Waynodam2016

Page 1

ทางเลือกในการจัดการน้ําแบบบูรณาการ กรณีไมตองสรางเขื่อนในอุทยานแหงชาติแมวงก โดย ศศิน เฉลิมลาภ มูลนิธสิ ืบนาคะเสถียร ขอพิจารณาพื้นฐาน 1. การสรางเขื่อนขนาดใหญในอุทยานแหงชาติแมวงก มีผลกระทบอยางรุนแรงตอระบบนิเวศที่เปนถิ่นที่อยูอาศัย ของสัตวปาในอุทยานแหงชาติแมวงก ที่เชื่อมโยงถึงระบบนิเวศ และการกระจายของถิ่นที่อยูของสัตวปาในปาตะวันตก ที่ผานการอนุรักษ และฟนฟูประชากรสัตวปาจนประสบความสําเร็จมาตลอดระยะเวลากวา 20 ป 2. โครงการสรางเขื่อนแมวงก สามารถบรรเทาปญหาน้ําทวมในพื้นที่ราบลุมของลําน้ําแมวงกไดเพียงบางสวน เนื่องจาก ยังมีสายน้ําหลากในชวงฝนตกหนัก ในพื้นที่ลาดชันและไมมีปา และพืชคลุมดินมากพอ ที่อยูนอกเหนือจากพื้นที่รับ น้ําที่เขื่อนแมวงกจะรองรับ รวมถึงการขาดระบบระบายน้ําที่มีประสิทธิภาพมากพอในเขตเทศบาลเมือง และพื้นที่เกษตรกรรม และสาเหตุดังกลาวนาจะเปนปจจัยสําคัญที่ทําใหพื้นที่ลุมต่ําดานทายโครงการเขื่อนแมวงกเกิดปญหาน้ําทวม ไมใชจากการที่ไม มีเขื่อนในอุทยานแหงชาติแมวงก 3. โครงการสรางเขื่อนแมวงก คาดวาจะบรรเทาภัยแลงไดพอสมควร ในพื้นที่ราวๆหนึ่งในสามของพื้นที่ชลประทาน ที่กําหนดไว 116,545 ไร ในชวงฤดูแลง จากพื้นที่กําหนดไวทั้งหมดถึง 291,900 ไร ซึ่งเปนการชลประทานในชวงฤดูฝนที่ไม ขาดแคลนน้ํา แตหากตองการลดภัยแลงใหครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมดนาจะมีปริมาณน้ําไมเพียงพอ นอกจากนี้การคาดการที่จะ เก็บน้ําในฤดูฝน อาจจะคลาดเคลื่อนจากความเสี่ยงของความเปนเขตเงาฝนในพื้นที่เหนือเขื่อน ที่มีแนวโนมฝนตกนอยกวาใน จุดที่ตรวจวัดปริมาณน้ําฝน และขนาดของอางเก็บน้ํา ที่เมื่อพิจารณาจากเสนชั้นความสูงตามแผนที่ภูมิประเทศจะมีพื้นที่เก็บ กัก น้ํ า เพี ย งครึ่ ง เดี ย วของพื้ น ที่อ า งเก็ บ น้ํ า ตามโครงการ ดั งนั้ น การสร า งเขื่ อ นแม ว งก จึ ง มีค วามเสี่ ย งที่ จ ะเก็ บ น้ํ า ได น อ ย และบรรเทาภัยแลงไดต่ํากวาที่คาดไว พื้นที่ปญหาการจัดการน้ําในโครงการเขื่อนแมวงก เปนที่ทราบกันดีวาการจะแกปญหาน้ําทวม และเพิ่มปริมาณน้ําเพื่อการเกษตรใหเพียงพอในฤดูแลงจริงๆแลวจะตอง สรางเขื่อนขนาดใหญกวาโครงการเขื่อนแมวงกตามโครงการปจจุบัน ที่บริเวณกิ่วเขาแมกระทูและเขาพริกไท (เรียกวา “เขาชน กัน”) ซึ่งจะไดปริมาณน้ํามากกวา และรองรับปริมาณน้ําหลากจากลุมน้ําสาขาไดมากกวา ตั้งแตเมื่อสามสิบปที่แลว ในสมัยที่ ยังไมมีราษฎรอพยพมาอาศัยจํานวนมาก (บริเวณตําบล แมเลย) เชนในปจจุบัน ซึ่งเปนเรื่องที่นาเสียดายโอกาสเปนอยางยิ่ง และแทบจะไมสามารถคิดกลับไปสรางเขื่อนในบริเวณนั้นไดอีกในปจจุบันเนื่องจากตองอพยพชุมชนออกเปนจํานวนมากใน ขณะที่ มี ขอ มูล มากมายระบุ ชัด เจนวา พื้น ที่ป า อุท ยานแห ง ชาติ แม วงก ในบริเ วณที่ จะสร า งเขื่ อนในป จจุ บั นเปน พื้ นที่ ที่ มี ความสําคัญอยางยิ่งตอการเก็บรักษาไวเพื่ออนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพ และฟนฟูประชากรสัตวปาในระดับที่สามารถ มี ศั ก ยภาพในการขอเป น พื้ น ที่ ม รดกโลก ขยายจากเขตรั ก ษาพั น ธุ สั ต ว ป า ห ว ยขาแข ง ซึ่ ง เป น ผื น ป า ต อ เนื่ อ งกั น และได ผลประโยชนไมคุมคาที่จะถูกทําลายโดยน้ําทวมจากเขื่อนที่เสนอโครงการจะสร างในบริเวณนี้ เนื่องจากอยูในเขตเงาฝน ไมรองรับลุมน้ําที่มีน้ําหลากมากในฤดูฝน และมีปริมาณความจุอางเก็บน้ํานอยกวาพื้นที่สรางเขื่อนที่เขาชนกันมาก

1


ภูเขาที่เห็นอยูไกลๆคือกิ่วเขาแมกระทูและเขาพริกไท หรือที่คนสวนใหญรูจักในชื่อ “เขาชนกัน”

นกยูงพันธุไทยที่ส ามารถพบเห็นไดทั่ว ไปบริเ วณแกง ลานนกยูง ซึ่งเปนจุดที่จะทําการกอสรางเขื่อนแมวงก พันธุไมที่อาจถูกน้ําทวมหากมีการกอสรางเขื่อนแมวงก 2


มุมจากยอดมออีหืดจะเห็นพื้นที่ปาบางสวนที่จะตองถูกน้ําทวมหากมีการกอสรางเขื่อนแมวงก

แมวงก

หวยขาแขง

ปาที่ราบต่ําที่มีความอุดมสมบูรณปจจุบันมีอยูสองที่ ผืนปาที่ราบริมน้ํามีอยูแ คเพียงไมกี่แหงในประเทศไทย คือ บริเวณเขตรักษาพันธุสตั วปา หวยขาแขง และอุทยานแหงชาติแมวงก

3


อยางไรก็ดี จากการศึกษาปญหาเรื่องการจัดการน้ําในพื้นที่ พบขอเท็จจริงที่เปนปญหาชัดเจนวาปญหาน้ําทวมใน พื้นที่สวนใหญ เปนเพียงลักษณะน้ําบา น้ําจะทวมขังไมนาน ซึ่งมักจะเกิดความเสียหายไมมากนัก ดังนั้นเพื่อการหลีกเลี่ยงการ สรางเขื่อนที่มีผลกระทบรุนแรงตอระบบนิเวศในอุทยานแหงชาติ และบรรเทาปญหาน้ําทวม และภัยแลงในพื้นที่ชลประทาน และพื้นที่โดยรอบ อาจจะพิจารณาพื้นที่ลุมน้ําแมวงก และพื้นที่ที่เกี่ยวของ ออกเปน 4 พื้นที่ดังนี้ 1. พื้นที่ลุมน้ําแมวงกตอนบน ไดแก พื้นที่ขอบเขตสันปนน้ําทางฝงตะวันตกมาจรดสันปนน้ําทางตะวันออกเขาชน กัน พื้นที่ในบริเวณนี้เปนพื้นที่ระบุในรายงานวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ วาหากสรางเขื่อนแมวงกแลวจะ สามารถบรรเทาปญหาน้ําทวมไดทั้งหมด ซึ่งสภาพความเปนจริงเปนพื้นที่เนินเขาสลับที่ราบลูกฟูก มีที่นาเพียงเล็กนอย ซึ่งเปน พื้นที่ที่ไมไดมีปญหาน้ําทวมอยูแลว จะมีพื้นที่รับประโยชนจากชลประทานระบบทอ 10,000 ไร แตจริงๆ แลว พื้นที่แถวนี้ ราวๆ 200,000 ไร ไมไดประโยชนจากเขื่อนแมวงก สภาพปญหาน้ําหลากพบวา เมื่อฝนตกหนักจะมีน้ําหลากจากบริเวณลุมน้ํา สาขา มาลงในลําน้ําแมวงกเปนจํานวนมากเนื่องจากไมมีพืชคลุมดิน เขาใจวาในชวงน้ําหลากจะมีน้ํามากกวา 70% ไหลลงมา รวมกันที่บริเวณเขาชนกัน มีน้ําจากพื้นที่รับน้ําในอุทยานเพียง 20-30% เนื่องจากมีปาที่ซบั น้ําไวไดมาก 2. พื้นที่แมวงกตอนกลาง ไดแก พื้นที่ขอบเขตสันปนน้ําลุมน้ําสาขาแมวงกที่เขาชนกัน ไปจนถึงพื้นที่ประตูน้ําคลอง ขุนลาดหรือบริเวณตําบลเขาชนกัน และตําบลวังซาน อําเภอแมวงก ตอเนื่องถึงตําบลศาลเจาไกตอ สวนนี้ แทบไมมีปญหาน้ํา ทวมเพราะความลาดชันลําน้ําสูง น้ําไหลผานเร็ว มีบอ ฝาย และประตูบังคับน้ําเต็มพื้นที่ จัดการน้ํางายเพราะประสานงานกับ คนสองตําบล น้ําคอนขางพอใช เพราะ อยูตนน้ํา มีศักยภาพน้ําใตดินดีสูบมาเสริมไดในกรณีฝนทิ้งชวง หรือในฤดูแลง 3. พื้นที่แมวงกตอนลาง ไดแก พื้นที่รับน้ําหวยแมวงก ที่เปลี่ยนชื่อเปนหวยวังมา ขอบเขตสันปนน้ําที่เขาแมกระทู เขาหลวง สองฝงลําน้ําแมวงก เริ่มจากพื้นที่บานวังแจง อําเภอลาดยาวตอเนื่องกับ ไปถึงที่ตั้งอําเภอสวางอารมณ (เปลี่ยนชื่อ 4


เปนหวยวังมา และแควตากแดด)บริเวณนี้มีปญหาน้ําทวม-น้ําแลงพอสมควร แตมีการจัดการน้ําในลําน้ําแมวงกที่ดีพอควร มี การกั้นฝายยอยๆ เก็บน้ําในลําน้ําไดมาก มีน้ําจากลุมน้ําสาขามาเติม ทั้งจากเขาแมกระทูและเขาหลวง มีศักยภาพน้ําใตดิน พอสมควร 4.พื้นที่รับประโยชนจากโครงการเขื่อนแมวงกอําเภอลาดยาว และอําเภอเมือง ไดแก พื้นที่บานลานตะแบก บาน วั ง ยาง บ า นสร อ ยละคร พื้ น ที่ ร าบลุ ม รอบเทศบาลลาดยาวต อ เนื่ อ งจากพื้ น ที่ แ ม ว งก ต อนกลางไปทางด า นตะวั น ออก ที่มีบางสวนอยูในอําเภอเมืองนครสวรรค สวนใหญอยูนอกเขตพื้นที่ลุมน้ําแมวงก (หรือขอบเขตลุมน้ําสะแกกรัง) แตมีความ เชื่อมตอกับระบบทางน้ําแมวงก โดยคลองสงน้ําคลองใหญ และลําน้ําคลองมวง ที่มีที่ราบน้ําทวมถึงและทางน้ําที่ถูกขุดให เชื่อมตอกับลําน้ําแมวงก ตอเนื่องไปครอบคลุมพื้นที่ราบลุมกวางใหญทางตะวันออกจรดถนนสายเอเชีย ตามแนวคูน้ําเลียบ ถนนสาย 1072 และลําหวยหินลับ หวยวังยิ้มแยม ตามพื้นที่โครงการชลประทานเขื่อนแมวงกโดยเมื่อพิจารณาตามขอบเขตลุม น้ําพื้นที่นี้อยูในลุมน้ําปง แตเมื่อมีปริมาณและระดับน้ําหลากที่สูงจากลุมน้ําแมวงกก็อาจจะมีการไหลขามลุมน้ําโดยธรรมชาติ และในทางกลับกันเมื่อมีระดับน้ําหลากทุงมาจากที่ราบน้ําทวมถึงที่สูงกวาของแมน้ําปงก็จะไหลมาถึงไดบางเชนกัน แผนที่เพื่อการบริหารจัดการน้ําแบงพื้นที่ ออกเปน 4 พื้นที่ยอยดังภาพที่ 1 และประมาณขนาดพื้นที่ที่ตองการน้ําไว ดังตารางที่ 1 ภาพที่ 1 พื้นที่การจัดการน้ําตามลุมน้ําแมวงก และลาดยาว

จากแผนที่เพื่อการจัดการน้ํา พื้นที่แมวงกตอนบน เปนพื้นที่น้ําหลากผานบริเวณที่ลอนลาด ไมเปนที่น้ําทวมขัง (ความลาดชันลําน้ําประมาณ 1/300) สวนพื้นที่แมวงกตอนกลางที่เปนที่ราบ จะเปนลักษณะของพื้นที่น้ําทวมของธารประสาน 5


สาย (Braided Stream) สายน้ําแมวงกจะแตกออกเปนรองน้ําเล็กๆ ไหลประสานกันไปมา ทั้งแยกจากกัน และเชื่อมโยงเขา คลายเปนเปยถัก เกิดจากความตื้นเขินจากตะกอนกรวดทรายทับถมมาก ทําใหน้ําไหลไมสะดวก จึงเกิดเปนการไหลแยกเปน รอง ซึ่งเปนลักษณะปกติในบริเวณที่ธารน้ํากัดผานพื้นที่ธรณีสัณฐานที่เปนเนินตะกอนรูปพัดเชิงเขา ในที่นี้เปนเนินตะกอนรูป พัดของแนวเขาชนกันนั่นเอง ลักษณะเชนนี้ทางธรณีวิทยาจะเปนพื้นที่ลาดชันพอสมควรและมีน้ําหลากผานอยางรวดเร็ว ความ ลาดชันในบริเวณนี้จะมีความชันประมาณ 1/ 700 สวนพื้นที่แมวงกตอนลาง จะเปนพื้นที่ของเนินตะกอนรูปพัดเชื่อมกับที่ราบกวาง ที่เปนธรณีสัณฐานที่ราบน้ําทวมถึง ของลําน้ําแมวงก (วังมา) ที่เปนการสะสมตะกอนน้ําหลากของลําน้ําแมวงกในที่ราบพนจากพื้นที่เนินตะกอนรูปพัด จะมีน้ําทวม ขังมากกวาพื้นที่แมวงกตอนกลาง แตพื้นที่นี้มีความลาดชันพอสมควร ทําใหน้ําหลากสวนใหญไมทวมขังมากนัก (ความลาดชัน ลําน้ําประมาณ 1/1,000) พื้นที่ลาดยาว จริงแลวเปนพื้นที่ในสวนของสันปนน้ําแมวงก และแมน้ําปง แตเกิดจากการสะสมตัวของตะกอนแบบที่ ราบน้ําทวมถึงของเนินตะกอนรูปพัด และธารน้ําประสานสายบางเสนของแมวงกในชวงน้ําหลาก รวมกับน้ําคลองมวง และ คลองขุดนําน้ําไปใชที่ลาดยาว เชื่อมตอกับที่ราบน้ําทวมถึงกวางใหญของแมน้ําปง แตเดิมไมมีทางน้ําธรรมชาติผาน ทําเกษตร จากน้ําฝน จึงแหงแลงในหนาแลง ขาดแหลงกักเก็บ และไมมีศักยภาพน้ําใตดิน มีสภาพน้ําทวมใกลเคียงกับพื้นที่แมวงก ตอนลาง (ความลาดชันประมาณ 1/1000) แตมีปญหาการทับถมของตะกอนขวางกั้นการไหลของน้ํามากกวา และมีการจัดการ คูระบายน้ําไมดี จึงมักประสบปญหาน้ําทวมในบริเวณเทศบาลบอยๆ การมีที่ราบกวางจึงมีความตองการน้ําในการทํานามาก เมื่อมีการเพิ่มการทํานานอกฤดูกาล ตารางที่ 1 สรุปประมาณการพื้นที่การจัดการน้ําแมวงกเปรียบเทียบกับพื้นที่รับประโยชนจากเขื่อนแมวงก พื้นที่

พื้นที่ปาตนน้ํา (km2)

พื้นที่เนินเขา -ลอนลาด(km2)

พื้นที่ราบลุม (km2)

รวม (km2)

ประมาณพื้นที่ที่อาจไดรับ ประโยชนเขื่อนแมวงก

แมวงกตอนบน

650 (406,250 ไร)

190 (118,750 ไร)

10 (6,250 ไร)

850 (531,250 ไร)

10,000 ไร (1.9%)

แมวงกตอนกลาง

20 (1,250 ไร)

180 (112,500 ไร)

100 (62,500 ไร)

300 (187,500 ไร)

62,500 ไร 33%

ลาดยาว

10 (6250 ไร)

40 (25,000 ไร

350 (218,750 ไร)

400 (250,000ไร

218,750 ไร 87.5%

วงกลาง

50 (31,250 ไร

350 (218750 ไร

200 125,000 ไร)

600 (375,000ไร)

40,000 ไร 10.6%

รวม

710 (443,750 ไร) -

780 (487,500ไร) 200 (500 m2//ไร)

670 (418,750 ไร) 800 (2,000 m3/ไร)

2,160 (1,350,000ไร) 1,000 ลาน m3

331,250 ไร22.3% (ตามโครงการ 301,900 ไร) 20% (200 ลาน m3)

ความตองการน้ํา (ลานคิว)

6


ในพื้นที่ยอยทั้ง 4 พื้นที่ พื้นที่ที่ตองการการจัดการแกปญหาน้ําทวม-น้ําแลง คือพื้นที่ท4ี่ (พื้นที่ที่รับประโยชนจาก โครงการเขื่ อนแมวงกบ ริเวณอําเภอลาดยาวและอําเภอเมือง) บริเ วณนี้มีปญหามากทั้งน้ําท วม-น้ําแลง น้ําบอตื้นไม มี ศักยภาพเนื่องจากอยูบริเวณใกลสันปนน้ํา เฉพาะสวนนี้นี่เองทีห่ วังประโยชนจากเขื่อนแมวงกมากที่สุด แตอยางไรก็ดี เมื่อพิจารณาจากขอมูลทั้งหมดแลวจะพบวาเขื่อนแมวงกสามารถบรรเทาปญหาความตองการน้ําได ประมาณ 20 % ของพื้นที่เทานั้น และหากพิจารณาจริงๆแลว ในฤดูแลงเขื่อนแมวงกมีศักยภาพในการกระจายน้ําประมาณ 100,000 ไร ซึ่งไมถึง 10% ของพื้นที่การจัดการน้ําเทานั้น (พื้นที่ทั้งหมดมีความตองการน้ํา 1,000,000 m3) การขุดคลองคลองใหญแบงน้ําแมวงก (วังมา) จากบานสะเดาซายมาเชื่อมกับคลองมวง ซึ่งนาจะเปนคลองหลักที่ แทจริงของอําเภอลาดยาว น้ําจากคลองใหญและคลองมวง จะนําน้ํามาทวมเทศบาล เนื่องจากไมมีการจัดการประตูน้ําคลอง ขุนลาด(สะเดาซาย)และฝายบานดอนปออยางเปนระบบ นอกจากนี้ดานเหนือของคลองมวง มีเนินเขาที่รับน้ําฝนเทลงมารวม พื้นที่มีแตไรมันไมมีอะไรชวยในการชะลอน้ํา พอน้ําถึงเทศบาลลาดยาว ก็เจอสิ่งปลูกสรางรุกล้ําเต็มไปหมด รวมทั้งตัวที่ทําการ เทศบาลเองก็รุกถมลงมาในลําน้ําดวย คูระบายน้ํา ที่ตองพาน้ําออกขาดการบํารุงรักษา มีการรุกล้ําโดยกั้นประตูน้ํา ถมดินปด เปนระยะ ขาดระบบสูบน้ําชวยระบายน้ํา และพื้นที่คาบเกี่ยวระหวางตําบลหลายตําบลที่ขาดผูประสานงานกัน ที่ปลายคูมีการ รุกล้ํา และถมกั้นจากอาคารขนาดใหญ ทําใหระบบน้ําที่ตองไหลระบายไปทางทิศตะวันออกไปไมไดเปนอุปสรรคตอการระบาย น้ําเปนอยางยิง่ ดังภาพที่ 2

ประตูน้ําคลองขุนลาด(สะเดาซาย)อีกหนึ่งตัวแปรสําคัญในการบริหารจัดการน้ําที่ทําใหน้ําเขาทวมพื้นที่ลาดยาว

ฝายบานดอนปออีกหนึ่งตัวแปรสําคัญในการบริหารจัดการน้ําที่ทําใหน้ําเขาทวมพื้นที่ลาดยาว 7


ภาพที่ 2การสํารวจพบสิ่งกอสรางในคูระบายน้ําในเทศบาลลาดยาว ชํารุดเสียหาย ไมมีการใชงานเปนอุปสรรคตอการ ระบายน้ําในพื้นที่ลาดยาว

8


ขยะในลําน้ําเปนอีกสาเหตุหนึ่งที่ทําใหน้ําไหลไปไมสะดวกและทําใหน้ําทวมพื้นที่ลาดยาวในที่สุด

ฝายที่ใชการไมไดเปนอีกหนึ่งอุปสรรคที่กีดขวางทางน้ําทําใหน้ําไมสามารถระบายได

ชาวนาปดทอทําใหน้ําไมสามารถระบายลงทุงไดเหมือนอดีต

สภาพคูระบายน้ํามีน้ําแตในนาไมทวม

น้ําไมสามารถระบายลงสูนาได เนื่องชาวนาปดทอระบายน้ําไว 9


โครงการเขื่อนแมวงก เปนวิธีการมองภาพรวมของทุกพื้นที่ที่วามา เอาความตองการน้ําของพื้นที่ปญหามาเปนตัวตั้ง ลามไปใหพื้นที่อื่นๆที่ไมขาดน้ําและมีศักยภาพที่จะพัฒนาแหลงน้ําขนาดเล็กไดมารอพวงไปดวย ทั้งที่จริงๆแลว หากแยกพื้นที่ ชลประทานโครงการเปนสวนยอยๆ จะพบวาบางสวนไมไดเกี่ยวของ บางสวนไมมีปญหา บางสวนมีปญหาบางแตสามารถแกไข ดวยวิธีอื่นได หากแยกสวนแกปญหา และนําศักยภาพที่แกปญหาแตละพื้นที่ยอยๆมาชวยพื้นที่ปญหามากอยางลาดยาว ก็อาจจะ แกปญหาทั้งหมดไดโดยไมตองสรางเขื่อนแมวงก จากการคํานวณปริมาณน้ําทา โดยใชสมการ

โดย

b

QM

=

aA

QM

=

ปริมาณน้ําทารายปเฉลีย่ (ลาน ลบ.ม.)

A

=

พื้นที่รับน้ําฝน (ตร.กม.)

aและb =

สัมประสิทธิ์ถดถอย

QF

3.7878A0.6076 (R2= 0.4135)

=

พบวา : พื้นที่รับน้ําประมาณ 2,000 km2พื้นที่การจัดการน้ํานี้จะมี น้ําทารายปประมาณ 755 ลาน m3ดังตารางคํานวณ ตารางที่ 2การประมาณการน้ําทารายเดือนในพื้นที่ประมาณ 2,000 km2

ดังนั้นเมื่อพิจารณาหากจะเก็บกักน้ําไวใชในพื้นที่ ที่มีปริมาณน้ําทาเฉลี่ยทั่วทั้งพื้นที่ จึงอาจจะใชการสรางแหลงน้ํา ขนาดเล็กกระจายใหทั่วเพื่อรองรับน้ําฝนและน้ําหลากที่อาจจะไมไดไหลมาจากพื้นที่รับน้ําเหนือพื้นที่โครงการเขื่อนแมวงก เทานั้น จะไดผลมากกวา 10


ภาพที่ 3 แผนผังเสนทางน้ําแมวงก และสภาพการวิเคราะหปญหาน้ําทวมน้ําแลงจากการสํารวจในพื้นที่ ขอเสนอแนะในการแกปญหาน้ําทวมในลุมน้ําแมวงก-ลาดยาว

จากการสํารวจสภาพปญหาตางๆ พบสาเหตุที่ทําใหน้ําทวมลาดยาวดังแผนผังในภาพที่ 4 1. การขาดการจัดการพื้นที่น้ําหลาก ลุมน้ํายอยคลองไทร-คลองหินดาด 2. ปริมาณตะกอนในลําน้ําแมวงก และลําหวยสาขาที่แตกออก ในพื้นที่แมวงกตอนกลาง 3. ขาดการบริ ห ารจั ด การประตู น้ํ า สะเดาซ า ย ให น้ํ า ไหลเฉลี่ ย ไปวั ง ม า ให พ อดี จํ า เป น ต อ งมี ค ณะกรรมการ โดยทองถิ่น ไดแก ต.มาบแก ต.วังมา ต.ลาดยาว ต.ศาลเจาไกตอ และ ต.สรอยละคร ในการจัดการประตูน้ําดวยกัน โดยมีกรม ชลประทานหรือเจาหนาที่เทคนิคมาชวยในการบริหารจัดการน้ํารวม และพัฒนาระบบใหครอบคลุมตั้งแตตนน้ําไปจนถึงปลาย น้ํา 4. ปริมาณน้ําคลองมวง ที่หลากจากเนินเขาบอถ้ําตองจัดการน้ําหลาก และผันน้ําเขาบึงหลม 5. คูระบายน้ํา มีสิ่งกอสรางกีดขวางทางน้ํา เชน สะพาน ฝายหรืออาคารระบายน้ําที่ไมไดใชงาน หรือชํารุด รวมถึงการ ถูกรุกล้ําลําน้ําทั้งจากอาคารของเอกชน วัด และสวนราชการ ทําใหน้ําไมสารถระบายและเก็บกักไปยังหนองอีเหนี่ยงกรณี สิ่งกอสรางในลําน้ํากีดขวางทางน้ํา เชน ฝาย ประตูระบายน้ํา หรือสะพานคอนกรีต ไมไดใชงาน หรือชํารุดใชงานไมได ควรมี การรื้อถอนออกเพื่อไมใหกลายเปนเครื่องกีดขวางทางน้ําเสียเอง ควรนําสิ่งกอสรางที่กีดขวางทางน้ําออก จะชวยบรรเทาน้ํา ทวมพื้นที่ลาดยาว 11


6. มีคลองขนานสองเสน ที่ไมไดใชในการระบายน้ํา เพราะไมมีคูเชื่อมจากคลองใหญ และไมเชื่อมคลองแมวงก (วังมา) ซึ่งคลองสองเสนนี้นําน้ําไปถึงอางหลวงพอจอยได 7. ควรมีการสํารวจเพื่อตรวจสอบแนวเขตทางน้ํา ตรวจสอบสิทธิการครอบครองของผูรุกล้ําและแนวทางการดําเนินการ ตามกฎหมาย จัดทํารายชื่อผูรุกล้ําเสนทางน้ําและกําหนดมาตรการการรื้อถอนหรือบังคับใชมาตรการที่มีอยูแลวโดยไมเลือก ปฏิบัติ รวมทั้งการจัดทําผังการใชประโยชนที่ดินรวม และจัดทําผังน้ําเพื่อใหประชาชนไดเขาใจสภาพตามธรรมชาติของลําน้ํา และไมบุกรุกเพิ่ม โดยพิจารณาจากลักษณะการใชพื้นที่จริงในปจจุบันเปนองคประกอบดวย รวมทั้งตองสอดคลองกับฤดูการ ผลิต วิถีชุมชน และสภาวะอากาศภูมิอากาศโลกที่เปลี่ยนแปลงในอนาคต ซึ่งกระบวนการจัดทําจําเปนตองมีสวนรวมจากภาค ประชาชนดวย ภาพ 4 แผนผังสาเหตุที่ทําใหน้ําทวมพื้นที่ลาดยาว และศักยภาพทางเลือกการจัดการน้ําทวมกรณีไมสรางเขื่อนแมวงก

12


ขอเสนอแนะในการแกปญหาน้ําแลงในลุมน้ําแมวงก-ลาดยาว จากการสํารวจสภาพปญหาตางๆ พบศักยภาพที่สามารถแกไขปญหาน้ําแลงในพื้นที่ไดดังแผนผังใน (ภาพที่ 5) ภาพ 5 แผนผังศักยภาพทางเลือกการจัดการน้ําแลง กรณีไมสรางเขื่อนแมวงก

1. พื้นที่แมวงกตอนบน ยุทธศาสตรคือ การจัดการ น้ําหลากพื้นที่ปลูกพืชไรในพื้นที่แมวงกตอนบน โดยในระยะแรก จําเปนตองซอมแซมฝาย และประตูระบายน้ําที่ชํารุดในลุมน้ํายอย คลองไทร และคลองหินดาด เพิ่มเติมโครงการชลประทานที่เปน ฝายและประตูระบายน้ําขนาดเล็กที่จําเปน มีการขุดลอกตะกอน สม่ําเสมอ ปลูกหญาแฝกริมน้ําเพื่อกันตะกอน โดยในระยะยาวควร มีการสงเสริมการเปลี่ยนพืชไรเปนเกษตรผสมผสาน สรางประตูน้ํา เพื่อชะลอและลดปริมาณน้ําหลากที่เขาชนกัน ตลอดจนขุดลอกลํา น้ําแมวงกจากแกงเกาะใหญ ถึงเขาชนกันใหสามารถกักเก็บน้ําใน ฤดูแลง สะสมน้ําจากลําน้ําในอุทยานแหงชาติแมวงกที่มีมาตลอดป ทยอยปลอยไปดานแมวงกตอนกลาง

พื้นที่แมวงกตอนบน 13


2.พื้นที่แมวงกตอนกลาง ควรพัฒนาอางหวยหินลับ (คลองแหง) ใหกักเก็บน้ําเพิ่มเติม และเติมน้ําเขาสูแมวงก ตลอดป เพิ่มเติมฝายเก็บกักและยกระดับน้ําในลําหวยแมวงก ที่บานวังชุมพร และพื้นที่อื่นๆที่มีศักยภาพตามหลั กวิศวกรรม รวมถึงการปรับปรุงระบบฝายเดิมที่บานทาตาอยู ฝายไสงู และวังซาน รวมถึงประตูน้ําคลองขุนลาดใหมีประสิทธิภาพสมบูรณ ขุดลอกลําหวยแมวงก และลําหวยที่แยกจากแมวงกทุกเสนเพื่อเก็บน้ําไวในลําน้ํา พื้นที่นี้มีศักยภาพในการพัฒนาระบบการสูบ น้ําใตดินดวยไฟฟามาเสริมในชวงฤดูแลง นอกจากนี้ยังมีพื้นที่ที่มีศักยภาพในการสรางเก็บน้ําขนาดเล็ก บริเวณบานวังชุมพร เพิ่มเติม ทั้งหมดจะสามารถชะลอน้ําในชวงน้ําหลาก และกักเก็บน้ําเพื่อทยอยแบงใหพื้นที่แมวงกตอนลาง และพื้นที่ลาดยาว ตอไป

พื้นที่แมวงกตอนกลาง

3. พื้นที่แมวงกตอนลาง พื้นที่แมวงกตอนลางคือ พื้นที่ที่รับน้ํามาเติมลําน้ําจากลําหวยตะกวดที่มีตนน้ําที่บาน ธารมะยม และหวยน้ําหอม ที่มีตนน้ําจากบานเขาแมกระทู ทางฝงตะวันตก และมีพื้นที่รั บน้ําจากฝงเขาหลวง มีศักยภาพใน การจัดการตนน้ําดวยฝายชะลอน้ําบนพื้นที่ภูเขา และ พัฒนาอางเก็บน้ําขนาดเล็กในพื้นที่ขอบเขา มากมาย เพื่ อ กั ก เก็ บ และเติ ม น้ํ า ให ที่ ร าบในช ว งฤดู แ ล ง นอกจากนี้ที่ราบกวางใหญของลุมน้ําแมวงกตอนลาง (วังมา) นี้มีศักยภาพในการพัฒนาบอน้ําตื้น และการ ขุดบอน้ําขนาดเล็กในไรนา นอกจากนี้ในลําน้ําแมวงก ยังมีการสรางฝายกักเก็บน้ําสามแหงที่มีประสิทธิภาพ ดีอยูแลว พื้นที่แมวงกตอนลาง

14


4. พื้นที่ลาดยาว มีศักยภาพแหลงน้ํา ที่ซอนอยูของลาดยาว คือ บึงหลม หนองอีเหนี่ยง คลองหินลับ-คลองยิ้มแยม รวมถึงอางเก็บน้ําหลวง พอจอย ซึ่งยังไมไดนํามาใชประโยชน และพัฒนา ศักยภาพใหมากเทาที่ควร หากสามารถศึกษาขอมูล และฟนฟูใหเปนแหลงน้ําที่กระจายน้ําไปกักเก็บใน บอ น้ํ า ในที่ส ว นบุ ค ลให ทั่ ว ถึ ง นา จะสามารถแก ไ ข ป ญ หาภั ย แล ง ไปได ม าก โดยจะต อ งกั ก เก็ บ น้ํ า สวนเกินในชวงน้ําหลากของคลองมวง และลุมน้ํา

พื้นที่ลาดยาว

แมวงก ที่ไหลแผขามลุมน้ํามาเก็บกักไวในแหลงน้ํา ใหได โดยอาจพิจารณาดึงน้ําบางสวนจากแมน้ําปง เขามาใชดวย แตจะตองสรางระบบกระจายน้ําขนาดเล็กและบอเก็บน้ําขนาดเล็กทั่วทั้งพื้นที่ลาดยาวที่ขาดแคลนน้ํา จากแหลง น้ําเดิมที่มีอยูแลวทั้ง 4 แหลง ภาพรวมของขอเสนอการจัดการน้ําทางเลือกไมสรางเขื่อนแมวงก สามารถสรุปเปนแผนภาพรวมขอเสนอแนะการจัดการน้ําไดในแผนภาพที่ 6 และตารางที่ 3 ดังนี้ ภาพ 6 แสดงแผนผังศักยภาพทางเลือกการจัดการน้ําลุมน้ําแมวงก-ลาดยาว

15


ตารางที่ 3 วิเคราะหเปรียบเทียบ การจัดการน้ําจากการสรางเขื่อนแมวงก และขอเสนอทางเลือกในการจัดการน้ํา พื้นที่ แมวงกตอนบน

ปญหา น้ําทวม

น้ําแลง อื่นๆ

แมวงกตอนกลาง

น้ําทวม น้ําแลง

แมวงกตอนลาง

มีพื้นที่รับประโยชนประมาณ 100,000 ในที่ราบลุม ถูกเวนคืนที่ดินคลองชลประทาน

น้ําทวม

ปกติ มี อุ ทกภั ย อยูบ า งเปน น้ํ า หลากผ า น มี เ ขื่ อ นแม ว งก นาจะลดน้ําทวมไดแตนอยกวา วงกกลางเพราะมีน้ําจาก พื้นที่รับน้ําอื่นๆมากมาย ปกติทํานาได 1-2 ครั้งแลวแตปริมาณฝน มีเขื่อนอาจจะได มากขึ้ นแต เป นพื้ น ที่ห า งไกล โอกาสที่ ก ระจายน้ํา มาถึ ง ในชวงแลงนาจะไมมากนัก

อื่นๆ

ระยะเวลา

ปกติเ ปน พื้น ที่น้ํ า ท ว มนอ ย มี เขื่ อ นแม ว งกล ดน้ํ า ท ว มได 30% ปกติทํานาไดสองครั้งอยูแลว หากมีเขื่อนอาจจะทําไดมาก ขึ้น

อื่นๆ

น้ําแลง

ลาดยาว

สรางเขื่อนแมวงก จัดการน้ําทางเลือก ไมไดเปนพื้นที่อุทกภัย แตอาจชวยลดน้ําหลากสองฝงลําน้ํา ไมไดเปนพื้นที่อุทกภัย แตการทําฝายชะลอน้ํา ประมาณ 10,000 ไร ทั่ว พื้ น ที่ ช ว ยลดน้ํ า หลากทั้ ง ลุม น้ํ า ประมาณ 200,000 ไร มีพื้นที่ชลประทานระบบทอ 10,000 ไร กระจายน้ําทั่วพื้นที่ 100,000 ไร - อาจเกิดปญหาความเสี่ยงน้ําลนทางระบายน้ําจากเขื่อน - ไมมีความเสี่ยง เมื่อมีฝนหนัก - ไมถูกเวนคืนที่ดิน - เสี่ยงความเสียหายหากเขื่อนชํารุด - ถูกเวนคืนที่ดินคลองชลประทาน

น้ําทวม

- มีพื้นที่รับประโยชนประมาณ นอยกวา100,000 ในที่ราบ ลุม - ถูกเวนคืนที่ดินคลองชลประทาน มีอุทกภัยใหญ ในคาบน้ําทวม 5-10 ป ภายหลังมีความ เสี่ย งน้ํ า ระบายไมทัน ทุก ครั้ง ที่ฝ นหนัก -น้ํ า หลาก หากมี เขื่อนคาดวาลดน้ําทวมได 20-30%

ขุด ลอกลํ า น้ํา และชะลอน้ํ า ในฝาย เพิ่ม การ ระบายน้ําไมนาจะนอยกวา 30% หากเพิ่ ม ฝายและระบบสู บ น้ํ า ด ว ยไฟฟ า ที่ ชาวบานจัดการเองได นา จะไดผลไมตา งจาก เขื่อน กระจายการจัดการน้ํา ทั่ว ทั้งลุมน้ํา ยอ ยหลาย แสนไร ไมถูกเวนคืนที่ดิน กระจายน้ําหลากกักเก็บในบอ และแกมลิง ไม น า จะมี ค วามแตกต า งเรื่ อ งลดน้ํ า ท ว ม เมื่ อ เปรียบเทียบกับมีเขื่อน องคกรบริหารสวนทองถิ่นพัฒนาแหลงน้ําขนาด เล็กไดเอง กระจายน้ํา ไดทุกพื้นที่ มีศักยภาพ ในการทํา บอ กัก เก็บ และระบบสู บ น้ํ า บ อ ตื้ น ดวยไฟฟา - กระจายการจัดการน้ําทั่วทั้งลุมน้ํายอยหลาย แสนไร - ไมถูกเวนคืนที่ดิน เพิ่มการระบายน้ํา ไปกักเก็บในแหลงน้ํา จัดตั้ง คณะทํา งานบริห ารประตู น้ํา จั ดการพื้นที่น้ํ า หลากที่เนินเขาเหนือคลองมวง นาจะมีผลการ ลดน้ําทวมมากกวาหรือไมนอยกวามีเขื่อน แบงพื้นที่ออกเปนสวนๆ พัฒนาแหลงกักเก็บน้ํา ในแตละสวนคือ บึงหลม หนองอีเหนี่ยง คลอง ยิ้มแยม-หินลับ และผันน้ําจากแมน้ําปง นาจะ ไดผลเทามีเขื่อน - บริหารน้ําไดเอง - ไมถูกเวนคืนที่ดิน

น้ําแลง

ทํานาได 1 ครั้ง แตมีเขื่อนนาจะไดสองครั้ง

อื่นๆ

- มีความเสี่ย งจะไมไดน้ํา เพราะอยูไกลจากเขื่อ น น้ํา ถูก นําไปใชพื้นที่ตนๆกอน - ถูกเวนคืนที่ดินคลองชลประทาน 8-10 ป 1-3 ป

16


จากแนวคิดการจัดการน้ํา ไดทดลองประเมินความเปนไปไดในการเสนอการจัดการน้ําผานโครงสราง และโครงการ ตางๆดังตารางที่ 4 และ 5 และอธิบายแนวคิดในการปฏิบัติจริงในแผนภาพ ที่ 7 ( โดยคิดพื้นที่ 5%ของพื้นที่ราบ ในแตละ พื้นที่การจัดการขุดบอลึก 5 เมตร) ตารางที่ 4 ประมาณปริมาณน้ําที่มีศักยภาพเปนไปไดในการจัดการน้ําทางเลือก เปรียบเทียบกับเขื่อนแมวงก** พื้นที่ แมวงกตอนบน

ประมาณปริมาณน้ําการจัดการน้ําทางเลือก เก็บน้ําในลําน้ํา

เขื่อนแมวงก 300,000

แมวงก 20 km 20,000*10*1

200,000 m3

m

100,000 m3

ลําน้ําสาขา 20 km 20,000*5*1

แมวงกตอนกลาง

อางเก็บน้ําขนาดเล็ก ไมมี

-

บอน้ําในที่ราบไมมี

-

เก็บน้ําในลําน้ํา

25,750,000

ลําน้ํา 5 สายๆละ 20 km. 5*20,000*5*1 m

500,000 m3

อางเก็บน้ําขนาดเล็ก อางหินลับ (มีแลว) 300 m2*5

150,000 m3

อางวังชุมพร

100,000 m3

บอน้ําในที่ราบ 5,000,0000*5 แมวงกตอนลาง

พื้นที่ลาดยาว

25,000,000 m3

เก็บน้ําในลําน้ํา

50,700,000 3

แมวงก 20 km. 20,000*10*2

400,000 m

ลําน้ําสาขา 40 km. 40,000*5*1

200,000 m3

อางเก็บน้ําขนาดเล็ก 100,000

100,000 m3

บอน้ําในที่ราบ 10,000,000*5

50,000,000 m3

เก็บน้ําในลําน้ํา

108,850,000

คลองใหญ 10 km.

100,000

10,000*10*1

25,000

คลองมวง 5 km. 5,000*5*1

75,000

คูน้ํา 15 km. 15,000*5*1 คลองหินลับ-วังยิ้มแยม 30 km

150,000

30,000*5*1

200,000,000-250,000,000

อางเก็บน้ําขนาดเล็ก บึงหลม 3,000,000 m2*10

30,000,000

หนองอีเหนี่ยง 1,000,000

10,000,000

2

m *10

1,000,000

อางหลวงพอจอย บอน้ําในที่ราบ 17,500,000*5 รวมศักยภาพเก็บน้ําการจัดการน้ําทางเลือก

87,500,000 205,600,000

หมายเหตุ **จํานวนและงบประมาณเปนการประมาณการเพื่อแสดงใหเห็นความเปนไปได คาดวาคลาดเคลื่อนไมเกิน 20%

17


ตารางที่ 5 ประมาณการงบประมาณในการจัดการน้ําทางเลือก** โครงการจัดการน้ํา

ฝาย/ประตูน้ํา ในลําน้ําสาขา

แมวงกตอนบน

แมวงกตอนกลาง

จํานวน งบประมาณ จํานวน

งบประมาณ

(ลานบาท)

(ลานบาท)

10

150

6

90

ลาดยาว จํานวน

แมวงกตอนลาง

งบประมาณ

จํานวน

(ลานบาท) 6

90

รวม

งบประมาณ (ลานบาท)

6

90

28 ตัว 420 ลานบาท

ฝาย/ประตูน้ํากั้นลํา 3

100

น้ําแมวงก อางเก็บน้ํา

2+เกา

50

-

-

เกา 3

20

3 1

50

ขนาดเล็ก

1+เกา

8 ตัว 170

50

3 เกา+1

50

1

เกา 3 +

300

ใหม 6

16 แหง 450 ลาน (ซอม 7)

ขุดลอกลําน้ํา

50 km. 50

100

100

100 km.

100

50 km.

50

km. บอน้ํา(ลานคิว)

6

10

20

200 km. 200 ลาน

50

100

200

60

100

186 ลาน m3 360 ลาน บาท

ฝายแมว

50 บ.

500,000 บ. 20 บ.

200,000 บ.

5 บ.

50,000 บ.

100 บ.

1,000,000 บ.

175 ตัว 1.75 ลาน

พัฒนาโครงการสูบ

-

200

20

200

420

น้ําดวยไฟฟา

ลานบาท

(ลานบาท) การฟนฟูปาตนน้ํา

(5ไร)

100,000 บ. (5ไร)

100,000 บ.

(5ไร)

100,000 บ.

(5ไร)

100,000 บ.

20 ไร 400,000

ฟนฟู-ปรับปรุงการ

50,000 50

50,000 50

10,000

10

100,000

100

200,050

ชะลางพังทลาย

ไร

พื้นที่พืชเชิงเดี่ยว

210 ลาน

(ไร) -

410

-

390

-

480

-

661

1,941 ลานบาท

หมายเหตุ **จํานวนและงบประมาณเปนการประมาณการเพื่อแสดงใหเห็นความเปนไปได คาดวาคลาดเคลื่อนไมเกิน 20%

18


แผนที่ทางเลือกในการจัดการน้ําแบบบูรณาการ กรณีไมตองสรางเขื่อนในอุทยานแหงชาติแมวงก

19


ภาพ 7 แผนผังสรุปกิจกรรมในการจัดการน้ําทางเลือกในแตละพื้นที่จัดการน้ําเชื่อมโยงกัน ปาตนน้ําอุทยานแหงชาติแมวงก - ทําฝายชะลอน้ําตามความเหมาะสม และสอดคลองกับธรรมชาติ ลุมน้ําคลองไทร และลุมน้ําคลองหินดาด - ทําฝายและโครงการชลประทานขนาดเล็ก ในลํ า น้ํ า สาขาตามความเหมาะสมทาง วิศวกรรม พรอมกับปรับการใชที่ดินเปนพืช ผสมผสานในระยะยาว - ฝายแมวในรองน้ําสําคัญที่เขาแมกระทู และ เขาพริกไทดานตะวันตก

สองฝงหวยแมวงกนอกอุทยาน - ขุดลอกลําน้ํา กั้นประตูกักเก็บชะลอ น้ําแกงเกาะใหญ และเขาชนกัน

ขุ ด ลอกและสร า งฝายและ ประตูชะลอน้ําในลําน้ําแมวงก เพิ่ ม เติม จากที่มี อ ยู แ ลว และ ลําน้ําที่แตกออกประสานสาย (braided) กั น หลายสาย ต า ม ค ว า ม เ ห ม า ะ ส ม ทา ง วิศวกรรม -เพิ่ ม เติ ม ระบบสู บ น้ํ า ด ว ย ไฟฟ า จากน้ํ า บ อ ตื้ น พื้ น ที่ น า สองฝงลําน้ํา

ลุมน้ําคลองปลาอาว และคลองแหง - ฝายชะลอน้ํารองน้ําสําคัญทีเ่ ขาพริกไท และ เขาแมกระทู (ดานตะวันออก) - ปรับปรุงอางหินลับ (คลองแหง) และพิจารณา สรางอางวังชุมพร

ลําน้ําแมวงกกลาง ลาดยาว ลุม น้ํ า ธารมะยม (ห ว ยตะกวด) และ หวยน้ําหอม - ฝายชะลอน้ํารองน้ําสําคัญที่เขาพริก ไท และเขาแมกระทู (ดานตะวันออก) - ทําฝายและโครงการชลประทานขนาด เล็ก และอางเก็บน้ําในลําน้ําสาขาตาม ความเหมาะสมทางวิศวกรรม พรอมกับ ปรั บ การใช ที่ ดิ น เป น พื ช ผสมผสานใน ระยะยาว

ลําน้ําแมวงกลาง (วังมา)

-พั ฒ นาระบบและบุ ค ลากรในการ บริหารน้ําสวนเกินในชวงน้ําหลากของ แมวงกผานประตูน้ําคลองขุนราษฎร ไป ทางคลองใหญ ไปสูระบบคูน้ําและบอ กักเก็บในพื้นที่เกษตรกรรม -เพิ่มเติมระบบสูบน้ําดวยไฟฟาจากน้ํา บอตื้นพื้นที่นาสองฝงลําน้ํา ขุดลอกและปรับปรุงฝายและ ประตูชะลอน้ําในลําน้ําแมวงก (มี แล ว ) ตามความเหมาะสม ทางวิศวกรรม -เพิ่ ม เติ ม ระบบสู บ น้ํ า ด ว ย ไฟฟ า จากน้ํ า บ อ ตื้ น พื้ น ที่ น า สองฝงลําน้ํา ระบายน้ําสูเขื่อนวังรอ ผานฝายสวาง -

ลําน้ําแมวงกบน

คลองมวงและบึงหลม - ระบบกักเก็บและชะลอน้ําขนาดเล็ก - ปรับการใชที่ดินเนินบอถ้ําเปนพืชผสมผสานใน ระยะยาว พื้นที่ลาดยาว -ขุดลอกและปรับปรุงฝายและประตูชะลอน้ําในคลอง ใหญ และคูระบายน้ํา (มีแลว) ตามความเหมาะสมทาง วิศวกรรมไปสูหนองอีเหนี่ยง -พัฒนาแหลางน้ําหนองอีเหนี่ยง และคลองสงน้ําจาก แมน้ําปง --เพิ่มเติมบอกักเก็บน้ําในพื้นที่เกษตรกรรมทั่วพื้นที่ -พัฒนาระบบสูบ น้ําระบายน้ําท วม กระจายน้ํ าแกน้ํ า แลง คลองหินลับ และคลองวังยิ้มแยม -ขุดลอก และกักเก็บน้าํ ในลําน้ํา -สรางระบบระบายน้ําสูอางหลวงพอจอย - -เพิ่มเติมบอกักเก็บน้ําในพื้นที่ เกษตรกรรม -ปรับปรุงอางหลวงพอจอย ลุมน้ําเขาหลวงดานตะวันตก - ฝายชะลอน้ํารองน้ําสําคัญ - ทําฝายและโครงการชลประทานขนาด เล็ ก และอ า งเก็ บ น้ํ า ในลํ า น้ํ า สาขาตาม ความเหมาะสมทางวิศวกรรม - เพิ่มเติมระบบสูบน้ําดวยไฟฟาจากน้ํา บอตื้น 20


โมเดลการจัดการน้ําระดับบุคคล ชุมชน และตําบล จากการลงพื้นที่ศึกษารูปแบบการจัดการน้ําที่มีประสิทธิภาพในพื้นที่ตลอด 3 ปที่ผานมา พบรูปแบบการจัดการน้ําที่ มีศักยภาพและสามารถประยุกต นํามาปรับใชในพื้นที่การจัดการน้ําทางเลือก ไดแก การจัดการน้ํานาลุงกรุน ที่เปนการจัดการ น้ําระดับครอบครัว ในพื้นที่แมวงกตอนกลาง การจัดการของชุมชนธารมะยม ในพื้นที่แมวงกตอนลาง และการจัดการน้ําระดับ ตําบลหนองหลวง ในพื้นที่แมวงกตอนลาง โดยการจัดการน้ําทัง้ 3 รูปแบบ โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้ 1. ทางออกการจดการน้ําระดับบุคคล ตน แบบของเกษตรกรท า นนี้ อาศั ย อยู หมู ที่ 3 เขตเทศบาลศาลเจ า ไกต อ อํ า เภอลาดยาว จั ง หวั ด นครสวรรค เกษตรกรในเขตเทศบาลศาลเจาไกตอ ประกอบอาชีพการทํานาเปนหลัก เกษตรกรตนแบบทานนี้ จึงมีแนวคิดที่จะบริหาร จัดการน้ําดวยตนเอง โดยความมุงมั่นบริหารจัดการน้ําดวยตัวเองเริ่ มมาจากการที่ที่นาของตนเองอยูไกลกวาคนอื่นและไม อยากไปแยงน้ํากับใครใหเกิดปญหา จึงคิดที่จะขุดบอบาดาลนําน้ํามาใชดวยตนเองโดยไมหวังพึ่งใคร รูปแบบการจัดการพื้นที่นา คือการลดตนทุนการผลิต เชน การใชระบบน้ําหมุนเวียนโดยการสูบน้ําขึ้นมาจากบอ บาดาลและกออิฐบล็อกเปนลํารางไลไปตามแปลงนาทั้งหมด ถาตองการใหน้ําไปที่นาแปลงไหนก็อุดชองรางแปลงอื่นๆ ไวเพื่อ น้ําจะไดถูกสงตอไปยังแปลงที่ตนเองตองการ

21


ลํารางเพื่อปลอยน้ําไปยังแปลงนาที่ตองการ

โดยเกษตรกรต น แบบมี พื้ น ที่ ทํ า นา จํ า นวน 22 ไร การทํ า นาต อ ครั้ ง จะใช ร ะยะเวลาประมาณ 5 เดื อ น ไดขาวเปลือก 17 เกวียน มีรายไดครั้งละประมาณ 187,000 บาท น้ําพอใชในการทํานาตลอดทั้งปโดยในแตละป สามารถทํา นาได2-3 ครั้ง มีตนทุนในการทํานาเพียง 2,064 บาท ตอไร คาไฟฟาในการสูบน้ําเพื่อทํานาในแตละครั้ง 10,300 บาท เฉลี่ยคา ไฟที่ใชในการสูบน้ําแตละไรใน 1 ฤดูกาลเพาะปลูก คือ 468 บาท ดังนั้นเมื่อหักลบตนทุนจากการทํานาทั้งหมด เชน คาปุย ชีวภาพ คาจางแรงงานในการเก็บเกี่ยว คาขนสงขาวเปลือกฯ เกษตรกรทานนี้จะมีรายไดจากการทํานาตอ 1 ฤดูกาล ประมาณ 140,000 กวาบาท และหลังการเก็บเกี่ยวก็ยังมีรายไดจากการปลอยน้ําในนาไปยังสระที่ขุดไวอยูทายแปลงนาเพื่อจับปลาขาย เปนรายไดเสริมหลังฤดูเก็บเกี่ยวปละ 1 ครั้ง ซึ่งทําใหมีรายไดเพิ่มอีกหลายพันบาทเลยทีเดียว

สระน้ําทายแปลงนา เปนรายไดเสริมในการจับปลาปละ 1 ครั้ง หลังจากการเกี่ยวขาวโดยปลอยน้ําจากนาขาวทั้งหมดให ไหลมารวมทีส่ ระน้ําทายแปลงนา

22


2. ทางออกในการจัดการน้ําระดับชุมชน ทางออกในการจัดการน้ําระดับชุมชน ตนแบบอยูที่บานธารมะยม เชิงเขาแมกระทู ตําบลวังซาน อําเภอแมวงก เปน หนึ่งในพื้นที่ที่ รัฐบาลอางวาเปนพื้นที่ประสบภัยแลง และจะไดรับประโยชนจากโครงการเขื่อนแมวงก แตในทางกลับกัน ชุมชนธารมะยมสามารถพึ่งตนเองได โดยมีระบบประปาของตนเอง รูปแบบการจัดการน้ําโดยชุมชนเริ่มมาจากการที่ แตเดิม เขาแมกระทูเปนเขาหัวโลนตนไมบนภูเขาถูกตัดโคนไปหมดไฟปาเกิดขึ้นทุกป จะใชน้ําแตละครั้งตองลงไปแบกน้ําเปนระยะ ทางไกลหลายกิโลเมตร ตอมาปพ.ศ.2539 การปโตรเลียมแหงประเทศไทย หรือ ปตท. ในขณะนั้น เขามาทําโครงการปลูกปา ถาวรเฉลิมพระเกียรติประมาณ 13,000 ไร และหลังจากนั้นสถาบันสิ่งแวดลอมไทยไดเขามาชวยจัดตั้งกลุมชาวบานเพื่อดูแล รักษาปา ในป 2543 ปาเริ่มฟนตัว ลําธารที่ มาจากปาเริ่มมีน้ําไหลจากเดิมที่ เคยแหงเหือด คนในชุมชนจึงเริ่มขึ้นไปทําฝาย ชะลอน้ําบนเขาเพื่อกักเก็บน้ําและไดงบประมาณจากองคการบริหารสวนจังหวดนครสวรรค 25,000 บาท เพื่อทําฝายชะลอน้ํา เพื่อใหชาวบานมีน้ําใช และรวมกันคิด วางแผนจัดการระบบน้ําในพื้นที่โดยสรางฝายเล็กๆ ชะลอน้ําในหมูบานทั้งหมด 6 ตัว และของบประมาณจากโครงการ SIP หรือโครงการลงทุนเพื่อสังคม ตอทอประปาจากภูเขาไปยังทุกบาน กวา 200 หลัง ทุก บานจะไดใชน้ําโดยไมตองไปรองน้ําประปามาใช โดยติดมิเตอรน้ําที่บานทุกหลัง และเก็บคาน้ําหนวยละ 3 บาท ใชงบประมาณ ทั้งสิ้น 800,000 บาท

ระบบเก็บกักน้ําและแจกจายน้ําของชุมชนธารมะยม

นอกจากการบริหารจัดการน้ําที่ทําใหคนในชุมชนมีน้ําใชไดตลอดแลว แตยังมีสิ่งที่นอกเหนือจากการบริหารจัดการ น้ําที่ดี คือ กําไรที่ไดจากการจัดการน้ําโดยนําเงินที่ไดจากการเก็บคาน้ําในชุมชน มาตั้งเปนกองทุนเพื่อใชเปนสวัสดิการดาน ตางๆ เชน ทุนการศึกษาใหเด็กนักเรียน คนชรา ใหกูยืมเวลาที่ บานใครมีคนเจ็บปวยกะทันหัน ซอมแซมฝายทอน้ําและ คาใชจายที่เปนประโยชนกับชุมชน ซึ่งจะมีการตกลงกันในที่ประชุม ทุกวันที่ 9 ของเดือน จะมีการประชุมหมูบาน และ นอกจากนี้ยังมีรายไดจากนาแปลงรวมของหมูบานที่มีอยู 2 ไร ซึ่งนา 2 ไรนี้ใชน้ําที่ลนจากหอเก็บน้ําที่สรางไวเพื่อพักน้ําที่เหลือ จากการใชสอยทุกปจะมีน้ําลนออกมา น้ําที่ลนนี้จะใชทํานา เปนนาที่เปนพันธุขาวแมพันธุ สามารถขายไดเกวียนละ 20,000 บาท เงินสวนนี้จะเขากองทุนสวัสดิการของหมูบาน และพันธุขาวบางสวนชาวบานจะขอไปปลูก ไดบานละ 1 ไรตอป ซึ่ง 23


รับประกันวาปนั้นเขาจะไดเงินจากการขายขาว 20,000 บาท คนในชุมชนมีการพูดคุยกัน แบงน้ํากัน ใชน้ําใหเกิดประโยชน ทํา นา ใชในครัวเรือน ผลที่ไดกลับมาก็คืนสูชุมชน

3. ทางออกการจัดการน้ําระดับตําบล ทางออกการจัดการน้ําระดับตําบลคือการที่ภาครัฐเขามามีสวนในการจัดการน้ํารวมกับชุมชน เพื่อใหเพียงพอตอ ความตองการใชน้ําที่คนในชุมชนตองการ ทางออกในการจัดการน้ําระดับตําบล ตนแบบการจัดการอยูในพื้นที่ตําบลหนอง หลวง อําเภอสวางอารมณ จังหวัดอุทัยธานี ขอมูลพื้นฐาน ตําบลหนองหลวง มีเนื้อที่ 43,462 ไร หรือ 69.54 ตารางกิโลเมตร สภาพพื้นที่โดยทั่วไปของ ต.หนอง หลวง มีลักษณะเปนที่ราบลุมและลาดเอียง โดยลาดเท จากทางดานทิศตะวันออกต่ําลงมาทางทิศตะวันตก มีเทือกเขาหลวงกั้น ระหวางตําบลหนองหลวง อําเภอสวางอารมณจังหวัดอุทัยธานี กับ อําเภอโกรกพระ จังหวดนครสวรรค ประชาชนสวนใหญ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ทํานาบริเวณที่ราบลุม การทําไร และเลี้ยงสัตว รวมทั้งอาชีพรับจางทั่วไป จํานวนพื้นที่เพาะปลูก ต.หนองหลวง ในฤดูฝน 6,255 ไร พื้นที่เพาะปลูกในฤดูแลง 1,650 ไรปจจุบัน ต.หนองหลวง มีแหลงน้ําสําหรับใชแบงเปน บอบาดาล 9 บอ สระน้ําทา 12 สระ และอางเก็บน้ําขนาดใหญ 2 อางเก็บน้ํา โดยมีปริมาตรรวม ทั้งหมด 1,701,200 ลบ.ม. ซึ่งโดยปกติแลว การทํานาจากการลงเก็บขอมูลภาคสนามใน ต.หนองหลวง พบวา ใน 1 ฤดูกาล สามารถทําการเพาะปลูก ตอ 1 ไร โดยใชน้ําในปริมาณ 2,000 ลบ.ม.มีน้ําใชเพียงพอในฤดูฝนเทานั้น สวนบางพื้นที่ในหนาแลง ที่มีน้ําไมพอตอการเพาะปลูกจะทํานาเพียงแค 1 ครั้ง ตอ 1 ป แตถาพื้นที่ใดมีน้ําเพียงพออยูแลว จะทํานาโดยปกติ ปละ 2-3 ครั้ง จากการลงพื้นที่สํารวจยังพบวาบางพื้นที่ แคอยูคนละฟากฝงถนนเทานั้น แตอกี ฝงหนึ่งมีน้ําใชเพียงพอตลอดทั้งป สามารถ ทํานาได ปละ 2-3ครั้ง แตอีกฟากของถนนกลับมีน้ําไมพอใชปญหาไมไดเกิดจากการมีน้ําไมเพียงพอแตปญหาอยูที่ระบบ บริหารจัดการน้ําไมมีประสิทธิภาพ

24


องคการบริหารตําบลหนองหลวง มีแผนพัฒนา 3 ป 2556 – 2558 เพื่อใหมีน้ําใชเพียงพอตอความตองการ โดยมี การวางแผนพัฒนาแหลงน้ําในระดับตําบล เชน โครงการขุดสระและสรางฝายเพื่อการอุปโภคบริโภค และน้ําเพื่อการเกษตร ของประชาชน ขุดลอกสระ การพัฒนาแหลงน้ําเพื่อการอุปโภค บริโภคและเพื่อการเกษตรโดยจัดใหมีการปรับปรุงซอมแซม และบํ า รุ ง รั ก ษาให มี คุ ณ ภาพ แหล ง น้ํ า ที่ ส ภาพชํ า รุ ด เสี ย หายได รั บ การพั ฒ นา ปรั บ ปรุ ง ซ อ มแซมและบํ า รุ ง รั ก ษาให มี ประสิทธิภาพพรอมใชประโยชน เพื่อใหมีน้ําเพื่อการอุปโภคบริโภคและเพื่อการเกษตรของประชาชน รวมทั้งปองกันปญหา อุทกภัย ดังนั้นถามีการบริหารจัดการอยางสอดคลองและเปนไปตามแผนที่วางไว 3 ป พื้นที่เพาะปลูกในฤดูแลง จํานวน 1,650 ไร หากจะใหมีน้ําเพียงพอเพื่อทําการเกษตรในชวงฤดูแลงโดยเฉพาะนาขาว ตองเพิ่มแหลงกักเก็บน้ําอีก 1.6 ลบ.ม. ม.3ซึ่ง เทากับตําบลหนองหลวงจะมีน้ําเพื่อทําการเกษตร 3,300,000 ลบ.ม.3 โดยแผนระยะยาว 3 ป จะมีการจัดสราง โครงการขุดสระเก็บน้ําเอื้ออาทร ขุดสระน้ํา 288 สระ กวาง 40 เมตร ยาว 50 เมตร ลึก 3เมตร ใน 1 บอ จะไดน้ํา 6,000 ลบ.ม. จะทําใหไดน้ําเพิ่มอีก 1,368,000 ลบ.ม. และบวกกับโครงการสรางอาง เก็บน้ําขนาดใหญพื้นที่ตําบลหนองหลวง อางเก็บน้ํา (อางมะขาม) ม.7 พื้นที่ 30 ไร จํานวน 1 แหง ความสูง 9.7 เมตร จะได น้ํา 465,600 ลบ.ม. (ใชงบประมาณ 80 ลานบาท) เมื่อน้ําทั้งสองโครงการมารวมกันจะทําใหไดน้ําทั้งหมด 3,534,800 ลบ.ม. เพียงพอตอการใชน้ําของคนทั้งตําบลหนองหลวงในฤดูแลง ทางออกของการจัดการน้ําระดับตําบล การพัฒนาแหลงน้ําโดยภาครัฐ ต.หนองหลวง

25


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.