I AMNESTY/APRIL 2013
ไอแอมเนสตี้/เมษายน 2556
I AMNESTY M A
M
N
E
S
T
O N Y
T H L Y I N T E
R
E N
— N A T
E I
W S O N
L A
E L
T
T E R T H A I
L
A
N
D
ARTIST FOR AMNESTY
แอมเนสตี้ฯ หารือ ก.ย ุติธรรม ‘ย ุติโทษประหารชีวิต’
ศุ บุญเลี้ยง ศิลปิ นผูส้ นับสนุน คนสาคัญของแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชัน่ แนล ประเทศไทย ปั จจุบนั ศุ บุญเลี้ยง ดารง ตาแหน่ง AI Ambassador ของ ประเทศไทย เพื่อร่วมเป็ นอีก หนึง่ พลังในการทางานปกป้อง คุม้ ครองและส่งเสริมให้คน ในสังคมไทยหันมามีส่วนร่วม และตระหนักในประเด็น สิทธิมนุษยชนมากขึน้ ******************** Su Boonliang ,an artist and a continually active supporter of Amnesty International Thailand. As of now, Su Boonliang has become an Amnesty International Thailand Ambassador in support the work of promote and protect human rights in Thai society along with Amnesty International Thailand.
เมื่อวันที่ 11 เมษายน 2556 นางสาวปริญญา บุญฤทธิ์ ฤทัยกุล ผูอ้ านวยการแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชัน่ แนล ประเทศ ไทย ยื่นหนังสือถึงรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ระบุ ว่า แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชัน่ แนล ประเทศไทย เรียกร้องให้ รัฐบาลไทยรักษาพันธสัญญาและเห็นค ุณค่าของท ุก ชีวิตอย่างเท่าเทียมกัน เพราะไม่มีหลักฐานใดที่แสดง ว่าโทษประหารมีสว่ นช่วยป้องกันอาชญากรรม “รั ฐบาลไทยควรพิจารณาสนับสนุนแนวโน้มที่ เกิดขึ้น ระหว่างประเทศในทางที่ ยกเลิกโทษประหาร เนื่ องจาก ประเทศไทยเป็ นหนึ่ งในไม่กี่ประเทศในโลกที่ ยั งคงใช้โทษ ประหารชีวติ และโทษดังกล่าวเป็ นการละเมิดสิทธิมนุษยชน ขัน้ พื้นฐานในการมีชีวติ ตามหลั กปฏิ ญญาสากลว่าด้วยสิทธิ มนุษยชนแห่งองค์การสหประชาชาติรวมทั้งงานวิจัย มากมายจากนานาประเทศได้แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่าโทษ ประหารชีวติ ไม่มีความเชื่ อมโยงใดๆ กับการเพิ่มขึ้น หรือ ลดลงของอาชญากรรม” ทั้งนีแ้ อมเนสตี้ อินเตอร์เนชัน่ แนล ประเทศไทย นาเสนอ รายงานสถานการณ์โทษประหารชีวิตและการประหารชีวิต ในปี 2555 ต่อนายสุชน ชาลีเครือ ที่ปรึกษา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุตธิ รรม ซึ่งรับมอบแทนนาย ประชา พรหมนอก รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ยุติธรรม แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชัน่ แนล ประเทศไทย มีขอ้ เรียกร้องต่อกระทรวงยุติธรรมว่ารัฐบาลไทยควร พิจารณาสนับสนุนแนวโน้มที่เกิดขึน้ ระหว่างประเทศในทาง ที่ยกเลิกโทษประหาร ดังนี้ ประกาศพักการประหารชีวิตในทางปฏิบัตอิ ย่างเป็ น ทางการโดยทันที เพื่อให้สอดคล้องกับแผนแม่บทว่า ด้วยสิทธิมนุษยชน ฉบับที่ 2 โดยมีเจตจานงที่จะออก กฎหมายให้ยกเลิกโทษประหารชีวิตในท้ายที่สดุ
เสนอแก้ไขกฎหมายเพื่อลดจานวนความผิดทางอาญา ที่มีบทโทษประหารชีวิต ปั จจุบัน กฎหมายไทยบัญญัติ ความผิดทางอาญาไว้มากถึง 55 ประเภทที่มี บทลงโทษประหารชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งความผิดที่ ไม่ถือเป็ น “อาชญากรรมร้ายแรงที่สดุ ” เช่น ความผิด เกี่ยวกับยาเสพติด และการลอบวางเพลิง เป็ นต้น บรรจุวาระการเปลี่ยนแปลงโทษประหารชีวิตเป็ นโทษ จาคุกไว้ในแผนแม่บทว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ฉบับที่ 3 ลงนามและให้สัตยาบันรับรองพิธีสารเลือกรับฉบับที่ สองของกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมือง และสิทธิทางการเมือง (Second Optional Protocol to the International Covenant on Civil and Political Rights) ที่มง่ ุ ยกเลิกโทษประหารชีวิต
อ่านข่าว แอมเนสตีฯ้ หารือ ก.ยุติธรรม ยุติ ‘โทษประหาร ชีวิต’ จากหนังสือพิมพ์ออนไลน์ประชาไท http:// www.prachatai.com/journal/2013/04/46204