1
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ความหมายของระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ( Computer Network ) หมายถึง การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ ต้ งั แต่ 2 เครื่ องขึ้นไปเข้าด้วยกันด้วยสายเคเบิล หรื อสื่ ออื่นๆ ทำาให้คอมพิวเตอร์ สามารถรับส่ งข้อมูลแก่กนั และกันได้ ในกรณี ที่เป็ นการเชื่อมต่อระหว่างเครื่ องคอมพิวเตอร์ หลายๆ เครื่ องเข้ากับเครื่ องคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ที่ เป็ นศูนย์กลาง เราเรี ยกคอมพิวเตอร์ที่เป็ นศูนย์กลางนี้ วา่ โฮสต์ (Host) และเรี ยกคอมพิวเตอร์ ขนาดเล็กที่เข้า มาเชื่อมต่อว่า ไคลเอนต์ (Client)ระบบเครื อข่าย (Network) จะเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ เข้าด้วยกันเพื่อการ ติดต่อสื่ อสาร เราสามารถส่งข้อมูลภายในอาคาร หรื อข้ามระหว่างเมืองไปจนถึงอีกซีกหนึ่งของโลก ซึ่ง ข้อมูลต่างๆ อาจเป็ นทั้งข้อความ รู ปภาพ เสี ยง ก่อให้เกิดความสะดวก รวดเร็ วแก่ผใู ้ ช้ ซึ่งความสามารถเหล่านี้ ทำาให้เครื อข่ายคอมพิวเตอร์มีความสำาคัญ และจำาเป็ นต่อการใช้งานในแวดวงต่างๆ แล้วทำาไมเราถึงต้องใช้เครื อข่าย หรื อระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่าย การที่เรานำาเอาเครื่ องคอมพิวเตอร์ มาเชื่อม ต่อกัน เราจะสามารถใช้ประโยชน์จากระบบ หรื อระบบสามารถทำาอะไรได้บา้ ง ทำาให้ใช้ทรัพยากร ของ เครื่ องคอมพิวเตอร์ ร่ วมกันได้ (Resources Sharing) ซึ่งเป็ นการช่วย ประหยัดค่าใช้จ่าย และเพิ่มความสะดวก ในการใช้งาน เช่น การใช้พ้ืนที่บนฮาร์ดดิสก์ และเครื่ องพิมพ์ร่วมกันสามารถบริ หารจัดการการทำางานของ คอมพิวเตอร์ ทุกเครื่ อง ได้จากศูนย์กลาง (Centralized Management) เช่น สร้างเวิร์กกรุ ป กำาหนดสิ ทธิ์ ในการ เข้าถึงข้อมูล และสามารถทำาการ สำารองข้อมูล ของแต่ละเครื่ องได้ สามารถทำาการสื่ อสาร ภายในเครื อข่าย (Communication) ได้หลายรู ปแบบ เช่น อีเมล์, แชท (Chat), การประชุมทางไกล (Teleconference), และ การ ประชุมทางไกล แบบเห็นภาพ (Video Conference)มีระบบรักษาความปลอดภัย ของข้อมูล บนเครื อข่าย (Network Security) เช่นสามารถ ระบุผทู้ ี่มีสิทธิ์ เข้าถึงข้อมูล ในระดับต่างๆ ป้ องกันผูท้ ี่ไม่ได้รับอนุญาติ เข้า ถึงข้อมูล และให้การคุม้ ครอง ข้อมูลที่สาำ คัญ ให้ความบันเทิงไม่รู้จบ (Entertainment) เช่น สามารถสนุกกับ การเล่นเกมส์ แบบผูเ้ ล่นหลายคน หรื อที่เรี ยกว่า มัลติ เพลเยอร์ (Multi Player) ที่กาำ ลัง เป็ นที่นิยมกันอยูใ่ น เวลานี้ได้ ใช้งานอินเทอร์เน็ตร่ วมกัน (Internet Sharing) เพียงต่อเข้าอินเทอร์ เน็ต จากเครื่ องหนึ่งในเครื อข่าย โดยมีแอค เคาท์เพียงหนึ่งแอคเคาท์ ก็ทาำ ให้ผใู้ ช้อีกหลายคน ในเครื อข่ายเดียวกัน สามารถใช้งานอินเทอร์ เน็ตได้ เสมือน กับมีหลายแอคเคาท์ ฯลฯ
2
ระบบเครือข่ ายชนิดต่ างๆ ระบบเครื อข่าย สามารถเรี ยกได้ หลายวิธี เช่นตามรู ปแบบ การเชื่อมต่อ (Topology) เช่น แบบบัส (bus), แบบ ดาว (star), แบบวงแหวน (ring) หรื อจะเรึ ยกตามขนาด หรื อระยะทางของระบบก็ได้ เช่นแลน (LAN), แวน (WAN), แมน (MAN) นอกจากนี้ ระบบเครื อข่าย ยังสามารถ เรี ยกได้ตาม เทคโนโลยีที่ไช้ ในการส่ งผ่าน ข้อมูล เช่น เครื อข่าย TCP/IP, เครื อข่าย IPX, เครื อข่าย SNA หรื อเรี ยกตาม ชนิดของข้อมูล ที่มีการส่ งผ่าน เช่นเครื อข่าย เสี ยงและวิดีโอ เรายังสามารถจำาแนกเครื อข่ายได้ ตามกลุ่มที่ใช้เครื อข่าย เช่น อินเตอร์ เน็ต (Internet), เอ็กซ์ตร้าเน็ต (Extranet), อินทราเน็ต (Intranet), เครื อข่ายเสมือน (Virtual Private Network) หรื อ เรี ยก ตามวิธีการ เชื่อมต่อทางกายภาพ เช่นเครื อข่าย เส้นใยนำาแสง, เครื อข่ายสายโทรศัพท์, เครื อข่ายไร้สาย เป็ นต้น จะเห็นได้วา่ เราสามารถจำาแนก ระบบเครื อข่าย ได้หลากหลายวิธี ตามแต่วา่ เราจะพูดถึง เครื อข่าย นั้นในแง่มุมใด เราจำาแนก ระบบเครื อข่าย ตามวิธีที่นิยมกัน 3 วิธีคือ รู ปแบบการเชื่อมต่อ (Topology), รู ป แบบการสื่ อสาร (Protocol), และ สถาปัตยกรรมเครื อข่าย (Architecture) การจำาแนกระบบเครือข่าย ตามรู ปแบบการเชื่อมต่ อ (Topology) จะบอกถึงรู ปแบบ ที่ทำาการ เชื่อมต่ อ อุปกรณ์ ในเครือข่ายเข้ าด้ วยกัน ซึ่งมีรูปแบบทีน่ ิยมกัน 3 วิธีคอื
แบบบัส (bus)
ในระบบเครื อข่าย โทโปโลยีแบบ BUS นับว่าเป็ นแบบโทโปโลยีที่ได้รับความนิยมใช้กนั มากที่สุดมา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบนั เหตุผลอย่างหนึ่งก็คือสามารถติดตั้งระบบ ดูแลรักษา และติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมได้ ง่าย ไม่ตอ้ งใช้เทคนิคที่ยงุ่ ยากซับซ้อน ลักษณะการทำางานของเครื อข่ายโทโปโลยีแบบ BUS คืออุปกรณ์ทุก ชิ้นหรื อโหนดทุกโหนด ในเครื อข่ายจะต้องเชื่อมโยงเข้ากับสายสื่ อสารหลัก ที่เรี ยกว่า "บัส" (BUS) เมื่อ โหนดหนึ่งต้องการจะส่งข้อมูลไปให้ยงั อีกโหนด หนึ่งภายในเครื อข่าย ข้อมูลจากโหนดผูส้ ่ ง จะถูกส่ งเข้าสู่
3
สายบัส ในรู ปของแพ็กเกจ ซึ่งแต่ละแพ็กเกจจะประกอบด้วยตำาแหน่งของ ผูส้ ่ งและผูร้ ับ และข้อมูล การ สื่ อสารภายในสายบัส จะเป็ นแบบ 2 ทิศทางแยกไปยังปลายทั้ง 2 ด้านของบัส โดยตรงปลายทั้ง 2 ด้านของ บัสจะมีเทอร์ มิเนเตอร์ (Terminator) ทำาหน้าที่ดูดกลืนสัญญาณ เพื่อป้ องกันไม่ให้สญ ั ญาณข้อมูลนั้นสะท้อน กลับ เข้ามายังบัสอีก เป็ นการป้ องกันการชนกันของสัญญาณ ข้อมูลอื่น ๆ ที่เดินทางอยูบ่ นบัส สัญญาณข้อมูล จากโหนดผูส้ ่ ง เมื่อเข้าสู่บสั จะไหลผ่านไปยังปลายทั้ง 2 ข้างของบัส แต่ละโหนดที่เชื่อมต่อเข้ากับบัส จะคอย ตรวจดูวา่ ตำาแหน่งปลายทาง ที่มากับแพ็กเกจข้อมูลนั้น ตรงกับตำาแหน่งของตนหรื อไม่ ถ้าใช่กจ็ ะรับข้อมูล นั้นเข้ามาสู่โหนดตน แต่ถา้ ไม่ใช่ ก็จะปล่อยให้สญ ั ญาณข้อมูลนั้นผ่านไป จะเห็นว่าทุก ๆ โหนดภายในเครื อ ข่ายแบบ BUS นั้นสามารถรับรู้สญ ั ญาณข้อมูลได้ แต่จะมีเพียงโหนดปลายทางเพียงโหนดเดียวเท่านั้น ที่จะ รับข้อมูลนั้นไปได้ การควบคุมการสื่อสารภายในเครือข่ายแบบ BUS มี 2 แบบคือ แบบควบคุมด้ วยศูนย์ กลาง (Centralized) ซึ่งจะมีโหนดหนึ่ง ที่ทาำ หน้าที่เป็ นศูนย์กลางควบคุมการสื่ อสารภายในเครื อข่าย ซึ่งส่ วนใหญ่จะเป็ นไฟล์ เซิร์ฟเวอร์ การควบคุมแบบกระจาย (Distributed) ทุก ๆ โหนดภายในเครื อข่าย จะมีสิทธิ ในการควบคุมการ สื่ อสาร แทนที่จะ เป็ นศูนย์กลางควบคุมเพียงโหนดเดียว ซึ่งโดยทัว่ ไปคู่โหนดที่กาำ ลังทำาการส่ ง-รับ ข้อมูลกัน อย ู่จะเป็ นผูค้ วบคุมการสื่ อสารในเวลานั้นข้อดีขอ้ เสี ยของโทโปโลยีแบบบัส ข้ อดี ไม่ตอ้ งเสี ยค่าใช้จ่ายในการวางสายเคเบิลมากนัก สามารถขยายระบบได้ง่าย เสี ยค่าใช้จ่ายน้อย ข้ อเสี ย อาจเกิดข้อผิดพลาดง่าย เนื่องจากทุกเครื่ องคอมพิวเตอร์ ต่อยูบ่ นสายสัญญาณเพียงเส้นเดียว ดังนั้นหากมี การขาดที่ตาำ แหน่งใดตำาแหน่งหนึ่ง ก็จะทำาให้เครื่ องอื่นส่ วนใหญ่หรื อทั้งหมดในระบบไม่สามารถใช้งานได้ ตามไปด้วย การตรวจหาโหนดเสี ย ทำาได้ยากเนื่องจากขณะใดขณะหนึ่งจะมีคอมพิวเตอร์ เพียงเครื่ องเดียวเท่านั้นที่ สามารถส่ งข้อความออกมาบนสายสัญญาณ ดังนั้นถ้ามีเครื่ องคอมพิวเตอร์ จาำ นวนมากๆ อาจทำาให้เกิดการ คับคัง่ ของเน็ตเวิร์ก ซึ่งจะทำาให้ระบบช้าลงได้
4
แบบดาว (star)
เป็ นหลักการส่งและรับข้อมูล เหมือนกับระบบโทรศัพท์ การควบคุมจะทำาโดยสถานีศนู ย์กลาง ทำา หน้าที่เป็ นตัวสวิตชิ่ง ข้อมูลทั้งหมดในระบบเครื อข่าย จะต้องผ่านเครื่ องคอมพิวเตอร์ ศนู ย์กลาง (Center Comtuper) เป็ นการเชื่อมโยงการติดต่อสื่ อสาร ที่มีลกั ษณะคล้ายกับรู ปดาว (STAR) หลายแฉก โดยมี ศูนย์กลางของดาว หรื อฮับ เป็ นจุดผ่านการติดต่อกันระหว่างทุกโหนดในเครื อข่าย ศูนย์กลาง จึงมีหน้าที่เป็ น ศูนย์ควบคุมเส้นทางการสื่ อสารทั้งหมด นอกจากนี้ศนู ย์กลางยังทำาหน้าที่ เป็ นศูนย์กลางข้อมูลอีกด้วย การสื่ อสารภายในเครื อข่ายแบบ STAR จะเป็ นแบบ 2 ทิศทาง โดยจะอนุญาตให้มีเพียงโหนดเดียวเท่านั้น ที่ สามารถส่ งข้อมูลเข้าสู่เครื อข่ายได้ จึงไม่มีโอกาสที่หลายๆ โหนดจะส่ งข้อมูลเข้าสู่เครื อข่ายในเวลาเดียวกัน เพื่อป้ องกันการชนกันของสัญญาณข้อมูล เครื อข่ายแบบ STAR เป็ นโทโปโลยี อีกแบบหนึ่ง ที่เป็ นที่นิยมใช้ กันในปั จจุบนั ข้อดีของเครื อข่ายแบบ STAR คือการติดตั้งเครื อข่ายและการดูแลรักษาทำาได้ง่าย หากมีโหนด ใดเกิดความเสี ยหาย ก็สามารถตรวจสอบได้ง่าย และศูนย์กลางสามารถตัดโหนดนั้นออกจากการสื่ อสาร ใน เครื อข่ายได้ ข้ อดี ติดตั้งและดูแลง่าย แม้วา่ สายที่เชื่อมต่อไปยังบางโหลดจะขาด โหลดที่เหลืออยูก่ ย็ งั จะสามารถทำางานได้ ทำาให้ระบบเน็ตเวิร์กยังคงสามารถทำางานได้เป็ นปกติ
5
การมี Central node อยูต่ รงกลางเป็ นตัวเชื่อมระบบ ถ้าระบบเกิดทำางานบกพร่ องเสี ยหาย ทำาให้เรารู ้ได้ทนั ทีวา่ จะไปแก้ปัญหาที่ใด ข้ อเสี ย เสี ยค่าใช้จ่ายมาก ทั้งในด้านของเครื่ องที่จะใช้เป็ น central node และค่าใช้จ่ายในการติดตั้งสายเคเบิลใน สถานีงาน การขยายระบบให้ใหญ่ข้ ึนทำาได้ยาก เพราะการขยายแต่ละครั้งจะต้องเกี่ยวเนื่องกับโหลดอื่นๆ ทั้งระบบ เครื่ องคอมพิวเตอร์ศนู ย์กลางมีราคาแพง แบบ วงแหวน (Ring Network)
แบบวงแหวน (ring)
เครื อข่ายแบบ RING เป็ นการส่งข่าวสารที่ส่งผ่านไปในเครื อข่าย ข้อมูลข่าวสารจะไหลวนอยูใ่ นเครื อข่าย ไปในทิศทางเดียว เหมือนวงแหวน หรื อ RING นัน่ เอง โดยไม่มีจุดปลาย หรื อเทอร์ มิเนเตอร์ เช่นเดียวกับ เครื อข่ายแบบ BUS ในแต่ละโหนดหรื อสเตชัน่ จะมีรีพีตเตอร์ ประจำาโหนด 1 เครื่ อง ซึ่งจะทำาหน้าที่เพิ่มเติม ข่าวสารที่จาำ เป็ นต่อการสื่ อสาร ในส่วนหัวของแพ็กเกจข้อมูล สำาหรับการส่ งข้อมูลออกจากโหนด และมีหน้า ที่รับแพ็กเกจข้อมูล ที่ไหลผ่านมาจากสายสื่ อสาร เพื่อตรวจสอบว่าเป็ นข้อมูล ที่ส่งมาให้โหนดตนหรื อไม่ ถ้า
6
ใช่กจ็ ะคัดลอกข้อมูลทั้งหมดนั้น ส่งต่อไปให้กบั โหนดของตน แต่ถา้ ไม่ใช่กจ็ ะปล่อยข้อมูลนั้นไปยังรี พีต เตอร์ ของโหนดถัดไป ข้ อดี ใช้เคเบิลและเนื้ อที่ในการติดตั้งน้อย คอมพิวเตอร์ ทุกเครื่ องในเน็ตเวิร์กมีโอกาสที่จะส่ งข้อมูลได้อย่างทัดเทียมกัน ข้ อเสี ย หากโหลดใดโหลดหนึ่งเกิดปัญหาขึ้นจะค้นหาได้ยากว่าต้นเหตุอยูท่ ี่ไหน และวงแหวนจะขาดออก โทโปโลยีแบบผสม (Hybridge Topology)
เป็ นเครื อข่ายการสื่ อสารข้อมูลแบบผสมระหว่างเครื อข่ายแบบใดแบบหนึ่งหรื อมากกว่า เพื่อความถูก ต้องแน่นอน ทั้งนี้ข้ ึนอยูก่ บั ความต้องการและภาพรวมขององค์กร
ป ร ะ เ ภ ท ข อ ง เ ค รื อ ข่ า ย ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์
7
เครื อข่ายสามารถจำาแนกออกได้หลายประเภทแล้วแต่เกณฑ์ที่ใช้ เช่น ขนาด ลักษณะการแลกเปลี่ยนข้อมูล ของคอมพิวเตอร์ เป็ นต้น โดยทัว่ ไปการจำาแนกประเภทของเครื อข่ายมีอยู่ 3 วิธีคือ 1. ใช้ ขนาดทางกายภาพของเครือข่ายเป็ นเกณฑ์ แบ่ งออกได้ เป็ น 3 ประเภทดังนี้ 1.1 LAN (Local Area Network) : ระบบเครื อข่ายระดับท้องถิ่น
เป็ นระบบเครื อข่ายที่ใช้งานอยูใ่ นบริ เวณที่ไม่กว้างนัก อาจใช้อยูภ่ ายในอาคารเดียวกันหรื ออาคารที่อยูใ่ กล้ กัน เช่น ภายในมหาวิทยาลัย อาคารสำานักงาน คลังสิ นค้า หรื อโรงงาน เป็ นต้น การส่ งข้อมูลสามารถทำาได้ ด้วยความเร็ วสูง และมีขอ้ ผิดพลาดน้อย ระบบเครื อข่ายระดับท้องถิ่นจึงถูกออกแบบมาให้ช่วยลดต้นทุนและ เพื่อเพิ่มประสิ ทธิภาพในการทำางาน และใช้งานอุปกรณ์ต่าง ๆ ร่ วมกัน
1.2 MAN (Metropolitan Area Network) : ระบบเครือข่ ายระดับเมือง
8
เป็ นระบบเครื อข่ายที่มีขนาดอยูร่ ะหว่าง Lan และ Wan เป็ นระบบเครื อข่ายที่ใช้ภายในเมืองหรื อจังหวัด เท่านั้น การเชื่อมโยงจะต้องอาศัยระบบบริ การเครื อข่ายสาธารณะ จึงเป็ นเครื อข่ายที่ใช้กบั องค์การที่มีสาขา ห่ างไกลและต้องการเชื่อมสาขาเหล่านั้นเข้าด้วยกัน เช่น ธนาคาร เครื อข่ายแวนเชื่อมโยงระยะไกลมาก จึงมี ความเร็ วในการสื่ อสารไม่สูง เนื่องจากมีสญ ั ญาณรบกวนในสาย เทคโนโลยีที่ใช้กบั เครื อข่ายแวนมีความ หลากหลาย มีการเชื่อมโยงระหว่างประเทศด้วยช่องสัญญาณดาวเทียม เส้นใยนำาแสง คลื่นไมโครเวฟ คลื่นวิทยุ สายเคเบิล
1.3 WAN (Wide Area Network) : ระบบเครื อข่ายระดับประเทศ หรื อเครื อข่ายบริ เวณกว้าง
เป็ นระบบเครื อข่ายที่ติดตั้งใช้งานอยูใ่ นบริ เวณกว้าง เช่น ระบบเครื อข่ายที่ติดตั้งใช้งานทัว่ โลก เป็ นเครื อข่าย ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรื ออุปกรณ์ที่อยูห่ ่างไกลกันเข้าด้วยกัน อาจจะต้องเป็ นการติดต่อสื่ อสารกันในระดับ ประเทศ ข้ามทวีป หรื อทัว่ โลกก็ไ ด้ ในการเชื่ อมการติ ดต่ อนั้น จะต้องมี การต่ อเข้า กับ ระบบสื่ อ สารของ องค์การโทรศัพท์หรื อการสื่ อสารแห่ งประเทศไทยเสี ยก่อน เพราะจะเป็ นการส่ งข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ใน
9
ำ การติดต่อสื่ อสารกันโดยปกติมีอตั ราการส่ งข้อมูลที่ ต่าและมี โอกาสเกิ ดข้อผิดพลาด การส่ งข้อมูลอาจใช้ อุปกรณ์ในการสื่ อสาร เช่น โมเด็ม (Modem) มาช่วย
2. ใช้ ลกั ษณะหน้ าที่การทำางานของคอมพิวเตอร์ ในเครือข่ ายเป็ นเกณฑ์ สามารถแบ่ งได้ เป็ น 2 ประเภทดังนี้ 2.1 Peer-to-Peer Network หรื อเครื อข่ายแบบเท่าเทียม เป็ นการเชื่อมต่อเครื่ องคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน โดยเครื่ องคอมพิวเตอร์ แต่ละเครื่ อง จะสามารถแบ่ง ทรัพยากรต่างๆ ไม่วา่ จะเป็ นไฟล์หรื อเครื่ องพิมพ์ซ่ ึ งกันและกันภายในเครื อข่ายได้ เครื่ องแต่ละเครื่ องจะ ทำางานในลักษณะที่ทดั เทียมกัน ไม่มีเครื่ องใดเครื่ องเครื่ องหนึ่งเป็ นเครื่ องหลักเหมือนแบบ Client / Server แต่กย็ งั คงคุณสมบัติพ้ืนฐานของระบบเครื อข่ายไว้เหมือนเดิม การเชื่อมต่อแบบนี้ มกั ทำาในระบบที่มีขนาด เล็กๆ เช่น หน่วยงานขนาดเล็กที่มีเครื่ องใช้ไม่เกิน 10 เครื่ อง การเชื่อมต่อแบบนี้ มีจุดอ่อนในเรื่ องของระบบ รักษาความปลอดภัย แต่ถา้ เป็ นเครื อข่ายขนาดเล็ก และเป็ นงานที่ไม่มีขอ้ มูลที่เป็ นความลับมากนัก เครื อข่าย แบบนี้ ก็เป็ นรู ปแบบที่น่าเลือกนำามาใช้ได้เป็ นอย่างดี 2.2 Client-Server Network หรื อเครื อข่ายแบบผูใ้ ช้บริ การและผูใ้ ห้บริ การ เป็ นระบบที่มีเครื่ องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่ องมีฐานะการทำางานที่เหมือน ๆ กัน เท่าเทียมกันภายในระบบ เครื อข่าย แต่จะมีเครื่ องคอมพิวเตอร์เครื่ องหนึ่ง ที่ทาำ หน้าที่เป็ นเครื่ อง Server ที่ทาำ หน้าที่ให้บริ การทรัพยากร ต่าง ๆ ให้กบั เครื่ อง Client หรื อเครื่ องที่ขอใช้บริ การ ซึ่งอาจจะต้องเป็ นเครื่ องที่มีประสิ ทธิ ภาพที่ค่อนข้างสูง ถึงจะทำาให้การให้บริ การมีประสิ ทธิภาพตามไปด้วย ข้อดีของระบบเครื อข่าย Client - Server เป็ นระบบที่มี การรักษาความปลอดภัยสูงกว่า ระบบแบบ Peer To Peer เพราะว่าการจัดการในด้านรักษาความปลอดภัยนั้น จะทำากันบนเครื่ อง Server เพียงเครื่ องเดียว ทำาให้ดูแลรักษาง่าย และสะดวก มีการกำาหนดสิ ทธิ การเข้าใช้ ทรัพยากรต่าง ๆให้กบั เครื่ องผูข้ อใช้บริ การ หรื อเครื่ อง Client
3. ใช้ ระดับความปลอดภัยของข้อมูลเป็ นเกณฑ์
10
การแบ่งประเภทเครื อข่ายตามระดับความปลอดภัยของข้อมูล ซึ่งจะแบ่งออกได้เป็ น 3 ประเภทคือ อินเทอร์ เน็ต (Internet) อินทราเน็ต (Intranet) และ เอ็กส์ทราเน็ต (Extranet) อินเทอร์ เน็ตเป็ นเครื อข่าย สาธารณะที่ทุกคนสามารถเชื่อมต่อเข้าได้ เครื อข่ายนี้ จะไม่มีความปลอดภัยของข้อมูลเลย ถ้าทุกคนสามารถ เข้าถึงข้อมูลที่แชร์ไว้บนอินเทอร์เน็ตได้ ในทางตรงกันข้าม อินทราเน็ตเป็ นเครื อข่ายส่ วนบุคคล ข้อมูลจะถูก แชร์ เฉพาะผูท้ ี่ใช้อยูข่ า้ งในเท่านั้น หรื อผูใ้ ช้อินเทอร์ เน็ตไม่สามารถเข้ามาดูขอ้ มูลในอินทราเน็ตได้ ถึงแม้วา่ ทั้งสองเครื อข่ายจะมีการเชื่อมต่อกันอยูก่ ต็ าม ส่ วนเอ็กทราเน็ตนั้นเป็ นเครื อข่ายแบบกึ่งอินเทอร์ เน็ตและ อินทราเน็ตกล่าวคือ การเข้าใช้เอ็กส์ทราเน็ตนั้นมีการควบคุม เอ็กส์ทราเน็ตส่ วนใหญ่จะเป็ นเครื อข่ายที่เชื่อม ต่อระหว่างองค์กรเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลบางอย่างซึ่งกันและกัน ในการแลกเปลี่ยนข้อมูลนี้ ตอ้ งมีการควบคุม เพราะเฉพาะข้อมูลบางอย่างเท่านั้นที่ตอ้ งการแลกเปลี่ยน
3.1 อินเทอร์ เน็ต (Internet) เครื อข่ายสาธารณะ อินเทอร์ เน็ตเป็ นเครื อข่ายที่ครอบคลุมทัว่ โลก ซึ่งมีคอมพิวเตอร์ เป็ นล้านๆเครื่ องเชื่อมต่อเข้ากับระบบ และยังขยายตัวขึ้นเรื่ อย ๆ ทุกปี อินเทอร์เน็ตมีผใู ้ ช้ทวั่ โลกหลายร้อยล้านคน และผูใ้ ช้เหล่านี้ สามารถแลก เปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกันได้อย่างอิสระ โดยที่ระยะทางและเวลาไม่เป็ นอุปสรรค นอกจากนี้ผใู ้ ช้ยงั สามารถเข้าดูขอ้ มูลต่าง ๆ ที่ถูกตีพิมพ์ในอินเทอร์ เน็ตได้ อินเทอร์ เน็ตเชื่อมแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เข้าด้วยกันไม่ ว่าจะเป็ นองค์กรธุรกิจ มหาวิทยาลัย หน่วยงานของรัฐบาล หรื อแม้กระทัง่ แหล่งข้อมูลบุคคล องค์กรธุรกิจ หลายองค์กรได้ใช้อินเทอร์เน็ตช่วยในการทำาการค้า เช่น การติดต่อซื้อขายผ่านอินเทอร์ เน็ตหรื ออีคอมเมิร์ช (E-Commerce) ซึ่งเป็ นอีกช่องทางหนึ่งสำาหรับการทำาธุรกิจที่กาำ ลังเป็ นที่นิยม เนื่องจากมีตน้ ทุนที่ถูกกว่า และมีฐานลูกค้าที่ใหญ่มาก ส่วนข้อเสี ยของอินเทอร์เน็ตคือ ความปลอดภัยของข้อมูล เนื่องจากทุกคน สามารถเข้าถึงข้อมูลทุกอย่างที่แลกเปลี่ยนผ่านอินเทอร์ เน็ตได้ อินเทอร์ เน็ตใช้โปรโตคอลที่เรี ยกว่า “TCP/IP (Transport Connection Protocol/Internet Protocol)” ในการ สื่ อสารข้อมูลผ่านเครื อข่าย ซึ่งโปรโตคอลนี้ เป็ นผลจากโครงการหนึ่งของกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ โครงการนี้มีชื่อว่า ARPANET (Advanced Research Projects Agency Network) ในปี ค.ศ.1975 จุดประสงค์ ของโครงการนี้ เพื่อเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ที่อยูห่ ่ างไกลกัน และภายหลังจึงได้กาำ หนดให้เป็ นโปรโตคอล มาตรฐานในเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต ในปั จจุบนั อินเทอร์เน็ตได้กลายเป็ นเครื อข่ายสาธารณะ ซึ่งไม่มีผใู ้ ดหรื อองค์กรใดองค์กรหนึ่งเป็ นเจ้าของ อย่างแท้จริ ง การเชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ตต้องเชื่อมต่อผ่านองค์กรที่เรี ยกว่า “ISP (Internet Service Provider)” ซึ่งจะทำาหน้าที่ให้บริ การในการเชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์ เน็ต นัน่ คือ ข้อมูลทุกอย่างที่ส่งผ่านเครื อ ข่าย ทุกคนสามารถดูได้ นอกเสี ยจากจะมีการเข้ารหัสลับซึ่งผูใ้ ช้ตอ้ งทำาเอง
11
2.3 ระบบอืน่ ๆ 2.3.1 ระบบวิทยุ (Radio Transmission) จะใช้คลื่นวิทยุในการส่ งผ่านข้อมูลระหว่าง คอมพิวเตอร์ จะมีปัญหากับ ว่าการขออนุญาตใช้คลื่นความถี่เป็ นไปได้ยาก 2.3.2 ระบบอินฟราเรด (Infrared Transmission) ใช้เทคโนโลยีเช่นเดียวกับ remote control ของเครื่ องรับ โทรทัศน์ จะมีขอ้ จำากัดที่ตอ้ งใช้งานเป็ นเส้นตรง ระหว่างเครื่ องรับ และเครื่ องส่ ง รวมทั้งไม่อาจมีสิ่งกีดขวาง ด้วย 2.3.3 โทรศัพท์เคลือ่ นที่ (Cellular Transmission) จะอาศัยการส่ งสัญญาณของโทรศัพท์ เคลื่อนที่ในการส่งผ่าน ข้อมูล
3. สถานีงาน สถานีงาน (Workstation or Terminal) หมายถึง อุปกรณ์หรื อเครื่ องไมโครคอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่อ กับเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ทำาหน้าที่เป็ นสถานีปลายทางหรื อสถานีงานที่ได้รับการบริ การจากเครื่ อง คอมพิวเตอร์ แม่ข่ายเรี ยกว่า คอมพิวเตอร์ ลูกข่าย (Workstation) ในระบบเครื อข่ายระยะใกล้ มักมีหน่วยประมวลผล หรื อซีพียขู องตนเอง ใน ระบบที่ใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์ เมนเฟรม เป็ นศูนย์กลาง เรี ยกสถานีปลายทางว่าเทอร์ มินอล (Terminal) ประกอบด้วยจอภาพและแป้ นพิมพ์เท่านั้น ไม่มีหน่วย ประมวลกลางของตัวเอง ต้องใช้หน่วยประมวลผล ของคอมพิวเตอร์ศนู ย์กลางหรื อ Host
4. อุปกรณ์ ทใี่ ช้ เชื่อมต่ อในระบบเครือข่ าย 4.1 การ์ ดเชื่อมต่ อเครือข่าย (Network Interface Card :NIC) หมายถึง แผงวงจรสำาหรับ ใช้ในการเชื่อม ต่อสายสัญญาณ ของเครื อข่าย ติดตั้งไว้ในเครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่เป็ นเครื่ องแม่ข่าย และเครื่ องที่เป็ นลูกข่าย หน้าที่ของการ์ดนี้คือแปลงสัญญาณจาก คอมพิวเตอร์ ส่งผ่านไปตามสายสัญญาณ ทำาให้คอมพิวเตอร์ ในเครื อ ข่ายแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกันได้
12
4.2 โมเด็ม (Modem: Modulator Demodulator) หมายถึง อุปกรณ์สาำ หรับการแปลงสัญญาณ ดิจิตอล (Digital) จาก คอมพิวเตอร์ดา้ นผูส้ ่งเป็ นอนาลอก (Analog) เมื่อถึงคอมพิวเตอร์ ผรู ้ ับ โมเด็มจะทำา หน้าที่แปลงสัญญาณอนาลอกให้เป็ นดิจิตอล นำาเข้าสู่เครื่ องคอมพิวเตอร์ เพื่อทำาการประมวลผล โดยปกติจะ ใช้โมเด็มกับระบบเครื อข่ายระยะไกล โดยการใช้สายโทรศัพท์ เป็ นสื่ อกลาง เช่น เครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต เป็ นต้น 4.3 อุปกรณ์ รวมสัญญาณ ประกอบด้ วย 4.3.1 มัลติเพล็กซ์เซอร์ (Multiplexer) นิยมเรี ยกกันว่า มัก (Max) เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้ในการรวมข้อมูล (multiplex) จาก เครื่ องเทอร์มินลั จำานวนหนึ่งเข้าด้วยกัน และส่ งผ่านไปยังสายสื่ อสารเดียวกัน และที่ปลาย ทาง MUX อีกตัวจะทำาหน้าที่แยก ข้อมูล (de - multiplex) ส่ งไปยังจุดหมายที่ตอ้ งการการ Multiplexing ซึ่ง แบ่งได้เป็ น 2 แบบคือ การมัลติเพล็กซ์แบบแบ่งเวลา (Time Division Multiplexer หรื อ TDM) และการมัลติ เพล็กซ์แบบแบ่งความถี่ (Frequency Division Multiplexer หรื อ FDM) 4.3.2 คอนเซนเตรเตอร์ (Concentrator) เรี ยกกันสั้นๆ ว่าคอนเซนเป็ นมัลติเพลกเซอร์ ที่มี ประสิ ทธิ ภาพสูงขึ้นคือ มี หน่วยความจำา ( buffer ) ที่ใช้เก็บข้อมูลเพื่อส่ งต่อได้ ทำาให้ สามารถเชื่อมต่อ ระหว่างอุปกรณ์ที่มีความเร็ วสูงกับอุปกรณ์ความเร็ ว ต่าำ จะมีการบีบอัดข้อมูล(compress) เพื่อให้สามารถส่ ง ข้อมูลได้มากขึ้น 4.3.3 ฮับ (Hub) คือ อุปกรณ์เชื่ อมต่ อที่ ใช้เป็ นจุ ดรวม และ แยกสายสัญ ญาณ เพื่อให้เกิ ด ความ สะดวก ในการเชื่ อมต่อ ของเครื อข่ายแบบดาว (Star) โดยปกติ ใ ช้เ ป็ นจุ ดรวมการเชื่ อมต่ อ สายสัญ ญาณ ระหว่าง File Server กับ Workstation ต่าง ๆ
3.2 อินทราเน็ต(Intranet) หรื อเครื อข่ายส่ วนบุคคล ตรงกันข้ามกับอินเทอร์เน็ต อินทราเน็ตเป็ นเครื อข่ายส่ วนบุคคลที่ใช้เทคโนโลยีอินเทอร์ เน็ต เช่น เว็บ,
13
อีเมล, FTP เป็ นต้น อินทราเน็ตใช้โปรโตคอล TCP/IP สำาหรับการรับส่ งข้อมูลเช่นเดียวกับอินเทอร์ เน็ต ซึ่ง โปรโตคอลนี้สามารถใช้ได้กบั ฮาร์ดแวร์หลายประเภท และสายสัญญาณหลายประเภท ฮาร์ ดแวร์ ที่ใช้สร้าง เครื อข่ายไม่ใช่ปัจจัยหลักของอินทราเน็ต แต่เป็ นซอฟต์แวร์ ที่ทาำ ให้อินทราเน็ตทำางานได้ อินทราเน็ตเป็ น เครื อข่ายที่องค์กรสร้างขึ้นสำาหรับให้พนักงานขององค์กรใช้เท่านั้น การแชร์ ขอ้ มูลจะอยูเ่ ฉพาะในอินทราเน็ต เท่านั้น หรื อถ้ามีการแลกเปลี่ยนข้อมูลกับโลกภายนอกหรื ออินเทอร์ เน็ต องค์กรนั้นสามารถที่จะกำาหนด นโยบายได้ ในขณะที่การแชร์ขอ้ มูลอินเทอร์ เน็ตนั้นยังไม่มีองค์กรใดที่สามารถควบคุมการแลกเปลี่ยนข้อมูล ได้ เมื่อเชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ต พนักงานบริ ษทั ของบริ ษทั สามารถติดต่อสื่ อสารกับโลกภายนอกเพื่อการ ค้นหาข้อมูลหรื อทำาธุรกิจต่าง ๆ การใช้โปรโตคอล TCP/IP ทำาให้ผใู ้ ช้สามารถเข้าใช้เครื อข่ายจากที่ห่างไกล ได้ (Remote Access) เช่น จากที่บา้ น หรื อในเวลาที่ตอ้ งเดินทางเพื่อติดต่อธุรกิจ การเชื่อมต่อเข้ากับ อินทราเน็ต โดยการใช้โมเด็มและสายโทรศัพท์ ก็เหมือนกับการเชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์ เน็ต แต่แตกต่างกันที่ เป็ นการเชื่อมต่อเข้ากับเครื อข่ายส่วนบุคคลแทนที่จะเป็ นเครื อข่ายสาธารณะอย่างเช่นอินเทอร์เน็ต การเชื่อม ต่อกันได้ระหว่างอินทราเน็ตกับอินเทอร์เน็ตถือเป็ นประโยชน์ที่สาำ คัญอย่างหนึ่ง ระบบการรักษาความปลอดภัยเป็ นสิ่ งที่แยกอินทราเน็ตออกจากอินเทอร์ เน็ต เครื อข่ายอินทราเน็ตขององค์กร จะถูกปกป้ องโดยไฟร์วอลล์ (Firewall) ซึ่งอาจจะเป็ นได้ท้ งั ฮาร์ ดแวร์ และซอฟต์แวร์ ที่ทาำ หน้าที่กรองข้อมูลที่ แลกเปลี่ยนกันระหว่างอินทราเน็ตและอินเทอร์ เน็ตเมื่อทั้งสองระบบมีการเชื่อมต่อกัน ดังนั้นองค์กรสามารถ กำาหนดนโยบายเพื่อควบคุมการเข้าใช้งานอินทราเน็ตได้ อินทราเน็ตสามารถสนองความต้องการของผูใ้ ช้ในองค์กรได้หลายอย่าง ความง่ายในการตีพิมพ์บนเว็บทำาให้ เป็ นที่นิยมในการประกาศข่าวสารขององค์กร เช่น ข่าวภายในองค์กร กฎ ระเบียบ และมาตรฐาน การปฏิบตั ิ งานต่าง ๆ เป็ นต้น หรื อแม้กระทัง่ การเข้าถึงฐานข้อมูลขององค์กรก็ง่ายเช่นกัน ผูใ้ ช้สามารถทำางานร่ วมกันได้ ง่าย และมีประสิ ทธิภาพมากขึ้น
3.3 เอ็กส์ ทราเน็ต (Extranet) หรื อเครื อข่ายร่ วม
14
เอ็กส์ทราเน็ต (Extranet) เป็ นเครื อข่ายกึ่งอินเทอร์ เน็ตกึ่งอินทราเน็ต กล่าวคือ เอ็กส์ทราเน็ตคือเครื อข่ายที่ เชื่อมต่อระหว่างอินทราเน็ตของสององค์กร ดังนั้นจะมีบางส่ วนของเครื อข่ายที่เป็ นเจ้าของร่ วมกันระหว่าง สององค์กรหรื อบริ ษทั การสร้างอินทราเน็ตจะไม่จาำ กัดด้วยเทคโนโลยี แต่จะยากตรงนโยบายที่เกี่ยวกับการ รักษาความปลอดภัยของข้อมูลที่ท้ งั สององค์กรจะต้องตกลงกัน เช่น องค์กรหนึ่งอาจจะอนุญาตให้ผใู ้ ช้ของ อีกองค์กรหนึ่งล็อกอินเข้าระบบอินทราเน็ตของตัวเองหรื อไม่ เป็ นต้น การสร้างเอ็กส์ทราเน็ตจะเน้นที่ระบบ การรักษาความปลอดภัยข้อมูล รวมถึงการติดตั้งไฟร์ วอลล์หรื อระหว่างอินทราเน็ตและการเข้ารหัสข้อมูล และสิ่ งที่สาำ คัญที่สุดก็คือ นโยบายการรักษาความปลอดภัยข้อมูลและการบังคับใช้
ประโยชน์ ของระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ 1. สามารถประหยัดค่าใช้จ่าย โดยใช้งานทรัพยากรรวมกัน สามารถทำาได้ท้ งั ที่เป็ น ฮาร์ ดแวร์ เช่น Printer Scanner หรื อ ซอฟท์แวร์ เช่น ซอฟท์แวร์ ระบบฐานข้อมูล เป็ นต้น 2. สามารถใช้ความสามารถของเครื่ องอื่นได้ เช่นถ่ายโอนข้อมูลของเราไปยังเครื่ องที่มีความเร็ วสูง เพื่อให้ประมวลผล แทนเครื่ องของเรา ทำาให้งานเสร็ จแล้วยิง่ ขึ้น 3. สามารถติดต่อคนในเครื อข่ายได้ 4. สำาหรับระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ภายในองค์กร ทำาให้การทำางานขององค์กรเป็ นไปอย่างมี ระบบและต่อเนื่อง
องค์ ประกอบของระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ 1. คอมพิวเตอร์ แม่ ข่าย คอมพิวเตอร์แม่ข่าย หมายถึง คอมพิวเตอร์ ที่ทาำ หน้าที่เป็ นผูใ้ ห้บริ การทรัพยากร (Resources) ต่าง ๆ ซึ่งได้แก่ หน่วย ประมวลผล หน่วยความจำา หน่วยความจำาสำารอง ฐานข้อมูล และ โปรแกรมต่าง ๆ เป็ นต้น ในระบบเครื อข่ายท้องถิ่น (LAN) มักเรี ยกว่าคอมพิวเตอร์ แม่ข่าย ในระบบเครื อข่ายระยะไกล ที่ใช้เมนเฟรม
15
คอมพิวเตอร์ หรื อ มินิคอมพิวเตอร์เป็ นศูนย์กลางของ เครื อข่าย เรานิยมเรี ยกว่า Host และเรี ยกเครื่ องที่รอรับ บริ การว่า ลูกข่าย หรื อสถานีงาน หรื อ Client Computer
2. ช่ องทางการสื่ อสาร ช่องทางการสื่ อสารหมายถึง สื่ อกลางหรื อเส้นทางที่ใช้เป็ นทางผ่าน ในการรับส่ งข้อมูลระหว่าง ผูร้ ับ (Receiver) และผู้ ส่งข้อมูล (Transmitter) ปั จจุบนั มีช่องทางการสื่ อสารสำาหรับการเชื่อมต่อเครื อข่าย คอมพิวเตอร์ แบ่งได้เป็ น 3 ประเภท คือ 2.1 ประเภทมีสาย ได้แก่ สายคู่ตีเกลียว สายโคแอกเชียล สายใยแก้วนำาแสง 2.2 ประเภทไม่มีสาย ได้แก่ 2.2.1 ระบบไมโครเวฟ (Microwave System) กลไกของการสื่ อสารและรับสัญญาณของ ไมโครเวฟใช้จานสท้อนรู ปพาลาโบลา เป็ นระบบที่ใช้วธิ ี ส่งสัญญาณที่มีความถี่สูงกว่าคลื่นวิทยุเป็ นทอดๆ จากสถานีหนึ่งไปยังอีกสถานีหนึ่ง และ สัญญาณของไมโครเวฟจะเดินทางเป็ นเส้นตรง ดังนั้นสถานีจะต้อง พยายามอยูใ่ นที่สูงๆ สถานีหนึ่งๆ จะ ครอบคลุมพื้นที่ที่รับสัญ ญาณได้ 30-50 กม.ความเร็ วในการส่ งข้อมูล 200-300 Mbps ระยะทาง 20-30 mile ทั้งนี้ท้ งั นั้นขึ้นอยูก่ บั ความสูงของเสาสัญญาณ 2.2.2 ระบบดาวเทียม (Satellite System) ใช้หลักการคล้ายกับระบบไมโครเวฟ ในส่ วนของ การยิงสัญญาณ จากแต่ละสถานีต่อกันไปยังจุดหมายที่ตอ้ งการ โดยอาศัยดาวเทียมที่โคจรอยูร่ อบโลก ขั้นตอนในการส่ ง สัญญาณมี ทั้งหมด 3 ขั้นตอนคือ - สถานีตน้ ทางจะส่งสัญญาณขึ้นไปยังดาวเทียม เรี ยกว่าสัญญาณเชื่อมต่อขาขึ้น (Up-Link) - ดาวเทียมจะตรวจสอบตำาแหน่ งสถานี ปลายทางหากอยูน่ อกเหนื อขอบเขตสัญญาณ จะส่ ง ต่อไปยังดาวเทียม ที่ครอบคลุมสถานีปลายทางนั้น - หากอยูใ่ นขอบเขตพื้นที่ที่ครอบคลุมจะทำาการส่ งสัญญาณไปยังสถานีปลายทาง เรี ยกว่า สัญญาณเชื่อมต่อขา ลง (Down-Link) อัตราเร็ วในการส่ ง 1-2 Mbps
16
4.4 อุปกรณ์ เชื่อมต่ อบนระบบเครือข่าย 4.4.1 รีพตี เตอร์ (Repeater) เป็ นอุปกรณ์ที่ทาำ งานอยูใ่ นระดับฟิ สิ คลั เลเยอร์ ( Physical Layer) ใน OSI Model มีหน้าที่เชื่อมต่อสำาหรับขยายสัญญาณให้กบั เครื อข่าย เพื่อเพิ่มระยะทางในการรับส่ ง ข้อมูลให้กบั เครื อข่ายให้ไกลออกไปได้ กว่าปกติ มีขอ้ จำากัด คือทำาหน้าที่ในการส่งต่อสัญญาณที่ได้มาเท่านั้น จะไม่มีการเชื่อมต่อกับระบบเครื อข่าย ซึ่งอาศัยวิธีการ access ที่แตกต่างกัน เช่น Ethernet กับ Token Ring 4.4.2 บริดจ์ (Bridge) มักใช้ในการเชื่อมต่อวงแลน (LAN Segment) 2 วงเข้าด้วยกัน บริ ดจ์ จะทำางานที่ ดาต้าลิ้งค์เลเยอร์ (Data Link Layer) ทำาการกรองสัญญาณและส่ งผ่านแพ็กเก็ตข้อมูลไปยังส่ วนต่างๆ ของ ระบบเครื อข่าย อาจมี โครงสร้างสถาปัตยกรรมที่แตกต่างกันได้เช่น บริ ดจ์สามารถเชื่อมโยงส่ วนของ Ethernet เข้ากับส่ วนของ Token Ring 4.4.3 สวิตซ์ (Switch) หรื อที่นิยมเรี ยกว่า อีเธอร์ เนตสวิตซ์ (Ethernet Switch) จะเป็ นบริ ดจ์ แบบหลายช่องทาง (Multiport Bridge) ที่นิยมใช้ในระบบเครื อข่าย LAN แบบ Ethernet เพื่อเชื่อมต่อเครื อ ข่ายหลายเครื อข่ายเข้าด้วยกันลดการจราจร ระหว่างเครื อข่ายที่ไม่จาำ เป็ น
รู ปที่ 20 สวิตซ์ 4.4.4 เราท์ เตอร์ (Router) เป็ นอุปกรณ์ที่ทาำ หน้าที่ในเลเยอร์ 3 หรื อเลเยอร์ เครื อข่ายเรา-เตอร์ จะ ฉลาดกว่าฮับและสวิตช์ เราท์เตอร์จะอ่านที่อยู่ (Address) ของสถานีปลายทางที่ส่วนตัว (Header) ของแพ็ก เก็จข้อมูล เพื่อใช้ในการกำาหนดหรื อเลือก เส้นทางที่จะส่ งแพ็กเก็ตนั้นต่อไป ในเราท์เตอร์ จะเกี่ยวกับการจัด เส้นทางในแพ็กเก็ตเรี ยกว่า "เราท์ติ้งเทเบิ้ล (Routing Table)" หรื อตารางการจัดเส้นทาง ข้อมูลในตารางนี้จะเป็ นข้อมูลที่เราท์เตอร์ ใช้ในการเลือกเส้นทางที่ดีที่สุดไปยัง ปลายทาง ถ้าเส้นทาง หลักเกิดขัดข้อง เราท์เตอร์กส็ ามารถเลือกเส้นทางใหม่ได้
17
นอกจากนี้เราท์เตอร์ยงั สามารถส่งข้อมูลไปยังเครื อข่ายที่ใช้โปรโตคอลต่างกันได้โปรโตคอลที่ทาำ หน้าที่ในเลเยอร์ที่ 3 เช่น IP (Internet Protocol), IPX (Internet Package Exchange) และ Apple Talk เป็ นต้น นอกจากนี้เราท์เตอร์ยงั สามารถเชื่อมต่อ เครื อข่ายระยะไกล (WAN) ได้ และยังสามารถเชื่อมต่อเครื อข่ายเข้า กับเครื อข่ายอื่นๆ ที่ใหญ่กว่า เช่น เครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต เป็ นต้น
4.4.5 เกทเวย์ (Gateway) เป็ นอุปกรณ์ที่มีหน้าที่ในการเชื่อมต่อและแปลงข้อมูลระหว่าง เครื อข่ายที่แตกต่าง กันทั้งใน ส่ วนของโปรโตคอล และสถาปัตยกรรมเครื อข่าย เช่นเชื่อมต่อและแปลงข้อมูลระหว่างระบบเครื อ ข่าย LAN และระบบ Mainframe หรื อเชื่อมระหว่างเครื อข่าย SNA ของ IBM กับ DECNet ของ DEC เป็ นต้น โดยปกติ เกทเวย์มกั เป็ น Software Package ที่ใช้งานบนเครื่ องคอมพิวเตอร์ เครื่ องใดเครื่ องหนึ่ง 5. ซอฟต์ แวร์ ระบบปฏิบัติการเครือข่าย ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบตั ิการเครื อข่าย (Network Operating System ,Nos) หมายถึง ซอฟต์แวร์ ที่ทาำ หน้าที่ จัดการระบบ เครื อข่ายของคอมพิวเตอร์ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่ออยูก่ บั เครื อข่าย สามารถติดต่อ สื่ อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้อย่าง ถูกต้อง และมีประสิ ทธิ ภาพ ทำาหน้าที่จดั การด้านการรักษาความ ปลอดภัย ของระบบเครื อข่าย และยังมีหน้าที่ควบคุม การนำา โปรแกรมประยุกต์ ด้านการติดต่อสื่ อสาร มาทำางานในระบบเครื อข่ายอีกด้วย นับว่าซอฟต์แวร์ ระบบปฏิบตั ิ การเครื อข่าย มีความสำาคัญต่อเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ อย่างยิง่ ตัวอย่าง ซอฟต์แวร์ ประเภทนี้ ได้แก่ ระบบ ปฏิบัติการ Windows NT , Linux , Novell Netware , Windows XP ,Windows 2000 , Solaris , Unix เป็ นต้น โดยที่ 5.1 Netware เป็ นระบบปฏิบตั ิการเครื อข่ายสำาหรับเครื่ องไมโครคอมพิวเตอร์ ที่นาำ มาใช้ในยุคแรกๆ ระบบปฏิบตั ิการ ตัวนี้ ทำาหน้าที่ให้บริ การเรื่ องแฟ้ ม การใช้เครื่ องพิมพ์ร่วมกัน การรับ-ส่ งข้อมูลระหว่าง คอมพิวเตอร์ ในเครื อข่าย สามารถแบ่งปัน การใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ บนระบบได้ 5.2 Windows NT เป็ นระบบปฏิบตั ิการที่พฒั นาโดยบริ ษทั ไมโครซอฟต์ จำากัด สามารถนำาไป
18
ประยุกต์ใช้งานได้หลาก หลายรู ปแบบ เริ่ มต้นไมโครซอฟต์ตอ้ งการพัฒนาเป็ นแอปปลิเคชัน่ เซอร์ ฟเวอร์ แต่ ปั จจุบนั สามารถประยุกต์ไปเป็ นดาต้าเบส เซอร์ ฟเวอร์ และ อินเทอร์ เน็ตเซอร์ ฟเวอร์ 5.3 Windows 95,98 เป็ นระบบปฏิบตั ิการที่ทาง บริ ษทั ไมโครซอฟต์ จำากัด ได้เพิ่มเติมความ สามารถทางด้านเครื อข่าย ลงไป แต่เป็ นเครื อข่ายในรู ปแบบ ที่เรี ยกว่า Peer to peer ซึ่งหมายถึงเครื อข่ายที่ คอมพิวเตอร์ ทุกเครื่ องในระบบมีความสำาคัญ เท่าเทียมกัน ไม่มีเครื่ องใดทำาหน้าที่เป็ นเซอร์ ฟเวอร์โดยเฉพาะ แต่มีจุดอ่อนเรื่ องการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล 5.4 Linux เป็ นระบบปฏิบตั ิการสำาหรับระบบเครื อข่าย ที่อยูใ่ นกลุ่มของ Freeware ที่มีคุณภาพ และ ประสิ ทธิ ภาพสูง ใช้โปรโตคอลแบบ TCP/IP นิยมนำามาประยุกต์ใช้เป็ น Internet Server
ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ เบือ้ งต้ น พืน้ ฐานเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จุดประสงค์ของการประดิษฐ์คอมพิวเตอร์ ใช้ในสมัยแรก ๆ นั้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์ ได้ทาำ งานบางอย่าง แทนมนุษย์ได้ เช่น การคำานวณเลข ซึ่งถ้าเป็ นตัวเลขจำานวนมาก ๆ มนุษย์จะใช้เวลาในการคำานวณมาก
19
และมีโอกาสเกิดข้อผิดพลาดได้มาก ในขณะที่คอมพิวเตอร์ สามารถคำานวณได้เร็ วกว่ามาก อีกทั้งยังมีความ แม่นยำาและมีความผิดพลาดน้อยกว่ามนุษย์มาก การทำางานจะให้มีประสิ ทธิ ภาพสูงจะ ต้องทำาเป็ นหมู่ คณะ หรื อทีมเวิร์ค (Teamwork) คอมพิวเตอร์ กซ็ ่ ึงถูกสร้างมาเพื่อทำางานแทนมนุษย์กจ็ าำ เป็ นที่ตอ้ งมีการ สื่ อสารซึ่งกันและกันเช่นกัน ฉะนั้นคอมพิวเตอร์ เครื่ องใดที่ไม่ได้เชื่อมต่อเข้ากับเครื่ องอื่นก็เปรี ยบเสมือน คนที่ชอบความสันโดษ ในการเชื่อมต่อกันเป็ นเครื อข่ายนั้น เป็ นสาเหตุที่เนื่องมาจากการที่ผใู ้ ช้ตอ้ งการ ทำางานเป็ นกลุ่มหรื อทีม ซึ่งการทำางานแบบนี้ ยอ่ มมีประสิ ทธิ ภาพมากกว่าการทำางานแบบเดี่ยว ๆ หลังจากที่คอมพิวเตอร์ได้คิดค้นขึ้นมาแล้วนั้น ก็ยงั ได้มีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่องและรวดเร็ วจน ใน ปั จจุบนั เป็ นที่ยอมรับมากว่า อุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ เป็ นอุตสาหกรรมที่มีการพัฒนารวดเร็ วอย่างรวดเร็ ว มากที่สุดอุตสาหกรรมหนึ่ง ปัจจุบนั นี้กเ็ ป็ นยุคข้อมูลข่าวสารโดยการใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์ เป็ น เทคโนโลยีที่ รองรับคอมพิวเตอร์ในสมัยแรก ๆ เท่านั้น เป็ นคอมพิวเตอร์ ที่ถูกออกแบบให้ใช้งานแบบรวม ศูนย์ (Centralized Computing) เช่น เมนเฟรม มินิคอมพิวเตอร์ เป็ นต้น ซึ่งคอมพิวเตอร์ จะถูกสร้าง และเก็บ ไว้ในห้อง ๆ หนึ่ง เนื่องมาจากสมัยนั้นเป็ นคอมพิวเตอร์ ที่มีราคาแพงมาก ผูใ้ ช้แต่ละคนจะใช้จอภาพ (Dump Terminal) เพื่อเชื่อมต่อเข้ากับเครื่ องเมนเฟรม
เมนเฟรมและดัมพ์เทอร์ มินอล หลังจากนั้นก็ได้มีการคิดค้นคอมพิวเตอร์ ที่มีขนาดเล็ก หรื อเรี ยกว่าไมโคร คอมพิวเตอร์ (Microcomputer) ซึ่งได้มีการใช้กนั อย่างแพร่ หลายในปั จจุบนั เนื่องจากราคาถูกกว่าเดิมและยัง มี ประสิ ทธิ ภาพไม่นอ้ ยไปกว่าเครื่ องเมนเฟรมด้วย ถ้าเครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่ทาำ งานเดี่ยวๆ(Stand-alone) ก็จะ เป็ นเหมือนกับการที่คน ๆ หนึ่งทำางานเพียงคนเดียว เป็ นที่ทราบกันดีวา่ การทำางานเพียงคนเดียวนั้นจะได้ ผลลัพธ์ไม่ดีเท่า ที่ควรนัก การทำางานของมนุษย์น้ นั จำาเป็ นที่จะต้องทำางานกันเป็ นกลุ่มหรื อทีมถึงจะมี ประสิ ทธิ ภาพได้คอมพิวเตอร์กเ็ ช่นกัน ควรจะทำางานเป็ นกลุ่มหรื อทีม ซึ่งการทำางานเป็ นกลุ่มหรื อทีมของ คอมพิวเตอร์ น้ ีจะเรี ยกว่า “ เครื อข่าย (Network) ”
20
เครือข่ ายคอมพิวเตอร์ คอื อะไร เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) คือระบบที่มีคอมพิวเตอร์ อย่างน้อยสองเครื่ องเชื่อมต่อกัน โดยใช้สื่อกลาง และก็สื่อสารข้อมูลกันได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ซึ่งทำาให้ผใู ้ ช้คอมพิวเตอร์ แต่ละเครื่ อง สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่งกันและกันได้ นอกจากนี้ยงั สามารถใช้ทรัพยากร(Resources) ที่มีอยูใ่ นเครื อข่าย ร่ วมกันได้ เช่น เครื่ องพิมพ์ ซีดีรอม สแกนเนอร์ ฮาร์ ดดิสก์ เป็ นต้น แนวคิดในการสร้างเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ น้ นั เริ่ มมาจากการที่ผใู ้ ช้ตอ้ งการที่จะแลกเปลี่ยนข้อมูลกัน อย่างมีประสิ ทธิภาพและรวดเร็ ว คอมพิวเตอร์เดี่ยวๆ เป็ นอุปกรณ์ที่มีความสามารถในการประมวลผลข้อมูล ในปริ มาณมากอย่างรวดเร็ วอยูแ่ ล้ว แต่ขอ้ เสี ยคือ ผูใ้ ช้ไม่สามารถแชร์ ขอ้ มูลนั้นกับคนอื่นอย่างมี ประสิ ทธิ ภาพได้ก่อนที่จะมีเครื อข่ายคอมพิวเตอร์
องค์ ประกอบพืน้ ฐานของเครือข่ าย การที่คอมพิวเตอร์จะเชื่อมต่อกันเป็ นเครื อข่ายได้ ต้องมีองค์ประกอบพื้นฐานดังต่อไปนี้ - คอมพิวเตอร์ อย่างน้อย 2 เครื่ อง - เน็ตเวิร์ดการ์ด หรื อ NIC ( Network Interface Card) เป็ นการ์ ดที่เสี ยบเข้ากับช่องที่ เมนบอร์ ด ของคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็ นจุดเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ และเครื อข่าย - สื่ อกลางและอุปกรณ์สาำ หรับการรับส่ งข้อมูล เช่น สายสัญญาณ ส่ วนสายสัญญาณที่นิยมที่ใช้ กันในเครื อข่ายก็เช่น สายโคแอ็กเชียล สายคู่เกลียวบิด และสายใยแก้วนำาแสง เป็ นต้น ส่ วนอุปกรณ์ เครื อ ข่าย เช่น ฮับ สวิตช์ เราท์เตอร์ เกตเวย์ เป็ นต้น - โปรโตคอล ( Protocol) โปรโตคอลเป็ นภาษาที่คอมพิวเตอร์ ใช้ติดต่อสื่ อสารกันผ่านเครื อข่าย คอมพิวเตอร์ ที่สามารถสื่ อสารกันได้น้ นั จำาเป็ นที่ตอ้ งใช้ “ภาษา” หรื อใช้โปรโตคอลเดียวกันเช่น OSI, TCP/IP, IPX/SPX เป็ นต้น - ระบบปฏิบตั ิการเครื อข่าย หรื อ NOS (Network Operating System)ระบบปฏิบตั ิการเครื อข่ายจะ เป็ นตัวคอยจัดการเกี่ยวกับการใช้งานเครื อข่ายของผูใ้ ช้แต่ละคน 1 เน็ตเวิร์คการ์ ด
21
เน็ตเวิร์คการ์ดจะเป็ นจุดเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ และระบบเครื อข่าย ส่ วนใหญ่จะเรี ยกว่า “NIC (Network Interface Card)”หรื อบางทีกเ็ รี ยกว่า “LAN การ์ ด (LAN Card)” อุปกรณ์เหล่านี้จะทำาการแปลง ข้อมูลเป็ นสัญญาณที่สามารถส่งไปตามสายสัญญาณหรื อสื่ อแบบอื่นได้ ปั จจุบนั นี้กไ็ ด้มีการแบ่งการ์ ดออก เป็ นหลายประเภท ซึ่งจะถูกออกแบบให้สามารถใช้ได้กบั เครื อข่ายประเภทแบบต่าง ๆ เช่น อีเธอร์ เน็ต การ์ ด โทเคนริ งการ์ด เป็ นต้น การ์ดในแต่ละประเภทอาจใช้กบั สายสัญญาณบางชนิดเท่านั้น หรื ออาจจะ ใช้ได้กบั สายสัญญาณหลายชนิด
เน็ตเวิร์คการ์ ด เน็ตเวิร์คการ์ดจะติดตั้งอยูก่ บั คอมพิวเตอร์ โดยเต้าเสี ยบเข้ากับช่องบนเมนบอร์ ดของ คอมพิวเตอร์ ส่วนมากคอมพิวเตอร์ที่ผลิตในปั จจุบนั จะมีเฉพาะช่อง PCI ซึ่งก็ใช้บสั ที่มีขนาด 32 บิต อย่างไ รก็ตาม ยังมีคอมพิวเตอร์รุ่นเก่าที่ยงั มีช่องแบบ ISA อยู่ ซึ่งมีบสั ขนาด 16 บิต และมีการ์ ดที่เป็ น แบบ ISA จะประมวลผล ข้อมูลช้ากว่าแบบ PCI 2 สายสั ญญาณ ปั จจุบนั มีสายสัญญาณที่ใช้เป็ นมาตรฐานในระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ อยู่3 ประเภท 2.1 สายคู่บิดเกลียว สายคู่บิดเกลียว ( twisted pair ) ในแต่ละคู่ของสายทองแดงซึ่ งจะถูกพันกันตาม มาตรฐาน เพื่อต้องการลดการรบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ ากับคู่สายข้างเคียงได้แล้วผ่านไปยังสายเคเบิล เดียวกัน หรื อจากภายนอกเท่านั้น เนื่องจากสายคู่บิดเกลียวนั้นมีราคาไม่แพงมากใช้ส่งข้อมูลได้ดี แล้วน้าำ หนักเบา ง่ายต่อการติดตั้ง จึงทำาให้ถูกใช้งานอย่างกว้างขวางตัวอย่างคือสายโทรศัพท์สายแบบนี้ มี 2 ชนิดคือ ก. สายคู่บิดเกลียวชนิดหุ้มฉนวน (Shielded Twisted Pair : STP) เป็ นสายคู่บิดเกลียวที่หุม้ ด้วย ฉนวนชั้นนอกที่หนาอีกชั้นดังรู ป เพื่อป้ องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า
22
สายคู่บิดเกลียวชนิดหุ ม้ ฉนวน ข. สายคู่เกลียวชนิดไม่ ห้ ุมฉนวน (Unshielded Twisted Pair : UTP) เป็ นสายคู่บิดเกลียวที่หุม้ ด้วย ฉนวนชั้นนอกด้วยซึ่งบางทีกห็ ุ ม้ อีกชั้นดังรู ป ซึ่งทำาให้สะดวกในการโค้งงอ แต่กส็ ามารถป้ องกันการ รบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าได้นอ้ ยกว่าชนิดแรก
สายคู่บิดเกลียวชนิดไม่หุม้ ฉนวน 2.2 สายโคแอกเชียล สายโคแอกเชียล เป็ นตัวกลางการเชื่อมโยงที่มีลกั ษณะเช่นเดียวกับสายทีวีที่มีการ ใช้งานกันอยูเ่ ป็ นจำานวนมากไม่วา่ จะใช้ในระบบเครื อข่ายเฉพาะที่ และใช้ในการส่ งข้อมูลระยะที่ไกล ระหว่างชุมสายโทรศัพท์หรื อการส่งข้อมูลสัญญาณวีดีทศั น์ ซึ่งสายโคแอกเชียลที่ใช้ทวั่ ไปก็มีอยู่ 2 ชนิด คือ 50 โอห์ม ซึ่งใช้ส่งข้อมูลแบบดิจิทอล และชนิด 75 โอห์ม ซึ่งก็จะใช้ส่งข้อมูลสัญญาณอนาล็อก สาย โคแอกเชียลมีฉนวนหุ ม้ เพื่อป้ องกันการรบกวนของคลื่นสัญญาณแม่เหล็กไฟฟ้ า และก็เพื่อป้ องกันสัญญาณ รบกวนอื่น ๆ ซึ่งก็เป็ นส่วนหนึ่งที่ทาำ ให้สายแบบนี้ มีช่วงความถี่ที่สญ ั ญาณไฟฟ้ าสามารถส่ งผ่านได้กว้าง ถึง 500 Mhz จึงสามารถส่งข้อมูลด้วยอัตราของการส่ งสูงขึ้น
23
ลักษณะของสายโคแอกเชียล 2.3 เส้ นใยแก้วนำาแสง เส้นใยนำาแสง ( fiber optic ) เป็ นการที่ใช้ให้แสงเคลื่อนที่ไปในท่อ แก้ว ซึ่งสามารถส่งข้อมูลด้วยเป็ นอัตราความหนาแน่นของสัญญาณข้อมูลที่สูงมาก ที่ปัจจุบนั ถ้าใช้เส้นใย นำาแสงกับระบบอีเธอร์เน็ตก็ใช้ได้ดว้ ยความเร็ ว 10 เมกะบิต ถ้าใช้กบั FDDI ก็จะใช้ได้ดว้ ยความเร็ วสูง ถึง 100 เมกะบิต
ลักษณะของเส้นใยนำาแสง 3 อุปกรณ์ เครือข่าย อุปกรณ์ที่นาำ มาใช้ในเครื อข่ายทำาหน้าที่จดั การเกี่ยวกับการรับ- ส่ งข้อมูลในเครื อข่าย หรื อใช้สาำ หรับทวน สัญญาณเพื่อให้การรับ-ส่งข้อมูลได้ดี และส่งในระยะที่ไกลมากขึ้น หรื อใช้สาำ หรับขยายเครื อข่ายให้มีขนาด ใหญ่ข้ ึน อุปกรณ์เครื อข่ายที่พบเห็นโดยทัว่ ไป เช่น ฮับ สวิตซ์ เราท์เตอร์ 3.1 ฮับ (Hub) ฮับ (HUB) คืออุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมกันระหว่างกลุ่มของคอมพิวเตอร์ ฮับมีหน้าที่รับส่ งเฟรมข้อมูลทุก เฟรมที่ได้รับจากพอร์ตใดพอร์ตหนึ่ง เพื่อส่งไปยังทุก ๆ พอร์ ตที่เหลือ คอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่อเข้ากับฮับจะ แชร์ แบนด์วิธหรื ออัตราข้อมูลของเครื อข่าย
24
ฮับ (HUB) 3.2 สวิตซ์ (Switch) สวิตซ์ (Switch) หรื อ บริ ดจ์ (Bridge) เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้สาำ หรับเชื่อมต่อ LAN สองเครื อข่ายเข้า ด้วยกัน โดยจะต้องเป็ น LAN ชนิดเดียวกัน และก็ใช้โปรโตคอลในการรับส่ งข้อมูลเหมือนกัน เช่น ใช้ใน การเชื่อมต่อ Ethernet LAN ทั้งสองเครื อข่ายเข้าด้วยกัน
สวิตซ์ (Switch) หรื อ บริ ดจ์ (Bridge) 3.3 เราท์ เตอร์ ( Routing ) เป็ นอุปกรณ์ที่ทาำ หน้าที่เชื่อมต่อในระบบเครื อข่ายกับหลายระบบเข้าด้วยกันที่คล้ายกับบริ ดจ์ แต่ก็ มีส่วนการทำางานจะซับซ้อนมากกว่าบริ ดจ์มาก โดยเราท์เตอร์ กม็ ีเส้นทางการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างแต่ละ เครื อข่ายเก็บไว้เป็ นตารางเส้นทาง เรี ยกว่า Routing Table ทำาให้เราท์เตอร์ สามารถทำาหน้าที่จดั หาเส้นทาง และเลือกเส้นทางเหมาะสมที่สุดเพื่อใช้ในการเดินทาง และเพื่อการติดต่อระหว่างเครื อข่ายได้อย่างมี ประสิ ทธิ ภาพ
เราท์เตอร์ ( Routing ) 3.4 โปรโตคอล (Protocol) ในการเชื่อมโยงของเครื อข่ายเครื่ องคอมพิวเตอร์ ในแต่ละเครื่ องอาจก็ตอ้ งมีระบบที่เหมือนกัน หรื อแตกต่างกัน เช่นในการใช้งานในเครื อข่ายจึงต้องเป็ นมาตรฐานหรื อระเบียบที่ใช้ในการติดต่อให้แต่ละ เครื่ องมีวิธีการสื่ อสารที่เป็ นไปตามแนวทางเดียวกันได้ เพื่อให้เป็ นการเชื่อมโยงข้อมูล และในการติดต่อ
25
สื่ อสารของเครื่ องคอมพิวเตอร์ในแต่ละเครื่ องต้องมีความเข้าใจถูกต้องตรงกันและสามารถทำางานร่ วมกันได้ เป็ นอย่างดี ไม่เกิดความเสี ยหายนั้นเกิดขึ้น จึงมีการกำาหนดวิธีการมาตรฐานขึ้นเรี ยกว่า โปรโตคอล ดังนั้น อาจกล่าวได้วา่ โปรโตคอล หมายถึง กฎเกณฑ์ ข้อตกลง ภาษาสื่ อสาร รู ปแบบ วิธีการเชื่อมต่อของเครื่ อง คอมพิวเตอร์ ในเครื อข่าย (ระบบใดๆ ก็ตาม)ให้สามารถติดต่อสื่ อสารมีการใช้งานร่ วมกันได้หลากหลาย
การจำาแนกประเภทของเครือข่าย เครื อข่ายสามารถจำาแนกออกได้เป็ นหลายประเภทแล้วแต่เกณฑ์ที่ใช้ คล้ายกับการจำาแนกของ รถยนต์ ถ้าใช้ขนาดเป็ นเกณฑ์ จะสามารถแบ่งออกได้ โดยทัว่ ไปจำาแนกประเภทของเครื อข่ายมีอยู่ 3 วิธีคือ 1. ประเภทของเครือข่ายแบ่ งตามขนาดทางภูมิศาสตร์ ถ้าใช้ขนาดทางกายภาพเป็ นเกณฑ์ เครื อข่ายก็ตอ้ งสามารถแบ่งออกได้เป็ นสองประเภทคือ LA N หรื อเครื อข่ายท้องถิ่น และ MAN หรื อเครื อข่ายในบริ เวณกว้าง LAN เป็ นเครื อข่ายที่มีใช้ในขนาดเล็กที่ ครอบคลุมพื้นที่ในบริ เวณจำากัด เช่น ภายในห้อง หรื อภายในอาคาร หรื ออาจครอบคลุมไปถึงหลายอาคารที่ อยูใ่ นบริ เวณใกล้เคียง เช่น ในวิทยาเขตของมหาวิทยาลัย ซึ่งบางทีเรี ยกว่า “เครื อข่ายวิทยาเขต(Campus Network ) ” จำานวนของคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกันใน LAN อาจมีต้ งั แต่สองพันเครื่ องไปจนถึงหลายพัน เครื่ อง แต่ในส่วนของ WAN เป็ นเครื อข่ายที่ครอบคลุมบริ เวณกว้าง เช่น ในพื้นที่เมือง หรื ออาจจะ ครอบคลุมทัว่ โลกก็ได้ เช่น เครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต 1.1 เครื อข่ายท้องถิ่น (Local Area Network หรื อ Lan) เป็ นเครื อข่ายระยะใกล้ใช้กนั อยูใ่ น บริ เวณที่ไม่กว้างมากนัก อาจอยูใ่ นองค์กรเดียวกัน หรื ออาคารที่ใกล้กนั
26
1 อีเธอร์ เน็ต Ethernet อีเธอร์ เน็ต (Ethernet ) เป็ นชื่อที่เรี ยกวิธีการสื่ อสารในระดับล่างหรื อที่เราเรี ยกว่า โปรโตคอล (Protocol) ใน ระบบ LAN ชนิดหนึ่ง ที่พฒั นาขึ้นโดย 3 บริ ษทั ใหญ่ 2 โทเคนริง (Token Ring) IEEE 802.5 หรื อโทเคนริ ง (Token Ring) หรื อมักจะเรี ยกอีกอย่างว่า ไอบีเอ็มโทเคนริ ง จัดเป็ นเครื อข่ายที่ใช้ ในโทโปโลยีแบบวงแหวนนี้ ดว้ ยสายคู่บิดเกลียว หรื อเส้นใยนำาแสง 3 ATM ย่อมาจากคำาว่า“ Asynchronous Transfer Mode” ไม่ได้มีความหมายถึงตู ้ATM ( Automatic Teller Machine) ที่เราใช้ถอนเงินสดจากธนาคาร แต่บางทีตู ้ ATM ที่เราใช้ถอนเงินสดอาจจะเชื่อมต่อ เข้าศูนย์กลาง ด้วยระบบเครื อข่ายแบบ ATM ก็ได้ ATM เป็ นมาตรฐานการรับส่ งข้อมูลที่กาำ หนดโดย ITU-T (International Telecommunication Union-Telecommunication Standard Sector)
ระบบเครื อข่ายแบบกว้าง (Wide Area Network: WAN) ระบบเครือข่ายแบบกว้ าง (Wide Area Network: WAN) ในระบบเครื อข่าย WAN แบบบริ เวณกว้าง โดยส่ วนใหญ่แล้วก็จะเป็ นเครื อข่ายที่ระยะไกลเป็ น ระบบเครื อข่ายที่เชื่อมโยงเครื อข่ายแบบท้องถิ่นตั้งแต่ 2 เครื อข่ายขึ้นไปเข้าไว้ดว้ ยกันโดยผ่านระยะทางที่ ไกลมาก โดยทัว่ ไปอาศัยสายโทรศัพท์ขององค์การโทรศัพท์ และคลื่นไมโครเวฟ เป็ นตัวกลางในการรับส่ งข้อมูล ระบบนี้เสี ยค่าใช้จ่ายมากกว่าแบบแรก
27
2. ประเภทของเครือข่ายแบ่ งตามหน้ าที่ของคอมพิวเตอร์ ที่กล่าวมาข้างต้น เป็ นเพียงการจำาแนกประเภทของเครื อข่ายตามขนาดพื้นที่ที่ครอบคลุมถึงเท่านั้น การ จำาแนกประเภทของเครื อข่ายยังสามารถจำาแนกได้ โดยใช้ลกั ษณะการแชร์ ขอ้ มูลของคอมพิวเตอร์ หรื อ หน้าที่ของคอมพิวเตอร์ในแต่ละเครื อข่ายเป็ นเกณฑ์ เพื่อเป็ นการแบ่งประเภทของเครื อข่าย ซึ่งเมื่อใช้หลัก การนี้แล้วเราสามารถแบ่งเครื อข่ายออกได้เป็ น 2 ประเภทคือ 2.1 เครือข่ ายแบบเพียร์ ทูเพียร์ (Peer – To - Peer) โดยเป็ นการเชื่อมต่อของเครื่ องทุกเครื่ องที่ใช้ในระบบเครื อข่าย และยังมีสถานะเท่าเทียมกันหมด โดยเป็ น เครื่ องทุกเครื่ องสามารถเป็ นได้ท้ งั เครื่ องผูใ้ ช้บริ การและผูใ้ ห้เครื่ องบริ การในขณะใดขณะหนึ่ง 2.2 เครือข่ ายแบบไคลเอนท์ เซิร์ฟเวอร์ (Client/Server Network) ถ้าระบบเครื อข่ายมีคอมพิวเตอร์ไม่มากนัก ควรสร้างเครื อข่ายแบบเพียร์ ทูเพียร์ เนื่องจากง่ายและค่าใช้จ่าย จะถูกกว่า แต่เมื่อเครื อข่ายนั้นมีการขยายใหญ่ข้ ึนจำานวนผูใ้ ช้กม็ ากขึ้นเช่นกัน การดูแลและการจัดการระบบ ก็จะซับซ้อนมากยิง่ ขึ้น เครื อข่ายจำาเป็ นที่ตอ้ งมีเซิร์ฟเวอร์ ทาำ หน้าที่จดั การเรื่ องต่างๆ และให้บริ การ อื่นๆ เครื่ องเซิร์ฟเวอร์น้ นั ก็ควรที่จะเป็ นเครื่ องที่มีประสิ ทธิ ภาพที่สูงขึ้น และสามารถบริ การให้ผใู ้ ช้ได้ หลายๆ คนในเวลาเดียวกันได้ 2.3 ประเภทของเซิร์ฟเวอร์ ที่ให้ บริการแบบต่ าง ๆ ก. ไฟล์ เซิร์ฟเวอร์ (File Server) เป็ นเซิร์ฟเวอร์ที่ทาำ หน้าที่ในการจัดเก็บไฟล์ จะเสมือนฮาร์ ดดิสก์รวมศูนย์ (Cauterized disk storage) เสมือน ว่าผูใ้ ช้งานทุกคนมีที่เก็บข้อมูลอยูท่ ี่เดียว เพราะควบคุม-บริ หารง่าย การสำารองข้อมูลโดยการ Restore ง่าย ข. พรินต์ เซิร์ฟเวอร์ Print Server หนึ่งเหตุผลที่จะต้องมี Print Server ก็คือ เพื่อแบ่งให้พริ นเตอร์ ราคาแพงบางรุ่ นที่ออกแบบมาใช้สาำ หรับการ ทำางานมาก ๆ เช่น HP Laser 5000 พิมพ์ได้ถึง 10 - 24 แผ่นต่อนาที พริ นเตอร์ สาำ หรับประเภทนี้ ความ สามารถในการทำางานที่จะสูง ค. แอพพลิเคชั่นเซิร์ฟเวอร์ (Application Server)
28
Application Server คือ เซิร์ฟเวอร์ที่รันโปรแกรมประยุกต์ได้ โดยการทำางานสอดคล้องกับ ไคลเอ็นต์ เช่น Mail Server ( รัน MS Exchange Server ) Proxy Server (รัน Proxy Server) หรื อ Web Server (รัน Web Server Program เช่น Xitami , Apache' ) ง. อินเตอร์ เน็ตเซิร์ฟเวอร์ (Internet Server) ปั จจุบนั อินเตอร์เน็ตนั้น มีผลกระทบกับเครื อข่ายในปั จจุบนั เป็ นอย่างมาก อินเตอร์ เน็ตเป็ นเครื อข่ายที่มี ขนาดใหญ่มากและมีผใู้ ช้งานมากที่สุดในโลก เทคโนโลยีที่ทาำ ให้อินเตอร์ เน็ตเป็ นที่นิยมก็คือ เว็บ และอีเมล ล์ เพราะทั้งสองแอพพลิเคชัน่ ทำาให้ผใู้ ช้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลและสื่ อสารกันได้ง่ายและมีรวดเร็ ว - เว็บเซิร์ฟเวอร์ (Web Server) คือ เซิร์ฟเวอร์ ที่ให้บริ การข้อมูลในรู ปแบบ HTML (Hyper text Markup Language) - เมลเซิร์ฟเวอร์ (Mail Server) คือ เซิร์ฟเวอร์ ที่ให้บริ การรับ - ส่ ง จัดเก็บ และจัดการเกี่ยวกับอีเมลของผู ้ ใช้ 3. ประเภทของเครือข่ายแบ่ งตามระดับความปลอดภัยของข้ อมูล อีกวิธีหนึ่งในการแบ่งประเภทของเครื อข่ายคือ การใช้ระดับความปลอดภัยของข้อมูล ซึ่งจะแบ่งออกได้ เป็ น 3 ประเภทด้วยกันก็คือ อินเตอร์เน็ต (Internet) ,อินทราเน็ต (Intranet) ,เอ็กส์ตราเน็ต (Extranet ) 3.1 อินเตอร์ เน็ต(Internet) อินเตอร์ เน็ต (Internet) นั้นเป็ นเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ที่นาำ ก่อตั้งโดยกระทรวงกลาโหม ประเทศ สหรัฐอเมริ กา อินเตอร์เน็ตในสมัยยุคแรก ๆ เมื่อประมาณปี พ.ศ. 2512 เป็ นเพียงการนำาคอมพิวเตอร์ จำานวนไม่กี่เครื่ องนั้นมาเชื่อมต่อกันเท่านั้น โดยมีเพียงสายส่ งสัญญาณ เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างเครื่ อง คอมพิวเตอร์ 3.2 อินทราเน็ต (Internet) ตรงกันข้ามกับอินเตอร์เน็ต อินทราเน็ตเป็ นเครื อข่ายส่ วนบุคคลที่ใช้เทคโนโลยีอินเตอร์ เน็ต เช่น เว็บ,อีเมล ล์,FTP แต่อินทราเน็ตใช้โปรโตคอล TCP/IP แต่ใช้สาำ หรับการรับ- ส่ งข้อมูลเช่นเดียวกับอินเตอร์ เน็ตซึ่ง โปรโตคอลนี้สามารถใช้ได้กบั ฮาร์ดแวร์หลายประเภท และสายสัญญาณหลายประเภทฮาร์ ดแวร์ ที่ใช้สร้าง เครื อข่ายนี้ ไม่ใช่ปัจจัยหลักของอินทราเน็ต แต่เป็ นซอร์ ฟแวร์ ที่มีมาให้อินทราเน็ตทำางานได้ อินทราเน็ตเป็ น
29
เครื อข่ายที่องค์กรสร้างขึ้น สำาหรับให้กบั พนักงานขององค์กรที่ใช้เพียงเท่านั้น 3.3 เอ็กส์ ตราเน็ต (Extranet) เอ็กส์ตราเน็ต(Extranet) เป็ นเครื อข่ายแบบกึ่งอินเตอร์ เน็ตกึ่งอินทราเน็ต เอ็กส์ตราเน็ต คือ เครื อข่ายที่เชื่อม ต่อระหว่างอินทราเน็ตของ 2 องค์กร ดังนั้นจะมีบางส่ วนของเครื อข่ายที่เป็ นเจ้าของร่ วมกันระหว่าง 2 องค์กรหรื อบริ ษทั การสร้างอินทราเน็ตจะไม่จาำ กัดด้วยเทคโนโลยี แต่จะยากตรงนโยบายที่เกี่ยวกับการรักษา ความปลอดภัยของข้อมูลที่ท้ งั 2 องค์กรจะต้องตกลงกัน การสร้างเอ็กส์ตราเน็ตจะเน้นที่ระบบการรักษา ความปลอดภัยข้อมูลกับรวมถึงการติดตั้งไฟร์ วอลหรื อ ระหว่างอินทราเน็ตและการเข้ารหัสข้อมูลและสิ่ งที่ สำาคัญที่สุดก็คือ นโยบายการรักษาความปลอดภัยข้อมูลและการบังคับใช้
ความหมายของระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ http://saithammachannetwork.blogspot.com/ ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น http://5332011101.blogspot.com/2012/02/teamwork-centralizedcomputing-dump.html
ประเภทของระบบ http://learn.wattano.ac.th/learning/userchap13 อ้างอิง http://media.rajsima.ac.th/sujittra/unit1_p3.html องค์ประกอบ http://computernetwork.site40.net/chapter2-4.html