โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด รายงานฉบับนี้เป็นส่วนประกอบของโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทสารวจ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทสารวจ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เรื่อง : การศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาของแมงมุมแม่หม้ายน้าตาล (Latrodectus geometricus) ในโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา
โดย 1. เด็กชายสุรสิทธิ์ แดงดี 2. เด็กชายนนท์ธนา ตะคอนรัมย์ 3. เด็กชายพัฒนพล ไกรสุข
ครูที่ปรึกษา 1. นายศิริวุฒิ 2. นางธีร์กัญญา
บัวสมาน พลนันท์
โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนประกอบของโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทสารวจ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
ก ชื่อโครงงาน การศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาของแมงมุมแม่หม้ายน้้าตาล (Latrodectus geometricus) ในโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา ผู้ทาโครงงาน เด็กชายสุรสิทธิ์ แดงดี, เด็กชายนนท์ธนา ตะคอนรัมย์, เด็กชายพัฒนพล ไกรสุข ครูที่ปรึกษา นายศิริวุฒิ บัวสมาน, นางธีร์กัญญา พลนันท์ สาขา วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ประเภทโครงงาน ส้ารวจ ระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียน ศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา ปีการศึกษา 2558 บทคัดย่อ การศึ ก ษานี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ ลั ก ษณะโครงสร้ า งทางสั ณ ฐานวิ ท ยาของแมงมุ ม แม่หม้ายน้้าตาล (Latrodectus geometricus) เพื่อเป็นแนวทางในการจ้าแนกชนิด และศึกษาชีววิทยา บางประการของเเมงมุ ม ชนิ ด นี้ โดยสุ่ มเก็ บ ตัว อย่ า งแมงมุม แม่ ห ม้า ยน้้ าตาลจากแหล่ ง อาศั ยในโรงเรี ย น ศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา จังหวัดร้อยเอ็ด เป็นเวลา 4 สัปดาห์ แล้วน้ามาศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์แบบ 3 มิติ จากการส้ารวจพบแมงมุมแม่หม้ายน้้าตาล จ้านวน 12 ตัว เป็นเพศเมีย 11 ตัว และเพศผู้ 1 ตัว ซึ่ง มีลักษณะทางสัณฐานวิทยาโดยสังเขป คือ มีความยาวจากปลายขาคู่ที่ 1- 4 ยาว 37.4 mm. ส่วนหัวและอก (cephalothorax) ยาว 3.1 mm. ส่วนท้อง (abdomen) ยาว 5.3 mm. เขี้ยว (fang) วางตัวในแนวขยับเข้า หากันในแนวระนาบ (diaxial) palp ยาว 2.9 mm. ปลาย palp มีสีเข้ม ขามี 4 คู่ คู่ที่ยาวที่สุด คือ คู่ที่ 1 รองลงมา คือ ขาคู่ที่ 4 และคู่ที่ 2 ตามล้าดับ เเละสั้นที่สุด คือ คู่ที่ 3 ขามี 7 ปล้อง ด้านล่างของ tarsi ขาคู่ที่ 4 มีการเรียงตัวของเส้นขนเป็นแนวคล้ายหวี แต่ละซี่มีรอยหยัก (serrated bristle) ข้อต่อมีสีเข้ม ขาคู่ที่ 1 และ 2 เหยียดไปด้านหน้า ขาคู่ที่ 3 และ 4 เหยียดไปด้านหลัง ปลายขาทั้ง 4 คู่มีเล็บ (claw) ข้างละ 3 เล็บ โดย 2 อันเป็นคู่ด้านบน และอีก 1 อันไม่มีคู่มีขนาดเล็กอยู่ตรงกลางด้านล่าง ตามี 4 คู่ มีขนาดเท่ากันจัดเรียง 2 แถว แถวละ 2 คู่ การจัดเรียงของตาเป็นแบบ recurred row อวัยวะชักใย (spinnerets) มี 4 spinnerets อวัยวะ หายใจหรือปอดแผง (book lung) มี 1 คู่ อยู่ด้านล่างของส่วนท้อง อวัยวะสืบพันธุ์เพศเมีย (genitalia) มี 1 คู่ รูปคล้ายดัมเบลล์ (dumb-bell shape) ส่วนท้อง (abdomen) คล้ายรูปไข่ มีลักษณะเด่น คือ ใต้ท้องเป็นรูป นาฬิกาทรายสีเหลืองส้ม (hourglass mark) มีลายจุดภายในมีสีน้าตาล เหลือง ส้ม ถูกล้อมด้วยสีน้าตาลด้า มี 3 แถวๆ ละ 4 จุด ซึ่งแต่ละตัวมีลักษณะแตกต่างกันไปตามวัยและถิ่นที่อยู่อาศัย ลักษณะถุงไข่ (egg sac) รูปทรงกลมสีครีมถึงขาวเหลืองอ่อน ผิวถุงไข่มีลักษณะเป็นหนามคล้ายทุ่นระเบิด และการจ้าแนกพบว่า แมง มุมแม่หม้ายน้้าตาลชนิดนี้อยู่ในวงศ์ Theridiidae สกุล Latrodectus ส่วนใหญ่พบบริเวณใต้มุมโต๊ะและเก้าอี้ ต่างๆ ที่บริเวณนั้นไม่ชื้นเกินไป มีนิสัยไม่ก้าวร้าว จะอยู่นิ่งๆ ภายในรัง เมื่อถูกรบกวนจะหลบเข้ามุมโต๊ะหรือมุม เก้าอี้ทันที นอกจากนั้นมีการลอกคราบเป็นระยะ อาหารของแมงมุมชนิดนี้ ได้แก่ แมลงขนาดเล็ก เช่น จิ้งหรีด ยุง แมลงค่อมทอง แมงมุมใยยุ่ง และแมงมุมแม่หม้ายตัวผู้ (หลังจากผสมพันธุ์) ประโยชน์ ช่วยควบคุมจ้านวน ประชากรแมลงในระบบนิเวศ คาสาคัญ : แมงมุมแม่หม้ายน้้าตาล, สัณฐานวิทยา, Theridiidae, hourglass mark
ข กิตติกรรมประกาศ โครงงานเรื่อง “การศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาของแมงมุมแม่หม้ายน้้าตาล (Latrodectus geometricus) ในโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา ” ส้าเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณา อย่างยิ่งจากคุณครู ศิริวุฒิ บัวสมาน และคุณครูธีร์กัญญา พลนันท์ ครูที่ปรึกษาโครงงาน ซึ่งได้ให้ค้าปรึกษาอันเป็นแนวทางใน การท้าโครงงานและการแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ ปลูกฝังให้คณะผู้จัดท้ามีความเพียรพยายามและรักการท้างาน สนั บ สนุ น ส่ ง เสริ ม ให้ โ อกาส ให้ ก้ า ลั ง ใจ และเป็ น แบบอย่ า งที่ ดี แ ก่ ค ณะผู้ จั ด ท้ า มาโดยตลอดและ ขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้ ขอขอบพระคุณท่านพัชรินทร์ หยาดไธสง ผู้อ้านวยการโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา ที่ให้ ก้า ลั ง ใจและสนั บ สนุ น งบประมาณในการท้ า โครงงาน และขอขอบพระคุ ณ คุ ณ ครูก ลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา ทุกท่าน ที่ให้ก้าลังใจและค้าแนะน้าที่ดีเสมอมา ขอขอบพระคุณ คุณชวลิต ส่งแสงโชติ ขอขอบพระคุณ คุณชวลิต ส่งแสงโชติ ผู้อ้านวยการศูนย์วิจัย Spider Planet ที่อนุเคราะห์ให้การอบรมและมอบกล้องจุลทรรศน์แบบ 3 มิติ ในโครงการมอบกล้องให้น้อง ส่ องอนาคต จ้ านวน 4 เครื่ อง ให้ กับ โรงเรี ยนศรีส มเด็ จพิ มพ์ พัฒ นาวิ ทยา อาจารย์ ดร.พั ช นี วิ ชิต พัน ธุ์ อาจารย์ ป ระจ้ า สาขาวิ ช าชี ว วิ ท ยา ภาควิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ คณะศิ ล ปศาสตร์ แ ละวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก้าแพงแสน คุณประสิทธิ์ วงษ์พรม ผู้อ้านวยการศูนย์ธรรมชาติศึกษา ไทย และคุณอธิปัตย์ อู่ศิลปกิจ นักศึกษาสาขาชีววิทยา ภาควิชาชีววิทยา มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ช่วยอบรม แนะน้ าเกี่ยวกับ แมงมุม การจ้ าแนกแมงมุมและสนับสนุนอุปกรณ์และเครื่องมือในการศึกษาแมงมุม และ ขอขอบคุณทุกท่านที่เกี่ยวข้องมา ณ โอกาสนี้ หวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้ คงมีประโยชน์หรือเป็นแนวทางในการศึกษาด้านแมงมุมในท้องถิ่น ต่อไป และหวังว่าคงมีผู้พัฒนาให้ดียิ่งขึ้น คณะผู้จัดทา
ค สารบัญ บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ บทที่ 1 บทนา 1.1 ความเป็นมาและความส้าคัญของโครงงาน 1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1.3 ขอบเขตของการศึกษา 1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 เอกสารและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 2.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับแมงมุม 2.2 ศัพท์ส้าคัญที่ใช้ในการศึกษาแมงมุม 2.3 แมงมุมมีพิษที่พบในประเทศไทย 2.4 การปฐมพยาบาลเมื่อถูกแมงมุมกัด บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีการศึกษา 3.1 อุปกรณ์ สารเคมีและเครื่องมือ 3.2 วิธีการศึกษา บทที่ 4 ผลการศึกษา 4.1 ผลการศึกษา บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผล 5.1 สรุปผลการศึกษา 5.2 อภิปรายผล 5.3 ข้อเสนอแนะ 5.4 ประโยชน์ที่ได้รับ เอกสารอ้างอิง ภาคผนวก
หน้า ก ข ค 1 1 1 1 2 3 3 11 13 14 16 16 18 20 20 27 27 27 28 28 29 30-34
บทที่ 1 บทนา 1.1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน สถานการณ์ของโลกในปัจจุบันมีเปลี่ยนแปลงสภาพทางภูมิอากาศที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นและมีการ สูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งความหลากหลายทางชีวภาพมีความส้าคัญต่อการด้ารงชีวิตของมนุษย์ และตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพทางภูมิอากาศของโลก มนุษย์จ้าเป็นจะต้องมีการเตรียมความพร้อม เพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น รวมทั้งจะต้องมีการสร้างความตระหนักในการลดความสูญเสียความ หลากหลายทางชีวภาพ ประเทศไทยเป็นหนึ่งในพื้นที่ที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูงเพราะอยู่ในเขตร้อน ชื้น แต่ยังขาดการส้ารวจอย่างจริงจัง โดยเฉพาะความหลากหลายของสั ตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ซึ่งแมงมุมเป็น อีกกลุ่มหนึ่งที่ยังขาดการส้ารวจและได้รับความสนใจน้อยมาก ทั้งที่แมงมุมมีบทบาทส้าคัญท้าหน้าที่เป็นผู้ล่าใน ระบบนิเวศ และยังเป็นอาหารส้าหรับคนในบางท้องถิ่นของประเทศ ในประเทศไทยมีการคาดการณ์ว่าน่าจะ พบแมงมุมประมาณ 6,000– 10,000 ชนิด ซึ่งในปัจจุบันเท่าที่มีรายงานพบเพียง 600-700 ชนิด เท่านั้น สะท้อนให้เห็นว่ายังมีแมงมุมอีกหลายชนิดที่ยังรอการค้นพบ (ประสิทธิ์ วงษ์พรม , 2555) จากการที่กลุ่มของพวกเราเดินเล่นในโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา อ้าเภอศรีสมเด็จ จังหวัด ร้อยเอ็ด ระหว่างอาคารจะมีสวนหย่อมและต้นไม้ขึ้นอยู่มากมาย พวกเราสังเกตพบว่า มีแมลงหลายชนิดเกาะ กินใบไม้และอาศัยอยู่บนกิ่งไม้ แต่มีสิ่งมีชีวิตพวกหนึ่งที่มีลักษณะพิเศษ คือ มีแปดขาและมีการท้ารังโดยชักใย สีขาวให้แมลงต่างๆ มาติดกับดักใยเพื่อเป็นอาหารของมัน สิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะพิเศษนี้คือ “แมงมุม” (Spider) ซึ่งมีสิ่งที่พิเศษกว่าแมลงหรือแมงชนิดอื่นๆ และเมื่อปี 2557 มีข่าวเกี่ยวกับแมงมุมมีพิษกัดคนท้าให้เจ็บปวด และถึงเสียชีวิต ดังนั้น กลุ่มของพวกเราจึงจึงสนใจที่จะศึกษาเกี่ยวกับแมงมุมแม่หม้ายน้้าตาลภายในโรงเรียนศรีสมเด็จ พิมพ์พัฒนาวิทยา 1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1.2.1. เพื่อศึกษาเกี่ยวกับลักษณะ รูปร่าง และโครงสร้างทางสัณฐานวิทยาของแมงมุมแม่หม้ายน้้าตาล (Latrodectus geometricus) ในโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา 1.2.2 เพื่อจ้าแนกแมงมุมแม่หม้ายน้้าตาลในโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา 1.2.3 เพื่อศึกษาเกี่ยวกับถิ่นอาศัย พฤติกรรม แหล่งอาหารและประโยชน์ของแมงมุมแม่หม้ายน้้าตาล 1.3 ขอบเขตของการศึกษา 1.3.1 ระยะเวลาในการศึกษา : 4 สัปดาห์ ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2558 ถึง 31 กรกฎาคม 2558 1.3.2 พื้นที่ด้าเนินการส้ารวจ : ใต้โต๊ะและเก้าอี้บริเวณโรงอาหารโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา ต้าบลศรีสมเด็จ อ้าเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด 1.3.3 ช่วงเวลาในการส้ารวจ : ส้ารวจเฉพาะช่วงเวลา 12.30 – 13.00 น. และ 15.30 – 16.30 น.
2 1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.4.1 ได้ทราบลักษณะ รูปร่าง และโครงสร้างทางสัณฐานวิทยาของแมงมุมแม่หม้ายน้้าตาล (Latrodectus geometricus) ในโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา 1.4.2 ได้แนวทางในการจ้าแนกแมงมุมแม่หม้ายน้้าตาลในโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา 1.4.3 ได้ทราบถึงถิ่นอาศัย พฤติกรรม อาหารและประโยชน์ของแมงมุมแม่หม้ายน้้าตาล 1.4.4 รู้จักวิธีในการป้องกันอันตรายจากแมงมุมแม่หม้ายน้้าตาล
3 บทที่ 2 เอกสารและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ผู้จัดท้าโครงงานได้ศึกษาเอกสาร ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องโดยน้าเสนอในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ โครงงาน ดังนี้ 2.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับแมงมุม 2.1.1 ลักษณะทั่วไปของแมงมุม แมงมุมเป็นสิ่งมีชีวิตจ้าพวกสัตว์ขาข้อปล้อง (Arthropoda) จัดอยู่ในชั้นอะแรชนิดา (Class Arachnida) มีลักษณะส้าคัญ คือ ล้าตัวแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนหัวและส่วนอกรวมเป็นชิ้นเดียวกัน (cephalothorax) และส่วนท้องที่ไม่แบ่งเป็นปล้อง ด้านหน้าของส่วนท้องที่เชื่อมต่อกับส่วน cephalothorax มีลักษณะเป็นก้านเล็กๆ เรียกว่า เพดดิเซิล (pedicel) มีขา 4 คู่ ไม่มีขากรรไกร ไม่มีหนวด หายใจโดยท่อลม หรือแผงปอด (books lung) ปัจจุบันมีแมงมุมที่ถูกค้นพบแล้วประมาณ 114 วงศ์ 3,960 สกุล 45,654 ชนิด โดยแมงมุมสายพันธุ์ที่สามารถผลิตเส้นใยที่มีคุณสมบัติพิเศษและแตกต่างจากเส้นใยที่สร้างจากหนอนไหม คือ แมงมุมที่มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Araneus diadematus (garden cross-spider) พบมากในแถบยุโรปและ อเมริกาเหนือ และแมงมุม Nephila clavipes (golden orb-web spider) ที่มีเส้นใยเป็นสีเหลืองทอง สวยงาม พบได้ในทวีปอเมริกา แมงมุมทั้ง 2 ชนิดนี้เป็นแมงมุมใยกลม (orb-weaver spider) ซึ่งสร้างใยที่มี ลักษณะคล้ายวงล้อ การสร้างเส้นใยของแมงมุมเกิดจากต่อมผลิตเส้นใย (silk gland) ท้าหน้าที่ผลิตโปรตีนที่ใช้สร้างเส้นใย เมื่อโปรตีนถูกหลั่งผ่าน spinnerets 1-3 คู่ ที่เชื่อมต่อกับ silk glands จะถูกเปลี่ยนสถานะจากของเหลวไป เป็นของแข็ง หลังจากนั้นแมงมุมก็จะใช้ขาในการถักทอโปรตีนเหล่านี้ให้เป็นเส้นใยที่มีขนาดใหญ่ขึ้น เป็นใยแมง มุมที่เราเห็นนั่นเอง
ภาพที่ 2.1 อวัยวะภายในของแมงมุมเพศเมีย (ที่มา : https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/2/22/ Spider_internal_anatomy-en.svg/1148px-Spider_internal_anatomy-en.svg.png)
4 ต่อมผลิตเส้นใยของแมงมุม มีหลายต่อมซึ่งท้าหน้าที่ผลิตเส้นใย โดยแต่ละต่อมจะผลิตเส้นใยที่มี คุณสมบัติต่างกันดังนี้ ต่อมผลิตเส้นใย Major Ampullate
ผลิตเส้นใยที่เป็นโครงสร้างหลักของใยแมงมุม (dragline silk) ใช้ส้าหรับรับแรง เดินและ ปล่อยตัวจากที่สูง (dragline silk) มีความแข็งแรงและเหนียวมาก
Flagelliform
ผลิตเส้นใยที่ใช้ส้าหรับจับเหยื่อซึ่งมีความยืดหยุ่นสูงมาก (capture silk) ใช้ส่งสัญญาณเมื่อ เหยื่อติดกับ (signal line)
Minor Ampullate
เป็นเส้นใยชั่วคราวที่แมงมุมใช้เดินขณะก้าลังทอใย (นั่งร้านชั่วคราวขณะก่อสร้าง)
Piriform
ผลิตเส้นใยส้าหรับใช้ประสานกับจุดเชื่อมโยง เช่น กิ่งไม้
Cylindrical
ผลิตเส้นใยตรงจุดศูนย์กลางวงล้อเพื่อใช้เฝ้ารอเหยื่อและผลิตเส้นใยสร้างรังชั้นนอก
Aciniform
ผลิตเส้นใยที่ใช้ห่อหุ้มไข่ ห่อหุ้มเหยื่อและสร้างรังชั้นใน
Aggregate
ผลิตเส้นใยที่มีความเหนียวเหมือนกาว (glue silk)
Tubiliformes ผลิตเส้นใยที่ใช้สร้างรังไหมเพื่อปกป้องไข่ (cocoon silk)
ภาพที่ 2.2
5 แมงมุมเป็นสิ่งมีชีวิตที่จัดอยู่ในชั้น (Class) Arachnida ซึ่งแตกต่างกับแมลงซึ่งจัดอยู่ในชั้น Insecta ดังตารางที่ 2.1 ตารางที่ 2.1 ตารางแสดงลักษณะเปรียบเทียบระหว่างแมงมุมกับแมลง ลักษณะ ส่วนหลักของร่างกาย
แมงมุม 2 ส่วน คือ Cephalothorax และ Abdomenโดยหัวและอกจะรวมเป็น ส่วนเดียว ไม่มี
แมลง 3 ส่วน คือ Head Thorax และ Abdomen
3 คู่ ไม่มี
ส่วนที่ปล่อยพิษ
4 คู่ มีโดยจะพัฒนาไปเป็นอวัยวะที่ใช้ในการผสม พันธุ์ของตัวผู้ ส่วนของรยางค์ปาก ( Chelicerae )
ปีก ตา
ไม่มี มีตาเดี่ยว ( Ocelli ) 6 หรือ 8 ตา
อวัยวะที่ใช้ในการสร้าง ใย การย่อยอาหาร
แมงมุมทุกชนิดมีอวัยวะพิเศษที่ใช้ในการ สร้างใย (Spinneret) ย่อยโดยใช้เอมไซน์ก่อนที่จะมีการกลืนกิน
การเจริญเติบโต
ไม่มี Metamorphosis ตัวอ่อนคล้ายพ่อแม่
หนวด ( Antennae ) ขา Pedipalps
มี
หากมีจะอยู่ส่วนปลายของ ท้อง ส่วนใหญ่มี ปกติมีตาประกอบ 1 คู่หรือ บางชนิด พบตาเดี่ยว 2 หรือ 3 ตา พบในระยะตัวอ่อนหรือใน แมลงบางชนิด โดยทั่วไปจะย่อยหลังกลืน แมลงหลายชนิด มี Metamorphosis ในระยะตัวอ่อนและดักแด้
องค์ประกอบทางเคมีและโครงสร้างของเส้นใยแมงมุม องค์ประกอบทางเคมี เส้นใยแมงมุมเป็นเส้นใยโปรตีนธรรมชาติที่เรียกว่า สไปโดรอิน (Spidroin) ประกอบด้วยกรดอะมิโน หลัก 2 ชนิด คือ ไกลซีน (Glycine) ร้อยละ 40 และอะลานีน (Alanine) ร้อยละ 25 อยู่ในรูปของโคพอลิเมอร์ ที่จัดแบบบล็อก (Block Copolymer) ในแต่ละบล็อกประกอบด้วย อะลานีนและไกลซีน 4-9 โมเลกุล สไปโดร อิน มี 2 ชนิด คือ สไปโดรอิน 1(Spidroin 1) ซึ่งเป็นบล็อกโคพอลิเมอร์ที่มีล้าดับกรดอะมิโนอะลานีนมากกว่า (Alanine-rich) และสไปโดรอิน 2 (Spidroin 2) ซึ่งเป็นบล็อกโคพอลิเมอร์ที่มีล้าดับกรดอะมิโนไกลซีนมากกว่า (Glycine-rich) องค์ประกอบที่เหลือ คือ กรดอะมิโนชนิดอื่น ไกลโคโปรตีนเกลืออนินทรีย์ สารประกอบ ซัลเฟอร์ และเอมีน ซึ่งปริมาณสารต่างๆเหล่านี้จะแตกต่างกันตามสายพันธุ์ของแมงมุม
6 6 โครงสร้างของเส้นใยแมงมุม ลักษณะภาคตัดขวางของเส้นใยแมงมุมเป็นวงกลม ชั้นนอกสุดเป็นชั้นไขมัน ถัดเข้ามาเป็นชั้นไกลโค โปรตีน แกนกลางของเส้นใย คือ ส่วนของโปรตีนที่เรียกว่า สไปโดรอิน (Spidroin) ส่วนโครงสร้างโมเลกุลของ เส้ น ใยแมงมุมนั้ น ประกอบด้ว ยส่ ว นที่มีการจัดเรียงตัว อย่างเป็นระเบียบหรือส่ ว นที่เป็นผลึ ก (crystalline region) ที่เกิดจากการสร้างพันธะไฮโดรเจนระหว่างC=O กับ N-H ของกรดอะมิโนระหว่างสายพอลิอะลานีน ที่อยู่คู่กัน เกิดเป็นโครงสร้างแบบแผ่น เรียกว่า แผ่นพลีทบีต้า(β- pleatedsheet ) บริเวณที่เป็นผลึกเป็นส่วน ที่ท้าให้เส้นใยมีความแข็งแรง ส่วนที่เหลือเป็นบริเวณของอสัณฐาน (amorphous region) ที่มีการจัดเรียง ตัวอย่างไม่เป็นระเบียบ เกิดจากการสร้างพันธะไฮโดรเจนระหว่าง C=Oของกรดอะมิโนหนึ่งกับ N-H ของ กรดอะมิโนถัดไปอีก 4 หน่วยในสายพอลิไกลซีนเดียวกันเกิดโครงสร้างในลักษณะบิดเป็นเกลียวขดคล้ายสปริง เรียกว่า เกลียวแอลฟา (α-helix) โครงสร้างที่บิดเป็นเกลียวนี้ท้าให้เส้นใยยืดหยุ่นได้เมื่อมีแรงมากระท้า จาก โครงสร้างดังกล่าวท้าให้เส้นใยแมงมุมมีจุดเด่นในด้านสมบัติเชิงกลทั้งในแง่ของความแข็งแรงและความยืดหยุ่น
ภาพที่ 2.3
เส้ น ใยแมงมุม มีค วามแข็ง แรง ความยื ดหยุ่น และความเหนีย วมากกว่า เส้ นใยไหมซึ่ง เป็ นเส้ น ใย ธรรมชาติ และเส้นใยสังเคราะห์อย่างไนลอน และเมื่อเปรียบเทียบกับวัสดุอื่น เช่น เส้นใยคาร์บอนและเหล็ก พบว่า เส้นใยแมงมุมก็ยังมีความยืดหยุ่น และความเหนียวมากกว่าวัสดุเหล่านั้น จากจุดเด่นด้านสมบัติเชิงกล ของเส้นใยแมงมุม อาจจะเป็นแนวทางที่น่าสนใจในการน้าเส้นใยแมงมุมมาประยุกต์ใช้งานด้านต่างๆ เช่น เสื้อ เกราะกันกระสุนน้้าหนักเบา เข็มขัดนิรภัย ร่มชูชีพ บรรจุภัณฑ์ที่ย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ หรือแม้แต่วัสดุ ทางการแพทย์ (ไหมเย็บ แผล เส้ น เอ็น เทียม) เป็นต้น อย่างไรก็ตามเนื่องจากการผลิตเส้นใยแมงมุมให้ ได้ ปริมาณมากนั้นเป็นเรื่องยาก การน้าแมงมุมมาเลี้ยงรวมกันในปริมาณมากท้าให้แมงมุมกินกันเอง อีกทั้งเส้นใย แมงมุมมีขนาดเล็กมาก เราต้องใช้แมงมุมถึง 400 ตัวในการผลิตผ้าขนาดหนึ่งตารางหลา นอกจากนี้เส้นใยแมง มุม ยั ง แข็ งตั ว เมื่อ สั ม ผั ส อากาศ จึ งจ้ าเป็ น ต้ องอาศัย การพั ฒ นางานวิ จัย เพื่ อผลิ ต เส้ น ใยแมงมุ มเลี ย นแบบ ธรรมชาติ ไม่ว่าจะเป็นการสังเคราะห์โปรตีนเส้นใยแมงมุม หรือการตัดต่อยีนที่เกี่ยวกับการสร้างเส้นใยของแมง มุมเข้าไว้ในรหัสพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตอื่น เช่น ตัวไหม เป็นต้น คาดว่าในไม่ช้าเราอาจจะได้สวมใส่หรือใช้ ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตจากเส้นใยแมงมุมก็เป็นได้
7 2.1.2 ลักษณะทางกายวิภาคของแมงมุม ร่างกายของแมงมุมประกอบไปด้วย 2 ส่วนหลัก คือ Cephalothorax และ Abdomen โดยมีส่วน ที่เชื่อมทั้ง 2 ส่วนเข้าด้วยกันคือ Pedicell ดังภาพที่ 2.4
ภาพที่ 2.4 ลักษณะทางกายวิภาคของแมงมุม (ที่มา : http://www.siaminsectzoo.com) แมงมุมแตกต่างจากแมลงที่มีร่างกายแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือส่วนแรกมีส่วนหัวและอกเชื่อมเป็นส่วน เดียวกัน (cephalothorax) แยกออกจากส่วนที่สองคือส่วนท้อง (abdomen) อย่างชัดเจน มีเปลือกแข็ง (carapage) หุ้มอยู่ทั้งด้านบนและด้านล่าง เป็นที่ตั้งของตา ปาก มีเพดิพัลพ์ (pedipal) ยื่นยาวออกมา ด้านหน้าใช้ส้าหรับเขี่ยอาหารเข้าปาก แมงมุมบางชนิดมีเพดิพัลพ์ยาวจนคล้ายขาแต่ไม่ได้ท้าหน้าที่เกาะหรือ เดิน มี เขี้ยวที่แหลมคมใช้กัดเหยื่อได้ มีขา 4 คู่ แต่ละขาเป็นข้อปล้องต่อๆ กัน ที่ปลายขามีเล็บเล็กแหลม มัน จะใช้น้ามันลื่น ๆ เคลือบเล็บนี้ไว้ ท้าให้เดินไปมาบนใยแมงมุมเหนียวๆ ได้ ส่วนท้องไม่ได้แบ่งเป็นปล้อง มี ลักษณะเป็นถุงนิ่มๆ มีน้อยชนิดที่มีเปลือกแข็งหุ้ม ส่วนท้องในเพศเมียมีช่องเปิดของระบบหายใจ อวัยวะ ขับถ่าย และรยางค์ปล่อยเส้นใย อย่างไรก็ตามแมงมุมบางชนิดไม่สร้างเส้นใย เช่นแมงมุมบ้านสีน้าตาลมีขา ยาวที่อยู่ตามห้องน้้าคอยจับแมลงสาบและสามง่ามกิน รยางค์ผลิตและปล่อยเส้นใย (spinneret) ของ แมงมุมอยู่ที่ปลายสุดของส่วนท้อง แมงมุมจะชักใยเพื่อ สร้างที่อยู่อันปลอดภัย และใช้จับเหยื่อนอกจากนี้ยังใช้ใยสร้างถุงใส่ไข่ของมันด้วย ที่ปากของแมงมุมมีเขี้ยว พิษ ใช้ป้องกันตัวและฆ่าเหยื่อ ปากเล็กๆ ของแมงมุมใช้เคี้ยวเหยื่อไม่ได้ มันจะใช้เขี้ยวพิษฆ่าเหยื่อหรือท้าให้ เป็นอัมพาต แล้วใช้ปากดูดของเหลวจากเหยื่อกินเป็นอาหาร เมื่อแมงมุมโตขึ้น มันจะสร้างรังของตัวเอง โดย แมงมุมต้นไม้จะปล่อยใยยึดไว้ตามกิ่งไม้ ใยแมงมุมมีหลายแบบ ทั้งแบบกลม สามเหลี่ยมและสี่เหลี่ยม ใยแมง มุมเป็นกับดัก เมื่อแมลงบินไปติดใยแมงมุมเหนียวๆ มันจะหนีไปไหนไม่ได้และถูกแมงมุมจับกินเป็นอาหาร
8
ภาพที่ 2.5 ลักษณะทางกายวิภาคของแมงมุม (มองด้านหลัง) (ที่มา : http://keys.lucidcentral.org/keys/v3/theridiidae/key/)
ภาพที่ 2.6 ลักษณะทางกายวิภาคของแมงมุม (มองจากด้านข้าง) (ที่มา : http://keys.lucidcentral.org/keys/v3/theridiidae/key)
9
2.7 ลักษณะทางกายวิภาคของแมงมุม (มองจากด้านท้อง) (ที่มา : http://keys.lucidcentral.org/keys/v3/theridiidae/key/)
ภาพที่ 2.8 ส่วนประกอบของร่างกายแมงมุม (ที่มา : http://www.biodiversityexplorer.org/arachnids/spiders/anatomy.htm)
10
ภาพที่ 2.9 ส่วนประกอบของร่างกายแมงมุม (มองด้านท้อง) (ที่มา : http://www.biodiversityexplorer.org/arachnids/spiders/anatomy.htm)
ภาพที่ 2.10 Comb of the IV leg tarsus (ที่มา : http://keys.lucidcentral.org/keys/v3/theridiidae/key/)
11
ภาพที่ 2.11 ต้าแหน่งและลักษณะการวางตัวของตาแมงมุม (ที่มา : http://www.mnh.si.edu/highlight/sem/spiders.html 2.2 คาศัพท์สาคัญที่ใช้ในการศึกษาแมงมุม Anterior lateral eyes (ALE): ตาที่อยู่สุดปลายแถวหน้าแต่ละข้าง Anterior median eyes (AME): ตาคู่กลางของตาแถวหน้า Anterior spinnerets: อวัยวะปั่นใยคู่หน้า Chilum (p=chila): แผ่นแข็งขนาดเล็กที่ฐานของ chelicerae ซึ่งอยู่ใต้ clypeus Claw tuft: กลุ่มขนหนาใต้คู่เล็บปลาย tarsus Clypeus: พื้นที่ของ carapace ที่อยู่ระหว่างขอบด้านหน้ากับตา Cribellum: แผ่นผลิตใยคล้ายตะแกรงอยู่ด้านหน้าของอวัยวะปัน่ ใย(spinnerets) Calamistrum: ขนที่ดัดแปลงคล้ายหวีเรียงเป็นแถวตรงหรือรูปไข่อยู่บนขาคู่ที่ ๔ ส่วน matatarsus Diaxial: ส่วน chelicerae ที่ขยายออกทางด้านล่าง โดยส่วนเขีย้ ว (fang) เคลื่อนที่ตรงเข้าตรงกลางระหว่าง เขี้ยว Endite: ส่วนฐานของ palp บางครั้งเรียก maxilla หรือ gnathocoxa Labral spur: หนามสัน้ ที่ยื่นออกจากส่วน labrum Laterigrade: แมงมุมที่เคลื่อนไหวทางด้านข้างคล้ายปูโดยขาชีอ้ อกทางด้านข้าง Paraxial: ลักษณะ chelicerae ขยายตรงไปทางด้านหน้า เขี้ยวเคลื่อนไหวชี้ไปยังส่วนท้อง Posterior lateral eyes (PLE): ตาที่อยู่ปลายสุดแต่ละข้างของตาแถวหลัง Posterior median eyes (PME: ตาคู่กลางของตาแถวหลัง Posterior spinnerets: อวัยวะปั่นใยคู่หลัง Procurved: โครงสร้างแถวที่โค้งขึ้นทางด้านหน้าของส่วนกลาง Prograde: แมงมุมที่เคลื่อนไหวไปด้านหน้าและหลัง โดยขาสองคู่หน้าชี้ไปข้างหน้า ขาสองคู่หลังชี้ไป ด้านหลัง Recurved: โครงสร้างแถวที่โครงเว้าลงอยู่ด้านหลังของส่วนกลาง
12 Scopula: กลุ่มขนหนาแน่นที่อยู่บนขอบหน้าของ chelicerae หรือปลายของ endite หรือ ด้านล่างของขา ปล้องปลายสุด Serrate bristle: ประเภทของขนที่โค้งเล็กน้อยทอดยาวบนข้างใดข้างหนึ่ง Stridulating organ: ร่องเล็กหลายร่องเรียงกันบนแผ่นแข็ง เป็นอวัยวะที่ใช้ในการท้าเสียง Trichobothria (p=trichobothrium): โครงสร้างคล้ายขนตั้งอยู่ในแอ่งหรือหลุมบนขาหรือpalp สามารถ เคลื่อนไหวได้
ตัวเต็มวัยของแมงมุมโดยทั่วไปมีความยาวของล้าตัวขนาด 2-10 มิลลิเมตรแต่บางชนิดอาจมีขนาด ใหญ่กว่านั้นจนถึงประมาณ 8-9 เซนติเมตรจ้านวนตาของแมงมุมจะแตกต่างกันออกไปโดยมีเป็นคู่ๆ 2-8 ตา แล้วแต่ชนิดแต่โดยส่วนใหญ่จะมี 8 ตาหากอาศัยอยู่ในถ้้าตาของแมงมุมชนิดนั้นอาจจะไม่ท้างานและ วิวัฒนาการจนหายไปในที่สุดขนาดของตาและการจัดเรียงตัวของตาแต่ละต้าแหน่งก็แตกต่างกันระหว่างวงศ์ จนเป็นที่น่าสนใจของการวิวัฒนาการของมันแม้ว่าจ้านวนขาของแมงมุมจะมี 8 ขาเหมือนกันทุกตัวลักษณะ และจ้านวนของหนามกรงเล็บและอวัยวะรับสัมผัสบนขาอาจมีความแตกต่างกันระหว่างวงศ์หรือระหว่างชนิด นอกเหนือจากขาทั้งแปดแล้ว แมงมุมจะมีรยางค์ปากส่วนหน้าอีกเรียกว่า pedipalp ซึ่งมีส่วนช่วยในการจับ และจัดเหยื่อระหว่างการกินควบคู่กับ chelicerae แมงมุมที่สร้างพิษจะปล่อยพิษจากต่อมพิษสู่ตัวของเหยื่อ พร้อมไปด้วยกับน้้าย่อยผ่านทางเขี้ยว (fang) ที่อยู่ที่ปลาย Pedipalp จะมีลักษณะคล้ายขาแต่จ้านวนปล้องจะน้อยกว่าแต่ในตัวผู้ที่เต็มวัยปล้องส่วนปลายของ pedipalp จะพัฒนาบวมโตขึ้นเหมือนนวมในนักมวยเพื่อใช้เป็นที่เก็บและช่วยในการถ่ายสเปิร์มไปยังอวัยวะ สืบพันธุ์ของตัวเมียในระหว่างการผสมพันธุ์ดังนั้นแมงมุมจะมีวิวัฒนาการของลักษณะองค์ประกอบของอวัยวะ สืบพันธุ์ของทั้งสองเพศนี้ใน ของ chelicerae ขณะกัดเหยื่ออยู่เพื่อสลบเหยื่อและย่อยเนื้อเยื่อของเหยื่อก่อนที่ จะดูดอาหารที่ย่อยแล้วเข้าไปทางปากต่อไป เหมาะสมราวกับกุญแจกับลูกกุญแจเฉพาะเจาะจงของแต่ละชนิด นอกจากนี้ pedipalp ของตัวผู้บางชนิดมีสีสันและขนาดที่เด่นแตะตาและสามารถเคาะจังหวะหรือยกร่ายร้าใน การเกี้ยวพาราสีตัวเมียด้วย แม้ว่าแมงมุมทุกตัวจะสามารถสร้างเส้นใยได้แต่ลักษณะการใช้เส้นใยจะแตกต่างกันขึ้นกับลักษณะการ ด้ารงชีวิตของมันแมงมุมส่วนใหญ่จะสร้างใยขึ้นมาเป็นตาข่ายเพื่อดักจับอาหารลักษณะความเหนียวขนาด โครงสร้างและมุมของใยแต่ละชนิดจะมีลักษณะแตกต่างกันเพื่อความเหมาะสมในการจับเหยื่อที่ต่างกันและ การสั่นสะเทือนของใยที่ท้าขึ้นนอกจากใช้เป็นตัวบอกว่าเหยื่อมาติดกับดักหรือมาใกล้ที่ซ่อนตัวของมันเพื่อจะได้ พร้อมที่จะออกไปจัดการกับเหยื่อแล้วจังหวะการสั่นสะเทือนบนเส้นใยที่เฉพาะเจาะจงสามารถใช้เป็นสื่อในการ แสดงหรือตอบรับในการเกี้ยวพาราสีได้ด้วยนอกจากนั้นมันยังใช้ใยในการสร้างที่พักอาศัยหลบตัวห่อหุ้มไข่เป็น ถุง (egg sac) เพื่อป้องกันไข่ที่วางออกนอกร่างกายในช่วงพัฒนาการของตัวอ่อนจากภาวะที่ไม่เหมาะสมหรือใช้ เป็ น เส้ น ใยที่ช่ว ยประกั นความปลอดภัย ในการเคลื่ อนที่จากที่ห นึ่งไปที่หนึ่งระหว่างพื้นผิ ว รวมทั้งช่วยเป็น บอลลูนในการลอยตัวกลางอากาศในการย้ายถิ่นในบางชนิดและอื่นๆอีกมากมายส้าหรับแมงมุมที่อาศัยและจับ
13 เหยื่อในน้้าจะใช้ใยรวมทั้งขนบริเวณข้างล้าตัวเป็นส่วนช่วยในการเก็บฟองอากาศบนผิวน้้าลงสู่ใต้ น้าเพื่อให้ อากาศซึมผ่านทางผิวหนังในการหายใจ อวัยวะที่ช่วยในการแลกเปลี่ยนก๊าซระหว่างเลือดกั บบรรยากาศภายนอกในแมงมุมเรียกว่า book lung ซึ่งจะตั้งอยู่ในต้าแหน่งด้านล่างของท้องค่อนไปด้านหน้าประกอบด้วยเนื้อเยื่อบางๆพับซ้อนกันหลายๆชั้น เพื่อ เพิ่ม เนื้ อ ที่ ในการแลกเปลี่ ย นก๊าซ นอกจากนั้น ก็มี ท่อลมแตกแขนงเข้าไป เพิ่มประสิ ทธิภ าพในการ แลกเปลี่ยนอากาศภายในร่างกายอีก 1 คู่ด้วยถัดจาก book lung ในเพศเมียจะมีแผ่นแข็งอยู่เหนือรูเปิดของ อวัยวะสืบพันธุ์เรียกว่า epigynum ซึ่งแต่ละชนิด จะมีขนาดรูปร่างลักษณะ และองค์ประกอบที่วิวัฒนาการไป ควบคู่กับ pedipalp ของแมงมุมตัวผู้แตกต่างกัน พฤติกรรมการหาเหยื่ออาจแบ่งคร่าวๆ ได้ 2 พวกใหญ่ๆ คือพวกที่สร้างใย (web building spiders) และพวกที่ไม่สร้างใย (wandering spiders) ในการจับเหยื่อคงเป็นที่น่าสนใจกันนะว่าพฤติกรรมการเลือกที่อยู่ อาศัยและสรีรวิทยาของ 2 พวกนี้จะมี ความแตกต่างกันอย่างไรบ้าง น้องศึกษาแผนภาพประกอบส้าหรับ ต้าแหน่งและชื่อของอวัยวะขณะท้าการศึกษาถ้าน้องๆ คนใดมีความสนใจก็อาจจะลองจ้าแนกกลุ่มย่อยของแต่ ละพวกลงไปอีก (พัชนี วิชิตพันธุ์) แมงมุมทุกชนิดมีสัญชาตญาณของนักล่า มีบทบาทเป็นผู้ล่าในระบบนิเวศ เหยื่อส่วนใหญ่ที่เป็นอาหาร ของแมงมุมคือแมลง และสัตว์ขาปล้องอื่น ๆ แต่ก็พบบ้างที่เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม นก และสัตว์ส ะเทินน้้า สะเทินบก เนื่องจากแมงมุมสามารถฆ่าเหยื่อขนาดใหญ่อย่างสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมได้นี่เอง เป็นสาเหตุที่ท้าให้ มนุษย์กลัวแมงมุม ด้วยพิษที่รุนแรง อีกทั้งหน้าตา รูปร่างมีขนปกคลุม จึงไม่ค่อยมีใครอยากให้มันไต่หรือเดิน บนตัวของเรา อย่างไรก็ตามภาพอันน่ากลัว พิษรุนแรงของแมงมุมไม่กี่ชนิดที่พบในโลกก็ส่งผลให้คนเรามอง แมงมุมทั้งหมดเป็นผู้ร้ายตามไปด้วย แมงมุมบางกลุ่มไม่มีต่อมพิษ หรือมีพิษน้อยมากเพียงแค่ท้าให้เหยื่อจ้าพวก แมลงหวี่ตายเท่านั้น ก็ถูกเหมารวม กลายเป็นผู้ร้ายไปด้วย ดังนั้นในการศึกษาแมงมุมให้สนุก จึงควรวางใจได้ แล้วว่าแมงมุมไม่น่ากลัวอย่างที่คิด หากเรารู้จักระวังและสัมผัสแมงมุมด้วยความเข้าใจทั้งพฤติกรรม ความ ก้าวร้าว ประเภทของพิษ และการปฐมพยาบาลเบื้องต้นหากถูกกัด 2.3 แมงมุมพิษที่พบในประเทศไทย ปัจจุบันแมงมุมกระจายไปทั่วโลกได้อย่างง่ายดาย เนื่องจากการค้าขาย ติดต่อเดินทางไป-มาของคน ทั่วโลกง่ายขึ้น แมงมุมจึงมีโอกาสกระจายไปกับมนุษย์เช่นกัน ทั่วโลกมีแมงมุมที่ตั้งชื่อแล้วประมาณ 45,000 ชนิด แต่มีรายงานว่ากัดคนเพียง 180 ชนิด และมีเพียง 2-3 ชนิดเท่านั้นที่พิษท้าอันตรายกับคนถึงขั้นเสียชีวิต ส่วนในประเทศไทยมีรายงานแมงมุมกัดคนแล้ว 8 ชนิด และยังมีแมงมุมพิษอื่น ๆ อีก รวม 17 ชนิด ซึ่งการจัด กลุ่มแมงมุมพิษแบ่งตามความรุนแรงของพิษ และประเภทของพิษที่มีผลต่อระบบร่างกาย หากจัดแบ่งตามพิษ ที่ส่งผลต่อระบบร่างกาย ได้แก่ กลุ่มพิษท้าลายระบบประสาท ได้แก่ แมงมุมสกุลแม่ม่าย (Latrodectus) เช่น แม่ม่ายด้า (L. mactans) แม่ม่ายน้้าตาล (L. geometricus) แม่ม่ายใหญ่ (L. elegans) แมงมุมสกุล Cheiracanthiumแมงมุมใยทอง (Nephila) แมงนุ่งซิ่น( Argiope) และ Parawixia บึ้ง (Theraphosid
14 spider) พบหลายสกุลในเมืองไทย เช่น Haplopelma, Selenocosmia, Phlogiellus, Ornithoctonus เป็น ต้น ส่วนแมงมุมอื่น ๆ เช่น แมงมุมหมาป่า (Lycosid spider) แมงมุมพเนจร (Heteropoda) แมงมุมใยท่อ (Agelenid spider) นอกจากนี้พวกที่ท้าลายระบบประสาทที่พบในต่างประเทศ เช่น แมงมุม Sydney funnel-web spider ( Atraxrobustus) พบในออสเตรเลีย แมงมุม Phoneutrianigriventer พบในประเทศ บราซิล ส้าหรับกลุ่มที่พิษท้าลายระบบเลือด เช่น แมงมุมสีน้าตาล Brown Recluse ( Loxosceles recluse ) และยังมีแมงมุมอื่น ๆ ที่มีพิษท้าลายระบบเลือดด้วย คือ แมงมุมหมาป่า แมงมุมใยทอง แมงมุมใยกลม ด้วย การจัดกลุ่มแมงมุมพิษตามระดับความรุนแรงของพิษ เพื่อให้เกิดความรู้และความสบายใจในการศึกษาแมงมุม พวกเราได้จัดแมงมุมตามความรุนแรงของพิษ เป็นการเตือนใจว่าหากเจอแมงมุมกลุ่มนี้อย่าได้สัมผัสโดยตรงและศึกษาด้วยความระมัดระวัง รวมทั้งช่วยกัน สอดส่องดูแล พบเห็นการแพร่กระจาย ให้แจ้งผู้เชี่ยวชาญและช่วยกันก้าจัด และมาส่งเสริมให้มีการเลี้ยงเพื่อ ความสนุก เพราะแมงมุมกลุ่มนี้มีความทนทานและกระจายพันธุ์ได้เร็วมาก จัดกลุ่มแมงมุมพิษในประเทศไทย แบ่งออกเป็นสามระดับดังตารางที่ 2.2 (ประสิทธิ์ วงษ์พรม) ตารางที่ 2.2 การจัดกลุ่มความรุนแรงของพิษแมงมุม ความรุนแรงของพิษ
ตัวอย่างแมงมุม
พิษรุนแรง อันตรายถึงชีวิต
แมงมุมแม่ม่ายด้า(Latrodectusmactans) แมงมุมแม่ม่ายน้้าตาล( Latrodectusgeometricus) แมงมุมน้้าตาล (Loxosceles recluse) แมงมุม
พิษสร้างความเจ็บปวด
บึ้งวงศ์ Theraphosidae สกุล Haplopelma, Selenocosmia ,Phlogiellus ,Ornithoctonus แมงมุมถุงสกุล Chieracanthium แมงมุมหมาป่า (Pardosa)
พิษอ่อนไม่สร้างความเจ็บปวด แมงมุมสวนท้องสามเหลี่ยม (Parawixiadehaani) แมงนุ่งซิ่น (Argiope) แมง มุมพเนจร (Heteropoda) แมงมุมใยทอง (Nephila)
2.4 การปฐมพยาบาลเมื่อถูกแมงมุมกัด พิษของแมงมุมประกอบด้วยโปรตีนซับซ้อนและสารที่ไม่ใช่โปรตีน เมื่อถูกกัดจะไม่ปวดทันที แต่จะเริ่ม ปวดหลังจากนั้น 3-5 นาที และจะปวดรุนแรงขึ้นในช่วง 15-3 นาที ขึ้นกับชนิดของแมงมุม บางชนิดปวดนาน ถึง 24 ชั่วโมง รอยแผลถูกกัดจะบวมแดงเป็นจ้้าช้้าเล็ก ๆ ในกลุ่มแม่ม่ายเมื่อถูกกัดรอบรอยกัดจะมีอุณหภูมิ สูงขึ้นเล็กน้อย เกิดอาการชา เกร็ง คล้ายเป็นอัมพาต หายใจติดขัด เมื่อรู้ตัวว่าถูกกัดในช่วงแรก หมอจะรักษา ตามอาการ คือ กินยาแก้ปวด ยาต้านฮีสตามีน หากอาการปวดทุเลา อาจจะกินยาที่ต้านเชื้อลดการอักสบของ แผล ส้าหรับประสบการณ์พบว่าเมื่อถูกแมงมุมถุงกัดจะปวดนานราว 30-40 นาที มีอาการปวดร่วมกับอาการ
15 ชาจากรอยแผลและแผ่ขยายกว้างออกไป หากไม่แพ้พิษจะหายเอง แต่หากมียาระงับอาการปวดได้ละลดความ ทรมานลงได้ ส่วนแมงมุมจ้าพวกบึ้ง หากกัดไม่ลึกหรือไม่หนักจะปวดนาน 30 นาที อาจมีอาการง่วงร่วมด้วย ในกรณีที่ถูกกัดลึกและรุนแรง จะปวดมากและอาจเสี่ยงต่อการติดเชื้อ ควรป้องกันการติดเชื้อและอักเสบ ป้องกันการลุกลามของแผล แมงมุมกลุ่มพิษอ่อนนั้นอาการปวดมีเพียงเล็กน้อย ส่วนมากจะหายปวดภายใน 10-15 นาที อย่างไรก็ตามเมื่อทราบว่าถูกแมงมุมกัดและพบตัว ควรจะเก็บตัวอย่ างแมงมุมที่กัดไว้ด้วย เพื่อ ประกอบการวินิจฉัย เป็นประโยชน์ต่อการรักษาด้วย หากไม่ทราบหรือจับไม่ได้ ควรรีบปรึกษาแพทย์ทันที ตามปกติแมงมุมจะไม่จู่โจมเข้ามาท้าร้ายคน แต่มักจะหลบหนีไปยกเว้นกรณีที่คนเข้ารบกวนแบบจวน ตัว ซึ่งจะป้องกันตัวตามสัญชาตญาณ ดังนั้นไม่ควรเป็นกังวลกับการศึกษาแมงมุม ในธรรมชาติ อย่างไรก็ตาม ควรหลี กเลี่ย งการสัมผัส แมงมุมโดยตรง แม้แมงมุมจะมีพิษแต่ในประเทศไทยยังไม่พบแมงมุมที่กัดคนเป็น อันตรายถึงชีวิต
16 บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีการศึกษา 3.1 อุปกรณ์ สารเคมีและเครื่องมือ
(ก)
(ข)
(ค)
(ง)
(ค)
(จ)
(จ)
(ง)
(ฉ)
(ฉ)
ภาพที่ 3.1 อุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ในการส้ารวจ (ก) กล้องถ่ายรูป (ข) เข็มทิศ, (ค) ไม้บรรทัด, (ง) เทปวัด , (จ) แว่นขยาย, (ฉ) เอทานทล 70%
17
(ช)
(ค)
(ฌ)
(ฎ)
(ฐ)
(ซ)
(ง)
(ญ)
(ฏ)
(ฑ)
ภาพที่ 3.1 (ต่อ) (ช) เข็มเขี่ย (ซ) ปากคีบ, (ฌ) จานเพาะเชื้อ, (ญ) กล้องจุลทรรศน์แบบ 3 มิต,ิ (ฎ) ขวดและกล่องพลาสติกมีฝาปิด (ฏ) ขวด vial 5 cc พร้อมจุกและฝาปิด (ฐ) silica sand (ฑ) พู่กัน
18 3.2 วิธีการศึกษา 1. ส้ารวจภาคสนามโดยการสุ่มส้ารวจบริเวณใต้โต๊ะ เก้าอี้ ที่คาดว่าจะมีแมงมุมชนิดนี้อาศัยอยู่ พร้อม บันทึกลักษณะการชักใย พฤติกรรม ถุงไข่ และอาหารที่ติดในเส้นใย 2. เก็บตัวอย่างแมงมุมด้วยขวดพลาสติกใสที่มีฝาปิด 3. เก็บรักษาตัวอย่างแมงมุมบางส่วนโดยวิธีการดอง และเลี้ยงบางส่วนไว้ในกล่องเลี้ยง 4. ศึกษาและจดบันทึกลักษณะ รูปร่างและโครงสร้างภายนอกของแมงมุมโดยส่องภายใต้กล้อง จุลทรรศน์ 3 มิติและถ่ายรูปส่วนประกอบต่างๆ ของแมงมุมด้วยกล้องถ่ายรูป พร้อมวาดภาพ 5. วัดขนาด ความยาวของส่วนประกอบต่างๆ ของแมงมุมที่เก็บรักษาด้วยการดองด้วยไม้บรรทัด 6. จ้าแนกแมงมุมโดยใช้รูปวิธาน (key) ในการจ้าแนกในระดับวงศ์และสกุลตามล้าดับ 7. น้าข้อมูลที่บันทึกได้ให้ผู้เชี่ยวชาญด้านแมงมุมช่วยตรวจสอบความถูกต้อง
ภาพที่ 3.2 แผนที่ดาวเทียมแสดงต้าแหน่งพื้นที่ส้ารวจแมงมุมในโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา จาก Google Earth
19
ภาพที่ 3.3 โรงอาหารที่ส้ารวจแมงมุมแม่หม้ายน้้าตาลในโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา
ภาพที่ 3.4 ลักษณะพื้นที่ที่ท้าการส้ารวจแมงมุมแม่หม้ายน้้าตาลในโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา (ส้ารวจใต้โต๊ะและเก้าอี้)
20 บทที่ 4 ผลการศึกษา 4.1 ผลการศึกษา การศึ ก ษานี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ ลั ก ษณะโครงสร้ า งทางสั ณ ฐานวิ ท ยาของแมงมุ ม แม่หม้ายน้้าตาล (Latrodectus geometricus) เพื่อเป็นแนวทางในการจ้าแนกชนิด และศึกษาชีววิทยา บางประการของเเมงมุ ม ชนิ ด นี้ โดยสุ่ มเก็ บ ตัว อย่ า งแมงมุม แม่ ห ม้า ยน้้ าตาลจากแหล่ ง อาศั ยในโรงเรี ย น ศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา จังหวัดร้อยเอ็ด เป็นเวลา 4 สัปดาห์ แล้วน้ามาศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์แบบ 3 มิติ จากการส้ารวจพบแมงมุมแม่หม้ายน้้าตาล จ้านวน 12 ตัว เป็นเพศเมีย 11 ตัว และเพศผู้ 1 ตัว ซึ่ง มีลักษณะทางสัณฐานวิทยา ดังนี้ เพศเมียมีขนาดใหญ่กว่าเพศผู้ประมาณ 10 เท่า ดังภาพที่ 4.1ก และ 4.1 ข
(ก) (ข) ภาพที่ 4.1 แมงมุมแม่หม้ายน้้าตาล (ก) เพศเมีย (ข) เพศผู้ มีความยาวจากปลายขาคู่ที่ 1- 4 ยาว 37.4 mm. ส่วนหัวและอก (cephalothorax) ยาว 3.1 mm. ส่วนท้อง (abdomen) ยาว 5.3 mm. เขี้ยว (fang) วางตัวในแนวขยับเข้าหากันในแนวระนาบ (diaxial) ดังภาพที่ 4.2
ภาพที่ 4.2 ลักษณะเขี้ยวของแมงมุมแม่หม้ายน้้าตาล (เพศเมีย)
21 palp ยาว 2.9 mm. ปลาย palp มีสีเข้ม ดังภาพที่ 4.3
(ก) (ข) ภาพที่ 4.3 ลักษณะ palp ของแมงมุมแม่หม้ายน้้าตาล (ก) เพศเมีย (ข) เพศผู้ ขามี 4 คู่ คู่ที่ยาวที่สุด คือ คู่ที่ 1 รองลงมา คือ ขาคู่ที่ 4 และคู่ที่ 2 ตามล้าดับ เเละสั้นที่สุด คือ คู่ที่ 3 ขามี 7 ปล้อง ดังภาพที่ 4.4
ภาพที่ 4.4 ลักษณะขาของแมงมุมแม่หม้ายน้้าตาล (เพศเมีย) ด้านล่างของ tarsi ขาคู่ที่ 4 มีการเรียงตัวของเส้นขนเป็นแนวคล้ายหวี แต่ละซี่มีรอยหยัก (serrated bristle) ดังภาพที่ 4.5
ภาพที่ 4.5 ลักษณะ serrated bristle ของขาของแมงมุมแม่หม้ายน้้าตาล ด้านล่างของ tarsi ขาคู่ที่ 4
22
ข้อต่อมีสีเข้ม ขาคู่ที่ 1 และ 2 เหยียดไปด้านหน้า ขาคู่ที่ 3 และ 4 เหยียดไปด้านหลัง ดังภาพที่ 4.6
Leg II
Leg I
Leg III
Leg IV
(ก)
(ข)
ภาพที่ 4.6 ลักษณะการเหยียดขาของแมงมุมแม่หม้ายน้้าตาล (ก) เพศเมีย (ข) เพศผู้ ปลายขาทั้ง 4 คู่มีเล็บ (claw) ข้างละ 3 เล็บ โดย 2 อันเป็นคู่ด้านบน และอีก 1 อันไม่มีคู่มีขนาดเล็ก อยู่ตรงกลางด้านล่าง ดังภาพที่ 4.7
เล็บ (claw)
ภาพที่ 4.7 ลักษณะเล็บ (claw) ของแมงมุมแม่หม้ายน้้าตาล (เพศเมีย) ตามี 4 คู่ มีขนาดเท่ากันจัดเรียง 2 แถว แถวละ 2 คู่ การจัดเรียงของตาเป็นแบบ recurred row ดัง ภาพที่ 4.8
ภาพที่ 4.8 ลักษณะตาและการจัดเรียงของตาแมงมุมแม่หม้ายน้้าตาล (เพศเมีย)
23 อวัยวะชักใย (spinnerets) อยู่ใต้ส่วนท้องมี 4 spinnerets ดังภาพที่ 4.9
ภาพที่ 4.9 ลักษณะอวัยวะชักใย (spinnerets) ของแมงมุมแม่หม้ายน้้าตาล (เพศเมีย)
อวัยวะหายใจหรือปอดแผง (book lung) มี 1 คู่ อยู่ด้านล่างของส่วนท้อง มีลักษณะดังภาพที่ 4.10
ภาพที่ 4.10 ลักษณะอวัยวะหายใจหรือปอดแผง (book lung) ของแมงมุมแม่หม้ายน้้าตาล (เพศเมีย)
24 ภายในอวัยวะสืบพันธุ์เพศเมีย มี genitalia 1 คู่ รูปคล้ายดัมเบลล์ (dumb-bell shape) ลักษณะดัง ภาพที่ 4.11
ภาพที่ 4.11 ลักษณะภายในอวัยวะสืบพันธุ์ของแมงมุมแม่หม้ายน้้าตาล เพศเมียมี genitalia 1 คู่ ส่ว นท้อง (abdomen) คล้ ายรู ปไข่ มีลั กษณะเด่น คือ ใต้ท้องเป็นรูปนาฬิกาทรายสี เหลื องส้ ม (hourglass mark) มีลักษณะดังภาพที่ 4.12
(ก) (ข) ภาพที่ 4.12 ลักษณะเด่นใต้ท้องเป็นรูปนาฬิกาทรายสีเหลืองส้ม (hourglass mark) ของแมงมุมแม่ หม้ายน้้าตาล (ก) เพศเมีย (ข) เพศผู้
25 มีลายจุดภายในมีสีน้าตาล เหลือง ส้ม ถูกล้อมด้วยสีน้าตาลด้า มี 3 แถวๆ ละ 4 จุด ซึ่งแต่ละตัวมี ลักษณะแตกต่างกันไปตามวัยและถิ่นที่อยู่อาศัย ดังภาพที่ 4.13
ภาพที่ 4.13 ลักษณะลวดลายบนส่วนท้องของแมงมุมแม่หม้ายน้้าตาล (เพศเมีย) ลักษณะถุงไข่ (egg sac) รูปทรงกลมสีครีมถึงขาวเหลืองอ่อน ผิวถุงไข่มีลักษณะเป็นหนามคล้ายทุ่น ระเบิด ดังภาพที่ 4.14
ภาพที่ 4.14 ลักษณะถุงไข่ (egg sac) ของแมงมุมแม่หม้ายน้้าตาล นอกจากนั้นยังมีการลอกคราบเป็นระยะ ดังภาพที่ 4.15
ภาพที่ 4.15 ลักษณะลอกคราบของแมงมุมแม่หม้ายน้้าตาล (เพศเมีย)
26
ภาพที่ 4.16 ลักษณะวัยอ่อนของแมงมุมแม่หม้ายน้้าตาล (อายุ 1-2 วัน)
ภาพที่ 4.17 วัยอ่อนของแมงมุมแม่หม้ายน้้าตาล (อายุ 1-2 วัน) ก้าลังกินกันเอง จากการจ้าแนกโดยใช้รูปวิธาน พบว่า แมงมุมแม่หม้ายน้้าตาลชนิดนี้อยู่ในวงศ์ Theridiidae สกุล Latrodectus ส่วนใหญ่พบบริเวณใต้มุมโต๊ะและเก้าอี้ต่างๆ ที่บริเวณนั้นไม่ชื้นเกินไป มีนิสัยไม่ก้าวร้าว จะอยู่ นิ่งๆ ภายในรัง เมื่อถูกรบกวนจะหลบเข้ามุมโต๊ะหรือมุมเก้าอี้ทันที นอกจากนั้นมี การลอกคราบเป็นระยะ อาหารของ แมงมุมชนิดนี้ ได้แก่ แมลงขนาดเล็ก เช่น จิ้งหรีด ยุง แมลงค่อมทอง แมงมุมใยยุ่ง และแมงมุมแม่ หม้ายตัวผู้ (หลังจากผสมพันธุ์) ประโยชน์ ช่วยควบคุมจ้านวนประชากรแมลงในระบบนิเวศ
27 บทที่ 5 สรุปผลและอภิปรายผล 5.1 สรุปผลการศึกษา จากการส้ารวจพบแมงมุมแม่หม้ายน้้าตาล จ้านวน 12 ตัว เป็นเพศเมีย 11 ตัว และเพศผู้ 1 ตัว ซึ่ง มีลักษณะทางสัณฐานวิทยาโดยสังเขป คือ มีความยาวจากปลายขาคู่ที่ 1- 4 ยาว 37.4 mm. ส่วนหัวและอก (cephalothorax) ยาว 3.1 mm. ส่วนท้อง (abdomen) ยาว 5.3 mm. เขี้ยว (fang) วางตัวในแนวขยับเข้า หากันในแนวระนาบ (diaxial) palp ยาว 2.9 mm. ปลาย palp มีสีเข้ม ขามี 4 คู่ คู่ที่ยาวที่สุด คือ คู่ที่ 1 รองลงมา คือ ขาคู่ที่ 4 และคู่ที่ 2 ตามล้าดับ เเละสั้นที่สุด คือ คู่ที่ 3 ขามี 7 ปล้อง ด้านล่างของ tarsi ขาคู่ที่ 4 มีการเรียงตัวของเส้นขนเป็นแนวคล้ายหวี แต่ละซี่มีรอยหยัก (serrated bristle) ข้อต่อมีสีเข้ม ขาคู่ที่ 1 และ 2 เหยียดไปด้านหน้า ขาคู่ที่ 3 และ 4 เหยียดไปด้านหลัง ปลายขาทั้ง 4 คู่มีเล็บ (claw) ข้างละ 3 เล็บ โดย 2 อันเป็นคู่ด้านบน และอีก 1 อันไม่มีคู่มีขนาดเล็กอยู่ตรงกลางด้านล่าง ตามี 4 คู่ มีขนาดเท่ากันจัดเรียง 2 แถว แถวละ 2 คู่ การจัดเรียงของตาเป็นแบบ recurred row อวัยวะชักใย (spinnerets) มี 4 spinnerets อวัยวะ หายใจหรือปอดแผง (book lung) มี 1 คู่ อยู่ด้านล่างของส่วนท้อง อวัยวะสืบพันธุ์เพศเมีย (genitalia) มี 1 คู่ รูปคล้ายดัมเบลล์ (dumb-bell shape) ส่วนท้อง (abdomen) คล้ายรูปไข่ มีลักษณะเด่น คือ ใต้ท้องเป็นรูป นาฬิกาทรายสีเหลืองส้ม (hourglass mark) มีลายจุดภายในมีสีน้าตาล เหลือง ส้ม ถูกล้อมด้วยสีน้าตาลด้า มี 3 แถวๆ ละ 4 จุด ซึ่งแต่ละตัวมีลักษณะแตกต่างกันไปตามวัยและถิ่นที่อยู่อาศัย ลักษณะถุงไข่ (egg sac) รูปทรงกลมสีครีมถึงขาวเหลืองอ่อน ผิวถุงไข่มีลักษณะเป็นหนามคล้ายทุ่นระเบิด และการจ้าแนกพบว่า แมง มุมแม่หม้ายน้้าตาลชนิดนี้อยู่ในวงศ์ Theridiidae สกุล Latrodectus ส่วนใหญ่พบบริเวณใต้มุมโต๊ะและเก้าอี้ ต่างๆ ที่บริเวณนั้นไม่ชื้นเกินไป มีนิสัยไม่ก้าวร้าว จะอยู่นิ่งๆ ภายในรัง เมื่อถูกรบกวนจะหลบเข้ามุมโต๊ะหรือมุม เก้าอี้ทันที นอกจากนั้นมีการลอกคราบเป็นระยะ อาหารของ แมงมุมชนิดนี้ ได้แก่ แมลงขนาดเล็ก เช่น จิ้งหรีด ยุง แมลงค่อมทอง แมงมุมใยยุ่ง และแมงมุมแม่หม้ายตัวผู้ (หลังจากผสมพันธุ์) ประโยชน์ ช่วยควบคุม จ้านวนประชากรแมลงในระบบนิเวศ 5.2 อภิปรายผล จากการส้ ารวจ พบแมงมุม แม่ ห ม้ ายน้้าตาลเฉพาะใต้ โ ต๊ ะและใต้เ ก้า อี้ใ นโรงอาหารของโรงเรีย น ศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยาเพียงที่เดียว ทั้งนี้อาจเป็นเพราะเป็นบริเวณที่เหมาะสมกับการอยู่อาศัยและหา อาหารของแมงมุมชนิดนี้ แม้จะมีครูและนักเรียนจ้านวนนับพันคนไปใช้โรงอาหารเกือบทุกวัน แต่ก็ไม่มี ใคร ได้รับอันตรายจากแมงมุมแม่หม้ายน้้าตาลกัดหรือท้าอันตราย แสดงว่า แมงมุมแม่หม้ายน้้าตาลไม่ได้ดุร้าย ตามที่เป็นข่าวในสื่อต่างๆ ดังนั้น ไม่ควรตระหนก ตกใจให้มากและไม่ไปรังแกแมงมุม หรือท้าความสะอาด อาคารที่ท้างาน ที่พักอยู่เสมอ คงไม่ได้รับอันตรายจากแมงมุมชนิดนี้อย่างแน่นอน
28 5.3 ข้อเสนอแนะ 5.3.1 ควรมีการส้ารวจแมงมุมในสถานที่อื่นๆ ด้วย จะได้ทราบถึงความแตกต่างของจ้านวนและชนิดแมง มุมแม่หม้ายน้้าตาลในแต่ละระบบนิเวศ 5.3.2 ควรมีการศึกษาโดยมีการเก็บตัวอย่างแมงมุมทุกๆ ระยะด้วย จะท้าให้ศึกษารายละเอียดทาง สัณฐานวิทยาและจ้าแนกทางอนุกรมวิธานได้ 5.4 ประโยชน์ที่ได้รับ 5.4.1 ได้ทราบลักษณะ รูปร่าง และโครงสร้างทางสัณฐานวิทยาของแมงมุมแม่หม้ายน้้าตาล (Latrodectus geometricus) ในโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา 5.4.2 ได้แนวทางในการจ้าแนกแมงมุมแม่หม้ายน้้าตาลในโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา 5.4.3 ได้ทราบถึงถิ่นอาศัย พฤติกรรม อาหารและประโยชน์ของแมงมุมแม่หม้ายน้้าตาล 5.4.4 รู้จักวิธีในการป้องกันอันตรายจากแมงมุมแม่หม้ายน้้าตาล
29 เอกสารอ้างอิง นรินทร์ ชมพูพวง. 2554. ความหลากหลายทางชนิดของแมงมุมในพื้นที่ป่าทุติยภูมิและพื้นที่เกษตรที่ ตาบลไหล่น่าน อาเภอเวียงสา จังหวัดน่าน. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. บัณฑิตวิทยาลัย. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ. Crista L. Deeleman-Reinhold. 2001. Forest Spiders of South East Asia. Brill Leiden Boston Kolin .
ภาคผนวก - ภาพประกอบโครงงาน
31
ภาพที่ 6.1 ส้ารวจแมงมุมแม่หม้ายน้้าตาลบริเวณต่างๆ ในโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา
ภาพที่ 6.2 ส้ารวจและเก็บตัวอย่างแมงมุมแม่หม้ายน้้าตาลในโรงอาหารโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา
32
ภาพที่ 6.3 เก็บรักษาตัวอย่างแมงมุมแม่หม้ายน้้าตาลด้วยการดองในเอทานอล 70%
ภาพที่ 6.4 เลี้ยงตัวอย่างแมงมุมแม่หม้ายน้้าตาลในกล่องใสและกล่องที่มีฝาปิดสนิทมีรูเจาะด้านบน
33
ภาพที่ 6.5 ส่องดูลักษณะต่างๆ ของแมงมุมแม่หม้ายน้้าตาลด้วยกล้องจุลทรรศน์แบบ 3 มิติ (ก้าลังขยาย 20 เท่า และ 40 เท่า)
ภาพที่ 6.6 วาดรูปและบันทึกข้อมูลลักษณะต่างๆ ของแมงมุมแม่หม้ายน้้าตาลจากกล้องจุลทรรศน์แบบ 3 มิติ
34
ภาพที่ 6.7 วัดส่วนต่างๆ ของแมงมุมแม่หม้ายน้้าตาลด้วยไม้บรรทัด
ภาพที่ 6.8 ภาพวาดส่วนต่างๆ ของแมงมุมแม่หม้ายน้้าตาล