันออก ยังคงเหลือพื้นที่ปาไมปกคลุมมากกวา 20 % สวนภาคตะวันออกเฉียงเหนือเปนพื้นที่ที่มีปาปกคลุมนอยที่สุดไมถึง 20 % สถานการณการลดลงของเนื้อที่ปาไมรุนแรงที่สุดที่ภาคตะวันออกและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เปนภาคที่เนื้อที่ปา ไมหายไปถึงรอยละ 63.76 และ 61.13 ของที่เคยมีเมื่อป 2504 สวนภาคกลางและภาคใตเนื้อที่ปาหายไปรอยละ 43.65 และ 34.59 ของที่เคยมีเมื่อป 2504 ขณะที่ภาคเหนือเนื้อที่ปาหายไปรอยละ 18.83 % ของที่เคยมีเมื่อป 2504 6. กลุ ม จัง หวั ดที่มี การเปลี่ ยนแปลงเนื้อที่ปา สูญเสียเนื้อที่ปาไมรุนแรงมาก คือจังหวัดที่เคยมีเนื้อที่ป า ไม มากกวา 70 % ในอดีตแตในปจจุบันลดลงไมถึง 25 % ของพื้นที่จังหวัด ไดแก กําแพงเพชร สกลนคร และชุมพร และ สูญเสียเนื้อที่ปาไมอยางรุนแรง คือจังหวัดที่เคยมีปาไมปกคลุมมากกวา 70% ในอดีตแตในปจจุบันลดลงไมถึง 50% ไดแก จังหวัด เพชรบูรณ ประจวบคีรีขันธ พังงา สตูล และจังหวัดที่เคยมีปาไมปกคลุมกวา 50% แตในปจจุบันลดลงไม ถึง 25 % ไดแก จังหวัดกาฬสินธุ นครพนม นครราชสีมา หนองคาย ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง กระบี่ ตรัง 7. ปจจุบันกลุมพื้นที่จังหวัดตามเนื้อที่ปาไมที่เพิ่มขึ้นเพิ่มขึ้น 1-5% ของเนื้อที่จังหวัด ไดแก จังหวัดเชียงใหม เพชรบู ร ณ พิ ษ ณุ โ ลก อุ ต รดิ ต ถ อุ ทั ย ธานี ขอนแก น มหาสารคาม สุ ริ น ทร หนองบั ว ลํ า ภู อุ บ ลราชธานี สระแก ว สมุทรปราการ สมุทรสงคราม สมุทรสาคร สระบุรี กาญจนบุรี เพชรบุรี ราชบุรี กระบี่ ชุมพร นครศรีธรรมราช ระนอง สงขลา และสุราษฏรธานี ในจํานวนนี้ พบวาจังหวัดลําปาง ลพบุรี พังงา มีเนื้อที่ปาไมเพิ่มขึ้นสูงเกิน 5 % ของเนื้อที่ จังหวัด และพบวา ในชวงเวลาดังกลาว จังหวัดภูเก็ตมีพื้นที่ปาไมเพิ่มขึ้นถึง 10.14 % ของเนื้อที่จังหวัด สวนกลุม จังหวัดที่มีเนื้อทีปาไมลดลง 1-3% ของเนื้อที่จังหวัด ไดแก จังหวัดกําแพงเพชร เชียงราย ตาก พะเยา แมฮองสอน ลําพูน สุโขทัย กาฬสินธุ ชัยภูมิ มุกดาหาร ยโสธร สกลนคร อุดรราชธานี ระยอง ตรัง และมีขอมูลเนื้อที่ปาไมลดลง ประมาณ 5-9 %ของเนื้อที่จังหวัด ไดแกจังหวัดตาก นาน แพร นครพนม ตราด ประจวบคีรีขันธ ในขณะที่จังหวัดสตูลมี เนื้อที่ปาไมลดลงถึง 11.18 % ของเนื้อที่จังหวัด 8. ในระดับประเทศแลวเนื้อที่ปาที่หายไปมากที่สุดคือปาเต็งรัง (5.88%) ของเนื้อที่ประเทศไทย หรือหายไปรอย ละ 61.89 แตหากพิจารณาเปนสัดสวนรอยละของชนิดปา จะพบวาปาสนเปนชนิดปาที่หมดไปมากที่สุดจากที่เคยมีในป 2525 หายไปถึงรอยละ 80.95 9. ในขอมูลถึงป 2553 มีจํานวนพื้นที่อนุรักษทั้งสิ้น 411 แหง เนื้อที่ 103,809.92 ตารางกิโลเมตร หรือ 20.19% ของเนื้อที่ประเทศไทย มีพื้นที่กระจายตัวอยูในภาคเหนือ 25.54% ของพื้นที่ภาค (43,327 ตารางกิโลเมตร) ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ 10.16% ของพื้นที่ภาค (17,156 ตารางกิโลเมตร) ภาคกลาง 25.75 % ของพื้นที่ภาค (17,355 ตารางกิโลเมตร) ภาคตะวันออก 14.15% ของพื้นที่ภาค (5,165 ตารางกิโลเมตร) และภาคใต 18.06% ของพื้นที่ภาค (12,711 ตารางกิโลเมตร) สวนใหญจะอยูในรุปแบบของอุทยานแหงชาติและเขตรักษาพันธุสัตวปา 93 % ที่เหลือจึง เปน เขตหามลาและวนอุทยาน สวนสวนรุกขชาติและสวนพฤษศาสตรมีพื้นที่นอยมาก ตั้งแต ป 2535-2553 เห็นไดวา ในเวลา 18 ป รัฐบาลสามารถเพิ่มพื้นที่อนุรักษได 6.18 % หรือเฉลี่ยปละ 0.34 % (1,744.59 ตารางกิโลเมตร) โดย แบงเปนอุทยานแหงชาติเพิ่มขึ้น 46 แหง เขตรักษาพันธุสัตวปา 23 แหง วนอุทยาน 69 แหง เขตหามลา 11 แหง สวน รุกขชาติ 12 แหง สวนพฤกษศาสตร 11 แหง เมื่อพิจารณาเฉพาะการประกาศอุทยานแหงชาติและเขตรักษาพันธุสัตวื ปาที่เปนพื้นที่อนุรักษที่มีพื้นที่มาก พบวาพื้นที่อนุรักษทั้งสองประเภท เพิ่มขึ้นเฉลี่ยปละ 3.8 แหง ปจจุบันพบวายังมี พื้นที่ที่คงสภาพปานอกการประกาศเปนพื้นที่อนุรักษทั้งสิ้น 13.25 % ของพื้นที่ประเทศไทย


113

10. ปจจุบันมีพืชที่เปนพืชหายากและใกลสูญพันธ 1,410 ชนิด 137 วงศ แบงเปนเฟน 17 วงศ 42 ชนิด พืชเมล็ด เปลือย 5 วงศ 27 ชนิด พืชดอก แบงเปนพืชใบเลี้ยงเดี่ยว 19 วงศ 417 ชนิด และพืชใบเลี้ยงคู 96 วงศ 924 ชนิด เปน พืชเฉพาะถิ่น 15 ชนิด และคาดวาในประเทศไทยมีพืชประจําถิ่นพบเฉพาะประเทศไทยประมาณ 600 ชนิด โดยประมาณ 400 ชนิดเปนพืชที่มีภาวะใกลจะสูญพันธุ กลวยไมปาซึ่งเปนกลวยไมพื้นเมืองของไทยที่กําลังจะสูญพันธุ เชน รองเทานารีดอกขาว (Paphiopedilum niveum) รองเทานารีปกแมลงปอ (P. sukhakuluii) เอื้องเขาแกะ (Rhynchostylis coelestis) ชางกระ (R. gigentea) เอื้องฟามุย (Vanda coerulea) เอื้องสามปอยดง (V. denisoniana) เอื้องแซะหลวง (Dendrobium scabrilingue) เอื้องไมตึง (D. tortile) นอกจากนี้ยังมี จันทนกระพอ (Vatida diospyroides) ซึ่งเปนไมยืนตนขนาดใหญ ปจจุบันไดกลายเปนพันธุไมหายาก 11. ปจจุบันชนิดพันธุสัตวมีกระดูกสันหลังที่ถูกคุกคามของประเทศไทย 548 ชนิด เปนสัตวเลี้ยงลูกดวยนม 116 นก 180 ชนิด สัตวเลื้อยคลาน 32 ชนิด สัตวสะเทินน้ําสะเทินบก 5 ชนิด ปลา 215 ชนิด และมีชนิดพันธุเฉพาะถิ่น เปน สัตวเลี้ยงลูกดวยนม 5 ชนิด นก 2 ชนิด สัตวเลื้อยคลาน 47 ชนิด สัตวสะเทินน้ําสะเทินบก 7 ชนิด ปลา 72 ชนิด ใน การศึกษาเปรียบเทียบราว 20 ปที่ผานมา พบชนิดพันธุที่ถูกคุกคามในระบบนิเวศปาดิบมากที่สุด โดยมีชนิดพันธที่ถูก คุกคามเพิ่มขึ้นเกือบ 4 เทาตัว 12. ประเทศไทยไดมีการกําหนดพื้นที่สําคัญเพื่อการอนุรักษ ไดแก พื้นที่สําคัญเพื่อการอนุรักษพืช (IPAs) มี จํานวนทั้งสิ้น 102 แหง และพื้นที่สําคัญเพื่อการอนุรักษนก (IBAs) จํานวนทั้งสิ้น 62 แหง


บรรณานุกรม

International Centre for Environmental Management. 2003. Thailand: National Report on Protected Areas and Development. กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช. 2553 . ขอมูลสถิติ. http://dnp.gr.th. กองกานดา ชยามมฤติ และ ราชัน ภูมา. การจัดสถานภาพชนิดพันธุที่ถูกคุกคาม : พืช. ใน รายงานการประชุมวัน สากลแห ง ความหลากหลายทางชี ว ภาพ, 22-23 พฤษภาคม 2549. สํ า นั ก งานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. กรุงเทพฯ จารุจินต นภีตะภัฏ. 2532. ความหลากหลายของสัตวสะเทินน้ําสะเทินบกและสัตวเลื้อยคลานในประเทศไทย. ใน ความ หลากหลายทางชีวภาพประเทศไทย, สิริวัฒน วงษศิริ และ ศุภชัย หลอโลหะการ (บรรณาธิการ).การสัมมนา ชีววิทยาครั้งที่ 7 เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย วันที่ 16-17 ตุลาคม 2532, มหาวิทยาลัยเชียงใหม. บริษัทประชาชน จํากัด. จารุจินต นภีตะภัฏ วัชระ สงวนสมบัติ และ ธัญญา จันอาจ. การจัดสถานภาพชนิดพันธุที่ถูกคุกคาม : สัตวมีกระดูกสัน หลัง. ใน รายงานการประชุมวันสากลแหงความหลากหลายทางชีวภาพ, 22-23 พฤษภาคม 2549. สํานักงาน นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. กรุงเทพฯ ชุมเจตน กาญจนเกษร. 2539. อนุสัญญาตางๆ ที่เกี่ยวของกับความหลากหลายทางชีวภาพ. ใน รายงานการประชุม เพื่อจัดสถานภาพทรัพยากรชีวภาพของประเทศไทย, 29-30 พฤษภาคม 2539. สํานักงานนโยบายและแผน สิ่งแวดลอม กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสิ่งแวดลอม. กรุงเทพ ระวี ถาวร (ไมระบุปที่พิมพ). การวิวัฒนาการของนโยบายในการจัดการปาไม. ศูนยืฝกอบรมวนศาสตรชุมชนแหงเอเซีย แปซิฟค. (เอกสารอัดสําเนา) ราชัน ภูมา. 2548. พืชเฉพาะถิ่นและพืชหายากของผืนปาขนาดใหญหรือกลุมปาในประเทศไทย. ใน รายงานการ ประชุม ความหลากหลายทางชีวภาพดานปาไมและสัตวปา, 21-24 สิงหาคม 2548. กรมอุทยานแหงชาติ สัตว ปา และ พันธุพืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม. กรุงเทพฯ. วิเทศ ศรีเนตร. 2549. รายงานโลกทรรศนความหลากหลายทางชีวภาพ. ใน รายงานการประชุมวันสากลแหงความ หลากหลายทางชีวภาพ, 22-23 พฤษภาคม 2549. สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. กรุงเทพฯ สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม. 2539. บทสรุป ชนิดพันธุที่ถูกคุกคามของประเทศไทย. กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสิ่งแวดลอม. กรุงเทพ สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. 2547. ความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย. กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสิ่งแวดลอม. กรุงเทพ สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. 2548. Thailand Red Data. ฝายความหลากหลายทาง ชีวภาพ, สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม, กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม. กรุงเทพฯ


ภาคผนวก


ภาคผนวกบทที่ 2


ภาคผนวกบทที่ 3


ภาคผนวกบทที่ 4


ภาคผนวกบทที่ 5


ภาคผนวกบทที่ 6


ภาคผนวกบทที่ 7


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.