ฮาร์ดแวร์

Page 1

1

ฮาร์ ดแวร์ (hardware) ฮาร์ดแวร์ (hardware) หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็ นเครื่ องคอมพิวเตอร์ มีลกั ษณะเป็ น โครงร่ างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้ (รู ปธรรม) เช่น จอภาพ คียบ์ อร์ ด เครื่ องพิมพ์ เมาส์ เป็ นต้น ซึ่ง สามารถแบ่งออกเป็ นส่วนต่างๆ ตามลักษณะการทำางาน ได้ 4 หน่วย คือ หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) หน่วยแสดงผล (Output Unit) หน่วยเก็บข้อมูลสำารอง (Secondary Storage) โดยอุปกรณ์แต่ละหน่วยมีหน้าที่การทำางานแตกต่างกัน 1. ฮาร์ดแวร์สำาคัญที่พบใน Case ได้แก่ 1.1 Power Supply 1.2 Mainboard และ ฮาร์ดแวร์ที่ติดตั้งหรือเป็นส่วนหนึ่งของ Mainboard ที่สำาคัญ ได้แก่ 1.2.1 CPU 1.2.2 RAM 1.2.3 Expansion Slots 1.2.4 Ports 1.3 Hard Disk 1.4 Floppy Disk Drive 1.5 CD-ROM Drive 1.6 DVD-ROM Drive 1.7 Sound Card 1.8 Network Card 2. ฮาร์ดแวร์สำาคัญที่อยู่นอก Case ที่สำาคัญได้แก่ 2.1 Keyboard 2.2 Monitor 2.3 Mouse 2.4 Printer 2.5 Scanner 2.6 Digital Camera 2.7 Modem 2.8 UPS

องค์ป ระกอบของฮาร์ด แวร์


2

1. หน่ วยประมวลผลกลาง (CPU) หน่วยประมวลผลกลาง หรื อไมโครโพรเซสเซอร์ ของไมโครคอมพิวเตอร์ มีหน้าที่นาำ คำา สั่งและข้อมูลที่เก็บไว้ใน หน่วยความจำามาแปลความหมาย และกระทำาตามคำาสั่งพื้นฐานของ ไมโครโพรเซสเซอร์ ซึ่งแทนด้วยรหัสเลขฐานสอง

การทำางานของคอมพิวเตอร์ ใช้หลักการเก็บคำาสัง่ ไว้ที่หน่วยความจำา ซีพียอู ่านคำาสัง่ จากหน่วยความจำามา แปล ความหมาย และกระทำาตามเรี ยงกันไปทีละคำาสั่ง หน้าที่หลักของซีพียู คือควบคุมการทำางานของ คอมพิวเตอร์ท้ งั ระบบ ตลอดจนทำาการประมวลผล กลไกการทำางานของซีพียู มีความสลับซับซ้อน ผูพ้ ฒั นาซีพียไู ด้สร้างกลไกให้ทาำ งานได้ดีข้ึ น โดยแบ่งการ ทำางาน เป็ นส่วน ๆ มีการทำางานแบบขนาน และทำางานเหลื่อมกันเพื่อให้ทาำ งานได้เร็ วขึ้ น


3

การพัฒนาซีพียกู า้ วหน้าอย่างรวดเร็ ว และถูกพัฒนาให้อยูใ่ นรู ปไมโครชิบที่เรี ยกว่าไมโคร โพรเซสเซอร์ ไมโครโพรเซสเซอร์จึงเป็ นหัวใจหลักของระบบคอมพิวเตอร์ ต้ ังแต่ซูเปอร์ คอมพิวเตอร์ ถึง ไมโครคอมพิวเตอร์ ล้วนแล้วแต่ใช้ไมโครชิปเป็ นซีพียหู ลัก ในเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ เช่น ES9000 ของ บริ ษทั ไอบีเอ็มก็ใช้ไมโครชิปเป็ น ซีพียู แต่อาจจะมีมากกว่าหนึ่งชิปประกอบรวมเป็ นซีพียู เทคโนโลยีไมโครโพรเซสเซอร์ได้พฒั นาอย่างรวดเร็ ว โดยเริ่ มจากปี พ.ศ. 2518 บริ ษทั อินเทลได้ พัฒนา ไมโครโพรเซสเซอร์ที่เป็ นที่รู้จกั กันดีคือ ไมโครโพรเซสเซอร์ เบอร์ 8080 ซึ่ งเป็ นซีพียขู นาด 8 บิต ซีพียรู ุ่ นนี้จะรับข้อมูล เข้ามาประมวลผลด้วยตัวเลขฐานสองครั้ งละ 8 บิต และทำางานภายใต้ระบบปฎิบตั ิ การซีพีเอ็ม (CP/M) ต่อมาบริ ษทั แอปเปิ้ ล ก็เลือก ซีพียู 6502 ของบริ ษทั มอสเทคมาผลิตเป็ นเครื่ องแอปเปิ้ ล ทู ได้รับความนิยมเป็ นอย่างมากในยุคนั้น


4

เครื่ องไมโครคอมพิวเตอร์ในประเทศไทยส่ วนมากเป็ นคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ซีพียขู องตระกูลอินเทลที่ พัฒนามาจาก 8088 8086 80286 80386 80486 และเพนเตียม ตามลำาดับ การพัฒนาซีพียตู ระกูลนี้ เริ่ มจาก ซีพียเู บอร์ 8088 ต่อมาประมาณปี พ.ศ. 2524 มีการพัฒนาเป็ นซี พียู แบบ 16 บิต ที่มีการรับข้อมูลจากภายนอกทีละ 8 บิต แต่การประมวลผลบวกลบคูณหารภายในจะกระทำาที ละ 16 บิต บริ ษทั ไอบีเอ็ม เลือกซีพียตู วั นี้ เพราะอุปกรณ์ประกอบอื่น ๆ ในสมัยนั้นยังเป็ นระบบ 8 บิต คอมพิวเตอร์รุ่นซีพียู 8088 แบบ 16 บิตนี้ เรี ยกว่า พีซี และเป็ นพีซีรุ่นแรก ขีดความสามารถของซีพียทู ี่จะต้องพิจารณา นอกจากขีดความสามารถในการประมวลผลภายใน กา รับส่ งข้อมูล ระหว่างซีพียกู บั อุปกรณ์ภายนอกแล้ว ยังต้องพิจารณาขีดความสามารถในการเข้าไปเขียนอ่าน ในหน่วยความจำาด้วย ซีพียู 8088 สามารถเขียนอ่านในหน่วยความจำาได้สูงสุ ดเพียง 1 เมกะไบต์ (ประมาณ หนึ่งล้านไบต์) ซึ่งถือว่ามากในขณะนั้น ความเร็ วของการทำางานของซีพียขู ้ ึนอยูก่ บั การให้จงั หวะที่เรี ยกว่า สัญญาณนาฬิกาซีพียู 8088 ถูก กำาหนดจังหวะด้วยสัญญาณนาฬิกาที่มีความเร็ ว 4.77 ล้านรอบใบ 1 วินาทีหรื อที่เรี ยกว่า 4.77 เมกะเฮิรตซ์ (MHz) ซึ่งปัจจุบนั ถูกพัฒนาให้เร็ วขึ้นเป็ นลำาดับ ไมโครคอมพิวเตอร์รุ่นพีซีได้รับการพัฒนาเพิม่ เติมฮาร์ ดดิสก์ลงไปและปรับปรุ งซอฟต์แวร์ระบบ และเรี ยกชื่อรุ่ นว่า พีซีเอ็กซ์ที (PC-XT) ในพ.ศ. 2527 ไอบีเอ็มเสนอไมโครคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ที่ทาำ งานได้ดีกว่าเดิม โดยใช้ชื่อรุ่ นว่า พีซีเอที (PC-AT) คอมพิวเตอร์รุ่นนี้ ใช้ซีพียเู บอร์ 80286 ทำางานที่ความเร็ วสู งขึ้นคือ 6 เมกะเฮิรตซ์ การทำางานของซีพียู 80286 ดีกว่าเดิมมาก เพราะรับส่ งข้อมูลกับอุปกรณ์ภายในเป็ นแบบ 16 บิตเต็ม การประมวลผลก็เป็ นแบบ 16 บิต ทำางานด้วยความเร็ วของจังหวะสัญญาณนาฬิกาสู งกว่า และยังติดต่อเขียน อ่านกับ หน่วยความจำาได้มากกว่า คือ ติดต่อได้สูงสุ ด 16 เมกะไบต์ หรื อ 16 เท่าของคอมพิวเตอร์ รุ่นพีซี ในพ.ศ. 2529 บริ ษทั อินเทลประกาศตัวซี พียรู ุ่ นใหม่ คือ 80386 หลายบริ ษทั รวมทั้งบริ ษทั ไอบีเอ็มเร่ งพัฒนา โดยนำาเอาซีพียู 80386 มาเป็ นซีพียหู ลักของระบบ ซี พียู 80386 เพิม่ เติมขีดความสามารถ อีกมาก เช่น รับส่งข้อมูล ครั้งละ 32 บิต ประมวลผลครั้งละ 32 บิต ติดต่อกับหน่วยความจำาได้มากถึง 4 จิกะ ไบต์ (1 จิกะไบต์เท่ากับ 1024 บ้านไบต์) จังหวะสัญญาณนาฬิกาเพิ่มได้สูงถึง 33 เมกะเฮิรตซ์ ขีดความ สามารถสูงกว่าพีซีรุ่นเดิมมาก และใน พ.ศ. 2530 บริ ษทั ไอบีเอ็มเริ่ มประกาศขายไมโครคอมพิวเตอร์ รุ่น ใหม่ที่ชื่อว่า พีเอสทู (PS/2) โดยมีโครงสร้างทางฮาร์ ดแวร์ ของระบบ แตกต่างออกไปโดยเฉพาะระบบเส้ น


5

ทางส่ งถ่ ายข้ อมูลภายใน (bus) ผลปรากฏว่า เครื่ องคอมพิวเตอร์ รุ่น 80386 ไม่เป็ นที่นิยมมากนัก ทั้งนี้เพราะยุคเริ่ มต้นของ เครื่ องคอมพิวเตอร์ 80386 มีราคาแพงมาก ดังนั้นในพ.ศ. 2531 อินเทลต้องเอาใจลูกค้าในกลุ่มเอทีเดิม คือ ลดขีดความสามารถของ 80386 ลงให้เหลือเพียง 80386SX ซีพียู 80386SX ใช้กบั โครงสร้างเครื่ องพีซีเอทีเดิมได้พอดีโดยแทบไม่ตอ้ งดัดแปลงอะไร ทั้งนี้ เพราะโครงสร้าง ภายในซีพียเู ป็ นแบบ 80386 แต่โครงสร้างการติดต่อกับอุปกรณ์ภายนอกใช้เส้นทางเพียง แค่ 16 บิต ไมโครคอมพิวเตอร์ 80386SX จึงเป็ นที่นิยมเพราะมีราคาถูกและสามารถทดแทนเครื่ อง คอมพิวเตอร์รุ่นพีซีเอทีได้ พียู 80486 เป็ นพัฒนาการของอินเทลใน พ.ศ. 2532 และเริ่ มใช้กบั เครื่ องไมโครคอมพิวเตอร์ ใน ปี ต่อมา ความจริ งแล้วซีพียู 80486 ไม่มีขอ้ เด่นอะไรมากนัก เพียงแต่ใช้เทคโนโลยีการรวมชิป 80387 เข้ากับ ซีพียู 80386 ซึ่งชิป 80387 เป็ นหน่วยคำานวณทางคณิตศาสตร์ และรวมเอาส่ วนจัดการหน่วยความจำาเข้าไว้ในชิป ทำาให้ การทำางานโดยรวมรวดเร็ วขึ้นอีก ในพ.ศ. 2535 อินเทลได้ผลิตซีพียตู วั ใหม่ที่มีขีดความสามารถสูงขึ้ น ชื่อว่า เพนเตียม การผลิต ไมโครคอมพิวเตอร์ จึงได้เปลี่ยนมาใช้ซีพียเู พนเตียม ซึ่งเป็ นซี พียทู ี่มีขีดความสามารถเชิงคำานวณสูงกว่า ซีพียู 80486 มีความซับซ้อนกว่าเดิม และใช้ระบบการส่ งถ่ายข้อมูลได้ถึง 64 บิต การพัฒนาทางด้านซีพียเู ป็ นไปอย่างต่อเนื่อง ไมโครโพรเซสเซอร์ รุ่นใหม่จะมีโครงสร้างที่ซบั ซ้อน ยิง่ ขึ้น ใช้งานได้ดีมากขึ้น

ประกอบด้ วยส่ วนใหญ่ ๆ 2 ส่ วน คือ หน่ วยคำานวณ และ หน่ วยควบคุม 1.หน่ วยควบคุม (Arithmetic and logic unit) ทำาหน้าที่ควบคุมการทำางาน ควบคุมการเขียนอ่านข้อมูลระหว่างหน่วยความจำาของซีพียู ควบคุม กลไกการทำางาน ทั้งหมดของระบบ ควบคุมจังหวะเวลา โดยมีสญ ั ญาณนาฬิกา เป็ นตัวกำาหนดจังหวะการ ทำางาน


6

2. หน่ วยคำานวน (Control Unit) เป็ นหน่วยที่มีหน้าที่นาำ เอาข้อมูลที่เป็ นตัวเลขฐานสองมาประมวลผลทางคณิ ตศาสตร์ และตรรกะ เช่น การบวก การลบ การเปรี ยบเทียบ และ การสลับตัวเลข เป็ นต้นการคำานวณทำาได้เร็ วตามจังหวะการ ควบคุมของหน่วยควบคุม

2. หน่ วยรับข้ อมูลเข้ า (Input Unit) หน่ วยรับข้อมูลทำา หน้าที่รับโปรแกรมและข้อมูลเข้าสู่ เครื่ องคอมพิวเตอร์ โดยข้อมูลอาจส่ งผ่าน อุปกรณ์รับข้อมูลได้โดยตรง เช่น ผ่านแผงแป้ นอักขระ (Keyboard) เมาส์ (Mouse) ปากกาแสง (Light Pen) ก้าน ควบคุม (Joystick) เครื่ องอ่านรหัสแท่ง (Bar Code Reader) หรื อโดยใช้อุปกรณ์รับข้อมูลอ่านข้อมูลในสื่ อข้อมูล ซึ่ งในกรณี น้ ี ตอ้ งนำาข้อมูลมาบันทึกลงสื่ อข้อมูลเสี ยก่อน ตัวอย่างของอุปกรณ์รับข้อมูลเหล่านี้ ได้แก่ เครื่ องขับ แผ่นบันทึ ก (Disk Drive) เครื่ องขับเทปแม่เหล็ก (Magnetic Tape Drive) สำาหรับตัวอย่างสื่ อข้อมูล ได้แก่ แผ่น บัน ทึ ก (Floppy Disk หรื อ Diskette) เทปแม่ เหล็ก (Magnetic Tape) เป็ นต้น โดยอุ ปกรณ์ รับ ข้อ มูลจะเปลี่ ย น ข้อมูลที่รับเข้ามาให้อยูใ่ นรู ปของรหัส แล้วส่ งไปยังหน่วยความจำาเพื่อเตรี ยมทำาการประมวลผลต่อไปอุปกรณ์รับ เข้าในปั จจุบนั มีหลายประเภท แต่ละประเภทมีวิธีการในการนำาข้อมูลเข้าที่ต่าง ๆ กัน เราอาจแบ่งประเภทของ อุปกรณ์รับเข้าตามลักษณะการรับข้อมูลเข้าได้ดงั นี้ 1.อุปกรณ์ รับเข้ าแบบกด

แผงแป้ นอักขระ (Keyboard) เป็ นอุปกรณ์รับเข้า พื้นฐานที่ตอ้ งมีใน คอมพิวเตอร์ ทุกเครื่ อง จะรับข้อมูลจากการกดแป้ นแล้วทำาการเปลี่ยนเป็ นรหัสเพื่อส่ งต่อไปให้กบั คอมพิวเตอร์ แป้ นพิมพ์ที่ใช้ในการป้ อนข้อมูลจะมีจาำ นวนตั้งแต่ 50 แป้ นขึ้นไป แผงแป้ นอักขระส่ วนใหญ่มีแป้ นตัวเลขแยกไว้ ต่างหาก เพื่อทำาให้การป้ อนข้อมูลตัวเลขทำาได้ง่ายและสะดวกขึ้ น 2. อุปกรณ์ รับเข้ าแบบชี้ตำาแหน่ ง


7

เมาส์ (Mouse) ซอฟต์แวร์ รุ่นใหม่ที่พฒั นาในระยะหลัง ๆ นี้ สามารถติดต่อกับผูใ้ ช้โดยการใช้รูปกราฟิ กแทนคำาสั ่ง มีการใช้งานเป็ นช่องหน้าต่าง และเลือกรายการหรื อคำา สั ่งด้วยภาพหรื อสัญลักษณ์รูป (Icon) อุปกรณ์รับเข้าที่ นิยมใช้จึงเป็ นอุปกรณ์ประเภทตัวชี้ ที่เรี ยกว่า “เมาส์” (Mouse) เมาส์เป็ นอุปกรณ์ที่ให้ความรู ้สึกที่ดีต่อการใช้งาน ช่วยให้การใช้งานง่ายขึ้น ด้วยการใช้เมาส์เลื่อนตัวชี้ ไปยังตำาแหน่งต่าง ๆ บนจอภาพ 3. ก้ านควบคุม (Joystick) อุปกรณ์รับเข้าชนิดนี้ เป็ นที่คุน้ เคยของนักเรี ยนที่นิยมเล่นเกมคอมพิวเตอร์ ชนิดที่มีการแสดงผล เป็ นกราฟิ กที่ตวั ผูเ้ ล่นที่ปรากฏบนจอภาพต้องมีการเคลื่อนที่เพื่อทำาภารกิจตามกติกาของเกม ตัวผูเ้ ล่นที่ปรากฏ บนจอภาพเปรี ยบได้กบั ตัวชี้ ตาำ แหน่งที่ปรากฏในซอฟต์แวร์ ประยุกต์ทวั่ ไปและก้านควบคุมนี้ กท็ าำ หน้าที่เหมือน เมาส์ที่คอยกำาหนดการเคลื่อนที่ของตัวชี้ บนจอภาพ โดยลักษณะของก้านควบคุมจะคล้ายกล่องที่มีกา้ นโผล่ออก มา และก้านนั้นสามารถบิดขึ้น ลง ซ้าย ขวา ได้ การเคลื่อนที่ของก้านนี้ เองที่เป็ นการกำาหนดทิศทางการเคลื่อนที่ ของตัวชี้ตาำ แหน่ง

ก้านควบคุม อุ

ก ร ณ์ รั บ เ ข้ า แ บ บ ป า ก ก า อุปกรณ์รับเข้าในกลุ่มนี้ จะมีส่วนประกอบอยูช่ ิ้นหนึ่งเป็ นส่ วนประกอบสำาคัญ คือ อุปกรณ์ที่มีรูปร่ าง เหมือนปากกา แต่จะมีแสงที่ปลาย งานที่ใช้อุปกรณ์ชิ้นนี้ มกั เป็ นงานเกี่ยวกับกราฟิ กที่ตอ้ งมีการวาดรู ป งานวาด


8

แผนผัง และงานคอมพิวเตอร์ช่วยออกแบบ (Computer Aided Design : CAD) ซึ่ งถ้าใช้อุปกรณ์ที่มีรูปร่ างเหมือน ปากกา จะช่วยให้ทาำ งานได้สะดวกและรวดเร็ วขึ้น อุปกรณ์รับเข้าระบบปากกาที่มีใช้งานอยูแ่ พร่ หลาย ได้แก่ 1) ปากกาแสง (LightPen) เป็นอุปกรณ์ที่ไวต่อแสงที่นอกจากจะใช้ในการวาดรูปสำาหรับงาน กราฟิกแล้ว ยังสามารถทำาหน้าที่เหมือนเมาส์ในการชี้ตำาแหน่งบนจอภาพ หรือทำางานกับรายการเลือกและสันรูปเพื่อสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยที่ ปลายข้างหนึ่งของปากกาชนิดนี้จะมีสายเชื่อมที่สามารถต่อเข้ากับเครื่อง คอมพิวเตอร์ เมือ ่ มีการแตะปากกาที่จอภาพข้อมูลจะถูกส่งผ่านสายนี้ไปยัง เครื่องคอมพิวเตอร์ ทำาให้สามารถรับรู้ตำาแหน่งที่ชี้และกระทำาตามคำาสั่งได้ นอกจากนี้เมื่อมีการใช้คอมพิวเตอร์ชนิดพกพาหรือปาล์มท็อปอย่างแพร่ หลาย ก็มีการนำาปากกาชนิดนี้มาใช้ในการรับข้อมูลที่เป็นลายมือบนเครื่อง คอมพิวเตอร์ชนิดนี้ด้วย

ปากกาแสง ปลายด้านหนึ่งมีสาย เชื่อมไปต่อกับเครื่ องคอมพิวเตอร์

2) เ

รื่ อ ง อ่ า น พิ กั ด (DigitizingTablet) หรื ออาจเรี ยกว่าแผ่นระนาบกราฟิ ก (Graphic Tablet) เป็ นอุปกรณ์รับเข้าที่ มีส่วนประกอบ 2 ชิ้ น ได้แก่ กระดานแบบสี่ เหลี่ยมที่มีเส้นแบ่งเป็ นตาราง (Grid) ของเส้นลวดที่ไวต่อสัมผัสสู ง และปากกาที่ทาำ หน้าที่ เป็ นตัวชี้ตาำ แหน่งหรื อวาดรู ปบนกระดานข้างต้น คอมพิวเตอร์ สามารถรับรู ้ตาำ แหน่ งของกระดานที่มีการสัมผัส หรื อวาดเส้น และเส้นที่วาดจะแสดงบนจอภาพได้ อุปกรณ์ชิ้นนี้มกั ใช้ในการออกแบบรถยนต์หรื อหุ่ นยนต์


9

แสดงการใช้เครื่ องอ่านพิกดั

ช่วยในงานออกแบบ

4.อุ ป ก ร ณ์ รั บ เ ข้ า แ บ บ จ อ สั ม ผั ส จอสัมผัส (Touch Screen) เป็ นจอภาพแบบพิเศษที่สามารถรับรู ้ได้วา่ มีการสัมผัสที่ตาำ แหน่ งใดบน จอภาพ เมื่อมีการเลือก ตำาแหน่งที่เลือกจะถูกแปลงเป็ นสัญญาณไฟฟ้ าส่ งไปยังซอฟต์แวร์ ที่ทาำ งานเพื่อแปลเป็ น คำาสัง่ ให้เครื่ องคอมพิวเตอร์ทาำ งาน โดยซอฟต์แวร์ ที่ใช้งานมักเป็ นซอฟต์แวร์ ที่เขียนขึ้ นเฉพาะ การใช้จอสัมผัส เหมาะกับการใช้งานหรื อซอฟต์แวร์ ที่ตอ้ งมีการเลือกคำา สั ่งในรายการเลือกหรื อสันรู ป โดยต้องออกแบบส่ วน ติดต่อผูใ้ ช้ให้มีสนั รู ปที่มีขนาดใหญ่ เพื่อสะดวกในการเลือกและลดความผิดพลาด ปั จจุบนั เราจะพบเห็นเครื่ อง คอมพิวเตอร์ ที่ใช้จอภาพสัมผัสวางอยู่ท ัว่ ไปตามสถานที่ สาธารณะหรื อห้างสรรพสิ นค้า ไม่ว่าจะเป็ นเครื่ อง คอมพิวเตอร์ ที่ติดตั้งไว้เพื่อให้ขอ้ มูลทางการท่องเที่ยว เครื่ องคอมพิวเตอร์ บอกตำาแหน่งต่าง ๆ ในสถานที่ เครื่ อง คอมพิวเตอร์ อธิบายสิ นค้าหรื อบริ การ หรื อแม้แต่ตเู ้ กมแบบหยอดเหรี ยญ

แสดงการใช้งานจอสัมผัส

เลือกตำาแหน่งบนจอภาพ

5) อุป ก ร ณ์ร ับ เข้า แบบกราดตรวจ 1) เ ค รื่ อ ง อ่ า น ร หั ส แ ท่ ง (BarCodeReader) ก่อนที่เราจะรู้จักกับเครื่องอ่านรหัสแท่ง ก็คงต้องทำาความรู้จัก กับสิ่งที่เรียกว่า “รหัสแท่ง” (Bar Code) ก่อน รหัสแท่งเป็นสิ่งที่เราพบเห็น


10

ได้ บ่ อ ยในการดำา รงชี วิ ต ในสั ง คมปั จ จุ บั น ไม่ ว่ า จะเป็ น บนสิ น ค้ า ในห้ า ง สรรพสินค้าหรือบนหนังสือห้องสมุด รหัสแท่งเป็ นสัญ ลักษณ์ห รือรหัส ที่มี ลั ก ษณะเป็ น แท่ ง หรื อ แถบสี ข าวและดำา เรี ย งต่ อ เนื่ อ งกั น ในแนวตั้ ง แต่ ล ะ แท่งมีความหนาไม่เท่ากัน ความหนาที่แตกต่างกันนี้เองทำาให้เราสามารถ ใช้รหัสแท่งเป็นสัญลักษณ์แทนสินค้าหรือของที่ต่างชนิดกันหรือคนละชิ้น กันได้

รหัสแท่ง (Bar Code) 2) เครื่อ งกราดตรวจ(Scanner) หรือที่เรานิยมเรียกกันว่า “สแกนเนอร์” (Scanner) เป็นอุปกรณ์ที่ ช่วยเพิ่มความน่าสนใจให้งานเอกสารและงานนำาเสนอข้อมูลเป็นอย่างมาก อุปกรณ์นี้สามารถนำาเข้าข้อมูลที่เป็นรูปภาพหรือข้อความที่อยู่บนสิ่งพิมพ์ ได้ โดยใช้หลักการสะท้อนแสง ข้อมูลที่รับเข้าโดยอุปกรณ์ชิ้นนี้จะเป็น รูปภาพที่ได้รับการแปลงให้อยู่ในรูปแบบที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถ เข้าใจและตีความได้และสามารถเก็บในหน่วยความจำาได้ผู้ใช้สามารถนำา รูป

ดังกล่าวไปประกอบในแฟ้มข้อมูลเอกสารที่สร้างจากซอฟต์แวร์

ประมวลคำา หรือแฟ้มข้อมูลงานนำาเสนอที่สร้างจากซอฟต์แวร์นำาเสนอ ข้อมูลได้


11

เครื่องกราดตรวจ \3) กล้อ งถ่า ย

ภาพ

ดิจ ิต อล(DigitalCamera) เป็นอุปกรณ์รับเข้าที่นิยมมากในปัจจุบัน อุปกรณ์ชนิดนี้ สามารถนำาเข้าข้อมูลที่เป็นรูปภาพหรือกราฟิก มีลักษณะและการใช้งาน เหมือนกล้องถ่ายรูปธรรมดาทั่วไป แต่กล้องดิจิตอลไม่ต้องใช้ฟิล์มในการ บันทึกภาพ แต่จะเก็บข้อมูลภาพไว้ในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ข้อมูลที่เก็บ เป็นข้อมูลแบบดิจิตอล ที่รูปแต่ละรูปประกอบด้วยจุดภาพ(Pixel) เล็ก ๆ จำานวนมาก ความละเอียดของภาพขึ้นอยู่กับจำานวนจุดดังกล่าว กล้อง ดิจิตอลที่ผลิตได้ในปัจจุบันมีความละเอียดของภาพมากกว่า 1 ล้านจุดภาพ และข้อดีอีกอย่างหนึ่งที่ทำาให้กล้องดิจิตอลเป็นที่นิยม คือ ผู้ใช้สามารถดูผล การถ่ายรูปได้หลังจากถ่ายรูปแต่ละรูปเลย โดยใช้จอภาพที่อยู่บนกล้อง หากรูปที่ถ่ายนั้นไม่เป็นที่พอใจก็สามารถถ่ายใหม่ได้ทันที

3. หน่ วยแสดงผล

(Output Unit)


12

หน่วยแสดงผล (Output Unit) มีหน้าที่ในการแสดงผลข้อมูล ที่ผา่ นการประมวลผลในรู ป ของ ข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหวหรื อ เสี ยง เป็ นต้น อุปกรณ์ที่ทาำ หน้าที่ในการแสดงผลได้แก่ จอภาพ (Monitor) สำาหรับแสดงตัวอักษรและรู ปภาพ เครื่ องพิมพ์ (Printer) สำาหรับพิมพ์ขอ้ มูลที่อยูใ่ นเครื่ อง ออกทางกระดาษพิมพ์ ลำาโพง (Speaker) แสดงเสี ยงเพลงและคำาพูด เป็ นต้น

ส่ วนประกอบของคอมพิวเตอร์ > หน่วยแสดงผล (Output Unit)

หน่วยแสดงผล (Output Unit) ทำา หน้าที่ แสดงผลลัพธ์จาก คอมพิวเตอร์ โดย มากจะแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท หน่ วยแสดงผลชั่วคราว (Soft Copy) หมายถึงการแสดงผลออกมาให้ผใู ้ ช้ได้รับทราบในขณะนั้น แต่เมื่อเลิกการทำางานหรื อเลิกใช้แล้วผล นั้นก็จะหายไป ไม่เหลือเป็ นวัตถุให้เก็บได้ ถ้าต้องการเก็บผลลัพธ์น้ ันก็สามารถส่ งถ่ายไปเก็บในรู ปของข้อมูลใน หน่วยเก็บข้อมูลสำารอง เพื่อให้สามารถใช้งานได้ในภายหลัง ได้แก่ จอภาพ (Monitor)

อุปกรณ์ฉายภาพ

(Projector)


13

อุปกรณ์เสี ยง (Audio Output)

หน่วยแสดงผลถาวร (Hard Copy) หมายถึงการแสดงผลที่สามารถจับต้อง และเคลื่อนย้ายได้ ตามต้องการ มักจะออกมาในรู ปของกระดาษ ซึ่งผูใ้ ช้สามารถนำาไปใช้ในที่ต่าง ๆ หรื อให้ผรู ้ ่ วมงานดูในที่ใด ๆ ก็ได้ อุปกรณ์ที่ใช้เช่น เครื่ องพิมพ์ (Printer)

เครื่ องพลอต

เตอร์

(Plotter)

4. หน่ วยความจำา (Memory Unit) หน่วยความจำา (Memory Unit) มีหน้าที่ในการจำาข้อมูล ให้กบั เครื่ องคอมพิวเตอร์ มีอยู่ 2 ชนิดคือ หน่วยความถาวร (ROM : Read Only Memory) เป็ นหน่วยความจำาที่สามารถจำาข้อมูลได้ตลอดเวลา ส่ วนหน่วย ความจำาอีกประเภทหนึ่งคือ หน่วยความจำาชัว่ คราว (RAM : Random Access Memory) หน่วยความจำาประเภทนี้ จะจำาข้อมูลได้เฉพาะช่วงที่มี การเปิ ดไฟเข้าเครื่ องคอมพิวเตอร์ เท่านั้น หน่วยความจำาชัว่ คราว ถือว่าเป็ นหน่วย ความจำาหลักภายในเครื่ อง สามารถซื้ อ มาติดตั้งเพิ่มเติมได้ เรี ยกกันทัว่ ไปคือหน่วยความจำาแรม ที่ใช้ใน ปั จจุบนั คือ แรมแบบ SDRAM , RDRAM เป็ นต้น


14

(RAM : Random Access Memory)

(ROM : Read Only

Memory)

ส่ วนประกอบของคอมพิวเตอร์ > หน่ วยความจำา (Memory Unit) หน่วยความจำาหลัก (Main Memory Unit)เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้ในการจดจำาข้อมูล และโปรแกรมต่าง ๆ ที่อยูร่ ะหว่างการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ บางครั้ งอาจเรี ยกว่า หน่วยเก็บข้อมูลหลัก (Primary storage) สามารถแบ่งออกได้เป็ น 2 ประเภท คือ 2.2.1 หน่วยความจำาหลักแบบอ่านได้อย่างเดียว (Read Only Memory - ROM) เป็ นหน่วยความจำาแบบสารกึ่ง ำ (อย่าง ตัวนำาชัว่ คราวชนิดอ่านได้อย่างเดียว ใช้เป็ นสื่ อบันทึกในคอมพิวเตอร์ เพราะไม่สามารถบันทึกซ้าได้ ง่ายๆ) เป็ นความจำาที่ซอฟต์แวร์หรื อข้อมูลอยูแ่ ล้ว และพร้อมที่จะนำามาต่อกับไมโครโพรเซสเซอร์ ได้โดยตรง หน่วยความจำาประเภทนี้ แม้ไม่มีไฟเลี้ยงต่ออยู่ ข้อมูลก็จะไม่หายไปจากหน่วยความจำา (nonvolatile) โดยทัว่ ไปจะใช้เก็บข้อมูลที่ไม่ตอ้ งมีการแก้ไขอีกแล้วเช่น เก็บโปรแกรมไบออส (Basic Input output System : BIOS) หรื อเฟิ ร์มแวร์ ที่ควบคุมการทำางานของคอมพิวเตอร์ ใช้เก็บโปรแกรมการทำางานสำาหรับ เครื่ องคิดเลขใช้เก็บโปรแกรมของคอมพิวเตอร์ ที่ทาำ งานเฉพาะด้าน เช่น ในรถยนต์ที่ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ ควบคุมวงจร ควบคุมในเครื่ องซักผ้า เป็ นต้น 2.2.2 หน่ วยความจำาหลักแบบแก้ไขได้ (Random Access Memory - RAM) เป็ นหน่วยความจำาหลัก ที่ใช้ในระบบคอมพิวเตอร์ ยคุ ปั จจุบนั หน่วยความจำาชนิดนี้ อนุญาตให้เขียน และอ่านข้อมูลได้ในตำาแหน่งต่างๆ อย่างอิสระ และรวดเร็ วพอสมควร ซึ่งต่างจากสื่ อเก็บข้อมูลชนิดอื่นๆ อย่าง เทป หรื อดิสก์ ที่มีขอ้ จำากัดในการอ่านและเขียนข้อมูล ที่ตอ้ งทำาตามลำาดับก่อนหลังตามที่จดั เก็บไว้ในสื่ อ หรื อมี ข้อกำาจัดแบบรอม ที่อนุญาตให้อ่านเพียงอย่างเดียว ข้อมูลในแรม อาจเป็ นโปรแกรมที่กาำ ลังทำางาน หรื อข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผล ของโปรแกรมที่ กำาลังทำางานอยู่ ข้อมูลในแรมจะหายไปทันที เมื่อระบบคอมพิวเตอร์ ถูกปิ ดลง เนื่องจากหน่วยความจำาชนิดนี้ จะ เก็บข้อมูลได้เฉพาะเวลาที่มีกระแสไฟฟ้ าหล่อเลี้ยงเท่านั้น


15

internal storge หรือเป็นหน่วยเก็บข้อมูลและโปรแกรม ชั่วคราว( temporary storage)เมื่อปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ขอ ้ มูลหรือโปรเเก รมทุกอย่าง ที่เก็บในแรมจะหายไป เนื่องจากไม่มีกระแสไฟฟ้าหล่อเลี้ยง หน่วยเก็บข้อมูลประเภทนี้จึงเรียกว่า volatile ดังนั้นจัดเก็บข้อมูลอย่าง ถาวร ไว้ใช้งานในภายหลัง จึงจำาเป็นจะต้องมีหน่วยเก็บข้อมูลภายนอกที่ เรียกว่า external storage หรือ secondary storage หรือ auxiliary storage ซึ่งสามารถจัดเก็บข้อมูลสำาหรับการประมวลผลไว้ได้ถึงแม้ว่าจะไม่มีกระเเส ไฟฟ้าหล่อเลี้ยง( non-volatile) ก็ตามกระบวนการในการเก็บข้อมูล เรียกว่า การเขียนหรือการบันทึกข้อมูล ( writing หรือ recording data)เนื่องจากว่า อุปกรณ์เก็บข้อมูลสำารอง จะบันทึกข้อมูลในรูปของสื่อต่างๆที่สามารถนำามา เรียกในภายหลังได้ กระบวนการดึงข้อมูลมาใช้เรียกว่า retrieving data เเละถ้าเป็นการอ่านข้อมูลจะเรียกว่า reading data เพราะอุปกรณ์เก็บข้อมูล สำารองจะอ่านข้อมูลและถ่ายโอนไปยังหน่วยความจำาหลัก เพื่อการประมวล ผลต่อไป

การใช้งานคอมพิวเตอร์ในหน่วยงานต่างๆ จะมีความต้องการ อุปกรณ์ในการจัดเก็บข้อมูลที่แตกต่างกันออกไป เช่น บริษัทประกันและ ธนาคาร อาจมีความต้องการอุปกรณ์ที่สามารถจัดเก็บข้อมูลของลูกค้าได้ จำานวนมาก ในขณะที่ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมอาจต้องการอุปกรณ์ ในการจัดเก็บข้อมูลไม่มากนัก


16

หน่ว ยเก็บ ข้อ มูล สำา รอง (Secondary Storage Unit) อุปกรณ์เก็บข้อมูลสำารอง สามารถจำาแนกได้เป็น 2 ประเภทหลัก ๆ ดังนี้ จานแม่เหล็ก ( magnetic disk storage)

จานแม่เหล็กเป็ นอุปกรณ์เก็บข้อมูลสำารองที่นิยมใช้กนั อย่างแพร่ หลายกับเครื่ องคอมพิวเตอร์ ทุกประเภท จานแม่เหล็กประกอบด้วยแผ่นพลาสติกหรื อโลหะที่เคลือบด้วยสารแม่เหล็ก ข้อมูลสามารถบันทึกและอ่านจาก ผิวหน้าที่เคลือบด้วยสารแม่เหล็กนี้ จานแม่เหล็กเป็ นอุปกรณ์จดั เก็บข้อมูลที่มีความจุสูง มีความเชื่อถือได้ และยัง สามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่างรวดเร็ ว ประเภทของจานแม่เหล็ก เช่น ฮาร์ ดดิสก์ ( hard disk ) ฟลอปปี้ ดิสก์ ( floppy disks)


17

5. หน่ วยเก็บข้ อมูลสำ ารอง (Secondary Storage) หน่วยความจำาสำารองคืออุปกรณ์ที่ทาำ หน้าที่เก็บข้อมูลไว้ใช้ในโอกาสต่อไป เนื่องจากหน่วยความจำา แรม จำาข้อมูลได้เฉพาะช่วงที่มีการเปิ ดไฟ เข้าเครื่ องคอมพิวเตอร์ เท่านั้น ถ้าต้องการเก็บข้อมูลไว้ใช้ในโอกาสต่อ ไป จะต้องบันทึกข้อมูลลงในหน่วยความจำาสำารอง ซึ่งหน่วยความจำาสำารองมีอยูห่ ลายชนิดด้วยกัน แต่มีนิยมใช้ กันทัว่ ไปคือ ฮาร์ดดิสก์ ดิสก์ไดร์ฟ ซีดีรอม ดีวีดีรอม ทัมท์ไดร์ ฟ เป็ นต้น


18

หน่วยเก็บข้อมูลสำารอง ( Secondary Storage Device ) การทำางานร่ วมกับคอมพิวเตอร์ น้ นั เมื่อต้องการ เก็บบันทึกข้อมูล หรื อกลุ่มคำาสั่งต่าง ๆ ไว้ใช้ในอนาคตจะไม่สามารถเก็บไว้ในหน่วยความจำาหลักได้ เนื่องจาก ไม่มีพ้ืนที่เพียงพอ อีกทั้งข้อมูลที่เก็บจะหายไปเมื่อปิ ดเครื่ อง หากต้องการเก็บข้อมูลที่มากขึ้นและเอาไว้ใช้ ประโยชน์ในภายหลัง ก็จาำ เป็ นต้องหาอุปกรณ์เก็บข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ข้ึ น เช่น หน่วยเก็บข้อมูลสำารอง หรื อที่ เรี ยกว่า secondary storage

ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ก่อนอื่นควรมีความรู้พ้ืนฐานทางด้านฮาร์ดแวร์ เพื่อการสื่ อสารในเรื่ องของฮาร์ ดแวร์ ดังนี้

ขนาดของข้ อมูล (Size of Data) ปกติแล้วการกำาหนดขนาดของข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งเก็บในรู ปแบบของตัวเลขซานสอง หรื อบิตจะกำาหนดให้มีขนาดเล็กที่สุดคือบิต (bit) ซึ่งหมายถึงตัวเลขตัวเดียวของเลขฐานสองซึ่งอาจมีค่าเป็ น 0 หรื อ 1 แต่ในการเก็บข้อมูล 1 ตัวอักษร ซึ่งจะถูกแทนที่ดว้ ยค้าของเลขฐานสองถึง 8 บิตซึ่งเราเรี ยกว่า 1 ไบต์ (byte) นอกจากนี้ยงั มีหน่วยวัดขนาดของข้อมูลดังนี้ คือ 1 กิโลไบต์ (1 Kb)

= 210 10 ไบต์

1 เมกะไบต์ (1 Mb) = 210 20 ไบต์ 1 จิกะไบต์ (1 Gb) = 210 30 ไบต์ 1 เทอราไบต์ (1 Tb) = 210 40 ไบต์


19

นอกจากนี้ขนาดของข้อมูลยังใช้วดั ขนาดความจุของหน่วยเก็บข้อมูลต่างๆ เช่น Memory (RAM) Flash-Drive และฮาร์ดดิสก์

ระบบปฏิบัตกิ ารและการทำางาน การทางานของระบบคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ในปัจจุบนั สร้างขึ้นตามแนวคิดของท่านจอห์น วอน นิว มันน์ (Dr. John Von Neumann) คือ • มีหน่วยความจำาสำาหรับใช้เก็บคำาสัง่ และข้อมูลรวมกัน (The stored program concept) • การดำาเนินการกระทำา โดยการอ่านคำาสั่ จากหน่วยความจำามาแปลความหมายแล้วทำาตาม ทีละคำาสั่ง

ความหมายของระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบตั ิการ (Operating Systems) คือ กลุ่มโปรแกรมซึ่ งได้รับการจัดระเบียบให้เป็ นส่ วนเชื่อม โยงระหว่างเครื่ องคอมพิวเตอร์และ ผูใ้ ช้เครื่ องคอมพิวเตอร์ โดยจะเอื้ออำานวยการพัฒนาและ การใช้งาน โปรแกรมต่าง ๆ รวมถึงการจัดสรรทรัพยากร (Resource) ต่าง ๆ ให้มีประสิ ทธิผลที่ดีโดย OS เองนั้น อาจเป็ นได้ ทั้ง Software, Hardware, Firmware


20

Software OS - เป็ นโปรแกรมควบคุมการทำางานของเครื่ อง ปรับปรุ งแก้ไขง่าย ซึ่ งโดยส่ วนมากแล้ว OS ส่ วนใหญ่จะเป็ น Software OS Hardware OS - ทำาหน้าที่เดียวกับ Software OS แต่ทาำ งานเร็ วกว่า เป็ น OS ที่สร้างจากอุปกรณ์ electronic เป็ นส่วนหนึ่งของ Hardware เครื่ อง ปรับปรุ งแก้ไขยาก มีราคาแพง Firmware OS - หมายถึง โปรแกรมส่ วนหนึ่งของคอมพิวเตอร์ คือ ไมโครโปรแกรม ำ ดของระบบ (Microprogram) ไมโครโปรแกรม เกิดจาก คำาสัง่ ไมโคร (Microinstruction) ซึ่ งเป็ นชุดคำาสัง่ ต่าสุ ควบคุมการทำางานของ CPU หลาย ๆ คำาสัง่ รวมกัน คำาสัง่ ภาษาเครื่ อง 1 คำาสัง่ เกิดจากการทำางานของ Microprogram 1 โปรแกรม (หรื อเกิดจากหลาย Microinstruction มารวมกัน) การแก้ไข เปลี่ยนแปลง คำาสัง่ ภาษา เครื่ อง ทำาโดยสร้าง Microprogram ขึ้นใหม่ ซึ่ งทำาได้ยากและเสี ยค่าใช้จ่ายสูง เป็ นอุปกรณ์แสดงผลที่มีความสำาคัญมากที่สุด เพราะจะติดต่อโดยตรงกับผูใ้ ช้ ชนิดของจอภาพที่ใช้ในเครื่ อง พีซีโดยทัว่ ไปจะแบ่งได้เป็ น 2 ชนิด - จอซีอาร์ ที (CRT : Cathode RayTube) โดยมากจะพบในคอมพิวเตอร์ ต้ งั โต๊ะ ซึ่ งลักษณะ จอภาพชนิดนี้ จะ คล้ายโทรทัศน์ ซึ่งจะใช้หลอดสุญญากาศ

จอแบบ CRT


21

การทำางานของจอประเภทนี้ จะทำางานโดย อาศัยหลอดภาพ ที่สร้างภาพโดยการยิงลำาแสง อิเล็กตรอนไปยังที่ผิวหน้าจอที่มีสารพวกสารประกอบของฟอสฟอรัส ฉาบอยูท่ ี่ผวิ ซึ่งจะเกิดภาพขึ้ นมาเมื่อสาร เหล่านี้เกิดการเรื องแสงขึ้นมาเมื่อมีอิเล็กตรอนมากระทบ ซึ่ งในส่ วยของจอแบบ Shadow Mask นั้นจะมีการนำา โลหะที่มีรูเล็กๆ มาใช้ในการกำาหนดให้แสงอิเล็กตรอนนั้นยิงมาได้ถูกต้อง และแม่นยำาซึ่งระยะห่ างระหว่างรู น้ี เราเรี ยกกันว่า Dot Pitch ซึ่งในรู น้ ีจะมีสารประกอบของฟอสฟอรัสวางเรี ยงกันอยูเ่ ป็ น 3 จุด 3 มุม โดยแต่ละจุด จะเป็ นสี ของแม่สีน้ นั ก็คือสี แดง สี เขียว และสี นาเงิ ้ ำ น ซึ่งแต่ละจุดนี้ เราเรี ยกว่า Triad ในส่ วนของจอแบบ Trinitron นั้นจะมีการทำางานที่เหมือนกันแต่ต่างกันที่ไม่ได้ใช้โลหะเป็ นรู แต่จะใช้ โลหะที่เป็ นเส้นเล็กๆ ขึงพาด ไปตาม แนวตั้ง เพื่อที่จะให้อิเล็กตรอนนั้นตกกระทบกับผิวจอที่มีสารประกอบของฟอสฟอรัสได้มากขึ้นสำาหรับ จอ Trinitron ในปัจจุบนั นี่ได้มีการพัฒนาให้มีความแบนราบมากขึ้นซึ่งจอแบบนี้ จะเรี ยกกันว่า FD Trinitron (Flat Display Trinitron) ซึ่งมีมากมายในปัจจุบนั และจะเข้ามาแทนที่จะแบบเดิมๆอีกทั้งราคายังถูกลงเป็ นอย่าง มากด้วย - จอแอลซีดี (LCD : Liquid CrystalDisplay) ซึ่ งมี ลักษณะแบนราบ จะมี ขนาดเล็กและบาง เมื่อเปรี ยบเทียบ กับจอภาพแบบซีแอลที

จอแบบ LCD การทำางานนั้นจะไม่เหมือนกับจอแบบ CRT แม้สักนิดเดียวซึ่งการแสดงภาพนั้นจะซับซ้อนกว่า มาก การทำางานนั้นอาศัยหลักของการใช้ความร้อนที่ได้จากขดลวดมาทำาการเปลี่ยนและ บังคับให้ผลึกเหลว แสดงสี ต่างๆ ออกมาตามที่ตอ้ งการซึ่งการแสดงสี น้ นั จะเป็ นไปตามที่กาำ หนดไว้ตามมาตรฐานของแต่ละ บริ ษทั


22

จึงทำาให้จอแบบ LCD มีขนาดที่บางกว่าจอ CRT อยูม่ าก อีกทั้งยังกินไฟน้อยกว่า จึงทำาให้ผผู ้ ลิตนำาไปใช้งานกับ เครื่ องคอมพิวเตอร์แบบเคลื่อนที่โน้ตบุ๊ค และเดสโน้ต ซึ่ งทำาให้เครื่ องมีขนาดที่บางและเล็กสามารถพกพาไปได้ สะดวกในส่ วนของการใช้งานกับเครื่ องเดสก์ทอ็ ปทัว่ ไป ก็มีซ่ ึงจอแบบ LCD นี้จะมีราคาที่แพงกว่าจอทัว่ ไปอยู่ ประมาณ 2 เท่าของราคาในปัจจุบนั

2. เคส (Case) เคส คือโครงหรื อกล่องสำาหรับประกอบอุปกรณ์ต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ ไว้ภายใน การเรี ยกชื่อและ ขนาด ของเคสจะแตกต่างกันออกไป ซึ่งในปั จจุบนั มีหลายแบบที่นิยมกันแล้วแต่ผซู ้ ื้ อจะเลือกซื้ อตามความ เหมาะสม ของงาน และสถานที่น้ นั

ประเภทและชนิดของฮาร์ ดแวร์ นอกจากคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่นกั เรี ยนใช้ในห้องปฏิบตั ิการทัว่ ไปแล้วยังมีเครื่ องคอมพิวเตอร์ แบ บอื่นๆ ที่มีความแตกต่างกันไปตามขนาด สมรรถนะ และราคาของเครื่ อง ดังนี้ 1 ซู เปอร์ คอมพิวเตอร์ (super computers) ซูเปอร์คอมพิวเตอร์เป็ นเครื่ องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่สุด มีสมรรถนะและประสิ ทธิ ภาพสู งที่สุด สามารถคำานวณได้มากกว่าหนึ่งล้านล้านคำาสั่งต่อวินาที ( 1trillion calculations per second) รองรับการใช้งาน จากผูใ้ ช้จาำ นวนมากพร้อมๆ กันได้ เรี ยกว่า การทำางานแบบมัลติโปรเซสซึ่ ง ( multiprocessing) เป็ นการประมวล ผลโดยใช้หน่วยประมวลผลหลายตัว เพื่อให้คอมพิวเตอร์ สามารถทำางานพร้อมๆ กันได้หลายงาน นิยมใช้กบั งาน ที่มีการคำานวณซับซ้อน เช่น การพยากรณ์อากาศ การวิเคราะห์สภาพอากาศและเตือนภัยจากพายุ การทดสอบ ทางอวกาศการคำานวณทางวิทยาศาสตร์ การวิจยั ในห้องปฏิบตั ิการทั้งของภาครัฐบาลและเอกชน เนื่องจากเป็ น เครื่ องที่มีขนาดใหญ่และสมรรถนะสูงมากจึงต้องอยูใ่ นห้องที่มีการควบคุมอุณหภูมิและปราศจากฝุ่ นละออง ซู เปอร์ คอมพิวเตอร์ที่รู้จกั กันดีในปัจจุบนั ได้ cray supercomputer


23

2 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (mainframe computers) เมนเฟรมคอมพิวเตอร์เป็ นคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่รองลงมาจากซูเปอร์ คอมพิวเตอร์ มีหน่วยความจำา และหน่วยจัดเก็บข้อมูลจำานวนมาก ใช้ในองค์กรหรื อหน่วยงานขนาดใหญ่ นิยมใช้เป็ นเครื่ องบริ การ (server) ใน ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ สามารถเชื่อมต่อกับเครื่ องปลายทางได้มากรวมทั้งเชื่อมต่อกับเครื่ องคอมพิวเตอร์ พีซีดว้ ย ตัวอย่างเช่น ระบบเครื อข่ายของธนาคาร (bank net) ซึ่ งเชื่อมต่อจากศูนย์คอมพิวเตอร์ของธนาคารไปยัง สำานักงานใหญ่และสาขาของธนาคารทัว่ โลก รองรับข้อมูลของลูกค้าจำานวนมาก ตลอดจนควบคุมการเบิกถอน เงินจากเครื่ องเอทีเอ็มทั้งหมดของธนาคารที่เชื่อมโยงถึงกันด้วยสายเช่า (lease line)

3 มินิคอมพิวเตอร์ (mini computers)


24

มินิคอมพิวเตอร์จดั เป็ นเครื่ องคอมพิวเตอร์ขนาดกลางเมื่อเทียบระหว่างเครื่ องระดับเมนเฟรมและ พีซีคอมพิวเตอร์ นิยมใช้เป็ นเครื่ องบริ การเช่นเดียวกับเครื่ องเมนเฟรม แต่มีสมรรถนะน้อยกว่าและราคาถูกกว่า นิยมใช้ในองค์กรขนาดกลางทัว่ ไป เช่น โรงงานอุตสาหกรรม โรงพยาบาล มหาวิทยาลัย

4.ไมโครคอมพิวเตอร์ (microcomputer) ไมโครคอมพิวเตอร์เป็ นเครื่ องคอมพิวเตอร์ ขนาดเล็กที่นิยมใช้กนั ในปัจจุบนั คำาว่าไมโคร คอมพิวเตอร์ มาจากการผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เพื่อทำาการประมวลผล โดยรวมวงจรการทำางานจำานวนมาก เข้าไว้ในอุปกรณ์เล็กๆ ชิ้นเดียว (silicon chip) อุปกรณ์ชิ้นนี้มีชื่อเรี ยกในวงการอิเล็กทรอนิกส์วา่ ไมโคร โพรเซสเซอร์ เมื่อนำามาเป็ นซีพียขู องคอมพิวเตอร์ จึงเรี ยกเครื่ องคอมพิวเตอร์ ระดับนี้ วา่ ไมโครคอมพิวเตอร์


25

เนื่องจากคอมพิวเตอร์ระดับนี้ มีโปรแกรมอำานวยความสะดวกในการใช้งานติดตั้งไว้ให้โดยไม่ตอ้ ง เชื่อมต่อกับเครื่ องบริ การก็ทาำ งานได้ บริ ษทั ไอบีเอ็ม ซึ่งเป็ นบริ ษทั หนึ่งที่ผลิตไมโครคอมพิวเตอร์ ออกจำาหน่าย ในยุคแรกๆ จึงตั้งชื่อเครื่ องไมโครคอมพิวเตอร์ ของบริ ษทั ตนเองว่า PC หรื อ Personal Computer หมายถึง เครื่ องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล บริ ษทั อื่นๆ ที่ผลิตเครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่มีการทำางานแบบเดียวกับเครื่ องของบริ ษทั ไอบีเอ็มจึงเรี ยกคอมพิวเตอร์ที่ผลิตว่าเครื่ องพีซีคอมพิวเตอร์ เช่นเดียวกัน และใช้คาำ นี้ มาจนถึงปั จจุบนั คอมพิวเตอร์ ระดับพีซีได้รับการพัฒนาต่อเนื่องมาจนถึงปั จจุบนั โดยแบ่งเป็ นประเภทต่างๆ ดังนี้ 4. 1 คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ (desktop computer ) เป็ นคอมพิวเตอร์ ที่ใช้วางบนโต๊ะทัว่ ๆ ไป เครื่ องส่ วนมากจะ แยกส่ วนเป็ นจอภาพ และกล่องที่บรรจุระบบเครื่ อง (case) ออกจากกัน กล่องเครื่ องที่วางตั้งเรี ยกว่า กล่องแบบ tower คอมพิวเตอร์บางรุ่ นจะรวมทั้งระบบเครื่ องและจอภาพไว้ที่เดียวกัน เช่น เครื่ องคอมพิวเตอร์ ของบริ ษทั แอปเปิ ล (Apple Inc.) 4.2 คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก (notebook computer) เป็ นคอมพิวเตอร์ พีซีที่มีขนาดเล็กคล้ายหนังสื อแต่มีสมรรถนะ เท่ากับหรื อมากกว่าคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ สามารถพกพาไปใช้ในที่ต่างๆ ได้สะดวก เครื่ องชนิดนี้ เรี ยกอีก อย่างหนึ่งว่า แล็ปท็อป (laptop computer) หรื อคอมพิวเตอร์วางตักก็ได้ 4.3 คอมพิวเตอร์แบบมือถือ (handheld computer) เป็ นคอมพิวเตอร์ พีซีขนาดเล็กเท่ากับฝ่ ามือ (palmtop computer) เก็บข้อมูลไว้ในซิปแทนฮาร์ดดิสก์ ใช้เชื่อมต่อกับเครื่ องคอมพิวเตอร์ อื่นๆ ผ่านระบบไร้สายได้ บาง รุ่ นมีแป้ นพิมพ์เล็กๆ บางรุ่ นไม่มีแต่ใช้ปากกาเขียนลงบนจอแทน เครื่ องรุ่ นใหม่ๆ เรี ยกว่า เครื่ องพีดีเอ (PDA : personal digital assistants) ความจริ ง ขอบเขตที่แบ่งระหว่างฮาร์ ดแวร์ และซอฟต์แวร์ ไม่ได้ชดั เจน เพราะระหว่างกลางอาจจะมี เฟิ ร์ มแวร์ ซึ่งเป็ นซอฟต์แวร์ที่สร้างมาโดยเฉพาะ เพื่อฝังไว้ในฮาร์ ดแวร์ อยูด่ ว้ ย โดยที่ผใู ้ ช้ท ัว่ ไป ไม่จาำ เป็ นต้อง กังวลกับเฟิ ร์ มแวร์เหล่านี้ เพราะเป็ นส่วนที่โปรแกรมเมอร์ และวิศวกรคอมพิวเตอร์ เป็ นผูด้ ูแลอุปกรณ์พ้ืนฐาน


26

แหล่ งทีม่ า http://itmwk.wordpress.com/2010/08/19/%E0%B8%9B %E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%A0%E0%B8%97%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0 %E0%B8%8A%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AE %E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%94/ประเภทและชนิดของฮาร์ดแวร์ http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type2/tech04/22/cit/2_1.html องค์ประกอบของ

ฮาร์ดแวร์ http://www.chakkham.ac.th/technology/computer1/cpu.htm หน่วยประมวลผลกลาง http://www.chakkham.ac.th/krusuriya/index.php? option=com_content&view=article&id=86&Itemid=102 หน่วยรับข้อมูลเข้า http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type1/tech03/18/prakopoutput.html หน่วย

แสดงผล http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type1/tech03/18/prakopmemory.html หน่วย

ความจำาหลัก http://www.suwanpaiboon.ac.th/wbi/page/na45.htm หน่วยเก็บข้อมูลสำารอง


27 http://www.pbps.ac.th/e_learning/combasic/hardware.html แหล่งข้อมูลประกอบ http://www.thaigoodview.com/node/85009 แหล่งข้อมูลประกอบ

สืบค้ นวันที่ 4 กันยายน 2556


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.