ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

Page 1


ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ เบือ้ งต้ น


พืน้ ฐานเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ จุดประสงค์ของการประดิษฐ์ คอมพิวเตอร์ ใช้ ในสมัยแรก ๆ นัน้ เพื่อให้ คอมพิวเตอร์ ได้ ทำางานบางอย่างแทนมนุษย์ได้ เช่น การคำานวณเลข ซึง่ ถ้ าเป็ น ตัวเลขจำานวนมาก ๆ มนุษย์จะใช้ เวลาในการคำานวณมากและมีโอกาสเกิดข้ อผิด พลาดได้ มาก ในขณะที่คอมพิวเตอร์ สามารถคำานวณได้ เร็วกว่ามาก อีกทังยั ้ งมี ความแม่นยำาและมีความผิดพลาดน้ อยกว่ามนุษย์มาก การทำางานจะให้ มี ประสิทธิภาพสูงจะ ต้ องทำาเป็ นหมูค่ ณะ หรื อทีม เวิร์ค (Teamwork) คอมพิวเตอร์ ก็ซงึ่ ถูกสร้ างมาเพื่อทำางานแทนมนุษย์ก็จำาเป็ นที่ ต้ องมีการสื่อสารซึง่ กันและกันเช่นกัน ฉะนันคอมพิ ้ วเตอร์ เครื่ องใดที่ไม่ได้ เชื่อมต่อ เข้ ากับเครื่ องอื่นก็เปรี ยบเสมือนคนที่ชอบความสันโดษ ในการเชื่อมต่อกันเป็ นเครื อ ข่ายนัน้ เป็ นสาเหตุที่เนื่องมาจากการที่ผ้ ใู ช้ ต้องการทำางานเป็ นกลุม่ หรื อทีม ซึง่ การ ทำางานแบบนี ้ย่อมมีประสิทธิภาพมากกว่าการทำางานแบบเดี่ยว ๆ


พืน้ ฐานเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ (ต่ อ) หลังจากที่คอมพิวเตอร์ ได้ คิดค้ นขึ ้นมาแล้ วนัน้ ก็ยงั ได้ มีการพัฒนามาอย่าง ต่อเนื่องและรวดเร็วจน ในปั จจุบนั เป็ นที่ยอมรับมากว่า อุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ เป็ นอุตสาหกรรมที่มีการพัฒนารวดเร็วอย่างรวดเร็วมากที่สดุ อุตสาหกรรมหนึง่ ปั จจุบนั นี ้ก็เป็ นยุคข้ อมูลข่าวสารโดยการใช้ เครื่ องคอมพิวเตอร์ เป็ น เทคโนโลยีที่ รองรับคอมพิวเตอร์ ในสมัยแรก ๆ เท่านัน้ เป็ นคอมพิวเตอร์ ที่ถกู ออกแบบให้ ใช้ งาน แบบรวมศูนย์ (Centralized Computing) เช่น เมนเฟรม มินิคอมพิวเตอร์ เป็ นต้ น ซึง่ คอมพิวเตอร์ จะถูกสร้ าง และเก็บไว้ ในห้ อง ๆ หนึง่ เนื่องมาจากสมัยนัน้ เป็ นคอมพิวเตอร์ ที่มีราคาแพงมาก ผู้ใช้ แต่ละคนจะใช้ จอภาพ (Dump Terminal) เพื่อเชื่อมต่อเข้ ากับเครื่ องเมนเฟรม


รู ปเมนเฟรมและดัมพ์เทอร์ มินอล


พืน้ ฐานเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ (ต่ อ) หลังจากนันก็ ้ ได้ มีการคิดค้ นคอมพิวเตอร์ ที่มีขนาดเล็ก หรื อเรี ยกว่าไมโคร คอมพิวเตอร์ (Microcomputer) ซึง่ ได้ มีการใช้ กนั อย่างแพร่หลายในปั จจุบนั เนื่องจากราคาถูกกว่าเดิมและยังมี ประสิทธิภาพไม่น้อยไปกว่าเครื่ องเมนเฟรมด้ วย ถ้ าเครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่ทำางานเดี่ยวๆ(Stand-alone) ก็จะเป็ นเหมือนกับการที่คน ๆ หนึง่ ทำางานเพียงคนเดียว เป็ นที่ทราบกันดีวา่ การทำางานเพียงคนเดียวนันจะได้ ้ ผลลัพธ์ไม่ดีเท่า ที่ควรนัก การทำางานของมนุษย์นนจำ ั ้ าเป็ นที่จะต้ องทำางานกันเป็ นก ลุม่ หรื อทีมถึงจะมีประสิทธิภาพได้ คอมพิวเตอร์ ก็เช่นกัน ควรจะทำางานเป็ นกลุม่ หรื อ ทีม ซึง่ การทำางานเป็ นกลุม่ หรื อทีมของคอมพิวเตอร์ นี ้จะเรี ยกว่า “ เครื อ ข่าย (Network) ”


ความหมายเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) คือระบบที่มี คอมพิวเตอร์ อย่างน้ อยสองเครื่ องเชื่อมต่อกันโดยใช้ สอื่ กลาง และก็สื่อสารข้ อมูล กันได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ซึง่ ทำาให้ ผ้ ใู ช้ คอมพิวเตอร์ แต่ละเครื่ องสามารถแลก เปลี่ยนข้ อมูลซึง่ กันและกันได้ นอกจากนี ้ยังสามารถใช้ ทรัพยากร(Resources) ที่ มีอยูใ่ นเครื อข่ายร่วมกันได้ เช่น เครื่ องพิมพ์ ซีดีรอม สแกนเนอร์ ฮาร์ ดดิสก์ เป็ นต้ น แนวคิดในการสร้ างเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ นนั ้ เริ่ มมาจากการที่ผ้ ใู ช้ ต้องการที่จะ แลกเปลี่ยนข้ อมูลกันอย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว คอมพิวเตอร์ เดี่ยวๆ เป็ น อุปกรณ์ที่มีความสามารถในการประมวลผลข้ อมูลในปริ มาณมากอย่างรวดเร็วอยู่ แล้ ว แต่ข้อเสียคือ ผู้ใช้ ไม่สามารถแชร์ ข้อมูลนันกั ้ บคนอื่นอย่างมีประสิทธิภาพได้ ก่อนที่จะมีเครื อข่ายคอมพิวเตอร์


องค์ ประกอบพืน้ ฐานของเครือข่ าย การที่คอมพิวเตอร์ จะเชื่อมต่อกันเป็ นเครื อข่ายได้ ต้ องมีองค์ประกอบพื ้นฐานดังต่อไปนี ้

- คอมพิวเตอร์ อย่างน้ อย 2 เครื่ อง - เน็ตเวิร์ดการ์ ด หรื อ NIC ( Network Interface Card) เป็ นการ์ ดที่ เสียบเข้ ากับช่องที่ เมนบอร์ ดของคอมพิวเตอร์ ซึง่ เป็ นจุดเชื่อมต่อระหว่าง คอมพิวเตอร์ และเครื อข่าย - สือ่ กลางและอุปกรณ์สำาหรับการรับส่งข้ อมูล เช่น สายสัญญาณ ส่วนสาย สัญญาณที่นิยมที่ใช้ กนั ในเครื อข่ายก็เช่น สายโคแอ็กเชียล สายคูเ่ กลียว บิด และสายใยแก้ วนำาแสง เป็ นต้ น ส่วนอุปกรณ์ เครื อข่าย เช่น ฮับ สวิตช์ เราท์เตอร์ เกตเวย์ เป็ นต้ น


องค์ ประกอบพืน้ ฐานของเครือข่ าย(ต่ อ) - โปรโตคอล ( Protocol) โปรโตคอลเป็ นภาษาที่คอมพิวเตอร์ ใช้ ตดิ ต่อสื่อสารกัน ผ่านเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ที่สามารถสือ่ สารกันได้ นนจำ ั ้ าเป็ นที่ต้องใช้ “ภาษา” หรื อ ใช้ โปรโตคอลเดียวกันเช่น OSI, TCP/IP, IPX/SPX เป็ นต้ น - ระบบปฏิบตั กิ ารเครื อข่าย หรื อ NOS (Network Operating System)ระบบ ปฏิบตั ิการเครื อข่ายจะเป็ นตัวคอยจัดการเกี่ยวกับการใช้ งานเครื อข่ายของผู้ใช้ แต่ละคน


เน็ตเวิร์คการ์ ด เน็ตเวิร์คการ์ ด เน็ตเวิร์คการ์ ดจะเป็ นจุดเชื่อมต่อระหว่าง คอมพิวเตอร์ และระบบเครื อข่าย ส่วนใหญ่จะเรี ยกว่า “NIC (Network Interface Card)”หรื อบางทีก็เรี ยกว่า “LAN การ์ ด (LAN Card)” อุปกรณ์เหล่านี ้จะทำาการแปลงข้ อมูลเป็ นสัญญาณที่สามารถส่ง ไปตามสายสัญญาณหรือสือ่ แบบอื่นได้ ปั จจุบนั นี ้ก็ได้ มีการแบ่งการ์ ด ออกเป็ นหลายประเภท ซึง่ จะถูกออกแบบให้ สามารถใช้ ได้ กบั เครื อข่าย ประเภทแบบต่าง ๆ เช่น อีเธอร์ เน็ตการ์ ด โทเคนริงการ์ ด เป็ นต้ น การ์ ด ในแต่ละประเภทอาจใช้ กบั สายสัญญาณบางชนิดเท่านัน้ หรื ออาจจะ ใช้ ได้ กบั สายสัญญาณหลายชนิด


รู ปเน็ตเวิร์คการ์ ด

เน็ตเวิร์คการ์ ดจะติดตังอยู ้ ก่ บั คอมพิวเตอร์ โดยเต้ าเสียบเข้ ากับช่องบน เมนบอร์ ดของคอมพิวเตอร์ ส่วนมากคอมพิวเตอร์ ที่ผลิตในปั จจุบนั จะมีเฉพาะ ช่อง PCI ซึง่ ก็ใช้ บสั ที่มีขนาด 32 บิต อย่างไรก็ตาม ยังมีคอมพิวเตอร์ รุ่นเก่าที่ยงั มี ช่องแบบ ISA อยู่ ซึง่ มีบสั ขนาด 16บิต และมีการ์ ดที่เป็ นแบบ ISA จะประมวล ผล ข้ อมูลช้ ากว่าแบบ PCI


สายสั ญญาณ สายสัญญาณ ปั จจุบนั มีสายสัญญาณที่ใช้ เป็ นมาตรฐานในระบบ เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ แบ่งเป็ น 3 ประเภท 1 สายคูบ่ ิดเกลียว สายคูบ่ ิดเกลียว ( twisted pair ) ในแต่ละคูข่ อง สายทองแดงซึง่ จะถูกพันกันตามมาตรฐาน เพื่อต้ องการลดการรบกวน จากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ากับคูส่ ายข้ างเคียงได้ แล้ วผ่านไปยังสายเคเบิล เดียวกัน หรื อจากภายนอกเท่านัน้ เนื่องจากสายคูบ่ ิดเกลียวนันมี ้ ราคา ไม่แพงมากใช้ สง่ ข้ อมูลได้ ดี แล้ วน้ำ าหนักเบา ง่ายต่อการติดตัง้ จึงทำาให้ ถูกใช้ งานอย่างกว้ างขวางตัวอย่างคือสายโทรศัพท์สายแบบนี ้มี 2 ชนิด คือ 1.1 สายคูบ ่ ิดเกลียวชนิดหุ้มฉนวน 1.2 สายคูเ่ กลียวชนิดไม่ห้ มุ ฉนวน


สายสั ญญาณ(ต่ อ) 1.1 สายคูบ่ ิดเกลียวชนิดหุ้มฉนวน (Shielded Twisted Pair : STP) เป็ นสายคูบ ่ ิดเกลียวที่ห้ มุ ด้ วยฉนวนชันนอกที ้ ่หนาอีกชันดั ้ ง รูป เพื่อป้องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า


สายสั ญญาณ(ต่ อ) 1.2 สายคูเ่ กลียวชนิดไม่ห้ มุ ฉนวน

(Unshielded Twisted Pair :

UTP) เป็ นสายคูบ ่ ิดเกลียวที่ห้ มุ ด้ วยฉนวนชันนอกด้ ้ วยซึง่ บางทีก็ห้ มุ

อีกชันดั ้ งรูป ซึง่ ทำาให้ สะดวกในการโค้ งงอ แต่ก็สามารถป้องกันการ รบกวนของคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าได้ น้อยกว่าชนิดแรก


สายสั ญญาณ(ต่ อ) 1.3 สายโคแอกเชียล สายโคแอกเชียล เป็ นตัวกลางการเชื่อมโยงที่มี ลักษณะเช่นเดียวกับสายทีวีที่มีการใช้ งานกันอยู่เป็ นจำานวนมากไม่วา่ จะใช้ ในระบบเครื อข่ายเฉพาะที่ และใช้ ในการส่งข้ อมูลระยะที่ไกล ระหว่างชุมสายโทรศัพท์หรื อการส่งข้ อมูลสัญญาณวีดีทศั น์ ซึง่ สายโค แอกเชียลที่ใช้ ทวั่ ไปก็มีอยู่ 2 ชนิด คือ 50 โอห์ม ซึง่ ใช้ สง่ ข้ อมูลแบ บดิจิทอล และชนิด 75โอห์ม ซึง่ ก็จะใช้ สง่ ข้ อมูลสัญญาณ อนาล็อก สายโคแอกเชียลมีฉนวนหุ้มเพื่อป้องกันการรบกวนของคลื่น สัญญาณแม่เหล็กไฟฟ้า และก็เพื่อป้องกันสัญญาณรบกวนอื่น ๆ ซึง่ ก็ เป็ นส่วนหนึง่ ที่ทำาให้ สายแบบนี ้มีช่วงความถี่ที่สญ ั ญาณไฟฟ้าสามารถ ส่งผ่านได้ กว้ างถึง 500 Mhz จึงสามารถส่งข้ อมูลด้ วยอัตราของการส่ง สูงขึ ้น


ลักษณะของสายโคแอกเชียล


สายสั ญญาณ(ต่ อ) 1.4 เส้ นใยแก้ วนำาแสง เส้ นใยนำาแสง ( fiber optic ) เป็ นการที่ใช้ ให้ แสงเคลื่อนที่ไปในท่อแก้ ว ซึง่ สามารถส่งข้ อมูลด้ วยเป็ นอัตราความ หนาแน่นของสัญญาณข้ อมูลที่สงู มาก ที่ปัจจุบนั ถ้ าใช้ เส้ นใยนำาแสง กับระบบอีเธอร์ เน็ตก็ใช้ ได้ ด้วยความเร็ว 10 เมกะบิต ถ้ าใช้ กบั FDDI ก็จะใช้ ได้ ด้วยความเร็ วสูงถึง100 เมกะบิต


อุปกรณ์ เครือข่ าย อุปกรณ์ที่นำามาใช้ ในเครื อข่ายทำาหน้ าที่จดั การเกี่ยวกับการรับ - ส่ง ข้ อมูลในเครื อข่าย หรื อใช้ สำาหรับทวนสัญญาณเพื่อให้ การรับ-ส่ง ข้ อมูลได้ ดี และส่งในระยะที่ไกลมากขึ ้น หรื อใช้ สำาหรับขยายเครื อข่าย ให้ มีขนาดใหญ่ขึ ้น อุปกรณ์เครื อข่ายที่พบเห็นโดยทัว่ ไป เช่น ฮับ สวิตซ์ เราท์เตอร์ ฮับ (Hub) คืออุปกรณ์ที่ใช้ เชื่อมกันระหว่างกลุม่ ของ คอมพิวเตอร์ ฮับมีหน้ าที่รับส่งเฟรมข้ อมูลทุกเฟรมที่ได้ รับจากพอร์ ตใด พอร์ ตหนึง่ เพื่อส่งไปยังทุก ๆ พอร์ ตที่เหลือ คอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่อเข้ า กับฮับจะแชร์ แบนด์วิธหรื ออัตราข้ อมูลของเครื อข่าย


รูปภาพฮับ (HUB)


อุปกรณ์ เครือข่ าย(ต่ อ) สวิตซ์ (Switch) หรื อ บริดจ์ (Bridge) เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้ สำาหรับเชื่อมต่อ LAN สองเครื อข่ายเข้ าด้ วยกัน โดยจะต้ อง เป็ น LAN ชนิดเดียวกัน และก็ใช้ โปรโตคอลในการรับส่งข้ อมูลเหมือน กัน เช่น ใช้ ในการเชื่อมต่อ Ethernet LAN ทังสองเครื ้ อข่ายเข้ าด้ วย กัน


อุปกรณ์ เครือข่ าย(ต่ อ) เราท์เตอร์ ( Routing )เป็ นอุปกรณ์ที่ทำาหน้ าที่เชื่อมต่อในระบบ เครื อข่ายกับหลายระบบเข้ าด้ วยกันที่คล้ ายกับบริดจ์ แต่ก็มีสว่ นการ ทำางานจะซับซ้ อนมากกว่าบริดจ์มาก โดยเราท์เตอร์ ก็มีเส้ นทางการ เชื่อมโยงข้ อมูลระหว่างแต่ละเครื อข่ายเก็บไว้ เป็ นตารางเส้ นทาง เรี ยก ว่า Routing Table ทำาให้ เราท์เตอร์ สามารถทำาหน้ าที่จดั หาเส้ นทาง และเลือกเส้ นทางเหมาะสมที่สดุ เพื่อใช้ ในการเดินทาง และเพื่อการ ติดต่อระหว่างเครื อข่ายได้ อย่างมีประสิทธิภาพ


อุปกรณ์ เครือข่ าย(ต่ อ)

โปรโตคอล (Protocol) ในการเชื่อมโยงของเครื อข่ายเครื่ อง คอมพิวเตอร์ ในแต่ละเครื่ องอาจก็ต้องมีระบบที่เหมือนกัน หรื อแตกต่าง กัน เช่นในการใช้ งานในเครื อข่ายจึงต้ องเป็ นมาตรฐานหรื อระเบียบที่ใช้ ในการติดต่อให้ แต่ละเครื่ องมีวิธีการสือ่ สารที่เป็ นไปตามแนวทาง เดียวกันได้ เพื่อให้ เป็ นการเชื่อมโยงข้ อมูล และในการติดต่อสื่อสารของ เครื่ องคอมพิวเตอร์ ในแต่ละเครื่ องต้ องมีความเข้ าใจถูกต้ องตรงกันและ สามารถทำางานร่วมกันได้ เป็ นอย่างดี ไม่เกิดความเสียหายนันเกิ ้ ดขึ ้น จึงมีการกำาหนดวิธีการมาตรฐานขึ ้นเรี ยกว่า โปรโตคอล ดังนันอาจกล่ ้ าว ได้ วา่ โปรโตคอล หมายถึง กฎเกณฑ์ ข้ อตกลง ภาษาสื่อสาร รูปแบบ วิธีการเชื่อมต่อของเครื่ องคอมพิวเตอร์ ในเครื อข่าย (ระบบใดๆ ก็ตาม)ให้ สามารถติดต่อสื่อสารมีการใช้ งานร่วมกันได้ หลากหลาย


รู ปโปรโตคอล (Protocol)


ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ ได้ กลายเป็ นส่ วนหนึ่งขององค์ กร สถาบันการศึกษาและบ้ านไปแล้ วการใช้ ทรัพยากรร่วมกันได้ ทงั ้ ไฟล์ เครื่ องพิมพ์ ต้ องใช้ ระบบเครื อข่ายเป็ นพื ้นฐาน ระบบเครื อข่ายจะ หมายถึง การนำาคอมพิวเตอร์ ตงแต่ ั ้ 2 เครื่ องขึ ้นไปมาเชื่อมต่อกันเพื่อจะ ทำาการแชร์ ข้อมูล และทรัพยากรร่วมกัน เช่น ไฟล์ข้อมูลและเครื่ องพิมพ์ ระบบเครื อข่ายสามารถแบ่งออกเป็ น 3 ประเภท ด้ วยกันคือ 1. LAN (Local Area Network)ระบบเครื่ องข่ายท้ องถิ่น 2. MAN (Metropolitan Area Network)ระบบเครื อข่าย เมือง 3. WAN (Wide Area Network)ระบบเครื อข่ายกว้ างไกล


ประเภทของระบบเครือข่ าย

Peer To Peer เป็ นระบบที่เครื่ องคอมพิวเตอร์ ทกุ เครื่ องบนระบบเครื อข่ายมีฐานเท่าเทียมกัน คือทุกเครื่ องสามารถจะใช้ ไฟล์ในเครื่ องอื่นได้ และสามารถให้ เครื่ องอื่นมาใช้ ไฟล์ของตนเองได้ เช่น กัน ระบบ Peer To Peer มีการทำางานแบบดิสทริ บิวท์(Distributed System) โดยจะกระจายทรัพยากรต่างๆ ไปสู่ เวิร์กสเตชัน่ อื่นๆ แต่จะมีปัญหาเรื่องการรักษาความปลอดภัย เนื่องจาก ข้ อมูลที่เป้นความลับจะถูกส่งออกไปสูค่ อมพิวเตอร์ อื่นเช่นกันโปรแกรมที่ ทำางานแบบ Peer To Peer คือ Windows for Workgroup และ Personal Netware


รู ปภาพของระบบPeer To Peer


ประเภทของระบบเครือข่ าย(ต่ อ) Client / Serverเป็ นระบบการทำางานแบบ Distributed Processing หรื อการประมวลผลแบบกระจาย โดยจะแบ่งการ ประมวลผลระหว่างเครื่ องเซิร์ฟเวอร์ กบั เครื่ องไคลเอ็นต์ แทนที่แอพพลิ เคชัน่ จะทำางานอย เฉพาะบนเครื่ องเซิร์ฟเวอร์ ก็แบ่งการคำานวณของโปร แกรมแอพพลิเคชัน่ มาทำางานบนเครื่ องไคลเอ็นต์ด้วย และเมื่อใดที่ เครื่ องไคลเอ็นต์ต้องการผลลัพธ์ของข้ อมูลบางส่วน จะมีการเรี ยกใช้ ไป ยัง เครื่ องเซิร์ฟเวอร์ ให้ นำาเฉพาะข้ อมูลบางส่วนเท่านันส่ ้ งกลับ มาให้ เครื่ องไคลเอ็นต์เพื่อทำาการคำานวณข้ อมูลนันต่ ้ อไป


รู ปภาพของระบบClient / Server


รู ปแบบการเชื่อมต่ อของระบบเครือข่ าย LAN Topology ระบบ Bus การเชื่อมต่อแบบบัสจะมีสายหลัก 1 เส้ น เครื่ อง คอมพิวเตอร์ ทงเซิ ั ้ ร์ฟเวอร์ และไคลเอ็นต์ทกุ เครื่ องจะต้ องเชื่อมต่อสาย เคเบิ ้ลหลักเส้ นนี ้ โดยเครื่ องคอมพิวเตอร์ จะถูกมองเป็ น Node เมื่อ เครื่ องไคลเอ็นต์เครื่ องที่หนึง่ (Node A) ต้ องการส่งข้ อมูลให้ กบั เครื่ องที่สอง (Node C) จะต้ องส่งข้ อมูล และแอดเดรสของ Node C ลงไปบนบัสสายเคเบิ ้ลนี ้ เมื่อเครื่ องที่ Node C ได้ รับข้ อมูลแล้ วจะ นำาข้ อมูล ไปทำางานต่อทันที


รู ปภาพของระบบ Bus


รู ปแบบการเชื่อมต่ อของระบบเครือข่ าย LAN Topology(ต่ อ) แบบ Ring การเชื่อมต่อแบบวงแหวน เป็ นการเชื่อมต่อจากเครื่ อง หนึง่ ไปยังอีกเครื่ องหนึง่ จนครบวงจร ในการส่งข้ อมูลจะส่งออกที่สาย สัญญาณวงแหวน โดยจะเป็ นการส่งผ่านจากเครื่ องหนึง่ ไปสูเ่ ครื่ องหนึง่ จนกว่าจะถึงเครื่ องปลายทาง ปั ญหาของโครงสร้ างแบบนี ้คือ ถ้ าหากมี สายขาดในส่วนใดจะทำา ให้ ไม่สามารถส่งข้ อมูลได้ ระบบ Ring มีการ ใช้ งานบนเครื่ องตระกูล IBM กันมาก เป็ นเครื่องข่าย Token Ring ซึง่ จะใช้ รับส่งข้ อมูลระหว่างเครื่ องมินิหรื อเมนเฟรมของ IBM กับ เครื่ องลูกข่ายบนระบบ


รูปภาพของระบบ Ring


รู ปแบบการเชื่อมต่ อของระบบเครือข่ าย LAN Topology(ต่ อ) แบบ Star การเชื่อมต่อแบบสตาร์ นี ้จะใช้ อปุ กรณ์ Hub เป็ น ศูนย์กลางในการเชื่อมต่อ โดยที่ทกุ เครื่ องจะต้ องผ่าน Hub สายเคเบิ ้ล ที่ใช้ สว่ นมากจะเป้น UTP และ Fiber Optic ในการส่งข้ อมูล Hub จะเป็ นเสมือนตัวทวนสัญญาณ (Repeater) ปั จจุบนั มีการ ใช้ Switch เป็ นอุปกรณ์ในการเชื่อมต่อซึง่ มีประสิทธิภาพการทำางาน สูงกว่า


รูปภาพของระบบ Star


รู ปแบบการเชื่อมต่ อของระบบเครือข่ าย LAN Topology(ต่ อ) แบบ Hybrid เป็ นการเชื่อมต่อที่ผสนผสานเครื อข่ายย่อยๆ หลายส่วนมารวมเข้ าด้ วยกัน เช่น นำาเอาเครื อข่ายระบบ Bus, ระบบ Ring และ ระบบ Star มาเชื่อมต่อเข้ าด้ วยกัน เหมาะสำาหรับบาง หน่วยงานที่มีเครื อข่ายเก่าและใหม่ให้ สามารถทำางานร่วมกันได้ ซึง่ ระบบ Hybrid Network นี ้จะมีโครงสร้ างแบบ Hierarchical หรื อ Tre ที่มีลำาดับชันในการทำ ้ างาน


รู ปภาพของระบบ Hybrid


เครือข่ ายแบบไร้ สาย ( Wireless LAN) เครื อข่ายแบบไร้ สาย ( Wireless LAN) อีกเครื อข่ายที่ใช้ เป็ นระบบ แลน (LAN) ที่ไม่ได้ ใช้ สายเคเบิลในการเชื่อมต่อ นัน่ คือระบบเครื อข่ายแบบไร้ สาย ทำางานโดยอาศัยคลื่นวิทยุ ในการรับส่งข้ อมูล ซึง่ มีประโยชน์ในเรื่ องของการ ไม่ต้องใช้ สายเคเบิล เหมาะกับการใช้ งานที่ไม่สะดวกในการใช้ สายเคเบิล โดยไม่ ต้ องเจาะผนังหรือเพดานเพื่อวางสาย เพราะคลื่นวิทยุมีคณ ุ สมบัตใิ นการทะลุ ทะลวงสิง่ กีดขวางอย่าง กำาแพง หรื อพนังห้ องได้ ดี แต่ก็ต้องอยูใ่ นระยะทำาการ หาก เคลื่อนย้ ายคอมพิวเตอร์ ไปไกลจากรัศมีก็จะขาดการติดต่อได้ การใช้ เครื อข่ายแบบ ไร้ สายนี ้ สามารถใช้ ได้ กบั คอมพิวเตอร์ พีซี และโน๊ ตบุ๊ก และต้ องใช้ การ์ ดแลนแบบ ไร้ สายมาติดตัง้ รวมถึงอุปกรณ์ที่เรี ยกว่า Access Point ซึง่ เป็ นอุปกรณ์จ่าย สัญญาณสำาหรับระบบเครื อข่ายไร้ สาย มีหน้ าที่รับส่งข้ อมูลกับการ์ ดแลนแบบไร้ สาย


อ้างอิง เรื่ องระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ เบิ ้องต้ น.(ออนไลน์).แหล่ง

ที่มา:http://5332011101.blogspot.com/2012/02/teamworkcentralized-computing-dump.html

วันที่สืบค้ นข้ อมูล 20 สิงหาคม 2556. เรื่ องระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ .(ออนไลน์).แหล่งที่มา: http://www.bcoms.net/network/intro.asp

วันที่สืบค้ นข้ อมูล 22 สิงหาคม 2556 เรื่ องระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ .(ออนไลน์).แหล่ง ที่มา:http://media.rajsima.ac.th/sujittra/unit1_p3.html วันที่สืบค้ นข้ อมูล 22 สิงหาคม 2556


จัดทำาโดย 1. 2. 3. 4. 5.

นางสาวอริ สา ศรี ไลรัมย์ รหัสนักศึกษา 564101010 นางสาวสกุลกานต์ ดวงแก้ ว รหัสนักศึกษา 564101034 นางสาววิราวรรณ หาญประชุม รหัสนักศึกษา 564101038 นางสาววชิรญาณ์ เคลือบสำาริต รหัสนักศึกษา 564101057 นาย สิทธิโชค ชูชมชื่น รหัสนักศึกษา 564101063 สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.