shpark
ISSUE 001
Spark new ideas with creative landscape and urban knowledge
POST COVID CITY
2
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
Foreword
Join us and spark new ideas together with S(h)park !
Yossapon Boonsom Director of Shma Company Limited
เราทุุกคนล้้วนมีีความหวัังที่่�จะมีีชีวิี ต ิ อยู่่บ � นโลกที่่�มีค ี วามยั่่�งยืืนทั้้�งในแง่่สัังคมและสิ่่�งแวดล้้อม อย่่างไรก็็ดีีอนาคตนั้้�นเต็็ มไปด้้ วยปััญหาและความท้้ าทายที่่� สลัับซัับซ้้อน ไม่่ว่่าจะเป็็นภัั ยธรรมชาติิ การเปลี่่�ยนแปลงสภาพภููมิิอากาศ การเจริิญเติิบโตของเมืือง การเปลี่่�ยนแปลงทางเทคโนโลยีี โรคระบาด รวมถึึงพฤติิกรรมและวิิถีีชีวิี ิตของคนยุุคใหม่่ เหล่่านี้้�ล้ว้ นเป็็นสิ่่�งที่่�เราไม่่สามารถหาคำำ�ตอบรัับมืือได้้เพีียง ลำำ�พังั เพราะแนวคิิด การออกแบบและการจััดการแบบเดิิมอาจไม่่สอดคล้้องกัับบริิบทสัังคมและ โลกที่่�เปลี่่�ยนแปลงอีีกต่่อไป คงจะดีีไม่่น้้อยหากเราสามารถตั้้�งคำำ�ถาม สร้้างบทสนทนา พููดคุุยแลกเปลี่่�ยน ซึ่่�งกัันและกััน สร้้างสรรค์์ความคิิดใหม่่ๆไปด้้วยกััน นี่่�เองจึึงเป็็นที่่�มาของ S(h)park นิิตยสารรายสี่่�เดืือน ของฉมา อัันเปรีียบเสมืือนพื้้� นที่่�สาธารณะทางความคิิดที่่�มุ่่ง� หวัังในการสร้้างสัังคมและสิ่่�งแวดล้้อมที่่�ยั่่ง� ยืืน สำำ�หรัับอนาคต S(h)park จััดทำำ�ขึ้้�นโดยรวบรวมแนวคิิดการออกแบบงานภููมิิสถาปััตยกรรมและเมืืองของ ฉมา ที่่� ผ่่ า นการตกตะกอนจากการทำำ� งานจริิ ง และการค้้ น คว้้ า วิิ จัั ยภ ายในองค์์ ก รและร่่วมกัั บ ภาคีี เครืือข่่ายวิิ ชาชีีพอัั นหลากหลาย สำำ�หรัับฉบัับปฐมฤกษ์์นี้้� เราจึึ งอยากชวนทุุกคนคิิ ดและตั้้� งคำำ�ถาม เกี่่�ยวกัับโลกและวิิถีีชีีวิิตที่่�กำ�ลั ำ ังเปลี่่�ยนไปจากสถานการณ์์โรคโควิิด-19 อัันนำำ�มาซึ่่�งเมืืองที่่�เปราะบาง มากกว่่าอดีีต เพื่่� อเตรีียมพร้้อมรัับมืือกัับความไม่่แน่่นอนอย่่างเท่่าทััน อีีกด้้านหนึ่่�งวิิกฤตครั้้�งนี้้�ทำำ�ให้้ผู้้�คนหัันมาสนใจเรื่่�องการฟื้้� นฟููเมืืองเพื่่� อเสริิมสร้้างคุุณภาพ ชีีวิิตที่่�ดีีขึ้้�นมากยิ่่�งกว่่ายุุคสมััยไหนๆ ทั้้�งรููปแบบการเดิินทางที่่�เป็็นมิิตรต่่อสิ่่�งแวดล้้อม การสร้้างพื้้� นที่่�เพื่่� อ ความมั่่�นคงทางอาหาร การเปลี่่�ยนพื้้� นที่่�รกร้้างให้้กลายเป็็นพื้้� นที่่�สุุขภาวะ และการให้้ความสำำ�คััญกัับ พื้้� นที่่�สีเี ขีียวในเมืืองมากขึ้้�น นัับว่่าเป็็นสััญญาณการเปลี่่�ยนแปลงที่่�ดีีเลยทีีเดีียว
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
I believe that we all have a wish to live in a world that is socially and environmentally sustainable. Yet, the future is full of complicated problems and challenges to deal with, such as natural disaster, climate change, city expansion, technology disruption, epidemic along with modern way of life. These issues are wholly what cannot be faced and overcome alone. As our familiar way of thought, design and management methods might not suit the changing world anymore, it could be better if we came up with new questions, make conversation, exchange ideas and recreate some solutions together. Therefore, this is how our 4-month magazine, S(h)park came out as a public space of thought that aims to help create a sustainable society and environment for the future. S(h)park is made up by collecting Shma’s ideas and knowledge in doing landscape and urban design through professional practice, internal research, and external collaborations with various expert partners. In this very first issue, we would like to ask our readers to think about the changing world and lifestyle due to Covid-19 pandemic which causes cities to become more vulnerable than before, so that we can find ways to fully cope with these uncertainties. On the other hand, of course, this crisis also brings the issue of urban revitalization to the spotlight more than ever before, including sustainable transportation, food security, unutilized area improvement and green urban spaces, indicating positive signs toward the future.
มาร่่วม spark จุุดประกายความคิิดไปด้้วยกัันกัับนิิตยสารเพื่่� อสัังคมและสิ่่�งแวดล้้อม S(h)park
ยศพล บุุญสม กรรมการผู้้�จััดการบริิษัท ั ฉมา จำำ�กัด ั
3
4
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
Content พื้้�นที่่�สาธารณะในกรุุงเทพฯ จะมีลั ี ักษณะเป็็นอย่่างไร ในยุุคหลัังโรคระบาด
6
How Public Spaces in Bangkok After a Pandemic Should Be ? 10 การลงทุุนกัับโครงสร้้างพื้้�นฐานแห่่งอนาคต 10 Green and Health Infrastructure to Invest
12
ฟื้้� นฟูู แต่่งเติิมสีีสัน ั ลานกีีฬาเก่่าใต้้ทางด่่วน
18
ด้้วยกระบวนการมีีส่่วนร่่วมกัับทุุกคน Color, Collaborate and Create Communal Space Under Expressway
30
สร้้างพื้้�นที่่�สีีเขีียวดููดซัับ
42
พลัังงานแสงอาทิิตย์์ด้ว้ ย Sol(y)ar Power Up the Open Space
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
ฟื้้� นฟูู กรุุงเทพฯด้้วยทางเชื่� อ ่ มสีีเขีียวสู่่�มหานครที่่�ยั่่ง� ยืืน Revitalizing Bangkok with Green Network
with Solar Power and Green Space : Sol(y)ar สวนผัักกิินได้้หลัังบ้้านของฉมา Sharm (Shma+Farm)
48
ซึึมซัับธรรมชาติิยามกัักตััว ด้้วยการขยายพัันธุ์์�พืืชแบบง่่ายๆ Creating Biophilia by Plant Propagation
52
กรุุงเทพฯ ปลููกต้้นอะไรดีี ?
56
กลุ่่�มพัันธุ์์�ไม้้ ปลููกริิมถนนและบนทางเท้้า 6 Types of Street Trees to Grow Along Roads and Footpaths of Bangkok
5
พื้้�นที่่�สาธารณะในกรุุงเทพฯ จะมีลั ี ก ั ษณะ เป็็นอย่่างไรในยุุคหลัังโรคระบาด How public spaces in Bangkok after a pandemic should be ?
ครั้้�งตลอดชั่่�วชีีวิิต คำำ�ถามสำำ�คััญคืือ ต่่อจากนี้้�เราจะสามารถ ออกแบบพื้้�นที่่�ภายนอกบ้้านให้้มีีความปลอดภััยต่่อสุุขภาพ และเหมาะสมต่่อการดำำ�รงชีีวิิตอย่่างไร ในฐานะผู้้�ทำำ�งานด้้าน ภููมิิสถาปััตยกรรมและเมืือง ฉมาได้้พััฒนาแนวคิิดในการ ออกแบบพื้้�นที่่�ทางกายภาพใหม่่ๆ ผ่่านการศึึกษาค้้นคว้้า ข้้อมููล พร้้อมจััดเวิิร์ค์ ช็็อประดมไอเดีียถึึงความเป็็นไปได้้ใหม่่ๆ ของพื้้�นที่่�เหล่่านี้้� โดยมีีพนัักงานจากหลากหลายแผนกเข้้า ร่่วมกิิจกรรม ทั้้�งภููมิิสถาปนิิก สถาปนิิก นัักพืืชสวน และนััก ทำำ�สื่่�อ According to the Food and Agriculture Organization (FAO), it is predicted that within 2050, 68 % of the world population will be living in the urban area, leading to a denser city where the amount of living area per person will be decreasing respectively. AFP News has also reported that new disease will occur more frequently in the near
future, witnessing from 2000 that there are already 4 epidemics spread globally, before COVID-19, while in the past, they are far less common. Living in a time that is vulnerable to epidemics, we come to question how we can design such outdoor spaces that promote health and wellbeing, in order to cope with this prospective uncertainty. As a landscape and urban creative platform, Shma has developed new design methods by doing critical research along with arranging small workshops, gaining ideas from various teams, including landscape architects, architects, horticulturists and media makers.
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
จากการคาดการณ์์ ข ององค์์ ก ารอาหารและ การเกษตรแห่่งสหประชาชาติิ (FAO) ที่่�ว่่า ภายในปีี ค.ศ. 2050 (พ.ศ. 2593) ประชากรโลกร้้อยละ 68 จะย้้ายเข้้ามา อาศััยในพื้้น� ที่่เ� มืือง เมืืองทั่่�วโลกมีีความหนาแน่่นเพิ่่�มมากขึ้้น� จากขนาดพื้้น� ที่่ต่� อ่ จำำ�นวนประชากรที่่มีี� ขนาดเล็็กลดลงเรื่่อ� ยๆ อย่่างหลีีกเลี่่�ยงไม่่ได้้ ยิ่่�งไปกว่่านั้้�น สถิิติิการอุุบััติิของโรค ระบาดใหม่่มีีแนวโน้้มที่่�จะเกิิดถี่่�ขึ้้�นเรื่่�อย ๆ จากข้้อมููลของ สำำ�นัักข่่าว AFP พบว่่าตั้้�งแต่่ปีี ค.ศ. 2000 (พ.ศ. 2543) เป็็นต้้นมา มีีโรคระบาดใหม่่อุุบััติิขึ้้�นอย่่างน้้อย 4 สายพัันธุ์์� ก่่อนเกิิดการระบาดของโรคโควิิด-19 ในปััจจุุบััน ในขณะที่่� ก่่อนหน้้านี้้�ความถี่่�ของการเกิิดโรคระบาดมีีระยะเวลาที่่�ห่่าง กว่่ามาก การที่่�เมืืองและโลกตกอยู่่�ในสถานการณ์์ภายใต้้ ภาวะเสี่่�ยงกัับการเผชิิญโรคระบาดเช่่นนี้้�นำำ�มาสู่่�ความกัังวล ที่่�ว่่า ในอนาคตเราอาจต้้องเผชิิญสถานการณ์์เช่่นนี้้�อีีกหลาย
การจััดการความหนาแน่่น ในการออกแบบทางกายภาพเพื่่� อ รองรัั บ สถานการณ์์ โรคระบาด ปัั จ จัั ย แรกที่่� ต้้ อ งคำำ�นึึ งถึึงคืือ การจััดการความหนาแน่่นให้้ผู้้�ใช้้งานสามารถรัักษาระยะห่่าง ระหว่่ า งกัั น ได้้ นำำ� มาสู่่�แนวคิิ ด ของการออกแบบพื้้� น ให้้ สามารถจััดระเบีียบง่่ายและมีีความยืืดหยุ่่�น การออกแบบให้้พื้้�นที่่�สามารถจััดระเบีียบง่่าย สามารถทำำ�ได้้โดยใช้้ระบบกริิด (Grid System) และระบบ โมดููลาร์์ (Modular System) ประยุุกต์์ออกแบบสััญลัักษณ์์ บ่่งบอกระยะห่่าง โดยอิิงจากสััดส่่วนการใช้้งานของมนุุษย์์ 6
Space After Pandemic
ทั้้�งนี้้�นอกจากการจััดสรรในแนวราบแล้้วอาจคำำ�นึึงถึึงพื้้น� ที่่ใ� นแนวตั้้�งเพื่่�อเพิ่่�มพื้้น� ที่่� การใช้้งานมากขึ้้น� ได้้เช่่นกััน อย่่างไรก็็ดีี การสร้้างพื้้น� ที่่ที่� ส่� ามารถรัักษาระยะห่่างต้้องไม่่ปิดิ กั้้น� ปฏิิสััมพัันธ์์เชิิงสัังคม ผู้้�ต้้องสามารถพบปะและทำำ�กิิจกรรมร่่วมกัันได้้ ควบคู่่�กัับการใช้้ระบบ จััดการความหนาแน่่นที่่�เหมาะสม ตรงนี้้�เองอาจใช้้ระบบฐานข้้อมููลเพื่่�อให้้ทราบจำำ�นวนผู้้�ใช้้ งานพื้้น� ที่่แ� ละติิดตามตััวตนผู้้�ใช้้งานได้้ ทำำ�ให้้เมื่่อ� พบผู้้�ติิดเชื้้อ� จะสามารถแจ้้งเตืือนได้้ทันั ท่่วงทีี ตััวระบบควรออกแบบให้้เหมาะสมกัับพฤติิกรรมผู้้�ใช้้งานและลดภาระของประชาชนที่่�ต้้อง แบกรัับจากความไม่่เท่่าเทีียมในการเข้้าถึึงเทคโนโลยีี ระบบที่่�ดีีจึึงจำำ�เป็็นต้้องรองรัับการใช้้ งานจากคนทุุกรููปแบบ อาจใช้้เทคโนโลยีีเสมืือนจริิงในการตรวจจัับ (Augmented Reality) แทนโทรศััพท์์มืือถืือแบบสมาร์์ทโฟน และหัันมาพึ่่�งพา QR Code ประจำำ�ตัวั ในการแสกนเพื่่�อ เข้้าถึึงสถานที่่ต่� ่างๆ ที่่มีี� การแสดงผลแบบมีีปฏิิสััมพัันธ์์กัับผู้้�ใช้้ (Interactive)
2m
การใชระบบกริดและโมดูลาร เช่่น ลวดลายพื้้�น หรืือเฟอร์์นิิเจอร์์ที่่�สามารถกำำ�หนดพฤติิกรรมการรัักษาระยะได้้ พื้้�นที่่�ที่่� สามารถจััดระเบีียบได้้ง่่ายเช่่นนี้้� นอกจากจะทำำ�ให้้ผู้้�ใช้้งานเข้้าใจวิิธีีการใช้้ง่่ายแล้้ว ยัังสะดวก ต่่อการปรัับเปลี่่�ยนรููปแบบด้้วย ส่่ ว นพื้้� น ที่่� ที่่� มีี ความยืืดหยุ่่�น (Flexible Space) อย่่ า งพื้้� น ที่่� ส าธารณะหรืือ กึ่่�งสาธารณะควรมีีการออกแบบให้้เปิิดโล่่งรองรัับสถานการณ์์ที่่�ไม่่คาดคิิด เช่่น สถานการณ์์ โรคระบาด เพราะเมื่่�อเกิิดภาวะโรคระบาด จำำ�เป็็นต้้องเตรีียมพื้้�นที่่บ� างส่่วนไว้้รัับรองและวาง ระบบการตรวจสอบโรค อาจเป็็นพื้้น� ที่่เ� ปิิดโล่่งสาธารณะหรืือพื้้น� ที่่ภ� ายในอาคารที่่ส� ามารถปรัับ ใช้้อย่่างยืืดหยุ่่�น พร้้อมมีีขนาดเพีียงพอให้้ผู้้�ใช้้งานรัักษาระยะห่่างที่่�เพีียงพอ หากพื้้น� ที่่เ� ดิิมไม่่ได้้ถูกู ออกแบบให้้มีีขนาดพื้้น� ที่่เ� พีียงพอ อาจต้้องมีีการปรัับปรุุงพื้้น� ที่่� ให้้มีีขนาดกว้้างขึ้้น� หรืือมีีทางเลืือกการใช้้งานมากขึ้้น� เช่่น ระบบขนส่่งมวลชนที่่แ� ต่่เดิิมมีีขนาด ค่่อนข้้างจำำ�กััด อาจต้้องเพิ่่�มทางเลืือกการใช้้งานหรืือขยายทางเท้้าในบริิเวณที่่�ไม่่มีีความหนา แน่่นมากนััก และลดขนาดถนนให้้ผู้้�ใช้้งานทางเท้้าสามารถรัักษาระยะห่่างระหว่่างกัันได้้
Space After Pandemic
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
การใชพื้นที่ียืดหยุน
15
users
ระบบฐานขอมูลและการติดตามผูใชงาน 7
biomimicry
พื้นผิวที่สามารถทำความสะอาดตนเองได เพื่่�อสร้้างประจุุที่พื้่� น้� ผิิว หรืือพวกพื้้น� ผิิวด้า้ น หยาบเพราะเป็็น พื้้� น ผิิ ว ที่่� เชื้้� อ โรคสามารถมีีชีีวิิ ต อยู่่�ได้้ เ พีียงประมาณครึ่่� ง สััปดาห์์ มากกว่่าพื้้�นผิิวเรีียบ มััน อย่่างพลาสติิก สแตนเลส แก้้ว ที่่�เชื้้�อมีีชีีวิิตติิดเกาะได้้กว่่า 1 สััปดาห์์ นอกจากนี้้�จำำ�เป็็นต้้องมีีการทำำ�ความสะอาดพื้้น� ผิิว ควบคู่่�ไปด้้วย โดยการใช้้สารเช็็ดทำำ�ความสะอาดพื้้�นผิิว เช่่น แอลกอฮอลล์์ หรืือแสงอััลตร้้าไวโอเล็็ต (UVB) ซึ่่�งเป็็นคลื่่�น แสงที่่�มีีอยู่่�ในแสงอาทิิตย์์ จากการทดลองในประเทศแถบ ยุุโรปพบว่่าแสงอาทิิตย์์สามารถช่่วยฆ่่าเชื้้�อบนพื้้�นผิิวได้้ โดย ต้้องอาศััยความเข้้มแสงและระยะเวลาการได้้รับั แสงที่่เ� พีียงพอ
จะทำำ�ให้้เชื้้อ� ไวรััสไม่่ตอบสนองภายใน 6 – 15 นาทีี (Carlson 2020) เช่่นกััน การเข้้าถึึงน้ำำ��สะอาดเป็็นอีีกปััจจััยที่่จำ� ำ�เป็็น วิิธ๊๊ ที่่�ง่่ายและสะดวกที่่�สุุดคืือ การหมั่่�นล้้างมืือเป็็นประจำำ�และ หลีีกเลี่่ย� งการใช้้มืือสััมผััสใบหน้้า ส่่งผลให้้การออกแบบพื้้น� ที่่� ภายนอกบ้้านทั้้�งที่่�เป็็นสาธารณะและไม่่เป็็นสาธารณะต้้อง คำำ�นึึงถึึงแหล่่งน้ำำ�� ประปาสะอาดด้้วย
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
สุุขอนามััยและคุุณภาพชีีวิต ิ สุุขอนามััยของพื้้�นที่่�ภายนอกบ้้านเป็็นเรื่่�องที่่�ต้้อง อาศััยการประพฤติิปฏิิบััติิตััวควบคู่่�กัับการออกแบบพื้้�นที่่�ให้้ สามารถรัักษาความสะอาดส่่วนรวมได้้ แนวคิิดของการ ออกแบบควรมุ่่�งไปที่่ก� ารลดการสััมผััสส่่วนต่่างๆให้้มากที่่สุ� ดุ ส่่วนบริิเวณที่่�ไม่่สามารถหลีีกเลี่่�ยงการสััมผััสได้้ต้้องมีีระบบ การทำำ�ความสะอาดที่่�สะดวกและมีีค่่าใช้้จ่่ายน้้อยที่่�สุุดใน ระยะยาว การออกแบบเพื่่� อลดการสัั มผัั ส (Touchless Design) เหมาะสำำ�หรัับพื้้�นที่่�ที่่�สามารถใช้้ระบบอื่่�นแทนนิ้้�ว มืือเช่่น ที่่�เปิิดประตููที่่�ใช้้เท้้าในการเปิิด ประตููอััตโนมััติิที่่�มีี เซนเซอร์์ตรวจจัับ การชำำ�ระเงิินทางออนไลน์์แบบไร้้เงิินสดที่่� ลดการแพร่่เชื้้�อจากธนบััตร เครื่่�องมืือที่่�ต้้องสััมผััสด้้วยมืือ อย่่างราวจัับพยุุงตััว เครื่่อ� งเล่่นสำำ�หรัับเด็็ก ควรทำำ�จากพื้้น� ผิิว ที่่�สามารถทำำ�ความสะอาดด้้วยตนเองได้้ (Self-cleaning Material) ใช้้สารเคลืือบพื้้�นผิิวที่่�ทำำ�ความสะอาดตััวเองได้้ เฉพาะจุุด พื้้น� ผิิวที่่ไ� ม่่ดูดู ซัับน้ำำ�� (Non-porous Material) เช่่น พื้้น� ผิิวที่่อ� อกแบบจำำ�ลองผิิวของใบบััวสะท้้อนหยดน้ำำ��ได้้ หรืือ พื้้�นผิิวที่่�เกิิดประจุุได้้ เช่่น เงิิน ทองแดง ที่่�ต้้องการความชื้้�น
งานออกแบบที่ใชพืชพรรณในการควบคุมทิศทางลม อีีกปััจจััยหนึ่่�งที่่�ไม่่อาจหลีีกเลี่่�ยงการสััมผััสได้้คืือ อากาศที่่�เราหายใจ ในพื้้�นที่่�เปิิดโล่่งการจััดการเรื่่�องความ สะอาดของอากาศสามารถทำำ�ได้้โดยการจััดการให้้เกิิดอากาศ ถ่่ายเท ผ่่านการคำำ�นึึงถึึงตำำ�แหน่่งที่่ตั้้� �งและการจััดแนวต้้นไม้้ ภายนอกอาคารให้้เหมาะสมกัับการไหลเวีียนของอากาศทั้้�ง ในระดัับมหภาค (Macro Climate) และจุุลภาค (Micro Climate) คืือสร้้างช่่องลมด้้วยความสููงและทรงพุ่่�มของต้้นไม้้ พร้้อมให้้ประโยชน์์ในแง่่ร่่มเงาและกิิจกรรมอีีกด้้วย สำำ� หรัั บพื้้� น ที่่� ปิิ ด ล้้ อ ม คุุ ณ ภาพอากาศภายใน อาคารเป็็นเรื่่�องที่่�ต้้องให้้ความสำำ�คััญอย่่างมาก โดยทั่่�วไป เครื่่�องปรัับอากาศในห้้องจะทำำ�งานโดยการดููดเอาอากาศ ภายในห้้องเข้้าไปปรัับอุุณหภููมิิให้้เย็็นลงแล้้วปล่่อยออกมา ระบบเช่่ น นี้้� ไ ม่่ ทำำ� ให้้ เ กิิ ด การไหลเวีียนของอากาศจาก ภายนอก ซึ่่�งอาจทำำ�ให้้เชื้้�อโรคยัังคงหมุุนเวีียนอยู่่� และฟุ้้�ง กระจายสู่่�ผู้้�อื่่น� วิิธีีการที่่ช่� ่วยลดการแพร่่กระจายได้้ดีีที่่�สุดุ จึึง เป็็นการทำำ�ให้้เกิิดการไหลเวีียนของอากาศภายนอกผ่่านทาง หน้้าต่่าง เพื่่�อให้้ละอองฝอยที่่�เกิิดจากการไอ จาม ไหลออก สู่่�ภายนอก หรืือมีีการใช้้ระบบปรัับอากาศที่่มีี� การหมุุนเวีียน อากาศภายนอกเข้้ามายัังเครื่่�องปรัับอากาศและมีีการดููด อากาศออกอีีกทางหนึ่่�ง 8
ระบบการระบายอากาศที่มีการไหลเวียน ของอากาศภายนอก
คุุณภาพชีีวิิตที่่ดีี� ของพื้้น� ที่่ภ� ายนอกบ้้านก็็เป็็นส่่วน หนึ่่�งที่่�ส่่งเสริิมให้้เกิิดกิิจกรรมทางกายและสัังคม ซึ่่�งมีีส่่วน ช่่วยให้้สุขุ ภายกายและสุุขภาพจิิตดีีขึ้้น� ได้้ พื้น้� ที่่ภ� ายนอกบ้้าน ควรมีีพื้้�นที่่�เพีียงพอเพื่่�อรองรัับกิิจกรรมทางสัังคมที่่�มีีระยะ ห่่างที่่�เพีียงพอ เพิ่่�มพื้้�นที่่�สาธารณะเปิิดโล่่งที่่�เข้้าถึึงได้้โดยไม่่ ต้้องใช้้รถยนต์์ให้้กระจายอยู่่�ย่่านต่่างๆในเมืือง ช่่วยหลีีกเลี่่ย� ง การพบปะผู้้�คนจำำ�นวนมากในระบบขนส่่งสาธารณะโดยไม่่ จำำ�เป็็น อีีกทั้้�งควรมีีคุุณสมบััติขิ องภาวะน่่าสบายอัันประกอบ ไปด้้วย การมีีอุุณหภููมิิและความชื้้�นที่่�เหมาะสม มีีอากาศ ถ่่ายเท ไร้้มลภาวะ มีีร่่มเงา พร้้อมจุุดนั่่ง� พัักรองรัับอย่่างเพีียงพอ
Space After Pandemic
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
อนาคตของงานออกแบบและ ภาวะโรคระบาด
ในยุุคที่่โ� รคระบาดกลายเป็็นภััยคุุกคามของมนุุษย์์ การออกแบบและวางแผนเพื่่�อรัับมืือจึึงเป็็นสิ่่�งจำำ�เป็็นที่่�จะ ต้้องกระทำำ�เพื่่�อบรรเทาผลกระทบที่่�จะเกิิดขึ้้�นในอนาคต อย่่างคำำ�นึึงถึึงหลายระดัับเพื่่�อประโยชน์์ขององค์์รวม ในระดัั บ เมืืองต้้ อ งมีีบริิ ก ารทางสุุ ข อนามัั ย ที่่� มีี คุุณภาพให้้ประชาชนมีีทางเลืือกในการดููแลสุุขภาพของตน และสามารถเข้้าถึึงพื้้�นที่่�ใช้้งานส่่วนรวมที่่�มีีขนาดเหมาะสม ภายใต้้ระบบการจััดการฐานข้้อมููลที่่�ออกแบบให้้สอดรัับกัับ พฤติิกรรมการใช้้งานของประชาชน นอกจากนี้้�การพััฒนา เมืืองยัังต้้องคำำ�นึึงถึึงการออกแบบโครงสร้้างพื้้�นฐานที่่�ให้้ ความสำำ�คัญ ั ด้้านสุุขภาพด้้วย สอดคล้้องกัับแนวคิิดเมืืองเพื่่�อ สุุขภาพ (Healthy City) และไบโอฟิิลิิก (Biophilic) เพื่่�อ บรรเทาความเสี่่ย� งของการเกิิดโรคทั้้�งทางกายและใจในระยะ ยาว ลดอััตราการเกิิดโรคเบื้้อ� งต้้นก่่อนเข้้าสู่่�ระบบสาธารณสุุข รวมถึึงเป้้าหมายการพััฒนาที่่�ยั่่�งยืืน ข้้อที่่� 11 เรื่่�องเมืืองและ ถิ่่� น ฐานมนุุ ษ ย์์ อ ย่่ า งยั่่� ง ยืืน ขององค์์ ก ารสหประชาชาติิ (United Nations) ที่่�กล่่าวถึึงการเข้้าถึึงบริิการสาธารณะที่่� จััดสรรโดยรััฐเช่่น การขนส่่งสาธารณะ พื้้�นที่่�สาธารณะ
นอกจากนี้้� ก ารเพิ่่� ม โครงข่่ า ยพื้้� น ฐานสีีเขีียว (Green Infrastructure) สามารถให้้ผลดีีแก่่เมืืองและ สุุขภาพผู้้�คนเช่่นกััน จึึงควรมีีการฟื้้น� ฟููเชิิงกายภาพให้้ส่ง่ เสริิม กิิจกรรมทางกายด้้วยการสััญจรหลากหลายในเมืืองทั้้�ง การ เดิินเท้้า ขี่่จั� กั รยาน รถจัักรยานไฟฟ้้า หรืือจััดสรรพื้้น� ที่่ที่� ต้่� อ้ ง ใช้้ ป ระโยชน์์ ร่่ ว มกัั น ให้้ เ พีียงพอและมีีการจัั ด การอย่่ า ง สะอาด แน่่ น อน พื้้� น ที่่� ภ ายนอกบ้้ า นมีีบทบาทสำำ�คัั ญ ในช่่ ว งการ ระบาดของเชื้้อ� ไวรััสโคโรนาในประเทศไทย เมื่่อ� การกัักตััวอยู่่� ภายในอาคารไม่่อาจตอบโจทย์์เรื่่�องคุุณภาพชีีวิิตของทุุกคน ได้้ พื้้�นที่่�สาธารณะภายนอกบ้้านที่่�เข้้าถึึงง่่ายจึึงดููจะเป็็น ทางออกที่่�ดีีสำำ�หรัับเมืืองใหญ่่ที่่�หนาแน่่นจนไม่่มีีพื้้�นที่่�โล่่ง เพีียงพอต่่อการทำำ�กิจิ กรรม จากกิิจกรรมระดมความคิิดที่่จั� ดั ขึ้้�น เราได้้หยิิบหยกพื้้�นที่่�ภายนอกบ้้าน 3 ประเภทคืือ สวน สาธารณะ สนามเด็็กเล่่น และทางเท้้า อัันเป็็นสถานที่่�ที่่�คน ทุุ ก กลุ่่�มแวะเวีียนไปบ่่ อ นครั้้� ง ที่่� สุุ ด มาวิิ เ คราะห์์ ก าร เปลี่่�ยนแปลงในเบื้้�องต้้น Space After Pandemic
Design for the future epidemic
Efficient design and management should be well-considered to alleviate the effect of future epidemics holistically. In the urban scale, good quality, easily accessible healthcare facilities should be provided for all citizens, within an efficient data management system that is designed to suit users’ behaviors. All urban infrastructure should also be designed to promote wellbeing, in order to achieve Healthy City standard and United Nations’ Sustainable Development Goals No.11. Along with reconnecting the Green Infrastructure network, enhancing walking paths, bicycle lanes, scooter lanes and public spaces, it will potentially benefit the city in the long run. Likewise, outdoor space also plays a great role during pandemic in Thailand, as staying indoors most of the time indoors may not fulfill a good quality of life. Openair public space can become a significant element to the crowded city. In this issue, Shma begins with tackling the most primary outdoor space - public park, playground and footpath.
9
Public Park
ความสะอาด seating
กระจาย
2m
washing station 2m
running
walking
cycling
แบ่งกิจกรรม ตามความเร็ว
density control
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
แนวความคิดการออกแบบสวนสาธารณะในสถานการณโรคระบาด
สวนสาธารณะ โดยทั่่�วไปสวนสาธารณะมีีลัักษณะเป็็นพื้้�นที่่�ลาน กิิจกรรม เส้้นทางวิ่่�ง สนามหญ้้า บึึงน้ำำ�� เหมาะสำำ�หรัับการ พัักผ่่อนหย่่อนใจ ช่่วงก่่อนสถานการณ์์โรคระบาดพื้้�นที่่�สวน สาธารณะมีีคนหลากหลายช่่ ว งวัั ย ใช้้ ง านพัั ก ผ่่ อ นและ ออกกำำ�ลัังกายอย่่างหนาแน่่น กระทั่่�งเมื่่�อเกิิดการผ่่อนปรน มาตรการยัังคงมีีผู้้�ออกมาใช้้งานจำำ�นวนมากแม้้ต้้องสวมใส่่ หน้้ากากอนามััยขณะออกกำำ�ลัังกาย ถึึงอย่่างนั้้�นการปฏิิบััติิ ตััวเช่่นนี้้�อาจทำำ�ให้้รู้้�สึึกเหนื่่�อยมากกว่่าปกติิ ไม่่ตอบโจทย์์
ในการทำำ�กิิจกรรม ดัังนั้้�นในอนาคตข้้างหน้้า พื้้�นที่่�สวน สาธารณะควรได้้ รัั บ การออกแบบปรัั บ ปรุุ ง เพื่่� อ สามารถ รองรัับภาวะโรคระบาดได้้ ความแออััดในการใช้้งานพื้้น� ที่่ส� าธารณะมีีสาเหตุุ หนึ่่�งเกิิดจากปริิมาณของสวนสาธารณะที่่�ไม่่เพีียงพอต่่อการ ใช้้ ง านและไม่่ อ ยู่่�ในระยะที่่� ส ามารถเดิิ น เข้้ า ถึึงได้้ พื้้� น ที่่� สาธารณะในอนาคตจึึงอาจมีีขนาดที่่�เล็็กลงและกระจายไป ตามพื้้�นที่่�ต่่างๆอย่่างทั่่�วถึึง รวมถึึงมีีพื้้�นที่่�ใช้้งานกิิจกรรมที่่� ยืืดหยุ่่�น อาจออกแบบได้้โดยการใช้้ลวดลายบนพื้้�น
UV light after playing
The first mock-up we came up with is ‘public park’, which we foresee as a primary outdoor potential space that should be accessible to every citizen, especially in the dense urban area. Having an outdoor open space can enhance leisure activities and exercise for people of all ages. Even if the safety criteria such as masks wearing or body temperature checking has been practiced seriously in the present, a new standard of public park might need to be rethink wisely to further overcome certain threats in the future. One reason that causes high dense usage of public parks is the lack of sufficient amount of these spaces in the city, not having enough green to access within walkable distance in the neighborhood. As a result, the future public parks will become smaller, be distributed to every district and can accommodate flexible activities. With landscape planning, we can design flexible usage with floor patterns, grid system and health facility spots – hand wash station or hand sanitizer station, and sufficient sunlight. Lush plantings can also be grown to help ventilate clean air, along with installing data tracking technology to control people’s density.
การออกแบบบนระบบกริิด มีีจุุดอำำ�นวยความสะดวกด้้าน สุุขภาพอย่่างเพีียงพอ เช่่น จุุดให้้บริิการน้ำำ��ล้้างมืือ และการ ใช้้พืืชพรรณเพื่่�อช่่วยถ่่ายเทอากาศ มีีแสงแดดเข้้าถึึง พร้้อม เทคโนโลยีีการติิดตามจำำ�นวนผู้้�ใช้้งาน
ความสะอาด
ควบคุมเวลา สนามเด็็กเล่่น ระหว่่างการกัักตััวช่่วงภาวะโรคระบาดที่่�ผ่่านมา เด็็ ก ถูู ก จัั ด ให้้ เ ป็็ น หนึ่่� ง ในกลุ่่�มเสี่่� ย งจากโรคระบาดด้้ ว ย พฤติิกรรมที่่�มัักมีีการหยิิบจัับสิ่่�งของตามพััฒนาการของวััย ยิ่่ง� ทำำ�ให้้ต้อ้ งระมััดระวัังมากขึ้้น� พื้้น� ที่่เ� ล่่นของเด็็กจึึงเป็็นพื้้น� ที่่� หนึ่่�งที่่�ท้้าทายในการออกแบบเพื่่�อรองรัับสถานการณ์์โรค ระบาด เพราะต้้ อ งทำำ� ให้้ มีีสุุ ข อนามัั ย และไม่่ ขัั ด ขวาง พััฒนาการของเด็็ก สนามเด็็กเล่่นที่่ดีี� ไม่่ควรมีีแต่่เครื่่อ� งเล่่น แต่่จัดั สรร พื้้�นที่่�วิ่่�งเล่่นทางกายภาพอื่่�นๆไว้้ด้้วย โดยเฉพาะการเล่่นใน พื้้�นที่่�ธรรมชาติิที่่�ใช้้องค์์ประกอบเช่่น ต้้นไม้้ ดิิน น้ำำ� ด้ � ว้ ยวััสดุุ ที่่�เป็็นพื้้�นผิิวด้้านทำำ�ให้้เชื้้�อโรคมีีช่่วงชีีวิิตบนพื้้�นผิิวได้้ไม่่นาน เท่่ากัับวััสดุุสัังเคราะห์์ อีีกทั้้�งยัังช่่วยกระตุ้้�นพััฒนาการของ เด็็กผ่่านประสาทสััมผััสทั้้�ง 5 ด้้วย ส่่วนพื้้น� ที่่เ� ล่่นของเด็็กที่่อ� ยู่่� ภายใต้้ผู้้�ดููแลควรมีีการควบคุุมจำำ�นวนของเด็็กและจััดสรร เวลาการทำำ�กิจิ กรรม โดยออกแบบขอบเขตของพื้้น� ที่่เ� ล่่นด้้วย ลวดลาย พื้้� น ผิิ ว ของวัั ส ดุุ ที่่� ใช้้ ค วรทำำ� ความสะอาดง่่ า ย ทำำ�ความสะอาดตนเองได้้หรืือ อาจมีีการฆ่่าเชื้้�อโรคด้้วยการ ฉายแสงยููวีีขณะที่่�เด็็กไม่่อยู่่�ในพื้้�นที่่�เล่่น 10
nature play wildflower
outdoor learning
กําหนดพื้ นที่ แนวคิดการออกแบบพื้นที่เลนของเด็กในสถานการณโรคระบาด Playground
Our second mock up idea is ‘playground’. Children can be seen as one of the most vulnerable groups of people to diseases and illness. Especially due to their developing behaviors through stages of growing up, we need to pay attention and be cautious to them. Thus, the playground becomes one of the most challenging spaces to design with the goal to pursue hygiene while retaining a quality learning place. A good space for playing should include not only play equipment, but also arrange alternative space for
Space After Pandemic
other physical activities. There might be nature space that consists of trees, soil or water. With the use of rough surfaces, germs can only survive for a lesser duration than synthetic material, along with enhancing all children’s five senses. For any play space that is maintained by caretakers or keepers, there should be a control on the amount of children and activity duration. Here, certain designs such as floor patterns, materials that are easy to clean, self-cleaning materials or even arranging tidying courses by UV projection.
ทางเท้้า อาจกล่่าวได้้ว่่าการเดิินเท้้านัับว่่าเป็็นการสััญจร ขั้้น� พื้้น� ฐานในเมืือง ในภาวะปกติิทางเท้้าในจุุดที่่มีี� การใช้้งาน มากในเมืืองไม่่สามารถรองรัับการใช้้งานได้้เพีียงพอและ ไม่่สามารถเดิินได้้สะดวกสบายนััก ทำำ�ให้้เมื่่�อเกิิดภาวะโรค ระบาด เห็็นได้้ชัดั ว่่าพื้้น� ที่่ท� างเท้้าไม่่สามารถรองรัับการรัักษา ระยะห่่างระหว่่างกัันได้้ ในอนาคตทางเท้้าของเราควรได้้รัับ การพััฒนาไปในแนวทางที่่ใ� ห้้ความสะดวกสบายแก่่ผู้้�เดิินเท้้า มากขึ้้�น เพราะสามารถส่่งเสริิมกิิจกรรมทางกาย และช่่วย หลีีกเลี่่ย� งการใช้้ระบบขนส่่งที่่จ� ะต้้องสััมผััสกัับผู้้�คนอื่่น� ๆด้้วย ทั้้�งนี้้�บริิเวณทางเท้้าควรมีีจุุดทำำ�ความสะอาดให้้บริิการเช่่น เครื่่�องล้้างมืืออััตโนมััติิเพื่่�อลดการสััมผััส ในการจััดการกัับ ขนาดพื้้�นที่่ท� างเท้้า ควรมีีการขยายใหญ่่ขึ้้�นในบริิเวณถนนที่่� รถยนต์์ไม่่เยอะ อาจเปลี่่�ยนพื้้�นที่่�ผิิวถนนส่่วนหนึ่่�งเป็็นทาง เดิินชั่่ว� คราวได้้ พร้้อมจััดสรรพื้้น� ที่่ท� างเท้้าสำำ�หรัับการเดิินโดย แยกทิิศทางและความเร็็วในการสััญจร ตรงนี้้�เองอาจเพิ่่�มการ สัั ญ จรทางเลืือกเข้้ า มาใช้้ ง านร่่ ว มกัั น บนทางเท้้ า ได้้ เช่่ น สกููตเตอร์์ นอกจากนี้้�การค้้าขายบนทางเท้้าที่่�ต้้องการพื้้�นที่่� รอซื้้�อสิินค้้า อาจกำำ�หนดการเว้้นระยะห่่างจากเส้้นทางเดิิน หลัักในจุุดที่่มีี� การขายสิินค้้าได้้ด้้วย
Footpath In the normal period, footpaths by the uncongested roads cannot accommodate a sufficient number of people or provide efficient mobility much. As a result, when pandemic occurred, it is clear that these areas cannot withstand physical distancing at all. Footpaths should then be developed to meet good mobility for users, encouraging physical activities and being alternative spaces to prevent the use of public transit that is vulnerable in physical contact. Cleaning facilities such as automatic hand washing machines
should be provided. Footpaths in the area with less traffic could be expanded by utilizing some road space as temporal pedestrians. On the walking space itself, the space can be separated based on walking direction and commuting pace, along with adding up lanes for alternative vehicles like scooters. Mobility can also be enhanced furthermore by supporting physical distancing space nearby the footpath selling vendors.
จัดการการสัญจร hawker station
active transport
seating 2m
washing station
ขยายพื้ นที่ slower activity
ความสะอาด เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
แนวคิดการออกแบบทางเดินเทาในสถานการณโรคระบาด
Photo by Sirotorn Sumpunkulpak
Content by A think tank unit who works on landscape design methodology development, archiving and researching landscape knowledge
ทีีม think tank ผู้้ทำ � ำ�งานด้้านการพััฒนาวิิธีก ี ารออกแบบภููมิิทััศน์์ รวบรวมและวิิจัย ั องค์์ความรู้้ด้ � ้านภููมิิสถาปััตยกรรมใหม่่ๆ
Space After Pandemic
11
10
การลงทุุน กัับโครงสร้้างพื้้�นฐาน แห่่งอนาคต Green and Health Infrastructure to Invest
ถ้้าเราอยากได้้ผลลััพธ์์เดิิม เราก็็ทำำ�แบบเดิิม แต่่ถ้้าอยากได้้
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
ี ารและวิิธีคิ ี ิดเสีียใหม่่ ผลลััพธ์์ใหม่่ที่่�ดีีขึ้�น ้ เราก็็ต้้องเปลี่่�ยนวิิธีก
12
เรากำำ�ลัังพููดถึึง โอกาสที่่� COVID-19 ให้้เราในการ reset และ restart สัังคมโลก อีีกครั้้�ง ว่่าเราจะสร้้างโลกของเรากลัับมาอย่่างไร วิิกฤติิไวรััส COVID-19, climate change และอีีกหลายภััยคุุกคามทางสิ่่�งแวดล้้อมที่่กำ� ำ�ลัังตามมานั้้�น เป็็นผลจากกิิจกรรมทางเศรษฐกิิจ และการพััฒนาของมนุุษย์์ที่ทำ่� ำ�ลายสมดุุลทางธรรมชาติิ นักั วิิทยาศาสตร์์พบว่่า การทำำ�ชายป่่า และการเสีียสมดุุลของระบบนิิเวศ ส่่งผลให้้สััตว์์ป่่าเข้้าใกล้้กัับมนุุษย์์มากขึ้้�น สุ่่�มเสี่่�ยงต่่อการ แพร่่ของเชื้้อ� ไวรััสสู่่�มนุุษย์์ และยัังพบว่่า ภาวะโลกร้้อนส่่งผลโดยตรงต่่อการเกิิดไวรััสสายพัันธุ์์� ใหม่่ๆ นอกจากนี้้� COVID-19 ยัังทำำ�ให้้เราเห็็นถึึงความเชื่่�อมโยงระหว่่าง สิ่่�งแวดล้้อม สุุขภาพ และเศรษฐกิิจว่่ามัันส่่งผลต่่อกััน ซึ่่�งจากการทำำ�ลายธรรมชาติิในอดีีตที่่�ผ่่านมาส่่งผล ต่่อราคามหาศาลทางเศรษฐกิิจและสัังคมที่่�เราต้้องจ่่ายในวัันนี้้� โดยหลายประเทศในโลก ได้้ ทุ่่�มเงิินงบประมาณจำำ�นวนมหาศาล เพื่่�อการฟื้้�นฟููเศรษฐกิิจ สัังคม และเมืือง รวมถึึงรััฐบาล ไทยที่่�ทุ่่�มงบจำำ�นวน 4 แสนล้้านบาท เพื่่�อสร้้าง infrastructure ที่่�สามารถกระตุ้้�นเศรษฐกิิจ และสร้้างงานได้้ คำำ�ถามสำำ�คััญ คืือเราจะใช้้เงิินเหล่่านั้้�นไปพััฒนา infrastructure แบบไหน เพื่่�อให้้ แน่่ใจว่่า เราจะไม่่เดิินตามความผิิดพลาดในอดีีตที่่�นำำ�มาสู่่�หายนะอย่่างทุุกวัันนี้้� การพััฒนานี้้� คงไม่่ใช่่ เขื่่อ� นแข็็งริิมน้ำำ�� หรืือทางเลีียบแม่่น้ำำ��ที่่เ� ป็็นสาธารณููปโภคคอนกรีีตที่่ทำ� ำ�ลายระบบนิิเวศ ชายน้ำำ�� หรืือแลนด์์มาร์์กหน้้าตาประหลาด ที่่�ได้้ผลต่่อการท่่องเที่่�ยว แต่่ไม่่ได้้ช่่วยฟื้้�นฟููสิ่่�ง แวดล้้อม ป้้องกัันภััยพิิบัติั ใิ ดๆ ไม่่ใช่่เขื่่อ� นกัันคลื่่น� ที่่กั� นั ไม่่ได้้จริิงซำ้้��ยัังถููกคลื่่น� ซััดทำำ�ลายและเอา ชายหาดหายไปมากกว่่าเดิิม ไม่่ใช่่โรงไฟฟ้้าถ่่านหิิน โรงงานอุุตสาหกรรมที่่ทำ� �ำ ลายสิ่่�งแวดล้้อม ไม่่ใช่่การทำำ�เมืืองเพื่่�อรถยนต์์ที่่�ไม่่เหลืือที่่�ทางให้้คนและต้้นไม้้ได้้เติิบโต และที่่�สำำ�คััญคงไม่่ใช่่ การพััฒนาที่่�ขาดการฟัังเสีียงประชาชน เราน่่าจะใช้้โอกาสนี้้�ในการแก้้ไขปััญหาเฉพาะหน้้าพร้้อมกัับการแก้้ไขปััญหาระยะ ยาวไปพร้้อมกัับเพื่่�อสร้้างความยั่่�งยืืนให้้กัับสัังคมเราอย่่างแท้้จริิง นั่่�นคืือการลงลงทุุน Green infrastructure เพื่่�อพััฒนาสิ่่�งแวดล้้อมที่่�ยั่่�งยืืน ในหลายประเทศ เช่่นเยอรมนีี มีีการตั้้�งงบ ประมาณรายจ่่ายเพื่่�อกระตุ้้�นเศรษฐกิิจผ่่านกิิจกรรมที่่�ช่่วยลดการปล่่อยก๊๊าซเรืือนกระจก ปากีีสถาน มีีการใช้้งบประมาณในการจ้้างงานคนว่่างงานจากผลกระทบ COVID-19 เพื่่�อปลููก ต้้นไม้้ในทะเลทรายตามแผนการเพื่่�มพื้้�นที่่ป่� ่าจากทะเลทราย มีีรายงานจาก the Organisation for Economic Co-operation and Development (OECD)ว่่าระหว่่างปีี 2008-2009 ในช่่วงวิิกฤติิเศรษฐกิิจประเทศเกาหลีีใต้้ ใช้้เม็็ดในการฟื้้�นฟููราว 70% ไปกัับการลงทุุนด้้านสิ่่�งแวดล้้อม ซึ่่�งสร้้างผลการคืืนทุุนเร็็วกว่่า การลงทุุนด้้านอื่่น� หรืือในช่่วงวิิกฤติิเศรษฐกิิจปีี 2009 ประเทศสหรััฐอเมริิกาใช้้เงิินฟื้้น� ฟููไปกัับ การลงทุุนด้้านพลัังงานสะอาดและระบบขนส่่งมวลชน ซึ่่�งสามารถสร้้างงานได้้มากกว่่าการ ลงทุุนด้้านอื่่�น Green and health infrastructure ที่่�จะทำำ�ให้้เศรษฐกิิจดีีขึ้้�น ทุุกคนมีีชีีวิิตที่่�ดีี แข็็งแรง ยั่่�งยืืน และต่่อสู้้�กัับ climate change ในการลดการปล่่อยก๊๊าซเรืือนกระจก (zero emission ) ได้้ในขณะเดีียวกััน 10 Green and Health Infrastructure to Invest
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
10 Green and Health Infrastructure to Invest
13
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
พื้้�นที่่�สีเี ขีียวฟอกอากาศ Green Space for Air Purifying จากการศึึกษาของนัักวิิทยาศาสตร์์พบว่่า มลพิิษในอากาศส่่งผลโดยตรงต่่ออััตรา การติิดเชื้้อ� และเสีียชีีวิิตมากขึ้้น� ต่่อไวรััส COVID-19 ดัังนั้้�นการมีีสภาพแวดล้้อมที่่ช่� ว่ ยให้้อากาศ บริิสุทธิ์์ ุ ป� ลอดมลพิิษนั้้�นเป็็นสิ่่ง� จำำ�เป็็น ปริิมาณต้้นไม้้และพื้้น� ที่่สีี� เขีียวในเมืืองคืือเครื่่อ� งมืือสำำ�คัญ ั ที่่�จะช่่วยลดการแพร่่กระจายของ pm 2.5 และดููดซัับก๊๊าซพิิษที่่�ปนเปื้้�อนในอากาศลงได้้ อีีกทั้้�งยัังช่่วยลดปริิมาณเกราะความร้้อนในเมืืองที่่�ส่่งผลต่่อสุุขภาพของผู้้�คนด้้วย หลายเมืือง ในโลกมีีการรณรงค์์ในการเพิ่่�มปริิมาณต้้นไม้้ปกคลุุมในเมืืองให้้มากถึึง 40-60 % ที่่ป� ารีีส ลงทุุนกว่่า 84 ล้้านเหรีียญในการเพื่่�มพื้้น� ที่่สีี� เขีียวบนอาคารและบนดิินกว่่า 30 เอเคอร์์ ภายในปีี 2020 มิิลานมีีแผนที่่จ� ะปลููกต้้นไม้้ให้้ได้้ 3 ล้้านต้้นภายในปีี 2040 ในขณะที่่ล� อนดอน มีีแผน National Park city โดยจะลงทุุนให้้เมืืองมีีพื้้�นที่่�สีีเขีียวมากถึึง 50% ของพื้้�นที่่�เมืือง From recent researches, it is said that air pollution is directly correlated with the risk of infection and dying from Covid-19. As a result, living in a clean pleasant environment then becomes basic needs for urban life. Growing trees and creating green spaces can help reduce PM 2.5 emission, absorb chemical substances in the air and reduce urban heat island effect. Many cities around the globe have been raising campaigns on increasing the amount of urban trees to 40-60 %. For example, Paris has invested more than 84 million dollars on creating green spaces on buildings and on-land for about 30 acres within 2020. Moreover, Milan has planned to grow more 3 millions trees within 2040 while London has come up with a National Park City plan to increase urban green spaces to 50%.
พื้้�นที่่�สีเี ขีียวขนาดเล็็กสร้้างภููมิคุ้้� ิ มกัันทางกายและใจ Pocket Park for Body and Mind ด้้ ว ยวิิ ถีี การใช้้ ชีีวิิ ต ในเมืืองส่่ ง ผลให้้ ค นป่่ ว ยด้้ ว ยโรคกลุ่่�มไม่่ ติิ ด ต่่ อ NCDs (Non-Communicable Diseases) เช่่น โรคหััวใจ ความดัันโลหิิตสููง เป็็นต้้น ที่่�มีีสาเหตุุหลััก มาจากพฤติิกรรมเนืือยนิ่่�งในชีีวิิตประจำำ�วันั การเข้้าถึึงพื้้น� ที่่ส� วนสาธารณะเพื่่�อใช้้เป็็นที่่สุ� ขุ ภาวะ เพื่่�อออกกำำ�ลังั กาย ได้้ใกล้้ชิดิ ธรรมชาติิ และเกิิดการปฏิิสัมั พัันธ์์ จึึงเป็็นปััจจััยที่่จ� ะช่่วยลดความ เสี่่�ยงต่่อการป่่วยด้้วยโรคกลุ่่�มนี้้�ได้้ อีีกทั้้�งยัังส่่งผลดีีต่่อภาวะจิิตใจให้้มีีสุุขภาพจิิตที่่�แข็็งแรงขึ้้�น อีีกด้้วย มาตรฐานใหม่่ของ WHO กำำ�หนดไว้้ว่่า เราควรที่่�จะสามารถเข้้าถึึงพื้้�นที่่�สวน สาธารณะได้้ทุุกๆ 400 เมตร เพื่่�อให้้แน่่ใจว่่าทุุกกลุ่่�มของคนในเมืืองจะสามารถเข้้าถึึงบริิการ สาธารณะที่่�เป็็นประโยชน์์ต่่อสุุขภาพได้้ (จากการศึึกษาพบว่่า คนที่่�อยู่่�ใกล้้หรืือเข้้าถึึงสวน สาธารณะได้้ง่่าย จะออกกำำ�ลัังกายได้้มากกว่่า) pocket park หรืือสวนสาธารณะขนาดเล็็ก ที่่�จะกระจายแทรกไปตามจุุดต่่างๆ ของเมืืองย่่านและชุุมชน คืือสิ่่�งที่่�รััฐควรลงทุุนเพื่่�อเป็็น มาตรการเชิิ ง รุุ ก ทางสาธารณะสุุ ข เพื่่� อ สร้้ า งเสริิ ม สุุ ข ภาพที่่� แ ข็็ ง แรงของพลเมืือง ซึ่่�ง pocket park เหล่่านี้้�สามารถพััฒนาจากที่่�ดิินของรััฐและเอกชน สถานที่่�ราชการ วััด โรงเรีียน ที่่�ว่่างหน้้าอาคาร สำำ�นัักงาน เป็็นต้้น
It can be said that urban lifestyle with less physical movement has undeniably caused Non-Communicable Diseases (NCDs) like heart disease and hypertension. Providing sufficient public spaces for exercise and social interaction along with nature reconnection can be a solution to help cure the symptoms and enhance mental health. The World Health Organization (WHO) indicated a new standard, capability to access public space within 400 meters as researches have shown that people who live nearby these spaces are likely to exercise more than those who live far away. Parks can become smaller as pocket parks, distributed to various spots around the city. They can even be transformed from both existing private and public property such as government facilities, temples, schools, vacant lots in front of buildings, and office spaces.
14
10 Green and Health Infrastructure to Invest
แปลงผัักจากพื้้�นที่่�ว่า่ งในเมืือง Edible Garden from Vacant Lots การสร้้างความยั่่�งยืืนทางอาหารเป็็นสิ่่�งที่่�สำำ�คััญในยุุคหลัังจากนี้้� เพราะที่่�ผ่่านมา เมืืองต้้องพึ่่�งพาการผลิิตจากภายนอกซึ่่ง� สร้้างความเปราะบางในช่่วงวิิกฤติิ การพึ่่�งพาการผลิิต อาหารด้้วยตััวเองในเมืืองนอกจากจะช่่วยลดรายจ่่ายแล้้ว ยัังเป็็นการสร้้างอาหารที่่�ปลอดภััย ลดการขนส่่งและสร้้างความร่่วมมืือของสัังคมที่่�แบ่่งปัันกัันด้้วย ความจริิงมีีพื้้�นที่่�ในเมืืองที่่ยั� ัง ไม่่ได้้ใช้้ประโยชน์์ทั้้�งของรััฐและเอกชนจำำ�นวนมาก ทั้้�งบนดิิน ใต้้ทางด่่วน หรืือแม้้กระทั่่�งบน หลัังคา หากรััฐสามารถกระตุ้้�นการนำำ�พื้้�นที่่�เหล่่านี้้�มาพััฒนาเป็็น urban farm ผ่่านการสร้้าง incentive policy เชื่่อ� มโยงเครืือข่่ายทางเกษตรที่่มีี� องค์์ความรู้้� สร้้างความมีีส่่วนร่่วมกัับชุมุ ชน และหน่่วยงานท้้องถิ่่�นในการบริิหารจััดการ จะสามารถกระตุ้้�นให้้เมืืองสามารถผลิิตอาหารที่่� ยั่่�งยืืนได้้ในอนาคต In the recent past, cities rely on food production from rural areas which is likely vulnerable during certain crises. Growing in the urban area can help reduce transportation cost and get safe food to consume, as a result, creating a sharing community. Many unutilized spaces in the cities can be developed into urban farms through incentive policy, connecting numerous agricultural networks together. Therefore, this can help create collaboration between communities while allowing cities to cope with sufficient food resources in the future at the end.
Waterway Revitalization โครงข่่ายคููคลองที่่เ� ชื่่อ� มต่่อกัับแม่่น้ำำ��ถืือเป็็นเส้้นเลืือดฝอยและเส้้นเลืือดใหญ่่ที่ห่� ล่่อ เลี้้ย� งชีีวิิตคนและระบบนิิเวศตั้้ง� แต่่อดีีต แต่่การพััฒนาเมืืองใหญ่่ในปััจจุุบันั ได้้ทำำ�ให้้คูคู ลองและ แม่่น้ำำ��กลายเป็็นท่่อระบายน้ำำ��ด้้วยการสร้้างเขื่่�อนคอนกรีีตริิมสองฝั่่�งคลองและแม่่น้ำำ�� ทำำ�ลาย พื้้น� ที่่ช� ายน้ำำ��และวิิถีีชีีวิติ ตลอดจนมีีการระบายน้ำำ��เสีียจากเมืืองที่่ยั� งั ขาดระบบบำำ�บััดที่่เ� พีียงพอ การฟื้้�นฟููคลองให้้กลัับมาเป็็น green infrastructure ของเมืืองเหมืือนในอดีีตอีีกครั้้�งจึึงเป็็น กลไกสำำ�คััญที่่�จะทำำ�ให้้เมืืองอยู่่�ร่่วมกัับธรรมชาติิได้้และช่่วยเมืืองในการเผชิิญกัับภััยพิิบััติิใน อนาคตได้้ โดยการเพิ่่�มศัักยภาพในการระบายน้ำำ��ท่ว่ ม ผสานพื้้น� ที่่เ� กษตรและพื้้น� ที่่ว่� า่ งริิมคลอง ในการเป็็นแก้้มลิิง ฟื้้น� ฟููไม้้ชายน้ำำ��ริมิ ตลิ่่ง� ช่่วยในการบำำ�บััดน้ำำ��และเป็็นที่่อ� ยู่่�อาศััยของสััตว์์ เก็็บ รัักษาต้้นไม้้ริมิ คลองสร้้างเป็็นโครงข่่ายพื้้น� ที่่สีี� เขีียวต่่อการพัักผ่่อนและเป็็น natural corridor ให้้กับสั ั ัตว์์ในเมืือง เป็็นทางเลืือกเส้้นทางสััญจร กระตุ้้�นการใช้้ที่่�ดิินและเศรษฐกิิจของย่่านริิม คลองที่่�จะช่่วยฟื้้�นวิิถีีนิิมน้ำำ��ให้้กลัับมาอย่่างร่่วมสมััย
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
ู ลอง การฟื้้�นฟูู แม่่น้ำ��คู ำ ค
เส้้นทางเดิินทางสีีเขีียว Green Corridor การเดิินทางเป็็นกลไกสำำ�คัญ ั ในเมืือง แต่่การเดิินทางในปััจจุุบันั นั้้�นพึ่่�งพาระบบขนส่่ง มวลชนและรถยนต์์ จึึงก่่อให้้เกิิดมลพิิษในอากาศ และการรวมตััวในระบบขนส่่ง และยัังสุ่่�ม เสี่่ย� งต่่อการแพร่่กระจายของไวรััส ในยุุคที่่พ� ฤติิกรรมของผู้้�คนมีีความห่่วงกัังวลต่่อสุุขภาพมาก ยิ่่�งขึ้้�น การลงทุุนสร้้างโครงข่่ายทางเดิินทางจัักรยานในเมืืองที่่�มีีคุณ ุ ภาพ ปลอดภััย เพื่่�อเชื่่�อม แหล่่งงาน แหล่่งพัักอาศััย ตลอดจนแหล่่งกิิจกรรมของผู้้�คน จึึงเป็็นสิ่่�งจำำ�เป็็นในการสร้้างทาง เลืือกการเดิินทางที่่�ทั่่�วถึึง ปลอดภััย และมีีคุุณภาพมากขึ้้�น อีีกทั้้�งยัังช่่วยลดการใช้้พลัังงาน ลดการปล่่อยก๊๊าซเรืือนกระจก ลดมลพิิษในอากาศ และส่่งเสริิมสุุขภาพให้้ดีีขึ้้�นด้้วย ในหลาย เมืืองใหญ่่ทั่่�วโลกเริ่่�มมีีการลงทุุน เพื่่�อลดเลนถนน เพิ่่�มเลนจัักรยาน ขยายทางเท้้า เพื่่�อตอบ สนองกัับพฤติิกรรมใหม่่ของผู้้�คนที่่�เห็็นการเดิินและจัักรยาน เป็็นสิ่่�งจำำ�เป็็นในชีีวิิตประจำำ�วััน มากกว่่าแค่่การพัักผ่่อน ที่่�อัังกฤษทุ่่�มเงิินราว 250 ล้้านปอนด์์เพื่่�อปรัับโครงข่่ายจัักรยานและ ขยายทางเท้้า มิิลานกำำ�ลัังลงทุุนในการสร้้างทางจัักรยานเพิ่่�มราว 35 กม ในเมืือง ) เมืืองใหญ่่ อย่่างกรุุงเทพ มีีพื้้�นที่่�รกร้้างที่่�อยู่่�ริิมคลอง ริิมทางรถไฟ และใต้้ทางด่่วน ที่่�ไม่่ได้้ใช้้ประโยชน์์ เป็็นจำำ�นวนมาก ที่่�เราสามารถนำำ�มาเชื่่�อมโยงให้้เกิิดเป็็นโครงข่่ายการเดิินทางจัักรยานและ สวนสาธารณะ (linear park) ควบคู่่�กัันไปได้้ Whereas commuting is an important part of our daily urban life, many times, transit system and private vehicle usage has significantly caused air pollution and even increased the risk of virus spreading. Wellbeing can be enhanced by providing a green bicycle network to connect workplaces, residences and activities together. Furthermore, it can help reduce energy consumption, greenhouse gas emissions and air pollution. Many cities around the globe have started to invest in reducing car roads and expanding footpaths to encourage walking and cycling as a new way of commuting such as 250 million pound investment on bicycle network renovation and footpath extension in England, and 35 km bicycle lanes expansion in Milan. Similarly, Bangkok already has unutilized spaces including idle spaces along canals, railways and under expressways, which can potentially be revitalized into green corridors and linear parks for citizens.
Waterway network has been the main infrastructure that nourishes our lives and ecosystem since ancient times. However, the urban development has inappropriately shaped them into a drainage way, ending up destroying water culture and the ecology without concerning other diverse aspects. Accordingly, cities can become more livable and able to thrive sustainably by restoring these waterways as green infrastructure. We might start with enhancing the capability to drain and retain water by merging agricultural areas and vacant lots along the canal as Kaem Ling (retention method) together with recovering aquatic plants to help purify water and provide habitats for animals. Thus, these areas can become recreational areas for urban citizens while performing as natural corridors for urban wildlife, as a result enhancing land usage and district economy.
10 Green and Health Infrastructure to Invest
15
อาคารเขีียว Green Building อาคารถืือเป็็นสิ่่ง� ปลููกสร้้างที่่ใ� ช้้ทรัพั ยากรในการทำำ�ทั้้ง� วััสดุุการขนส่่ง ตลอดจนการ ใช้้พลัังงานในการทำำ�ให้้อาคารตอบสนองกัับการใช้้งานต่่างๆทั้้�งเครื่่�องปรัับอากาศ ไฟฟ้้าแสง สว่่าง นอกจากนั้้�นอาคารยัังสร้้างภาวะเกราะความร้้อนที่่�ส่่งผลต่่ออุุณหภููมิิในเมืืองที่่�สููงขึ้้�น ประกอบกัับความท้้าทายเรื่่�องสุุขลัักษณะที่่�มากขึ้้�นจาก COVID-19 การปรัับเปลี่่�ยนอาคารที่่� มีีอยู่่�แล้้วในเมืืองหรืือแนวทางในการสร้้างอาคารต่่อจากนี้้�ให้้เป็็นมิิตรกัับสิ่่�งแวดล้้อมมากขึ้้�น สามารถมีีอากาศถ่่ายเทกัับภายนอก ลดการใช้้เครื่่อ� งปรัับอากาศ มีีหลัังคาเขีียวตลอดจนพื้้น� ที่่� สีีเขีียวแทรกตามจุุดต่่างๆ เพื่่�อลดความร้้อนสู่่�อาคารและแสงสะท้้อนสู่่�ภายนอก ตลอดจนใช้้ วััสดุุที่่�ผลิิตได้้ในพื้้�นที่่� ใช้้พลัังงานสะอาด มีีระบบการจััดการขยะที่่ดีี มีี � ระบบการคััดกรองและ ทำำ�ความสะอาดเชื้้�อที่่�ได้้มาตรฐาน มีีระบบเทคโนโลยีีบริิหารจััดการการใช้้พลัังงานในอาคาร อย่่างมีีประสิิทธิิภาพทั้้�งนี้้�เพื่่�อให้้อาคารไม่่เพีียงแต่่เป็็นที่่�ทำำ�กิิจกรรมผู้้�คนได้้อย่่างปลอดภััยแต่่ ยัังลดผลกระทบทบต่่อสิ่่�งแวดล้้อมด้้วย การลงทุุนนี้้�จะสร้้างงานและกระตุ้้�นเศรษฐกิิจได้้มาก จากอุุตสาหกรรมการก่่อสร้้างและเทคโนโลยีีที่่�เกี่่�ยวข้้อง เช่่น ลอนดอนได้้กำำ�หนดให้้อาคาร สร้้างใหม่่จากนี้้ต้� อ้ งเป็็น net zero emission คืือปล่่อยก๊๊าชเรืือนกระจกเป็็นศููนย์์ ภายในปีี 2030)
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
Building design needs to be rethought as we are facing new challenges on healthcare due to Covid-19. Starting from a sustainable construction, the building should provide natural ventilation to lessen the use of air conditioning, and be built up with a green roof and green spaces scattered around the space to prevent heat from outside, along with applying local material. In addition, it should be equipped with a quality waste management system, screening system, standard cleaning plan along with an efficient energy management system. As a result, the greener building will not only encourage safety usage but also reduce its impact on the environment. This investment can potentially increase job opportunities and stimulate the economy from the construction industry and such technologies integrated such as the new building standard of net zero emission in London.
พลัังงานสีีเขีียว Green Energy เราได้้เห็็นปรากฏการณ์์ที่่�การลดการใช้้พลัังงานที่่�มาจากฟอสซิิลในช่่วงล็็อกดาวน์์ ส่่งผลให้้การปล่่อยก๊๊าชเรืือนกระจกลดลง ส่่งผลดีีต่่อวิิกฤติิโลกร้้อนที่่เ� รามีีเป้้าหมายในการลด ปริิมาณการปช่่อยก๊๊าซก่่อนที่่ส� ถานการณ์์จะเลวร้้ายไปมากกว่่านี้้� พลัังงานสีีเขีียวคืือการลงทุุน ที่่�คุ้้�มค่่าในเมื่่�อกิิจกรรมของมนุุษย์์ยัังต้้องดำำ�เนิินไปบนโลกใบนี้้� เพราะนอกจากจะสร้้างงาน แล้้ว ยัังเป็็นการสร้้างทางเลืือกของพลัังงานทดแทนฟอสซิิลที่่�กำำ�ลัังจะหมดไป และที่่�สำำ�คััญ เป็็นพลัังงานที่่ยั่่� ง� ยืืนไม่่ส่ง่ ผลกระทบต่่อสิ่่ง� แวดล้้อมอัันจะนำำ�มาซึ่่ง� ปััญหาได้้ในอนาคต ในเมืือง มีีหลัังคาและพื้้�นที่่�ดาดแข็็งลานจอดรถ ลานคอนกรีีต อยู่่�เป็็นจำำ�นวนมาก ที่่�เป็็นทรััพยากร ต้้นทุุนที่่มีี� ที่่�เราสามารถปรัับมาเป็็นแหล่่งพลัังงานจากsolar ได้้ มีีการประเมิินว่่า การลงทุุน ด้้าน พลัังงานสีีเขีียวจะช่่วยสร้้าง GDP ของโลกได้้ประมาณ 1 แสนล้้านดอลลาร์์ และสร้้าง งานได้้ราว 42 ล้้านอััตรา ภายในปีี 2050 We have seen the reduction of greenhouse gas emissions due to the lesser usage of fossil fuels, resulting in mitigating climate change. Correspondingly, green energy becomes a valuable investment as a sustainable alternative for fossil fuels, lessening the impact on the environment in the long-term. Having urban rooftop and hardscape as assets, we can transform these spaces into solar energy production areas. It is estimated that green energy investment will help increase around a hundred thousand million dollars of global GDP, and create more than 42 million jobs opportunities within 2050.
การจััดการขยะ Waste Management ด้้วย Covid 19 ทำำ�ให้้เราผลิิตขยะมากขึ้้�นมากขึ้้�นจนกกิิจกรรมเพื่่�อการบริิโภค การdelivery และเพื่่�อการรัักษาสุุขอนามััย ส่่งผลให้้ปริิมาณขยะเพิ่่�มขึ้้�น (ขยะจากครััวเรืือน ทั้้�งประเทศไทยเพิ่่�มขึ้้น� ในช่่วง lockdown กว่่า 15% เทีียบกัับช่ว่ งเวลาปกติิ) สิ่่�งที่่รั� ฐั ต้้องลงทุุน จากนี้้� คืือการส่่งเสริิมวััสดุุ อุปุ กรณ์์ ที่่ย่� อ่ ยสลายได้้ให้้สามารถใช้้ได้้อย่่างทั่่�วถึึง เพื่่�อลดปริิมาณ ขยะต้้นทาง อีีกทั้้�งระบบการทิ้้�งขยะที่่�ต้้องรวมขยะติิดเชื้้�อ นอกจากนั้้�นอาจต้้องนำำ�เทคโนโลยีี มาช่่วยในการ คััดแยกขยะเพื่่�อใช้้ในการรีีไซเคิิลแทนการใช้้คนเพื่่�อลดโอกาสของการแพร่่เชื้้�อ ที่่�จะเสี่่�ยงมากขึ้้�น It seems that during Covid-19 outbreak, we produced excess amounts of waste - both food and plastic waste from delivery service and contagious waste from healthcare, witnessing from the amount of household waste that increased 15% during lockdown. What the government needs to pay attention is to promote comprehensive usage of biodegradable material and equipment to reduce waste at the beginning, along with incorporating certain technology to help sort out contagious waste before passing to the recycle procedure. 16
10 Green and Health Infrastructure to Invest
โครงสร้้างพื้้�นฐานด้้านสุุขลัักษณะ Health Infrastructure เมืืองในยุุคต่่อจากนี้้�ต้้องการโครงสร้้างพื้้�นฐานด้้านสุุขลัักษณะในพื้้�นที่่�สาธารณะที่่� จะสร้้างความมั่่น� ใจให้้กับั ประชาชนในการออกไปใช้้ชีีวิติ ในเมืือง ทั้้�งทางเท้้า ตลาด ร้้านค้้าร้้าน อาหาร ห้้างสรรพสิินค้้า ซึ่่�งรััฐต้้องหัันมาสนัับสนุุนการลงทุุนนี้้� ทั้้�งการปรัับกายภาพให้้เกิิด social distance ที่่�เหมาะสมต่่อการนั่่�ง เดิิน ทานอาหาร จัับจ่่าย เดิินทาง ใช้้สอย มีีระบบ touch less ต่่างๆ เพื่่�อให้้การใช้้ชีีวิิตไม่่ต้้องสััมผััสกัับสิ่่�งรอบตััว มีีระบบจััดปริิมาณคนและ ระยะเวลาในการใช้้สถานที่่ มีี � ระบบทำำ�ความสะอาดบุุคคลและสถานที่่ใ� ห้้ปลอดเชื้้อ� ทั้้�งก่่อนและ หลัังการใช้้งาน มีีระบบติิดตามประวััติิการเดิินทางของบุุคคลเพื่่�อแจ้้งเตืือนและติิดตามตััว หากเกิิ ด เหตุุ ก ารติิ ด เชื้้� อ เช่่ น หลายเมืืองในสหรัั ฐ อเมริิ ก าและออสเตรเลีีย เรื่่� ม ติิ ด ตั้้� ง ระบบ touchless crossing ที่่สั� ญ ั ญาณไฟจะเขีียวจะเป็็นไปตามการคำำ�นวณปริิมาณคนที่่ข้� า้ ม ถนนแต่่ละจุุด เพื่่�อหลีีกเลี่่�ยงการต้้องกดปุ่่�มเพื่่�อควบคุุมสััญญาณไฟ The future city needs health infrastructure that guarantees safe public life for citizens, including footpaths, markets, shops, restaurants and malls. What the government needs to consider is the physical adjustments to allow physical distancing in daily activities along with promoting touchless technology, density control, cleaning management and tracking system to overcome pandemic control. Many towns in the U.S. and Australia have started installing touchless systems at the pedestrian crossing where green light will be turned in due to calculation on the amount of people at each spot.
By living physically more apart from each other, communication technology becomes a key feature to help every business, activity and even schooling run smoothly. Investing on this infrastructure with easy access for all groups of people is a must for contemporary living, as online infrastructure helps reduce time-wasting and transportation usage, in a way, lessen the impact on the environment. We need not only setting clear goals for sustainable development, but also allowing collaboration between various partnerships including government, private sectors, specialized professions, academics, civil society organizations as well as urban citizens in order to pursue public participation. Likewise, utilizing data is also important, helping enhance collective ownership and efficient management for various situations.
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
โครงสร้้างพื้้�นฐานด้้าน IT และ Smart City IT Infrastructure and Smart City เมื่่อ� ชีีวิิตต้้องมีีระยะห่่างมากขึ้้น� เทคโนโลยีีการสื่่อ� สารจะเข้้ามามีีส่่วนสำำ�คัญ ั ในการ ทำำ�ให้้ธุรุ กิิจ กิิจกรรม การปฏิิสัมั พัันธ์์ การเรีียนการสอน สามารถดำำ�เนิินได้้อย่่างมีีประสิิทธิภิ าพ มากยิ่่�งขึ้้�น การลงทุุนโครงสร้้างพื้้�นฐานด้้านนี้้�ให้้มีีประสิิทธิิภาพและรวมถึึงให้้เกิิดการเข้้าถึึง ได้้ของคนทุุกกลุ่่�มนั้้�นเป็็นสิ่่�งจำำ�เป็็น ซึ่่�งวิิถีีของออนไลน์์นี้้�มัันยัังส่่งผลดีีต่่อสิ่่�งแวดล้้อมในภาพ รวมต่่อกสรลดการเสีียทรััพยากรที่่�ใช้้ไปมนการเดิินทางและทรััพยากรเวลาด้้วย นอกจากมีีเป้้าหมายที่่�ชััด (clear goal ) เพื่่�อการสร้้างความยั่่�งยืืนเป็็นที่่�ตั้้�งแล้้ว ยัังต้้องอาศััยความร่่วมมืือของหุ้้�นส่่วนในการพััฒนา (partnership) ที่่ป� ระกอบไปด้้วยทุุกภาค ส่่วนทั้้�งรััฐ เอกชน วิิชาชีีพ วิิชาการ ประชาสัังคม ประชาชน โดยมีีกระบวนการมีีส่่วนร่่วมของ ประชาชน (public paticipation) ในทุุกขั้้�นตอนเพื่่�อสร้้างความเป็็นเจ้้าของร่่วมและเพื่่�อให้้ เกิิดการบริิหารจััดการที่่ส� อดคล้้องกัับสถานการณ์์ การมีีฐานข้้อมููล (data) จึึงเป็็นปััจจััยสำำ�คัญ ั
“สิ่่ง ั การมีีนโยบายกระตุ้้�น (inventive policy) � สำำ�คััญเมื่่� อรััฐไม่่อาจขัับเคลื่่�อนเพีียงลำำ�พัง จะเป็็นกลไกที่่�เอื้้�อให้้แต่่ละฝ่่ายสามารถแบ่่งปัันทรััพยากรที่่�มีเี พื่่� อช่่วยในการพััฒนาได้้ ทั้้ง � ทุุนที่่�ดิิน องค์์ความรู้้� และเพื่่� อให้้เกิิดการเชื่่�อมโยงทุุกฝ่่ายให้้ทำำ�งานร่่วมกัันกลไกกลาง (platform) จึึงมีีบทบาทสำำ�คััญในกระบวนการนี้้� สุุดท้้ายกระบวนการฟื้้�นฟูู นี้้�ต้้องทำำ� พร้้อมๆ ไปกัับการสื่่�อสารและค้้นหาคุุณค่่าใหม่่ (new norms) ที่่�จะเป็็นจุุดร่่วมของสัังคมนัับจากนี้้�”
Content by
Yossapon Boonsom
Landscape architect and director of Shma Company Limited
ยศพล บุุญสม ภููมิิสถาปนิิก กรรมการผู้้จั � ด ั การบริิษััท ฉมา จำำ�กััด
10 Green and Health Infrastructure to Invest
17
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
ลานกีีฬาแสงทิิพย์์ เป็็นหนึ่่�งในโครงการล่่าสุุดที่่�ออกแบบโดย ฉมาโซเอ็็น (Shma Soen) ที่่�ปรัับปรุุงพื้้�นที่่�ลานกีีฬาใต้้ทางด่่วนฉลองรััชเดิิมบริิเวณระหว่่างพื้้�นที่่�โครงการ T77 Community และซอยปรีีดีีพนมยงค์์ 2 ให้้เกิิดความสวยงาม กระตุ้้�นปฏิิสััมพัันธ์์ของชุุมชน และสามารถใช้้งานได้้อย่่างมีีประสิิทธิภิ าพมากขึ้้น� ตััวโครงการได้้รับั การพััฒนาร่่วมกัับบริษัิ ทั แสนสิิริ จำ ิ ำ�กัดั (มหาชน) สำำ�นักั งานเขตวััฒนา กรุุงเทพมหานคร การทางพิิเศษแห่่งประเทศไทย และเครืือข่่ายพัันธมิิตร Completed in 2020, Lan Kila Saengthip is one of the latest projects designed by Shma Soen under Chalong Rat Expressway, connecting T77 Community and Soi Pridi Banomyong 2. Together with Sansiri Public Company Limited, Watthana district office, Bangkok Metropolitan Administrator, Expressway Authority of Thailand (EXAT) and allies, an old play space is transformed into a vibrant sports ground where the community can enjoy more efficiently. The project actually started when Sansiri PCL moved its head office to Siri Campus inside T77 Community, nearby local communities in Sukhumvit 77 with an aim to reinforce society development goals, enhancing people’s quality of life. As the existing site under the expressway is already being used to play sports and exercise, a new development is then gone through numerous methods - site visit, opinion gathering, and researching in order to truly understand the condition and deliver the most suitable design.
18
Lan Kila Saengthip
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
แต่่งเติิมสีีสัน ั ลานกีีฬาเก่่าใต้้ทางด่่วน ด้้วยกระบวนการ มีีส่่วนร่่วมกัับทุุกคน Color, Collaborate and Create communal space under expressway
Lan Kila Saengthip
19
กลุ่่�มคนที่่ม� าเล่่นกีีฬาแล้้ว เราเล็็งเห็็นว่่าพื้้น� ที่่นี้้� ยั� งั มีีศัักยภาพ ที่่� จ ะรองรัั บผู้้� ใช้้ ง านกลุ่่�มอื่่� น ๆได้้ อีี กด้้ ว ย สามารถเอื้้� อ ประโยชน์์ต่อ่ ทั้้�ง วิินมอเตอร์์ไซค์์ ที่่มีีจุ � ดุ รัับ-ส่่งอยู่่�บริิเวณด้้าน หน้้าลานกีีฬา ผู้้�คนในชุุมชนที่่�ไม่่ได้้เล่่นกีีฬาเป็็นกิิจวััตร รวม ถึึงพนัั ก งานออฟฟิิ ศ และผู้้�อยู่่�อาศัั ย ภายในโครงการ T77 Community
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
ในขั้้�นตอนนี้้� ฉมาโซเอ็็น ร่่วมมืือกัับ กลุ่่�มสนใจ ลงพื้้�นที่่�เก็็บข้้อมููลผู้้�ใช้้งานอย่่างเด็็กๆ นัักกีีฬา และผู้้�สููงอายุุ ที่่ใ� ช้้พื้น้� ที่่อ� อกกำำ�ลังั กายแห่่งนี้้� ดูวู่ า่ พวกเขาใช้้งานกัันอย่่างไร บ้้าง ข้้อมููลน่่าสนใจที่่�พบคืือ พวกเขาล้้วนผลััดกัันมาใช้้งาน หมุุนเวีียนสัับเปลี่่�ยนเวลากัันอย่่างเป็็นกิิจวััตร ผ่่านการนััด หมายปากเปล่่ า ไม่่ ว่่ า จะเป็็ น กิิ จ กรรมตะกร้้ อ ฟุุ ต บอล บาสเก็็ต บอล วอลเล่่ย์์บอล แอโรบิิก แบดมิินตััน วิ่่�งออก กำำ�ลัังกาย หรืือปั่่�นจัักรยาน บ่่งบอกได้้ว่่าพื้้�นที่่�แห่่งนี้้�มีีการใช้้ งานอย่่างยืืดหยุ่่�นโดยธรรมชาติิ ในอนาคตอัันใกล้้ นอกจาก
ที่่จ� ริิงแล้้ว โครงการลานกีีฬาแสงทิิพย์์ริเิ ริ่่ม� ขึ้้น� เมื่่อ� แสนสิิริย้ิ า้ ยออฟฟิิศมาตั้้ง� อยู่่� ณ Siri Campus ใกล้้กับชุ ั มุ ชน ตรงซอยสุุขุมุ วิิท 77 โดยมีีวััตถุุประสงค์์เพื่่อ� สานต่่อเจตนารมณ์์ ของการพััฒนาสัังคมที่่�มุ่่�งเน้้นการสร้้างคนส่่งเสริิมคุุณภาพ ชีีวิิตของคอมมููนิิตี้้�อย่่างยั่่�งยืืน แสนสิิริิจึึงสร้้างสรรค์์พื้้�นที่่�ใต้้ ทางด่่วนที่่�เชื่่�อมต่่อระหว่่าง T77 Community และชุุมชน ในซอยปรีีดีีพนมยงค์์แห่่งนี้้�ให้้มีีคุณ ุ ภาพดีีและตอบโจทย์์การ ใช้้งานของคนในชุุมชนมากขึ้้น� จากแต่่เดิิมที่่มีี� การใช้้งานเล่่น กีีฬาและออกกำำ�ลังั กายอยู่่�แล้้ว การพััฒนาจึึงเป็็นไปโดยผ่่าน 20
Lan Kila Saengthip
กระบวนการลงพื้้�นที่่� เก็็บข้้อมููล และศึึกษาความเป็็นไปได้้ ต่่างๆอยู่่�พอสมควร เพื่่�อทำำ�ความเข้้าใจพื้้�นที่่�อย่่างแท้้จริิง
Shma Soen, together with Sonjai Group, make a site visit and collect information from various users such as kids, adult athletes and seniors who regularly come here and exercise, by observing how they use the space. What we found interesting is that they normally take turns playing many kinds of sports and exercise such as sepak takraw, soccer, basketball, volleyball, aerobics, badminton, running and cycling. With its flexible nature, we foresee the space to also potentially accommodate other groups of users, including motorcycle-taxi service that currently has a stop in front of the sport ground entrance, local people in nearby communities that don’t play sports, firm employees and residents in the T77 Community.
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
Lan Kila Saengthip
21
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง 22
กิิจกรรมเลืือกสีีโดยลููกบ้้านที่่อ� าศััยในคอนโดมิิเนีียมโครงการ T77 Community ,เด็็ก ,นัักกีีฬา และผู้้�มาออกกำำ�ลัังกาย เมื่่�อถึึงขั้้�นตอนการออกแบบ ลานกีีฬาแสงทิิพย์์ถููกตีีความใหม่่ด้้วย 3 มุุมมองหลััก คืือ หนึ่่�ง ลานกีีฬาใหม่่จำำ�เป็็นต้้องมีีพื้้น� ที่่ใ� ช้้งานที่่ห� ลากหลาย อเนกประสงค์์ สอดรัับกับวิ ั ธีีิ การ ใช้้งานเดิิมที่่มีี� การผลััดเปลี่่ย� นหมุุนเวีียนกัันตามช่่วงเวลาต่่างๆ เพื่่�อคงวิิถีีชีีวิติ ของเหล่่านัักกีีฬา และชาวชุุมชนเอาไว้้ สอง ลานกีีฬาใหม่่ควรได้้รัับการฟื้้�นฟููในส่่วนระนาบแนวตั้้�ง - รั้้�วสนาม เสาทางด่่วน และผนัังปิิดใต้้ทางด่่วน อัันเป็็นองค์์ประกอบเอกลัักษณ์์ของบริิเวณนี้้� ปรัับปรุุง ให้้ส่ง่ เสริิมกิิจกรรมการออกกำำ�ลังั กายได้้ อาจด้้วยวิิธีีการเช่่น การต่่อเติิมความสููงรั้้ว� ให้้มีีระดัับ พอเหมาะ ป้้องกัันลููกบอลกระเด็็นออกนอกสนาม เพื่่�อความปลอดภััยของผู้้�สััญจรโดยรอบ หรืือการตกแต่่งรอบเสาให้้ดูเู ด่่นชััดมากขึ้้น� และสาม ลานกีีฬาใหม่่น่า่ จะมีีภููมิทัิ ศั น์์สีีโทนสว่่าง ดึึงดููดให้้น่่าใช้้งาน ให้้ความรู้้�สึึกปลอดภััย และป้้องกัันการเสื่่�อมสภาพของสนาม เพราะสีีนัับ ว่่าเป็็นองค์์ประกอบหนึ่่�งของสถาปััตยกรรมที่่�สำำ�คััญมาก สามารถสื่่�อสารอารมณ์์ความสนุุก รวมถึึงช่่วยสร้้างความเป็็นเจ้้าของได้้ด้ว้ ย เหล่่านี้้�ล้ว้ นเป็็นแนวทางการออกแบบที่่แ� ม้้ฟังั ดููเรีียบ ง่่าย หากแต่่ใช้้งบประมาณน้้อย และสามารถเปลี่่�ยนแปลงสร้้างผลกระทบเชิิงบวกได้้มาก ในขั้้�นตอนถััดมา ทีีมออกแบบได้้จััดกิิจกรรม การเลืือกสีี ชวนผู้้�ที่่�เกี่่�ยวข้้องมาร่่วม กัับเลืือกพาเล็็ตต์์สีีทาสนามได้้ใช้้ในส่่วนต่่างๆ ดัังที่่เ� ราตีีความการใช้้ สีี เปรีียบเสมืือนการแสดง ความเป็็นเจ้้าของของผู้้�มาร่่วมทุุกคนในกระบวนการมีีส่่วนร่่วมกิิจกรรมนี้้� เกิิดเป็็นกิิจกรรมครั้้ง� แรกที่่�มีีลููกบ้้านผู้้�อยู่่�อาศััยในคอนโดมีีเนีียมโครงการ T77 Community เป็็นผู้้�เลืือกสีี จััดขึ้้�น ในงาน Habito Winter Fest โดยส่่วนนี้้�ทางทีีมออกแบบได้้นำำ�มาใช้้ในการออกแบบสนาม ประมาณ 10 % คืือบริิเวณเสา คาน และรั้้�ว จากนั้้�นเกิิดกิิจกรรมครั้้�งที่่�สองที่่�มีีเหล่่าผู้้�ใช้้งาน หลัักอย่่าง นัักกีีฬาและผู้้�มาออกกำำ�ลังั กาย เป็็นผู้้�เลืือกสีี ซึ่่�งส่่วนนี้้�เองจะถููกคััดมาใช้้ 90% หรืือ กิินพื้้�นที่่�เกืือบทั้้�งหมดของสนามเลย ที่่�น่่าสนใจคืือเราพบว่่า ความต้้องการของพวกเขาไม่่ได้้มีี อะไรพิิเศษมากไปกว่่า สีีมาตรฐานของสนามกีีฬาปกติิ ขอเพีียงทาสีีตกแต่่งและออกแบบให้้ ใช้้งานอย่่างมีีประสิิทธิิภาพ มีีลวดลายพื้้�นสนามบ่่งบอกจุุดยิิง ขอบเขต เส้้นกั้้�นต่่างๆที่่�ชััดเจน ก็็เพีียงพอต่่อการใช้้งานแล้้ว
Lan Kila Saengthip
During the design process, the new Lan Kila Saengthip is interpreted through 3 concepts. First, it should be a multipurpose space that values the current turn-taking usage. Second, its vertical plane, including fences, pillars and walls should be renovated to enhance the exercising activities. The old fences can be enlarged for safety purposes, preventing balls from bouncing off the field. Third, the sports ground could become brighter to attract users while offering a secure environment, and preventing degradation, as painting is one of the most important expressions in architecture. All in all, despite the straightforward methods, they use quite low budgets and can create a large impact.
After that, Shma Soen design team has set up small events, inviting all stakeholders to choose painting for the new sports ground by using colors to express their ownership. The first event is held at Habito Winter Fest, by having condominium residence in T77 Community as participants. The selected color scheme will be used for only 10%, resulting in the color of pillars, beams and fences. There is also the second event, inviting the sports ground’s main users which are the local athletes to choose their desirable painting to be used 90% in the overall project. What we found interesting is that they only request for any standard painting that can enhance efficient usage. By adding floor patterns such as shooting points and border lines are positively enough for them.
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
Lan Kila Saengthip
23
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง 24
Lan Kila Saengthip
For the final outcome, Lan Kila Saengthip is proposed with a simple masterplanning, retaining all sport functions, resulting as green aerobic ground, fitness equipment aligning pétanque ground, red sepak takraw ground, orange volleyball field, orange basketball court, and blue futsal field. In addition, numbers of blue benches are placed in different spots around the court. Whenever sports players and athletes make a visit, they can enter the right space by learning from the running line patterns on the floor, painted in different colors to resemble each function.
Lan Kila Saengthip
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
มาถึึงตััวดีีไซน์์กัันบ้้าง ลานกีีฬาแสงทิิพย์์ถููกออกแบบ วางผัังแม่่บทจััดวาง อย่่างเรีียบง่่าย มีีสนามกีีฬาทุุกประเภทตามฟัังก์์ชั่่�นเดิิมได้้แก่่ ลานและเวทีีแอโรบิิกสีี เขีียว สนามกรวดเปตองและเครื่่�องออกกำำ�ลัังกายข้้างกััน สนามตะกร้้อสีีแดง สนาม วอลเล่่ย์์บอลสีีส้้ม สนามบาสเก็็ตบอลสีีส้้ม และสนามฟุุตซอลสีีฟ้้าทั้้�งยัังมีีม้้านั่่�งสีีฟ้้า กระจายตามจุุดต่่างๆโดยรอบอีีกด้้วย ทั้้�งหมดล้้วนถููกจััดวางให้้เข้้าถึึงง่่าย ตอบโจทย์์ การใช้้งานเดิิมที่่มีี� การผลััดเปลี่่ย� นกัันใช้้ตามช่่วงเวลาที่่ต่� า่ งกััน เมื่่อ� เด็็กๆมาถึึงก็็สามารถ เดิินไปพื้้น� ที่่ที่� ต้่� อ้ งการได้้โดยดููจากแนวเส้้นสายสีีบนพื้้น� บริิเวณทางเข้้าที่่เ� ชื่่อ� มโยงอย่่าง มีีลููกเล่่นไปยัังสนามต่่างๆได้้
25
Another highlight of Lan Kila Seangthip is the splashy graphic wall under the sloped expressway structure, designed by Shma Visual Designer Team. With the concept of “let idols cheer you up,” cute cartoon graphics of renowned athletes are proposed in order to inspire a new generation of players, the children who come here and play sports. In this case, idol doesn’t only mean sport stars, but also people or neighbors in the community, families, friends, and loved ones, who we met everyday too. As a result, the colorful wall has visualized various notable characters such as motorcycle taxi uncle, community leader and even young athletes, along with project sponsor logos. They all come to alive through Paint Day event where Sansiri employees, T77 residents and volunteers together finish up, dedicated for the best result.
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
อีีกไฮไลต์์หนึ่่�งของลานกีีฬาแสงทิิพย์์คืือ ผนัังเพ้้นต์์ ลวดลายสุุดน่่ารัักบริิเวณทางยกระดัับที่่�ลาดชัันขึ้้�น จาก แนวคิิดที่่ว่� า่ การมีีลานกีีฬาดีีๆ สัักแห่่งอาจช่่วยเติิมเต็็มความ ฝัันของเด็็กคนหนึ่่�งได้้ นำำ�มาสู่่�คอนเส็็ปต์์ของภาพศิิลปะบน กำำ�แพงอย่่าง “ไอดอลมาเชีียร์์” ที่่อ� อกแบบและวาดภาพโดย ทีีมกราฟิิกดีีไซน์์เนอร์์ของฉมา ดัังที่่�เราต้้องการสร้้างแรง บัันดาลใจและสานฝัันให้้เด็็กๆนัักกีีฬาทุุกคน จึึงมีีภาพของ บุุคคลและนัักกีีฬาชื่่�อดัังปรากฏอยู่่�บนผนััง นอกจากกลุ่่�มไอ ดอลระดัับประเทศแล้้ว คำ�ำ ว่่าไอดอลอาจสามารถตีีความได้้ อีีกแง่่หนึ่่�งเช่่นกััน แท้้จริิงแล้้วพวกเขาอาจไม่่ใช่่บุคุ คลอื่่น� แต่่ หมายถึึงผู้้�คนในชุุมชน คนใกล้้ตััวที่่�เราพบเห็็นกัันทุุกวัันก็็ได้้ นี่่เ� องจึึงถููกถ่่ายทอดออกมาเป็็นภาพของพี่่วิ� นิ มิิเตอร์์ไซค์์ ผู้้�นำำ� ชุุมชน หรืือ เหล่่านัักกีีฬาตััวน้้อย พร้้อมตกแต่่งขั้้�นตอน สุุดท้้ายด้้วยโลโก้้ผู้้�สนัับสนุุนอย่่างเป็็นทางการของโครงการ อีีกทั้้�งยัังมีีกิิจกรรม Paint Day ชวนพนัักงานและลููกบ้้านของ แสนสิิริิมาร่่วมเป็็นจิิตอาสาทาสีี แต่่งแต้้มกำำ�แพงส่่วนนี้้�อีีก
26
Lan Kila Saengthip
นัั บ ว่่ า เป็็ น โชคดีีของฉมาโซเอ็็ น ที่่� มีี โอกาสได้้ ออกแบบลานกีีฬาอัันเป็็นพื้้�นที่่�สาธารณะสำำ�คััญของชุุมชน และคนเมืือง นัับเป็็นก้้าวสำำ�คััญของเราดัังที่่�เราเชื่่�อมั่่�นว่่า วิิ ช าชีีพภูู มิิ ส ถาปนิิ ก สามารถช่่ ว ยฟื้้� น ฟูู พื้้� น ที่่� ร กร้้ า งแต่่ มีี ศัักยภาพให้้เกิิดสาธารณประโยชน์์มากขึ้้�นได้้ สำำ�หรัับลาน กีีฬาแสงทิิพย์์แห่่งนี้้� ในระยะยาวคงต้้องดููและเฝ้้าสัังเกตกััน ต่่อไปว่่ามีีผลตอบรัับอย่่างไร เพื่่�อนำำ�ไปสู่่�การบริิการจััดการที่่� อาจต้้องมาทบทวนกัันต่่อไป
As a part of a creative landscape platform, Shma Soen is really grateful for making this sports ground become real, revitalizing idle space into pleasant public space. After Lan Kila Saengthip is finished, we will still monitor them carefully, look for feedbacks and evaluate the results to maintain the best service as we could.
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
กิิจกรรมวาดลวดลายและทาสีีบนผนััง
Lan Kila Saengthip
27
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
เส้้นสาย หลากสีีสัันบนพื้้�นบริิเวณทางเข้้าเชื่่�อมส่่วนต่่างๆ
28
Lan Kila Saengthip
7
8
1
10
1. ทางเข้้า-ออก 2. ลานแอโรบิิค 3. สนามตะกร้้อ 4. สนามวอลเล่่ย์์บอล 5. สนามบาสเก็็ตบอล 6. สนามฟุุตซอล 7. สนามเปตอง 8. สนามเด็็กเล่่น 9. จุุดยืืดเหยีียด 10. จุุดพัักคอย
9
2
3
4
5
6
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
Content by A landscape architecture design firm who focus on public space development and their society and environment benefits through co-creation process
ทีีมออกแบบภููมิิสถาปััตยกรรมผู้้ส � นใจด้้านการพััฒนาพื้้�นที่่�สาธารณะในเมืืองผ่่าน กระบวนการสร้้างสรรค์์อย่่างมีีส่ว่ นร่่วมเพื่่� อประโยชน์์ทางสัังคมและสิ่่ง � แวดล้้อม
Lan Kila Saengthip
29
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง 30
ฟื้้�นฟูู กรุุงเทพฯด้้วยทางเชื่�อ ่ มสีีเขีียว สู่่�มหานครที่่�ยั่่ง � ยืืน Revitalizing Bangkok with Green Network
Bangkok Green Link
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
Bangkok Green Link คืือโครงการสร้้างโครงข่่ายทางเชื่่�อมสีีเขีียวกลางกรุุงเทพมหานครภายใต้้แนวคิิดที่่�ว่่า “Revitalize City Infrastructure to Relink Urban Life” เพื่่�อเชื่่�อม ชีีวิิตผู้้�คน และคืืนธรรมชาติิให้้แก่่เมืือง อย่่างที่่�ทราบกัันดีี กรุุงเทพมหานครประสบกัับการขยายเติิบโตที่่�ขาดการวางแผน ทำำ�ให้้เกิิดโครงข่่ายทางสััญจรที่่�รองรัับเพีียงรถยนต์์ การกระจุุกตััวของ การพััฒนาเพีียงบริิเวณขนส่่งมวลชนสายหลััก และพื้้�นที่่�รกร้้างจำำ�นวนมากบริิเวณใต้้ทางด้้วนและริิมคลอง ท้้ายที่่�สุุดเมืืองและย่่านต่่างๆจึึงขาดการเชื่่�อมต่่อ รวมถึึงเกิิดปััญหาทางสัังคมและสิ่่�ง แวดล้้อมอื่่�นๆเรื่่�อยมา ดัังนั้้�น Bangkok Green Link จึึงเสนอแนวทางการฟื้้�นฟููองค์์ประกอบที่่�มีีศัักยภาพของเมืืองไม่่ว่่าจะเป็็นเส้้นทางคลอง ทางรถไฟ พื้้�นที่่�ใต้้ทางด่่วน และทางเท้้าให้้เกิิดการเชื่่�อมโยง ของพื้้�นที่่�สาธารณะ ย่่านและเมืืองเข้้าด้้วยกัันโดยมีีโครงข่่ายความยาวรวมทั้้�งหมด 54 กิิโลเมตร แบ่่งเป็็นวงแหวนหลััก 28 กิิโลเมตร และเส้้นทางเชื่่�อมตััดขวางรวม 26 กิิโลเมตร ซึ่่�งมีีทิิศเหนืือ จรดย่่านคมนาคมบางซื่่�อ ทิิศตะวัันออกถึึงแนวถนนวิิภาวดีีรัังสิิต ทิิศตะวัันตกถึึงแนวถนนพระรามหก และทิิศใต้้จรดถนนเชื้้�อเพลิิงริิมแม่่น้ำำ��เจ้้าพระยาทั้้�งนี้้�หากโครงการแล้้วเสร็็จก็็จะสร้้าง ประโยชน์์ให้้แก่่เมืือง ทั้้�งด้้านสิ่่�งแวดล้้อม ด้้านสัังคม และด้้านเศรษฐกิิจและการลงทุุน แลนำำ�พากรุุงเทพมหานครไปสู่่�เมืืองที่่�ยั่่�งยืืนแห่่งอนาคตในที่่�สุุด Bangkok Green Link
31
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
Bangkok Historical Urbanization / การพััฒนาของกรุุงเทพมหานครในอดีีต
กรุุงเทพมหานครได้้มีีการพััฒนาอย่่างเข้้มข้้นมาตั้้ง� แต่่สมััยของรััชกาลที่่� 4 โดยมีีการสร้้างทางสััญจรทางบกและทาง น้ำำ��อย่่างการขุุดคลองจำำ�นวนมาก ต่่อมาการเดิินทางด้้วยเรืือและคลองเริ่่ม� ลดบทบาทลง จึึงมีีการถมพื้้น� ที่่เ� พื่่�อสร้้างถนนรองรัับ การใช้้งานของรถยนต์์มากขึ้้�นในสมััยของรััชกาลที่่� 5 ถึึง 7 จนมีีการพััฒนาถนนใหญ่่และทางด่่วนในช่่วงปีี 2468 พร้้อมๆกัับ พื้้�นที่่�เกษตรกรรมที่่�ถููกเปลี่่�ยนเป็็นพื้้�นที่่�อยู่่�อาศััยและพาณิิชยกรรม
Problems and Challenges ปััญหาและความท้้าทาย
อย่่างไรก็็ดีี กรุุงเทพมหานครยัังคงพบกัับปััญหาและความท้้าทายในองค์์ประกอบ เมืือง ดัังที่่�เห็็นได้้ชััดจากการเชื่่�อมต่่อที่่�ไม่่มีีประสิิทธิิภาพระหว่่างทางเท้้าและระบบขนส่่ง มวลชนและการกระจายตััวของย่่านที่่ถู� กู ตััดขาดออกจากกััน นอกจากนี้้�ยังั มีีตััวเลืือกทางการ สััญจรให้้เลืือกน้้อย และขาดการเชื่่�อมต่่อกัับพื้้�นที่่�สวนสาธารณะในระยะ 400 เมตรที่่�ควร กระจายอยู่่�ในแต่่ละย่่าน เมืืองที่่เ� ต็็มไปด้้วยตึึกสููงและพื้้น� ที่่ด� าดแข็็งจำำ�นวนมากอย่่างนี้้�จึึงเผชิิญ กัับภาวะเกาะความร้้อนที่่�ทำ�ำ ให้้อุุณหภููมิิและมลพิิษสููงขึ้้�นอีีกด้้วย
32
Bangkok Green Link
Space Development Criteria เกณฑ์์การเลืือกพื้้น � ที่่�ในการพััฒนา
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
พื้้�นที่่�ทางกายภาพที่่�มีีศัักยภาพในการพััฒนามีีทั้้�งหมด 4 รููปแบบได้้แก่่ - พื้้�นที่่ริ� ิมคลอง : สามารถเป็็นจุุดเชื่่�อมโยงการสััญจรทางน้ำำ�� และทางบก - ทางเท้้า : สามารถปรัับปรุุงให้้สร้้างประสบการณ์์ระหว่่างการเดิินของผู้้�คนที่่�น่่าสนใจและ สร้้างปฏิิสััมพัันธ์์ระหว่่างคนและเมืืองได้้มากขึ้้�น - พื้้น� ที่่ริ� มิ ทางรถไฟ : สามารถปรัับเปลี่่ย� นสองข้้างทางที่่ไ� ม่่ได้้ถูกู ใช้้งานให้้เป็็นมิิตรต่่อผู้้�คนได้้มากขึ้้น� - พื้้น� ที่่ใ� ต้้ทางด่่วน : สามารถปรัับปรุุงเป็็นสวนสาธารณะขนาดย่่อมได้้ (และหากเปลี่่ย� นทั้้�งหมด ในกรุุงเทพฯ เราจะได้้พื้้�นที่่�ขนาด 4.5 เท่่าของสวนลุุมพิินีีเลยทีีเดีียว)
ในภาพใหญ่่ของโครงข่่ายทางเชื่่�อมสีีเขีียว เรามุ่่�งหวัังที่่�จะ สร้้างการเชื่่�อมต่่อ 5 ประการได้้แก่่ - การเชื่่�อมต่่อการคมนาคมที่่�เป็็นมิิตรต่่อสิ่่�งแวดล้้อมและมีี ทางเลืือกที่่�มากขึ้้�น - การเชื่่�อมต่่อระหว่่างย่่านด้้วย Node และพื้้�นที่่�สาธารณะ ของเมืือง - การเชื่่�อมต่่อผู้้�คนและชุุมชนด้้วยพื้้�นที่่�กิิจกรรมสำำ�หรัับทุุก คนอย่่าง สวนสาธารณะ หรืือ Pocket Park - การเชื่่�อมต่่อธรรมชาติิด้้วยการเพิ่่�มจำำ�นวนต้้นไม้้และพื้้�นที่่� สีีเขีียว - การเชื่่�อมต่่อทางเทคโนโลยีีที่่�ตอบโจทย์์ชีีวิิตคนเมืือง
Bangkok Green Link
33
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง 34
Bangkok Green Link
คุุณประโยชน์์ทางสิ่่ง � แวดล้้อม เมื่่อ� โครงการแล้้วเสร็็จ เราจะสามารถเพิ่่�มจำำ�นวน ต้้นไม้้ใหญ่่ได้้อีีกถึึง 10,800 ต้้น หรืือพื้้�นที่่สีี� เขีียวกว่่า 1.08 ล้้ า นตารางเมตร ด้้ ว ยเหตุุ นี้้� ยัั ง สามารถช่่ ว ยดัั ก จัั บ คาร์์บอนไดออกไซด์์ได้้ถึึง 1,620 ตัันต่่อปีี ฝุ่่�นมลพิิษถึึง 3,560 ตัันต่่อ ช่่วยชะลอและดููดซัับน้ำำ��ฝนได้้ 54,000 ลููกบาศก์์เมตร รวมถึึงลดอุุณหภููมิิลง 0.4-3 °C ในระยะ 30 เมตร พร้้อมๆ กัับเพิ่่�มความหลากหลายทางชีีวภาพให้้แก่่เมืือง
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
Bangkok Green Link คืือโครงการสร้้างโครงข่่ายทางเชื่่�อมสีีเขีียวกลางกรุุงเทพมหานครภายใต้้แนวคิิดที่่�ว่่า “Revitalize City Infrastructure to Relink Urban Life” เพื่่�อเชื่่�อมชีีวิิตผู้้�คน และคืืนธรรมชาติิให้้แก่่เมืืองอีีกครั้้�ง พร้้อม เสนอแนวทางการฟื้้�นฟููองค์์ประกอบที่่�มีีศัักยภาพของเมืืองไม่่ว่่าจะเป็็นเส้้นทางคลอง ทางรถไฟ พื้้�นที่่�ใต้้ทางด่่วน และทางเท้้า ให้้เกิิดการเชื่่�อมโยงของพื้้�นที่่�สาธารณะ ย่่านและเมืืองเข้้าด้้วยกััน โครงข่่ายที่่มีี� ความยาวทั้้�งหมด 54 กิิโลเมตร มีี 4 เส้้นทาง เชื่่�อมหลัักในวงแหวนรอบนอกรวม 28 กิิโลเมตร - เส้้นทางเชื่่�อมหลัักที่่� 1: 10 km Link – Mixed Urban Activity Link - เส้้นทางเชื่่�อมหลัักที่่� 2: Sathorn Link – Eco Smart Street Link - เส้้นทางเชื่่�อมหลัักที่่� 3: Rail link – Bike Express Link - เส้้นทางเชื่่�อมหลัักที่่� 4: Vipawadee link – Linear Park and Bike Express Link ทั้้�งนี้้�หากรวมอีีก 8 เส้้นทางเชื่่อ� มย่่อยที่่เ� พิ่่�มการเชื่่อ� มต่่อในแนวขวาง ก็็จะสามารถสร้้างประโยชน์์ทางด้้านสิ่่ง� แวดล้้อม สัังคม และเศรษฐกิิจเพื่่�อความยั่่�งยืืนของกรุุงเทพมหานครในที่่สุ� ุด
Bangkok Green Link
35
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
Main Link 1: 10 km Expressway Link
เส้้นทางสีีเขีียวสายนี้้�ได้้เชื่่อ� มต่่อระหว่่างจุุดสำำ�คัญ ั 2 แห่่งคืือ ศููนย์์กลางการคมนาคม บางซื่่� อ และย่่ า นสร้้ า งสรรค์์ เ จริิ ญ กรุุ ง ทางยัั ง ได้้ พ าดผ่่ า นพื้้� น ที่่� สำำ�คัั ญ อื่่� น ๆอย่่ า ง ย่่านพาณิิชยกรรมบริิเวณจตุุจัักร และย่่านที่่�อยู่่�อาศััยในอารีีย์์ ในแต่่ละส่่วนย่่อยของเส้้นทาง จะมีีการจััดกิิจกรรมและหน้้าที่่�ที่่�แตกต่่างกัันไปตามความเหมาะสมกัับบริิบทโดยรอบ กิิจกรรมการวิ่่�งสำำ�รวจเส้้นทาง
36
Bangkok Green Link
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
Bangkok Green Link
37
Main Link 2 : Sathorn Link - Eco Smart Street Link
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
เส้้นทางสีีเขีียวสายนี้้�คืือการปรัับปรุุงถนนสาทรซึ่่�งเป็็นหนึ่่�งในถนนสำำ�คััญของย่่านใจการเมืืองกรุุงเทพฯเพราะมีี บทบาทต่่อธุุรกิิจหลายขนาดและชุุมชนเก่่าแก่่บริเิ วณโดยรอบเป็็นอย่่างมาก โดยในการออกแบบก่่อสร้้างจะมีีการผสานการใช้้ เทคโนโลยีี ศาสตร์์ทางนิิเวศวิิทยาและกิิจกรรมต่่างๆเข้้าด้้วยกัันกระตุ้้�นให้้ย่่านมีีชีีวิิตชีีวามากขึ้้�นกว่่าเดิิม เริ่่ม� แรก ถนนสาทรและคลองสาทรที่่ถู� กู ปิิดกั้้น� การเข้้าถึึงจะถููกปรัับปรุุงให้้ปลอดภััย มีีชีีวิิตชีีวาและสะดวกสบายยิ่่ง� ขึ้้�น ทางเท้้าต้้องทำำ�เรีียบสม่ำำ��เสมอ ไร้้สิ่่�งกีีดขวาง มีีต้้นไม้้ใหญ่่ให้้ร่่มเงาและมีีความกว้้างมากพอ รวมถึึงมีีการวางทางจัักรยาน ขนาบข้้างในระดัับเดีียวและแบ่่งขอบเขตชััดเจนจากทางสััญจรรถยนต์์ ส่ว่ นคลองสาทรจะถููกทำำ�ให้้สะอาดผ่่านพืืชหรืืออุุปกรณ์์ บำำ�บััดน้ำำ�� และทำำ�พื้้�นที่่ริ� ิมคลองให้้ผู้้�คนได้้ใช้้ทำำ�กิิจกรรมอย่่างเป็็นมิิตรอีีกด้้วย เมื่่อ� มองในภาพฝัันอัันไกลซึ่่ง� จะมีีการก่่อสร้้างรถไฟฟ้้ารางเดี่่ย� วสายสีีเทาผ่่านถนนสาทร จึึงมีีการเสนอสร้้างทางเดิิน ลอยฟ้้าที่่�ใช้้โครงเสาเดีียวกัันเป็็นพื้้�นที่่�เชื่่�อมต่่อเพิ่่�มเติิมโดยต้้องคำำ�นึึงให้้สร้้างผลกระทบต่่อคลองและพื้้�นที่่�ริิมคลองข้้างใต้้ให้้ น้้อยที่่�สุุด ผู้้�คนจะสามารถทำำ�กิิจกรรมที่่นี่� ่�ได้้อย่่างหลากหลาย ทั้้�งการนั่่�งพัักผ่่อน ชมการแสดงสด วิ่่�งออกกำำ�ลัังกาย หรืือแม้้แต่่ การเรีียนรู้้�เกี่่�ยวกัับต้้นไม้้และระบบนิิเวศขนาดย่่อม
38
Bangkok Green Link
Main Link 3 : Rail Link – Bike Express Link
เส้้นทางใหม่่นี้้เ� ป็็นการปรัับทัศั นีียภาพและการใช้้ งานริิมทางรถไฟจากบริิเวณสถานีีรางน้ำำ��และมัักกะสัันจรด แถบคลองเตยให้้กลายเป็็นทางจัักรยานสีีเขีียวแห่่งใหม่่เพื่่�อ นำำ�เสนอตััวเลืือกการเดิินทางรููปแบบใหม่่ให้้แก่่ย่่าน
Main Link 4 : Vipawadee Link – Linear Park and Bike Express Link
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
ถนนวิิภาวดีีซึ่่�งมีีการจราจรหนาแน่่นเป็็นปกติิจะ ถููกปรัับเปลี่่ย� นเป็็นทางเชื่่อ� มต่่อสีีเขีียวระหว่่างบริิเวณดิินแดง และจตุุจัักร
Bangkok Green Link
39
Bangkok Green Link คืือโครงการสร้้างโครงข่่ายทางเชื่่�อมสีีเขีียวกลางกรุุงเทพมหานครภายใต้้แนวคิิดที่่�ว่่า “Revitalize City Infrastructure to Relink Urban Life” เพื่่�อเชื่่�อม ชีีวิิตผู้้�คน และคืืนธรรมชาติิให้้แก่่เมืืองอีีกครั้้�ง พร้้อมเสนอแนวทางการฟื้้�นฟููองค์์ประกอบที่่�มีีศัักยภาพของเมืืองไม่่ว่่าจะเป็็นเส้้นทางคลอง ทางรถไฟ พื้้�นที่่�ใต้้ทางด่่วน และทางเท้้าให้้เกิิดการ เชื่่�อมโยงของพื้้�นที่่�สาธารณะ ย่่านและเมืืองเข้้าด้้วยกััน ทั้้�งนี้้� โครงข่่ายที่่มีี� ความยาวทั้้�งหมด 54 กิิโลเมตร มีีทางเชื่่�อมย่่อยตััดขวางกัับวงแหวนหลัักรวม 8 เส้้นทาง 26 กิิโลเมตร ทั้้�งนี้้�หากรวมอีีก 4 เส้้นทางหลัักครอบคลุุมวงแหวน ก็็จะสามารถสร้้างประโยชน์์ทางด้้านสิ่่�งแวดล้้อม สัังคม และเศรษฐกิิจเพื่่�อความยั่่�งยืืนของกรุุงเทพมหานครในที่่สุ� ุด
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
Sub Link 1: Bangson Link – Energy and Urban Farm Link
เส้้นทางสีีเขีียวสายนี้้�มีีจุดุ เด่่นที่่เ� ป็็นจุุดเปลี่่ย� นถ่่าย ทางการคมนาคมของกรุุงเทพทั้้�งสถานีีบางซ่่อน-บางซื่่�อ นิิคมรถไฟ กม.11 รวมถึึงท่่าเรืือแม่่น้ำำ��เจ้้าพระยาบริิเวณวััด สร้้อยทอง สถานที่่�สำำ�คััญเหล่่านี้้�สามารถเชื่่�อมต่่อกัันได้้โดย เปลี่่�ยนพื้้�นที่่�รกร้้างขาดการใช้้งานตลอดแนวให้้กลายเป็็น โซลาร์์ฟาร์์มและแปลงเพาะปลููกในเมืืองที่่�จะเป็็นประโยชน์์ ต่่อชุุมชนโดยรอบได้้
Sub Link 2: Chatuchak Link – Park Link
เส้้นทางสีีเขีียวสายนี้้จ� ะพาดผ่่านจากสวนสาธารณะ สำำ�คัญ ั ทั้้ง� สาม(สวนจตุุจักั ร สวนรถไฟ และสวนสมเด็็จพระนาง เจ้้าสิิริกิิ ติ์์ิ )� ซึ่่�งมีีศัักยภาพที่่จ� ะรวมพื้้น� ที่่เ� ป็็นพื้้น� ที่่สีี� เขีียวขนาด ใหญ่่หนึ่่�งเดีียว เพื่่�อเชื่่�อมต่่อทางเข้้ากัับพื้้�นที่่�พาณิิชกยกรรม และสถานีีขนส่่งมวลชนอย่่างบริิเวณห้้าแยกลาดพร้้าว
Sub Link 3: Bangsue Canal Link – Nature Canal Link
เส้้นทางสีีเขีียวสายนี้้�มีีความพิิเศษตรงที่่�พาดผ่่าน แนวคลองบางซื่่�อซึ่่�งยัังมีีธรรมชาติิอัันร่่มรื่่�นให้้สััมผััส ตั้้�งอยู่่� ไม่่ไกลและแยกจากถนนใหญ่่ที่่�เต็็มไปด้้วยจราจรคัับคั่่�ง โดย จะสามารถเชื่่�อมต่่อผู้้�คนที่่�อยู่่�ในพื้้�นที่่�อยู่่�อาศััย และสถานีี รถไฟหมอชิิตและบางซื่่�อผ่่านพื้้�นที่่�พัักผ่่อนหย่่อนใจตลอด ทางได้้
Sub Link 4 : Aree Link – Lifestyle Link
เส้้นทางสีีเขีียวสายนี้้�จะช่่วยสร้้างการเชื่่�อมต่่อที่่� มากขึ้้น� ระหว่่างย่่านดิินแดงที่่มีี� ที่่อ� ยู่่�อาศััยและสำำ�นักั งานของ ราชการและย่่านซอยอารีีย์์ที่มีีชื่่ ่� อ� เสีียงด้้านสถานที่่พ� บปะของ คนเมืือง ทางเดิินเท้้าและทางจัักรยานจะถููกฟื้้�นฟููเพื่่�อให้้มีี การใช้้ถนนใหญ่่และตรอกซอกซอยที่่�เป็็นระเบีียบและเป็็น มิิตรมากขึ้้น� ทางเท้้าจะถููกขยายใหญ่่ขึ้น้� โดยแทนที่่พื้� น้� ที่่จ� อด รถริิมถนนด้้วยการเพิ่่�มพื้้น� ที่่ร้� า้ นค้้าหรืือคาเฟ่่ รวมถึึงการเพิ่่�ม แนวต้้นไม้้และพื้้�นที่่�สีีเขีียว หรืือแม้้แต่่พื้้�นที่่�พบปะภายนอก ใหม่่ๆ 40
Bangkok Green Link
Bangkok Green Link positively challenges Bangkok’s trend of urbanization, giving a long-term vision of resilient public space to the city rather than solving the problem in small details without connecting the dots. Spaces that are not effectively used - canal bank, walkways, space along railways and space under expressways has been turned into adaptive usage areas. We saw canal banks as connections between water and ground transportation, and walkways as interactive passage between people and city. Railways which are a significant low-cost mode of transportation to most Thai residents, own adjacent unutilized space that can be turned into friendly social space. Likewise, various spaces under expressways can be transformed into public parks, offering a total area about 4.5 times of Lumpini Park, the oldest public park in the middle of Bangkok. The overall green network strategy focuses on linking public transportation with scattered nodes and districts, creating more decentralized pocket parks, embracing nature and ecological elements and using technology as a platform to help develop these public renovations. These are why the green urban network provides an outer ring - 4 Main Links and crossover linkages - 8 Sub Links, that has unique function contributed to each neighborhood.
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
For example, Main Link 2 - Sathorn Link proposes a revitalization on Sathorn, one of the major CBD roads and the oldest road in Bangkok which runs along with a left out canal. Technology like smart bus stops connected with mobile apps are incorporated along with green walkable space along the canal in the middle of the road, having purified diverse ecosystems for people interaction and urban wildlife. Similarly, Sub Link 6 - Saensaep Canal Link aims for a renovation of piers and canal banks along one of the oldest canal of Bangkok which has been left out due to the change of Bangkok life - from river-based to road-based. All blocked up elements like fences will be torn down and substituted with public pocket spaces, allowing each unit - from local houses to commercial buildings to open back to the canal again. Successfully, the project consists of one part that is fully complete - Lan Kilapat II of Main Link 1, a community’s sport arena and playground under Urupong Expressway, designed with the collaboration of Shma Soen Company Limited. It is specially designed through a collaboration process with the neighborhood in order to know their true needs, and transform into a new adaptive space within the existing highway structures and conditions. At the end, Bangkok Green Link is calculated to add up to 10,800 more big trees to the city and absorb 1,620 tons of Carbon Dioxide and filter 3,580 tons of dust per year. Storm water can be detained about 54,000 square meters and temperature can be lowered down to 0.4-3 °C within 30 meters. Moreover, greenery can increase around 20% of land price and lower down travelling and medical expenses as it enhances walkable civic lifestyle. Accessibility to a variety of places and activities will accordingly affect local economic growth.
Content by A think tank unit who works on landscape design methodology development, archiving and researching landscape knowledge
ทีีม think tank ผู้้ทำ � ำ�งานด้้านการพััฒนาวิิธีก ี ารออกแบบภููมิิทััศน์์ รวบรวมและวิิจัย ั องค์์ความรู้้ด้ � ้านภููมิิสถาปััตยกรรมใหม่่ๆ
Bangkok Green Link
41
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
ชาม shma + farm สวนผัักกิินได้้หลัังบ้้านของฉมา
ในช่่วงการแพร่่ระบาดของโรค COVID-19 ที่่�ผ่า่ นมาเราได้้เห็็นภาพผู้้�คนกัักตุุนอาหาร แย่่งกัันซื้้อ� สิินค้้ามากมายจาก สื่่�อต่่างๆปฏิิเสธไม่่ได้้ว่่ากลุ่่�มผู้้�ที่่�ได้้รัับผลกระทบอย่่างสููงคืือผู้้�ที่่�ตกงานจากพิิษเศรษฐกิิจรวมถึึงผู้้�ที่่�มีีอาชีีพเป็็นแรงงานรายวััน จนนำำ�มาสู่่�ภาพของการใช้้ตู้้�ปัันสุุขที่่�เราเห็็นๆกััน ฉมาได้้ตระหนัักถึึงปััญหาความมั่่น� คงทางอาหารที่่ทุ� กุ คนพึึงมีี ในฐานะภููมิสิ ถาปนิิกเราตั้้ง� คำำ�ถามว่่า จะเป็็นไปได้้ไหม ถ้้าทุุกคนสามารถเข้้าถึึงพื้้น� ที่่ผ� ลิิตอาหารได้้อย่่างสะดวก ผ่่านการจััดสรรให้้แทรกซึึมเข้้าไปยัังพื้้น� ที่่ต่� า่ งๆในเมืือง ไม่่ว่า่ จะเป็็นที่่� อยู่่�อาศััย สำำ�นัักงาน พื้้�นที่่�รกร้้าง หรืือกระทั่่�งริิมฟุุตบาทซึ่่�งเป็็นพื้้�นที่่�สาธารณะเกิิดกลไกที่่�สามารถช่่วยลดค่่าใช้้จ่่ายจากการซื้้�อ วััตถุุดิิบหรืือซื้้�ออาหารปรุุงสำำ�เร็็จให้้เรามีีอาหารกิินอิ่่�มท้้องยามขาดแคลน และนำำ�ผลผลิิตมาต่่อยอดสร้้างรายได้้ต่่อไป มองกลัับมาที่่ฉ� มา เราเองก็็เป็็นเหมืือนชุุมชนขนาดเล็็กที่่ย่� า่ นเอกมััย ออฟฟิิศเรามีีพื้้น� ที่่ว่� า่ งที่่ส� ามารถทดลองทำำ�แปลง ผัักขนาดย่่อมได้้ เกิิดเป็็นกิิจกรรมทางสัังคมที่่�ให้้ทุุกคนมาพบปะกััน สร้้างผลผลิิตไว้้แบ่่งปัันกัันภายในออฟฟิิศหรืือกระทั่่�งเพื่่�อ บ้้านใกล้้เคีียง โดยเราได้้จััดตั้้�ง Social Team เฉพาะกิิจขึ้้�นมา มีีสมาชิิกเป็็นชาวฉมาแผนกต่่างๆ มาดููแลกิิจกรรมทำำ�สวนผััก ‘ชาม’ หรืือ Sharm ที่่�ย่่อมาจากคำำ�ว่่า Shma และ Farm ดัังกล่่าว เรามุ่่�งหวัังว่่ากิิจกรรมนอกห้้องทำำ�งานนี้้�จะช่่วยบ่่มเพาะการ ทำำ�งานเป็็นทีีม ส่่งเสริิมทัักษะการสัังเกตการณ์์และลงมืือปฏิิบััติิจริิง เพื่่�อต่่อยอดวิิชาชีีพภููมิิสถาปััตยกรรมต่่อไป 42
Sharm
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
43
Sharm
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
ฐานที่่� 1 การปลููกพืืชสมุุนไพร
จากความสนใจในสวนผัั ก กิิ น ได้้ (Edible Garden) และเกษตรในเมืือง (Urban Farming) เราใช้้โอกาสนี้้�ออกแบบทดลองเลืือกพืืชพรรณอย่่าง สมุุนไพรที่่�ยัังไม่่ถููก ใช้้งานในเชิิงออกแบบมากนัักมาทดลองปลููกใต้้ร่่มไม้้ต้้นกััลปพฤกษ์์ นอกจากจะให้้ความ สวยงามแล้้ว ยังั สามารถนำำ�มาใช้้บริโิ ภคได้้ด้ว้ ยกิิจขึ้้น� มา มีีสมาชิิกเป็็นชาวฉมาแผนกต่่างๆ มา ดููแลกิิจกรรมทำำ�สวนผััก ‘ชาม’ หรืือ Sharm ที่่�ย่่อมาจากคำำ�ว่่า Shma และ Farm ดัังกล่่าว เรามุ่่�งหวัังว่่ากิิจกรรมนอกห้้องทำำ�งานนี้้�จะช่่วยบ่่มเพาะการทำำ�งานเป็็นทีีม ส่่งเสริิมทัักษะการ สัังเกตการณ์์และลงมืือปฏิิบัติั จิ ริิง เพื่่อ� ต่่อยอดวิิชาชีีพภููมิสิ ถาปััตยกรรมต่่อไป
วััตถุุประสงค์์ 1 เพื่่�อศึึกษาว่่าพืืชพรรณที่่�สนใจมีีการเปลี่่�ยนแปลงอย่่างไรหากปลููกบริิเวณที่่ร่� ม่ (ภายใต้้ต้น้ ไม้้ใหญ่่ที่มีีพุ่่� �่ มทึึบ) 2 เพื่่�อศึึกษาว่่าพืืชพรรณชนิิดใดสามารถอาศััยในที่่ร่� ่มได้้ สมมติิฐาน พืืชที่่�เหมาะต่่อการปลููกใต้้ร่่มเงาเท่่านั้้�นหรืือสามารถอาศััยอยู่่�ภายใต้้ร่่มเงาได้้ จะยัังคงมีีความอุุดมสมบููรณ์์สุุข ภาพดีีและไม่่เสีียรููปทรง เมื่่�อนำำ�มาปลููกในพื้้�นที่่�ร่่ม ตััวแปรต้้น 1 ชนิิดพืืชพรรณที่่�หลากหลาย ตััวแปรตาม 1 การเปลี่่�ยนแปลงด้้านรููปทรงของพืืชพรรณเปรีียบเทีียบระหว่่างพืืชที่่�ปลููกในร่่มและพืืชที่่�ปลููกโดนแสง 2 การเปลี่ย�่ นแปลงด้้านสุุขภาพความสมบููรณ์์ของพืืชพรรณ เปรีียบเทีียบระหว่่างพืืชที่่ป� ลููกโดนแสงและพืืชที่่ป� ลููกในร่่ม ตััวแปรควบคุุม 1 ปริิมาณแสง (พื้้�นที่่�ในการปลููกพืืชต้้องเป็็นบริิเวณใต้้ร่่มเงา) 2 ปริิมาณน้ำำ�� 3 การดููแลรัักษา 4 การกำำ�จััดวััชพืืช โรค และศััตรููพืืช ผลลััพธ์์ที่ค่� าดหวัังจากการทดลอง 1 รู้้�จัักชนิิดพืืชพรรณที่่�เหมาะกัับการปลููกในพื้้�นที่่ร่� ่ม เพื่่อ� นำำ�มาต่่อยอดในงานออกแบบภููมิทัิ ศั น์์และจััดพืืชสวน 44
Sharm
ฐานที่่� 2-3 การปลููกแบบหว่่านเมล็็ดลงในแปลงปลููกโดยตรง และเพาะเมล็็ดในกระถางปลููก
วััตถุุประสงค์์ 1 เพื่่�อศึึกษาความแตกต่่างระหว่่างการปลููกพืืชผัักแบบหว่่านเมล็็ดลงใน แปลงปลููกโดยตรง และแบบเพาะเมล็็ดในกระถางปลููก 2 เพื่่�อศึึกษาอััตราการงอกและการเจริิญเติิบโตของพืืชผัักที่่�ปลููกแบบ หว่่านเมล็็ดลงในแปลงปลููกโดยตรง และแบบเพาะเมล็็ดในกระถาง ปลููก 3 เพื่่�อประเมิินความคุ้้�มค่่าในการปลููกโดยมีีปริิมาณและคุุณภาพของ ผลผลิิตเป็็นตััวชี้้�วััด 4 เพื่่�อศึึกษาแนวทางกาปลููกพืืชผัักที่่�เหมาะสมกัับผู้้�ที่่�ไม่่มีีเวลาในการ ดููแลมากนััก สมมติิฐาน พืืชที่่เ� หมาะต่่อการปลููกใต้้ร่ม่ เงาเท่่านั้้�นหรืือสามารถอาศััยอยู่่�ภายใต้้ร่ม่ เงาได้้ จะยัังคงมีีความอุุดมสมบููรณ์์สุุขภาพดีีและไม่่เสีียรููปทรง เมื่่�อนำำ� มาปลููกในพื้้�นที่่�ร่่ม ตััวแปรต้้น 1 ชนิิดพืืชพรรณที่่�หลากหลาย ตััวแปรตาม 1 การเปลี่่ย� นแปลงด้้านรููปทรงของพืืชพรรณเปรีียบเทีียบระหว่่างพืืชที่่� ปลููกในร่่มและพืืชที่่�ปลููกโดนแสง 2 การเปลี่่ย� นแปลงด้้านสุุขภาพความสมบููรณ์์ของพืืชพรรณเปรีียบเทีียบ ระหว่่างพืืชที่่�ปลููกโดลนแสงและพืืชที่่�ปลููกในร่่ม ตััวแปรควบคุุม 1 ปริิมาณแสง (พื้้�นที่่�ในการปลููกพืืชต้้องเป็็นบริิเวณใต้้ร่่มเงา) 2 ปริิมาณน้ำำ�� 3 การดููแลรัักษา 4 การกำำ�จััดวััชพืืช โรค และศััตรููพืืช ผลลััพธ์์ที่ค่� าดหวัังจากการทดลอง 1 รู้้�จัักชนิิดพืืชพรรณที่่เ� หมาะกัับการปลููกในพื้้น� ที่่ร่� ม่ เพื่่�อนำำ�มาต่่อยอด ในงานออกแบบภููมิิทััศน์์และจััดพืืชสวน
Sharm
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
เราทดลองเปรีียบเทีียบการปลููกสองวิิธีีคืือ การหว่่านเมล็็ดลงในแปลงปลููกโดยตรง และการเพาะเมล็็ดแยกในกระถาง ปลููกก่่อนย้้ายมาปลููกที่่�แปลงอีีกทีี ดููว่่ามีีผลผลิิตแตกต่่างกัันอย่่างไร ใช้้เวลาในการทำำ�เท่่าไร เพื่่�อเก็็บข้้อมููลดููว่่าการปลููกแบบ ไหนที่่�เหมาะสมกัับวิิถีีชีีวิิตคนเมืืองที่่�มีีเวลาดููแลน้้อย เราพยายามควบคุุมวิิธีีการดููแลให้้สอดคล้้องกัับวิิถีีชีีวิิตของเราภายใต้้ เงื่่�อนไขการเป็็นภููมิิสถาปนิิกและนัักออกแบบ เช่่น มีีเวลาว่่างน้้อย ต้้องอาศััยคุุณแม่่บ้้านมาช่่วยรดในตอนเช้้ามาก
45
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
สมมติิฐาน 1 การปลููกพืืชมีีกลิ่่�นอย่่าง ตะไคร้้ จะช่่วยไล่่แมลงหรืือช่่วย ลดความเสีียหายที่่เ� กิิดจากศััตรููพืืช ทำำ�ให้้พืืชผลที่่ป� ลููกอยู่่�ด้้าน ในมีีความสมบููรณ์์มากขึ้้น� 2 การปลููกพืืชสีีสัันอย่่าง ผกากรอง จะช่่วยดึึงดููดแมลงและศััตรููพืืชจึึงช่่วยลดความเสีียหายที่่เ� กิิด กัับพืืชผล ที่่�ปลููกอยู่่�ด้้านใน 3 การปลูู ก ต้้ น พืืชผสมผสานจะทำำ� ให้้ เ กิิ ด ศัั ต รูู พืื ชเข้้ า เข้้าทำำ�ลายพืืชผลที่่�ปลููกอยู่่�ด้้านในมากกว่่าอีีกสองแปล ตััวแปรต้้น 1 มะเขืือเทศสีีดา ตััวแปรตาม 1 สุุขภาพของมะเขืือเทศสีีดา ตััวแปรควบคุุม ระยะเวลาในการปลููก 2 ขนาดของแปลงปลููก 3 ปริิมาณแสงแดด 4 ปริิมาณน้ำำ�� 5 อายุุของมะเขืือเทศสีีดาที่่นำ� ำ�มาปลููก 6 ความสููงของมะเขืือเทศสีีดาที่่นำ� ำ�มาปลููก 7 สุุขภาพของมะเขืืเทศสีีดาก่่อนนำำ�มาปลููก 8 ตำำ�แหน่่งของ มะเขืือเทศสีีดาในแปลงปลููก ผลลััพธ์์ที่ค่� าดหวัังจากการทดลอง เข้้าใจวิิธีีการปลููกพืืชร่่วมกัันที่่ส� ามารถช่่วยลดแมลงที่่ม� ารบกวน พืืชผลหลัักภายใต้้การใช้้ทฤษฎีีการปลููกพืืชแบบผสมผสาน
ฐานที่่� 4 การปลููกแบบผสมผสาน เราทดลองนำำ�ทฤษฎีีการปลููกพืืชแบบผสมผสาน (Companion Planting) มาปรัับ ใช้้ในพื้้น� ที่่จ� ริิงเพื่่�อสัังเกตติิดตามผลการเปลี่่ย� นแปลงต่่างๆที่่เ� กิิดขึ้้น� กัับพืืช เช่่น การเจริิญเติิบโต ของผลและใบ ผลกระทบจากโรค แมลงและศััตรููพืืช ในฐานนี้้�เราใช้้ มะเขืือเทศสีีดา เป็็นตััวแปร ต้้นหรืือผลผลิิตสำำ�หรัับการสัังเกตการณ์์ แบ่่งเป็็น 4 แปลงคืือ หนึ่่�ง ปลููกมะเขืือเทศสีีดากัับ ตะไคร้้ สอง ปลููกมะเขืือเทศสีีดากัับผกากรอง สาม ปลููกมะเขืือเทศสีีดากัับผัักประเภทอื่่�นๆ และสี่่� แปลงสำำ�หรัับปุ๋๋�ยพืืชสด ทฤษฎีีที่่�นำ�ำ มาประกอบการทดลอง 1 เกษตรในเมืือง (Urban Farming) เกษตรในเมืือง เป็็นการปลููกพืืชและเลี้้ย� งสััตว์์ภายในหรืือรอบพื้้น� ที่่เ� มืือง โดยบููรณาการ ความรู้้�ทางนิิเวศวิิทยาและเศรษฐศาสตร์์ตามสภาพพื้้น� ที่่เ� มืือง โดยอาศััยแรงงานและทรััพยากร ทั่่�วไปในพื้้�นที่่�เมืืองเช่่น ปุ๋๋�ยหมัักจากขยะอิินทรีีย์์ น้ำำ��สำำ�หรัับชลประทานจากน้ำำ��เสีียชุุมชน 2 การปลููกพืืชแบบผสมผสาน (Companion Planting) การปลููกพืืชแบบผสมผสาน คืือการนำำ�พืืชต่่างชนิิดกัันมาปลููกร่่วมกัันเพื่่�อส่่งเสริิม ประสิิทธิภิ าพการเติิบโตของกัันและกััน เช่่น การเพิ่่�มสารอาหารในดิิน หรืือการไล่่ศัตั รููพืืช ทั้้�งนี้้� ขึ้้�นอยู่่�กัับการเลืือกสรรชนิิดที่่�เหมาะสมต่่อกััน 3 การจััดการของเสีียในพื้้�นที่่� การจััดการของเสีียในพื้้�นที่่� หมายถึึงการจััดการทรััพยากรในระบบให้้เกิิดการ หมุุนเวีียน เช่่น การนำำ�ซากพืืช เศษใบไม้้ที่่�ร่ว่ ง มาหมัักทำำ�เป็็นปุ๋๋�ยพืืชสดใช้้ประกอบการปลููก พืืชต่่อไป
46
4 ทฤษฎีี Square Foot การปลููกพืืชผัักแบบ square foot คืือการปลููกผัักผลไม้้สวนครััวในพื้้น� ที่่เ� ล็็ก อย่่าง เป็็นระเบีียบและให้้ผลผลิิตมากกว่่าการปลููกแบบแถว ถููกคิิดค้้นขึ้้น� โดยวิิศวกร นัักจััดสวนชาว อเมริิกััน Mel Bartholomew และเผยแพร่่ครั้้�งแรกในหนัังสืือ Square Foot Gardening โดยมีีวิิธีีการปลููกคืือแบ่่งแปลงปลููกขนาด 4x4 ฟุุตเป็็นกริิดขนาด 1x1 ฟุุตเท่่าๆกััน มีีความ ลึึกกระบะประมาณ 150 มม. จากนั้้�นจึึงค่่อยปลููกเมล็็ดพืืขพรรณแต่่ละชนิิดในช่่องนั้้�นๆ ตาม ขนาด ความหนาแน่่นที่่เ� หมาะสม นอกจากวิิธีีการนี้้�จะทำำ�ให้้พืืชผัักเติิบโตอย่่างมีีประสิิทธิภิ าพ แล้้ว ยังั ไม่่ต้อ้ งเหยีียบย่ำำ��ดินิ เพื่่�อจััดการ ง่่ายต่่อการเคลื่่อ� นย้้ายและเก็็บเกี่่ย� วอีีกด้้วย ทั้้�งนี้้�ควร เว้้นระยะห่่างระหว่่างต้้นแต่่ละชนิิดไม่่ให้้กว้้างมากเพื่่�อป้้องกัันวััชพืืชเติิบโต และควรปลููกพืืช ผสมหลากหลายชนิิดเพื่่�อป้้องกัันโรค แมลงและศััตรููพืืช
Sharm
ผลงานของ Social Team ไม่่ได้้เพีียงเท่่านี้้� นอกจากเป้้าหมายการส่่งเสริิมความ กิินดีีอยู่่�ดีีของคนในออฟฟิิศแล้้ว เราอยากแบ่่งปัันองค์์ความรู้้�เรื่่�องการทำำ�สวนผัักกิินได้้ และ การออกแบบภููมิิทััศน์์แก่่สัังคมด้้วย โดยต่่อยอดเป็็นโครงการ สวนผัักชุุมชนคลองลััดภาชีี ที่่เ� ราได้้ร่่วมพััฒนากัับ พอช. หรืือ สถาบัันพััฒนาองค์์กรชุุมชน (องค์์การมหาชน) มีีเป้้าหมาย เพื่่� อ วางผัั ง ปลูู ก ผลผลิิ ต กิิ นได้้ และพื้้� นที่่� ส่่ วนกลางต่่ างๆ พร้้ อมพัั ฒนาวิิ ธีี การจัั ดการที่่� มีี ประสิิทธิิภาพ เรามองว่่า อาหาร ที่่�เก็็บเกี่่�ยวเองกัับมืือในแปลงปลููกและนำำ�มาปรุุงเป็็นมื้้�ออาหาร ในครััวกลาง เปรีียบเสมืือนตััวกลางสำำ�คัญ ั ที่่เ� ชื่่อ� มความสััมพัันธ์์ของคนในชุุมชนได้้ เราเลยเริ่่ม� ต้้นจากการลงพื้้�นที่่�ชุุมชนคลองลััดภาชีี จััดทำำ�กระบวนการมีีส่่วนร่่วมระดมไอเดีียจากทั้้�งเด็็ก และผู้้�ใหญ่่ เก็็บข้อ้ มููลชนิิดพืืชผัักสวนครััวที่่ป� ลููกอยู่่�แล้้วในชุุมชน เพื่่�อทำำ�ความเข้้าใจต้้นทุุนเดิิม และความต้้องการของพวกเขาให้้ได้้มากที่่สุ� ุด ปััจจุุบัันโครงการนี้้�ยัังคงอยู่่�ระหว่่างการดำำ�เนิิน การ มีีการลงชุุมชน จััดกิิจกรรม ออกแบบพื้้�นที่่�และการจััดการใหม่่อย่่างค่่อยเป็็นค่่อยไป
Content by
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
During the COVID-19 pandemic, we have witnessed certain food hoarding frenzy from the news, especially among the unemployed citizens or ones that cannot afford so much. The little free pantry for sharing foods and supplies became a temporary solution provided across Thailand. As landscape architects, we thought about this issue, how we can make every citizen able to access food production easily. What if farming and cultivated space are distributed to all space around the city - housings, offices, idle spaces and even footpaths ? This can help save costs on food buying while achieving healthy products at the same time. As a small community in Ekkamai, we take this opportunity to transform our compact courtyard behind our home office to an edible garden, producing food for our employees and neighbors. We have established a “Shma Social Team” consisting of delegates from different departments, to take care of gardening activity at our backyard ‘Sharm,’ derived from Shma and Farm. Basically, our Sharm consists of 4 growing zones - Herbs, Plants from broadcasting, Plants from pot seeding, and Companion Plantings. In the 1st zone, where we grow herbs, we try to explore new herb species that haven’t been used much in the landscape design, by testing planting under the shades. Next, the 2nd and 3rd zone are basically the same species, but tested out in different methods - broadcasting directly onto the plot and seeding in plant pots before relocating to the plot afterwards. We will compare the results on how different the crops are, how much time taken or whether they suit urban lifestyle or not, as we aim to find out the most suitable way of urban farming for people who have limited space or less free time. Finally, in the last zone, we experiment Companion Planting theory and Square Foot method in growing fruits and vegetables. We will observe the result by evaluating the growth of fruits and leaves, and the diseases, insects and pests found. Apart from promoting good quality of life in our office, we also share our edible gardening methods and landscape design to the society as well. As a result, Shma Social Team came up with Khlong Lat Pachee Community Garden Project, in collaboration with CODI or Community Organizations Development Institute. The project aims for the masterplanning of the edible garden and communal space along with effective maintaining methods. ‘Food’, cultivated by one’s self and cooked in the communal kitchen can become a tool to reconnect people in the community together. We begin with making a site visit at the community, gaining ideas through a participatory process from members of all ages, and exploring the existing plants and vegetables grown on site, in order to understand the assets and their real needs. Until now, the project is still on progress, with a constant community engagement method.
A special team, gathering up of Shma members from various department who do hands-on practice with interest in developing new knowledge with community
: Social Team
ทีีมนัักลงมืือทำำ�ที่่�รวบรวมชาวฉมาจากหลากหลายแผนก ผู้้ส � นใจเรื่่�องการพััฒนาองค์์ความรู้้ใ� หม่่ร่ว่ มกัับชุุมชน
Sharm
47
สร้้างพื้้�นที่่�สีีเขีียวดููดซัับ พลัังงานแสงอาทิิตย์ด้ ์ ้วย Sol(y)ar
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
Power Up the Open Space with Solar Power and Green Space : Sol(y)ar
48
Solar Vengers คืือ โครงการนวััตกรรมเพื่่�อการพััฒนาองค์์ความรู้้�และส่่งเสริิมการ ใช้้พลัังงานแสงอาทิิตย์์ จััดขึ้้�นโดย สำำ�นัักงานส่่งเสริิมเศรษฐกิิจสร้้างสรรค์์ (องค์์การมหาชน) หรืือ CEA ได้้รัับการสนัับสนุุนงบประมาณจากกองทุุนพััฒนาไฟฟ้้าเพื่่�อกิิจการตามมาตรา 97(5) ที่่ส่� ง่ เสริิมให้้เกิิดการออกแบบและพััฒนาผลิิตภััณฑ์์ที่ใ่� ช้้ประโยชน์์จากพลัังงานจากแสง อาทิิตย์์ โครงการเริ่่ม� ตั้้ง� แต่่การทำำ�กิจิ กรรมระดมความคิิดด้้วยกระบวนการคิิดเชิิงออกแบบ (Design Thinking) ระหว่่างผู้้�เชี่่�ยวชาญจากหลากหลายสาขาวิิชา เพื่่�อหาจุุดเริ่่�มต้้นของแนว ความคิิดในการพััฒนาผลิิตภััณฑ์์ โดยการทำำ�กิิจกรรมมีีการแบ่่งออกเป็็น 3 เวิิร์์กช็็อป ได้้แก่่ CreativeVenger DesignVenger และ MakerVenger หลัังจากนั้้�นจึึงได้้มีีการนำำ�เสนอผล งานต้้นแบบและจััดแสดงผลงานในเทศกาลงานออกแบบกรุุงเทพ 2563 (Bangkok Design Week 2020) ช่่วงวัันที่่� 1-9 กุุมภาพัันธ์์ 2563 เพื่่�อคััดเลืือก 3 ผลงาน จากผู้้�เข้้าร่่วมการจััด แสดงทั้้�งหมด 12 ผลงาน เพื่่�อนำำ�แนวความคิิดไปต่่อยอดในการทำำ�ต้น้ แบบขนาด 1:1 ที่่ส� ามารถ ใช้้งานได้้จริิง
จากสองสถานการณ์์ที่ว่่� า่ ทำำ�ให้้เราเล็็งเห็็นถึึงโอกาสใหม่่ๆจากพื้้น� ที่่ล� านว่่างคอนกรีีต ที่่�กระจายตััวอยู่่�ทั่่�วเมืืองทั้้�ง ลานหน้้าอาคาร ดาดฟ้้า และลานจอดรถ จะเป็็นอย่่างไรหากเรา เปลี่่�ยนพื้้�นที่่�ดาดแข็็งเหล่่านี้้�ให้้กลายเป็็นพื้้�นที่่�สีีเขีียว เปลี่่�ยนความร้้อนที่่�ทำำ�ให้้เราเหงื่่�อตกให้้ กลายเป็็นพลัังงานใช้้ในเมืืองได้้ ถืือเป็็นการกระตุ้้�นพื้้�นที่่�ว่่างให้้เกิิดประโยชน์์ทั้้�งด้้านผลิิต พลัังงาน สร้้างความสวยงาม และเป็็นพื้้�นที่่ทำ� ำ�กิิจกรรมไปด้้วยในตััว นี่่�เองจึึงกลายมาเป็็นดีีไซน์์ แผ่่นพื้้�นโมดููลาร์์เก็็บพลัังงานแสงอาทิิตย์์โซหญ้้า (Sol(y)ar Modular Pavement) ที่่�ถููกคิิดค้้นขึ้้�นมาเป็็นผลิิตภััณฑ์์ทดแทนวััสดุุปูพืู้ ้�นเพื่่�อช่่วย ส่่งเสริิมคุุณภาพชีีวิิตของคนเมืือง ในขั้้น� ตอนการออกแบบเราเริ่่ม� ต้้นด้้วยเป้้าหมายว่่าจะสร้้าง ผลิิตภััณฑ์์ที่ช่่� ว่ ยเพิ่่�มคุุณค่า่ ให้้กับพื้ ั น้� ที่่ว่� า่ งในเมืือง ในขณะเดีียวกัันก็็ต้อ้ งตอบสนองความความ ต้้องการของกลุ่่�มเป้้าหมาย ง่่ายต่่อการนำำ�ไปออกแบบการใช้้งานในพื้้�นที่่�และง่่ายต่่อการติิด ตั้้�งเพื่่�อให้้ช่่างทั่่�วไปหรืือคนธรรมดาซื้้�อไปติิดตั้้�งเองได้้
Solar Vengers is a special innovative project for developing knowledge and promoting solar energy usage. It is held by Creative Economy Agency (Public Organization) or CEA, and financially supported by Power Development Fund based on Section 97(5), which encourages the research and development of products that utilize solar energy. The project starts from Design Thinking workshop, inviting people from various professions to brainstorm for the initial idea of the product development concept. This activity is divided into 3 workshops - CreativeVenger, DesignVenger and MakerVenger with 12 participating teams in total. Each team developed their own prototypes and exhibited them at Bangkok Design Week 2020, during 1-9 February 2020. 3 of them are selected as finalists for developing further into 1:1 prototypes.
From these two situations, we see new opportunities from transforming those hardscape areas around the city - forecourt, rooftop and parking lot into green spaces, which can also turn heat into electricity for urban usage too. It can be a great way to stimulate the area with various utilizations - energy production, aesthetic making and communal activities. As a result, we came up with the design of Sol(y)ar Modular Pavement, an alternative product upon ordinary pavement for quality urban living. In the design process, we started from setting the goal of creating a product that increases values of unutilized areas, while at the same time, answering the needs of our target audience. It shall be easy to use for creating spaces and installation by technicians and our own selves.
Sol(y)ar
ฉมาได้้เข้้าร่่วมกิิจกรรมนี้้�เช่่นกััน โดยเราพยายายามใช้้องค์์ความรู้้�ด้้านงานภููมิิ สถาปััตยกรรมผสมผสานกัับนวััตกรรมการใช้้พลัังงานแสงอาทิิตย์์คิดิ ค้้นเป็็นผลิิตภััณฑ์์ใหม่่ภาย ใต้้ชื่่�อทีีม Sol(y)ar จากประสบการณ์์การทำำ�งานออกแบบภููมิิทััศน์์ภายในเมืือง เรามองเห็็น ว่่าการเจริิญเติิบโตของเมืืองอย่่างรวดเร็็วในปััจจุุบันั ทำำ�ให้้เกิิดพื้้น� ที่่ค� อนกรีีตขึ้้น� จำำ�นวนมาก ดััง ที่่ข้� อ้ มููลภาพถ่่ายทางอากาศแสดงให้้เห็็นว่่ามีีพื้้น� ที่่เ� หล่่านี้้�กว่่าร้้อยละ 55 ของพื้้น� ที่่เ� มืืองทั้้�งหมด ซึ่่�งเป็็นปััจจััยหนึ่่�งที่่�สร้้างปรากฏการณ์์เกาะความร้้อนเมืือง (Urban Heat Island) ทำำ�ให้้ อุุณภููมิิพื้้�นที่่�สููงขึ้้�น กระทบต่่อสุุขภาวะคนเมืือง อีีกทั้้�งด้้วยปััจจุุบัันที่่�ส่่วนใหญ่่พื้้�นที่่�ผลิิตกระแสไฟฟ้้าจากพลัังงานแสงอาทิิตย์์ล้้วน ตั้้�งอยู่่�บริิเวณภายนอกเมืืองเพราะต้้องการพื้้�นที่่�ขนาดใหญ่่ติิดตั้้�งแผงโซล่่าเซลล์์ให้้สามารถ พลิิตกระแสไฟฟ้้าอย่่างเพีียงพอ กลัับกลายเป็็นว่่าแท้้จริิงแล้้ว วิธีีิ การเช่่นนี้้ส่� ง่ ผลกระทบเชิิงลบ ต่่อระบบนิิเวศ และยัังทำำ�ให้้เกิิดการสููญเสีียพลัังงานในการขนส่่งไฟฟ้้ามายัังตััวเมืืองด้้วย Shma has also participated in the workshop as we tried to integrate our knowledge in landscape design together with solar innovation, developing into a new product called Sol(y)ar. From our professional experience, we see the challenge that rapid urbanization has created a lot of concrete areas. Aerial photographs have shown that there are over 55% of hardscape spaces in the city, and they are one of the main factors that causes Urban Heat Island effect, leading to the rise of temperature and affecting citizens’ health. Likewise, nowadays, solar energy production areas are mostly located in the suburbs, since solar panels require a large amount of space to be installed and generate enough electricity for communal usage. In a way, this kind of usage can badly affect the ecosystem, and led to the loss of energy during electricity transportation to the urban area as well.
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
Sol(y)ar
49
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง 50
แผ่่ น พื้้� น โซหญ้้ า มีีความกว้้ า ง 30 เซนติิ เ มตร ยาว 60 เซนติิ เ มตร และ หนา 10 เซนติิเมตร เป็็นขนาดที่่�พอเหมาะ เป็็นไปตามมาตรฐานของวััสดุุพื้้�น สามารถเคลื่่�อน ย้้ายได้้โดยไม่่ต้้องใช้้เครื่่�องทุ่่�นแรงและง่่ายต่่อการติิดตั้้�ง แผ่่นพื้้�นโซหญ้้าแบ่่งเป็็นสองส่่วนคืือ แผ่่นโซล่่าเซลล์์ และวััสดุุพื้้�น โดยส่่วนที่่�เป็็นแผ่่นโซล่่าเซลล์์มีีลัักษณะเป็็นทรงครึ่่�งวงกลม รััศมีี 22.5 เซนติิเมตร ขนาดใหญ่่เพีียงพอต่่อการผลิิตพลัังงานไฟฟ้้าอย่่างมีีประสิิทธิิภาพจากการ ศึึกษาทางทฤษฎีี ส่่วนด้้านที่่�เหลืือจากครึ่่�งวงกลมเป็็นวััสดุุพื้้�น สามารถซึึมน้ำำ��ได้้เพื่่�อลดอััตรา น้ำำ�� หลากผิิ วดิิ น และยัั ง สามารถเสริิ ม พื้้� น ที่่� ใ ห้้ เ กิิ ด ความเพลิิ ด เพลิิ น ทางการมองเห็็ น (Visual aesthetic) อีีกด้้วย โดยมีีตััวเลืือกระหว่่างพื้้น� ยาง EPDM และพื้้น� หญ้้าหรืือพืืชพรรณ กลายมาเป็็นดีีไซน์์ที่่�นำำ�องค์์ประกอบ 3 ชนิิดมาจััดวางเป็็นแพทเทิิร์์นทั้้�งหมด 4 รููปแบบด้้วย กัันดัังนี้้� 1. แผ่่นที่่�ประกอบด้้วยโซล่่าเซลล์์และ EPDM 2. แผ่่นที่่�ประกอบด้้วยโซล่่าเซลล์์และหญ้้าหรืือพืืชคลุุมดิิน 3. แผ่่นที่่มีี� เพีียงยาง EPDM 4. แผ่่นที่่มีี� เพีียงหญ้้าหรืือพืืชคลุุมดิิน จากแผ่่นปููพื้้�นทั้้�ง 4 รููปแบบ ผู้้�ใช้้งานสามารถนำำ�ไปจััดวางเพื่่�อสร้้างแพทเทิิร์์นปรัับ แต่่งให้้เหมาะสมกัับแต่่ละพื้้�นได้้ตามต้้องการ ทั้้�งนี้้�การเลืือกใช้้ควรคำำ�นึึงถึึงแผ่่นพื้้�นที่่�มีีโซล่่า เซลล์์เป็็นหลัักสำำ�หรัับพื้น้� ที่่ที่� ไ่� ด้้รับั แสงมาก และอาจใช้้แผ่่นโซล่่าเซลล์์สลัับกับั แผ่่นวััสดุุพื้น้� แบบ เต็็มแผ่่นบริิเวณที่่ไ� ด้้รัับแสงปานกลาง ส่่วนบริิเวณไหนที่่โ� ดนแสงน้้อยหรืือไม่่โดนแสงเลย ควร เลืือกใช้้แผ่่นวััสดุุพื้้�นแบบเต็็มแผ่่น ปััจจััยเรื่่อ� งจำำ�นวนคนที่่เ� ข้้ามาใช้้งานในพื้้น� ที่่ก็� มีี็ ผลต่่อการเลืือกชนิิดวััสดุุเช่่นกััน พื้้น� ที่่� ที่่�มีีปริิมาณการใช้้งานเยอะควรเลืือกใช้้พื้้�นยาง EPDM ซึ่่�งเป็็นพื้้�นผิิวที่่�เหมาะสมต่่อการเดิิน หรืือทำำ�กิิจกรรม ส่่วนบริิเวณไหนที่่�มีีการใช้้งานน้้อยก็็ใช้้เป็็นแผ่่นที่่�มีีหญ้้าหรืือพืืชพรรณแทน กัันไป
One module of Sol(y)ar pavement is 30 cm wide, 60 cm long and 10 cm thick. Its size is designed to fit the typical floor material standard, which is compact enough for moving around without needing any additional equipment and easy to assemble. Each Sol(y)ar module consists of two parts - solar cell and floor material. The solar cell part is a semicircle in shape with a radius of 22.5 cm, which is large enough to generate energy effectively based on theory. For the semicircular flooring, materials that can absorb water are chosen to reduce runoff water and enhance visual aesthetic - either EPDM or vegetation ground. Therefore, these three elements are assembled together, forming 4 different patterns as following : 1. Floor tile with solar cell and EPDM 2. Floor tile with solar cell and vegetation 3. Floor tile with only EPDM 4. Floor tile with only vegetation With all of these 4 modules, users can take and arrange them into any patterns freely however they want. Nonetheless, we might select them based on sunlight exposure such as using floor tiles with solar cells mainly on the space that exposed to a lot of sunlight, mixing solar cells tiles and floor tiles with EPDM and vegetation for moderate light space, and filling up with entire EPDM or vegetation floor tiles for space with less or without any sunlight. The amount of users in the space is another criteria to concern in selecting the floor tiles too. Dense areas will be suitable for using EPDM floor tiles in which their surfaces can support walking and physical activities, while areas with lesser usage can utilize EPDM and vegetation floor tiles instead.
Sol(y)ar
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
อาจกล่่าวได้้ว่า่ โซหญ้้าเป็็นตััวเลืือกหนึ่่�งที่่เ� พิ่่�มประโยชน์์ให้้แก่่พื้น้� ที่่ล� านว่่าง นอกจาก จะได้้ประโยชน์์ด้า้ นการผลิิตไฟฟ้้าแล้้ว ผู้้�คนยัังสามารถเข้้ามาใช้้งานพื้้น� ที่่ไ� ด้้ไปพร้้อมๆกััน ทั้้�ง ยัังช่่วยลดน้ำำ��หลากผิิวดิิน ลดการกระเจิิงของแสงในพื้้�นที่่� เมืืองเองก็็ได้้รัับประโยชน์์จากการ มีีพื้้�นที่่�สีีเขีียวที่่�มากขึ้้�นด้้วยเช่่นกััน To sum up, we might say that Sol(y)ar Modular Pavement is one of the solutions that can add value to open spaces, not only producing electricity but also functioning as common spaces for people along with giving certain ecological benefits like reducing runoff water and light scattering. As a result, cities can potentially prosper through the increase of greener spaces.
Content by A think tank unit who works on landscape design methodology development, archiving and researching landscape knowledge
ทีีม think tank ผู้้ทำ � ำ�งานด้้านการพััฒนาวิิธีก ี ารออกแบบภููมิิทััศน์์ รวบรวมและวิิจัย ั องค์์ความรู้้ด้ � ้านภููมิิสถาปััตยกรรมใหม่่ๆ
Sol(y)ar
51
ซึึมซัับธรรมชาติิยามกัักตััว ด้้วยการขยาย พัันธุ์์�พืืชแบบง่่ายๆ Creating Biophilia by Plant Propagation
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
การออกแบบภููมิิทััศน์์ไม่่ได้้เป็็นเพีียงผลงานของภููมิิสถาปนิิกเท่่านั้้�น แต่่เป็็นงานที่่� อาศััยความเชี่่�ยวชาญที่่�หลากหลาย ดัังที่่�ฉมาสนัับสนุุนการร่่วมมืือ (Collaboration) กัับผู้้� เชี่่ย� วชาญภายนอก ทั้้�งนัักวิิชาการ ผู้้�มีีส่่วนได้้ส่ว่ นเสีียในการใช้้งาน หรืือกระทั่่�งลููกค้้าผู้้�พััฒนา พื้้น� ที่่อ� ยู่่�เสมอ ภายในออฟฟิิศเองเราก็็พยายามส่่งเสริิมการทำำ�งานเป็็นทีีมระหว่่างแผนก แลก เปลี่่ย� นความรู้้�ซึ่่ง� กัันและกััน รวมถึึงการสืืบค้้นทดลององค์์ความรู้้�ใหม่่ๆ เช่่นกััน เพราะสามารถ ส่่งเสริิมการทำำ�งานออกแบบภููมิทัิ ศั น์์ได้้ นำำ�ไปสู่่�ผลงานที่่ต� อบโจทย์์ลูกู ค้้า ทั้้�งยัังอยู่่�ร่ว่ มกัับเมืือง และธรรมชาติิได้้อย่่างยั่่�งยืืน การขยายพัันธุ์์�พืืช (Plant Propagation) เป็็นตััวอย่่างกิิจกรรมหนึ่่�งที่่�ทีีมนัักพืืช สวน (Horticulturist) ของฉมาลงมืือทดลองเป็็นประจำำ�ด้้วยความหลงใหลในต้้นไม้้และ พืืชพัันธุ์์� ยิ่่�งในยามเกิิดโรคระบาดโควิิด-19 ที่่�เราผ่่านการกัักตััวอยู่่�บ้้านเป็็นเวลานานแล้้ว เชื่่�อว่่าหลายคนน่่าจะโหยหาความรื่่�นรมย์์จากธรรมชาติิไม่่มากก็็น้้อย โดยนิิยามหมายถึึงการ เพิ่่�มจำำ�นวนต้้นพืืชพัันธุ์์�จากต้้นไม้้ที่่�มีีอยู่่� มีีเป้้าหมายเพื่่�ออนุุรัักษ์์พัันธุุกรรมพืืช ไม่่ให้้สููญพัันธุ์์� อัันที่่จ� ริิงถ้้ามองให้้ง่า่ ยขึ้้น� ว่่าเป็็นวิิธีีการเพิ่่�มจำำ�นวนต้้นไม้้โดยไม่่ต้อ้ งซื้้อ� มาใหม่่ก็ไ็ ด้้ ทั้้ง� ยัังอาศััย ทั้้�งศาสตร์์-ทฤษฎีี มาประยุุกต์์ใช้้กัับ ศิิลป์์-ทัักษะการลงมืือทำำ�ควบคู่่�กัันไป
ทีีมนัักพืืชสวนมัักเลืือกขยายพัันธุ์จ์� ากต้้นทุุนที่่มีี� ภายในออฟฟิิศอย่่าง พรรณไม้้เนื้้อ� อ่่อนภายในสวนหลัังบ้้านที่่�มีีลัักษณะลำำ�ต้้นทอดเลื้้�อย แตกกิ่่�งก้้านมาก และเจริิญเติิบโตทาง ด้้านข้้าง ด้้วยเหตุุผลที่่�ว่่าสามารถขยายพัันธุ์์�ได้้ง่่ายกว่่าไม้้เนื้้�อแข็็ง ไม่่ต้้องใช้้สารเคมีีเร่่งการ เจริิญเติิบโตของรากเลย ซึ่่�งที่่�ทีีมพืืชสวนคััดเลืือกมามีีทั้้�งหมด 10 ชนิิด ได้้แก่่ กวัักมรกต หรืือ Zamioculcas zamiifolia (Lodd.) Engl. (Emerald palm) ลิ้้�นมัังกร หรืือ Sansevieria trifasciata (Snake plant) ฟิิโลเขีียว หรืือ Philodendron erubescens K.Koch & Augustin. (Philodendron) ฟิิโลก้้ามกุ้้�ง หรืือ Philodendron pedatum. (Philodendron) พลููด่่าง หรืือ Epipremnum aureus Engl. (Golden Hunter’s Rolae) พลููปีีกนก หรืือ Monstera sp. (Monstera) พลููฉลุุ หรืือ Monstera obliqua (Miq.) Walp. ‘Expilata’ (Window-leaf) ปริิกน้ำำ�ค้ � ้าง หรืือ Asparagus densiflorus (Kunth) Jessop (Asparagus fern) หููเสืือ หรืือ Plectranthus amboinicus (Lour.) Spreng. (Indian borage) ไทรใบสััก หรืือ Ficus lyrata Warb. (Fiddle-leaf fig)
During Covid-19 pandemic, it seems that many of us are longing for greenery as we are in quarantine for a certain period of time. Plant propagation is one of leisure activities that can help us get in touch with nature again, and it is also a hobby regularly done by our horticulturists with their passion in planting and gardening. In theory, plant propagation is the process of increasing the number of plants with the goal of conserving their traits and genetics. To be easy, it can also be seen as a method of reproducing new plants without having to buy new ones from the market, while utilizing both knowledge and practice together as a whole.
To begin with, our horticulturists choose to reproduce the ones found in our office space, which are softwood species with crawling stem, dense branching and lateral growth. Requiring no additional biostimulants for their roots, they are easier to propagate than hardwood. Thus, there are altogether 10 softwood plants found in our garden that are further propagated by our team :
52
Plant Propagation
Although there are 2 types of plant propagation - sexual and asexual propagation, our horticulturists utilize only sexual propagation method since it is more convenient. It allows us to reproduce new plants directly from only one parent plant without needing the union of sex cells. It can be done in various ways such as cuttings, layering, division, separation and grafting. The process starts by taking some part of the parent plant in appropriate ways. 1 Bulb Cutting and Root Suckering: Suitable for plants that have no seeds, branches or ones that have irregular form Suitable plants for bulb cutting : Emerald palm, Asparagus fern Suitable plants for root suckering : Snake plant Step 1 Take the selected plant which is in the tillering stage out of the existing pot. Trim out its rhizome and dry leaves. Step 2 Cut it with clean knife or scissors into pieces by still leaving the new bulbs or shoot Step 3 Prepare a new separate pot and fill the planting soil for a half. Put the new cutted piece into the new pot and fill the planting soil until it's full. Press the soil firmly, give some water and put the finished pot in a spot with dim sunlight. After that, when it becomes more firm, we can then move it to the preferred spot. Step 4 In the case of propagating in water (only for Snake plant), just put the selected plant, which is in the tillering stage, into the prepared container with water. Put it in a spot with dim sunlight. After that, when its roots start to come out, we can then move it to the preferred spot.
Plant Propagation
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
พืืชแต่่ละชนิิดอาศััยวิิธีีขยายพัันธุ์ที่์� แ่� ตกต่่างกัันไป ในที่่นี้้� �ทีีมนัักพืืชสวนเน้้นทดลอง ด้้วยวิิธีีขยายพัันธุ์แ์� บบไม่่อาศััยเพศทั้้�งหมด ทั้้�งด้้วยวิิธีีการแยกหััวหรืือหน่่อ และการปัักชำำ�ส่ว่ น ประเภทต่่างๆ เพราะเพีียงแค่่มีีต้้นไม้้ดั้้�งเดิิมต้้นเดีียวก็็สามารถทำำ�สร้้างต้้นใหม่่ขึ้้�นมาได้้จาก ส่่วนที่่�ตััดมาโดยตรง ไม่่จำำ�เป็็นต้้องทำำ�ให้้เซลล์์สืืบพัันธุ์์�มารวมกััน ในขั้้�นตอนแรก ทีีมนัักพืืชสวนจะเลืือกวิิธีีตััดส่่วนประกอบของพืืชแม่่แบบมาตาม วิิธีีที่่�เหมาะสมก่่อน 1.1 การขยายพัันธุ์์�พืืชด้้วยการแยกหััวและการแยกหน่่อ : เหมาะกัับพืืชที่่ไ� ม่่ค่อ่ ยมีีเมล็็ด กิ่่�ง ก้้าน หรืือพืืชที่่�มีีลำำ�ต้้นผิิดแปลกไปจากต้้นพืืชที่่�พบเห็็นได้้ทั่่�วไป ชนิิดพืืชที่่�ใช้้ได้้ (แยกหััว) : กวัักมรกต ปริิกน้ำำ�ค้ � ้าง ชนิิดพืืชที่่�ใช้้ได้้ (แยกหน่่อ) : ลิ้้�นมัังกร วิิธีีการแยกหััวหรืือหน่่อ (ในกรณีปี ลููกในกระถาง) 1-นำำ�ต้้นที่่�กำำ�ลัังแตกกอถอดออกจากกระถางเก่่า เขย่่าดิินออก ตััดแต่่งเหง้้าและใบแห้้ง 2-ใช้้มีีดหรืือกรรไกรที่่�คมและสะอาดตััดแบ่่งออก โดยให้้มีีหัวั และหน่่อใหม่่ติิดอยู่่� 3-ใส่่ดินิ ปลููกลงในกระถางใหม่่ที่ค่� วามสููงครึ่่ง� หนึ่่�งของกระถาง นำำ�ต้น้ ที่่แ� ยกกอไว้้ลงปลููก ใส่่ดินิ จนเต็็มกระถาง กดดิินรอบๆให้้แน่่นพอให้้ต้้นไม่่เขยื้้�อน รดน้ำำ��ให้้ชุ่่�ม วางในที่่�ที่มีี่� แดดรำำ�ไร เมื่่�อ ต้้นแข็็งแรงจึึงนำำ�มาไว้้ในตำำ�แหน่่งที่่ต้� ้องการ 4- ในกรณีีหากปลููกแช่่น้ำ� ำ� (เฉพาะใบลิ้้�นมัังกร) ให้้นำำ�ต้้นที่่�แยกกอไว้้ใส่่ลงภาชนะที่่�แช่่น้ำำ�� วาง ในที่่�ที่่�มีีแดดรำำ�ไร เมื่่�อเกิิดรากจึึงนำำ�มาไว้้ในตำำ�แหน่่งที่่ต้� ้องการ
53
1.2 การขยายพัันธุ์์�พืืชด้้วยการปัักชำำ�: การตััดส่่วนใดส่่วนหนึ่่�งของพืืช ไม่่ว่่าจะ เป็็น ใบ กิ่่�ง ล้ำำ�ต้ � ้น หรืือ ราก ออกมาจากต้้นเดิิม มาปลููกไว้้ในสภาพแวดล้้อมพอเหมาะ ให้้ เจริิญเติิบโตเป็็นต้้นใหม่่ได้้ ชนิิดพืืชที่่�ปัักชำำ�ใบหรืือบริิเวณยอดต้้นได้้ : กวัักมรกต ลิ้้�นมัังกร ไทรใบสััก ฟิิโลก้้ามกุ้้�ง พลููฉลุุ ฟิิโลเขีียว พลููด่่าง พลููปีีกนก หููเสืือ 1-เลืือกกิ่่�งต้้นที่่�แข็็งแรง และไม่่มีีโรคหรืือแมลง 2-ใช้้มีีดหรืือกรรไกรที่่�คมและสะอาดตัั ดบริิเวณก้้านใบ 3-เตรีียมกระถางใส่่วััสดุุปลููก โชยน้ำำ��ให้้ชื้้�นแล้้วจึึงปัักชำำ�ใบลงไป 4-ในกรณีีหากปลููกแช่่น้ำำ�� ให้้แช่่น้ำำ��เฉพาะส่่วนของก้้านใบเพื่่�อกระตุ้้�นให้้เกิิดราก วางในที่่�ที่่�มีี แดดรำำ�ไร เมื่่�อเกิิดรากจึึงนำำ�มาไว้้ในตำำ�แหน่่งที่่ต้� ้องการ
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
2 Cuttings: Suitable for many types of plants. It means to taking out a cutting, a vegetative part of the plant from the parent plant in order to grow in an appropriate environment and grow into a new plant Suitable plants for leaf cuttings and stem cuttings: Emerald palm, Snake plant, Fiddle-leaf fig, Philodendron pedatum., Window-leaf, Philodendron erubescens K.Koch & Augustin., Golden Hunter’s Rolae, Monstera sp. ‘Karstenianum’, Indian borage Step 1 Choose a firm branch without disease, pest or insects Step 2 Cut off its petiole by clean knife or scissors Step 3 Prepare a plant pot with soil or growing material. Give some water and put the piece into it. Step 4 In the case of propagating in water, soak the petiole piece in water to stimulate its roots to grow. Put it in a spot with dim sunlight. After that, when its roots start to come out, we can then move it to the preferred spot.
วิิธีีการดููแลง่่ายๆ 1.หลีีกเลี่่ย� งการวางต้้นไม้้ในบริิเวณใกล้้กระจกหรืือหน้้าต่่างที่่ไ� ด้้รับั แสงแดดโดยตรง เนื่่�องจาก อาจทำำ�ให้้ใบพืืชไหม้้ และมีีอััตราการเจริิญเติิบโตที่่ช้� ้าลง 2.หมั่่�นรดน้ำำ��ในช่่วง1-2สััปดาห์์แรกที่่�ปัักชำำ�อย่่างสม่ำำ��เสมอ เพื่่�อกระตุ้้�นให้้เกิิดรากได้้เร็็วขึ้้�น ควรรดน้ำำ�� ให้้ดิินชื้้�นอยู่่�ตลอดประกอบกัับฉีีดพ่่นละอองน้ำำ�� ควบคู่่�ไปด้้วยทุุกๆ 2 วััน Caring Tips 1 Avoid putting the new plants near the mirror or where it get direct sunlight because this will make the leaves burning and slow down the growth 2 Try watering the new plants regularly during the first and second week in order to stimulate the root growth. We can also water them directly to keep it humid all the time together with spraying some water every two days.
54
Plant Propagation
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
แน่่นอน นอกจากความสวยงาม ต้้นไม้้ยังั ให้้ประโยชน์์ด้า้ นอื่่น� ๆแก่่เราด้้วย การมีีดอกไม้้ ใบไม้้อยู่่�ในบ้้านช่่วยให้้จิติ ใจ เราเบิิกบานได้้อย่่างไม่่ต้อ้ งสงสััย ตามหลัักคิิด Biophilia ที่่ว่� า่ มนุุษย์์นั้้น� ผููกพัันและโหยหาองค์์ประกอบทางธรรมชาติิและระบบ นิิเวศโดยจิิตใต้้สำำ�นึึก การนำำ�ต้้นไม้้ที่่�ขยายพัันธุ์์�มาผนวกกัับพื้้�นที่่�ภายในอาคาร หรืือโต๊๊ะทำำ�งานแบบที่่�ทีีมนัักพืืชสวนและชาว ฉมาทำำ� จึึงช่่วยให้้เกิิดความผ่่อนคลาย ลดความตึึงเครีียด ใช้้งานพื้้�นที่่นั้้� �นๆได้้นานขึ้้�น และเพิ่่�มประสิิทธิิภาพในการทำำ�งานด้้ว มาถึึงตรงนี้้� หลายคนอาจคิิดว่่าการสร้้างพื้้�นที่่�ห้้องให้้น่่าทำำ�งานจำำ�เป็็นต้้องมีีต้้นไม้้เท่่านั้้�น ที่่�จริิงแล้้ว Biophilia สามารถเกิิดขึ้้�นได้้จากวิิธีีอื่่�นๆ ทั้้�งการใช้้วััสดุุเลีียนแบบธรรมชาติิ ลวดลายอ่่อนช้้อย เสีียงนกร้้อง ทางน้ำำ��ไหล หรืือกระทั่่�งการ จััดพื้้�นที่่�ให้้เปิิดโล่่ง หลบมุุมให้้มีีความเป็็นส่่วนตััว ก็็เป็็นองค์์ประกอบที่่�น่่าสนใจเช่่นกััน ในวัันที่่โ� รคระบาดอาจอุุบัติั ขึ้ิ น้� โดยไม่่รู้้�ตัว ั Plant Propagation อาจเป็็นงานอดิิเรกหรืือกิิจกรรมทางเลืือกหนึ่่�งที่่เ� ริ่่ม� ต้้นศึึกษาได้้ง่า่ ยๆ ที่่อ� ย่่างน้้อยมอบความเบิิกบานแก่่สุขุ ภาพและจิิตใจของเรา หากทดลองทำำ�ไปเรื่่อ� ยๆ ไม่่แน่่ว่า่ อาจต่่อยอดนำำ� มาสู่่�การออกแบบภููมิทัิ ัศน์์แบบใหม่่ได้้เหมืือนกััน Of course, not only aesthetic, trees are also beneficial in many other ways, especially the fact that they help heal our minds. Based on the concept of ‘Biophilia,’ which states an ideology that humans are subconsciously attached to and seek for a natural environment and ecosystem. As a result, by decorating the interiors and working spaces with newly propagated plants can eventually help soothe our mind, alleviate stress and enhance productivity while allowing us to use the space longer than usual. However, Biophilia doesn’t only need to be created with real plantings. It can also be achieved by natural-like materials, organic patterns, birds tweeting sounds, water features and even open or comfy private space arrangement too. Living in the time that new diseases will arise without knowing, Plant Propagation might then be an alternative activity or hobby that can be easily done and give us some delight amidst bad days. Indeed, these methods can also be adapted further in landscape designing too.
Content by
: Horticulture Team
A small team with strong knowledge on planting who works on planting design to ensure functional and sustainable landscape project
ทีีมนัักพืืชสวนรัักษ์์โลกรัักษ์์ต้้นไม้้ผู้้อ � ยู่่�เบื้้�องหลัังการออกแบบผัังต้้นไม้้ในงานฉมา
Plant Propagation
55
กรุุงเทพฯ
ปลููกต้้นอะไรดีี ?
6 กลุ่่�มพัันธุ์์�ไม้้ปลูก ู ริิมถนนและบนทางเท้้า
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
6 Types of Street Trees to grow along roads and footpaths of Bangkok
บนท้้องถนนที่่เ� ราต่่างใช้้ชีีวิติ เดิินทางไปไหนมาไหนทุุกวััน ไม้้ริมิ ถนน (Street Trees) นัับว่่าเป็็นองค์์ประกอบทางกายภาพที่่สำ� ำ�คััญไม่่แพ้้สิ่่�งปลููกสร้้างอย่่าง ป้้ายรถเมล์์ เสาไฟฟ้้า หรืือที่่นั่่� ง� พัักคอย แถมช่่วยเพิ่่�มร่่มเงาและความร่่มรื่่น� ลดปรากฏการณ์์ความร้้อนในเมืืองหรืือ Urban Heat Island โครงข่่ายต้้นไม้้ในเมืืองเช่่นนี้้� ยัังสามารถเชื่่�อมต่่อกลายเป็็นเส้้นทางสีี เขีียว (Green Corridor) ขนาดยัักษ์์ไปด้้วยในตััว ส่่งเสริิมมููลค่่าทั้้�งทางสัังคม เศรษฐกิิจ และ ระบบนิิเวศของเมืืองในภาพใหญ่่ การปลููกต้้นไม้้ริิมทางจำำ�เป็็นต้้องอาศััยความเข้้าใจในบริิบทของพื้้�นที่่� อย่่างใน กรุุงเทพฯ ก็็ควรเน้้นปลููกพืืชที่่�อยู่่�ร่ว่ มกัับสัังคมพืืชยางนา และสัังคมพืืชตะเคีียนทอง อัันเป็็น ส่่วนหนึ่่�งของนิิเวศป่่าลุ่่�มต่ำำ��ริิมแม่่น้ำำ��เจ้้าพระยา ที่่�สามารถเผชิิญสภาวะตึึงเครีียด แดดจััด กระทั่่�งน้ำำ��ท่ว่ มริิมถนนได้้ดีี รวมถึึงเป็็นพัันธุ์ไ์� ม้้ที่ง่่� า่ ยต่่อการดููแลตามเกณฑ์์มาตรฐาน นอกจาก นี้้�เราอาจคััดเลืือกชนิิดเพิ่่�มเติิมเพื่่�อเหมาะสมแก่่การใช้้งานที่่�เฉพาะเจาะจงยิ่่�งขึ้้�น อาจเป็็นต้้น ไม้้กรองฝุ่่�นที่่�มาเป็็นอัันดัับแรกสำำ�หรัับบริิเวณรถราคัับคั่่�ง ต้้นไม้้เน้้นสีีสัันสวยงามสำำ�หรัับย่่าน ที่่อ� ยู่่�อาศััย หรืือกระทั่่�งต้้นไม้้เรีียงหลายชั้้น� เป็็นบ้้านให้้นกและแมลง เลีียนแบบป่่าจริิงๆ หาก มีีงบประมาณในการจััดการและดููแลรัักษา ดัังนั้้�น ใครว่่าต้้นไม้้ริิมถนนจะต้้องมีีแต่่ลำ�ต้ ำ ้นที่่�ดููแคระแกรน อิิดโรยเหมืือนอย่่างที่่� เราอาจเห็็นกัันบ่่อยๆ เท่่านั้้�น ลองไปดููอีีกหลายวิิธีีที่่�สามารถเติิมแต่่งสีีสัันข้้างทางให้้น่่าดึึงดููด เป็็นลููกเล่่นใหม่่ให้้แก่่เมืืองได้้เลย To select suitable types of trees to grow in Bangkok, first we need to understand its ecological context of a riparian forest along Chao Phraya River, consisting of native resin trees and Ta-khian, as both of them can bear stressful climates, intense sunlight, and even flash floods. We might also choose species due to its ease of maintenance, along with considering its function specific to certain usage of the site. For example, we can choose specific species that can effectively purify air for a high traffic roadside, decorative plants for residential neighborhoods, or even dense layers of trees imitating a forest to provide habitat for birds and insects.
ต้้นไม้้ให้้ร่ม ่ เงา Shading Purpose เดิินออกไปไหนมาไหนข้้างนอกแต่่ละทีี แดดร้้อนๆ ของเมืืองไทยก็็เป็็นหนึ่่�งในปััจจััย ที่่ทำ� ำ�ให้้เราคิิดหนัักอยู่่�เสมอ ไม่่ว่า่ จะเป็็นออกไปกิินข้้าวร้้านข้้างนอกตอนพัักเที่่ย� ง หรืือเดิินเล่่น ถ่่ายรููปเที่่ย� วย่่านยอดฮิิตตอนแสงจ้้า ตััวช่ว่ ยอย่่างทางเดิินเรีียบๆ มีีบรรยากาศร่่มรื่่น� จากต้้นไม้้ เลยเป็็นทางเลืือกที่่�ดีีที่่�ชวนผ่่อนคลายและให้้เราท้้าแดดอย่่างไม่่เกรงกลััว อัันที่่�จริิงต้้นไม้้ทุุก ชนิิดล้้วนให้้ร่ม่ เงาแก่่เราได้้ทั้้ง� นั้้�น แต่่ถ้า้ ให้้เลืือกชนิิดที่่ส� อดรัับกับั สภาวะตึึงเครีียดริิมท้้องถนน เราอาจใช้้ไม้้ยืืนต้้นไม่่ผลััดใบ (evergreen) แตกใบเร็็ว อย่่างพิิกุลุ และข่่อย ที่่ท� นทานต่่อความ แล้้งและน้ำำ�ท่ � ว่ มขัังได้้ดีี มีีความสููงปานกลางประมาณ 8-15 เมตร และ 5-15 เมตรตามลำำ�ดับั ไม่่บดบัังสายตาคนขัับรถ พร้้อมแผ่่กิ่่�งก้้าน พุ่่�มทึึบกว้้างบัังแดดให้้กับั คนเดิินเท้้าอย่่างเราๆได้้ดีี Living in hot and humid days is probably an ordinary life for Bangkokians.Having a smooth footpath under shades of trees can be an excellent way to help ease our walking experience. Though every tree species, in fact, can provide shades, we might choose certain species that are able bear a stressful environment along the road. Spanish cherry and Siamese rough bush is a perfect example of evergreen trees to grow as they can endure drought and flood. Their heights are 8-15 meters, and 5-15 meters respectively, which are tall enough to not block out drivers’ visions. Their branches and crowns are wide and far dense to provide shadings while walking along the way too.
56
6 Types of Street Trees
กลิ่่�นหอมชวนดม Aromatic Purpose คงจะดีีไม่่น้้อยถ้้าเราสามารถลดอาการมึึนเมาจากกลิ่่�นควัันไอเสีียรถยนต์์และลููก ชิ้้�นปิ้้�งริิมทาง เพิ่่�มความผ่่อนคลายระหว่่างก้้าวเดิินได้้ด้้วยกลิ่่�นหอมละมุุนของดอกไม้้ริิมทาง ดัังบทกลอนชมดอกไม้้ในวรรณคดีีไทย เราอาจเลืือกปลููกไม้้ยืืนต้้นอย่่างพิิกุลุ ที่่อ� อกดอกสีีขาว ตลอดปีี นิิยมสกััดกลิ่่�นมาทำำ�น้ำำ��มัันหอมระเหย พะยอมที่่�ออกดอกสีีเหลืืองอ่่อนเป็็นช่่อใหญ่่ ช่่วงหน้้าหนาว และตะเคีียนที่่�ออกดอกสีีเหลืืองแกมน้ำำ��ตาลเป็็นช่่อยาว สวยงามไม่่แพ้้ผีีนาง ตะเคีียนที่่�สิิงสถิิตอยู่่�เลย นอกจากนี้้�สามารถเสริิมด้้วยเลเยอร์์ไม้้พุ่่�มจากต้้นโมกที่่�มีีดอกช่่อสีี ขาวเล็็กน่่ารััก ต้้นแก้้วดอกขาวกลีีบเรีียวยาว และต้้นพุุดซ้้อนดอกขาวเป็็นเกลีียว แถมช่่วยเพิ่่�ม ความเบิิกบานทางสายตาได้้อีีกด้้วย What if we can reduce the burning smell from cars’ engines or street vendors by planting species with pleasant odors ? It might help enhance our urban experience like Thai classic poetry, depicting the essence and beauty of flowers. In this case, we can pick various types of trees such as Spanish cherry that gives white flowers around the year and can be extracted to produce essential oil, Shorea roxburghii (Payom) that gives light yellow flowers during winter and Hopea odorata (Ta-khian) that gives yellowish brown flowers in a long stem. Moreover, these rows of plantings can also be added on with layers of shrubs which are Water Jasmine with small white flowers, Orange Jasmine with slender-petal white flowers, and Cape Jasmine with twisting white flowers in order to enhance visual interaction.
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
สีีสัน ั แพรวพราว Aesthetical Purpose มาถึึงกลุ่่�มต้้นไม้้ริิมทางที่่�เน้้นความสวยงามกัันบ้้าง จากบริิบททางนิิเวศวิิทยา กรุุงเทพฯ ที่่เ� ป็็นพืืชพรรณสัังคมป่่ายางนา และป่่าตะเคีียนทอง ริิมถนนอาจเน้้นปลููกไม้้ยืืนต้้น สููงชัันอย่่าง ตะแบกนาที่่ใ� ห้้ดอกยัับย่น่ สีีชมพููอมม่่วง อิินทนิิลน้ำำ��ดอกสีีชมพููสด หรืือราชพฤกษ์์ ที่่อ� อกรวงช่่อดอกสีีเหลืืองอร่่ามอัันเป็็นดอกไม้้ประจำำ�ชาติิไทย ทั้้�งหมดล้้วนเป็็นพรรณไม้้ที่ใ่� ห้้ ดอกตามฤดููกาล ทนทานต่่อสภาพถนน เติิบโตในแสงแดดจััด คล้้ายกลุ่่�มดอกไม้้ให้้กลิ่่�นหอม หากแต่่เพีียงสวยแต่่รููปแต่่กลิ่่�นไม่่หอม To select trees creating aesthetic pleasure, we need to consider them based on the ecological context of Bangkok which consists of native resin trees and Ta-khian culture. The potential ones might be tall trees like Thai crape myrtle with wrinkled mauve flowers, Pride of India with bright pink flowers, and Golden shower tree with yellow flowers which is also Thailand’s national flower. All of them are seasonal flowering plants, able to endure roadside conditions and grow in strong sunlight.
6 Types of Street Trees
57
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
ดัักจัับฝุ่่�นละออง Air Purifying Purpose อัันที่่จ� ริิงต้้นไม้้ทุกุ ชนิิดสามารถดัักจัับฝุ่่�นละอองได้้อยู่่�แล้้ว เพีียงแต่่จะมากหรืือน้้อย ก็็ขึ้้�นอยู่่�กัับลัักษณะของผิิวใบ โดยหลัักการไม้้ยืืนต้้นหรืือไม้้พุ่่�มที่่�มีีใบผิิวหยาบ มีีขน จะมีี ประสิิทธิภิ าพมากกว่่าผิิวเรีียบมััน และแน่่นอนพืืชที่่มีี� ปริิมาณผิิวใบโดยรวมมากกว่่าจะสามารถ กรองฝุ่่�นได้้ดีีว่่าพืืชที่่มีีผิ � วิ ใบน้้อยตามกฏคณิิตศาสตร์์ ด้ว้ ยเหตุุนี้้แ� ม้้ต้น้ ไม้้ที่มีี่� ใบขนาดเล็็กจำำ�นวน มาก ก็็ยัังกรองฝุ่่�นได้้ดีีกว่่าต้้นที่่�ใบใหญ่่แต่่จำ�ำ นวนน้้อยได้้ จากงานวิิจััยของคณะสิ่่�งแวดล้้อมและทรััพยากรศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยมหิิดล พบ ว่่าไม้้ยืืนต้้นอย่่าง ตะแบกนา ข่่อย อิินทนิิลน้ำำ��มีีประสิิทธิภิ าพการดัักจัับฝุ่่�นในระดัับ 3 ซึ่่�งถืือว่่า ค่่อนข้้างสููง และยัังมีีลัักษณะทางกายภาพต่่างๆ ที่่�เหมาะสมกัับพื้้�นที่่�ริิมถนน ส่่วนไม้้พุ่่�มที่่ท� น ภาวะริิมถนนได้้อยู่่�แล้้ว อาจเลืือกใช้้ทองอุุไรที่่�มีีประสิิทธิิภาพดัักจัับฝุ่่�นในระดัับ 4 แก้้ว หาง นกยููงไทยและ กรรณิิการ์์ที่่�อยู่่�ในเกณฑ์์ระดัับ 3 ทั้้�งนี้้�เมื่่�อปลููกจริิง ควรแบ่่งพื้้�นที่่�ปลููกต้้นไม้้ สองแถวริิมถนน ผสมผสานทั้้�งไม้้ยืืนต้้น ไม้้พุ่่�ม และพืืชคลุุมดิินประมาณ 5- 9 ชนิิด วางเรีียง ในแนวความกว้้างระยะอย่่างน้้อย 3 เมตร โดยไม่่ชิิดเกิินไปนัักเพื่่�อลมไหลผ่่านได้้ Every kind of plant can actually trap dust or particulate matter although the amount will be more or less depending on the leaf surfaces. In theory, trees or shrubs with leaves with rough surface and hair, are more efficient than leaves with smooth surfaces. Of course, plants that produce larger leaf surfaces also have better performance than fewer ones. For this reason, plants with a lot of small leaves can capture dust better than plants with a few large leaves. Due to research from the Faculty of Environment and Resource Studies, Mahidol University, it is said that Thai crape myrtle, Siamese rough bush, and Pride of India are great selections due to its high standard of level 3 in dust capturing and its physical properties to live along roadside. Likewise, for shrubs which are mostly street-bearable, we might choose Yellow elder with dust capturing level 4, together with Orange Jasmine, Peacock Flower, and Night-flowering Jasmine, all with dust capturing level 3. However, on the real site, the growing plots of the roadside or footpath should be divided into two rows, mimicking about 5-9 species of trees, shrubs or ground cover plants. The plot should also be at least 3 meters wide and leave a small space between each plant to allow good wind flow.
รั้้�วป้้องกัันริิมถนน ในขณะที่่ริ� มิ ทางเท้้าอาจปลููกต้้นไม้้ดูดู ฝุ่่�น บริิเวณเกาะกลางถนนแบ่่งกั้้น� ทางสััญจร ก็็สามารถปลููกต้้นไม้้เพื่่�อส่่งเสริิมความปลอดภััยของการขัับขี่่�ได้้เช่่นกััน จากข้้อมููลของกรม ทางหลวง การคััดเลืือกส่่วนใหญ่่ล้ว้ นเป็็นพัันธุ์ไ์� ม้้ที่ดู่� แู ลง่่าย ไม่่ต้อ้ งรดน้ำำ��มาก เพื่่�อความสะดวก ต่่อการจััดการเกาะกลางถนนรวมระยะกว่่า 50,000 กิิโลเมตรทั่่�วไทย เราอาจเลืือกใช้้ไม้้พุ่่�มจำำ�พวก ชบา พู่่�ระหงส์์ เข็็มญี่่�ปุ่่�น ไม้้ยืืนต้้นที่่�กิ่่�งก้้านห้้อยย้้อย ลงอย่่าง ต้้นแปรงล้้างขวด หรืือไม้้ที่่�รููปร่่างสููงเรีียวอย่่าง ต้้นสน อโศกอิินเดีีย ปลููกเป็็นแนว ยาวนำำ�สายตาของผู้้�ขัับรถเพื่่�อแบ่่งเขตระหว่่างเลนขาเข้้าและขาออกที่่�สวนกััน พร้้อมต้้นไม้้ที่่� ตััดแต่่งตามความสููงได้้ง่า่ ยอย่่าง ไทรยอดทอง ข่่อย พู่่�ระหง หรืือเข็็มใหญ่่ เป็็นฉากกำำ�บัังป้้องกััน แสงไฟหน้้ารถยนต์์จากฝั่่�งตรงข้้าม (Anti Glare) ในแนวยาวบริิเวณทางโค้้งได้้ด้้วย ทั้้�งนี้้�บริิเวณหััวเกาะตรงสี่่�แยกหรืือจุุดยููเทิิร์์นที่่�มีีรถเลี้้�ยว ควรเปิิดโล่่งให้้คนขัับรถ มองเห็็นฝั่่�งตรงข้้ามด้้วยไม้้คลุุมดิินและไม้้พุ่่�มเตี้้�ยเช่่น เกล็็ดแก้้ว ผัักเป็็ดเขีียว หรืือกาบหอย แครงแคระ เล่่นระดัับไม่่เกิิน 0.5 เมตรจากพื้้�นถนน แต่่ถ้้าอยากปลููกไม้้ยืืนต้้นบริิเวณนี้้�ล่่ะก็็ ควรเป็็นชนิิดที่่�มีีลำ�ต้ ำ ้นด้้านล่่างโปร่่งอย่่าง หมากนวล ปาล์์มหางกระรอก หรืือ ลั่่�นทมที่่�ไม่่แผ่่ กิ่่�งก้้านเกะกะสายตา While purifying plants are grown along the footpath, the traffic island can potentially be occupied by certain trees that enhance safety road usage. Due to Thailand’s Department of Highways, suitable planting species are mostly the ones that are easy to maintain and need just a few watering in order to serve a large 50,000 kilometers network of highways over Thailand. Here, we might select shrub species such as shoeblackplant, Fringed hibiscus and wind orchid, trees with hanging branches like Bottlebrush tree, and such slender trees like Pine Tree and Mast Tree. All should be grown in a long row beside the roads to lead the drivers’ eyes and separate the inbound and outbound lanes from each other. Furthermore, we can add some plants that can be trimmed easily into different scales such as Indian Laurel, Siamese rough bush and Zephyranthes as an anti glare barrier while commuting along the curve. Nevertheless, the edge of the traffic island or where drivers can make a U-turn should be open to allow a clear sight of the opposite direction. In this case, we should grow only ground cover plants and small shrubs such as the Calico plant, Sessile joyweed and Moses-in-the-cradle within 0.5 meters tall from the ground. Growing trees are also possible but only if their lower parts are open up such as Manila palm, Foxtail palm and Pagoda tree.
58
6 Types of Street Trees
ป่่าขนาดย่่อมริิมทาง Urban Forest Purpose หากต้้องการสร้้างเมืืองแบบประเทศสิิงคโปร์์ที่่�มองไปทางไหนก็็เจอแต่่ความเขีียว ขจีี เราอาจต้้องเริ่่�มต้้นด้้วยแนวคิิด Nature Ways ของหน่่วย National Park Boards ที่่� คััดสรรพืืชพรรณหลากหลายประเภท ปลููกเรีียงซ้้อนกัันหลายชั้้�นริิมทางสััญจรเพื่่�อเลีียนแบบ ป่่าไม้้จริิง มีีบริิเวณชั้้�นสููงสุุด (Emergent Layer) เป็็นต้้นไม้้ที่่�โตในป่่าเต็็งรัังอย่่าง ยางนา พะยอม ตะเคีียนทอง เพื่่�อดึึงดููดนกกิินแมลง (Insectivorous Birds) ต่ำำ��ลงมาในระดัับ Canopy Layer อาจเลืือกต้้นไม้้ที่ทำ่� �ำ หน้้าที่่�เป็็นแนวกำำ�บัังให้้ร่่ม เงาพร้้อมเป็็นอาหารให้้แก่่พวกนกกิินน้ำำ��หวาน (Nectar-Loving Birds) และผีีเสื้้�ออย่่าง ราชพฤกษ์์ และชมพูู พัั น ธุ์์�ทิิ พ ย์์ พร้้ อ มปลูู ก ต้้ น ไม้้ เ ป็็ น อาหารให้้ แ ก่่ พ วกนกที่่� กิิ น ผลไม้้ (Frugivorous Birds) บริิเวณไม้้ยืืนต้้นชั้้น� ล่่าง Understorey Layer ทั้้�งนี้้�หากมีีไม้้พุ่่�มออกดอก น่่ารัักๆ ก็็จะช่่วยเพิ่่�มสีีสัันรายล้้อมทางเดิินในระดัับสายตาเราและเป็็นที่่อ� ยู่่�กัับแมลงนานาชนิิด ได้้อีีกด้้วย ปััจจุุบัันดิินแดนอัันร่่มรื่่�นบนเกาะเล็็กๆ แห่่งนี้้�มีีเส้้นทาง Nature Ways กว่่า 34 แห่่ง รวม 130 กิิโลเมตรกระจายอยู่่�ทั่่ว� ประเทศ โดยมีีเป้้าหมายจะพััฒนาให้้ครบ 300 กิิโลเมตร ต่่อไปภายในปีี 2030 เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
Singapore is an excellent example of a garden city, where every space is full of greenery. To create such urban forest in a hot humid climate, the National Park Boards of Singapore has suggested a method called ‘Nature Ways,’ which we need to grow a variety of species densely in several layers to accommodate urban wildlife. Starting from Emergent Layer, there should be plants that normally thrive in Deciduous Dipterocarp Forest such as resin tree, White Meranti and Ta-khian to attract Insectivorous birds. The next layer is the lower Canopy Layer with trees that provide shadings and food for Nectar-loving birds and butterflies, such as Golden shower and Pink trumpet tree, along with other species that attract Frugivorous birds in the Understorey Layer to enhance more biodiversity. Here, by considering adding more flowering shrubs will also enhance a rich sense of visual and habitats for other insects too. At the present, this small lush island already consists of more than 34 Nature Ways over the area, 130 kilometers in total, in which more of these green corridors are particularly planned to add up to 300 kilometers within 2030.
Content by An online and offline media team who is interested about people, design, architecture and landscape issues in related to urban and environmental development
ทีีมนัักทำำ�สื่่�อผู้้ส � นใจเรื่่�องราวของผู้้ค � น งานออกแบบ สถาปััตยกรรม ภููมิิสถาปััตยกรรม และความสััมพัันธ์์ที่่�มีต่ ี ่อเมืืองและสิ่่ง � แวดล้้อม
6 Types of Street Trees
59
บรรณานุุกรม Bibliography
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
01 พื้้�นที่่�สาธารณะในกรุุงเทพฯ จะมีีลัักษณะเป็็นอย่่างไรในยุุคหลัังโรคระบาด How Public Spaces in Bangkok After a Pandemic Should Be ?
60
AFPGraphics. (2020, September 29). Timeline of deadly plagues, epidemics and pandemics throughout history. Retrieved 2020, from https://www.facebook. com/AFPnewsenglish/photos/a.163022200402458/3481762191861759/?type=3. Carlson, R. (2020, May 22). How Fast Does Sunlight Kill Coronavirus?. Retrieved 2020, from https://www.coronavirustoday.com/natural-sunlight-rapidly-inactivates-sars-cov-2-coronavirus-surfaces. City Cracker. (2020, April 4). จนกว่่าจะพบกัันใหม่่ สวนสาธารณะในช่่วง Social Distancing ก่่อน ปิิดทำำ�การ. Retrieved 2020, from https://www.facebook.com/CityCracker/ posts/582608282603319. Constable, H. (2020, April 27). How Do You Build a City for a Pandemic?. Retrieved 2020, from https://www.bbc.com/future/article/20200424-how-do-youbuild-a-city-for-a-pandemic. Feder, Shira. (2020, June 26). Should You Turn off Your Air-Conditioning If Someone in Your Home Has the Coronavirus? Here’s What You Need to Know. Retrieved 2020, from https://www.businessinsider.com/turning-off-ac-couldlimit-chance-of-infection-experts-say-2020-4. Florida, R. (2020, April 14). Pandemics Have Destroyed Cities before. Could They Do It Again?. Retrieved 2020, from https://www.fastcompany. com/90490284/pandemics-have-destroyed-cities-before-coul Garrido, C., Giorgi, E., Gonzàlez, A., & Tuduri, M. (2020). Cities after Covid-19: How will public spaces and social life change? Retrieved 2020, from https:// www.citiestobe.com/covid-19-how-are-public-space-and-social-life-going-tochange/. Gray, R. (2020, March 17). Covid-19: How Long Does the Coronavirus Last on Surfaces?. Retrieved 2020, from https://www.bbc.com/future/article/20200317covid-19-how-long-does-the-coronavirus-last-on-surfaces. Jordan, J. (2016, September 5). The Lotus Leaf: How Nature Makes Water-Repellent Materials. Retrieved 2020, from https://www.jeremyjordan.me/lotus-leaf-how-nature-makes-water-repellant-materials/ Luziani, S., & Paramita, B. (2018). Land Ecological Enhancement, Greenship Neighborhood 1.0: A Theoretical and Concept Study into the Design Framework of a Sustainable Built Environment. International Journal of Technology. Retrieved 2020, from https://www.researchgate.net/publication/329844019_Land_ Ecological_Enhancement_Greenship_Neighborhood_10_A_Theoretical_and_ Concept_Study_into_the_Design_Framework_of_a_Sustainable_Built_Environment nanoSeptic. (2016). NanoSeptic Continuously Self-Cleaning Surfaces. Retrieved 2020, from https://www.nanoseptic.com/nanoseptic-self-cleaning/learn-aboutnanoseptic-self-cleaning-surfaces. Qureshi, Z., Jones, N., Temple, R., Larwood, J. P., Greenhalgh, T., & Bourouiba, L. (2020, June 22). What is the evidence to support the 2-metre social distancing rule to reduce COVID-19 transmission? Retrieved 2020, from https:// www.cebm.net/covid-19/what-is-the-evidence-to-support-the-2-metre-socialdistancing-rule-to-reduce-covid-19-transmission/ Reuters. (2020, May 19). NanoSeptic Continuously Self-Cleaning Surfaces. Retrieved 2020, from https://www.globaltimes.cn/content/1188819.shtml. Ro, C. (2020, June 1). The Surfaces That Kill Bacteria and Viruses. Retrieved
2020, from https://www.bbc.com/future/article/20200529-the-surfaces-that-kill-bacteria-and-viruses. Scitecheuropa, C. (2019). The Lotus Effect: The First Self-Cleaning Metals Inspired by the Lotus Leaf. Retrieved 2020, from https://www.scitecheuropa.eu/ lotus-leaf-self-cleaning-metals/91945/. Sen, K. (2020, June 15). Can Cities Be Designed for Better Healthcare?. Retrieved 2020, from https://govinsider.asia/inclusive-gov/cities-designed-better-healthcare-lam-khee-poh/. Siam Daikin Sale. (2020, April 28). หมุุนเวีียนอากาศอย่่างไรให้้มีีประสิิทธิภิ าพ. Retrieved 2020, from https://www.daikin.co.th/service-knowledge/ventilation/. The New York Times. (2020). Coronavirus Map: Tracking the Global Outbreak. Retrieved 2020, from https://www.nytimes.com/interactive/2020/world/coronavirus-maps.html?campaign_id=7&emc=edit_MBAE_p_20200728&instance_ id=20720&nl=morning-briefing&regi_id=121793936&section=topNews&segment_id=34578&te=1&user_id=8e62cdcb970371c645279ca72f2a64a9. United Nations. (2020). Make Cities and Human Settlements Inclusive, Safe, Resilient and Sustainable. Retrieved 2020, from https://sdgs.un.org/goals/ goal11. World Health Organization. (2020). Coronavirus Disease (COVID-19) Advice for the Public. Retrieved 2020, from https://www.who.int/emergencies/diseases/ novel-coronavirus-2019/advice-for-public. 02 10 การลงทุุนกัับโครงสร้้างพื้้�นฐานแห่่งอนาคต 10 Green and Health Infrastructure to Invest Ambrose, J. (2020, April 20). Green energy could drive Covid-19 recovery with $100tn boost. Retrieved 2020, from https://www.theguardian.com/environment/2020/apr/20/green-energy-could-drive-covid-19-recovery-international-renewable-energy-agency City News Service. (2020, April 4). West Hollywood Activates Touchless Crosswalks: Coronavirus. Retrieved 2020, from https://patch.com/california/westhollywood/west-hollywood-activates-touchless-crosswalks-coronavirus Cooper, M. (2020, May 8). Pakistan Combats Massive Unemployment By Hiring People to Plant 10 Billion Trees. Retrieved 2020, from https://mymodernmet. com/pakistan-plants-trees-to-combat-climate-change/ Ding, H., & Fong, W. K. (2020, April 28). 4 Investment Areas to Stimulate China’s Economy After COVID-19. Retrieved from https://www.wri.org/blog/2020/04/ coronavirus-china-economic-recovery Dixson-Declève, S., Schellnhuber, H. J., & Raworth, K. (2020, March 25). How Could COVID-19 give rise to a greener global future? Retrieved 2020, from https://www.weforum.org/agenda/2020/03/a-green-reboot-after-the-pandemic Friedman, L. (2020, April 7). New Research Links Air Pollution to Higher Coronavirus Death Rates. Retrieved 2020, from https://www.nytimes.com/2020/04/07/ climate/air-pollution-coronavirus-covid.html?action=click JLL. (2019, November 12). How greenness will define future cities. Retrieved 2020, from https://www.us.jll.com/en/trends-and-insights/cities/how-greenness-will-define-future-cities Muggah, R. (2020, March 18). The COVID Wake-Up Call. Retrieved 2020, from https://www.project-syndicate.org/videos/the-covid-wake-up-call
Bibliography
07 Plant Propagation ซึึมซัับธรรมชาติิยามกัักตััว ด้้วยการขยายพัันธุ์์�พืืชแบบง่่ายๆ Anastasia. (2019, June 6). How to: Propagate Plants in Water. Retrieved 2020, from https://leafandpaw.com/2019/06/06/how-to-propagate-plants-in-water/ Cooperative Extension. (n.d.). Plant Propagation. Retrieved 2020, from https:// extension.umaine.edu/gardening/manual/propagation/plant-propagation/ ศุุภนัันทนานนท์์, ภ. (n.d.). ไม้้ใบ Foliage Plants. บ้้านและสวน. สำำ�นัักวิิจััยการอนุุรัักษ์์ป่่าไม้้และพัันธุ์์�พืืช. (2018, April 03). การเพาะเลี้้�ยงและสภาพพื้้�นที่่� เหมาะสมต่่อการเจริิญเติิบโต พลัับพลึึงธารในธรรมชาติิ. Retrieved 2020, from https:// www.facebook.com/956078261099817/videos/2070188296355469 เจืือจัันทร์์, ฉ. (n.d.). การขยายพัันธุ์์�พืืช (Plant Propagation). Retrieved 2020, from http://www.qsbg.org/Database/Article/Image/Plant%20Propagation.pdf เสมสัันทััด, ณ. (2010). การขยายพัันธุ์์�ไม้้ป่่า (Forest Tree Propagation). การจััดการความ รู้้�คำำ�นวณวััฒนวิิจััย ปีี 2553. Retrieved 2020, from http://forprod.forest.go.th/forprod/KM/PDF/3_Forest%20Tree%20propagation.pdf 08 กรุุงเทพฯ ปลููกต้้นอะไรดีี ? กลุ่่�มพัันธุ์์�ไม้้ ปลููกริิมถนนและบนทางเท้้า 6 Types of Street Trees to Grow Along Roads and Footpaths of Bangkok National Park Boards. (2020, August 21). Nature Ways. Retrieved 2020, from https://www.nparks.gov.sg/gardens-parks-and-nature/nature-ways กรมทางหลวง. (2004). พัันธุ์ไ์� ม้้ที่ใ่� ช้้ปลููกบนเกาะกลาง. In คู่่�มืือการปลููกและบำำ�รุงุ รัักษาต้้นไม้้ เกาะกลางถนน (pp. 11-60). โรงพิิมพ์์คุุรุุสภาลาดพร้้าว. โสมมีีชััย, ม. (2016). กาาคััดเลืือกชนิิดไม้้และการจััดการต้้นไม้้ในเมืือง. Retrieved 2020, from http://forprod.forest.go.th/forprod/techtransfer/document/คู่่�มืือฝึึกอบรม/ รุุกขกร%202/อ%20มณฑาทิิพย์์/การคััดเลืือกชนิิดไม้้และการจััดการต้้นไม้้ในเมืือง.pdf
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
Nienaber, M., & Wacket, M. (2020, April 28). Germany’s Merkel wants green recovery from coronavirus crisis. Retrieved 2020, from https://www.reuters. com/article/us-climate-change-accord-germany/germanys-merkel-wants-green-recovery-from-coronavirus-crisis-idUSKCN22A28H?fbclid=IwAR19tRimh2DCWJzaWBGGE5Yt49KX-CMI3gxqMJaVNBjr0Mghcv6k08LeUNc Regmi, M. B. (2020, April 17). COVID-19 Prompts Rethinking Of Mobility And City Planning. Retrieved 2020, from https://www.unescap.org/blog/covid-19prompts-rethinking-mobility-and-city-planning Ricker, T., & Hawkins, A. J. (2020, May 14). Cities are transforming as electric bike sales skyrocket. Retrieved 2020, from https://www.theverge. com/2020/5/14/21258412/city-bike-lanes-open-streets-ebike-sales-bicyclistpedestrian Srivastava, A. (2020, April 28). After COVID-19, 5 Ways India Can Pursue a Sustainable and Resilient Recovery. Retrieved 2020, from https://www.wri.org/ blog/2020/04/after-covid-19-5-ways-india-can-pursue-sustainable-and-resilientrecovery The Parliament Office of Science and Technology. (2016). Green Space and Health (pp. 1-5, Rep. No. 538). London: The Parliament Office of Science and Technology. Retrieved 2020, from https://assets.website-files.com/5b3406fd9a62ab41fe6f0cb6/5d155f412771fde617ad00cd_UK_Psychological%20Benefits%20of%20Greenspace.pdf. UN environment programme. (2020, April 29). Transforming the energy system-a post-COVID-19 win-win for people and planet. Retrieved 2020, from https:// www.unenvironment.org/news-and-stories/story/transforming-energy-systempost-covid-19-win-win-people-and-planet Wipatayotin, A. (2020, April 24). Covid-19 pushes plastic waste rise. Retrieved 2020, from https://www.bangkokpost.com/thailand/general/1906295/covid-19pushes-plastic-waste-rise Zigurat Global Institute of Technology. (2020, March 27). Smart Cities: The way forward in the face of COVID-19. Retrieved 2020, from https://www.e-zigurat. com/blog/en/smart-cities-way-forward-face-covid-19/ กองบรรณาธิิการวอยซ์์ออนไลน์์. (2020, April 22). 4 แสนล้้านฟื้้�นเศรษฐกิิจ หลุุมดำำ�ใน พ.ร.ก.เงิิ น กู้้� 1 ล้้ า นล้้ า น. Retrieved 2020, from http://www.voicetv.co.th/ read/9q6zGHmQT
09 Shma Campus -
03 ฟื้้�นฟููแต่่งเติิมสีีสัันลานกีีฬาเก่่าใต้้ทางด่่วนด้้วยกระบวนการมีีส่่วนร่่วมกัับทุุกคน Color, Collaborate and Create Communal Space Under Expressway 04 ฟื้้�นฟููกรุุงเทพฯด้้วยทางเชื่่�อมสีีเขีียวสู่่�มหานครที่่ยั่่� �งยืืน Revitalizing Bangkok with Green Network 05 สวนผัักกิินได้้หลัังบ้้านของฉมา Sharm (Shma+Farm) 06 สร้้างพื้้�นที่่�สีีเขีียวดููดซัับพลัังงานแสงอาทิิตย์์ด้้วย Sol(y)ar Power Up the Open Space with Solar Power and Green Space : Sol(y)ar
Bibliography
61
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
Creative Landscape Platform
กว่่า 13 ปีีที่่�ผ่่านมา ฉมาได้้ออกแบบผลงานภููมิิสถาปััตยกรรมมากมายทั้้�งในไทย และต่่างประเทศ ปััจจุุบัันฉมาเติิบโตขึ้้�นพร้้อมขยายการทำำ�งานและบริิการของเราไปสู่่� แพลตฟอร์์มสร้้างสรรค์์ที่่�ใหญ่่ขึ้้�นประกอบด้้วย ทีีมฉมา ทีีมฉมาโซเอ็็น ทีีมฉมาแล็็บ และ ทีีมฉมามีีเดีียเพื่่�อเตรีียมพร้้อมรัับมืือกัับความท้้าทายใหม่่ๆในอนาคตมากขึ้้�น ฉมา - ทีีมออกแบบภููมิสิ ถาปััตยกรรมที่่ป� ระกอบด้้วยทีีมภููมิสิ ถาปนิิก 3 สตููดิโิ อ ทีีม นัักพืืชสวนและทีีมเทคนิิคสถาปััตยกรรม ครอบคลุุมการทำำ�งานภููมิสิ ถาปััตยกรรมทุุกรููปแบบ ฉมาโซเอ็็น - ทีีมออกแบบภููมิสิ ถาปััตยกรรมผู้้�สนใจด้้านการพััฒนาพื้้น� ที่่ส� าธารณะ ในเมืือง ผ่่านกระบวนการสร้้างสรรค์์อย่่างมีีส่่วนร่่วมเพื่่�อประโยชน์์ทางสัังคม ฉมามีีเดีีย - ทีีมสื่่อ� สารผู้้�ทำำ�งานเผยแพร่่สื่่อ� เกี่่ย� วกัับภูมิู สิ ถาปััตยกรรมและเมืืองเช่่น งานจััดแสดง คอนเท้้นต์์ออนไลน์์ กราฟิิก และวีีดีีโอ ฉมาแล็็บ - ทีีม think thank ผู้้�ทำำ�งานด้้านการพััฒนาวิิธีีการออกแบบภููมิิทััศน์์ รวบรวมและวิิจััยองค์์ความรู้้�ด้้านภููมิิสถาปััตยกรรม รวมถึึงสร้้างสรรค์์โปรเจ็็กต์์เชิิงรุุก
62
Established in 2007, Shma has delivered various landscape designs to our client, both locally and internationally. Today, Shma has grown up into our 13th anniversary, expanding our service into a bigger creative landscape platform - Shma, Shma Soen, Shma Lab and Shma Media, in order to overcome challenging issues in this changing world. Shma - A landscape design firm with 3 landscape architect studios, horticulturist team and architectural technician team who provides all types of landscape design services Shma Soen - A landscape design firm who focuses on public space development and their social and environmental benefit through co-creation process Shma Media - A communication team responsible for landscape and urban related media design such as exhibition, online content, graphics and videos Shma Lab - A think tank unit responsible for landscape design methodology development, archiving and researching landscape knowledge along with working on proactive design project
Shma Campus
เมืืองพึ่่�งพาตนเอง
Credit Director : ยศพล บุุญสม Yossapon Boonsom Editor บรรณาธิิการเล่่ม : มลภษร ชููวงษ์์ Molpasorn Shoowong Graphic Designer ออกแบบกราฟิิกและรููปเล่่ม : ธนภููมิิ ทองประเสริิฐ Thanaphum Thongprasert Special Thanks to Shma Members จัักรพัันธ์์ คงกล่ำำ�� Jakkrapan Kongklum นภจร ศรีีฉััตรสุุวรรณ Napajorn Srichatsuwan พีีรยา ทองมาก Peeraya Thongmak ภฤตภรณ์์ สิริิ ิกชกร Parittaporn Sirikojchakorn ละอองดาว อิินทนะ La-ongdao Intana อรกมล นิิละนนท์์ Onkamon Nilanon อััตนา วสุุวััฒนะ Attana Vasuwattana 63