ชื่อหนังสือ ISBN จัดทำ�โดย พิมพ์ครั้งที่ ๑ จำ�นวนพิมพ์ สถานที่พิมพ์ ออกแบบศิลป์
การละเล่นพื้นบ้านไทย ๙๗๘-๖๑๖-๒๙๗-๑๒๙-๗ กลุ่มนันทนาการเด็กและเยาวชน สำ�นักนันทนาการ กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ๑๕๔ ถนนพระราม ๑ แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ ๑๐๓๓๐ www.dpe.go.th พ.ศ. ๒๕๕๗ ๕,๐๐๐ เล่ม โรงพิมพ์ เอส.ออฟเซ็ทกราฟฟิคดีไซน์ ๖๓ ซอยประชาอุทิศ ๗๕ แยก ๕ แขวงทุ่งครุ เขตทุ่งครุ กรุงเทพฯ ๑๐๑๔๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๘๗๓ ๖๐๙๕-๖ โทรสาร ๐ ๒๘๗๓ ๕๗๕๘ บริษัท แอนิเมเนีย จำ�กัด www.animania.co.th
คำ�นำ� กรมพลศึ ก ษา กระทรวงการท่ อ งเที่ ย วและกี ฬ า มี อำ � นาจหน้ า ที่ ตามกฎกระทรวงในการดำ�เนินการด้านนันทนาการ อนุรกั ษ์สง่ เสริมและเผยแพร่ การละเล่นพื้นเมืองและกีฬาพื้นบ้าน เผยแพร่องค์ความรู้ด้านนันทนาการ สร้างความสุขเพื่อมวลชน จึงมอบหมายให้สำ�นักนันทนาการจัดทำ�หนังสือ “การละเล่นพื้นบ้านไทย” ขึ้น เพื่อให้สถานศึกษาหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้นำ�ไปศึกษา เพื่อเป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการละเล่นพื้นบ้านไทย ให้แพร่หลาย อีกทั้งเป็นการอนุรักษ์การละเล่นพื้นบ้านไทยให้คงอยู่สืบไป การจัดทำ�หนังสือ “การละเล่นพื้นบ้านไทย” ได้รับความร่วมมือ จากคณะที่ปรึกษา ซึ่งเป็นผู้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ ในเรื่องการละเล่นพื้นบ้านไทยเป็นอย่างดี จึงขอขอบคุณไว้ ณ โอกาสนี้ กรมพลศึกษา หวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือ “การละเล่นพื้นบ้านไทย” จะเป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษา หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนผู้สนใจ ซึ่ ง จะก่ อ ให้ เ กิ ด การอนุ รั ก ษ์ ส่ ง เสริ ม เผยแพร่ ใ ห้ ก ารละเล่ น พื้ น บ้ า นไทย อยู่คู่กับสังคมไทยได้อย่างยั่งยืน คณะผู้จัดทำ� สำ�นักนันทนาการ กรมพลศึกษา
สารบัญ
บทที่ ๑ บทนำ� ความหมายของการละเล่นพื้นบ้านไทย ความเป็นมาของการละเล่นพื้นบ้านไทย
หน้า ๙ ๑๑
บทที่ ๒ ความสำ�คัญ คุณค่า และประโยชน์ของการละเล่น พื้นบ้านไทย ๑๙ บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย วิ่งเปี้ยว ตีลูกล้อ แข่งเรือบก ม้าหมุน (เก้าอี้ดนตรี) ชักเย่อ กะโดดเชือก กาฟักไข่ ขี่ม้าส่งเมือง งูกินหาง ตี่จับ มอญซ่อนผ้า
๓๒ ๓๓ ๓๔ ๓๕ ๓๖ ๓๗ ๓๙ ๔๑ ๔๔ ๔๕ ๔๗
ลิงชิงหลัก รี ๆ ข้าวสาร โพงพาง รถม้าชาวเสียม ตีจับ ไก่ตบ ไก่อิ๊กอี ข้ามห้วย ดึงหนัง นางไก่ ลู่ไข่เต่า หมากข่าง กาชิงไข่ เก้าอี้คน คลี ชนโคคน ชิงหลักชัย เตย ยั่วทิง
สารบัญ
หน้า ๔๘ ๔๙ ๕๐ ๕๑ ๕๒ ๕๔ ๕๖ ๕๘ ๖๐ ๖๑ ๖๒ ๖๔ ๖๖ ๖๗ ๖๘ ๗๐ ๗๓ ๗๖ ๘๐
หมาชิงเสา ขันไก่ ขี่ม้าหาเจ้าเมือง หมากเก็บ ตีไก่ กลิ้งครกขึ้นภูเขา กระซิบขี่ กะเติงกะต้อย ขี่ม้าหลังโปก ขี้ตู่กลางนา แข่งเกวียน โคเกวียน ชักชา
บรรณานุกรม คณะผู้จัดทำ�
สารบัญ
หน้า ๘๒ ๘๓ ๘๔ ๘๕ ๘๗ ๘๘ ๙๐ ๙๑ ๙๓ ๙๕ ๙๖ ๙๗ ๙๘ ๙๙ ๑๐๐
บทที่ ๑
บทนำ�
8
บทที่ ๑ บทนำ�
การละเล่นพื้นบ้านไทย
การละเล่นพื้นบ้านเป็นกิจกรรมนันทนาการประเภทเกม ที่สามารถ ส่งเสริ มและพั ฒ นา อารมณ์สุข สนุกสนาน การละเล่ น พื้ น บ้ า นของไทย เป็นกิจกรรมทีย่ อมรับร่วมกันในสังคมว่าเป็นภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ มีการถ่ายทอด จากคนรุ่นหนึ่งไปยังคนอีกรุ่นหนึ่ง การละเล่นพื้นบ้านเป็นกิจกรรมที่เน้น ความสนุ ก สนานไม่ เ น้ น การแพ้ ช นะ จึ ง มี คุ ณ ค่ า และมี ส่ ว นสำ � คั ญ ในการหล่อหลอมพฤติกรรมโดยเฉพาะกั บ เด็ ก เล็ ก ซึ่ ง เป็ น ที่ ร วม ทั้ ง เป็ น การเชื่ อ มโยงประสบการณ์ ท างสั ง คมให้ กั บ เด็ ก ทำ � ให้ เ ด็ ก ไทยประสบ ความสำ�เร็จในการเล่นจนเกิดความภาคภูมิใจในตนเอง เห็นคุณค่าของตนเอง กล้าคิด กล้าแสดงออก รู้จักการปรับตัวให้อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข อีกทั้งยังช่วยให้เด็กได้เรียนรู้ด้วยการรอคอย การช่วยเหลือ การแบ่งปัน และการเป็นผูน้ � ำ ผูต้ าม สิง่ เหล่านีเ้ ป็นผลทีจ่ ะเกิดโดยตรงจากการละเล่นของเด็ก ที่ส่งผลต่อสุขภาพจิตและพฤติกรรมทางสังคมของเด็กวัยนี้ ที่ต้องเสริมสร้าง พัฒนาการให้พร้อมในการเจริญเติบโตและการเรียนรู้ในระดับสูงขึ้นต่อไป อย่างมีประสิทธิภาพ
ความหมายของการละเล่นพื้นบ้านไทย
คำ�ว่า “การเล่น” ได้มีผู้ศึกษาค้นคว้าให้ความหมายไว้แตกต่างกัน มากมาย ดังนี้ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ ได้ให้ความหมาย ของคำ�ว่า “การละเล่น” “เล่น” และ “พื้นบ้าน” ไว้ดังนี้ “การละเล่น” หมายถึง มหรสพการแสดงต่าง ๆ เพื่อความสนุกสนาน รื่นเริง บทที่ ๑ บทนำ�
9
“พื้ น บ้ า น” หมายถึ ง เฉพาะถิ่ น เช่ น ของพื้ น บ้ า น มั ก ใช้ เข้ า คู่ กับคำ�พื้นเมือง เป็น พื้นบ้านพื้นเมือง “เล่น” หมายถึง ทำ�เพื่อสนุกหรือผ่อนคลายอารมณ์ เช่น เล่นเรือ เล่ น ดนตรี ก ารแสดง เช่ น เล่ น โขน เล่ น ละคร เล่ น งานเหมา สาละวน หรือหมกมุ่นอยู่กับสิ่งใด ๆ ด้วยความเพลิดเพลินเป็นต้น เช่น เล่นกล้วยไม้ สารานุกรมภาษาอีสาน ไทย อังกฤษ ปรีชา พิณทอง. (๒๕๓๒). ได้ให้ ความหมายของคำ�ว่า พื้น และ บ้าน ไว้ดังนี้ “พื้น” หมายถึง ประวัติ ตำ�นาน เช่น นิทานพื้นบ้าน “บ้าน” หมายถึง บริเวณที่เรือนตั้งอยู่ สำ�นักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ. (๒๕๔๔). ได้ให้ ความหมายของการเล่นไว้ดังนี้ “การเล่น” หมายถึง กิจกรรมที่เด็กเล็ก ๆ ชอบที่จะทำ� จะจัดการ ทำ � ขึ้ น มาตลอดจนเพื่ อ ความสนุ ก สนานทั้ ง หลายที่ ส นองต่ อ ความอยากรู้ อยากเห็น ของทุกสิ่งที่เขาได้เห็น ได้ยิน ได้ชิม เป็นวิธีการที่พัฒนาความรู้สึก ของเด็ก จะได้รู้จักกับเพื่อน ๆ ได้ร่วมกิจกรรมได้สังคม ฉวีวรรณ กินาวงษ์. (๒๕๓๓). กล่าวว่า การเล่นของเด็ก หมายถึง กิจกรรมหรือการกระทำ�ใด ๆ ทีใ่ ห้ความสนุกเพลิดเพลิน โดยทีเ่ ด็กไม่ได้ค�ำ นึงถึง ผลของกิ จ กรรมหรื อ การกระทำ � นั้ น ๆ การเล่ น มี ค วามหมายสำ � คั ญ มาก สำ�หรับเด็ก เพราะการเล่นเกิดจากความสมัครใจของเด็ก สุชา จันทร์เอม. (๒๕๔๑). ได้กล่าวถึง การเล่นว่า หมายถึง กิจกรรม หรือการกระทำ�ใด ๆ ก็ให้ความสนุกสนานแก่เด็กโดยทีเ่ ด็กไม่ค�ำ นึงถึงผลการเล่น 10
บทที่ ๑ บทนำ�
รั ช ฎวรรณ ประพาน. (๒๕๔๑). ได้ ใ ห้ ค วามหมายของคำ � ว่ า การละเล่นพื้นบ้านว่า หมายถึง กิจกรรมการละเล่นของสังคมที่ไม่ทราบที่มา แต่ได้ยอมรับและถ่ายทอดการเล่นต่อ ๆ กันมาโดยไม่ขาดสาย เป็นกิจกรรม การละเล่ น ที่ เ ป็ น การละเล่ น สื บ ทอดต่ อ กั น มาตั้ ง แต่ อ ดี ต จนถึ ง ปั จ จุ บั น และเป็ น กิ จ กรรมที่ เ ด็ ก เล่ น เพื่ อ ความสนุ ก สนานเพลิ ด เพลิ น อาจจะเป็ น การเล่นคนเดียวหรือเล่นเป็นกลุ่ม การละเล่นจึงเป็นบทบาทต่อการพัฒนา ทั้ง ๔ ด้าน (ร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา) ของเด็ก และเป็น เครื่ อ งหมายแสดงออกของการละเล่ น พื้ น บ้ า นว่ า เป็ น กิ จ กรรมที่ เ ด็ ก เล่ น ด้ ว ยความสมั ค รใจเกิ ด ความสนุ ก สนานเพลิ ด เพลิ น ในขณะที่ เ ด็ ก ได้ เ ล่ น เด็กจะเกิดการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง ซึง่ เป็นกระบวนการพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา และสร้างความเชื่อมั่นให้กับตนเอง จารุวรรณ ธรรมวัตร. (๒๕๕๓). ได้กล่าวถึงการละเล่นของเด็กไทยว่า การเล่นทุกชนิดนอกจากจะเกิดความเพลิดเพลินแก่เด็กแล้ว ยังมีคณ ุ ค่าอืน่ แฝงอยู่ เช่ น เสริ ม สร้ า งพั ฒ นาการทางร่ า งกาย สติ ปั ญ ญา อารมณ์ จิ ต ใจ และเล่นหลายชนิดฝึกให้เด็กได้รู้จักสังเกต ให้ไหวพริบในการเล่นทายปริศนา สอนให้เด็กเข้ากับเพื่อนได้ โดยเพื่อนยอมรับอย่างเต็มใจ การเล่นของเด็ก แบ่งได้หลายประเภท คือ การเล่นและการเล่นในร่ม ถ้าแบ่งเอาบทร้องเป็นหลัก ก็จะมีสองประเภทคือ การเล่นมีบทร้องและการเล่นที่ไม่มีบทร้อง
ความเป็นมาของการละเล่นพื้นบ้านไทย
การเล่นของไทยมีมาตัง้ แต่ในสมัยโบราณ ทีไ่ ม่มที ราบชัดเจนว่าเมือ่ ไหร่ มี แ ต่ ก ารสั น นิ ษ ฐานกั น ตามประวั ติ ศ าสตร์ แ ละหลั ก ฐานที่ ป รากฏตามที่ มี การจารึ ก กั น ไว้ เ ท่ า นั้ น ซึ่ ง ปรากฏหลั ก ฐานว่ า มี ม าแต่ ส มั ย กรุ ง สุ โขทั ย จากข้อความในหลักศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำ�แหง และหลักฐานที่ปรากฏ บทที่ ๑ บทนำ�
11
ในหนังสือ วรรณคดี และภาพจิตรกรรมฝาผนัง ซึ่งมีการสืบทอดวิธีเล่น กันมาอย่างต่อเนื่อง และปรับให้เข้ากับแต่ละยุคสมัย โดยการเล่นของไทย ได้ ส อดแทรกไปกั บ ประเพณี แ ละวั ฒ นธรรมไทยในสมั ย ก่ อ น เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความสนุ ก สนานบั น เทิ ง ควบคู่ กั น ไปกั บ การทำ � งาน ทั้ ง ในชี วิ ต ประจำ � วั น และเทศกาลงานบุญ ตามระยะเวลาแห่งฤดูกาล
สมัยสุโขทัย
การละเล่นของเด็กไทยนัน้ มีประวัตคิ วามเป็นมาตัง้ แต่สมัยดึกดำ�บรรพ์ ก่อนประวัติศาสตร์แล้ว กล่าวคือ เมื่อมนุษย์รู้จักเอาดินมาปั้นเป็นภาชนะ สิ่งของเครื่องใช้ในครั้งแรกแล้วจึงพัฒนามาเป็นลำ�ดับ เด็ก ๆเห็นผู้ใหญ่ทำ� ก็ เ ลี ย นแบบ นำ � ดิ น มาปั้ น เล่ น บ้ า ง ประวั ติ ศ าสตร์ ไ ด้ มี ก ารบั น ทึ ก ว่ า คนไทยมี ก ารละเล่ น มาตั้ ง แต่ ส มั ย สุ โขทั ย จากความในศิ ล าจารึ ก ของ พ่อขุนรามคำ�แหง สมัยสุโขทัยหลักที่ ๑ กล่าวว่า “…ใครใคร่จักมักเล่น เล่น ใครจักมักหัว หัว ใครจักมักเลื่อน เลื่อน…” แต่ไม่มีรายละเอียดกล่าวไว้ว่าคน สมัยนั้นมีการละเล่นอะไรบ้าง ในตำ�รับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ มีการกล่าวถึง การละเล่นของคนสมัยนัน้ ว่า “...เดือนยีถ่ งึ การพระราชพิธบี ษุ ยาภิเษก เถลิงพระโค กินเลี้ยงเป็นนักขัตฤกษ์ หมู่นางในก็ได้ดูชุดชักว่าวหง่าวฟังสำ�เนียง เสียงว่าว ร้องเสนาะลั่นฟ้าไปทั้งทิวาราตรี...”
สมัยกรุงศรีอยุธยา
ในสมัยอยุธยา ก็ได้กล่าวถึงการแสดงเรื่อง มโนห์รา ไว้ในบทละคร ครั้งกรุงเก่า ซึ่งเรื่องนี้สมเด็จกรมพระยาดำ�รงราชานุภาพ ทรงสันนิษฐานว่า แต่งก่อนสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ การละเล่นที่ปรากฏในบทละคร เรื่องนี้ คือ ลิงชิงหลักและการเล่นปลาลงอวน ซึ่งประเพณีและวัฒนธรรม สมัยก่อน มักสอดแทรกความสนุกสนานบันเทิงควบคู่กันไปกับการทำ�งาน 12
บทที่ ๑ บทนำ�
ทั้งในชีวิตประจำ�วัน และเทศกาลงานบุญ ตามระยะเวลาแห่งฤดูกาล ในสมั ย อยุ ธ ยา บทละครกรุ ง เก่ า ได้ ก ล่ า วถึ ง การละเล่ น บางอย่ า ง ที่คุณคงจะคุ้นเคยดีเมื่อสมัยยังเด็ก คือลิงชิงหลักและปลาลงอวน ในบทที่ว่า “เมื่อนั้น โฉมนวลพระพี่ศรีจุลา ว่าเจ้าโฉมตรูมโนห์รา มาเราจะเล่นกระไรดี เล่นให้สบายคลายทุกข์ เล่นให้สนุกในวันนี้ จะเล่นให้ขนั กันสักทีเล่นให้สนุกกัน จริงจริง มาเราจะวิ่งลิงชิงเสา ช้างโน้นนะเจ้าเป็นแดนพี่ ช้างนี้เป็นแดนเจ้านี้ เล่นลิงชิงเสาเหมือนกัน ถ้าใครวิ่งเร็วไปข้างหน้า ถ้าใครวิ่งช้าอยู่ข้างหลัง เอาบัวเป็นเสาเข้าชิงกัน ขยิกไล่ผายผันกันไปมา เมื่อนั้น โฉมนวลพระพี่ศรีจุลา บอกเจ้าโฉมตรู มโนห์รา มาเราจะเล่นปลาลงอวน บัวผุดสุดท้องน้องเป็นปลา ลอยล่องท่องมาเจ้าหน้านวลจะขึงมือกันไว้เป็นสายอวน ดักท่าหน้านวลเจ้าล่องมา ออกหน้าที่ใครจับตัวได้ คุมตัวเอาไว้ว่าได้ปลา”
สมัยรัตนโกสินทร์
ในเรือ่ ง “อิเหนา” วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์กป็ รากฏการละเล่นหลายอย่าง เช่น ตะกร้อ จ้องเต ขี่ม้าส่งเมือง ดังว่า “...บ้างตั้งวงเตะตะกร้อเล่น เพลาเย็นแดดร่มลมสงัด ปะเตะโต้คู่กันเป็นสันทัด บ้างถนัดเข้าเตะเป็นน่าดู ที่หนุ่มหนุ่มคะนองเล่นจ้องเต สรวลเสเฮฮาขึ้นขี่คู่ บ้างรำ�อย่างชวามลาย เป็นเหล่าเหล่าเล่นอยู่บนคิรี” หรือในขุนช้างขุนแผนกก็กล่าวถึงการละเล่นไม้หึ่งไว้ว่า “...เมื่อกลางวันยังเห็นเล่นไม้หึ่ง กับอ้ายอึ่งอีดูกลูกอีมี แล้วว่าเจ้าเล่าก็ช่างนั่งมึนมิ ว่าแล้วซิอย่าให้ลงไปดิน” บทที่ ๑ บทนำ�
13
พระยาอนุมานราชธน ได้กล่าวถึง การละเล่นของเด็กไทยสมัยท่าน ไว้ใน “ฟื้นความหลัง” ว่า “การละเล่นของเด็กปูนนี้ไม่ใช่มีปืน มีรถยนต์เล็ก ๆ อย่างที่เด็กเล่นกันเกร่ออยู่ในเวลานี้ ลูกหนัง สำ�หรับเล่น แม้ว่ามีแล้วราคาแพง และยังไม่แพร่หลาย ตุก๊ ตาทีม่ ดี น่ื คือ ตุก๊ ตาล้มลุก และตุก๊ ตาพราหมณ์นง่ั ท้าวแขน สำ�หรับเด็กผู้หญิงเล่น ตุ๊กตาเหล่านี้เด็ก ๆ ชาวบ้านไม่มีเล่น เพราะต้องซื้อ จะมี แ ต่ ผู้ ใ หญ่ ทำ � ให้ ห รื อ ไม่ ก็ เ ด็ ก ทำ � กั น เองตามแบบอย่ า งที่สืบ ต่ อ จำ� มา ตั้ ง แต่ ไ หนก็ ไ ม่ ท ราบ เช่ น ม้ า ก้ า นกล้ ว ย ตะกร้ อ สานด้ ว ยทางมะพร้ า ว สำ�หรับโยนเตะเล่น หรือตุ๊กตาวัว ควาย ปั้นด้วยดินเหนียว ของเด็กเล่นที่สมัยนั้นนิยมเล่นกันคือ “กลองหม้อตาล” ในสมัยนั้น ขายน้ำ�ตาล เมื่อใช้หมดแล้ว เด็ก ๆ ก็นำ�มาทำ�เป็นกลอง มีวิธีทำ�คือ ใช้ผ้าขี้ริ้ว หุม้ ปากหม้อเอาเชือกผูกรัดคอหม้อให้แน่นแล้วเอาดินเหนียวเหลว ๆ ละเลงทา ให้ทั่ว หาไม้เล็ก ๆ มาตีผ้าที่ขึงข้าง ๆ หม้อโดยรอบ เพื่อขันเร่งให้ผ้าตึง ก็เป็นอันเสร็จ ตีได้ มีเสียงดัง กลองหม้อตาลของใครตีดังกว่ากันเป็นเก่ง ถ้าตีกระหน่ำ�จนผ้าขาดก็ทำ�ใหม่ 14
บทที่ ๑ บทนำ�
เด็กผูห้ ญิงส่วนใหญ่ชอบเล่น “หม้อข้าวหม้อแกง” หรือเล่นขายของหุงต้มแกง ไปตามเรือ่ ง เอาเปลือกส้มโอ เปลือกมังคุด หรือใบก้นบิด ผสมด้วยปูนแดงเล็กน้อย คัน้ เอาน�ำ้ ข้น ๆ รองภาชนะอะไรไว้ไม่ชา้ จะแข็งตัวเอามาทำ�เป็นวุน้ คนไทยในอดีตมองการละเล่นของเด็กไปในแง่ของจิตวิทยา โดยตีความหมาย ของการแสดงออกของเด็ ก ไปในเชิ ง ทำ � นายอนาคตหรื อ บุ พ นิ มิ ต ต่ า งๆ ความเชื่อเช่นนี้ปรากฏในวรรณคดีไทยหลายเรื่อง เช่น ขุนช้างขุนแผน
บทที่ ๑ บทนำ�
15
“สวดมนต์ฉันเสร็จสำ�เร็จแล้ว ฝ่ายข้างพลายแก้วอุตริว่า เราเล่นเป็นผัวเมียกันเถิดเรา
ขุนช้างร้องว่าข้าชอบใจ
นางพิมว่าไปอ้ายนอกคอก
รูปชั่วหัวถลอกกูหาเล่นไม่
พลายแก้วว่าเล่นเถิดเป็นไร
ให้ขุนช้างนั้นไซร้เป็นผัวนาง
ตัวข้าจะย่องเข้าไปหา
จะไปลักเจ้ามาเสียจากข้าง
ทั้งสองคนรบเร้าเฝ้าชวนนาง
จึงหักใบไม้วางต่างเตียงหมอน
นางฉลาดกวาดทรายกลายเป็นเรือน พูนขึ้นกล่นเกลื่อนดังฟูกหมอน นางพิมนอนพลางกลางดินดอน
เจ้าขุนช้างหัวกล้อนเข้านอนเคียง
พลายแก้วโดดแหวกเข้าแทรกกลาง ซุกหัวขุนช้างที่กลางเกลี้ยง ขุนช้างทำ�หลับอยู่ข้างเตียง
ฝ่ายนางพิมนอนเคียงเข้าเมียงมอง
ขุนช้างวางร้องก้องกู่โว้ย
ขโมยลักเมียกูจู่จากห้อง
ลุกขึ้นงุนง่านเที่ยวซานร้อง
เรียกหาพวกพ้องให้ติดตาม
…………………………..…… ท่านผู้ฟังทั้งสิ้นอย่ากินแหนง จะประดิษฐ์คิดแต่งก็หาไม่ เด็กอุตริเล่นหากเป็นไป
เทวทูตดลใจให้ประจักษ์ตา
เด็กเล่นสิ่งไรก็ไม่ผิด
ทุจริตก็เป็นเหมือนปากว่า
อันคดีมีแต่โบราณมา
ตำ�รานี้มีอยู่ในสุพรรณฯ”
16
บทที่ ๑ บทนำ�
ปัจจุบัน
การละเล่ น ของเด็ ก ไทยในปั จ จุ บั น เด็ ก ผู้ ห ญิ ง เล่ น ตุ๊ ก ตากระดาษ ชุดขายของพลาสติกเลียนแบบของจริง วิดโี อเกม เด็กผูช้ ายก็เล่นปืน จรวด เกมกด และเครือ่ งเล่นต่าง ๆ ซึง่ มีขายมากมาย และมีการละเล่นหลาย ชนิดทีน่ ยิ มเล่น ทั้ ง ในเด็ ก ชายและเด็ ก หญิ ง นอกจากนั้ น ยั ง เล่ น ตามฐานะและเศรษฐกิ จ ของครอบครัว ดังนั้นการละเล่นของเด็กไทยสมัยก่อนจึงค่อย ๆ เลือนหาย ไปทีละน้อย ๆ จนเกือบจะสูญหายไปหมดแล้ว เช่น กาฟักไข่ เขย่งเก็งกอย ขี่ม้าส่งเมืองขี้ตู่กลางนา เตย งูกินหาง ช่วงชัย ชักเย่อ ซ่อนหา มอญซ่อนผ้า ไอ้โม่ง ตี่ รีรีข้าวสาร ตั้งเต ฯลฯ
17
บทที่ ๒
ความสำ�คัญ คุณค่า และประโยชน์ของการละเล่นพื้นบ้านไทย
18
บทที่ ๒ ความสำ�คัญ
ความสำ�คัญ คุณค่า และประโยชน์ของการละเล่นพืน้ บ้านไทย
การละเล่นพืน้ บ้านเป็นการเล่นทีส่ บื ทอดกันมาแต่โบราณโดยเฉพาะเด็กๆ จะนิ ย มเล่ น กั น มาก เด็ ก สมั ย ก่ อ นจะเรี ย นรู้ก ารละเล่ น โดยไม่ มีก ารเรี ย น การสอน การละเล่ น พื้ น บ้ า นไม่ ว่ า ของภาคใดล้ ว นเป็ น ประโยชน์ เพราะการละเล่นทำ�ให้เด็กได้เคลือ่ นไหวได้ออกกำ�ลังกายเกิดความคล่องแคล่ว ว่ อ งไว ฝึ ก ความอดทน ฝึ ก การเป็ น ผู้ นำ � และผู้ ต ามที่ ดี ฝึ ก การสั ง เกต มีปฏิภาณไหวพริบ สร้างความสามัคคีในหมูค่ ณะ พร้องทัง้ เกิดความสนุกสนาน การละเล่ น จึ ง ถื อ ว่ า เป็ น หั ว ใจสำ � คั ญ ของเด็ ก ในปั จ จุ บั น โรงเรี ย น ควรที่ จ ะนำ � เอาการละเล่ น พื้ น บ้ า นมาใช้ ใ นการจั ด การเรี ย นการสอน เพื่อเป็นการสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นมาเชื่อมโยงสู่การเรียนรู้ โดยเฉพาะ การละเล่นพืน้ บ้านควรให้เยาวชนรุน่ หลังได้เรียนรูแ้ ละอนุรกั ษ์ไว้ซงึ่ การละเล่น พื้นบ้านเป็นกิจกรรมรู้จักความยุติธรรม รู้จักการให้การรับและช่วยพัฒนา กล้ามเนื้อส่วนต่าง ๆ ให้เจริญเติบโต ผ่อนคลายความตึงเครียด ผอบ โปษะกฤษณะ. (๒๕๒๒). ได้สรุปคุณค่าของการละเล่นพื้นบ้าน ของเด็กไทยซึง่ แบ่งเป็น คุณค่าทางด้านวัฒนธรรม ด้านสังคม และด้านภาษา ดังนี้ ด้านวัฒนธรรม การละเล่ น ของเด็ ก ไทย มี ลั ก ษณะที่ แ สดงถึ ง ความเจริ ญ งอกงาม ของเด็กปรากฏอย่างชัดเจนคือ ๑. เสริมสร้างพลานามัยให้สมบูรณ์ ๒. เสริมสร้างทักษะต่าง ๆ ให้เจริญ เช่นทักษะในการใช้สายตาสังเกต ทักษะในการเคลื่อนไหวอวัยวะ
บทที่ ๒ ความสำ�คัญ
19
๓. ส่งเสริมความเจริญทางสติปญั ญา เช่น ฝึกให้ใช้ความคิด ฝึกให้มไี หวพริบ ฝึกการคาดคะเนด้านสังคม ๓.๑ การละเล่นของเด็กไทยสะท้อนภาพของสังคมไทยในด้านต่าง ๆ เช่น สภาพความเป็นอยู่ อาชีพ เป็นต้น ๓.๒ การละเล่นช่วยส่งเสริมบุคลิกภาพของเด็ก ไม่วา่ จะเป็นทางกาย และทางจิ ต ใจ ฝึ ก ให้ เ ป็ น ผู้ ที่ มี ร ะบบระเบี ย บวิ นั ย และความรั บ ผิ ด ชอบ มีความสามัคคีในหมูค่ ณะ เมือ่ เติบโตขึน้ เด็ก ๆ เหล่านีก้ จ็ ะมีคณ ุ สมบัตเิ หมาะสม ที่จะเป็นกำ�ลังของชาติอันเป็นคุณค่าทางสังคมอันพึงปรารถนา ด้านภาษา บทร้องประกอบการร้องของเด็ก มีคณ ุ ค่าทางภาษาทัง้ ในแง่วรรณศิลป์ และในแง่การสื่อสาร ในแง่วรรณศิลป์นั้น บทร้องมีรูปแบบไม่จำ�กัดตายตัว มีการใช้คำ�เป็นวรรคสั้น ๆ และมีเสียงสัมผัสคล้องจอง ทำ�ให้เกิดความไพเราะ ทำ�นองทีใ่ ช้รอ้ งเป็นทำ�นองง่าย ๆ มีจงั หวะเข้ากับวิธเี ล่น มีการใช้ค�ำ เลียนเสียงต่าง ๆ และมีการใช้สญ ั ลักษณ์ในเนือ้ ร้อง แฝงความหมายทีน่ า่ สนใจ ในแง่ของการสือ่ สาร นับว่าบทร้องประกอบการละเล่น ได้มีส่วนช่วยให้เด็กมีพัฒนาการทางภาษา โดยไม่ รู้ ตั ว เพราะมี ท้ั ง คำ � คล้ อ งจอง คำ � ถาม คำ � ตอบ และคำ � พู ด ทีต่ อ้ งใช้ในชีวติ ประจำ�วัน ชว่ ยให้เด็กได้รบั ความสนุกสนาน ในการใช้ภาษาสือ่ สาร ไปด้วยช่วยพัฒนาการทางด้านความคิดและการสังเกตได้เป็นอย่างดี สาร สาระทั ศ นานั น ท์ . (๒๕๒๙). ได้ ก ล่ า วถึ ง ความสำ � คั ญ ของการละเล่นพื้นบ้านไว้ว่า ธรรมชาติของมนุษย์ เกิดมาย่อมมีการเคลื่อนไหว จะอยูน่ ง่ิ ไม่ได้ยง่ิ เป็นเด็กแล้วต้องมีการเคลือ่ นไหวย่อย ๆ ทัง้ นีเ้ พือ่ บริหารร่างกาย ให้ เจริ ญ เติ บ โต การเคลื่อ นไหวหรื อ การออกกำ � ลั ง กายนั บ เป็ น สิ่ง จำ � เป็ น อย่างหนึ่งของมนุษย์ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ตลอดจนผู้สูงอายุ และมนุษย์ผู้มีนิสัย 20
บทที่ ๒ ความสำ�คัญ
ชอบสั ง คมคื อ ชอบรวมกั น อยู่ เ ป็ น กลุ่ ม ซึ่ ง ต้ อ งมี ก ารคบหาสมาคมกั น และมี ก ารระบายออกทางจิ ต ใจ เพื่ อ ให้ มี ค วามสบายทั้ ง กายและใจด้ ว ย การละเล่ น จึ ง เป็ น การแสดงออกของการเชื่ อ มความสามั ค คี ข องคน ทำ�ให้คนคบหากันได้อย่างสนิทสนม จึงนับเป็นนันทนาการอย่างหนึง่ นอกจากนี้ การละเล่นเมื่อมีการจัดเป็นระเบียบแบบแผน มีกติกาให้คนในกลุ่มปฏิบัติ ย่อมเป็นการแสดงถึงความเจริญงอกงามของคนกลุ่มนั้น และเป็นเอกลักษณ์ อย่างหนึง่ ด้วย อันแสดงความเป็นผูม้ วี ฒ ั นธรรมของคนกลุม่ นัน้ ด้วย การละเล่น จึ ง เป็ น เครื่ อ งช่ ว ยส่ ง เสริ ม ให้ มี ก ารพั ฒ นาการทางการและจิ ต ใจของคน ทำ�ให้คนได้เป็นผู้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และมีความสามัคคีกลมเกลียว ก้าวหน้า นับเป็นวัฒนธรรมได้อย่างหนึ่ง ดังนั้น หากได้มีการฟื้นฟู แก้ไข เปลี่ยนแปลง และส่งเสริมการเล่นของคนในกลุ่มในแต่ละหมู่บ้านให้คงอยู่ ผลทีต่ ามมาก็คอื นอกจากประชาชนได้ออกกำ�ลังกายและทำ�จิตใจให้สบายแล้ว ยังทำ�ให้คนในกลุ่มอยู่ด้วยกันด้วยความรักใคร่กลมเกลียวและมีความสุขด้วย การละเล่ น พื้ น บ้ า นจึ ง นั บ ว่ า มี ค วามสำ � คั ญ ซึ่ ง เราควรจะได้ รั บ การอนุ รั ก ษ์ ให้คงมีอยู่หาทางส่งเสริมหรือพัฒนาให้เจริญก้าวหน้ายิ่งขึ้น และยังได้กล่าวถึง ประโยชน์ของการละเล่นพื้นบ้านไว้ดังนี้ ๑. เป็นการช่วยบริหารร่างกายให้แข็งแรงสมบูรณ์ ในขณะที่แสดง การละเล่ น ร่ า งกายได้ เ คลื่ อ นไหว การละเล่ น บางอย่ า งได้ มี ก ารออกแรง แข่งขันกันด้วย จึงทำ�ให้ผเู้ ล่นได้บริหารร่างกายผูร้ ว่ มกิจกรรมได้ออกกำ�ลังกาย ไปด้วย อันเป็นผลทำ�ร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง มีสุขภาพอนามัยดีมีอำ�นาจ ต้านทานโรค ๒. ช่วยทำ�ให้สขุ ภาพจิตดีเพลิดเพลิน เนือ่ งจากการละเล่นเป็นนันทนาการ ส่วนหนึง่ ทำ�ให้ผเู้ ล่นรูส้ กึ สนุกสนานเพลิดเพลินจิตใจร่าเริงแจ่มใส จงึ ทำ�ให้จติ ใจสบาย อารมณ์ดี เป็นการช่วยรักษาสุขภาพจิตของผูแ้ สดงการละเล่น และคลายความเครียด บทที่ ๒ ความสำ�คัญ
21
ของประสาทได้เป็นอย่างดี ๓. เป็นการส่งเสริมให้เกิดความสามัคคีในหมูค่ ณะ การละเล่นพืน้ บ้าน แทบทุกอย่างจะมีคนเล่นคราวละหลาย ๆ คน นอกจากนี้ยังมีผู้เข้าร่วม และสนั บ สนุ น การแสดงการละเล่ น ด้ ว ย บุ ค คลเหล่ า นี้ จ ะร่ ว มกิ จ กรรม อย่างใดอย่างหนึง่ ทำ�ให้ได้มสี ว่ นร่วมการแข่งขัน การแสดงหรือร่วมสนุกสนาน กับกลุ่มคนเหล่านั้น เมื่อได้ร่วมกิจกรรมกัน ก็เกิดความรักใคร่กลมเกลียวกัน ความคุ้นเคย เป็นกันเอง ย่อมมีขึ้นดุจญาติพี่น้องอันแท้จริง ย่อมก้อให้เกิด ความรักใคร่สามัคคีในหมูค่ ณะ บางโอกาสเมือ่ มีผใู้ ดมีธรุ ะการงานได้ความเดือดร้อน หรือมีความจำ�เป็นอยากจะได้รบั ความช่วยเหลือจากผูส้ นิทคุน้ เคยจากการเล่น ๔. ฝึกให้เป็นผูม้ นี �ำ ้ ใจ เป็นนักสู้ กล้าหาญ มีน�ำ้ ใจนักกีฬา การละเล่นบางอย่าง ย่อมจะมีการต่อสูแ้ ละแข่งขันกัน ระหว่างบุคคลต่อบุคคลหรือหมูค่ ณะต่อหมูค่ ณะ ต้องอาศัยความสามารถทั้งด้านกำ�ลังกายและกำ�ลังใจ ผู้ใดได้แข่งขันบ่อย ๆ ย่อมทำ�ให้รา่ งกายและจิตใจข้าแข็ง พร้อมทีจ่ ะเผชิญกับปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ เป็ น การฝึ ก คนให้ รู้ จั ก ต่ อ สู้ กล้ า หาญ ทั้ ง เป็ น การอบรมให้ เ ป็ น ผู้ มี น้ำ � ใจ เป็นนักกีฬา รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย เป็นต้น นับเป็นการสร้างเสริมนิสัยที่ดี แก่ผู้แสดงการเล่น ๕. เป็นการเสริมสร้างความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ก่อนแสดงการละเล่น ย่อมมีการปรึกษาหารือและตกลงกันถึงวิธกี ารเล่นหรือกติกา การจัดหาอุปกรณ์ และค้นหาดัดแปลงวิธีการเล่นแปลก ๆ ที่เหมาะสมเพิ่มเติม เป็นการฝึก ให้บคุ คลเหล่านัน้ รูจ้ กั คิดริเริม่ สร้างสรรค์ในสิง่ ทีด่ งี าม ซึง่ การริเริม่ สร้างสรรค์น้ ี ให้มขี น้ึ โดยเฉพาะเด็ก ๆ และเยาวชน ควรได้มีการฝึกให้มาก
22
บทที่ ๒ ความสำ�คัญ
๖. ช่วยสร้างประสบการณ์ชวี ติ นำ�ไปใช้ในชีวติ ประจำ�วัน การละเล่นบางอย่าง เช่น การละเล่นของเด็กเป็นการเลียนแบบผู้ใหญ่ ทำ�ให้เด็กมีจินตนาการ และได้ ฝึ ก ปฏิ บั ติ จ ริ ง ตามผู้ ใ หญ่ เป็ น การฝึ ก ปฏิ ภ าณไหวพริ บ ช่ ว ยให้ เกิดความรอบรู้บางอย่าง เป็นการส่งเสริมประสบการณ์ชีวิต โดยครูอาจารย์ อาจนำ�ไปใช้ประกอบการเรียนการสอนในโรงเรียน และผลที่ได้จากการแสดง การเล่นอาจนำ�ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำ�วันต่อไปด้วย ๗. เป็นการฝึกปฏิภาณไหวพริบ เพราะการละเล่นต่าง ๆ ส่วนมาก มั ก จะมี ก ารแข่ ง ขั น กั น การแข่ ง ขั น จะมี ชั ย ชนะได้ จ ะต้ อ งอาศั ย ปฏิ ภ าณ ไหวพริบของผู้เล่นแต่ละคนประกอบด้วย หากผู้เล่นมีปฏิภาณไหวพริบดี ย่อมมีส่วนช่วยให้ผู้เล่นมีชัยชนะในที่สุด ในขณะที่ผู้เล่นทุกคนต้องพยายาม ให้สมองหรือไหวพริบของตนเอง เมือ่ มีการฝึกใช้สมองหรือไหวพริบบ่อย ๆ เข้า ย่อมช่วยให้ผู้นั้นมีปฏิภาณไหวพริบดีขึ้น นอกจากนี้การละเล่นบางอย่าง อาจช่วยฝึกการสังเกต และการฝึกจำ�ด้วย ๘. ฝึกระเบียบวินัย การเชื่อฟัง และรู้จักหน้าที่ ธรรมดาการละเล่น ย่อมมีกติกาย่อมมีผู้ตัดสิน บางทีมีหัวหน้าทีม ผู้เล่นจะต้องเชื่อฟังผู้ตัดสิน และจะต้องเชือ่ ฟังหัวหน้าทีมด้วย จะทำ�ให้การเล่นดำ�เนินไปด้วยความเรียบร้อย และการเล่นถ้าจะให้ได้ชัยชนะ ข้อสำ�คัญอย่างหนึ่ง คือผู้เล่นจะต้องรู้จักหน้าที่ ของตนเองและพยายามทำ�หน้าที่ของตนให้ดีท่สี ุดด้วย การละเล่นจึงนับเป็น การฝึกสิ่งที่ดีงามดังกล่าวไปในตัว ๙. ช่วยแก้ปัญหาเด็กซุกซนหรือเล่นเป็นโทษ ตามธรรมชาติของเด็ก ย่อมไม่ชอบอยู่นิ่ง ๆ บางทีการไม่อยู่นิ่งของเด็กอาจเป็นโทษ เช่น ทำ�ให้เกิด ความเสียหายและอันตรายต่อตนเองหรือผู้อื่น ตลอดจนทรัพย์สินสิ่งของด้วย เมื่อการละเล่นเด็กย่อมมีโอกาสระบายออก ซึ่งความอัดอั้นในด้านกำ�ลังกาย บทที่ ๒ ความสำ�คัญ
23
และจิตใจ ทั้งการเล่นส่วนมากย่อมมีผู้ควบคุมและอยู่ในกรอบแห่งกติกา การละเล่นจึงช่วยให้ผเู้ ล่นได้แสดงออกในทางทีเ่ หมาะทีค่ วร ทัง้ เป็นการแก้ปญ ั หา ในด้านความซุกซนหรือการเป็นโทษของเด็กได้เป็นอย่างดี ๑๐. ช่วยให้งานประเพณีสนุกสนานครืน้ เครง ในงานเทศกาลประเพณีตา่ ง ๆ เช่น บุญตรุษสงกรานต์ งานบุญเข้าพรรษา เป็นต้น นอกจากมีการคบงัน (ฉลอง) และจัดกิจกรรมต่าง ๆ แล้วจะมีการละเล่นประกอบด้วย ก็จะทำ�ให้งานสนุกสนาน ครื้ น เครง เป็ น การส่ ง เสริ ม งานชี วิ ต ชี ว าช่ ว ยทำ � ให้ มี ผู้ ร่ ว มงานมากขึ้ น ทำ�ให้ผมู้ าร่วมงาน รู้จักคุ้นเคยกันและรักใคร่สามัคคีมีความร่นเริงบันเทิงใจ ๑๑. เป็นการสร้างเสริมในด้านขนบธรรมเนียมประเพณีและเอกลักษณ์ ของท้องถิ่น เนื่องจากการละเล่นพื้นบ้านบางอย่าง ประชาชนได้นำ�มาเล่น ในงานประเพณีชว่ ยให้งานนัน้ สนุกสนานยิง่ ขึน้ การละเล่นจึงนับว่า มีสว่ นส่งเสริม ขนบธรรมเนี ย มประเพณี ด้ ว ยนอกจากนี้ ก ารละเล่ น ยั ง เป็ น มรดกตกทอด ลอกเลียนแบบต่อ ๆ กันมาตัง้ แต่สมัยโบราณ เป็นเครือ่ งบอกถึงความเจริญก้าวหน้า จึงนับว่าเป็นส่วนหนึง่ ของวัฒนธรรม และการละเล่นของบางท้องถิน่ ก็แตกต่าง กันไป จึงนับเป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่นนั้นด้วย หรรษา นิลวิเชียร. (๒๕๓๕). ได้กล่าวว่า การเล่นเป็นส่วนสำ�คัญ ของชีวิตเด็ก และมีคุณค่าต่อพัฒนาการทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา การเล่ น ทำ � ให้ เ ด็ ก เรี ย นรู้ การรู้ จั ก ดั ด แปลง คิ ด ยื ด หยุ่ น การนำ�เชือกมาผูกแทนชิงช้า ปีนเล่นบนก้อนหินแทนการปีนเล่นบนเครื่องเล่น ในโรงยิม ใช้ม้าก้านกล้วยสมมุติเป็นม้า การเล่นจะช่วยให้เด็กฝึกจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์เด็กจะสร้างภาพพจน์ และเรื่องราวต่าง ๆ แม้แต่เรื่อง ในใจของตนเอง เด็กจะฝึกเลียนเสียงธรรมชาติ เสียงสัตว์ เด็กจะศึกษา หาวิชาใหม่ ๆ จาการเล่นวัสดุ สิ่งของ จะเห็นได้ว่าการเล่นมีความสำ�คัญมาก 24
บทที่ ๒ ความสำ�คัญ
ต่อชีวิตในวัยเด็ก การเล่นชนิดต่าง ๆ จะส่งผลให้เด็กมีความเจริญงอกงาม และพัฒนาการครบทุกด้าน ทิพวรรณ คันธา. (๒๕๔๐). ได้กล่าวถึงคุณค่าของการละเล่นพื้นบ้าน ว่าเป็นการเล่นทีส่ ามารถส่งเสริมกล้ามเนือ้ ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้เป็นอย่างดี เพราะผู้เล่นได้เคลื่อนไหว ได้ออกกำ�ลังกาย รู้จักเคารพกติกาในการเล่น รู้ จั ก การรอคอย มี ค วามอดทน รู้ แ พ้ รู้ ช นะและให้ อ ภั ย ช่ ว ยสร้ า งเสริ ม ความสามัคคีในหมู่คณะ ตลอดจนผู้เล่นได้รับความสนุกสนาน อีกทั้งยังเป็น การอนุรักษ์วัฒนธรรมพื้นบ้านให้คงอยู่ กรมวิชาการ. (๒๕๔๐). กล่าวว่า การเล่นถือเป็นกิจกรรมที่สำ�คัญ ในชีวติ เด็กทุกคน เด็กจะรูส้ กึ สนุกสนานเพลิดเพลิน ได้สงั เกต มีโอกาสทำ�การทดลอง สร้างสรรค์ความคิดแก้ปญ ั หา และค้นพบด้วยตนเอง การเล่นช่วยพัฒนาร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม เป็นทางที่เด็กจะสร้างประสบการณ์ เรียนรู้สิ่งแวดล้ อมกับธรรมชาติร อบตัว “การเล่ น ” เป็ น หั ว ใจสำ � คั ญ ของ การจัดประสบการณ์ให้กับเด็ก สุชา จันทร์เอม. (๒๕๔๑). ได้กล่าวว่า การเล่นของเด็กเน้นการฝึกมารยาท ของเด็กได้ดียิ่ง เด็กจะรู้จักคิด รู้จักกระทำ�ที่ถูกจากการเล่น รู้จักความยุติธรรม รู้จักการรับการให้ และช่วยพัฒนาให้กล้ามเนื้อส่วนต่าง ๆ ให้เจริญเติบโต ผ่อนคลายความตรึงเครียด ในชีวิตประจำ�วันของเด็ก สำ � นั ก งานคณะกรรมการการประถมศึ ก ษาแห่ ง ชาติ . (๒๕๓๓). ได้ ใ ห้ ค วามสำ � คั ญ ของการละเล่ น ไว้ ว่ า การละเล่ น มี ค วามสำ � คั ญ ต่อการพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็ก ดังนี้คือ
บทที่ ๒ ความสำ�คัญ
25
๑. เป็ น การตอบสนองพั ฒ นาการทางอารมณ์ ข องเด็ ก เพราะ ในขณะเด็กเล่นจะแสดงออกได้อย่างเต็มที่ มีความสดชื่น สนุกสนาน เบิกบาน ทำ�ให้เด็กรู้สึกเป็นสุขเพราะได้เล่นตามที่ตนต้องการ ๒. เป็ น การตอบสนองความต้ อ งการของเด็ ก ในหลาย ๆ ด้ า น เช่น ด้านความอยากรูอ้ ยากเห็นซึง่ เด็กแสดงออกโดยการทดลอง หยิบจับ สำ�รวจ เขย่าฟัง หรือขว้างปา ด้านความต้องการทางด้านร่างกาย ความต้องการทางจิตใจ และเป็นการทดแทนความต้องการของเด็กซึง่ เด็กแสดงออกโดยการเล่นสมมุติ ๓. เป็ น การเรี ย นรู้ ข องเด็ ก ที่ จ ะช่ ว ยให้ เ ด็ ก ได้ เรี ย นรู้ ใ นสิ่ ง ต่ า ง ๆ ทีอ่ ยูร่ อบตัว เช่น เรียนรูเ้ รือ่ งขนาด น�ำ้ หนัก สี รูปร่าง ความเหมือน ความแตกต่าง เรียนรู้เกี่ยวกับตนเอง เช่น การผลัดเปลี่ยนกันเล่น การรอคอย การแข่งขัน การตัดสินปัญหาต่าง ๆ และเรียนรู้ถึงหน้าที่และความรับผิดชอบของตน ที่มีต่อชุมชน เช่น หน้าที่ของพ่อ แม่ ลูก ตำ�รวจ กำ�นัน ซึ่งเด็กจะเรียนรู้ได้มาก จากการเล่นสมมุติและจากการสังเกต ๔. ช่วยพัฒนาคุณสมบัตหิ ลายประการทีจ่ ะช่วยให้เด็กได้รบั ความสำ�เร็จ ในการทำ�งานเมื่อเติบโตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ ฉะนั้นทักษะที่เด็กได้รับจาการเล่น เด็กจะมีโอกาสได้เรียนรู้ถึงภารกิจและหน้าที่ของการเป็นผู้ใหญ่ เป็นการฝึก นิ สั ย ในเรื่ อ งการทำ � งาน มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบและการรู้ จั ก ใช้ เ วลาว่ า ง ให้เป็นประโยชน์ ๕. เป็นการเตรียมชีวิตของเด็ก เป็นการฝึกให้เด็กรู้จักหน้าที่ที่ตนเอง ต้ อ งทำ � ในอนาคต ฝึ ก การพึ่ ง ตนเอง การเอื้ อ เฟื้ อ เผื่ อ แผ่ การแบ่ ง ปั น การเป็นผู้นำ�และผู้ตามที่ดี
26
บทที่ ๒ ความสำ�คัญ
๖. เพื่ อ ให้ มี ทั ศ นคติ ที่ ดี ต่ อ การออกกำ � ลั ง กาย เพื่ อ เป็ น แนวทาง ในการที่จะไปเล่นกีฬาประเภทอื่น ๆ ต่อไป ๗. ช่วยพัฒนาเด็กในทุก ๆ ด้าน ดังนี้ ๗.๑ ทางด้านร่างกาย เกมและการเล่นเป็นการใช้พลังงานส่วนเกิน ในร่างกายของเด็ก เป็นการฝึกกล้ามเนื้อ ๗.๒ ทางอารมณ์ แ ละจิ ต ใจ เกมและการเล่ น จะช่ ว ยให้ เ ด็ ก เกิดการพัฒนาการทางอารมณ์และจิตใจที่ม่ันคงแข็งแรง รู้จักปรับอารมณ์ ให้เข้ากับสภาวะแวดล้อม และการเล่นจะช่วยลดความคับข้องใจของเด็ก ๗.๓ ทางสั ง คม เกมและการเล่ น จะช่ ว ยให้ เ ด็ ก มี พั ฒ นาการ ด้านความสัมพันธ์กับบุคคลอื่นเป็นการเรียนที่จะอยู่รวมกลุ่ม รู้จักบทบาท ของสมาชิกในกลุ่ม ฝึกการสมาคม และฝึกเด็กในเรื่องการปรับตัว ๗.๔ ทางสติปัญญา เกมและการเล่นถือว่าเป็นการฝึกการเรียนรู้ ด้วยตนเองของเด็ก เป็นการฝึกในเรื่องความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และส่งเสริม การจินตนาการของเด็ก พัชรี สวนแก้ว. (๒๕๓๖). ได้กล่าวว่า การเล่นเป็นกิจกรรมที่สำ�คัญมาก ต่อเด็ก เพราะนอกจากจะเป็นธรรมชาติของเด็กแล้ว การเล่นยังเป็นสิง่ ทีน่ �ำ ไปสู ่ การเรียนรู้จักธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมรอบตัว สิ่งเหล่านี้จะช่วยเพิ่มพูน ความรู้ ใ ห้ แ ก่ เ ด็ ก นอกจากนี้ ก ารเล่ น ยั ง ช่ ว ยให้ เ ด็ ก ได้ พั ฒ นาไปสู่ วิ ถี ท าง การดำ � เนิ นชี วิ ตเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ ประสบการณ์ ที่ เ ด็ ก ได้ จ ากการเล่ น จะนำ�ไปสู่การรับผิดชอบต่อตนเอง ช่วยให้เด็กสามารถปรับตัวให้เข้ากับสังคม และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข บทที่ ๒ ความสำ�คัญ
27
สรวงธร นาวาผล. (๒๕๔๒). กล่ า วว่ า การเล่ น สำ � หรั บ เด็ ก มี ผ ล ต่อการกระตุ้นการเรียนรู้พัฒนาการของสมอง เสริมสร้างความฉลาด พัฒนา สติปญ ั ญา พัฒนาอารมณ์ ความคิดสร้างสรรค์การสือ่ สาร การเล่นช่วยเสริมสร้าง ลั ก ษณะนิ สั ย ของเด็ ก ได้ เรี ย นทั ก ษะต่ า ง ๆ จากการเล่ น เด็ ก ได้ เรี ย นรู้ หลายสิ่งหลายอย่างจากการเล่น กุลยา ตันติผลาชีวะ. (๒๕๔๒). ได้กล่าวว่า การเล่นซึ่งมีความสำ�คัญ กั บ เด็ ก มาก ไม่ เ พี ย งแต่ ส ร้ า งความสนุ ก เพลิ ด เพลิ น ให้ กั บ เด็ ก เท่ า นั้ น แต่ยังหมายถึงการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็ก การเล่นจะเป็นการเรียนรู้ ของเด็กมากขึน้ ถ้าครูจดั เตรียมการเล่นอย่างมีจดุ ประสงค์ และพร้อมทีจ่ ะให้การเล่น เป็นการเรียนรู้ที่สนุก การเล่นของเด็ก การเล่นเป็นกิจกรรมที่สำ�คัญในชีวิต เด็กทุกคน เด็กจะรู้สึกสนุกสนาน เพลิดเพลิน ได้สังเกต ได้มีโอกาสทดลอง สร้ า งสรรค์ ค วามคิ ด แก้ ปั ญ หาและค้ น พบด้ ว ยตนเอง การเล่ น มี อิ ท ธิ พ ล และมีผลต่อการเจริญเติบโตของเด็ก ช่วยพัฒนาทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา จะเห็ น ได้ ว่ า การละเล่ น พื้ น บ้ า นไทยมี คุ ณ ค่ า มี ค วามสำ � คั ญ และมีประโยชน์อย่างยิง่ โดยเฉพาะกับเด็กและเยาวชน ซึง่ เป็นกำ�ลังสำ�คัญของชาติ เพื่อที่จะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีศักยภาพในอนาคต การละเล่นพื้นบ้านไทยนี้ เป็นสิ่งที่บอกถึงเอกลักษณ์ความเป็นไทย การปลูกฝังให้เด็กและเยาวชน ได้เล่นการละเล่นพื้นบ้านไทย ยังเป็นการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมของไทย ให้สืบไปด้วย
28
บทที่ ๒ ความสำ�คัญ
29
บทที่ ๓
การละเล่นพื้นบ้านไทย
30
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
การละเล่นพื้นบ้านไทย
การละเล่นพื้นบ้านไทยที่ผู้เรียบเรียงจะนำ�เสนอต่อไปนี้ ได้รวบรวม และคั ด เลื อ กจากโครงการนั น ทนาการการละเล่ น พื้ น บ้ า นไทย กิจกรรมการละเล่นพืน้ บ้านไทยสานใจ สานรัก ซึง่ กรมพลศึกษา ได้จดั โครงการ ดังกล่าวเพือ่ ส่งเสริมวัฒนธรรม ภูมปิ ญ ั ญานันทนาการการละเล่นพืน้ บ้านของไทย เผยแพร่และปลูกจิตสำ�นึกในการอนุรักษ์ วัฒนธรรม ประเพณีการละเล่น พื้นบ้านไทยให้แก่เด็ก เยาวชน และประชาชน ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ให้เติบโตอย่างมีศักยภาพ โดยใช้กิจกรรมนันทนาการการละเล่นพื้นบ้านไทย และนำ�มาจากหนังสือกีฬาพื้นบ้าน ซึ่งกรมพลศึกษาได้จัดทำ�ขึ้น
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
31
วิ่งเปี้ยว วิธีเล่น
จัดให้มผี เู้ ล่นทีมละ ๑๐ คน ยืนเรียงแถวตอนอยูด่ า้ นหลังเสาประจำ�ทีม เมือ่ เริม่ การเล่นกรรมการจะให้สญ ั ญาณ ผูเ้ ล่นแต่ละฝ่ายจะต้องวิง่ จากฝัง่ ตัวเอง ไปอ้อมเสาประจำ�ทีมของฝ่ายตรงข้าม จากนั้นให้วิ่งวนกลับมาส่งผ้าให้ผู้เล่น คนถัดไปในทีมของตนเอง โดยผู้เล่นแต่ละฝ่ายจะต้องพยายามเอาผ้าที่ถืออยู่ วิ่ ง ไล่ ตี ฝ่ า ยตรงข้ า มให้ ทั น เมื่ อ ฝ่ า ยใดฝ่ า ยหนึ่ ง ไล่ ตี ฝ่ า ยตรงข้ า มได้ ทั น ถือว่าการเล่นสิ้นสุดลง
ประโยชน์
เป็นการออกกำ�ลังกาย ฝึกความว่องไว สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ
32
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
ตีลูกล้อ วิธีเล่น
กำ�หนดระยะทางการเล่นประมาณ ๒๐ เมตร นำ�ลูกล้อ (อาจทำ�มาจาก ล้อยางรถจักรยาน ไม้ไผ่ ฯลฯ) และไม้ไผ่สำ�หรับตี ให้ผู้เล่น ณ จุดเริ่มต้น ให้ สั ญ ญาณเริ่ ม การเล่ น ต้ อ งตี ลู ก ล้ อ ให้ ก ลิ้ ง ไปข้ า งหน้ า จนถึ ง เส้ น ชั ย ใครถึงก่อนเป็นผู้ชนะ
ประโยชน์
ฝึกความว่องไว สมาธิ การออกกำ�ลังแขนและขา
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
33
แข่งเรือบก วิธีเล่น
จัดให้มีผู้เล่นทีมละ ๑๐ คน นั่งเรียงแถวตอนโดยให้คนที่นั่งอยู่ข้างหลัง ใช้ ข ารั ด เอวคนข้ า งหน้ า ต่ อ กั น ไปเรื่ อ ย ๆ จนครบคน เมื่ อ เริ่ ม การเล่ น กรรมการจะให้สัญญาณ โดยแต่ละทีมต้องพยายามกระเถิบตัวไปข้างหน้า ให้เร็วที่สุด โดยห้ามไม่ให้ขาหลุดจากเอวคนข้างหน้า (ถ้าหลุด กรรมการ จะทำ�โทษให้หยุดพักไป ๓ วินาที จึงจะเริ่มใหม่ได้) ทีมที่เข้าเส้นชัยเร็วที่สุด เป็นผูช้ นะ
ประโยชน์
เป็นการออกกาย สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ
34
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
ม้าหมุน (เก้าอี้ดนตรี) วิธีเล่น
กรรมการจะตัง้ เก้าอีเ้ รียงเป็นวงกลม ให้เก้าอีม้ จี �ำ นวนน้อยกว่าผูเ้ ล่น ๑ ตัว แล้วให้ผู้เล่นยืนเป็นวงกลมล้อมรอบเก้าอี้ จากนั้นกรรมการจะเปิดเพลง เมือ่ เพลงดังขึน้ ให้ผเู้ ล่นเดินไปรอบวงพร้อมกับรำ�ให้เข้าจังหวะเพลง พอเพลงหยุดลง ผู้เล่นต้องรีบนั่งลงบนเก้าอี้ทันที ผู้เล่นคนใดที่ไม่มีที่นั่งต้องออกจากการเล่นไป จากนั้นจะทำ�การดึงเก้าอี้ออกไปครั้งละ ๒ – ๓ ตัว และเริ่มเล่นต่อไปเรื่อย ๆ จนเหลือผูเ้ ล่น ๒ คน สุดท้าย และเหลือจำ�นวนเก้าอี้ ๑ ตัว ผูเ้ ล่นคนใดทีน่ ง่ั ได้กอ่ น ในท้ายที่สุดเป็นผู้ชนะ
ประโยชน์
สร้างความสนุกสนาน ฝึกความว่องไว ไหวพริบ มีสมาธิ
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
35
ชักเย่อ วิธีเล่น
จั ด ให้ มี ผู้ เ ล่ น ที ม ละ ๑๐ คน ยื น เรี ย งแถวตอนหลั ง เส้ น กั้ น เขตแดน ประจำ�ฝั่งของตน จัดเตรียมเชือกสำ�หรับการแข่งขันความยาวอย่างน้อย ๒๑ ม. โดยมี เ ส้ น รอบวงเชื อ กไม่ ต่ำ � กว่ า ๑๐ ซม. แต่ ไ ม่ เ กิ น ๒๕ ซม. ตรงกึ่ ง กลาง ของเชือกทาสีแดงหรือทำ�เป็นสัญลักษณ์ที่เห็นชัดเจนเอาไว้ โดยบริเวณสนาม ที่ตรงกับจุดสีแดงของเชือกจะตีเส้นเป็นสัญลักษณ์ของจุดเริ่มต้น และจากจุดสีแดง นับไปทางซ้าย ๒.๕๐ ม. ทางขวา ๒.๕๐ ม. และทาสีขาวหรือทำ�สัญลักษณ์ที่เห็น ชัดเจนเอาไว้ ฝ่ายใดดึงให้สีขาวของอีกฝ่ายหนึ่งมาถึงจุดเริ่มต้นของการแข่งขัน จะเป็นผู้ชนะ ในส่วนของตำ�แหน่งที่ผู้เล่นใช้มือจับเชือก จะต้องมีระยะห่างจาก จุดสีขาวอย่างน้อย ๑ ม. และต้องทำ�เครื่องหมายสีนำ้�เงินเป็นสัญลักษณ์บอกถึง บริเวณทีเ่ ริม่ จับเชือกได้ แข่งขันจนกำ�หนดระยะเวลาการแข่งขันในแต่ละคู่ ๓ นาที ในกรณีทแี่ ข่งขันเกินเวลาทีก่ �ำ หนดแล้วไม่มผี ลแพ้ – ชนะ ให้พจิ ารณาจากจุดกึง่ กลาง ของเชือกว่ากินเข้าไปในแดนฝ่ายใดให้ฝ่ายนั้นเป็นผู้ชนะการแข่งขัน
ประโยชน์ เป็นการออกกำ�ลังกาย สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ
36
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
กะโดดเชือก วิธีเล่น
การเล่นกะโดดเชือกนี้เป็นกีฬาสืบเนื่องมาแต่ครั้งโบราณ นิยมเล่น เวลามีงานนักขัตฤกษ์ และเวลาว่างงาน หัดให้ผู้เล่นใช้กำ�ลังแขน กำ�ลังเท้า เป็นคนตาไว คล่องแคล่ว พอเห็นเชือกแกว่งดีแล้ว ก็ให้คนหนึ่งวิ่งเข้าไป ระวังอย่าให้ตดิ เชือก และยืนระหว่างกลางคนแกว่งเชือกทัง้ สอง คอยกะโดดขึน้ เมื่อเชือกฟาดลงพื้นเพื่อให้เชือกลอดไป ต้องหมายตาคอยดูให้ดี พอกะโดด ได้สักสิบครั้งก็วิ่งออกไปอีกด้านหนึ่ง แล้วคนที่สองจึงวิ่งเข้าไปกะโดดบ้าง ให้ผเู้ ล่นวิง่ ทยอยเข้าไปกะโดดเช่นนีจ้ นครบ ผูเ้ ล่นทุกคนจะต้องผลัดกันแกว่งเชือก และต้องแกว่งให้ดี คือให้เชือกตกลงเฉียดพื้นพอดี และเวลาเชือกแกว่งขึ้น ก็ให้ขา้ มศีรษะคนกะโดดไปได้ อย่าให้ไปฟาดถูกตัวเข้า ผูท้ เ่ี ล่นต้องฝึกหัดแกว่งเชือก ให้เป็นเสียก่อนทุกคน และให้ผเู้ ล่นผลัดกันแกว่งในเวลาเล่น เพือ่ มิให้คนแกว่งประจำ� เมื่อยแขนเกินไป
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
37
เมื่อกะโดดได้ชำ�นาญแล้ว จึงเปลี่ยนวิธีเล่นให้ยากขึ้นตามลำ�ดับ ดังนี้ ๑. ให้ผู้เล่นวิ่งเข้าไปทางเชือกที่แกว่งขึ้น ๒. ให้ ยื น เท้ า เดี ย วเวลากะโดดจะเปลี่ ย นเท้ า บ้ า งก็ ไ ด้ แต่ ต้ อ งระวั ง อย่าให้เท้าถึงดินพร้อมกันทั้งสองเท้า ๓. แกว่งเชือกอย่าให้ตกถึงพื้น กะดูให้สูงกว่าพื้นหนึ่งคืบ เพื่อให้ผู้กะโดด กะโดดสูงขึ้น และกะโดดได้ยากเข้า ๔. แกว่งเชือกตามธรรมดา และให้ผู้เล่นวิ่งเข้าไปกะโดดพร้อม ๆ กัน ราวครั้งละ ๑๐ คน
ประโยชน์
เป็นการออกกำ�ลังกายให้ร่างกายแข็งแรง ช่วยให้มีความว่องไว หมายเหตุ คำ�ว่า “กะโดดเชือก” เป็นคำ�ว่าดัง้ เดิม จึงยังคงไว้ แต่ปจั จุบนั ใช้ค�ำ ว่า “กระโดดเชือก” ที่มา : จังหวัดนครปฐม
38
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
กาฟักไข่ วิธีเล่น
ก่อนจะเล่นต้องหาอะไรมาทำ�ไข่กา เป็นต้นว่ากาบมะพร้าวประมาณ ๑๐ กาบ สมมติให้เป็นไข่แก้วเสีย ๑ กาบ แล้วขีดวงกลมลงบนดินเป็นเขตรังกา เอากาบมะพร้าวทัง้ หมดต่างไข่วางกลางวงทีข่ ดี นัน้ แล้วผูใ้ ดผูห้ นึง่ สมัคร เป็ น ตั ว กาก็ ล งฟั ก ไข่ ส่ ว นผู้ เ ล่ น จะกี่ ค นก็ ต ามไม่ จำ � กั ด เป็ น คนชิ ง ไข่ ก า ผู้เป็นกาต้องระวังไข่ของตน เมื่อมีใครล่วงล้ำ�เข้าไปในวงก็คอยเอามือไล่ปัด ให้ถูกผู้เข้าปานั้น ถ้าปัดถูกผู้ที่เป็นกาก็ออกมาเป็นคนชิงไข่บ้าง ผู้ที่ถูกปัด ต้องเข้าไปเป็นแม่กาแทน ถ้าชิงไข่แก้วได้ลูกเดียวก็เท่ากับได้ทั้งหมด
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
39
ถ้าไม่ได้ไข่แก้วต้องชิงไข่ธรรมดาจนหมด ถ้ากาปัดไม่ถกู ใครจนถูกชิงไข่ ไปหมด ผูเ้ ล่นก็ปดิ ตาผูเ้ ป็นกาแล้วให้ผใู้ ดผูห้ นึง่ เอาไข่ไปซ่อนไว้ทต่ี า่ ง ๆ แล้วถาม ผู้เป็นกาว่าไข่นั้นอยู่ที่ไหน ผู้เป็นกาต้องตอบตามใจของตน ถ้าทายไม่ถูก ทีซ่ อ่ นไข่ ผูซ้ อ่ นไข่ตอ้ งบอกไปว่าซ่อนไข่ไว้กท่ี ่ี เป็นต้นว่าซ่อนไว้ ๓ ที่ แล้วผูช้ งิ ไข่ ก็ ดึ ง ใบหู ผู้ เ ป็ น กาไปยั ง ที่ ซ่ อ นไข่ ไว้ จ นครบ ๓ ที่ ผู้ ที่ ดึ ง หู ต้ อ งรี บ วิ่ ง กลั บ เข้าไปอยู่ในวงของกาโดยเร็ว แล้วก็เริ่มเล่นกันใหม่อย่างเดิม
ประโยชน์
การเล่ น ชนิ ด นี้ นิ ย มเล่ น ในเทศกาลปี ใ หม่ และวั น สงกรานต์ เพื่อความสนุกรื่นเริง และเป็นการออกกำ�ลังกายกลางแจ้ง สมานสามัคคี ในหมู่คณะ กับฝึกให้เป็นคนมีความว่องไว ที่มา : จังหวัดกาญจนบุรี
40
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
ขี่ม้าส่งเมือง
การละเล่ น ชนิ ด นี้ ไ ม่ กำ � หนดจำ � นวน แต่ ถ้ า จำ � นวนน้ อ ยเกิ น ไป การเล่ น ก็ ไ ม่ ส นุ ก หรื อ ถ้ า มาก กว่ า จะแพ้ ห รื อ ชนะก็ กิ น เวลานาน การเล่นชนิดนี้เหมาะสำ�หรับผู้ชาย เพราะฝ่ายชนะจะต้องขึ้นขี่หลังฝ่ายแพ้ สถานทีส่ �ำ หรับเล่นไม่จ�ำ กัดความกว้างยาว สุดแต่ผเู้ ล่นมากหรือน้อยเป็นปริมาณ
วิธีเล่น
ขั้นที่ ๑ จะต้องเลือกผู้หนึ่งผู้ใดที่พอไว้วางใจได้คนหนึ่งเป็นคนกลาง สำ�หรับเป็นกรรมการ แล้วแบ่งผู้เล่นออกเป็น ๒ ฝ่ายเท่า ๆ กัน ฝ่ายหนึ่งเป็น ฝ่ายกระซิบ อีกฝ่ายหนึง่ เป็นฝ่ายทาย แล้วให้ทง้ั ๒ ฝ่าย แยกไปยืนอยูฝ่ า่ ยละด้าน ของสถานที่ ส่วนคนกลางยืนอยู่ระหว่างกลางห่างพวกทั้ง ๒ มีระยะเท่ากัน ในฝ่ า ยหนึ่ ง ๆ ให้ ผู้ เ ล่ น ตกลงกั น เลื อ กหั ว หน้ า ขึ้ น คนหนึ่ ง หัวหน้าต้องเป็นผู้ฉลาดและไหวพริบดี รู้จักทายให้ผู้อื่นให้ถูกมากกว่าผิด และเป็นผู้ที่รู้จักชื่อสิ่งต่าง ๆ แปลก ๆ บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
41
ขั้นที่ ๒ คนกลางเรียกหัวหน้าทั้งสองฝ่ายซึ่งได้ตั้งแล้วนั้นมาโยนหัว โยนก้อย ฝ่ายใดโยนหัวก้อยได้ตามทีต่ กลงกัน ฝ่ายนัน้ ชนะได้เป็นผูก้ ระซิบก่อน อีกฝ่ายหนึง่ เป็นฝ่ายทาย คนกลางจะต้องให้หวั หน้า ๒ ฝ่ายนัน้ ตกลงกันเสียก่อน ว่าจะกระซิบเรื่องอะไร เช่น นามจังหวัด นามดอกไม้ นามนก นามขนม ฯลฯ นามใดนามหนึ่ง ในที่นี้สมมติว่าหัวหน้าตกลงกันว่าจะกระซิบ นามจังหวัด ในประเทศไทย หัวหน้าก็กลับไปบอกพวกของตนตามที่ได้ตกลงกันไว้ ขั้นที่ ๓ กระซิบ คือ ฝ่ายที่ชนะ การโยนหัวโยนก้อยให้คนใดคนหนึ่ง พวกของตนวิ่งมากระซิบนามจังหวัดแก่คนกลาง สมมติว่าฝ่ายกระซิบไว้ กระซิบว่า “จังหวัดนครปฐม” แก่คนกลาง คนกลางต้องพิจารณาว่า นามจังหวัดนัน้ เป็นการถูกต้องกับหัวหน้าได้ตกลงกันไว้ และจะมีปัญหาโต้เถียงกันหรือไม่ โดยเฉพาะข้อสมมตินี้ถูกต้อง และไม่มีปัญหาก็สั่งให้คนกระซิบกลับที่ได้ ขัน้ ที่ ๔ ให้ฝา่ ยทาย ส่งผูเ้ ล่นมาคนหนึง่ วิง่ มาถามคนกลางว่า นามจังหวัด ที่ฝ่ายโน้นมากระซิบไว้เป็นนามจังหวัด........... (ระบุนามจังหวัด) ใช่หรือไม่? ถ้าผิดคนกลางก็บอกว่าไม่ใช่ แล้วให้ผู้นั้นวิ่งกลับไปที่คนอื่นจึงวิ่งมาทายใหม่ ผลัดกันมาทายทีละคน ๆ จนหมดคน ถ้าสมมติวา่ ฝ่ายทาย ๆ ว่า “จังหวัดนครปฐม” คนกลางก็ตอ้ งร้องดัง ๆ ว่า ถูกแล้ว เป็นอันว่าฝ่ายทายเป็นฝ่ายชนะ แต่ถา้ ฝ่ายทายได้ ทายจนทั่วคนแล้วไม่ถูกเลยเป็นอันว่าฝ่ายกระซิบเป็นผู้ชนะ ขึ้นที่ ๕ ถ้าฝ่ายใดแพ้จะต้องถูกปรับโดยไม่รับฝ่ายชนะให้ขึ้นขี่หลัง มาจนถึงทีเ่ ดิมของฝ่ายชนะนับว่าเป็นเสร็จวิธเี ล่น แต่ถา้ ผูเ้ ล่นยังสมัครใจจะเล่นต่อไป ก็ดำ�เนินการอย่างที่กล่าวมาแล้วตั้งต้นเล่นกันใหม่ ตามที่แนะนำ�มาแล้วนี้เป็นวิธีเล่นอย่างธรรมดา ถ้าผู้เล่นจะพลิกแพลง เชิงเล่นต่อไปอีกก็ได้ เช่น ข้อกำ�หนดวิธที ายจะให้ทายคนละ ๒ เทีย่ ว หรือ ๓ เทีย่ ว ก็ได้ หรือให้ทายจนครบคนแล้วไม่ถูกเลยจะเปลี่ยนให้คนทายส่งคนใดคนหนึ่ง 42
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
มากระซิ บ บ้ า ง และฝ่ า ยกระซิ บ ในครั้ ง แรกเปลี่ ย นตั ว กั น ออกมาทาย ถ้าผลัดกันแพ้ผลัดกันชนะฝ่ายละครัง้ นับว่าเสมอกันแต่ถา้ แพ้ถงึ ๒ ครัง้ ติดต่อกัน จึงนับว่าแพ้ก็ได้ดังนี้ เป็นต้น
ข้อควรระวัง
๑. ฝ่ายกระซิบจะต้องตกลงระหว่างกันเองเสียก่อนว่าจะกระซิบอะไร เพื่อให้รู้กันในระหว่างพวกของตน ๒. ฝ่ า ยทายจะต้ อ งตกลงระหว่ า งพวกกั น เองว่ า จะทายว่ า อะไร เพื่ อ มิ ใ ห้ ท ายซำ้ � กั น เพราะตามธรรมดาคนหนึ่ ง ทายได้ เ ที่ ย วเดี ย ว ในการเล่นคราวหนึ่ง ๓. คนกลางต้องระวังอย่าให้ผู้เล่นฝ่ายที่ทายแล้ว กลับออกมาทายอีก ในคราวเดียวกัน เว้นแต่จะตกลงให้ผู้เล่นออกมาทายได้มากกว่า ๑ เที่ยวขึ้นไป
ประโยชน์ เพื่อฝึกหัดให้ผู้เล่นฉลาดและมีไหวพริบ รู้จักคิดทายใจผู้อื่น รู้จักคิดค้น หาชือ่ สิง่ ของต่าง ๆ แปลก ๆ รูจ้ กั เลือกคนให้เหมาะแก่หน้าที่ รูจ้ กั รักษาระเบียบ วินัย ที่มา : กรุงเทพมหานคร
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
43
งูกินหาง วิธีเล่น
ผู้เล่นแบ่งเป็น ๒ พวก คือ หญิงพวกหนึ่ง ชายพวกหนึ่ง ยืนเรียงกัน เข้าเป็นแถว ชายอยู่หน้า หญิงอยู่ข้างหลัง หรือจะเล่นพวกเดียวก็ได้ เมื่อยืน เรียงกันแล้วต่างจับเอวกันต่อ ๆ ไป คนหนึ่งหน้าที่สุดเป็นงู เมื่อจับกันแล้ว คนหน้าก็ออกเดินวนไปเวียนมาระหว่างวนจะต้องร้องว่า “กินหัวกินหาง กิ น กลางตลอดตั ว ” แล้ ว โอบเลี้ ย วไปจั บ คนท้ า ย คนท้ า ยจะต้ อ งคอยหนี แต่ จ ะปล่ อ ยจากเอวคนหน้ า ไม่ ไ ด้ ถ้ า หนี ไ ม่ ทั น ถู ก จั บ ได้ เ ป็ น ผู้ ต าย แล้วแต่จะปรับกันอย่างไร คือ จะถูกรำ� หรือทำ�อะไร แล้วแต่สัญญากัน
ประโยชน์
เพื่อหัดให้เป็นผู้มีไหวพริบดี รู้จักทีหนีทีไล่ ที่มา : จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
44
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
ตี่จับ
ตี่จับเป็นการละเล่นพื้นเมืองอย่างหนึ่ง ซึ่งมักจะเล่นกัน ในงานรื่นเริง
วิธีเล่น
ก่ อ นที่ จ ะลงมื อ เล่ น ต้ อ งทราบจำ � นวนผู้ ที่ จ ะเล่ น ทั้ ง หมดเสี ย ก่ อ น ว่ า มี เ ท่ า ไรเมื่ อ ทราบแล้ ว ให้ แ บ่ ง ออกเป็ น ๒ พวก ๆ ละเท่ า ๆ กั น จะเป็นพวกละกี่คนได้ไม่จำ�กัด สถานที่สำ�หรับใช้ในการเล่นโดยมาใช้ลาน หรื อ สนามกว้ า ง ๆ ตอนกึ่ ง กลางของสนามให้ เขี ย นเส้ น ที่ เ ห็ น ได้ ง่ า ย เพื่ อ แบ่ ง ออกเป็ น สองเขต แล้ ว ให้ ผู้ เ ล่ น อยู่ พ วกละข้ า งของเส้ น แบ่ ง เขต ก่ อ นลงมื อ เล่ น ผู้ ตั ด สิ น จะโยนหั ว โยนก้ อ ย หรื อ จะจั บ ไม้ สั้ น ไม้ ย าวก็ ไ ด้ ทั้งนี้ ก็เ พื่ อ ให้ ทั้ ง สองฝ่า ยเลือกเขตก่อนหรือหลั ง เมื่ อการเลื อ กสถานที่ ไ ด้ เรียบร้อยแล้ว ผูต้ ดั สินให้ทง้ั สองพวกเริม่ ลงมือเล่นกัน จะเป็นพวกไหนเริม่ ตีก่ อ่ นก็ได้ พวกได้เริ่มตีก่อนก็ตี่เข้าไปในเขตของอีกพวกหนึ่งได้หนึ่งคนจะเป็นใครก็ได้
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
45
ต่อจากนัน้ อีกพวกหนึง่ ก็ตไี่ ด้หนึง่ คน ผลัดกันเป็นลำ�ดับเรือ่ ย ๆ ในขณะทีต่ เี่ ข้าไป ในเขตของอี ก พวกหนึ่ ง นั้ น ผู้ ตี่ จ ะต้ อ งอึ ด ใจออกเสี ย ง “ตี่ ” เรื่ อ ย ๆ ไป พร้ อ มกั บ พยายามที่ จ ะฟั น (ถู ก ตั ว ) อี ก พวกหนึ่ ง ให้ ไ ด้ เ มื่ อ ถู ก ได้ แ ล้ ว ตน จะต้องรีบกลับมาเขตของตนเสียโดยเร็วโดยไม่ขาดเสียงตี่ ผู้ที่ถูกฟันจึงจะเป็น ผู้ ที่ ห มดสิ ท ธิ์ ที่ เ ล่ น อี ก ต่ อ ไป เรี ย กว่ า “ตาย” ขณะเมื่ อ ผู้ ตี่ เข้ า ไปในเขต ของอีกพวกหนึ่งจนเสียงตี่นั้นหมดลงก็ต้องรีบกลับทันที อย่าให้อีกพวกหนึ่ง ฟันได้ (ถูกตัว) ถ้าผู้ตี่หมดเสียงหนีไม่ทันถูกอีกพวกหนึ่งฟันได้ผู้นั้นก็หมดสิทธิ์ ที่จะเล่นเหมือนกัน (ตาย) ผู้ที่เรียกว่าตาย ต้องออกพักนอกสนาม หน้าทีข่ องฝ่ายรับ เมือ่ ฝ่ายตี่ ๆ เข้าไปในเขตของตน จะต้องพยามจับผูต้ น่ี น้ั ให้อยู่ เพื่อให้ผู้ตี่หมดเสียงตี่ คือ หมายความว่า ผู้ที่ตี่เข้าไปนั้นไม่สามารถทีจ่ ะ ออกเสียงได้ต่อไป ซึ่งเรียกตามศัพท์เล่นตี่จับว่า “ขาดจับ” ผู้ต่เี มื่อถูกฝ่ายรับ จับได้ก็พยายามที่จะรักษาเสียงไว้ และพยายามที่จะหนีเข้ามาในเขตของตน หรื อ ให้ ถึ ง เขตกึ่ ง กลางของสนามเล่ น ให้ ไ ด้ ถ้ า แม้ ว่ า ผู้ ตี่ เข้ า ไปในเขต หรือถึงเส้นกึง่ กลางสนามได้ ผูท้ ถ่ี กู ตัวผูต้ ท่ี กุ ๆ คน ต้องหมดสิทธิใ์ นการเล่น (ตาย) การตัดสิน ตัดสินตามจำ�นวนคน คือ ถ้าพวกใดตายหมด พวกนั้นก็แพ้ พวกที่ยังมีคนเหลืออยู่เป็นพวกชนะ แต่ถ้าหากมีเหลือทั้งสองพวกก็ให้นับ จำ�นวนคนดูวา่ ฝ่ายใดคนน้อยกว่า ฝ่ายนัน้ เป็นแพ้ ฝ่ายทีม่ คี นมากกว่าเป็นฝ่ายชนะ ถ้าเหลือเท่ากันก็เสมอกัน
ประโยชน์
ฝึกการออกกำ�ลังกาย ฝึกการเป็นผู้มีไหวพริบดี ว่องไว
46
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
มอญซ่อนผ้า วิธีเล่น
ผูท้ จ่ี ะเล่นนัง่ ล้อมเป็นวงประมาณ ๑๕ หรือ ๒๐ คน ก็ได้ แล้วอีกคนหนึง่ ถือผ้าฟันอย่างสายตะพด วิ่งรอบ ๆ วงที่คนนั่งถ้าพอใจจะเฆี่ยนผู้ใด ก็ใช้ผ้านั้น วางหรือโยนไว้ข้างหลังผู้ที่นั่งคนนั้น แล้วออกวิ่งไปรอบวงจนมาถึงผ้าที่วางไว้ จึงหยิบผ้ามาเฆี่ยนผู้ถูกซ่อน ผู้ถูกซ่อนเห็นผ้าในเวลาผู้ซ่อนยังวิ่งมาไม่ถึงผ้า ผู้ ถู ก ซ่ อ นมี สิ ท ธิ์ ห ยิ บ ผ้ า วิ่ ง แทนผู้ ซ่ อ น ๆ ต้ อ งนั่ ง ลงในวงทั น ที ไม่ เช่ น นั้ น คนวงทั้ ง หมดมี สิ ท ธิ์ ช่ ว ยเหลื อ นำ � ตั ว ผู้ นั้ น ให้ ล งนั่ ง จนได้ ผู้ ถื อ ผ้ า ก็ ป ฏิ บั ติ ในการมีผ้าเช่นที่แล้วมา ผู้ถูกซ่อนก็ปฏิบัติดังกล่าวมาแล้ว การเล่นชนิดนี้ นิยมเล่นในเทศกาลสงกรานต์
ประโยชน์
ทำ�ให้เกิดความรื่นเริงในหมู่คณะ เป็นการออกกำ�ลังให้ร่างกายแข็งแรง โดยวิธีวิ่ง เกิดไหวพริบโดยวิธีถูกซ่อนผ้า รู้จักระเบียบโดยวิธีนั่ง ที่มา : จังหวัดเพชรบุรี
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
47
ลิงชิงหลัก วิธีเล่น
จัดคนเข้า ๕ คนให้เป็นลิงเสีย ๑ คน โดยวิธจี บั ฉลากอีก ๔ คนเข้าประจำ�หลัก ทีป่ กั ไว้ แล้วเริม่ ผลัดเปลีย่ นหลักกัน ลิงต้องพยายามคอยเกาะหลักให้ได้ เมือ่ ลิงได้หลัก คนที่เหลืออยู่ต้องเป็นลิงต่อไป นอกจากจะทำ�ให้เป็นลิงได้รับความอับอาย และเกิดความมานะทีจ่ ะเอาชัยโดยวิธยี ดึ หลักแล้วก็ได้สบั เปลีย่ นกันแพ้กนั ชนะ
ประโยชน์
ทำ�ให้เกิดความว่องไว ไหวพริบดีมาก ที่มา : จังหวัดสมุทรสาคร
48
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
รี ๆ ข้าวสาร วิธีเล่น
ใช้คนสองคนจับมือกันเข้าทัง้ สองมือยืนหันหน้าหากัน มือทีจ่ บั ชูขน้ึ พ้นหัว ทำ�คล้ายซุ้มประตู ผู้เล่นนอกนั้นยืนเรียงกันเข้าจับเอวกันเดินลอดประตูที่ว่านี้ ปากก็รอ้ ง “รี ๆ ข้าวสาร สองทะนานข้าวเปลือก เลือกฆ้องใบลาน พานคนข้างหลังไว้” ผูเ้ ป็นประตูจะต้องคอยระวังคำ�ว่า พานคนข้างหลังไว้ จะต้องลดมือลง เอามือนัน้ คล่อมคนข้างหลังไว้คนอยูห่ ลังจะต้องรีบหนีผา่ นไปให้ได้ ถ้าถูกเขาพานไว้ตอ้ งตาย ผู้ตายถูกลงโทษให้รำ�
ประโยชน์
เพื่อฝึกหัดความว่องไวของผู้ที่เป็นซุ้มประตูและผู้อยู่ท้ายแถว ที่มา : จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
49
โพงพาง วิธีเล่น
ให้ ผู้ เ ล่ น จั บ ไม้ สั้ น ไม้ ย าว ผู้ ที่ ไ ด้ ไ ม้ สั้ น ยื น กลางเป็ น วง “ปลา” นอกนั้นเป็น “โพงพาง” ยืนจับมือล้อมวงกันเข้ารอบปลา หันหน้าเข้าข้างใน แล้วกระโดดไปรอบ ๆ ต้องระวังอย่าให้มือหลุดจากกัน และร้องพร้อม ๆ กันว่า “โพงพางเอย ปลาเข้ า ลอด ปลาตาบอด เข้ า ลอดโพงพาง” พอร้ อ งจบ ให้ทุก ๆ คนที่จับมือกันเป็นวงนั่งยอง ๆ ลงทันที ถ้าผู้ใดนั่งไม่ทันโดยปลา เอามื อ แตะถู ก ตั ว เข้ า ก่ อ น ผู้ นั้ น จะต้ อ งเป็ น ปลาแทนในคราวต่ อ ไป แต่ปลาจะออกวงจากที่ก่อนร้องเพลงจบไม่ได้ และถ้าวิ่งไปแตะผู้อื่นไม่ทัน ก็จะต้องเล่นเป็นปลาตามเดิมในคราวต่อไป ถ้าผู้ที่เป็นปลาไม่สามารถจับผู้อื่น ให้ ม าเป็ น ปลาแทนตนได้ ใ น ๓ ครั้ ง ซ้ อ น ๆ กั น ก็ ใ ห้ ผู้ เ ล่ น อื่ น ทำ � โทษ โดยวิธีช่วยกันจูงหางให้เดินไปจนรอบวงแล้วคงให้เป็นปลาตามเดิม
ประโยชน์
ทำ�ให้เกิดความว่องไว ไหวพริบดีมาก ที่มา : กรุงเทพมหานคร
50
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
รถม้าชาวเสียม วิธีเล่น
แบ่งผู้เล่นเป็นพวก ๆ ละ ๓ คน เป็นรถม้า ๒ คน เป็นผู้ขับ ๑ คน คนขับเรียกว่าเจ้าของ ต้องตัวเล็กหน่อยเพื่อให้เบา ต่างพวกต่างไปยังเขต ที่กำ�หนดให้ ให้ผู้เป็นม้า ๒ คนยืนเคียงกัน ใช้มือประสานข้างหลัง พอได้ยิน อาณั ติ สั ญ ญาณ ผู้ ขั บ ต้ อ งกระโดดเอาเท้ า เหยี ย บมื อ ผู้ เ ป็ น ม้ า คนละข้ า ง ใช้มือกอดคอม้าตัวละข้าง กอดไม่ให้ม้าผละออกจากกัน ทันใดนั้นม้าทั้งสอง ก็วิ่งไปยังจุดหมายที่ได้กำ�หนดให้ พวกใดถึงก่อนโดยไม่ตกก็ชนะ ถึงทีหลัง หรือตกก่อนเป็นแพ้
ประโยชน์
ฝึกความพร้อมเพรียง และเป็นการออกกำ�ลังกาย ที่มา : จังหวัดแพร่
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
51
ตีจับ
วิธีเล่น
กำ�หนดเขตสนามให้กว้างพอกับจำ�นวนเด็กที่เล่นซึ่งจะวิ่งไปมาได้ โดยสะดวก เขตสนามนี้จะเป็นรูปวงกลมหรือสี่เหลี่ยมก็ได้ ต้องใช้ปูนโรยเส้น ให้เห็นเขตแดนชัด ๆ แล้วแบ่งเด็กที่เล่นออกเป็น ๒ รุ่น คือ ให้มีรุ่นใหญ่ เป็นผู้จับและรุ่นเล็กเป็นผู้ตี แต่เด็กรุ่นใหญ่นั้นต้องใช้เด็กโต ๆ ซึ่งมีอายุ ตั้ ง แต่ ๑๓-๑๔ ขวบขึ้ น ไป ส่ ว นเด็ ก รุ่ น เล็ ก ต้ อ งใช้ เ ด็ ก เล็ ก ๆ ซึ่ ง มี อ ายุ ต�ำ่ กว่า ๑๑ ขวบลงมา ผู้เล่นทั้ง ๒ รุ่นนี้จะมีจำ�นวนเท่ากันหรือจะให้รุ่นเล็ก มากกว่ารุ่นใหญ่ ๒-๓ คนก็ได้
52
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
เมื่ อ แบ่ ง พวกกั น เสร็ จ แล้ ว ก็ ใ ห้ เ ด็ ก รุ่ น เล็ ก คื อ พวกตี เ ข้ า ไปอยู่ ในเขตสนามจนหมด ส่วนเด็กรุ่นใหญ่คือพวกจับ ต้องกระจายกันอยู่รอบสนาม เมื่ อ ได้ อ าณั ติ สั ญ ญาณพวกจั บ ก็ ก รู กั น เข้ า ไปในสนาม เพื่ อ พยายามจั บ หรื อ ปลุ ก ปลำ �้ แ ละดึ ง เอาพวกตี อ อกจากเขตสนามให้ ห มด ส่ ว นพวกตี เมื่ อ เห็ น พวกจั บ กรู กั น เข้ า มาจะจั บ ก็ ร วมหมู่ กั น พยายามใช้ ฝ่ า มื อ ตี หรือปัดพวกจับเบา ๆ ป้องกันตัวไว้อย่าให้ถกู จับออกไปได้โดยง่าย การเล่นเช่นนี้ พวกจับต้องหาวิธีล่อจับเอาพวกตีออกไปโดยละม่อม จะเข้าประหัสประหาร จับเอาทีเดียวไม่ได้ เพราะตนจะถูกพวกตี ๆ เอาอย่างไม่เลือกที่ ซึ่งตนมีหน้าที่ จับจะตีโต้ประการใดไม่ได้ การตัดสิน ถ้าพวกจับ ๆ พวกตีออกจากเขตได้หมด ก็นบั เป็นพวกจับชนะ แต่ถ้าจับออกไม่หมดหรือไม่ได้เลยตลอดเวลา ก็เป็นพวกตีชนะ
ประโยชน์
ผู้เล่นออกกำ�ลังกายทุกส่วน เกิดความรัก ความสามัคคีในหมู่คณะ มีความอดทน ไม่โกรธง่าย ที่มา : จังหวัดลำ�พูน
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
53
ไก่ตบ วิธีเล่น
แบ่งผูเ้ ล่นออกเป็น ๒ พวก ๆ ละเท่า ๆ กัน ไม่จ�ำ กัดขนาดหรือจะจำ�กัดก็ได้ ผู้เล่นทั้งหมดต้องมีตั้งแต่ ๕-๖ คนขึ้นไป และต้องมีหัวหน้าฝ่ายละ ๑ คน เพือ่ เป็นผูน้ �ำ ไก่ออกแสดงในกลางสนาม เมือ่ ตกลงกันแล้วต่างฝ่ายต่างไปหาทีก่ �ำ บัง ไม่ให้มองเห็นกันได้ เมื่อได้ที่กำ�บังแล้ว การเป็นไก่แล้วแต่หัวหน้าจะให้ใคร เป็นก่อนเป็นหลัง ต้องมีผ้าฝ่ายละ ๑ ผืน จะใช้ผ้าขนหนูหรือผ้าอะไรก็ได้ สำ�หรับคลุมตัวไก่ให้มิดตัวไม่ให้รู้จักก็แล้วกัน หยุดนิ่งสักครู่หนึ่งหัวหน้าก็เอา ผ้าคลุมคนใดคนหนึ่งที่จะให้เป็นไก่แล้วแต่หัวหน้าจะเลือก
54
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
ก่ อ นที่ จ ะนำ � ไก่ อ อกแสดงต้ อ งกำ � ชั บ ผู้ ที่ จ ะเป็ น ไก่ เ สี ย ก่ อ นว่ า “ถ้าฝ่ายเขาตบหลังบอกให้ขนั เราต้องทำ�เป็นขันดังไก่แต่ตอ้ งให้เสียงเล็กอย่าให้ พวกเขาจำ�เสียงได้” เมือ่ นัดแนะกันเสร็จแล้วจึงนำ�ไก่ออกแสดงในสนามกลางแจ้ง เมื่อถึงสนามแล้วให้ไก่ฟุบตัวลงนิ่งอยู่กับพื้น อีกฝ่ายหนึ่งก็ทำ�ทำ�นองเดียวกัน ผูเ้ ป็นหัวหน้าฝ่ายหนึง่ ต้องใช้มอื ตบหลังไก่อกี ฝ่ายหนึง่ บอกให้ขนั ไก่กท็ �ำ เป็นขัน จะขันกีค่ รัง้ ก็แล้วแต่ผบู้ อก เมือ่ ได้ยนิ เสียงไก่ขนั แล้วผูเ้ ป็นหัวหน้าต้องสังเกตดูวา่ จะเป็นใครและชือ่ ว่าอย่างไร เมือ่ แน่ใจแล้วร้องขานชือ่ ขึน้ แล้วเปิดผ้าคลุมออกดู ว่ า จะถู ก หรื อ ผิ ด ถ้ า ทายชื่ อ ถู ก ก็ ไ ด้ ไ ก่ นั้ น เป็ น เชลยของตน ถ้ า ทายไม่ ถู ก ต้องคืนไก่ไปอยู่ดังเดิม ผลัดกันทำ�ดังนี้จนกว่าไก่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะถูกขานชื่อ ได้ ไ ปหมด เมื่ อ ฝ่ า ยใดหมดก่ อ นก็ ตั ด สิ น ให้ เ ป็ น ฝ่ า ยแพ้ ฝ่ า ยได้ ไ ก่ ม าก เป็นฝ่ายชนะเท่านั้น
ประโยชน์
เป็นการฝึกให้ใช้ความสังเกตและจดจำ� ฝึกสัมผัสทางหู ที่มา : จังหวัดเชียงราย
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
55
ไก่อิ๊กอี วิธีเล่น
ผู้เล่นแบ่งเป็น ๒ พวก ไม่จำ�กัดชายหญิง พวกหนึ่งไม่น้อยกว่า ๕ คน และในพวกหนึ่งต้องมีหัวหน้าคนหนึ่ง ต่างพวกต่างแยกกันออกไปห่างพอควร โดยไม่ ใ ห้ เ ห็ น กั น แล้ ว หั ว หน้ า ของฝ่ า ยหนึ่ ง ๆ ก็ เ ลื อ กคนในพวกของตน สมมติให้เป็นไก่ข้างละคน แล้วใช้ผ้าห่อหรือผ้าอะไรก็ได้พอให้คลุมตัวไก่ หัวหน้าพาเดินไปหมอบลงกลางเขตแดน เพือ่ ให้หวั หน้าอีกฝ่ายหนึง่ ทายว่าเป็นใคร
56
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
วิธีทาย คือหัวหน้าฝ่ายหนึ่งไปจับตรวจดูไก่อีกฝ่ายหนึ่ง แล้วบังคับ ให้ไก่ขันโดยมีคำ�บอกว่า “ขัน” ไก่ก็ขันว่า อิกอี้อี้อิก เสียงใหญ่เล็กแล้วแต่ จะทำ � เพื่ อ ไม่ ใ ห้ เขาจำ � เสี ย งได้ แล้ ว หั ว หน้ า ทั้ ง สองก็ ท ายว่ า คนที่ เ ป็ น ไก่ ของอีกฝ่ายหนึ่งนั้นเป็นใคร (บอกชื่อ) เมื่อทายแล้วหัวหน้าไก่ต้องเปิดผ้า ให้เห็นจริงว่าเป็นใคร เพื่อแสดงความบริสุทธิ์ ถ้าต่างคนต่างทายถูก ก็หายกัน ต่างนำ�ไก่ของตนกลับ แต่ถา้ ฝ่ายหนึง่ ทายผิด ฝ่ายหนึง่ ทายถูกฝ่ายผิดต้องเสียไก่ให้ไป แล้วนำ�ไก่ตวั ใหม่มาอีก ไก่ตวั ทีไ่ ด้ไปก็ตกไปเป็นของฝ่ายนัน้ ให้ไปเข้ารวมกับไก่ทม่ี อี ยู่ และจะนำ�มาให้ฝ่ายเดิมของไก่นั้นทายอีกก็ได้ ฝ่ายใดชนะได้ไก่มากกว่า ๔ ตัว ให้ขี่หลังในระยะทางไกล ๑๕ ก้าว เป็นรางวัล ผลัดเปลี่ยนหัวหน้าบ่อย ๆ ก็ได้
ประโยชน์
มีความสนุกรื่นเริง ทำ�ให้รู้จักสังเกต ที่มา : จังหวัดแพร่
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
57
ข้ามห้วย วิธีเล่น
ไม่จำ�กัดจำ�นวนผู้เล่น เล่นมากคนดี ให้คนหนึ่งทำ�ท่าต่อไปนี้ • • • • • •
58
ท่าที่หนึ่ง นั่งเหยียด ๒ ขาซ้อน โดยเอา ๒ ส้นเท้าซ้อนตั้งขึ้ ท่าที่สอง นั่งเอา ๒ ส้นเท้าซ้อนกันแล้วเอา ๒ สันมือซ้อนกันห่าง ๆ ท่าที่สาม นั่งพับศอกข้างหนึ่งเท้าดิน แล้วอีกข้างหนึ่งเหยียดยกชูไว้ ท่าทีส่ ี่ ยืนโค้งตัวลงข้างหน้า แล้วเหยียดมือลง ปลายนิว้ จรดทีห่ วั แม่เท้า ท่าที่ห้า ขีดเส้นสำ�หรับกระโดดไกลเท่าวาของผู้ทำ� ๑ วา อย่างธรรมดา ท่าที่หก วาเหยียด ๑ วา (วาหลวง) ของผู้ทำ� คือให้ผู้ทำ�นอนลงแล้ว เหยียดเท้าสุดเท้า เหยียดมือให้สุดมือ แล้วขีดเส้นไกลนั้น ผู้เล่นเข้า กระโดดทีละคนทุก ๆ ท่า คือตั้งแต่ท่าที่หนึ่งจนถึงท่าที่หก เป็นตอน ๆ ไป แต่ถ้าใครกระโดดไม่พ้นในท่าไหน ต้องปรับให้เปลี่ยนตัว แทนผู้ที่ ทำ�ท่าอยู่นั้นในท่านั้นทันที และทำ�ท่าต่อ ๆ ไป จนกว่าจะมีผู้กระโดด ไม่พ้นมาเปลี่ยน สำ�หรับผู้กระโดดไม่พ้นแล้วถูกปรับให้ทำ�ท่าต่าง ๆ นี้ วิธีเล่นห้ามไม่ให้เข้ากระโดดแข่งขันอีกให้คงเหลือเฉพาะผู้ที่แสดงได้ ตลอดตั้งแต่ท่าแรกไม่ผิดพลายเลยให้เข้ากระโดดได้ดังนี้เพื่อจะคัดเอา ผู้ที่กระโดดได้เยี่ยมจนถึงท่าที่หก ผู้ที่กระโดดได้เยี่ยมจนถึงท่าที่หกนี้ จะได้รับยกย่องจากผู้กระโดดแพ้ทุก ๆ คนให้เป็นผู้หามแห่ไปเป็นพิธี สนุกนัก
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
วิธีตัดสิน
๑. ผู้แข่งขันกระโดดไม่พ้น นับว่าแพ้ ๒. ผูก้ ระโดดไม่พน้ ต้องเข้าแทนผูท้ ท่ี �ำ ท่าอยูก่ อ่ นและต้องทำ�ท่าต่อ ๆ ไป ๓. ผู้แพ้ทุก ๆ คนต้องยอมหามผู้กระโดดชนะเลิศทุกท่า
ประโยชน์
ฝึกกระโดดไกล และกระโดดสูง ความว่องไว และไหวพริบ ออกกำ�ลังกาย และความอดทน แข็งแรง เกิดความสนุกร่าเริงความสามัคคีกนั ในระหว่างผูเ้ ล่น ที่มา : จังหวัดแพร่
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
59
ดึงหนัง วิธีเล่น
แบ่งผู้เล่นออกเป็นสองพวกเท่า ๆ กันจะเป็นพวกละกี่คนก็สุดแล้วแต่ จำ�นวนคนสมัคร ปักเสาหรือธงชนะไว้ฝา่ ยละหลัก คูแ่ ข่งขันทัง้ สองฝ่ายจับหนัง มายืนท่าเตรียมอยู่ระหว่างหลักชัยสองหลักนั้น ผู้ตัดสินวัดระยะห่างจาก หลักชัยชนะถึงปลายหนังทั้ง ๒ ให้มีระยะเท่า ๆ กัน แล้วให้สัญญาณลงมือ แข่ ง ขั น ฝ่ า ยไหนลากเอาอี ก ฝ่ า ยหนึ่ ง ไปถึ ง หลั ก ธงของฝ่ า ยตนได้ ฝ่ า ยนั้ น เป็นฝ่ายชนะ
ประโยชน์
เพื่อรักษาประเพณีดั้งเดิมไว้ เกิดความสนุกรื่นเริง สร้างความสามัคคี ในหมู่คณะ และได้ออกกำ�ลังกาย ที่มา : จังหวัดเพชรบูรณ์
60
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
นางไก่ วิธีเล่น
แบ่งผูเ้ ล่นออกเป็นสองพวกควรเป็นหญิงพวกหนึง่ ชายพวกหนึง่ จะเป็น พวกละกี่คนก็ได้ แล้วต่างก็บอกพวกของตนออกไปอยู่ในที่ลับตา ต่อจากนี้ ต่างพวกก็เอาผ้าคลุมคนเล่นของตนคนหนึง่ ให้มดิ ชิด ซึง่ สมมติวา่ เป็น “นางไก่” โดยมีอีกคนหนึ่งเป็นเจ้าของ นำ�นางไก่นั้นออกมาพบกันกลางสนาม ให้นางไก่ ขันเป็นเสียงไก่ขนึ้ ดัง ๆ ให้เจ้าของไก่ตา่ งคนต่างทายว่าผูท้ เี่ ป็นนางไก่นนั้ คือใคร ถ้าทายถูกผู้เป็นเจ้าของไก่ตัวที่ถูกทายจะต้องรำ�ให้ดูหนึ่งเพลง ถ้าทายผิดหรือ ถูกด้วยกันทั้งสองฝ่ายก็แล้วกันไป เมื่อรำ�หรือทายแล้วก็กลับไปซ่อนนางไก่ ออกมาอีก จนพอสมควรกับเวลาจึงเลิกกัน การเล่นชนิดนี้ไม่มีการแข่งขัน แพ้ชนะ เป็นการเล่นเพือ่ ความสนุกครึกครืน้ มักเล่นในเวลากลางคืนเดือนหงาย เพื่อเป็นการสะดวกในการซ่อนนางไก่ มักเล่นในเทศกาลสงกรานต์
ประโยชน์
สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ รู้จักการสังเกต ที่มา : จังหวัดสุโขทัย
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
61
ลู่ไข่เต่า วิธีเล่น
เครื่องใช้ในการเล่น ๑.ลูกหินเท่าจำ�นวนคนเล่น หรือจะใช้ไม้ซีกเล็ก ๆ ยาวประมาณ ๓-๘ นิ้วแทนก็ได้จัดสนามเล่น เขียนวงกลมวัดผ่าศูนย์กลาง ๖-๗ ฟุต ตรงศูนย์กลางวงกลมนั้น นำ�เอาลูกหินหรือวัตถุใด ๆ ที่สมมติว่า แทนไข่วางไว้มีจำ�นวนเท่าคนผู้เล่น ให้ผู้จะเล่นมาจับไม้สั้นไม้ยาว ถ้าคนใดถูกไม้สั้นคนนั้นต้องเป็นเต่า เมือ่ ถูกเป็นเต่าแล้วต้องเข้าไปกกไข่ คือ ลูกหินทีว่ างไว้ในวงกลมนัน้ การกกไข่นน้ั ผู้เป็นเต่าจะต้องเอามือทั้งสองวางกับพื้น เหยียดขาทั้งสองออกไปเบื้องหลัง คล้ายกับจะเดิน ๔ เท่าฉะนั้น ส่วนไข่จะต้องอยู่ในร่มอกของเต่า เมื่อเต่าเข้ากก ไข่เรียบร้อยแล้ว ผูเ้ ล่นก็เข้าแย่งไข่ ส่วนเต่าจะต้องให้เท้าคอยเตะถีบผูม้ าแย่งไข่ (ห้ามการใช้มือ) แต่การเตะถีบผู้แย่งไข่นั้น ตัวของเต่าจะต้องให้มือหรือเท้า อยู่ในวงกลมนั้นด้วย ข้างใดข้างหนึ่งจะออกจากวงไปเตะไม่ได้ ถ้ามือหรือเท้า ของเต่าทั้งสองข้างออกพ้นเส้นวงกลมไปจะเตะถีบถูกผู้แย่งก็ไม่นับว่าถูก
62
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
ถ้าไข่กระจายออกจากกองแห่งจุดศูนย์กลาง จะกระจายอยู่ในวงกลม ก็ตาม หรือออกนอกวงกลมอยู่ข้าง ๆ ก็ตาม ถ้าผู้แย่งยังเอาไปไม่ได้ เต่ามีสิทธิ ที่จะเก็บมารวมไว้ตามเดิม ผู้แย่งจะใช้มือจับถือเอาไข่ก็ได้ หรือจะใช้เท้าเขี่ย ให้ออกมานอกวงไกล ๆ แล้วเก็บเอาภายหลังก็ได้ เข้าแย่งจะเข้าข้างหน้าข้างหลัง หรือข้าง ๆ ตัวเต่าก็ได้ ถ้าเต่าเตะหรือถีบถูกผู้แย่งคนใดเข้า ผู้ถูกเตะถูกถีบนั้น จะต้องมาเป็นเต่าแทน ไข่ที่แย่งได้จากเต่าตัวเดิมเท่าใดจะต้องเอามาส่งคืน ให้ครบจำ�นวนผู้เล่นอย่างเดิมแล้วเต่าตัวใหม่เข้ากกต่อไป ถ้าผู้แย่ง ๆ ไปได้หมด จับเต่าปิดตาให้พวกแย่งคนใดคนหนึ่งนำ�เอา จำ�นวนไข่เต่าไปซ่อน เรียกว่า “บ่มไข่” ขณะที่มีผู้นำ�ไข่ไปซ่อน ผู้เล่นทั้งหมด จะต้ อ งมารวมอยู่ ใ นวงกลมทั้ ง ตั ว เต่ า ด้ ว ย เมื่ อ ผู้ นำ � ไข่ ไ ปซ่ อ นวิ่ ง กลั บ มา เข้าอยู่ในวงกลมเรียบร้อยแล้วก็เปิดตาของเต่าออกเปิดโอกาสให้เต่าไปเดิน เที่ยวหาไข่ของตน (การซ่อนไม่ให้นำ�ไปซ่อนจนไกลเกินสมควร) เมื่อเต่าเดิน เที่ยวหาไข่ของตนนั้น ผู้ซ่อนจะต้องเป็นผู้กะเวลา ถ้าประมาณ ๑๐ นาที เต่ายังหาไข่ไม่ได้ เรียกว่า “ไข่เน่า” ผูน้ �ำ ไปซ่อนจะต้องประกาศว่า “ไข่เน่าแล้ว” ผูเ้ ล่นทุกคนจะต้องเข้าจูงมือบ้างจับแขนของตัวเต่าบ้าง (แต่ผนู้ �ำ ไข่ไปซ่อนมีสทิ ธิ ทีจ่ ะต้องจับหูเต่าเบือ้ งขวา ผูป้ ดิ ตาก็เข้าไปจูงหูเบือ้ งซ้าย) ค่อยเดินพาตัวเต่าไป ชี้บอกที่ซ่อนของไข่ให้ ขณะที่เดินแห่เต่าไปนั้น ผู้เล่นจะต้องมีบทร้องว่า “จูงหูจูงหางเอานกยางไปปล่อย” เมื่อเต่าเก็บไข่มาครบตามจำ�นวนแล้ว กลับเข้ามาในวงกลม และจะต้องเป็นเต่ากกไข่ต่อไปจนกว่าจะถีบหรือแตะ คนใดคนหนึ่งได้ แล้วผู้ถูกถีบเตะจะได้เข้ามาเป็นเต่าแทนตนต่อไป
ประโยชน์
ได้ออกกำ�ลังกายและฝึกความว่องไวของร่างกาย ที่มา : จังหวัดเชียงใหม่ บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
63
หมากข่าง วิธีเล่น
มีลูกตั้งฝ่ายละ ๕ ลูก ลูกตั้งใช้ลูกสะบ้า ลูกกลิ้งฝ่ายละเท่า ๆ กัน ถ้าข้างหนึ่ง ๑๐ ลูก อีกข้างหนึ่งก็ต้อง ๑๐ ลูก ลูกกลิ้งใช้ไม่แก่นเหนียวกลึงรูป กลมอย่างลูกฟุตบอล วัดโดยรอบ ๖ นิ้วครึ่ง หรือ ๘ นิ้วครึ่ง เมื่อตั้งต้นเล่น ฝ่ายใดจะลงมือขึ้นก่อนก็ได้ แล้วแต่จะตกลงกัน ลูกกลิ้ง ที่ฝ่ายหนึ่งกลิ้งไปเฉพาะเวลาเล่นครั้งแรกจะต้องเป็นลูกเพิ่มหรือลูกเชลย ของฝ่ า ยนั้ น ผลั ด เปลี่ ย นกั น ได้ ๆ ลู ก เชลย จนกว่ า จะถู ก ลู ก ตั้ ง ได้ ห มด หรือแพ้ชนะกัน
64
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
การแพ้ชนะกัน ถ้าลูกกลิ้งของฝ่ายใดกลิ้งไปถูกลูกตั้งของฝ่ายตรงข้าม ล้มหมด ฝ่ายที่ลูกตั้งล้มหมดก่อนเป็นฝ่ายแพ้ ถ้าล้มเท่ากันทั้ง ๒ ฝ่าย เรียกว่า เสมอกัน ไม่แพ้ไม่ชนะกัน การที่ลูกตั้งล้มนั้นต้องล้มด้วยลูกกลิ้งมาโดนลูกล้ม จริง ๆ วัตถุอย่างอืน่ ทำ�ให้ลม้ ใช้ไม่ได้ เช่นลูกตัง้ กับลูกตัง้ ถูกกันล้มหรือกระเทือน ล้มใช้ไม่ได้ การแพ้และชนะกันแล้วจะเล่นต่อไป ให้ฝ่ายชนะขึ้นต้นทำ�ก่อนเสมอ ถ้าลูกตั้งล้มหมดทั้ง ๒ ฝ่าย เรียกว่าเสมอกัน ก็ให้ฝ่ายที่มีลูกกลิ้งเดิมค้างอยู่ มือมากเป็นฝ่ายลงมือทำ�ก่อน หรือแล้วแต่จะตกลงกันให้ฝา่ ยใดขึน้ ทำ�ก่อนก็ได้ ระยะของการเล่น กว้างยาวแล้วแต่จะตกลงกัน ระยะกลิ้งห่างจากลูกตั้งไกล ที่สุด ๖ วา ใกล้ที่สุด ๔ วา หมายเหตุ วิธีกลิ้งลูกกลิ้ง ให้กลิ้งไปตามพื้นดิน ใช้ทอยหรือโยนหรือปา ไม่ได้ จะทอยหรือโยนได้ตอ่ เมือ่ ลูกตัง้ ฝ่ายใดฝ่ายหนึง่ เหลือเพียงหนึง่ ลูกเท่านัน้
ประโยชน์
เกิดความสามัคคีในหมู่คณะ ฝึกการใช้มือ ที่มา : จังหวัดแม่ฮ่องสอน
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
65
กาชิงไข่ วิธีเล่น
จำ�นวนคนเล่นตั้งแต่ ๖ คนขึ้นไป ยิ่งมีจำ�นวนมากยิ่งดี วิธีเล่นต้องมีผู้ เฝ้าไข่คนหนึง่ นอกนัน้ จะต้องหาไข่ ซึง่ ใช้อะไรแทนก็ได้ อาจจะเป็นท่อนไม้สน้ั ๆ กาบมะพร้าว มะนาว ฯลฯ กองไว้ทโ่ี คนเสา และทีโ่ คนเสานัน้ ต้องมีปลอกหลวม ๆ สวมไว้ มีเชือกยาวประมาณ ๒ เมตร ผูกไว้กับปลอก คนเฝ้าจะต้องจับ ปลายเชือกเสมอ พอเริม่ ลงมือเล่นผูเ้ ป็นเจ้าของไข่กช็ ว่ ยกันเข้าแย่งไข่ทโี่ คนเสา ผูเ้ ฝ้าไข่พยายามโหนตัวไปมา เพือ่ จะถูกต้องคนเข้าไปแย่งไข่ ถ้าคนเฝ้าใช้อวัยวะ ส่ ว นหนึ่ ง ส่ ว นใดถู ก คนแย่ ง ไข่ คนแย่ ง จะต้ อ งกลั บ ไปเป็ น ผู้ เ ฝ้ า ไข่ ทั น ที แต่ถา้ คนแย่งไข่ได้หมดโดยคนเฝ้ามิได้ถกู ต้องผูใ้ ด ก็ให้น�ำ ไข่ไปกองไว้ยงั โคนเสา ตามเดิม และคนเฝ้าไข่เดิมนั่นเองทำ�หน้าที่เฝ้าต่อไปในรอบที่ ๒-๓
ประโยชน์
ฝึกหัดความว่องไวและไหวพริบ ที่มา : จังหวัดสุราษฎร์ธานี
66
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
เก้าอี้คน วิธีเล่น
วิธจี ดั เก้าอีค้ นกลางสนาม ไม่ก�ำ หนดจำ�นวนผูเ้ ล่นและไม่ตอ้ งมีเครือ่ งใช้ อย่างใด มีความมุ่งหมายเพื่อได้ออกกำ�ลังดัดกายในกลางแจ้ง ในยามพักผ่อน ฝึกหัดให้มีความทนทานว่องไวและแข็งแรง ให้ผู้เล่นทุกคนยืนแถวเรียงหนึ่ง เป็นวงกลมหันหน้าตามหลังกันในวงกลม ให้หัวแถวกับปลายแถวติดกัน ผู้ให้อาณัติสัญญาณร้องว่า “หนึ่ง” หมายความว่า ให้ผู้เล่นทุกคน เตรียมตัว “สอง” ให้ผเู้ ล่นลงมือทำ� คือนัง่ งอเข่าและนัง่ บนเข่าพร้อมกันทุก ๆ คน เป็นวงกลม เพื่อแสดงให้ดูถึงการใช้ไหวพริบ ความเร็วและความอดทน
ประโยชน์
ฝึกความอดทน การใช้ความเร็ว และการใช้ไหวพริบ ที่มา : จังหวัดภูเก็ต
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
67
คลี
วิธีเล่น
ให้จัดคนข้างละ ๑๐ คน หรือมากกว่า ๑๐ คน จะเป็นชายหรือหญิง หรือชายข้างหญิงข้างก็ได้ ยืนห่างกันประมาณ ๘ วา หรือขนาดพอโยนคลีไป ถึงกันสะดวก ใช้ผ้าขาวม้าหรือผ้าอะไรก็ได้ปั้นกลมประมาณเท่าผลส้มโอ และผูกเงื่อนไว้ ๒ เงือ่ นสำ�หรับถือได้สะดวกในเวลาโยนไปมา เมือ่ จัดคนเตรียม พร้อมทั้ง ๒ ฝ่ายแล้วฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดจะเป็นผู้โยนคลีไปให้อีกฝ่ายหนึ่งก่อนก็ได้ ถ้าฝ่ ายรั บ จั บ คลีได้โ ดยไม่ตกพื้นดิน ฝ่า ยรั บ จะได้ ปาคนฝ่ า ยโยนครั้ ง หนึ่ ง เมื่อฝ่ายรับปาถูกคนหนึ่งคนใดฝ่ายรับก็ได้ตัวผู้ที่ถูกปามากักขังไว้ในบริเวณ ถ้ า ฝ่ า ยรั บ ปาไปไม่ ถู ก คนหนึ่ ง คนใด ฝ่ า ยถู ก ปาเก็ บ คลี นั้ น โยนกลั บ คื น ไป ถ้าฝ่ายรับจับคลีได้อีกก็จะได้ปาฝ่ายโยนอีก แต่ถ้าฝ่ายรับจับคลีไม่ได้ ฝ่ายรับ ก็จะกลับเป็นฝ่ายโยนคลีไปให้ฝา่ ยถูกปารับบ้าง ฝ่ายหนึง่ ฝ่ายใดจับคลีได้กต็ อ้ ง ปาฝ่ายโยนเสมอไป ทำ�อย่างนี้จนมีการชนะหรือแพ้ ทั้ง ๒ ฝ่ายต่างพยายาม คอยรับคลีที่โยนมาหรือหลบหลีกคลีที่ปามานั้นโดยกวดขัน ถ้าฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง ปาถูกคนใดคนหนึ่งก็ต้องพาตัวคนนั้นไปควบคุมดังกล่าวแล้ว แต่ตัวคนที่ถูก ฝ่ายหนึ่งควบคุมก็จะต้องพยายามดิ้นรนจะออกไปจับคลีที่ฝ่ายพวกของตน โยนมาให้ได้ เมื่อจับคลีได้ก็เอาคลีนั้นตีฝ่ายที่ควบคุมตนคนละทีทุกคนเรียกว่า “ลานาย” แล้วไปทีอ่ ยูข่ องตนตามเดิม ถ้าออกจับคลีไม่ได้กต็ อ้ งให้ฝา่ ยทีค่ วบคุม ควบคุ ม เรื่ อ ยไปจนแพ้ ช นะ ฝ่ า ยที่ ค วบคุ ม ก็ จ ะต้ อ งพยายามคอยป้ อ งปั ด มิให้ผู้ที่ถูกคุมตัวไว้ออกจับคลีได้สะดวก ถ้าฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งถูกปาเอาตัวไป ควบคุมไว้จนหมดฝ่ายนั้นก็นับเป็นแพ้ ฝ่ายที่ชนะยกพวกเข้าครอบครองแดน ของฝ่ายแพ้เรียกว่า “ได้เมือง” ฝ่ายแพ้ต้องตั้งที่อยู่ใหม่
68
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
ประโยชน์
สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ การออกกำ�ลังกาย ที่มา : จังหวัดชุมพร
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
69
ชนโคคน วิธีเล่น
แบ่งออกเป็นสองพวก ๆ ละ ๕ คน ในพวกหนึง่ สมมติ คนเล่นให้เป็นโค ๑ คน เป็นหมอแต่งโค ๑ คน เป็นคนถืออาหารและน้ำ�สำ�หรับโค ๑ คน เป็นคนจูงโคเข้าวาง ๑ คน คนที่เป็นโคเลือกคนที่มีร่างกายแข็งแรง ฉลาดไหว พริบดี คนที่เป็นโคจะต้องคลานใช้มือทั้ง ๒ และเข่าทั้ง ๒ ข้างต่างขาโค ใช้ไหล่ และศีรษะต่างเขาชนกัน คนจูงจูงเข้าวงชนกัน ต้องมีเชือก ๑ เส้น ยาวประมาณ ๕ ศอก ใช้เชือกชนิดที่อ่อน ๆ เช่น เชือกด้วยเข็ด ขนาดกลางไม่โตและไม่เล็ก เกินไป ต้นและปลายเชือกผูว้ างโคต่างถือไว้ขา้ งละคน วัดเส้นเชือกให้ได้กงึ่ กลาง พอดีให้คนโคใช้ปากคาบเชือกสมมติว่าร้อยจมูกโค คนที่เป็นหมอแต่งโคเลือก คนทีต่ ลกขบขันท่าทางเป็นคนเลือ่ มใสทางไสยศาสตร์ ต้องมีหม้อน�้ำ มนต์ ๑ ใบ เวลาเข้าแต่งโคฝ่ายตนผูน้ นั้ จะต้องแสดงวิธปี ลุกเสก ด้วยคาถาอาคมตามแต่ตน จะสมมติ ขึ้ น คนที่ จั ด อาหารและ น้ำ � สำ � หรั บ โคคน จะต้ อ งมี น้ำ � และหญ้ า หรือจะใช้ขนมต่างหญ้าก็ได้ ถือเข้าสูส่ นามโค เพือ่ ให้โคคนกินไปก่อนเวลาเข้าชน ว่าด้วยวิธเี ล่น สนามต้องเป็นรูปวงกลม ผูเ้ ล่นทัง้ สองฝ่ายต้องอยูด่ า้ นตรงกันข้าม ตรงกลางสนามกรรมต้องทำ�เครือ่ งหมายไว้กงึ่ กลางสนามพอดี เป็นเขตกำ�หนด สำ�หรับพักโคทั้งสองฝ่าย เมื่อจูงโคของตนมาถึงแล้ว จะล่วงล้ำ�พาโคของตน พ้นไปไม่ได้ เมื่อทั้งสองฝ่ายมาถึงเครื่องหมายที่กรรมการทำ�ไว้แล้ว ผู้วางโค ทั้งสองฝ่ายต่างชักเชือกที่โคคนคาบออกเสียปล่อยให้โคคนต่อสู้กันตัวต่อตัว กรรมการจะต้องให้เวลาผูเ้ ล่นทัง้ สองฝ่ายเตรียมตัว ๑๐ นาที เมือ่ กรรมการ ให้อาณัติสัญญาณครั้งที่ ๑ หมอแต่งโคจะต้องเตรียมโคของตน เช่นสมมติว่า ให้ปลุกเสกคาถาอาคม ผูเ้ ลีย้ งโคให้โคกินหญ้า เมือ่ ครบกำ�หนดเวลาทีก่ รรมการ วางไว้ให้เตรียมตัวแล้ว ก็อาณัตสิ ญ ั ญาณครัง้ ที ๒ เมือ่ ผูเ้ ล่นได้ยนิ อาณัตสิ ญ ั ญาณ 70
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
ครั้งที่ ๒ ต่างก็นำ�โคของตนไปที่เครื่องหมายวางโค คนถืออาหารโคไม่ต้องไป ขณะที่ทั้งสองฝ่ายจูงโคของตนออกไปสู่ท่ีวางโคนั้น หมอโคต้องเดินนำ�หน้าโค และประปราย น้ำ � มนต์ ไ ปด้ ว ย พอถึ ง เครื่ อ งหมายแล้ ว หมดโคกลั บ ที่ เ ดิ ม ต่อจากนั้นเป็นหน้าที่ของคนวางโค เมื่อกรรมการเห็นว่าผู้เล่นทั้งสองฝ่าย มาถึงที่หมายพร้อมกันแล้ว ก็ให้อาณัติสัญญาณครั้งที่ ๓ อาณัติสัญญาณ ครั้งที่ ๓ ผู้วางทั้งสองฝ่ายต่างชักโคของตนเข้ามาให้ศีรษะถึงกันพอดีแล้ว เอาเชือกที่โคคนคาบออกเสีย แล้วคนวางโคทั้งสองฝ่ายต่างวิ่งกลับที่เดิม ปล่อยให้โคคนต่อสู้กันตัวต่อตัว
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
71
ระเบียบของการตัดสิน กรรมการคอยดูว่า ๑. กำ�ลังกายฝ่ายไหนจะดีกว่ากัน ๒. หากฝ่ายใดใช้มือเป็นเครื่องต่อสู้ ตัดสินให้ฝ่ายนั้นเป็นผู้แพ้ ๓. ฝ่ายโคล้มหงายหน้าขึ้นแสดงว่าหมดกำ�ลังตัดสินเป็นแพ้ ๔. ฝ่ายโคออกปากว่าสู้ไม่ได้เป็นแพ้ หลั ก ของการเสมอกั น ก่ อ นลงมื อ เล่ น กรรมการควรจะให้ เวลาไว้ หากคู่ต่อสู้ทั้งสองฝ่ายมีกำ�ลังกายและไหวพริบเท่า ๆ กัน สู้กันไปจนหมดเวลา ตัดสินเป็นเสมอกัน
ประโยชน์
ได้ออกกำ�ลังกาย เกิดความฉลาด มีไหวพริบ สร้างความสนุกสนาน รื่นเริงในหมู่คณะ ที่มา : จังหวัดสงขลา
72
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
ชิงหลักชัย วิธีเล่น
๑. ปั ก เสาหลั ก ต้ น หนึ่ ง โตพอควร สู ง ราว ๒ เมตร หรื อ จะใช้ ต้ น ไม้ แทนก็ได้ ซึง่ เรียกว่า “หลักชัย” (ควรมีผา้ หรือธงติดไว้ทหี่ ลักให้แลเห็นได้ชดั เจน) ๒. ต้องมีที่เล่นกว้างขวางพอที่ผู้เล่นจะได้วิ่งและหลบหนีในเวลาเล่น และควรมีที่กำ�บังการหลบหนีได้ตามควร แต่กรรมการกะอาณาเขตให้ด้วย (ขนาดเท่าสนามฟุตบอลก็ใช้ได้) ๓. แบ่งผู้เล่นออกเป็น ๒ พวก พวกละเท่า ๆ กัน จะเป็นฝ่ายละกี่คน ก็ได้แล้วแต่จะเห็นสมควร การแต่งกายของทั้งสองฝ่ายควรแต่งให้ต่างกัน หรือใช้เครื่องหมายต่างกัน ๔. กรรมการจัดให้ผู้เล่นทั้งสองฝ่ายเสี่ยงทายกัน ฝ่ายใดเลือกได้ทีหลัง ถูกเป็นฝ่ายรับ หรือเฝ้าหลักชัย ฝ่ายที่เลือกได้ก่อนเป็นฝ่ายชิงหลักชัย สมมติ ว่ า พวกที่ เ ลื อ กได้ ก่ อ นเป็ น พวก ก. และเลื อ กได้ ที ห ลั ง เป็นพวก ข. เพราะฉะนั้นพวก ข. จะต้องเป็นผู้เฝ้าหลักชัย การเฝ้าหลักชัย ให้เลือกคนในพวกของตนคนหนึ่งเป็นผู้เฝ้า ซึ่งจะต้องระมัดระวังอย่างที่สุด ที่ ไ ม่ ใ ห้ ฝ่ า ยปรปั ก ษ์ ม าแตะต้ อ งหลั ก ชั ย ได้ ก่ อ นที่ พ วกของตนจะถู ก ตั ว ฝ่ายปรปักษ์ก่อน ถ้าผู้ใดพยายามเข้ามาจับหลักชัยไว้ได้ก่อนฝ่ายเฝ้าหลัก จะถู ก ต้ อ งนั้ น นั บ เป็ น ชนะไปได้ ค นหนึ่ ง แล้ ว คนต่ อ ๆ ไปต้ อ งพยายาม เช่นเดียวกัน แต่ถ้าผู้เฝ้าหลักถูกตัวเสียก่อนที่จะมาถึงหลักได้ นับเป็นตาย คือ หมดสิทธิ์ในการเล่นรอบนั้นไปอีกคนหนึ่ง ก่อนลงมือเล่นพวก ข. คือพวกที่อยู่เฝ้าหลักชัยต้องผูกตาหมดทุกคน ในขณะที่ ผู ก ตาแล้ ว พวก ก. ออกจากที่ ห นี ไ ปซุ่ ม ซ่ อ นตั ว อยู่ ใ นที่ ต่ า ง ๆ บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
73
อันจะคอยหาหนทางเข้ามาแย่งหลักชัยเป็นที่มั่นต่อไป กรรมการก็เป่านกหวีด เป็นอาณัตสิ ญ ั ญาณ เมือ่ ทัง้ สองฝ่ายได้ยนิ อาณัตสิ ญ ั ญาณ พวก ข. แก้ผา้ ผูกตาออก และออกไล่จับพวก ก. ทันที พวก ก. ก็ตั้งต้นหนี และคอยหาหนทางเข้ามา ชิงหลักชัยให้ได้ก่อนที่จะถูกจับต้องตัวเสียก่อน (เมื่อจับใครได้แล้วนำ�มามอบ กรรมการ หรือผู้เฝ้าหลักชัย)
74
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
การตัดสิน
๑. พวก ก. วิ่ ง มาจั บ หลั ก ชั ย ก่ อ นถู ก จั บ มากกว่ า ครึ่ ง หนึ่ ง ของผู้ เ ล่ น นับให้พวก ก. เป็นฝ่ายชนะ ๒. ถ้ า พวก ก. ถู ก จั บ (ตาย) มากกว่ า ครึ่ ง หนึ่ ง ของผู้ เ ล่ น ฝ่ า ยตน ต้องนับให้พวก ข. เป็นผู้ชนะ
ประโยชน์
เป็นการออกกำ�ลังกายได้ทุกส่วนเช่นเดียวกับเล่นฟุตบอล ซึ่งเป็นกีฬา ที่ต้องวิ่งเต้นฝึกความว่องไวของร่างกาย ตา และ หู ฯลฯ ที่มา : จังหวัดกระบี่
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
75
เตย
วิธีเล่น
เตย เป็นการเล่นที่ต้องเล่นรวมกำ�ลังเป็นพวก จัดเป็น ๒ ฝ่ายละเท่า ๆ กัน จะเล่นฝ่ายละกี่คนก็ได้ การเล่นเตยนี้ถ้าจัดการแก้ไขให้วิธีเล่นเป็นระเบียบ เรี ย บร้ อ ยแล้ ว ก็ จ ะเป็ น การละเล่ น ที่ น่ า สนุ ก มากที เ ดี ย ว การเล่ น เตย เท่าที่เล่นกันอยู่ในหมู่เด็กพื้นเมืองนั้นจัดกันดังต่อไปนี้ ก่อนเล่น จะต้องขีดเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าลงบนลานทรายเรียบ ๆ หรือสนามหญ้าก็ได้ กว้างประมาณ ๔-๖ เมตร ไม่จำ�กัดส่วนยาวแล้วขีดเส้นคั่น แบ่งสี่เหลี่ยมผืนผ้านั้นออกตามด้านกว้าง เส้นที่ขีดขึ้นใหม่นี้ห่างกันประมาณ ๓-๔ เมตร เรี ย กว่ า “เส้ น หลั ก ” (เส้ น สกั ด ) เส้ น หลั ก นี้ จ ะต้ อ งมี เ ท่ า กั บ จำ � นวนคนเล่ น ฝ่ า ยหนึ่ ง ๆ พอดี เ ส้ น ทางด้ า นยาวทั้ ง สองข้ า งนั้ น เรี ย กว่ า “เส้ น ข้ า ง” แล้ ว ขี ด เส้ น ผ่ า นกลางตลอดส่ ว นยาวของรู ป สี่ เ หลี่ ย มนั้ น อีกเส้นหนึง่ เรียกว่า “เส้นกลาง” เส้นกลางอาจจะขีดยาวออกไปนอกรูปสีเ่ หลีย่ มนัน้ ข้างหนึ่งก็ได้ ส่วนที่ขีดเลยออกมานี้เรียกว่า “หนวด” และด้านที่มีหนวดนี้ เรียกว่า “หัว” ตามรูปนีม้ ผี เู้ ล่นฝ่ายละ ๘ คน แสดงการวางคนเล่นฝ่ายหลักให้สลับกัน และแสดงวิธีวิ่งของหัวหน้าฝ่ายหลักมาขังที่เส้นกลางฝ่ายหลัก ผู้เล่นพวกหนึ่งมีหน้าที่ประจำ�เส้นต่าง ๆ เหล่านั้น เรียกว่า ฝ่ายหลัก (สกัด) ส่วนอีกพวกหนึง่ มีหน้าทีล่ งผ่านเส้นต่าง ๆ เรียกว่าฝ่ายลง ในพวกหนึง่ ๆ จะต้องจัดให้มหี วั หน้าอยูค่ นหนึง่ ซึง่ ในพวกของตนเห็นว่าเป็นผูท้ ฉ่ี ลาดไหวพริบดี ฝีเท้ารวดเร็วเป็นผู้มีหน้าที่ควบคุม และรักษาเส้นกลาง ส่วนหัวหน้าฝ่ายหลัก ยืนอยูท่ เี่ ส้นหัวคนอืน่ ๆ ในพวกฝ่ายหลักก็ยนื ประจำ�เส้นหลักเส้นละคน หัวหน้า 76
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
มีหน้าที่วิ่งตีฝ่ายลงได้ตั้งแต่เส้นหัวตลอดเส้นกลางและเส้นหนวด แต่จะลงไป ตีบนเส้นหลักอื่น ๆ ไม่ได้ ส่วนคนหลักอื่น ๆ นั้น ผู้ใดประจกอยู่ที่เส้นหลักใด ก็วิ่งตีฝ่ายลงได้เฉพาะเส้นหลักของตัวเท่านั้น สำ�หรับเส้นข้าง ทุกคนจะวิ่งไปตี ไม่ ไ ด้ เ ลย ผู้ เ ล่ น ฝ่ า ยหลั ก มั ก จะยื น สลั บ กั น โดยหั ว หน้ า ในพวกเป็ น ผู้ จั ด เช่น คนแรกยืนอยูท่ างซ้าย คนทีส่ องก็ยนื อยูท่ างขวา คนทีส่ ามก็ยนื อยูท่ างซ้าย สลับกันเช่นนีต้ ลอดไป ฝ่ายลงนัน้ ออกไปยืนอยูน่ อกรูปสีเ่ หลีย่ มทางด้านหัวทัง้ สิน้ เมื่อเป็นที่เรียบร้อยดีแล้ว ฝ่ายลง (ฝ่ายวิ่ง) ก็ถามว่า “อุดหรือ” หัวหน้า ฝ่ายหลักตรวจดูพวกเพื่อนของตัว เมื่อเห็นว่าพร้อมแล้วก็ตอบว่า “อุด” อันหมายความว่า เริ่มเล่นได้ เมื่ อ ฝ่ า ยลงได้ ยิ น ว่ า หั ว หน้ า ฝ้ า ยหลั ก ร้ อ งว่ า “อุ ด ” ก็ เริ่ ม ลงไป โดยต้องผ่านเส้นหัวเสียก่อน แล้วพยายามใช้วธิ ลี อ่ , หลบ, หลีก, ผ่านเส้นหลักทุก ๆ เส้น ไปจนสุดแล้วจึงผ่านกลับขึ้นมาอีกจนสุดเส้นหัว ถ้าฝ่ายลงผู้หนึ่งขึ้นผ่าน เส้นหลักทุก ๆ เส้นมาได้โดยมิได้ถกู ฝ่ายหลักตีฝา่ ยลงนัน้ ก็ได้เกมเรียกว่า “เตย” และทุก ๆ คนในพวกฝ่ายลงที่ขึ้นมาอยู่ที่เดิมเพื่อเริ่มเล่นต่อไป แต่ถ้าคนหนึ่ง ในพวกฝ่ายลงถูกตีซึ่งเรียกว่า “ตาย” เสียก่อนเตย ฝ่ายลงต้องกลับเป็น ฝ่ายหลัก ฝ่ายหลักก็จะทำ�หน้าที่ลงต่อไป ตามธรรมดาหัวหน้าฝ่ายหลักมักมาอยู่ที่เส้นกลาง และขังฝ่ายลงไว้ คือเมื่อคนที่สองอยู่ทางซ้าย คนที่สามอยู่ทางขวาแล้ว หัวหน้าก็จะมาอยู่ที่ เส้ น กลางระหว่ า งคนที่ ส องและที่ ส าม ถ้ า ฝ่ า ยลงผ่ า นพ้ น คนที่ ส องไปได้ หัวหน้าก็มกั ไปอยูท่ เี่ ส้นกลางระหว่างคนทีส่ ามและทีส่ ดี่ งั นีเ้ รือ่ ยไป หรือสุดแล้ว แต่ฝ่ายหลัก ฝ่ายลงจะใช้วิธีหลอกล่อเป็นการใช้ไหวพริบระหว่างพวกก็ได้ การตีของฝ่ายหลักนั้น หมายความว่า การใช้ มือของตนถู กฝ่ายลง ในขณะที่ เ ท้ า ทั้ ง สองยื น หรื อ เหยี ย บอยู่ บ นเส้ น ของตน จะก้ า วเข้ า ไปตี บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
77
โดยเท้าอยู่นอกเส้นไม่ได้ นอกจากถูกฝ่ายหลักดี ฝ่ายลงจะต้อง “ตาย” ได้เหมือนกันในเมื่อ ๑. หากพ้นเส้นหลักเส้นไหนไปแล้วกลับผ่านเส้นนั้นขึ้นมาอีกนับเป็น “ตาย” นอกจากจะได้ลงผ่านหมดทุกเส้นแล้วจึงวิ่งผ่านกลับขึ้นมาได้ เวลาขึ้น เช่นผ่านขึน้ มาได้เส้นหนึง่ แล้วจะกลับลงไปอีกก็ไม่ได้เช่นเดียวกัน จนกว่าจะเกม หรือเตย ๒. ออกจากนอกเส้นข้าง ๆ ทั้งสองเท้า ๓. วิ่งลงเมื่อหัวหน้าฝ่ายหลักยังไม่บอกว่า “หยุด” นอกจากนี้ ถ้ า คนใดในพวกฝ่ า ยลงนั่ ง ในเวลาที่ เริ่ ม ลงมื อ เล่ น แล้ ว ฝ่ายหลักจะนอนตีได้ ถ้าฝ่ายลงนั่งอาจนับเป็นตายก็ได้
78
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
ก่อนลงมือเล่นทั้งสองฝ่ายจะต้องทำ�การเสี่ยงว่าใครจะเป็นฝ่ายลง หรือฝ่ายหลักก่อน โดยใช้โยนหัวโยนก้อย หรือชักไม้สนั้ ไม้ยาว ฯลฯ ผูท้ ที่ ายถูก โดยมากมักเลือกเป็นฝ่ายลงเสมอ อีกฝ่ายหนึ่งก็ต้องเป็นฝ่ายหลักตามระเบียบ
ประโยชน์
ทำ�ให้ร่างกายแข็งแรง สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ ที่มา : จังหวัดภูเก็ต
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
79
ยั่วทิง วิธีเล่น
เล่นได้ตั้งแต่ ๓ คนขึ้นไป อย่างมากไม่เกิน ๑๐ คน เลื อ กแม่ทิง คนหนึ่งในจำ�พวกผู้เล่ น จั ดให้ เข้ า เล่ น จั บ ไม้ สั้ น ไม้ ย าว คนใดจับได้ไม้สั้นผู้นั้นต้องเป็นแม่ทิงคนแรก ไข่ทิง ผู้เล่นทุกคนนอกจากแม่ทิง จัดหาสิ่งของมาสมมติเป็นไข่ทิง คนละเท่า ๆ กัน (ราว ๓-๕ หน่วยต่อหนึง่ คน) สิง่ ทีห่ ามานีจ้ ะเป็นก้อนหินเล็ก ๆ หรื อ ผลหมาก ผลมะนาม ฯลฯ ใช้ ไ ด้ ทั้ ง สิ้ น เมื่ อ ได้ ม าพร้ อ มกั น แล้ ว ต่างก็รวมกองไว้ในหลุมทีข่ ดุ เตรียมไว้บนพืน้ ดินพอเป็นแอ่ง แล้วแม่ทงิ จึงคร่อมไข่ อยู่ ใ นท่ า คลาน คอยระวั ง มิ ใ ห้ ผู้ เ ล่ น ซึ่ ง ต่ า งพยายามแย่ ง ไข่ ทิ ง ไปได้ ในการแย่ ง ไข่ นี้ ผู้ เ ล่ น ใช้ วิ ธี ก รรโชกและหลอกล้ อ ด้ ว ยท่ า ทางต่ า ง ๆ ส่วนปากก็รอ้ งไปพลางเป็นระยะว่า “ชิงทิง, ชิงๆชิงทิง” แม่ทงิ ก็พยายามใช้เท้า ฟาดเพื่อให้ถูกผู้ที่เข้ามาแย่งไข่
80
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
การแพ้ ช นะ ในขณะกำ � ลั ง แย่ ง ไข่ แ ม่ ทิ ง นี้ ผู้ แ ย่ ง คนที่ ถู ก แม่ ทิ ง เอาเท้ า ฟาด ผู้ นั้ น ก็ แ พ้ แ ละถู ก เป็ น แม่ ทิ ง แทน แม่ ทิ ง ก็ ไ ด้ ก ลั บ เข้ า สมทบ กับพวกผู้แย่งไข่ต่อไป แม่ทิงตัวใดหย่อนความสามารถหรือไม่มีไหวพริบ จนถึงผู้แย่งช่วยกัน แย่งไข่ไปได้หมด แม่ทงิ ตัวนัน้ ก็ถกู เอาผ้ามาผูกตาจนมิด แล้วพวกทีแ่ ย่งไข่ไปได้ จึงเอาไปรวมกันเข้า นำ�ไปซ่อนภายในบริเวณทีก่ �ำ หนดไว้ เมือ่ ได้ซอ่ นไข่เสร็จแล้ว จึงแก้ผ้าจากตา และกำ�หนดให้แม่ทิงออกหาไข่ที่ซ่อนไว้ โดยยอมให้คุ้ยเขี่ย หรือรื้อได้ไม่เกิน ๓ แห่ง ถ้าครบกำ�หนด ๓ แห่งแล้วยังไม่พบ ผู้ซ่อนจะบอก ที่ซ่อนให้ แต่แม่ทิงจะถูกลงโทษ คือบังคับให้แม่ทิงนอนลงแล้วต่างช่วยกัน จั บ มื อ และเท้ า กระแทกเบา ๆ ลงบนไข่ ที่ เ อาซ่ อ นไว้ ๓ ครั้ ง และผู้ นั้ น ต้องถูกเป็นแม่ทิงซ้ำ�อีก ในการเอาไข่ไปซ่อนนัน้ ผูเ้ ล่นต้องเลือกให้คนใดคนหนึง่ เป็นผูร้ บั ผิดชอบ นำ�ไปซ่อน ถ้าซ่อนไม่ดี หรือว่าจนถึงกับแม่ทิงหาพบ ผู้ซ่อนก็ต้องได้รับโทษ คือกลับเป็นแม่ทิง แทนแม่ทิงเดิม
ประโยชน์
ฝึกหัดความว่องไว หัดความสังเกต ความระมัดระวัง และฝึกหัด ออกกำ�ลังกาย ที่มา : จังหวัดพังงา
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
81
หมาชิงเสา วิธีเล่น
ผู้เล่นต้องเป็นคี่เสมอ ไม่จำ�กัดจำ�นวน คือเป็นหมาหนึ่งตัว ผู้เล่นนอก นั้นประจำ�เสาคนละต้น คนเป็นหมาอยู่ระหว่างกลางผู้เล่น คือคอยชิงเสาใน ขณะที่พวกเหล่านั้นทำ�การสับเปลี่ยนเสากัน ถ้าหมาชิงเสาที่ไม่มีคนประจำ�ได้ คนทีว่ า่ งนัน้ จะต้องเป็นหมาแทน ชิงกันเช่นนีต้ ลอดไป ผูใ้ ดจะเป็นหมาครัง้ แรก แล้วแต่จะตกลงกัน สถานที่เล่น ใช้เสาเรือนหรือต้นไม้จะใช้เสาปักตามสนาม หญ้าก็ได้
ประโยชน์
ออกกำ�ลังกาย หัดความฉับไว ไหวพริบ ที่มา : จังหวัดสงขลา
82
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
ขันไก่ วิธีเล่น
แบ่ ง ผู้ เ ล่ น ออกเป็ น ๒ พวก ๆ ละหลายคนตั้ ง แต่ ๖ คนขึ้ น ไป เป็นอย่างน้อยใน ๖ คนผลัดกันเป็นไก่คนละครัง้ ผูท้ เ่ี ป็นไก่ตอ้ งใช้ผา้ คลุมโดยมิดชิด มีพเ่ี ลีย้ ง คือ กรรมการ คอยดูอยูด่ ว้ ย ๑ คน แล้วฝ่ายหนึง่ คอยฟังว่าจะเป็นเสียงใคร ในพวกนั้น เมื่อแน่ใจแล้วก็ทายไป การทายให้ผู้ที่คลุมผ้าขันขึ้นเป็นเสียงไก่ จะแกล้งขันอย่างไรก็ได้ เมือ่ ผูเ้ ล่นฝ่ายฟังได้ยนิ เสียงแล้วก็ทายไปตามความเข้าใจ ว่าเป็นเสียงของใคร ฝ่ายใดทายถูกมากกว่า ฝ่ายนั้นเป็นผู้ชนะ
ประโยชน์
เพื่อฝึกหัดจำ�ด้วยประสาทหูให้ดีขึ้น
ที่มา : จังหวัดสุราษฎร์ธานี
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
83
ขี่ม้าหาเจ้าเมือง วิธีเล่น
กำ�หนดผูเ้ ล่นตัง้ แต่ ๔ คนขึน้ ไปถึง ๑๐ คน การเล่นชนิดนีเ้ หมาะสำ�หรับผูช้ าย เครื่องเล่น หาหลักปักไว้ตรงกลาง ๑ หลัก ขอนไม้ ๑ ขอน หรือเก้าอี้ก็ได้ ตั้ง พิงไว้กับหลัก ให้ผู้เล่นทั้งหมดแบ่งเป็นพวกเท่า ๆ กัน หาเพิ่งอีก ๑ คน เป็ น เจ้ า เมื อ ง นั่ ง อยู่ บ นเก้ า อี้ ให้ พ วกที่ เ ล่ น ยื น เข้ า แถวทางซ้ า ยและขวา ของเจ้าเมือง ให้คนเล่นคนหนึง่ ในพวกหนึง่ ออกมากระซิบบอกชือ่ คนเล่นคนหนึง่ ในอี ก พวกหนึ่ ง แก่ เ จ้ า เมื อ ง แล้ ว กลั บ มายื น ที่ เ ดิ ม ต่ อ ไปให้ ค นเล่ น พวกที่ถูกกระซิบบอกชื่อ ออกมาหาเจ้าเมือง และบอกชื่อคนเล่นคนหนึ่ง ในพวกแรกเช่นเดียวกัน แต่ถ้าคนที่ออกมาจากพวกที่ ๒ นี้ เป็นผู้ที่มีชื่อตรง กับที่คนพวกที่หนึ่งบอกชื่อไว้ก่อนฝ่ายคนนั้นต้องแพ้ พวกที่ชนะขี่พวกที่แพ้ มาหาเจ้าเมืองระยะทางที่จะขี่ใกล้หรือไกล แล้วแต่ทั้ง ๒ ฝ่ายจะตกลงกัน
ประโยชน์
ได้ออกกำ�ลังกาย ฝึกหัดไหวพริบ หัดความสังเกต มีความสามัคคีในหมูค่ ณะ ที่มา : จังหวัดชุมพร
84
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
หมากเก็บ วิธีเล่น
แบ่งผู้เล่นออกเป็น ๒ พวก ๆ ละเท่า ๆ กัน ให้เปลี่ยนกันเล่นทีละพวก ผู้ใดเล่นก่อนหรือหลังแล้วแต่จะตกลงกัน แต่เมื่อพวกใดเล่นก่อนพวกนั้น ต้องเล่นเรียงตัวไปให้หมดทุกคนเสียก่อน อีกพวกหนึ่งจึงลงมือเล่นต่อไป เมื่ อ ถึ ง คราวเล่ น ผู้ เ ล่ น หว่ า นลู ก หมากเก็ บ ทั้ ง หมดลงกั บ พื้ น แต่ โ ดยมาก หรือให้เหมาะมักเล่นกับพื้นดิน (เด็ก ๆ ชอบเล่นในเวลาไปเลี้ยงสัตว์ตามทุ่ง และเวลาไปโรงเรียน ผู้ใหญ่ชอบเล่นคราวงันเรือนดี เช่นเดียวกับเสือกินหมู) หยิ บ ขึ้ น มาเป็ น ลู ก โยนเสี ย ลู ก หนึ่ ง แล้ ว ใช้ มื อ ข้ า งหนึ่ ง โยนลู ก นั้ น ขึ้ น ขณะที่ ลู ก ยั ง ไม่ ต กลงมา มื อ นั้ น ต้ อ งรี บ หยิ บ เอาลู ก ที่ เ หลื อ ที ล ะลู ก แล้วกลับขึ้นมารับลูกที่โยนทันทีโดยไม่ให้ลูกที่โยนนั้นตกถึงพื้น และไม่ให้ เอามืออื่นช่วย คงใช้ได้แต่มือเดียวทำ�เช่นนี้ไปจนเก็บได้หมดทุกลูก เรียกว่า “พ้ น เก็ บ เม็ ด ” แล้ ว หว่ า นลงไปใหม่ ในคราวที่ ส องเล่ น อย่ า งคราวแรก แต่เก็บเอาทีละ ๒ ลูก คราวที่สามเอาทีละ ๓ ลูก คราวที่สี่เอาทีละ ๔ ลูก ระหว่างที่เล่นนับแต่ลูกที่หนึ่งถึงสี่นี้ ถ้ารับลูกไม่ทันลูกตกก็ดี หรือเก็บลูก ที่อยู่พื้นขึ้นไม่ครบตามกำ�หนดก็ดี คนนั้นเป็นตายไม่ได้เล่นต่อไปสำ�หรับ รอบนัน้ คนทีถ่ ดั ไปซึง่ เป็นฝ่ายเดียวกันต้องเล่นต่อไปเป็นทอด ๆ ไปจนสิน้ พวก เมื่อพ้นสี่คราวนี้แล้วก็กวักเสียทีหนึ่ง วิธีกวักให้เอามือกำ�ลูกหมากเก็บไว้ทุกลูก แล้วโยนขึน้ เบา ๆ พร้อมกันทุกลูก ทันใดนัน้ ต้องรีบกลับเอาหลังมือข้างทีโ่ ยนนัน้ รับทันทีอย่าให้ลูกตกถึงพื้นได้ จะรับได้กี่ลูกก็ได้แต่ถ้ารับไม่ได้เลย คนนั้น เป็นตาย คนถือไปทำ�ต่อถ้ารับได้แล้ว วิธกี วักคือใช้มอื ข้างรับลูกไว้ทง้ั ๆ ทีล่ กู ค้าง อยู่บนหลังมือ โยนสลัดออกจากหลังมือแล้วตวัดมือนั้นจ้วงจับเอาลูกนั้น ไว้ให้ได้ทุกลูกอย่าให้ตกได้ ถ้าตกแม่แต่ลูกเดียวเป็นตาย คนถัดไปทำ�ต่อ วิธีกวักจะกวัดครั้งเดียวก็ได้ หรือจะกวักให้ได้ครบ ๕ ลูกซึ่งจะกวักกี่ครั้งก็ตาม บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
85
เมื่ อ ครบ ๕ ลู ก แล้วจึงหมดพิธีเล่นเพียงกวั ก ดั งนี้ ก็ ไ ด้ แ ล้ วแต่ จ ะตกลงกั น เมื่ อ เสร็ จ การกวั ก แล้ ว เรี ย กว่ า ชนะครั้ ง หนึ่ ง หรื อ ชนะเกมหนึ่ ง หมดเกม ลงมื อ เล่ น ตามข้ า งต้ น มาใหม่ จ นกว่ า พวกแรกจะตายทุ ก คน อี ก พวกหนึ่ ง จึ ง จะเล่ น ชิ ง เกมได้ ผลั ด เปลี่ ย นกั น ดั ง นี้ จ นกว่ า จะอยากเลิ ก วิ ธี เ ล่ น ต่ อ รอบแรกฝ่ายตาย เล่นตายหรือเสียตอนใดวิธีใด รอบต่อไปหรือคนต่อไป ก็จับเล่นใหม่ซ้ำ�จากที่เสียไป เช่น ตายลูกสองก็เล่นแต่ลูกสองไป วิธนี บั แต้ม เมือ่ ฝ่ายใดได้กวักกีค่ รัง้ ๆ ละกีล่ กู ก็นบั รวมกันเข้าไปจนเลิก ฝ่ายใดได้แต้มมากกว่า ฝ่ายนั้นเป็นฝ่ายชนะ
ประโยชน์
ฝึกหัดความฉับไวและไหวพริบ ที่มา : จังหวัดมหาสารคาม
86
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
ตีไก่
วิธีเล่น
แบ่งเป็น ๒ พวก ๆ ละเท่า ๆ กัน ผู้เล่นไม่กำ�หนด ต่างพวกนั่งยอง ๆ แล้วทำ�ที่เหมือนไก่ตีปีกผับ ๆ เอามือตีที่ตะโพกและเข้าเตะกัน พวกไหนไม่ล้ม พวกนั้นชนะ
ประโยชน์
เพื่อออกกำ�ลังกายที่ขา และฝึกหัดนั่งเต้น ที่มา : จังหวัดขอนแก่น
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
87
กลิ้งครกขึ้นภูเขา วิธีเล่น
วิธีที่ ๑ ท่านั่ง ผู้เล่นสองคน คนหนึ่งนั่งลงกับพื้นให้ก้นราบติดพื้น ขาเหยียดออกไปข้างหน้า งอเข่านิดหน่อย อีกคนหนึง่ มายืนทางหลังหันหน้าไป ทางเดียวกันกับคนนั่ง แล้วก้มลง เอามือจับเข็มขัดคนนั่ง หรือเอามือทั้งสอง สอดจับผ้ารัดเอวคนนัง่ ไว้ให้แน่น ให้หวั คนนัง่ ดุนท้องคนยืนในแนวเหนือเข็มขัด คนนัง่ สอดมือทัง้ สองจับเข็มขัดหรือผ้ารัดเอวคนยืนเช่นเดียวกัน แล้วผูย้ นื หกตัว กลับไปนั่ง ผู้นั่งกลับเป็นผู้ยืนและท้องก็จะดุนหัวผู้นั่งอีกพอดี แล้วก็กลับหกตัว ไปอยู่ในท่านั่งตามเดิมอีก ทำ�เช่นนี้เสมอไป ผู้เล่นทั้งสองก็กลิ้งตัวเรื่อยไป และจะให้เร็วเท่าไหร่ก็ได้
88
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
วิธีที่ ๒ ให้ผู้เล่นยืนเรียงหันหน้าไปทางเดียวกัน คนหนึ่งอยู่ข้างหลัง อีกคนหนึ่งอยู่ข้างหน้า คนอยู่ข้างหลังเอาหัวดุนสะเอวในแนวเหนือเข็มขัด ของคนข้างหน้า เอามือทั้งสองจับเข็มขัดคนหน้าไว้แน่น คนหน้าแอ่นหลังทับ คนข้างหลังพร้อมกับเอามือสอดจับเข็มขัดคนข้างหลัง แล้วผงกขาทั้งสอง ข้ามไป คนข้างใต้ก็แอ่นตัวกลับหงายหน้าอยู่ข้างบน แล้วผงกหลับไปข้างหลัง คนใต้อีก หมุนเช่นนี้เรื่อยไป ถ้าชำ�นาญแล้วจะทำ�เร็วเท่าไรก็ได้
การตัดสิน
ให้ผเู้ ล่นยืนเป็นแถวตามเส้นทีก่ �ำ หนดไว้ เป็นเส้นตัง้ ต้น และอีกเส้นหนึง่ เป็ นเส้ นชนะให้ห่า งกันพอควรแล้วแต่ผู้ตัดสิ น จะกำ � หนด พอให้ สั ญ ญาณ ผู้เล่นต้องลงมือทำ�ทันที คู่ใดไปถึงเส้นชนะก่อนเป็นผู้ชนะ จะแข่งขันทีละ ๓-๔ คู่ก็ได้ ถ้ามีที่กว้างพอ
ประโยชน์
ออกกำ�ลังท้อง กำ�ลังแขนและขา ที่มา : จังหวัดชัยภูมิ
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
89
กระซิบขี่ วิธีเล่น
แบ่งเป็นสองพวก ๆ ละเท่า ๆ กัน ไม่กำ�หนดจำ�นวนผู้เล่น พวกต่อพวก อยู่ห่างกันประมาณ ๑ เส้น มีกรรมการคนหนึ่งนั่งอยู่กลางทางระยะ ๑๐ วา พวกทีห่ นึง่ ต้องเข้าไปหากรรมการแล้วพูดค่อย ๆ ว่า “ต้องการนาย ก.” แล้วกลับ ไปที่ เ ดิ ม ให้ พ วกที่ ส องเข้ า มาหากรรมการ แต่ ต้ อ งเข้ า ไปที ล ะคนเสมอ สั บ เปลี่ ย นกั น เรื่ อ ยไป เมื่ อ เป็ น นาย ก. เข้ า มา พวกพู ด ไว้ ก่ อ นนั้ น ชนะ ได้ขี่จากพวกที่ถูกขี่ไปหาที่เดิม พวกไหนได้ขี่หลายครั้ง พวกนั้นชนะ
การตัดสิน
เมื่อพวกไหนทายถูก และได้ขี่หลายครั้ง พวกนั้นชนะ
ประโยชน์
เพื่อความสนุกเพลิดเพลิน ที่มา : จังหวัดขอนแก่น
90
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
กะเติงกะต้อย วิธีเล่น
วิธีท่ี ๑ เด็กทุกคนยืนเป็นวงจับมือติดต่อกัน ยืนขาเดียวและร้อง พร้อม ๆ กัน กับกระโดดไปเป็นวงกลมตามกันว่า “กะเติงกะต้อย พวกเด็กน้อย ๆ เห็นวัวกินอ้อยอยู่ทางนี้บ้างไหม?” ใครปล่อยเท้าที่ยกไว้นั้นลงกับดินก่อน หรือล้มก่อน คนนัน้ แพ้ ต้องมายืนเป็นวัวอยูใ่ นวงกลม ใครทนเท้าตกทีหลังเพือ่ น เป็นคนชนะ
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
91
วิธีที่ ๒ เด็กยืนเป็นวงจับมือติดต่อกันเช่นวิธีที่ ๑ มีคนแสดงเป็นวัว อยู่ภายใน ๓-๔ คน มีคนแสดงเป็นเสืออยู่ข้างนอกอีก ๑ คน คนเป็นเสื้อนั้น จะต้ อ งกระโดดขาข้ า งเดี ย วไปรอบวง มี คำ � ร้ อ งเช่ น เดี ย วกั น กั บ วิ ธี ที่ ๑ เมื่ อ กระโดดไปถึ ง มื อ เขาจั บ กั น อยู่ ก็ ถ ามเขาว่ า “เป็ น ประตู อ ะไร ?” (เหล็กหรือทองหรือไม้แก่นไม้ผุ) คนที่เอามือจับกันไว้นั้น ต้องคิดกะดูว่า ตนสามารถที่ จ ะจั บ ไว้ แ น่ น จนผู้ เ ป็ น เสื อ ไม่ ส ามารถจะดึ ง ออกจากกั น ได้ ก็ตอบว่าเป็นประตูเหล็กหรือประตูทอง คนเป็นเสือจะลองดึงดู หรือจะผ่านไป ประตูอื่นก็ได้ ประตูไหนเห็นว่าจะสู้ไม่ได้ ก็ให้ตอบว่าประตูไม้ เมื่อผู้ที่เป็นเสือ สามารถดึงมือออกจากกันได้ก็ไล่จับวัวในคอกกิน วัวต่างวิ่งกระจัดกระจายไป สมมติ ว่ า คอกทะลาย ในระหว่ า งนี้ เ สื อ คงวิ่ ง ไล่ วั ว อยู่ เรื่ อ ย ๆ เจ้ า ของ (ผู้ที่เอามือจับกันเป็นวง) จะต้องล้อมคอกใหม่ (เอามือจับกัน) ถ้าวัวทุกตัว สามารถเข้ามาอยู่ในคอกใหม่ได้เป็นชนะ ถ้าเสือสามารถจับวัวตัวใดตัวหนึ่งได้ เสือชนะ
ประโยชน์
ได้ฝึกหัดออกกำ�ลังกาย หัดทรงตัว และหัดกำ�ลังข้อมือ ที่มา : จังหวัดนครราชสีมา
92
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
ขี่ม้าหลังโปก วิธีเล่น
แบ่งผู้เล่นออกเป็น ๒ ฝ่าย ๆ ละเท่า ๆ กัน ก่อนเล่นต้องตั้งหัวหน้า ของตนฝ่ายละ ๑ คน แล้วให้หัวหน้าทั้ง ๒ ฝ่าย มาจับไม้สั้นไม้ยาวจากผู้ตัดสิน ซึ่ ง เป็ น คนกลางไม่ ไ ด้ เ ข้ า อยู่ ใ นพวกเล่ น ด้ ว ย ฝ่ า ยใดได้ ไ ม้ สั้ น เป็ น ม้ า ฝ่ า ยใดได้ ไ ม้ ย าวเป็ น คนขี่ ม้ า ฝ่ า ยเป็ น ม้ า ต้ อ งยื น โก่ ง หลั ง ให้ เ จ้ า ของขี่ ที่ เ ล่ น ต้ อ งเป็ น สนามกว้ า งพอเหมาะกั บ จำ � นวนผู้ เ ล่ น ให้ เ ป็ น วงกลม ระยะพอที่ผู้เล่นคู่หนึ่ง ๆ จะยืนห่างกันประมาณ ๓-๔ ก้าว แล้วผู้ตัดสิน จะจัดให้ผู้ขี่ขึ้นขี่ม้าเป็นคู่ ๆ ยืนอยู่ในระยะที่กำ�หนดไว้ ผู้ที่ขี่ม้าก็เอาลูกบอล ขนาดกลางหรือผ้าม้วนกลม ๆ โยนให้ผู้อยู่บนหลังม้ารับเวียนไปเวียนมา ผู้ ขี่ ต้ อ งพยายามรั บ ให้ ดี เพื่ อ จะได้ ขี่ น าน ๆ ถ้ า รั บ ผิ ด ผู้ ที่ อ ยู่ บ นหลั ง ม้ า ต้องรีบกระโดดจากหลังทันที และวิ่งหนีไปโดยเร็ว ส่วนผู้เป็นม้าต้องคอยระวัง ให้ดี ถ้าเห็นลูกบอลตกต้องรีบเก็บลูกบอลยิงหรือปาให้ถกู ผูท้ ขี่ หี่ ลังพวกของตน พวกที่ ห นี ต้ อ งรี บ ออกจากวง ถ้ า ไม่ ทั น ก็ ใช้ ไ หวพริ บ วิ่ ง วนไปวนมาในวง เพือ่ หาช่องทางเล็ดลอดหนี ส่วนพวกทีอ่ อกไปแล้วให้เข้ามาล่อเพือ่ ให้ผยู้ งิ เผลอ เพื่ อ จะให้ พ วกของตนวิ่ ง หนี ไ ปได้ ผู้ ที่ เ ข้ า มาล่ อ และผู้ จ ะหนี จ ากวง ต้องพยายามหลบหลีกอย่าให้ขว้างลูก ถ้าฝ่ายเป็นม้ายิงถูก ฝ่ายที่เป็นคนขี่ ต้องกลับเป็นม้าแทนทั้งพวก ถ้ายิงไม่ถูกต้องเป็นม้าให้ขี่ตามเดิม
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
93
การตัดสิน
ฝ่ า ยใดได้ เ ป็ น ผู้ ขี่ ม ากกว่ า เป็ น ฝ่ า ยชนะ แต่ หั ว หน้ า ต้ อ งคอยดู แ ล ขณะเมื่อยิงอาจโกงก็ได้
ประโยชน์
ฝึ ก หั ด ความว่ อ งไว รู้ จั ก รั บ ของบนหลั ง ม้ า ได้ เร็ ว รู้ จั ก หลบหลี ก ทั้งฝึกหัดฝีมือให้แม่นยำ� สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ ที่มา : จังหวัดสกลนคร
94
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
ขี้ตู่กลางนา วิธีเล่น
ให้ เ ด็ ก มานั่ ง ล้ อ มกั น เป็ น วง แล้ ว ให้ ค นหนึ่ ง หมอบลงในกลางวง เอามือปิดตาไว้แล้ว ให้คนอื่นที่อยู่รอบวงนั้น ให้คนใดคนหนึ่งทุบหลังแต่เบา ๆ แล้ ว ให้ ผู้ ห มอบนั้ น ลุ ก ขึ้ น มองดู ค นโดยรอบ แล้ ว ทายว่ า ใครเป็ น คนทุ บ ถ้าทายถูกก็ให้คนนั้นเป็น “ขี้ตู่” แทนต่อไป ถ้าทายผิดจะต้องหมอบลง ให้ทุบหลังอย่างเดิมอีก
ประโยชน์
หัดให้เด็กเล็กมีไหวพริบ รู้จักสังเกตกิริยาวาจาของคน ที่มา : จังหวัดนครราชสีมา
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
95
แข่งเกวียน วิธีเล่น
แบ่ ง ผู้ เ ล่ น ออกเป็ น พวก ๆ ละ ๔ คน จะเล่ น ครั้ ง ละกี่ พ วกก็ ไ ด้ คนที่ ๑, ๒ ของทุกพวกยืนกอดคอกัน คนที่ ๓ ยืนข้างหลังคนที่ ๑, ๒ ก้มศีรษะ ลอดเข้าระหว่างใต้รักแร้คนที่ ๑, ๒ แล้วเอามือทั้งสองกอดบั้นเอวไว้ข้างละคน คนที่ ๑, ๒ นี้ ส มมติ ว่ า เป็ น โค คนที่ ๓ เป็ น ลำ � เกวี ย น คนที่ ๔ เป็นผู้ขี่ขึ้นขี่หลังคนที่ ๓ คนที่ ๔ ต้องให้เป็นคนเล็กที่สุดในพวก เมื่อผู้ควบคุม ให้ อ าณั ติ สั ญ ญาณ ให้ เ กวี ย นทุ ก ๆ พวกออกวิ่ ง พร้ อ มกั น ไปยั ง หลั ก ชั ย ซึ่งห่างจากที่ตั้งไม่น้อยกว่า ๓๐ เมตร การตัดสิน พวกไหนถึงหลักชัยก่อน โดยผู้ขี่ไม่ตกระหว่างทาง หรือไม่หลุดออกจากกัน พวกนั้นชนะ
ประโยชน์
เป็นการฝึกหัดความว่องไว ฝึกความอดทน มีความสามัคคีรักหมู่คณะ ที่มา : จังหวัดร้อยเอ็ด
96
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
โคเกวียน วิธีเล่น
ไม่จ�ำ กัดจำ�นวนผูเ้ ล่น แต่ต้องรวมกันได้เป็นกองละ ๓ อย่าให้เหลือเศษ แบ่งผู้เล่นเป็นพวก ๆ ละ ๓ คน ให้ ๒ คน เป็นวัว อีกคนหนึ่งเป็นเกวียน คนที่ เ ป็ น วั ว ยื น เข้ า คู่ กั น หั น หน้ า ไปทางเดี ย วกั น เอามื อ จั บ แขนกั น เข้ า คนที่เป็นเกวียนยกขาขึ้นพาดบนมือทั้ง ๒ ของวัว จับบ่าไว้ให้แน่น ระเบียบการตัดสิน ให้เกวียนทุก ๆ เกวียนเข้าแถวตามเส้นตรงทีก่ �ำ หนดไว้ ผูป้ ล่อยตัวให้สญ ั ญาณแล้วเกวียนทุก ๆ เกวียนก็ออกวิง่ พวกใดถึงทีห่ มายก่อน พวกนั้ น ชนะ พวกใดปล่ อ ยให้ มื อ หรื อ ขาหลุ ด จากที่ ยึ ด ไว้ แ ต่ เ ดิ ม ก็นับว่าหมดสิทธิที่จะแข่งขันต่อไป ถือว่าเป็นฝ่ายแพ้เช่นเดียวกัน
ประโยชน์
ได้ออกกำ�ลังแขนและขา ฝึกหัดความพร้อมเพรียง ที่มา : จังหวัดร้อยเอ็ด
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
97
ชักชา
วิธีเล่น
เช่นเดียวกันกับชักคะเย่อ แปลกกันที่เมื่อฝ่ายใดแพ้ไม่เปลี่ยนข้าง เช่นชักคะเย่อ เมือ่ แพ้แล้วก็หยุดการเล่นทีหนึง่ แล้วผูแ้ พ้ทง้ั พวกจะต้องรำ� (ฟ้อน) และร้ อ งเป็ น ทำ � นองเข้ า ไปหาอี ก ฝ่ า ยหนึ่ ง ส่ ว นฝ่ า ยชนะจะต้ อ งเชิ ด ให้ เมือ่ ไปถึงผูช้ นะแล้ว พวกชนะคนใดคนหนึง่ จะรำ�มาส่ง แล้วจึงตัง้ ต้นเล่นกันอีกต่อไป ถ้าจะให้การเล่นสนุกขึ้น ก็แบ่งผู้เล่นเป็นหญิงข้างหนึ่ง ชายข้างหนึ่ง เทศกาลของการเล่ น การเล่ น นี้ เ ล่ น กั น เมื่ อ จวนสิ้ น ปี ต่ อ ปี ใ หม่ ซึ่งเรียกกันว่า เทศกาลสงกรานต์ เล่นกันตามวัดหรือบ้าน เล่นได้ทั้งกลางวัน กลางคืน เดือนมืดก็จุดไฟเล่น
ประโยชน์
ได้ออกกำ�ลังกาย สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ ที่มา : จังหวัดขอนแก่น
98
บทที่ ๓ การละเล่นพื้นบ้านไทย
บรรณานุกรม กรมพลศึกษา. (๒๔๘๐). กีฬาพื้นบ้าน. กรุงเทพฯ. โรงเรียนช่างพิมพ์วัดสังเวช. ครูบ้านนอก. เผยแพร่ผลงาน Best Practice การละเล่นเด็กไทยระดับปฐมวัย. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.kroobannok.com/board_view.php?b_id= 85366&bcat_id=16. สืบค้น ๒๗ สิงหาคม ๒๕๕๗. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔. (๒๕๕๖). พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ. ราชบัณฑิตยสถาน. พรทิพย์ เกยุรานนท์. การเล่นของเด็กไทยกับการอนุรักษ์ศิลปะและวัฒนธรรมไทย. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://stou.ac.th. สืบค้น ๒๗ สิงหาคม ๒๕๕๗. สมุนไพร. การละเล่นพื้นบ้านไทย. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://noey-tanoo.blogspot. com/2011/09/blog-post.html. สืบค้น ๒๗ สิงหาคม ๒๕๕๗. childanddevelopment.com. การละเล่นของเด็กไทย. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www. childanddevelopment.com/. สืบค้น ๒๗ สิงหาคม ๒๕๕๗. dekdmbeer.wordpress.com. การละเล่นของไทย. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://dekdm beer.wordpress.com/2013/02/19/. สืบค้น ๒๗ สิงหาคม ๒๕๕๗.
99
คณะผู้จัดทำ� ที่ปรึกษา
ดร.พัฒนาชาติ กฤดิบวร อธิบดีกรมพลศึกษา ดร.ชาญวิทย์ ผลชีวิน รองอธิบดีกรมพลศึกษา นายธวัช ถาวรสวัสดิ์ รองอธิบดีกรมพลศึกษา ดร.กิตติพงษ์ โพธิมู ผู้อำ�นวยการสำ�นักนันทนาการ นายวิชิต ชี้เชิญ นายชลิต เขียวพุ่มพวง รองศาสตราจารย์ ดร.กำ�โชค เผือกสุวรรณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พนมศักดิ์ สวัสดิ์พงษ์
ผู้เรียบเรียง
นางสาวปาจรีย์ บุตรกินรี
บรรณาธิการ
นางภูษิตา เจนจิตต์ นางสาวพิรุณณี สุขเกษม ว่าที่ร้อยตรีวิทวัส ศรีโนนยางค์
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
100
กลุ่มนันทนาการเด็กและเยาวชน สำ�นักนันทนาการ กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
แบบประเมินผลความพึงพอใจที่มีต่อหนังสือ “การละเล่นพื้นบ้านไทย” คำ�ชี้แจง โปรดแสดงระดั บ ความพึ ง พอใจที่ มี ต่ อ หนั ง สื อ “การละเล่ น พื้ น บ้ า นไทย”เล่ ม นี้ เพื่อนำ�ไปปรับปรุงและพัฒนาในโอกาสต่อไป (กรุณาใส่เครื่องหมาย √ ในกรอบ และเติมข้อมูลในช่องว่างเพื่อความสมบูรณ์ของแบบประเมินผล) ตอนที่ ๑ ข้อมูลเบื้องต้นของผู้ตอบแบบประเมินผล ๑. สถานภาพ ชาย หญิง อายุ (โปรดระบุ) ...............................ปี ๒. ระดับการศึกษา ต�่ำกว่าปริญญาตรี ปริญญาตรี สูงกว่าปริญญาตรี ๓. สถานะ (๑) บุคลากรในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สังกัด ..................................... จังหวัด ...................................... (๒) เจ้าหน้าที่ / ประชาชนทั่วไป จังหวัด ...................................... ตอนที่ ๒ โปรดแสดงระดับความพึงพอใจที่มีต่อหนังสือ “การละเล่นพื้นบ้านไทย” โดยทำ�เครื่องหมาย √ ลงในช่องที่ตรงกับระดับความพึงพอใจของท่าน ระดับความพึงพอใจ
ที่
รายการ
๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘.
รูปเล่มภายนอก ขนาด เหมาะสม น่าอ่าน การจัดเรียงหน้าสวยงาม และขนาดตัวอักษรเหมาะสม อ่านสะดวก ปกและภาพประกอบมีความคมชัด สวยงาม ภาพประกอบสามารถสือ่ ความหมาย และมีความสัมพันธ์กบั เนือ้ หา เนือ้ หามีความถูกต้องเหมาะสม และสามารถให้ความรูเ้ รือ่ งนันทนาการ เนื้อหามีความยาวเหมาะสม และสัมพันธ์กับชื่อเรื่อง การเรียงลำ�ดับเนื้อหา และการใช้ภาษาถูกต้อง เข้าใจง่าย เนื้อหาของหนังสือทันสมัยทันต่อเหตุการณ์ และตรงต่อความต้องการของท่าน ความรู้ที่ได้เป็นประโยชน์ต่อประชาชนหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สามารถเผยแพร่ให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชนและสังคมได้
๙. ๑๐.
มาก
ปานกลาง
น้อย
ตอนที่ ๓ ข้อเสนอแนะ .............................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ขอขอบคุณที่กรุณากรอกแบบประเมินผล สำ�นักนันทนาการ กรมพลศึกษา
สำ�นักนันทนาการ กรมพลศึกษา เลขที่ 154 ถนนพระราม 1 แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 บริการธุรกิจตอบรับ ใบอนุญาตเลขที่ ปน. (ต)/4891 ปณศ. รองเมือง ถ้าฝากส่งในประเทศไม่ต้องผนึกตราไปรษณียากร
แบบตอบรับหนังสือ เรื่อง ตอบรับหนังสือและแบบประเมินผล เรียน ผู้อำ�นวยการสำ�นักนันทนาการ ตามที่ สำ�นักนันทนาการ กรมพลศึกษา ได้จดั ส่งหนังสือ “การละเล่นพืน้ บ้านไทย” เพือ่ เป็นสือ่ การเรียนรู ้ และเผยแพร่กิจกรรมนันทนาการ จำ�นวน ๑ เล่ม นั้น ขอเรียนว่าได้รับหนังสือดังกล่าวเรียบร้อยแล้ว ด้วยความขอบคุณยิ่ง พร้อมนี้ ได้กรอกแบบ ประเมินผลความพึงพอใจที่มีต่อหนังสือดังกล่าว มาพร้อมนี้ จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ ขอแสดงความนับถือ (ลงชื่อ) ................................................................... ( .............................................................. ) ตำ�แหน่ง ...................................................................