คู่มือสําหรับชุมชน การท่องเทียวโดยชุมชนเชิงสุขภาพ (Wel���s� C��) คู่มือสําหรับชุมชน การท่องเทียวโดยชุมชนเชิงสุขภาพ (Wel���s� C��)
การท่องเทียวเชิงสุขภาพ (Wel���s� T�u��s�) เปนการท่องเทียวทีเนนการส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวม ประกอบด้วย ร่างกาย จิตใจ อารมณ จิตวิญญาณ สังคม และสิงแวดล้อม รวมไปถึงการดูแลและการปองกันสุขภาพก่อนการเกิดโรค การท่องเทียวเชิงสุขภาพ จะเปนโอกาสในการรับมือกับการเปลียนแปลง ทีจะเกิดขึน และช่วยพลิกฟนภาคการท่องเทียวให้กลับมา เปนเครืองยนต์สําคัญของเศรษฐกิจไทยอย่างยั่งยืนได้อีกครั้ง 1
2
แนวคิดการท่องเทียว โดยชุมชน C�� (Com����t�-Ba��d ��u���m) บทที 1 แนวคิดด้านการท่องเทียว เชิงสุขภาพ (Wel���s� T�u��s�) บทที 2 บทที 3 รูปแบบ การท่องเทียวโดยชุมชน เชิงสุขภาพ 3
บทที 4 ถอดบทเรียนการออกแบบ กิจกรรมและเส้นทางท่องเทียว โดยชุมชนเชิงสุขภาพ บทที 5 กระบวนการพัฒนาต้นแบบ การท่องเทียวโดยชุมชนเชิงสุขภาพ บ้านตํานานดิน 4
แนวคิดการท่องเทียว โดยชุมชน C�� (Com����t�-Ba��d ��u���m) บทที 1 5
6
แนวคิดการท่องเทียวโดยชุมชน C�� (Com����t�-Ba��d ��u���m) เปนการท่องเทียวทีคํานงถึงความยั่งยืนของสิงแวดล้อม สังคม และวัฒนธรรม เป นการท่องเที ยวที เกิดจาก การที ชุมชนเป นผู้มีส่วนร่วมในการวางแผน จัดการ ดูแล และกําหนดทิศทางของการท่องเทียวเอง อาจมีหน วยงานภายนอกที เป นผู้ให้การสนับสน น แต่คนในชุมชนถือเป นเจ้าบ้านที ส่งมอบกิจกรรม การท่องเทียว การบริการ และประสบการณการท่องเทียว ให้แก่นักท่องเทียว * ทีมา: องค์การบริหารการพัฒนาพืนทีพิเศษเพือการท่องเทียวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน). (2558) 7
C�� คือรูปแบบบริหารจัดการท่องเทียว โดยมีชุมชนเปนตัวตั้ง C�� คือรูปแบบบริหารจัดการท่องเทียว โดยมีชุมชนเปนตัวตั้ง ชุมชน วางแผน ชุมชน ตัดสินใจ ชุมชน บริหารจัดการ 8
* ทีมา: องค์การบริหารการพัฒนาพืนทีพิเศษเพือการท่องเทียวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน). (2558) การจ ั ดการส ิ ่ งแวดล ้ อมในช ุ มชนการจ ั ดการส ิ งแวดล ้ อมในช ุ มชน การท่องเทียวโดยชุมชน C��การท่องเทียวโดยชุมชน C�� ให้ความรู้ความเข้าใจเกี ยวกับการรักษาสิ งแวดล้อมพร้อมกับ สร้างความตระหนัก เช่น ให้ความรู้ในการวางแผนจัดการขยะ เพราะสิ งแวดล้อมในชุมชนถือเป นป จจัยสําคัญ หากต้องการสร้าง บรรยากาศทีดี ในการรองรับนักท่องเทียว จําเปนต้องทําความเข้าใจ กับการจัดการสิงแวดล้อมเพือ การพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน 9
การส ื บสานว ั ฒนธรรมท ้ องถน การกระจายรายไดส ู ่ ช ุ มชนการกระจายรายไดส ู ่ ช ุ มชน การส ื บสานว ั ฒนธรรมท ้ องถ ิ น มีการตกลงกติการ่วมกันในชุมชน จัดตั้งชมรมด้านการท่องเทียว โดยชุมชน และสร้างเครือข่ายที เชื อมโยงทั้งในและนอกชุมชน พร้อมกับมีการถอด บทเรียนการกระจายรายได้เพื อเผยแพร่ให้ ชุมชนอืนๆ ซึงเปนแนวทางทีจะช่วยให้ การท่องเทียวโดยชุมชน เกิดการกระจายรายได้อย่างทั่วถึง รวบรวม สร้างองค์ความรู้ เสริมสร้างศักยภาพคนในท้องถิน เชื อมโยงกลุ่มคนท้องถิ นต่างๆ ให้เข้มแข็ง และส่งเสริม กิจกรรมการท่องเที ยวอย่างต่อเน อง คือวิธีที จะช่วยให้คน กลุ่มต่างๆ เข้ามามีส่วนร่วมในการสืบทอดวัฒนธรรมมากขึน 10
11
บทที 2 แนวคิดด้านการท่องเทียว เชิงสุขภาพ (Wel���s� T�u��s�) 12
หลายๆองค์กรทั่วโลกให้ความสนใจเรื องสุขภาพและ สุขภาวะทีดีของประชากรทุกคนในแต่ละประเทศ เปน ประเด็นสําคัญที จะลดป จจัยเสี ยงที เป น อันตรายต่อสุขภาพร่างกายรอบด้าน ไม่ว่าจะเปนเรือง สุขภาพร่างกายที อ่อนแอลง การขาดสิ งกระตุ้นหรือ สนับสน นส่งเสริมให้ผู้คนหันมาออกกําลังกายและ ดูแล สุขภาพตัวเอง ซึงเปนปจจัยพืนฐานทีสําคัญ * ทีมา: ศรัญญา เนยมฉาย, ระชานนท์ ทวีผล และชิษณุพงศ์ ศิริโชตินศากร. (2021) 13
ด้านจิตวิญญาณ (Spi���) ด้านร่างกาย (Bod�) ด้านจิตใจ (Min�) หล ั กส ุ ขภาวะท ี ่ ด ี หล ั กส ุ ขภาวะท ี ่ ด ี สขภาพ ค ื อส ุ ขภาวะภาวะท ี ่ ม ี ความสมดลทง รางกาย จตใจ และจตวญญาณ เช ื อมโยงก ั น 14
สําหรับประเด็นความสัมพันธ์ของหลัก สุขภาวะที ดีกับองค์ประกอบของ การมีสุขภาพที ดี ที จะก่อให้เกิด ความสุขหรือการเติมเต็มด้านสุขภาพ โดยมุ่งส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพให้ มี ความสมดุลทั้ง 3 ด้าน ด้านร่างกาย (Bod�) เกิดจากกิจกรรมทีพักผ่อน ร่างกาย การรับประทานอาหาร ทีถูกหลักโภชนาการ ควบคู่กับการออกกําลังกาย หล ั กส ุ ขภาวะท ี ่ ด ี * ทีมา: ศรัญญา เนยมฉาย, ระชานนท์ ทวีผล และชิษณุพงศ์ ศิริโชตินศากร. (2021) 15
ด้านจิตใจ (Min�) เกิดจากกิจกรรมการทําสมาธิ ทีเกียวเนองกับสุขภาพจิต สุขภาพ ทางอารมณสังคม สุขภาพจิตสามารถยอมรับแนวคิดหรือวิธีคิด ที แปลกใหม่ ซึ งการเป ดกว้างจะช่วยให้สามารถรับมือกับ สถานการณ เครียด ภาวะความกดดันต่าง ๆ ได้ดีส่งเสริม การจัดการความเครียด การเรียนรู้ที จะมีหลักคิดเชิงบวก การหาปรัชญาในการดําเนนชีวิตของตนเอง 16
ด้านจิตวิญญาณ (Spi���) เกิดจากสุขภาพทางจิตวิญญาณเกียวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคลกับสิงมีชีวิตอืนๆ และบทบาทของการชีนาทางจิตวิญญาณ ในการใช้ชีวิต * ทีมา: ศรัญญา เนยมฉาย, ระชานนท์ ทวีผล และชิษณุพงศ์ ศิริโชตินศากร. (2021) 17
สําหรับแนวคิดการท่องเทียวเชิงสุขภาวะ หรือการท่องเทียว เชิงสุขภาพ เปนรูปแบบการท่องเทียวทีกําลังเติบโตอย่าง รวดเร็ว ซึ งได้รับความน ยมเป นอย่างมากในป จจุบัน เนองจากเปนรูปแบบการท่องเทียวเพือสุขภาพครอบคลุม ทั้งทางกายและจิตใจ ในขณะที การท่องเที ยวเชิงสุขภาวะ หรือ การท่องเที ยวเชิงสุขภาพเป นตลาดเฉพาะ (Nic�� ���ke�) ของการท่องเที ยวที ขยายวงกว้างขึ น มีอัตราการเติบโตอย่าง มาก โดยมีการคาดการณสําหรับ การพัฒนาการท่องเที ยว เชิงสุขภาวะที มีอย่างต่อเน อง และยังพบว่าการท่องเที ยวเชิงสุขภาวะมีอัตราการเติบโต ได้เร็วกว่าการท่องเทียวแบบทั่วไป 18
บทที 3 รูปแบบการท่องเที โดยชุมชนเชิงสุขภาพ 19
20
สปานวดแผนไทย จากคํากล่าวของนายอิทธิพล คุณปลืม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม กล่าวถึง ผลกระทบจากโควิด-19 ได้สร้างจุดเปลี ยนให้ผู้บริโภคใส่ใจใน การดูแลสุขภาพทั้งตัวเองและคนรอบข้างมากขึ น นับเป นโอกาสของ การประชาสัมพันธ์ส่งเสริมน ามรดกภูมิป ญญาวัฒนธรรม “นวดไทย” ศาสตร์บําบัดและรักษาโรคแขนงหน งของการแพทย์แผนไทยให้เป น ส่วนหน งในการดูแลและฟ นฟูสุขภาพทั่วโลก ภูมิป ญญาการนวดไทย เปนศาสตร์และศิลปมรดก 21
ภูมิป ญญาการนวดไทย เป นศาสตร์และศิลป มรดก ภูมิปญญาทีได้รับการสืบทอดกันมาจากรุ่นสู่รุ่น ปจจุบัน มีองค์กรต่างๆ ที ส่งเสริมและพัฒนาการนวดไทย กว่า 50 องค์กร รวมไปถึงองค์กรภาควิชาชีพ สถาบัน การเรียนการสอน และสถานประกอบการเพื อสุขภาพ ทั่วประเทศ อีกทั้งเครือข่ายความร่วมมือจากสมาพันธ์ โลกนวดไทยและสปาทีมีสมาชิกกว่า 57 ประเทศทั่วโลก 22
อาจจะหมายถึงการ เดินป า ป นเขา เทรกกิ ง วิ งเทรล ไปทะเล ชมวิว ธรรมชาติ หรืออาจจะรวมไปถึงกิจกรรมการท่องเที ยวรูปแบบใหม่ ที กําลังได้รับความน ยมอยู่ในป จจุบันอย่างเช่น การอาบป า หรือ For��� B�t�i�g ในป 2002 ญี ปุนจึงได้ก่อตั้งสมาคมป าบําบัดขึ น เพื อที จะวิจัยผลกระทบ ของสิงแวดล้อมในปาทีมีต่อสุขภาพของมนษย์ โดยมี ดร. ควิง ลี เปนหนง ในนักวิจัยหลัก และได้เป ดตัวเรื องการอาบป าศึกษา (For��� B�t�i�g Stu��) เปนครั้งแรก ในป 2005 การอย ู ่ ท ่ ามกลางธรรมชาต ิ ท ี ่ สวยงาม (อ้างอิงจาก: htt��://w��.sa����.co/2021/10/05/t�a�_��od_fi��t_�a�d����/) 23
เสียงใบไม้กระทบกัน
· การสัมผัส: สัมผัสต้นไม้ ปล่อยตัวเอง ไปในบรรยากาศของปา
โดยจากคู่มือผู้ใช้ ชิรินโยกุ 101 เราสามารถสนกกับการอาบปา ผ่านสัมผัสทั้งห้า ประกอบด้วย · การมองเห็น: สีเขียว สีเหลือง และสีแดง ตลอดจนภูมิทัศนของปา · การได้กลิ น: กลิ นของป าจากต้นไม้และ ดอกไม้ · การได้ยิน: เสียงของปา นกร้อง และเสียง ลมพัดผ่านใบไม้
· การรับรส: กินอาหารและผลไม้จากป า รับอากาศสดชืนในปา การอาบปาไม่ใช่แค่การออกกําลังกาย ปนเขา หรือวิงจ๊อกกิง แต่คือ การแค่อยู่ในธรรมชาติ และ เชือมต่อกับมัน ผ่านการเปดประสาท สัมผัสทั้งห้า และความรู้สึกของเรา เป นการบําบัดที อยู่บนฐาน การวิจัย โดยอาศัยการแช่อยู่ในสภาพแวดล้อมปาไม้เพือส่งเสริมสุข ภาพกายและสุขภาพจิต ปรับปรุงการปองกันโรค ในขณะเดียวกันก็ สามารถเพลิดเพลินและชืนชมความงามของปาด้วย 24
เร ี ยนร ู ้ เร ื ่ องยาและอาหารจากสมนไพรพนบ ้าน การใช้ชีวิตท่ามกลางสถานการณ โควิด-19 นั้น เราทุกคนต่างมีวิธี สร้างภูมิคุ้มสร้างเสริมสุขภาพต่างกันไป และแนนอนว่า การใช้อาหาร เป นเครื องมือสร้างสุขภาพให้แข็งแรง เป นทางเลือกหน งที ได้รับ การยอมรับ จนเกิดเป นแนวทางการรับประทานอาหารเพื อ สร้างภูมิต้านให้ร่างกายมากมายหลายรูปแบบ ที ได้รับการน ามา ปรับใช้ในยุคโรคระบาดครองเมืองกันมากขึน และทีผ่านมามีการนา “สมุนไพรไทย” ซึงในปจจุบันได้มีการศึกษาวิจัยต่อยอดสมุนไพรไทย ทีมีสรรพคุณดีเด่น โดยส่วนใหญ่เปนส่วนผสมในการทําอาหารจน เป นที ยอมรับกันอย่างกว้างขวาง มาใช้เป น ‘อาหารไทยสู้โรค’ ในยุคทีพวกเราต้องต่อสู้กับโรคระบาดน กันอย่างแพร่หลาย (อ้างอิงจาก: htt��://w��.sa����.co/2021/10/05/t�a�_��od_fi��t_�a�d����/) 25
ประเทศไทยอุดมสมบูรณ ไปด้วยสมุนไพรนานาสายพันธุ์และ ถูกน ามาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน ต่างๆ กลายมาเป นภูมิป ญญา พื นบ้าน (ท้องถิ น) สืบทอดจากรุ่นสู่รุ่นต่อเน องมาหลายร้อยป การรักษาพยาบาลเบืองต้นด้วยภูมิปญญาพืนบ้านเปนอีกหนงทางเลือก สําหรับการรักษาอาการเจ็บไข้ของชาวบ้าน หลายชุมชนได้มี การจัดตั้งชมรมสมุนไพรของชุมชนภายใต้การจัดการบริหารที เน น การมีส่วนร่วมของชุมชน ดําเน นกิจกรรมต่างๆ เช่น การถ่ายทอด องค์ความรู้ด้านภูมิปญญาพืนบ้าน นวัตกรรม และ การแพทย์แผนไทย เปนต้น ร ั กษา บาบด ฟื ้ นฟ ู ด ้ วยภ ู ม ิ ปัญญาไ ทย (อ้างอิงจาก การสังเคราะห์ข้อมูลผลงาน อสม. ดีเด่นระดับชาติ และ อสม.ดีเยียม) 26
ทานอาหารพ ื ้ นถ ิ ่ นท ี ่ ปลอดสารพ ิ ษ (อ้างอิงจาก: htt��://n��ha�.���/ne��-�c���it�/20864/ga��r����y/) 27
ในวงการการท่องเที ยวอย่างยั่งยืน มีการผลักดัน การพัฒนาอย่างยั่งยืนบนฐานของการท่องเที ยวอน รักษ์ ส่งเสริมเรืองราวท้องถิน ส่งเสริมการใช้วัตถุดิบท้องถิน เพือ สร้างโอกาสให้เกิดความคงอยู่ของความหลากหลาย ทางชีวภาพ การจัดการเศษอาหารเหลือทิ ง คําน งถึง สิ งแวดล้อม การปกป องมรดกทางอาหารของท้องถิ น ให้อาหารเปนสัญลักษณของพืนทีเปดประสบการณท่องเทียว อย่างลึกซึงและยั่งยืนแก่ผู้มาเยือน การรับประทานอาหารเปน เรืองพืนฐานสําหรับมนษย์ในทุกภูมิภาค ทั้งด้านสุขภาพและ เรื องราวบนจานอาหารยังสะท้อนสังคมและวิถีชีวิต ออกมาได้มากมาย อาหารจึงเปรียบเสมือนเครืองมือการเรียน รู้สําหรับดึงดูดนักท่องเทียว 28
หากเรามีสุขภาพจิตใจทีดีแล้ว ย่อมส่งผลต่อภาวะอารมณในการจัดการกับ ชีวิตประจําวันของเราได้อย่างดี การสร้างสุขภาพจิตทีดีสามารถทําได้หลาก หลายวิธีเช่น ก จ ก ร รมส ่ งเสร ิ มส ุ ขภาพจ ิ ตใจท ํ าจ ิ ตใจใหสงบ (อ้างอิงจาก: คลินกสุขภาพจิต โรงพยาบาลวิชัยยุทธ) 29
• ฝกทําจิตใจให้สดชืนแจ่มใส มองโลกในแง่ดี ฝกเปนคนสุขุมรอบคอบ ไม่ใจร้อน โกรธง่าย ไม่เอาจริงเอาจังกับทุกอย่างจนเกินไป ไม่หวั่นไหวง่าย ไม่ควรหมกมุ่นกับเรืองไร้สาระ 30
• เสริมสร้างความสัมพันธ์กับผู้อื น ไม่ว่าจะเป นครอบครัว หรือเพื อนฝูง สังคมล้อมรอบเรา เป ดใจความรู้สึกของตนเอง และเข้าใจถึงจิตใจของ ผู้อื น รู้จักให้เวลาตนเอง และคนสําคัญในชีวิต ให้มีเวลากิจกรรม ในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ทีดีต่อกัน • ดูแลรักษาสุขภาพทั้งกายและจิตใจให้แข็งแรงอยู่เสมอ ออกกําลังกายเปน ประจํา รับประทานอาหาร ทีมีประโยชน พักผ่อนให้เพียงพอ (อ้างอิงจาก: สสส.) 31
• เมื อมีความเครียดทางจิตใจหรือมีป ญหา ควรหาโอกาสผ่อนคลาย ด้วยการทํางานอดิเรก ออกกําลังกายจะทําให้มีจิตใจทีสบายขึน • เรียนรู้วิธีเข้าใจอารมณ ของตัวเอง มุ่งเน นจัดการความคิดในเชิงบวก ควรมีเวลาแต่ละวันในการทําสมาธิ เพื อที จะได้เข้าใจสภาวะจิตใจใน แต่ละช่วงขณะ 32
ดังนั้น หากมองในด้านของการท่องเทียวแล้ว การออกไปท่องเทียว จะช่วยให้ผ่อนคลายความเครียด เสริมสร้างแรงบันดาลใจใหม่ๆ เพิ มพลังบวกให้กับชีวิตเราได้ อีกทั้งยังช่วยให้มีสุขภาพกายและ ใจทีดีการออกไปเจอโลกกว้าง จะช่วยจุดประกายกระตุ้นการเรียนรู้ เปนการเปดโลกทัศนเพิมพูนความรู้ประสบการณในการรับสิงใหม่ เสริมสร้างจินตนาการ ทําให้เกิดแนวความคิดสร้างสรรค์ไอเดียดีๆ เกิดความสุขสนกสนานไปกับการเดินทาง 33
แนนอนว่าการเลือกซือผลิตภัณฑ์ชุมชน เปนหนงในหนวยบริการของ การท่องเทียวโดยชุมชนทีสามารถสร้างรายได้ให้กับชุมชนท่องเทียว นอกเหน อจากการให้บริการ ดังนั้นการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนที สอดคล้องกับเทรนด์การท่องเที ยวเขิงสุขภาพนั้น จะเปนโอกาสที ดี ของชุมชนท่องเทียวในการเพิมการจับจ่ายของนักท่องเทียวในชุมชน ให้มากขึนได้ ช ้ อบป ิ้ งผล ิ ตภ ั ณฑ ์ เชงสขภาพจากช ุ มชน 34
บทที 4 ถอดบทเรียน การออกแบบกิจกรรมและ เส้นทางท่องเทียวโดยชุมชนเชิงสุขภาพ 35
36
จัดทําโปรแกรม การท่องเทียว ขั้นที 4 ทบทวนธรรมนญชุมชน ขั้นที 2 ศึกษาความเปนไปได้ ขั้นที 1 เตรียมความพร้อม ศึกษาข้อมูลเรืองการท่องเทียว โดยชุมชนเชิงสุขภาพ ขั้นที 3 37
วิเคราะห์ และสรุป ขั้นที 5 การสือความหมาย และมัคคุเทศก์ท้องถิน ขั้นที 6 การตลาด จัดโปรแกรม การส่งเสริมการตลาด ขั้นที 7 การต่อยอดขยายผล ขั้นที 8 38
มาดูกันว่าชุมชน มีความพร้อมแค่ไหน พิจารณาจากปจจัยทีเกือหนน ต่อการพัฒนาชุมชนท่องเทียวเชิงสุขภาพในด้านต่างๆ ขาดข้อไหน ลงมือทําให้สมบูรณ ศึกษาความเปนไปได้ ขั้นที 1 39
ลองเช๊คเลย! องค์ประกอบพืนฐานแหล่งท่องเทียว องค์ประกอบพืนฐานแหล่งท่องเทียว สิงดึงดูดใจ (Attra����n) การเดินทางมายังแหล่งท่องเทียว (Ac�e�s����it�) การบริการทีพัก (Ac�o�m����i�n) กิจกรรมการท่องเทียว (Ac�i��t�e�) สิงอํานวยความสะดวก (de���n��i�� Am��i���s) 40
ชุมชนมีลักษณะการบริหารจัดการ การท่องเทียวโดยชุมชน ความเข้มแข็งของบุคลากร ส่วนที 1 ข้อมูลพืนฐาน ชุมชนมีทรัพยากรทาง วัฒนธรรมเชิงสุขภาพ ภูมิปญญา สิงศักดิสิทธิ ศาสนา ความเชือ หมอพืนบ้าน นักปราชญ์ ศิลปนพิธีกรรม ประเพณ ปา สมุนไพร แม่นา ภูเขา ทุ่งนา ... จิตวิญญาณร่างกาย จิตใจ 41
รู้ความต้องการของนักท่องเทียว ชุมชนมีทรัพยากร ทางธรรมชาติและการจัดการ ทีเปนมิตรกับสิงแวดล้อม สินค้า/บริการ 1 2 3 สิงอํานวยความสะดวก มาตราฐานและความรู้ กิจกรรมเชิงสุขภาพ ทีนาสนใจ ราคาชัดเจน ราคาเหมาสม ราคาแบบยืดหยุ่น ท่ามกลางธรรมชาติ มีความปลอดภัย มีความพร้อมให้ บริการ ไม่โฆษณาเกินจริง มีโปรโมชั่น ลด แลก แจก แถม แนะนาแหล่งท่อง เทียวเชือมโยงเช่น รายชั่วโมง รายครั้ง ราคา สถานที การตลาด 42
ส่วนที 2 ข้อมูลการเข้ารับการประเมินมาตรฐาน ส่วนที 3 ข้อมูลด้านทรัพยากรการท่องเทียว โดยชุมชนเชิงสุขภาพ ชุมชนได้รับการประเมินศักยภาพ การบริหารจัดการด้วยมาตรฐาน การท่องเทียวโดยชุมชน C�� Tha����d ชุมชนได้รับการรับรองมาตรฐาน S�A ชุมชนมีสินค้าหรือบริการทีสอดคล้องกับการท่องเทียว เชิงสุขภาพ ชุมชนมีความคาดหวัง/ต้องการในการพัฒนาสินค้าหรือบริการการ ท่องเทียวโดยชุมชนเชิงสุขภาพอย่างไรบ้าง 43
ส่วนที 4 ด้านลักษณะการบริหารจัดการการท่องเทียว โดยชุมชน ชุมชนของท่านมีการจัดตั้งเปนกลุ่มหรือวิสาหกิจชุมชน ชุมชนมีการบริหารงานแบบแบ่งหนาทีการทํางานให้มี ความรับผิดชอบอย่างเปนระบบ ชุมชนมีการจัดการกองทุนรายได้จากการท่องเทียวโดยชุมชน เพือนาไปใช้ด้านสาธารณประโยชน ชุมชนมีการทํางานร่วมกับหนวยงานทีเกียวข้อง ด้านสาธารณสุขระดับพืนที ชุมชนมีมาตรการการกระจายรายได้จากการท่องเทียว โดยชุมชน 44
ส่วนที 5 ด้านลักษณะการจัดการการตลาดของชุมชน ชุมชนมีเวบไซท์ ช่องทางติดต่อออนไลน เช่น Fac���o� LI�� ชุมชนมีบุคลากรทีดูแลด้านการตลาดโดยเฉพาะ ชุมชนทํางานร่วมกับบริษัทนาเทียว 45
กลุ่มนักท่องเทียวหลักของชุมชนคือใคร กิจกรรมการท่องเทียวหรือผลิตภัณฑ์ทีได้รับความนยมจากนักท่อง เทียวคือกิจกรรมหรือผลิตภัณฑ์อะไร ก่อนหนานอะไรคือสิงทีสร้างความประทับใจให้กับนักท่องเทียวได้ มากทีสุดในชุมชนของท่าน ท่านคิดว่าชุมชนของท่าน ชุมชนเชิงสุขภาพในรูปแบบใดมากทีเหมาะกับการพัฒนาการท่องเทียวโดย สุด และทําไมท่านถึงต้องการพัฒนาการท่องเทียวโดยชุมชนเชิงสุขภาพ ออกมาในรูปแบบนั้น 46
ทบทวนธรรมนญชุมชน ขั้นที 2 ธรรมนญชุมชน คือ หลักกํากับการทํางาน และการใช้ชีวิตร่วมกัน ของคนในชุมชน การทํางานของคนในชุมชนทําให้เกิดระบบระเบียบ น าไปสู้เป าหมาย การพัฒนา และสร้างภูมิคุ้มกันให้ชุมชนเข้มแข็ง และมีความสุข * ทีมา: ศูนย์คุณธรรม (องค์การมหาชน), ธรรมนญชุมชน สร้างสุขบนฐานทีสมดุล. (2562) 47
อยากให้การท่องเทียวโดยชุมชน ของเราเปนอย่างไร เปนข้อตกลงร่วมกันของคนในชุมชน เพือกําหนดรูปแบบการท่องเทียวโดยชุมชน ตามแบบทีต้องการในอนาคต ร่วมตั้งกฎกติกา เพือความสงบสุขของชุมชน อ่านเรืองธรรมนญชุมชนเพิมเติม 48
มีความเข้าใจเรือง การท่องเทียวโดยชุมชน เชิงสุขภาพ เตรียมความพร้อม ศึกษาข้อมูลเรืองการท่องเทียว โดยชุมชนเชิงสุขภาพ ขั้นที 3 สามารถเชือมโยง สินค้า/บริกการชองชุมชน สู่การท่องเทียวโดยชุมชนเชิงสุขภาพ 49
ศึกษาดูงานตัวอย่างชุมชนท่องเทียวเชิงสุขภาพ เช่น ชุมชนบ่อสวก จ.นาน ชุมชนบ้านตํานานดิน จ.สุพรรณบุรี โปรแกรมการท่องเทีข้อมูลสินค้าหรือบริการทีนามาปรับใช้ในยวโดยชุมชนเชิงสุขภาพ จําเปนต้องมีข้อมูลศึกษา หรืองานวิจัยรับรอง ความปลอดภัย นาเชือถือ มีมาตราฐาน 50
ทดสอบกิจกรรมและเส้นทางท่องเที ยว เพื อประเมินศักยภาพ ของกิจกรรมและเส้นทางการท่องเที ยวของชุมชน เป ดโอกาสให้ ทุกภาคส่วน ผู้นาทั้งเปนทางการและไม่เปนทางการสมาชิกในชุมชน กลุ่มสมาชิกกลุ่มต่างๆ รวมถึงผู้เชียวชาญนอกพืนทีมาเปนผู้ร่วมประเมิน ร่วมกัน สํารวจและศึกษาศักยภาพทรัพยากรการท่องเทียว เชื อมโยงกิจกรรมและเส้นทางท่องเที ย ว ชุมชนเชิงสุขภาพ โดยกิจกรรมและเส้นทาง ท่องเที ในด้านยวช่วยส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพ ร่างกาย จิตใจ และจิตวิญญาน ทดสอบ เชือมโยง * ดัดแปลงจากกระบวนการจัดการท่องเทียวโดยชุมชน ณัฏฐพัชร มณโรจน (2560) วางแผน ลงมอ วดผล ปรบปร ุ ง 51
จัดทําโปรแกรม การท่องเทียว ขั้นที 4 พัฒนาศักยภาพของทรัพยากรการท่องเทียวเชิงสุขภาพ น าผลของการศึกษาศักยภาพมาดําเน นการในแต่ละ ประเด็นทีต้องได้รับการพัฒนา เพือให้เกิดความสมบูรณ จัดทําโปรแกรมกิจกรรมการท่องเทียวเชิงสุขภาพ ทีเปนอัตลักษณ เฉพาะท้องถิ นของตนเอง เน นกิจกรรมที นักท่องเที ยวสามารถ มีส่วนร่วมในการท่องเที ยวได้เพื อการแลกเปลี ยนเรียนรู้ระหว่าง เจ้าของภูมิป ญญากับนักท่องเที ยวผู้มาเยือนโดยคําน งถึงจํานวน วันของนักท่องเทียวทีจะเดินทางมาท่องเทียว กิจกรรมตามช่วงวัย และความสนใจของ นักท่องเทียว โดยการออกแบบโปรแกรม กิจกรรมการท่องเที ยวอยู่บนพื นฐานของการท่องเที ยวชุมชน เชิงสุขภาพ และอน รักษ์ ฟ นฟู สืบทอดวัฒนธรรม ประเพณ ประวัติศาสตร์ของชุมชน รวมถึงการเป น มิตรกับสิ งแวดล้อม และระบบนเวศ พัฒนา 52
เมือพัฒนาโปรแกรมกิจกรรมการท่องเทียวเชิงสุขภาพแล้ว ควรมีการสรุปผลร่วมกัน ก่อนนาเสนอโปรแกรมท่องเทียว สู่ตลาด • สรุปรูปแบบกิจกรรมทีจะนาเสนอสู่ตลาด บทบาทหนาที ผู้รับผิดชอบกิจกรรมต่างๆ • เชือมโยงสินค้า บริการอืนๆในชุมชน เพือสงเสริม การขาย • การคิดต้นทุน ตั้งราคาขาย เมือมีการพัฒนาโปรแกรม กิจกรรมและเส้นทางท่องเที ยวใหม่ จําเป นต้องคิด ต้นทุนใหม่ทุกครั้ง 53
วิเคราะห์ และสรุป ขั้นที 5 การจัดการต้นทุน กิจกรรมการผลิต กิจกรรมการบริการลูกค้ากิจกรรมการตลาด และการจัดจําหนาย กิจกรรมการออกแบบ และพัฒนาผลิตภัณฑ์ 54
• จัดทํามาตรฐาน สินค้าและบริการ เมื อได้ข้อสรุปของการจัดโปรแกรมกิจกรรมและ เส้นทางท่องเทียวโดยชุมชนเชิงสุขภาพ เตรียมนาเสนอ สู่ตลาด และชุมชนต้องรักษาเกณฑ์มาตราฐานไว้มาตราฐานของสินค้าและบริการเปนสิงทีสําคัญ เช่น จัดทําคู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน Sta���r� Ope����n� P�oc����e : SO� หรือหากมีผลิตภัณฑ์ เพือจัดจําหนายต้องดําเนนการขอมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.) ต่อไป 55
กําหนดขั้นตอนในการปฏิบัติงาน โดยระบุถึง แต่ละชุมชนไม่จําเปนต้องมีรูปแบบ SO� เหมือนกันขั้นตอนการปฏิบัติงานเฉพาะ ขึนกับเทคนค ระเบียบ มาตรฐานทีเกียวข้อง (มักใส่การควบคุมในขั้นตอนทีจําเปน) เชือมโยงความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการต่างๆ ได้กําหนดหนาทีความรับผิดชอบชัดเจน สามารถเปลียนแปลงได้ SO� มักจัดทําในกระบวนการทีมีขั้นตอนมาก และซับซ้อน หรือเกียวข้องกับคนหลายคน การทํามาตรฐานการปฏิบัติงาน Sta���r� O��ra���g P���ed��� : SO� ใคร (ผู้ปฏิบัติ) ทําอะไร (ขั้นตอนทีต้องทํา/ความรับผิดชอบ) เมือไร (เวลา ระยะเวลา ความถี) ทีไหน (สถานที) อย่างไร (รายละเอียดวิธีทีทํา เช่น ใช้วัสดุอะไร จํานวนเท่าไหร่ ต้มกีนาที) 56
ยวผ่าน
การสือความหมาย และมัคคุเทศก์ท้องถิน ขั้นที 6 นาเสนอความเปนตัวตนของท้องถิน โปรแกรม กิจกรรมการท่องเที ยวโดยชุมชนเชิงสุขภาพของดีในท้องถิ น และทรัพยากรการท่องเที ยว ต่างๆ ทีเปนสิงดึงดูดใจนักท่องเทียวเสนอออก สู่ตลาด เพื อให้นักท่องเที ยวกลุ่มเป าหมาย ได้รับรู้ และทราบข้อมูลการท่องเที ยวกระตุ้นให้เกิด การตัดสินใจเดินทางท่องเที
การสื ส่วนการอสารการตลาดหลากหลายรูปแบบ เตรียมตัวของคนในชุมชน คือ การบันทึก และประวัติศาสตร์ของชุมชนอย่าง ภาคภูมิใจ 57
หรือ
หนงทีชุมชนเลือก หรือ ทุกวัน เปนต้น รวมถึงการติดตั้งข้อมูลในการสือความหมายใน แหล่งท่องเที ยว เช่น ประวัติ ความเป นมา ปายบอกทางในแหล่งท่องเทียว เพือให้นักท่องเทียว ได้รับความสะดวกสบาย และมีความเข้าใจอย่าง ลึกซึงทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาของท้องถิน
เพือนามาเล่าให้นักท่องเทียวผ่านการร่วมกิจกรรม การท่องเที ยว หรือการ แสดงออกทางกายภาพ เช่น ที มาของการประดิษฐ์เครื องใช้สอยใน ครัวเรือน ประวัติ การประกอบอาหารท้องถิ น การแต่งกายด้วยชุดประจําถินในวันสําคัญ
วันใดวัน
58
การตลาด จัดโปรแกรม การส่งเสริมการตลาด ขั้นที 7 น าเสนอความเป นตัวตนของท้องถิ น โปรแกรม กิจกรรมการท่องเที ยวโดยชุมชนเชิงสุขภาพของดีในท้องถิน และทรัพยากรการท่องเทียวต่างๆ ทีเปนสิงดึงดูดใจนักท่องเทียวเสนอออกสู่ตลาด 59
การท่องเทียวชุมชนจะประสบความสําเร็จและยั่งยืน ได้ด้วยเครืองมือการส่งเสริมการตลาด โดยจะต้อง ใช้เครืองมือทั้ง 5 อัน ได้แก่ · การโฆษณา · การให้ข่าวและการประชาสัมพันธ์ · การส่งเสริมการขาย · การใช้พนักงานขาย · และการตลาดทางตรง 60
การต่อยอดขยายผล ขั้นที 8 การต่อยอดขายผล ติดตาม และประเมินผลเป นขั้นที ต้องทําตลอดเวลาอย่างต่อเน อง เพื อพัฒนา คุณภาพการบริการการท่องเทียวของชุมชน โดยเปน 2 ส่วน คือ 61
1) การประเมิน และ สรปุผลการดําเน นงานการให้ บริการการท่องเทียวหลังการเสร็จกิจกรรมการท่องเทียว ของทุกๆ กลุ่มทีเดินทางเข้ามาท่องเทียว อาจจะทํา ใน รูปแบบสัมภาษณ การพูดคุย แบบมีส่วนร่วม หรือ การสังเกตแบบมีส่วนร่วมและนาผลทีได้มาพัฒนาใน ครั้งต่อไป 2) การประเมินผลภาพรวมการท่องเที ยว เช่น ทรัพยากรการท่องเที ยว การบริหารการท่องเที ยว สิ งอํานวยความสะดวกการท่องเที ยวในภาพรวม อาจจะทําการ ประเมินทุกๆ 3 เดือน เพือตรวจสอบ การจัดการท่องเที ยว และน าผลที ได้ไปพัฒนา การท่องเที ยวทุกๆ มิติ เพื อให้การท่องเที ยวมี ความพร้อมเป นแหล่งสร้างการเรียนรู้ และ ประสบการณทีมีคุณค่ากับนักท่องเทียว 62
1 5 2 บทที 5 กระบวนการพัฒนาต้นแบบการท่องเที โดยชุมชนเชิงสุขภาพ บ้านตํานานดิน จ.สุพรรณบุรี 63
1 3 4 กระบวนการพัฒนาต้นแบบการท่องเทียว 1. บ้านตํานานดิน 2. สวนสมุนไพรพืนบ้าน 3. แปลงผักกูด 4. ฐานเลียงผึง 5. สวนไผ่ 64
กิจกรรมพัฒนาต้นแบบการท่องเทียว โดยชุมชนเชิงสุขภาพ (Wel���s� C��) กลุ่มบ้านตํานานดิน จ.สุพรรณบุรี ทดสอบ กิจกรรมและเส้นทางท่องเทียว โดยชุมชนเชิงสุขภาพ บ้านตํานานดิน สรุป กิจกรรมและเส้นทางท่องเทียว โดยชุมชนเชิงสุขภาพ บ้านตํานานดิน 65
ศึกษาดูงาน การท่องเทียวโดยชุมชนเชิงสุขภาพ ชมรมส่งเสริมการท่องเทียวโดยชุมชน ต.บ่อสวก จ.นาน ประเมิน กิจกรรมและเส้นทางท่องเทียว โดยชุมชน บ้านตํานานดิน พัฒนา กิจกรรมและเส้นทางท่องเทียว โดยชุมชนเชิงสุขภาพ บ้านตํานานดิน นาเสนอสู่ตลาด กิจกรรมและเส้นทางท่องเทียว โดยชุมชนเชิงสุขภาพ บ้านตํานานดิน
ฟ ั งเสยงไผ ่ ในสวน