X-treme Magazine Mockup

Page 1

TAO KITPULLAP

x

PHOTOGRAPHY

x

RADIO BIKE

magazine

INSIDE ARDS SKATEBO ITH INTERVIEW W NณG์พJิเศAษKเกK่ง AจักRรินIN GEาษ ทร์ สัมภ

H INTERVIEW WAIT RK JANCHAI & ME SHOP ON PRเรEือDใหUญC่แห่งกลุ่ม QP เจนชัย หัว

ว่างศิลปะ การผสานระห ุยา’ ตวัด เมื่อ ‘ตะวัน วัต อร์ด บ พู่กันบนสเก๊ต

NOV 2014 X-TREME MAGAZINE

ISSUE 01

X-trem magazine -1-

120 b.


X-trem magazine -2-


X-trem magazine -3-


X-trem magazine -4-


X-trem magazine -5-


X-TREME MAGAZINE


CONTENTS FEATURES 022 หากคุณอยากเริ่มเล่น SKATEBOARDS

COLUMNS 016 BIKE CHECK

024 ประวัติ SKATEBOARDS

028 SKATE STORY BY TAO KITPULLAP

026 ส่วนประกอบ SKATEBOARDS

034 BIKE RECOMMEND

048 X-TREME PHOTOGRAPHY

038 BMX DICROGRAPHY

036 PRINCIPLES

INTERVIEW 030 INTERVIEW EITH GENG JAKKARIN 064 การผสานระหว่างศิลปะ เมื่อ ‘ตะวัน วัตุยา’ ตะวัด พู่กันลง SKATEBOARD

072 INTERVIEW EITH Janchai on Preduce Team shop project 076 INTERVIEW WITH Mark A on Preduce team shop project

ON

THE COVER

INSIDE SKATEBOARDS

magazine MAGAZINE


X-trem magazine -8-


X-trem magazine -9-


X-trem magazine - 10 -


X-trem magazine - 11 -


EDITOR TALK

1 ภาพช่วงเวลากับความทรงจำ� รวมไปถึงประเทศไทยด้วย ไม่ว่า จะเป็นเด็ก วัยรุ่นหรือผู้ใหญ่ต่าง ในบางครัง ้ คนเรามันก็วา่ งจน ให้ความสนใจกับกีฬา x-treme ต้องหางานอดิเรกทำ�บ้างออก มีทั้ง Skate board BMX ฯลฯ จากบ้านไปชมภาพยนตร์ บ้าง แล้วถ้าหากอยากได้ภาพในขณะที่ สะพายกระเป๋าพากล้องคู่ใจไป กำ�ลังเล่นอยูล ่ ะ่ แล้วถ้าภาพความ ลัน ่ ชัตเตอร์กบ ั วิวงามๆ บ้างหอบ ทรงจำ�ในครัง ้ นัน ้ ทีอ ่ าจเป็นเพียง ความมัน ่ ใจออกไปพร้อมอุปกรณ์ ครั้งเดียวสำ�หรับใครบางคนจะ เคียงกาย..........เล่นกีฬา ทำ�อย่างไร กีฬา x-treme หากให้พูดถึง หากว่าสงสัยแล้วภาพทีอ ่ อกมา ก็คงเป็นอะไรที่กำ�ลังได้รับความ มันจะเป็นไง ตรงๆ ทือ ่ ๆไร้ทศ ิ ทาง นิยมอย่างมากในต่างประเทศ เราคงบอกได้เพียงว่า มันคงจะเป็น

ภาพของความรูส ้ ก ึ ในขณะทีเ่ ล่น อารมณ์ตอนที่ได้ลงมือทำ� กลิ่น ของสายลม เสียงของธรรมชาติ ทวงท่าทีไ่ ด้ปลดปล่อยความเป็น อิสระของร่างกาย ความสละสลวย จาก Skeateboard ทีล ่ อยตัวอยู่ ท่ามกลางอากาศ ความแข็งแรง จาก BMX ในขณะที่ตัวFrame เสียดสีไปกับอุปกรณ์..........มีเพียง แค่ตัวเรากับเพื่อนคู่กาย ภคินัย ฟักฉ่ำ�


X-trem magazine - 13 -


magazine

เจ้าของและผู้ผลิต บริษัท IS AM ARE จำ�กัด บรรณาธิการบริหาร นายรัชสิทธ์ อัศวชูเกียรติ์ ผู้อำ�นวยการกอง บรรณาธิการ นายภคินัย ฟักฉ่ำ� กองบรรณาธิการ นายขัตติยะ พงษ์พันธ์ ผู้อำ�นวยการตลาด นายศรัณย์ บุญทา ผู้จัดการฝ่ายโฆษณา นายขัตติยะ พงษ์พันธ์ กราฟฟิกดีไซด์ นายศรัณย์ บุญทา ช่างภาพประจำ� นายภคินัย ฟักฉ่ำ� ผู้จัดการฝ่ายบัญชี นายรัชสิทธ์ อัศวชูเกียรติ์ ที่อยู่ที่ตั้งกิจการ 448/6 ถ.รามอินทรา เขตบางเขน แขวงอนุสาวรีย์ 10220

X-trem magazine - 14 -


X-trem magazine - 15 -


BIKE CHECK Name : Connor Lodes Age : 24 Location : San Diego Sponsors :Kink Bikes, Demolition Parts, Bell Helmets, Markit Denim, Vans Shoes Frame : Kink Solace 20.75 Fork : Kink CST Forks Bars : Kink Grizzly Bars Stem : Demolition Top Lodes Stem Grips : Kink Samurai Barends : Kink Headset : Demolition Seat : Demoliton Axes Seat Seat Post : Demolition Cranks : Demolition Rig Cranks Sprocket : Demolition Magatu Chain : Volume Front Tire : Demolition Rig Tire 2.4� Front Wheel : Demolition Phantom Rear Tire : Demolition Rig Tire 2.25� Pedals : Demolition Trooper Hub Guards : Primo drive side and Animal non-drive side Pegs : Four Demolition Dumbchucks

X-trem magazine - 16 -


X-trem magazine - 17 -


X-trem magazine - 18 -


BIKE CHECK Name : Andrew Castaneda Age : 21 Height : 5’ 8” Weight : 150 lbs. Location : Santa Ana, CA Sponsors :Cult, Primo, Lotek, The Trip Frame : Cult SOS 21” Fork : Cult IC Bars : Primo Rebar Stem : Cult Salvation v2 Grips : Primo Boy Grips Barends : Primo Headset : Primo Seatpost : Primo Seat : Primo Mac Pedals : Cult Dehart Cranks : Primo Pro Cranks Sprocket : Primo Aneyerlator 25T Chain : Primo 510 Front Tire : Cult Dehart 2.3” Front Wheel : Primo N4 Wheels Rear Tire : Cult Dehart 2.2” Rear Wheel : Primo Freemix Wheel 9 Pegs : Primo Binary PL Hub guards : Primo

X-trem magazine - 19 -


E D I S IN

S D R A O B E T SKA X-trem magazine - 20 -


X-trem magazine - 21 -


หากคุณอยากเริ่มเล่น...สเก็ตบอร์ด Sk8 เป็นคำ�ย่อของ SKATE เป็นคำ�แสลงจากการออกเสียงรวมกันของ Sk+เอจท = สเก็ต หากจะกล่าวถึงการเล่นสเก็ตบอร์ด หลายคนอาจมองเป็นเพียงแฟชัน ่ สำ�หรับเด็กผูช ้ ายทัว่ ไป แต่เมือ ่ คุณ ได้สัมพผัสและทความรู้จักกับมันจริงๆ คุณจะไม่สามารถหันหลังให้กับมันได้เลย ดังนั้นคุณต้องถามใจตัว เองก่อนว่าเล่นสเก็ตบอร์ดเพราะอะไร เล่นเพื่ออะไร ถ้าพร้อมที่จะใช้ชีวิตอย่างอิสระ อยากจะเล่นอย่างสนุก คุณต้องใส่ใจกับมันและจริงจังในการซ้อม เรียกได้วา่ ใจต้องมาก่อน ซ้อม ซ้อม ซ้อม แล้วก็ซอ ้ ม โดยไม่ปล่อย ให้หนึ่งวันในชีวิต สูญเสียไปอย่างไร้ค่า อาจจะเหนื่อยเหน็ด แต่ไม่หนักหนาเกินไปอย่างแน่นอน ถ้าใจคุณรัก ในสเก็ตบอร์ดกีฬาทีส ่ ามารถให้ทก ุ อย่างแก่คณ ุ แล้วมันจะพาคุณไปพบกับโลกใหม่ทค ี่ นทัว่ ไปไม่เคยได้สม ั ผัส ในทัศนคติของผมเชือ ่ ว่าการเล่นสเก็ตบอร์ดเป็นกีฬาสำ�หรับคนทีม ่ อ ี ารมณ์ศล ิ ปิน มีโลกส่วนตัวสูง และ มองเห็นความสุขบางอย่างของชีวิตได้โดยที่คนทั่วไปมิอาจเห็น ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นผลพลอยจากการที่พวก เขาฝึกฟังเพลง วาดรูป และเล่นดนตรี เพราะนีค ้ อ ื การฝึกสมาธิชน ั้ ดี อาจซ้อมวันละมากกว่าสิบชัว่ โมงเลยที เดียว จึงไม่ใช่เรื่องแปลก ที่จะทำ�ให้กีฬาสเก็ตบอร์ดมักมาคู่กับวัฒนธรรมการฟังเพลงเสมอ ถ้าคุณพร้อม แล้ว ผมจะพาไปรู้จักกับโลกใหม่ ...โลกแห่งศิลปะ และ สเก็ตบอร์ด

X-trem magazine - 22 -


X-trem magazine - 23 -


ประวัติ SKATEBOARDS

ริ่มจากแถบCalifonia นักเล่นSuft ได้ลองใช้ถนนที่ เป็นลอน แทนคลื่นในทะเลในยามไม่มีคลื่น ตัง ้ แต่1950 กีฬาชนิดนีเ้ ป็นกีฬาแท้ๆทีน ่ ย ิ มกันมาก ของชาวอเมริกา แต่กไ็ ด้รบ ั การเมินเฉยเมือ ่ อินไลน์สเก็ต และBMXเป็นที่นิยม แต่ก็เพียงชั่วคราวเท่านั้น การไถ ไปมาเป็นหลักของการเล่น ช่วงปลาย1950ดนตรีและ ภาพยนตร์เกีย ่ วกับSkateboardเป็นตัวปลุกกระแสการ ออกแบบเครือ ่ งเล่นให้เหมือนSurfboard และมีการผลิต เพือ ่ การค้าครัง ้ แรกโดยโรลเลอร์ เดอร์บี้ จำ�หน่ายตาม ห้างสรรพสินค้าในปี 1959 ปี1960นิตยาสารเกีย ่ วกับการเล่นสเก็ตฉบับแรกปรากฏ ขึ้น รวมทั้งมีการผลิตสเก็ตบอร์ดกันขนานใหญ่ ปี1963ผูผ ้ ลิตสเก็ตบอร์ดมากาฮาได้จด ั ตัง ้ ทีมสเก็ตบ อร์ดเพื่อส่งเสริมผลิตภัณฑ์ของตน ปัจจุบันนี้ทีมดัง กล่าวกำ�ลังเดินทางโดยได้รบ ั ความอุปถัมภ์จากผูผ ้ ลิต เพื่อดำ�เนินการด้านอุตสาหกรรมการตลาด การแข่ง ขันสเก็ตบอร์ดอย่างเป็นทางการครั้งแรกได้รับความ อุปถัมภ์จากมากาฮาในแคลิฟอร์เนีย X-trem magazine - 24 -


ปี1973ได้มีการใช้วงล้อยูรีเทนในการกีฬา ซึ่งทำ�ให้มีความปลอดภัยและคล่องตัวกว่า สเก็ตบอร์ดมีขนาดกว้างมากขึ้น จาก ระยะ 16 ซม.เป็นกว่า23 ซม.เพื่อให้ความมั่นคงที่ ดีกว่า ในการเล่นVert การเล่นสเก็ตบอร์ดสมัยใหม่เกิดขึน ้ โดยมีการเล่น แบบต่างๆต่างๆเช่น Slalom,ดาวน์ฮล ิ ล์,ฟรีสไตล์ ก้าวต่อไป วัฒนธรรมการเล่นสเก็ตบอร์ดเริม ่ รวมตัวเข้ากับพวกพั้งค์ และดนตรีแบบใหม่ อาร์ตเวิร์คและกราฟิกเริ่มมีบทบาทมากใน วัฒนธรรมการเล่นสเก็ตบอร์ด การเสื่อมความนิยม ใกล้ๆปลายปี1970 ลานสเก็ตบางแห่งก็หาย ไปเพราะธุรกิจตกต่�ำ การเล่นสเก็ตบอร์ดก็เริม ่ ตกต่�ำ อีกเป็นครัง ้ ทีส ่ องจนการเล่นสเก็ตบอร์ ดก็หายจากวงการ การขี่จักรยานBMX เข้า มาเป็นทีน ่ ย ิ มและนักสเก็ตส่วนมากก็หยุดเล่น สเก็ตลานสเก็ตก็สูญหายไปแต่มีการสร้าง ฮาฟว์ไปป์ และแรมป์ยง ั คงพัฒนาต่อไปอย่าง เงียบๆด้วยนักขี่จักรยานBMX แต่การเสื่อมความนิยมก็เป็นไปได้ไม่นาน ในปี 1980 ก็มีการฟื้นฟูการเล่นสเก็ตบอร์ด โดยใช้แรมป์ทเี่ ป็นไม้อด ั และการเล่ นตามท้อง ถนนจึงก่อให้เกิดความพยายามในการเล่นด้วย ตนเอง นักสเก็ตเริม ่ ทีจ ่ ะสร้างแรมป์ส�ำ หรับส เก็ตทีท ่ �ำ ด้วยไม้เอง และเล่นในลานโล่? บริษท ั ที่ เป็นของนักสเก็ตเริม ่ สร้างอุปกรณ์ตา่ งๆให้มี X-trem magazine - 25 -

มาตรฐานกว่าเดิม เพือ ่ ใช้เล่นท่าให้ได้ดข ี น ึ้ ใน ยุคนีจ ้ ะมีดาวเด่นประจำ�กลุม ่ ซึง ่ บางคนก็ยง ั เล่นสเก็ตจนถึงทุกวันนี้ รวมทัง ้ โทนี่ ฮอว์คและ สตีฟ แคบเบลเลอโร มีการจัดการแข่งขันโดย The National Skateboarding Association การเล่นสเก็ตบอร์ด ยังมีอิทธิพลอย่างมาก ต่อวัฒนธรรมระหว่างประเทศเริม ่ จากดนตรี ของพวกพั้งค์ นักสเก็ตส่วนใหญ่ชอบที่จะ สวมใส่เสื้อผ้าตัวใหญ่ๆสีทึมๆและย้อนยุคไป ใส่รองเท้าเทนนิสที่นักสเก็ตสวมใส่ในอดีต Skateboard แบบ New School กำ�เนิดขึ้น โดยเน้นไปที่การเล่นท่าพื้นฐาน ออลลี่ และ เน้นเล่นท่าTrickต่างๆการเล่นสเก็ตบอร์ดก็ พบกับการคุกคามใหม่นน ั่ คือการเล่นโรลเลอ ร์เบรดเด็กหันมาให้ความสนใจกีฬาทีม ่ ล ี อ ้ และ เล่นแนบเท้าทั้งสองแทนเสก็ต ใน1995 ESPNได้บรรจุกฬ ี าประเภทนีใ้ นงานแข่ง Extreme Games(ปัจจุบันคือ X Games) Skateboard เป็นหนึ่งในกีฬาหลักที่ต้องจัด ในงานX Gamesประจำ�ปีทุกครั้ง ปัจจุบัน มีอุตสาหกรรมเกี่ยวกับกีฬาSkateboardมากมายเช่น นิตยาสาร สำ�นักงาน ออกแบบสนาม ภาพยนต์ที่เกี่ยวกับเสก็ต เป็นต้นขนาดของอุปกรณ์ต่างๆก็มีขนาด เพิ่ม-ลดต่างออกไป ส่วนโทนี่ ฮอว์คก็ยัง คงเป็นSuper Star ในวงการเสก็ตเสมอมา จนถึงปัจจุบัน


ส่วนประกอบของสเก็ตบอร์ด สเก็ตบอร์ดนั้นมีส่วนประกอบที่อาศัยหลักการ เดียวกับรถ ผสมผสานกับ กระดานเซิรฟ ์ บอร์ด ฉะนัน ้ การเลี้ยวแบบรถ จำ�ต้องอาศัยการถ่ายน้ำ�หนักและ การขันน็อตที่พอดีอย่างมาก ไม่อ่อนและแข็งเกินไป ส่วนนีก ้ ข ็ น ึ้ อยูก ่ บ ั ความชอบ และความถนัดของแต่ละ คนด้วย ซึง ่ เมือ ่ เป็นผูเ้ ล่นหน้าใหม่สว ่ นมากจะขันทรัค ให้แข็ง เพื่อความสะดวกในการฝึกซ้อมของท่าออลี่ หรือ กระโดด และการเคลือ ่ นทีไ่ ปข้างหน้า ต้องอาศัย การไถ ซึ่งความเร็วก็ข้ึนอยู่กับสภาพพื้นเป็นสำ�คัญ ด้วย และ แบริ่ง หรือ ลูกปืน ก็เช่นกัน ดังนั้นอุปกรณ์ ต่างๆเราจึงจำ�เป็นต้องเรียนรูค ้ �ำ นึงถึงประโยชน์ และ ชื่อของมัน ซึ่งมีอยู่เพียง 7 ส่วนเท่านั้น

1.Deck แผ่นบอร์ด ที่ทำ�มาจากไม้เมเปิ้ล ซึ่งมี ความเหนียวและทนทาน มีความเด้งเมือ ่ สัมผัสพืน ้ ด้านขนาดก็ขึ้นอยู่กับความจำ�เป็นในการใช้ และ ความถนัดของผู้เล่นแต่ละคน สำ�หรับผู้ที่เล่น มานานจนชิน ก็สามารถเล่นได้ทก ุ ขนาด สำ�หรับผู้ เล่นหน้าใหม่ การออลี่ เป็นท่าพืน ้ ฐานทีจ ่ �ำ เป็นทีส ่ ด ุ ที่ทุกคนะต้องฝึกท่านี้ให้ได้ ซึ่งความเคยชินของ คนเราเมื่อเหยียบแผ่นครั้งแรก มันจะรู้สึกว่าฝืน ธรรมชาติเป็นอย่างมาก การเลือกซือ ้ แผ่นสำ�หรับ ฝึกนั้น จึงควรมีขนาดที่ใหญ่ (8.0 นิ้ว) เพื่อความ สะดวกในการยืน ส่วนความถนัดและความชอบ ของแต่ละคน ก็ควรเล่นและฝึกฝนบ่อยๆ แล้วจะ สังเกตเห็นความชอบเอง

X-trem magazine - 26 -


2.Truck ทรัค หรือ แกนล้อ ทำ�หน้าที่ เหมือนเพลาของรถนั้นเอง ซึ่งมีหลาก หลายแบบ และ มีน้ำ�หนักที่ต่างกัน สำ�หรับการฝึกออลี่ นั้น ควรเลือก ทรัคทีม ่ น ี �้ำ หนักกลางทีพ ่ อดี และมีราคา ที่ไม่แพงเกิน เช่นของ thunder ราคา ประมาณ 1500 บาทครับ เพราะการ ฝึกในช่วงแรก เรามักจะหาวิธีการฝึก ท่าออลี่ให้ได้ ซึ่งอาจผิดพลาดบ้าง จน บางครัง ้ ทำ�ให้ทรัคเกิดความเสียหาย จะ ได้ไม่เสียของครับ

3.Wheel ล้อ ก็มีหน้าที่ไม่ ต่างจากล้อรถทั่วไป และ มี คุณสมบัติที่มีความทนทาน แตกต่างกัน ผมคิดว่ามันใช้ได้ หมด อย่าไปเน้นทีย ่ ห ี่ อ ้ เราควรดู สภาพของพืน ้ ผิวทีเ่ ราเล่น เพราะ ผมยอมรับว่า ผมไม่เคยศึกษา เกี่ยวกับยี่ห้อไหนเลย การขยัน ซ้อมย่อมสำ�คัญกว่าขยันซื้อ สำ�หรับผู้เล่นหน้าใหม่ มีล้อไหน ก็เลือกใช้ล้อเดิม

4.Bearing แบริง ่ หรือ ลูกปืน เป็นส่วนช่วยเพิ่มความเร็วของ ล้อนั้นเองและมีหลายเบอร์ 3 5 7 9 ซึง ่ ความเร็วทีไ่ ด้มาต้องแลก กับเงินจำ�นวนมหาศาล ซึง ่ สิง ่ ที่ ผมเขียนอาจจะดูขาดความรู้ไป บ้าง แต่เพื่อแนะนำ�ผู้เล่นใหม่ๆ แต่ถ้ามาตรฐานแบบแค่อยาก ซื้อ อยากเร็วอีกนิด ก็จัดเบอร์ 5 ก็เพียงพอครับ

6.Riser ไรเซอร์ รู้ไว้ ไม่ต้องซื้อ มีส่วน ช่วยในการป้องกันแผ่นเป็นรอยและ รอยร้าวของแผ่นเท่านั้น ทั้งยังมี ส่วนช่วยลดการกระแทกในการนำ� แผ่นลงบนพื้น ด้านข้อเสียสำ�หรับผู้ เล่ น หน้าใหม่คอ ื แผ่นจะสูงขึน ้ ยืนลำ�บากขึน ้ และเตะ ได้ยากขึ้น ดังนัน ้ จึงควรฝึกซ้อมท่าต่างๆ ให้ช�ำ นาญ เสียก่อน เวลาเล่นจริง ไรเซอร์จะช่วยป้องกัน เส้นยึดที่ข้อ เท้าจากการกระแทกแรงๆอีกด้วย

X-trem magazine - 27 -

5.Griptape กริ๊ปเทป หรือ กระดาษทรายวิเศษ เป็นส่วนสำ�คัญ ทีช ่ ว่ ยให้คณ ุ เล่นทริคต่างๆได้ เพราะ กริ๊ปเทปมีหน้าที่ยึด และ เพิ่มแรง เสียดทาน ซึ่งจะมีผลดีโดยเฉพาะ กับรองเท้าหนังกลับ

7.Hardware หรือ น๊อตยึด ทรัค เมือ ่ คุณใส่ไรเซอร์ จะต้องมี น็อตทีย ่ าวกว่าปกติ ความหลาก หลายของสี มีประโยชน์ในการจำ� nose และ tail ซึ่งแล้วแต่ความ ชอบของแต่ละท่านว่าประสงค์ จะใส่สส ี น ั ให้สดใสสวยงามเหมือน ลูกกวาดก็ย่อมได้ สรุปมัน คือ น็อต ก็ใส่ไปเถอะครับ


X-trem magazine - 28 -


SKATE....... STORY BY TAO KITPULLAP สมัยทีพ ่ รีดว ิ ซ์ เรารวมกลุม ่ กัน แรกๆ ประมาณปี 2003-2004 มี งานแข่งสเก็ตที่จังหวัดขอนแก่น เราก็ไปกัน นำ�ทีมโดยหนึ่ง ทั้งๆที่ เรากว่า 7 ชีวิต ไม่มีเงินกันเลย มี แผ่นสเก็ตลายแรกของเราที่เพิ่ง ส่งมา ประมาณ 20 แผ่น แจกจ่าย ในทีมก็ กว่าครึ่งนึงแล้ว

บินกลับตอนเช้าเอา ส่วนพี่เลิศก็ ออกไปเมากับอิฐ เค้ากลับมาเวลา ประมาณตี 3 ผมเลยบอกแกว่า พรุง ่ นี้จะกลับแต่เช้า มีสอบ อยู่ต่อด้วย ไม่ได้นะ เท่านั้นแหละครับ ทุกอย่าง เงียบ ลงไปชั่วขณะ

ผมเถียงกับพี่เลิศอยู่สักพัก พยายามบอกแกว่า ไม่ได้ต้องกับ สมัยนั้นหนึ่งจะเป็นคนดูแลทุก ไปสอบ คิดว่าแกคงจะเข้าใจ แต่แก อย่างขับรถ ออกเงิน ถ่าย วิดโี อ ผม ก็ไม่ฟังอะไรทั้งสิ้น ด้วยคำ�ที่แกว่า จำ�ได้ว่าครั้งนั้นผมขึ้นรถทัวร์จาก ผมสัญญากับแกไว้แล้วโทนเสียง ลำ�ปางไป เจอพวกเค้าที่ขอนแก่น และสีหน้าพี่เลิศเริ่มเปลี่ยนไป แก และจำ�ได้ว่า พวกเรามีเงินจ่ายค่า โกรธมาก เริ่มโวยวายขว้างปาข้าว โรงแรมกันแค่คืนเดียว แต่ละคนก็มี ของ เหตุการณ์ในห้องชุลมุนเป็น ติดตัวกันอย่างละนิดละหน่อย ความ อย่างมาก ไอ้อิฐก็น๊อกสลบหลับ หวังเดียวของเราทีจ่ ะอยูถ ่ า่ ยวิดโี อต่อ ไปเรียบร้อย ผมหันไปอีกที แกโยน หลังจากงานแข่ง คือ ต้องขายแผ่น ขวดเบียร์ขวดโซดา แตกไปทั่วห้อง สเก็ตทีม ่ อ ี ยูท ่ า้ ยรถให้ได้ หลังจบงาน แข่ง เราขายได้หลายแผ่นเลยละ ได้ และแกวิง่ ไปเปิดหน้าต่างห้อง แล้ว เงินมาหลายพันอยู่ ทุกคน ยิม ้ อย่าง บอกว่า ถ้าผมออกจากห้องไป แกจะ ไม่เคยเป็นมาก่อน นั้นน่าจะเป็นการ โดด!!!!! (ห้องเราอยู่ชั้น 5) ฉิบหาย ขายแผ่นสเก็ตครั้งแรกของเรา ละกู!!! ขณะนัน ้ น่าจะประมาณ 7 โมง เช้าได้แล้ว ยังไม่มใี ครได้นอน แกบอก ด้วยความคึกคะนอง เราฉลอง ว่าแกจะโดดจริงๆแกปีน ขึน ้ ไปนัง ่ บน กันชุดใหญ่ ส่วนดัวผม อีกสองวัน ขอบหน้าต่าง เอาขาพาดออกไปข้าง ผมมีสอบของมหาลัย ตัง ่ ใจจะกลับ นอกข้างนึง ผมช๊อคสนิท ยกมือไหว้ รถทัวร์ในวันพรุ่งนี้ แต่ดันเมา คุย บอกแกไม่กลับแล้วก็ได้ ลงมาเถอะ กับพี่เลิศ และรับปากส่งเดช ไปงั้น เกลีย ่ กล่อมกันอยูน ่ าน เวลาล่วงเลย ว่าจะอยูถ ่ า่ ยวิดโี อและกลับเชียงใหม่ ไป กว่าแกจะหลับ ก็ 9 โมง ผมได้งบ ี พร้อมกันกับแก ไม่คด ิ ว่าคำ�สัญญา พักนึง ประมาณเที่ยงๆ คนอื่นก็มา นัน ้ จะส่งผลร้ายแรง จนเป็นตำ�นาน ปลุก ผมไม่ได้กลับไปสอบ คนอื่นก็ ที่เล่าขาน จนมาถึงทุกวันนี้ แพลนกันว่าจะไปถ่ายวิดีโอกันบ่าย นี้ เราค่อยๆย่องเก็บของออกจาก วันรุ่งขึ้น สภาพแต่ละคน คง ห้อง เสียงเปิดประตูดัง แอ๊ด นิด ไปเล่นไม่ไหว ผมกะว่าจะขึ้นเครื่อง เดียว แต่ผมรู้สึกเสียวสันหลังวูบ X-trem magazine - 29 -

ขึ้นมา เห็นพี่เลิศลืมตา แล้วถามว่า “จะไปไหนกัน” ตอบแกไปตรงๆว่าไป ถ่ายวิดีโอกัน นอนพักไปเถอะ เดี๋ยว กลับมา พูดเสร็จทุกคนรีบออกจาก โรงแรมกันอย่างด่วน สภาพทุกคนดูแย่มาก ไม่ได้นอน เพราะโดนพี่เลิศป่วนทั้งคืน เราเริ่ม เล่นได้สักพัก เห็นพี่เลิศ ซ้อนมอ ไซอิฐมา มันช่างเป็นภาพที่สยอง มาก และหลอนสุดๆ ทุกคนเงียบไม่ กล้าพูดอะไร แกมาถึงก็บน ่ เล็กน้อย ว่าทำ�ไมไม่ รอแกเลย แกอยากเล่น เราเล่นโดดส เตปกันอยู่ แต่ยง ั ไม่มใี ครได้อะไร ผม และทุกคนหมดสภาพจากเมื่อคืน มาก เล่นไปก็ได้ยินเสียงพี่เลิศ อ้วก มาเป็นระยะๆ สักพักนึง แกไม่พูดไม่ จา หยิบสเก็ตมาเล่นด้วย เล่นไปอ้วก ไป ไม่นาน แกก็ เล่นลงไป 4-5 ท่า รวมถึงอยูๆ ่ พีแ่ กก็จะโดดสเตปหน้า ตัดอันยักษ์ แกเล่น ง่ายๆ สามทีลง แบบเนียนๆ แล้วก็เดินไปอ้วกอีกที ทุกคนถึงอึ้ง และ งง แกป่วน คนอื่น ไม่ได้หลับไม่ได้นอน จนเล่น ไม่ได้ แต่แกกลับ เก็บเสียหมด เล่น อยู่คนเดียว แบบนี้แกไม่ใช่คนแล้ว! แกต้อง เป็นซุปเปอร์ไซย่าแน่ๆ และต้องบอก ไว้เลย นี่เป็นเพียงแค่ครั้งแรกที่เรา เห็นแกแปลงร่าง ไม่ใช่ครัง ้ เดียว และ ครั้งสุดท้าย!!!


X-trem magazine - 30 -


INTERVIEW WITH

GENG JAKKARIN

ากให้พด ู ถึง Pro Skate ในเมืองไทยทีเ่ ก่งและอายุ ยังน้อย แต่สามารถไปไกลถึงระดับโลกมาแล้ว ก็คนต้องเป็นคนนีเ้ ท่านัน ้ “เก่ง จักรินทร์ “ เด็ก หลายคนอยากจะขึน ้ มาเป็น Pro Skate ของเมืองไทย อยากเป็แบบคนนูน ้ คนนี้ เราอยากให้ดผ ู ช ู้ ายคนนีเ้ ป็น ตัวอย่างครับ เขาต้องผ่าฟันอุปสรรคมากมายกว่าจะ เข้ามาถึงจุดนี้ และสิง ่ หนึง ่ ทีเ่ ขาทำ�มันอยูเ่ สมอคือการ ฝึกฝน ในสิง ่ ทีต ่ ว ั เองรักมาทีส ่ ด ุ “ skateboard จะเก่ง ได้จะยึดเป็นอาชีพได้หลักๆ ก็คงเป็นเรือ ่ งของการฝึก ซ้อมอย่างหนัก และก็มใี จรักในสิง ่ ทีเ่ ราทำ� ไม่ตา่ งจาก กีฬาทุกประเภท” นีค ่ อ ื หนึง ่ คำ�พูดสำ�หรับน้องทีอ ่ ยาก ไปถึงจุดหมายที่ฝันไว้ครับ ไม่มีอะไรได้มาง่ายๆ ทุก อย่างต้องฝึกฝนและรักในสิง ่ ทีต ่ ว ั เองกำ�ลังทำ�อยูค ่ รับ ชื่ออะไรและตอนนี้ทำ�อะไรอยู่บ้าง ชื่อ เก่ง จักรินทร์ เป็น Professional skateboarder ครับ sponsor by Billabong, Preduce, Converse and Razer. งานหลักๆของผมก็คือเป็นนักกีฬา skateboard ทำ�การแข่งขันรายการต่างๆ และ ทำ� VDO part การเล่นของตัวเองให้กับ Sponsor ครับ เริ่มเล่น Skate มาตั้งแต่ตอนไหน เพราะอะไร จริงๆเริ่มรู้จัก skateboard มานานมากตั่งแต่อายุ 9 ขวบ เริ่มจากแบบสำ�หรับเด็กที่เอาไว้สำ�หรับวิ่งได้ อย่างเดียว เหมือนเด็กๆทุกคนต้องมีจักรยาน แต่ เราไม่มี มีแต่สเก็ตก็เริ่มวิ่ง ไถ บนสเก็ตบอร์ดได้ตั่ง แต่เด็ก แล้วก็เริ่มมารู้จักกับ skateboard แบบที่ สามารถเล่นผาดโผน แบบที่ทุกวันนี้เล่นอยู่ได้ตอน อายุ ประมาณช่วง 12-13ปี เห็นพี่แถวบ้านเล่น เห็น แล้วก็ชอบเลยเพราะมันวิง ่ ได้เร็ว แถมยังกระโดดได้ดว้ ย ก็เลยหาซื้อมาเล่น แล้วก็เล่นมาตลอดจนถึงทุกวันนี้ วงการ Skate ในเมืองไทยตอนนี้มันดีขึ้นหรือแน่ลง อย่างไรบ้าง ผมมองว่า ดีขน ึ้ ทีบ ่ า้ นเรามีคนหันมาเล่นskateboardเยอะ ขึน ้ ได้รบ ั อิทธิพล หรือ วัฒนธรรม จากskateboardมาก ขึ้น ไม่ว่าจะ longboard ,cruiser แบบต่างๆ หรือเล่น ผาดโผนแบบทีผ ่ มเล่นอยู่ ก็ลว้ นแต่มค ี นชอบ และสนใจ อยากจะเล่นมากขึ้น แต่ พื้นที่ให้กลุ่มคนเหล่านี้ได้เล่น หรือแข่งขันยังน้อยเกินไป เรายังต้องการ skatepark หรือ skate plaza ที่ดีแล้วได้มาตรฐาน เหมือนในต่าง ประเทศหรือในประเทศเพือ ่ นบ้านเราเค้าก็มก ี น ั หมดแล้ว.

X-trem magazine - 31 -


การให้การสนันสนุนนักกีฬา หรือการ ให้ความสำ�คัญกับตัวนักกีฬายังน้อย เกินไป พูดง่ายๆ คือ มีบริษัท หรือ กลุ่มคนเข้ามาหาผลประโยชน์ หาราย ได้จากการขายสินค้า หรือ จัดการ แข่งขัน มากมาย แต่ไม่ค่อยเน้นไปใน ทางสนันสนุนตัวนักกีฬา ทำ�ให้นก ั กีฬา เก่งๆหลายคนสุดท้ายก็ตอ ้ งเลิกเล่นเลิก แข่งไปเพราะต้องไปทำ�งานอย่างอื่น.

การสนันสนุนดีๆจาก sponsor ของ ผม, รุ่นพี่ เพื่อนๆทุกคนที่ทำ�งานร่วม กันที่ Preduce เพราะทุกคนมีใจรักใน skateboard เหมือนกัน ถ้าปราศจาก คนเหล่านี้ผมคงมาไม่ถึงจุดนี้ครับ

Pro Skate ที่เจ๋งที่สุดในสายตาคือ ใครเพราะอะไร

เห็นน้องๆหลายคนทุกวันนี้ อยาก เป็นโปรฯ อยากมี sponsor อยาก เป็นตัวแทนประเทศไทยไปแข่งต่าง ประเทศ แต่อยากให้ทุกคนเล่นด้วย ความสนุกด้วย อย่าไปเครียดกับการ ฝึกซ้อมหรือกดดันตัวเองมากเกินไป มันจะไม่มีประโยชน์อะไรถ้าเราเล่นแล้ว ไม่สนุกไปกับมัน, อย่ายอมเป็นเหยื่อ ให้กับคนที่พยายามเอาความฝันของ เรามาล่อ บอกว่าเราจะได้นู้นได้น่ีหรือ เอาของฟรีมาล่อซึง ่ ทุกวันนีม ้ เี ยอะมาก

ตอบยากมาถ้าให้เลือกแค่คนเดียว เพ ราะโปรฯเจ๋งๆเยอะมาก ถ้าต้องเลือก คนเดียวผมคงตอบเป็น Eric Koston เพราะ เค้าเป็นลูกครึ่งไทย - อเมริกัน ช่วงที่ผมเริ่มเล่นสเก็ตใหม่ ก็จะคอย รอดู หาดูวีดีโอการเล่นของเค้าตลอด และในปี ค.ศ.2000 เขาก็ได้ออกวีดีโอ มาหนึ่งตัวซึ่งเป็นวีดีโอที่ดีที่สุดของ ช่ ว งนั้ น แถมเค้ า ยั ง แนะนำ � ให้ ช าว Skateboard ทั่วโลกได้รู้จักเมืองไทย ได้รู้ว่าเค้ามาจากเมืองไทย และในไทย ก็มี spots สวยๆสามารถเล่นสเก็ตได้ ทำ�ให้ skater จากต่างประเทศ หลั่ง ไหลเข้ามาเล่นสเก็ตในเมืองไทยมากขึน ้ ร่วมถึง Simon Pellaux ผู้ที่ร่วมก่อ ตั้ง Preduce skateboard ก็เดินทาง มาเมืองไทยครัง ้ แรก เพราะดูวด ี โี อนัน ้ . อยากพัฒนาอะไรในวงการนี้ บ้าง อยากพั ฒ นาหลายอย่ า งมาก ครับอยากเห็นคนไทยนิยม skateboardกันเยอะๆให้เหมือนแถบ Califonia เลยแต่หน้าทีผ ่ มตอนนี้ เท่าทีผ ่ มจะทำ�ได้ ตอนนี้ก็คือ พั​ัฒนาฝีมือของตัวเอง แข่งขัน หรือ สร้างงานวีดีโอดีๆเพื่อ ให้ต่างประเทศและผู้ใหญ่ในประเทศ เราได้เห็นว่าคนไทยก็เล่นสเก็ตบอร์ ดกันอย่างจริงจัง และสามารถพัฒนา ตัวเองไปในระดับ international ได้ กว่าจะมายืนตรงจุดนี้ได้ต้องผ่าน อะไรมาบ้าง skateboard จะเก่งได้จะยึดเป็นอาชีพ ได้หลักๆ ก็คงเป็นเรื่องของการฝึก ซ้อมอย่างหนัก และก็มีใจรักในสิ่งที่ เราทำ� ไม่ต่างจากกีฬาทุกประเภท แต่ ผมคงไม่สามารถเป็นที่รู้จัก หรือ เล่น สเก็ตเป็นอาชีพได้นานขนาดนี้ ถ้าขาด

ในฐานะที่เป็นรุ่นพี่ของวงการนี้ฝาก อะไรถึงน้องๆ ที่อยากจะเข้ามายืน ตรงจุดนี้หน่อย

มีคนบอกว่ากีฬา Skate มันเป็นแค่ แฟชั่น คุณจะบอกคนพวกนั้นว่า อย่างไร นัน ้ คงเป็นสิง ่ ทีค ่ นพวกนัน ้ มองแค่เรือ ่ ง ของการแต่งตัวของคนเล่น skateboard แต่ถา้ คุณได้ลองเล่นแล้วคุณจะรูว้ า่ มัน เป็นมากกว่าแค่เรื่องของกระแส หรือ แฟชัน ่ สำ�หรับผมถ้ามองมันเป็นแฟชัน ่ มันคงเป็นแฟชัน ่ ทีม ่ น ั ส์ และไม่มวี น ั Out คิดว่าเพลงไหนที่เข้ากับเวลาเล่น Skate ของตัวเองมากที่สุด คิดว่า การเล่นเราก็เปลี่ยนไปเรื่อยๆ ตามช่วงเวลา ถ้าเป็นช่วงนี้เลยคงน่า จะเป็น Family Portrail : Other Side Beach Fossils : Daydream Peace!! : I Have got no money ตอนนี้มี Project อะไรให้ติดตาม บ้าง ตอนนี้ก็ถ่ายทำ�วีดีโอFull part ของ ผมอันใหม่อยู่นะครับอีกสักพักคง ได้ดูกัน. แล้วติดตามได้ว่าผมไปไหน ทำ�อะไรบ้างได้จาก www.Preduce. com, www.billabong.com/asia หรือ Follow IG : Preduce_skateboards , GENGJAKKARIN. X-trem magazine - 32 -


X-trem magazine - 33 -


BIKE RECOMMEND

X-trem magazine - 34 -


รถจักรยานฟิคเกียร์ FIXED GEAR สายโหด Radio Bikes Bomptrack Fixed Street 2012 SIZE M L 2012 Radio Bikes แบรนด์เยอรมัน Made in Taiwan แบรนด์ในเครือ Wethepeople มาให้ คนที่ชื่นชอบ สายทริก ในสไตล์ Street Fixed medium - 22.3”/ large - 23.2” ยางนอก 26x1.75” COLOR : glossy black FRAME : RADIO ‘Bombtrack’ full 4130 crmo frame, M or L size FORK : RADIO Bombtrack full 4130 crmo fork BARS : RADIO Bombtrack full 4130 crmo bar GRIPS : SALT Team grips STEM : SALT AM top loading stem, 50mm reach HEADSET : FSA Int. headset, sealed bearing LEVER : SALTPLUS Geo hinged alloy brake lever front/rear BRAKES : Z-Star forged alloy caliper brake CRANKS : RADIO Bombtrack 3pc crank crmo 165mm, 48 spline BB : mid size, press fit, sealed bearing PEDALS : SALT AM nylon/fibreglass pedals CHAIN : SALTPLUS Warlock halflink chain SPROCKET : RADIO Bombtrack spline drive, alloy, cnc, 30t sprocket DRIVER : 12t fixed gear, threaded cog FRONT HUB : RADIO Bombtrack hub, 3/8”s axle, sb, 36h REAR HUB : RADIO Bombtrack fixed hub, sb,14mm axle, 36h / flip flop FRONT RIM : SALTPLUS Dune straight double wall rim, 36h REAR RIM : SALTPLUS Dune straight double wall rim, 36h FRONT TIRE : KENDA NPJ, 2.1” REAR TIRE : KENDA Kwick Roller Sport”, 2.0” TIRE CLEARENCE : 2.0 SEAT : RADIO Century fat padded pivotal seat SEAT POST : RADIO pivotal seat post, hiten, 155mm SEAT CLAMP : RADIO slim alloy seat clamp TIRES : WTB/FREEDOM Cruize Sport 2.0” front and rear PEGS : RADIO steel pegs (1 pair) WEIGHT : 12.1 kg (26.675lbs) X-trem magazine - 35 -


SKATEBOARD SAVED MY LIFE

ผมว่าสเกตบอร์ดเหมือน Art Form อีกชนิดหนึ่ง ที่เป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ เพราะเราไม่ได้มองว่าเป็นแค่กีฬา”

เต๋า กิจพูลลาภ PRO SKATEBOARD PREDUCE TEAM

X-trem magazine - 36 -


X-trem magazine - 37 -


BMX DICROGRAPHY

AFA

(American Freestyle Association) ได้เข้ามาผูกขาดในการจัด แข่งขันครั้งใหญ่ๆ นักขี่เอือมกับ กติกาหยุมหยิม เช่น Flatland ก็ให้ใส่หมวกกันน็อค และกรรมการเป็นคนธรรมดา ไม่รู้จักการให้คะแนน โดยเฉพาะท่ายากๆหรือ ท่าใหม่ๆ แบนนักขี่ที่ไปแข่ง งานอื่น , จัดแบ่งรุ่น(Class)ละเอียดยิบ ซึ่งนอกจาก จะแบ่งตามรุน ่ อายุ ยังมีรน ุ่ สมัครเล่น(Amateur) และ รุน ่ มืออาชีพ(Pro) ซึง ่ นักขีจ ่ ะลงได้หลายรุน ่ ปัญหาจึง อยูท ่ ค ี่ นทีม ่ ฝ ี ม ี อ ื ดียง ั ไม่ยอมTurn Pro ง่ายๆเพราะยัง หวงตำ�แหน่งอยู่ ต่อมาเมือ ่ เริม ่ เข้าปี 90 AFA ยกเลิก การจัดแข่ง ทำ�ให้วงการเงียบเหงาไปพักหนึ่ง แต่ก็ได้ Mat Hoffman ซึง ่ เป็นนักขี่ ได้รเิ่ ริม ่ จัดงานแข่งขึน ้ เองชือ ่ Bike Stunt Series หรือ BS ซึง ่ เป็นการปลุกผีวงการ ขึน ้ มาอีกครัง ้ และได้ประสบความสำ�เร็จ อย่างสูง จน กระทัง ่ ESPN ช่องกีฬายักษ์ใหญ่ ได้มาติดต่อขอซือ ้ รายการต่อ และจัดให้มีการนำ�ภาพจากการแข่งไป ออกอากาศ ทัว ่ โลก และต่อมาได้รวบรวมกีฬาสุดขัว ้ X-trem magazine - 38 -


หรือ Extreme Sports เข้าไว้ด้วยกัน ภาย ใต้ช่ือ X-Games ซึ่งจัดกันเป็นประจำ�ทุกปี ที่ Sanfrancisco ล่าสุดปี2001 จะย้ายไปจัดกันที่ Philadephia Flatland หาย Mat ช่วย? หลังจาก Take over งานแข่งไป ในครัง ้ แรกๆ ก็มป ี ญ ั หา เหมือนกัน คือ ESPN ยังให้ Hoffman bikes เป็นผูจ ้ ด ั การแข่ง แต่จด ั ให้มเี งินรางวัลในการ แข่งขันเพียง 2 ก้อน คือ Vert กับ Park ไม่ สนับสนุนการแข่ง Flatland ซึง ่ ดูไม่หวือหวา Mat เลยตัดสินใจหารเงินรางวัลนัน ้ เป็น 3 ส่วน เพื่อให้มีการแข่ง Flatland ด้วย นับเป็นการ ตัดสินใจที่ชี้ชะตาวงการไว้ครั้งหนึ่ง สำ�หรับ ประเภทของการแข่ง Bike Stunt ในทุกวัน นี้แบ่งออกโดยรูปแบบของสนามที่ต่างกัน ออกไป Dirt การกระโดดเนินดิน เกิดและไป พร้อมBMX ปัจจุบน ั จะมีแข่งพ่วงไปด้วยเกือบ ทุกสนาม เป็นสีสน ั ของงานแข่ง Racingด้วย Flatland การเล่นท่าทางบนพื้นเรียบ มี แต่คนกับจักรยาน ลีลาเทียบได้กับยิมนาสติ ค Floor Excercise นักขีจ ่ ะต้องนำ�ท่าทางมา ต่อเนื่องกันให้มีความลื่นไหล สวยงาม โดย ผิดพลาดน้อยที่สุด Park สนามมีอุปกรณ์ ต่างๆที่จำ�ลองขึ้นจากการขี่ตามท้องถนน เช่นมีขอบกระถางสูงๆ มีราวบันได เนินลาด เนินโค้ง เก้าอี้ยาว ทางต่างระดับ อัดกันไว้ ในสนามเดียว นักขี่จะต้องใช้ประโยชน์จาก X-trem magazine - 39 -

อุปกรณ์ทก ี่ �ำ หนดให้ Vert-Halfpipe เนินโค้ง ขนาดใหญ่ที่มีส่วนสูงตั้งแต่ 8-12 ฟุต หรือ กว่านั้น มีส่วนปลายชันถึง 90 องศา 3-4 ฟุต นักกีฬาจะ ใช้ส่งตัวเองให้ลอยขึ้นไปเล่น ท่ากลางอากาศ ได้สูงตั้งแต่ 6-10 ฟุต และ เลีย ้ วกลับลงมา ถ้ามี 2 ข้างหันหน้าชนกัน จะ มีลก ั ษณะ เหมือนท่อครึง ่ วงกลม (Halfpipe) ส่วนกีฬา Bike Stunt บ้านเรานั้น กระแสมัก จะช้ากว่าเขาสักหน่อย มีเล่นกันมาในช่วงที่ นิยม Racing เมื่อเกือบ20ปีก่อน แล้วก็ซา ไปพร้อมๆกับ Racing มาโผล่อีกทีเป็นกลุ่ม เล็กกลุม ่ น้อยตามสนามกีฬา กลุม ่ ละ 6-7 คน งานแข่งที่สวนอัมพร เมื่อปี2533 เป็นครั้งที่บูมสุดก่อนจะ ซาไปอีก 7 ปี ช่วงนี้แม้แต่จะหาอะหลั่ยสัก ชิ้นยังยาก เพราะร้านจักรยานได้เปลี่ยนไป ขายMountain bike กันหมด แล้วกลับมา ฟื้นอีกทีตอนช่วงกระแส X-Games เข้ามา บ้านเรา อย่างไรก็ตามถ้ามีการจัด X-Tour ทุกปี และงานแข่งย่อยๆอื่นเฉลี่ยปีละ3 ครั้ง ก็เป็นเรือ ่ งปกติ ปัจจุบน ั ปี 2001 มีคนลงแข่ง ในงาน X-Tour ประเภท Flatland และ Park รุ่นละเกือบ30คน ซึ่งนับว่ามากที่สุด ที่เคย มีมา แต่ก็ยังมาลงแข่งกันไม่หมด อย่างไร ก็ตาม การแข่งขันคัดตัวนักกีฬาทีมไทยชุด Asian X-Games และ Junior X-Games ที่ จะเดินทางไปแข่งขัน กับต่างชาติในปี 2002 ที่กรุงกัวลาลัมเปอร์


X-trem magazine - 40 -


BMX ทัง้ 6 ประเภท

BMX FLATLAND การขี่ จักรยานประเภทแฟลตแลนด์ เป็นการ ขี่จักรยานผาดโผนบนพื้นราบ โดย เน้นการทรงตัวและการเล่นท่าบน จักรยาน เสน่ห์ของการขี่ประเภท นี้อยู่ที่ความต่อเนื่องในการเล่นท่า โดยจะเล่นท่าหนึ่งแล้วจะไปต่ออีก ท่าหนึง ่ โดยทีเ่ ท้าไม่สม ั ผัสพืน ้ BMX FLATLAND ได้เข้ามาในบ้านเราเมือ ่ ประมาณ 10กว่าปีที่แล้ว และยัง คงเป็นที่นิยมจนถึงทุกวันนี้ BMX FLATLAND เป็นกีฬาเอ็กส์ตรีมที่ มีความเสี่ยงไม่มาก สามารถที่จะ เล่นได้ทุกวัย จะมีเล่นกันเป็นกลุ่มๆ ตามสวนสาธารณะ ตามลานจอด รถกว้างๆ จะกระจายกันอยูใ่ นทุกๆ จังหวัด โดยจะมีการจัดแข่งขัน อย่างต่อเนือ ่ งทัง ้ ในและต่างประเทศ BMX STREET การขีจ ่ ก ั รยาน ประเภทสตรีต เป็นการขี่จักรยาน ผาดโผน โดยอาศัยอุปกรณ์ในการ เล่น จะเล่นท่าผาดโผนต่างจาก ประเภทแฟลตแลนด์ ซึ่งผู้เล่นจะขี่ ออกไปเล่นกันตามท้องถนน หรือ สวนสาธารณะ อุปกรณ์ทใี่ ช้เล่นก็มี อยู่ตามท้องถนน เช่น ม้านั้ง ราว บันได ราวเหล็ก ริมฟุตบาท และ เนินลาดชันต่างๆเป็นต้น แล้วขี่ เล่นท่าผาดโผน ยกล้อ หมุนตัว หรือ ไถลกับราวเหล็กลักษณะของ จักรยาน BMX STREET ช่วงของ รถจักรยานประเภทนี้จะยาวกว่า ของประเภทแฟลตแลนด์เล็กน้อย และรูปทรงจะไม่แปลกเหมือนรถจัก ยานแฟลตแลนด์ก็เพราะสตรีตไม่ ได้ใช้สำ�หรับเล่นท่าบนพื้นราบ รู​ูป ทรงจึงไม่ออกแบบมาสำ�หรับเล่น ท่าแต่จะเน้นไปในการขี่ และกระโดด ซะส่วนใหญ่ ชิ้นส่วนต่างๆ ก็จะแตก ต่างกันด้วย ทักษะที่ใช้ข่ีจักรยาน BMX STREET ที่เน้นๆเลยก็คือ การก ระโดด ( Bunny Hop ) การยกล้อ หน้า (Manual ) และการไถลบน ราว ( Grind) และก็ยังมีท่าที่พลิก แพลงอีกมากมาย สำ�หรับจักรยาน BMX STREET จะต้องใช้ความกล้า พอควรเพราะมีความเสีย ่ งในการเกิด อุบต ั เิ หตุคอ ่ นข้างสูง ผูเ้ ล่นจึงควร

ใส่อป ุ กรณ์ปอ ้ งกันทุกครัง ้ และเมือ ่ โค้งของ Half Pipe แล้วเมื่อได้ยัง คุณเล่นท่าพืน ้ ฐานของประเภทนีไ้ ด้ หวะก็จะเล่นท่าผาดโผนกลางอากาศ จนเป็นหมดแล้ว ที่เหลือก็อยู่ที่ใจ คุณแล้วละว่า ในการแข่งขันจักรยาน BMX VERT จะทำ�การแข่งขันภายใน “กล้าพอหรือเปล่า” เวลาที่กำ�หนดโดยมีกรรมการเป็น ที่จะเล่นท่าผาดโผนกับอุปกรณ์ ผูใ้ ห้คะแนนซึง ่ จะพิจารณาจากความ บนท้องถนนเหล่านั้น ยากง่ายของท่า ในการแข่งขัน นักกีฬาสามารถเอาเท้าสัมผัสกับ BMX PARK เป็นการขี่แบบ พื้นหรืออุปกรณ์ได้ โดยไม่ถูกหัก เดียวกับประเภทสตรีต โดยเล่นกับ คะแนนเพือ ่ เป็นการหยุดพักหรือจัด อุปกรณ์ที่สร้างขึ้นในรูปแบบสนาม ท่าทางในการออกตัวในการเล่นท่า SKATE PARK ซึ่งพัฒนาอุปกรณ์ กับอุปกรณ์ และสามารถใช้เท้าร่วม ในการเล่นมาจากอุปกรณ์บนท้อง เล่นเป็นท่าผาดโผนได้อก ี ด้วย ส่วน ถนน ให้ได้มาตรฐานและมีความน่า ลักษณะรถก็เป็นรถจักรยานประเภท เล่นมากยิง ่ ขึน ้ โดยอุปกรณ์ในสนาม สตรีตนั้นเอง จะถูกออกแบบและจัดว่างในตำ�แหน่ง ที่เหมาะสม ทักษะของกีฬาประเภทนี้ จะใช้ ทักษะค่อนข้างยากสักนิดหน่อย BMX DIRT คือการขี่จักรยาน เนื่องด้วยอุปกรณ์มีความสูงมาก ผาดโผนกระโดดเนินดินโดยจะเน้น และมุมในการลอยตัวก็เป็นมุมที่ตั้ง เล่นท่ากลางอากาศเพียงอย่าง ฉากกลับพืน ้ ดิน จึงจำ�เป็นทีจ ่ ะต้อง เดียว ลักษณะของสนามจะเป็นเนิน มีทักษะในการกระโดดลอยตัวกลับ ดินคล้ายสนาม Motocoss มีเนิน อุปกรณ์ที่เรียกว่า Quarter Pipe สำ�หรับกระโดดติดต่อกันหลายๆลูก ซึ่งอุปกรณ์ชนิดนี้ก็จะอยู่ในสนาม ทำ�ให้การกระโดดเล่นท่าผาดโผน SKATE PARK หรือคุณต้องมีทก ั ษะ กลางอากาศมีความต่อเนื่องกัน ในการเล่น BMX PARK อย่างค่อน การแข่งขันในประเภท BMX DIRT ข้างชำ�นาญ จะทำ�การปล่อยตัวนักกีฬาที่ละคน แล้วให้ท�ำ การกระโดดเนินดินและเล่น BMX Racing เป็นการขี่แบบ ท่ากลางอากาศ ให้ครบจำ�นวนเนิน แข่งความเร็วในระยะสั้นๆ รูปแบบ เดินที่กระโดด เนินดินก็จะมีจำ�นวน ลักษณะของสนามแข่งจะออกแบบ ที่ไม่มากนัก นักกีฬาคนไหนที่เล่น ให้มีทางโค้งสลับกันไป และมีเนิน ท่าได้ยากและเจ๋งทีส ่ ด ุ โดยไม่มข ี อผิด สำ�หรับกระโดด เช่นเดียวกับสนาม พลาดเลยก็จะเป็นผู้ชนะไป ของ Motocoss จักรยาน BMX Racing ได้เอามาในบ้านเราเมื่อ ลักษณะของจักรยาน ก็ใช้แบบ ประมาณ 20 ปีทแี่ ล้ว ซึง ่ ตอนนัน ้ เป็น เดียวกับ ประเภทสตรีต เพียงแค่ ที่นิยมมาก แล้วก็ได้เงียบหาไปจาก เปลี่ยนยางมาใช้เป็นแบบที่มีดอก วงการเมื่อช่วง 10ปีที่ผ่านมา แต่ ยางหนาๆ ที่ใช้สำ�หรับสนามดิน ในปัจจุบันนี้ จักรยานBMX racing แบบMotocoss Pegs (ที่พักเท้า) กำ�ลังกลับมาเป็นที่นิยม เริ่มมีการ ออกแค่นั้นเอง จัดแข่งขันมากขึน ้ คนทีเ่ คยเลิกไป ก็ เริม ่ จะกลับมาปัดฝุน ่ จักรยานคันเก่า กีฬาประเภทนีม ้ ค ี วามเสีย ่ งค่อน หันมาปั่น BMX กันอีกครั้ง ข้างสูง ก่อนเล่นจึงควรใส่อป ุ กรณ์ ป้องกันทุกครั้ง เช่น หมวกกัน ในการแข่งขันจักรยานBMX น๊อค สนับเข่า สนับศอก และสนับ Racing จะแข่งรุ่นการแข่งขันตาม แข้ง เป็นต้น อายุและตามความสามารถ มีการ เก็บคะแนนสะสมแต่ละสนาม การ BMX VERT เป็นการขีผ ่ าดโผน แข่งขันในหนึง ่ รัน โดยปกติจะปล่อย โดยต้องใช้อป ุ กรณ์ในการเล่น โดย ตัวมากที่สุด 8 คัน แล้วหาผู้ชนะใน อุปกรณ์จะมีลักษณะเป็นท่อครึ่ง แต่ละรันเข้ารอบต่อไป ขึ้นอยู่กับ วงกลม หรือ Half Pipe โดยผู้ กติกาในการจัดแข่งขันในสนาม เล่นจะปัน ่ แล้วกระโดดขึน ้ ลงตามความ นั้นๆ X-trem magazine - 41 -


X-trem magazine - 42 -


X-trem magazine - 43 -


X-trem magazine - 44 -


X-trem magazine - 45 -


X-trem magazine - 46 -


X-trem magazine - 47 -


magazine

X-trem magazine - 48 -


X-trem magazine - 49 -


X-trem magazine - 50 -


magazine X-trem magazine - 51 -


X-trem magazine - 52 -


magazine X-trem magazine - 53 -


magazine

X-trem magazine - 54 -


X-trem magazine - 55 -


magazine

X-trem magazine - 56 -


X-trem magazine - 57 -


magazine

X-trem magazine - 58 -


X-trem magazine - 59 -


X-trem magazine - 60 -


X-trem magazine - 61 -


X-trem magazine - 62 -


X-trem magazine - 63 -


X-trem magazine - 64 -


การผสานระหว่างศิลปะ เมื่อ ‘ตะวัน วัตุยา’ ตวัดพู่กันบน SKATEBOARDS

อ่ยชื่อของ ตะวัน วัตุยา เชื่อว่า คนทีค ่ น ุ้ เคยกับแวดวงศิลปะคง นึกถึงผลงานของศิลปินหนุม ่ ผู้ “สะบัดปลายพูก ่ น ั ” ฝากผลงานศิลปะ ร่วมสมัยที่เอาไว้ให้ผู้คนที่ชื่นชอบ ได้เสพกันมาโดยตลอด ทัง ้ ในเรือ ่ ง เพศสภาพ การเมือง และสังคม ด้วย เทคนิคอันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว

อย่างล่าสุด นิทรรศการ “ตีท้าย ครัว” ทีถ ่ อ ื ว่าเป็น “Solo Exhibition” ขนาดใหญ่ ที่ได้กลายเป็นที่ฮือฮา ในวงการศิลปะไทย ด้วยการนำ� ศิลปินผู้มีชื่อเสียงกว่า 108 ชีวิต มาวาดใบหน้าก่อนที่จะเติมแต่ง เรือนร่างด้วยสีน�้ำ ทีน ่ บ ั ว่าเป็นงาน ถนัดของตะวัน

เรียบง่าย แต่ทรงพลัง

แต่ผลงานชิ้นล่าสุดนับว่าเป็น ประสบการณ์ใหม่ของศิลปินหนุม ่ ผูน ้ ี้

สิ่งเหล่านี้ทำ�ให้ตะวันได้ออกไปจัด แสดงผลงานทัง ้ ในและต่างประเทศ เพราะเป็นครัง ้ แรกทีต ่ ะวันจะฝากผล มาตลอด 10 ปี งานไว้บน “สเก๊ตบอร์ด” !! X-trem magazine - 65 -


ปกติแล้วหากจินตนาการถึงภาพ งานศิลปะบนสเก๊ตบอร์ด หลายคน อาจนึกไปถึงศิลปะในลักษณะสตรี ทอาร์ต หรือ กราฟฟิตี้ ทีเ่ รามักเห็น ว่าเป็นของคู่กันอยู่เสมอ

สเก๊ตบอร์ดของทางร้าน มีความ สนิทสนมคุ้นเคยกันอยู่ รู้จักนิสัย ใจคอทำ�ให้วาดออกมาได้งา่ ย แต่คน อื่นๆ เราไม่รู้จักจึงต้องเริ่มศึกษาดู คลิปวิดีโอของพวกเขาว่า เล่นสเก๊ ตอย่างไร มีลักษณะนิสัยอย่างไร แต่การโคจรมาพบกันอย่างเหลือเชือ ่ และเลือกรูปจากหลายรูปว่าชอบรูป ของตะวันกับร้านสเก๊ตบอร์ดชือ ่ ดัง ไหน และเลือกรูปนั้นมาวาด ก่อนที่ อย่าง “Preduce” เป็นประสบการณ์ จะนำ�รูปวาดนั้นสกรีนลงบนบอร์ด ที่แปลกใหม่ของทั้ง 2 ฝ่าย และ อีกทีหนึ่ง” ปรากฏผลงานออกมาเป็นใบหน้า ของนักสเก๊ตบอร์ด 6 คน ในสังกัด ในตอนแรกทีต ่ ด ั สินใจทำ� ตะวันบอก ทีม Preduce ว่า ไม่คด ิ ว่าจะได้รบ ั กระแสตอบรับที่ ดี เพราะไม่เคยทำ�งานในลักษณะนี้ ซึ่งผลตอบรับออกมาดีเกินคาด แต่พอเห็นกระแสตอบรับก็รู้สึกดีใจ เพราะในวันเปิดตัววันแรกก็มค ี นต่อ ส่วนศิลปะกับสเก๊ตบอร์ดนั้นมอง คิวซือ ้ ทีห ่ น้าร้าน และสัง ่ ซือ ้ ผ่านทาง ว่า ทั้งสองสิ่งมีความใกล้เคียงกัน ออนไลน์เป็นจำ�นวนมาก “เพราะเมื่อมองเวลาที่ผู้คนกำ�ลัง ตะวันเล่าถึงประสบการณ์ใหม่พร้อม เล่นสเก๊ตกันจะสามารถจินตนาการ รอยยิม ้ ว่า รูส ้ ก ึ ตืน ่ เต้น และแปลกใหม่ ได้ถึงผืนผ้าใบสีขาว และสิ่งที่พวก ที่ได้เห็นผลงานถูกนำ�ไปปรากฏลง เขากำ�ลังสรรค์สร้างผลงานผ่าน บนกระดานสเก๊ตบอร์ดซึง ่ ตอนแรก ทางการสเก๊ตลงบนผืนผ้าใบนั้น” ทาง Preduce ก็ให้โจทย์มาว่า อยาก ตะวันกล่าว ให้ทำ�เกี่ยวกับนักสเก๊ตบอร์ดของ ทางร้านในรูปแบบใดก็ได้ เนือ ่ งจาก ด้าน Simon Pellaux เจ้าของร้าน เป็นคนทีว่ าดลักษณะพอร์ตเทรตอยู่ Preduce ชาวสวิตเซอร์แลนด์ ได้ แล้ว ก็เลยคิดว่าอยากวาดแบบตรง อธิบายถึงการตัดสินใจทีจ ่ ะร่วมงาน ไปตรงมา ไม่ต้องตีความ กับตะวันว่า ตามปกติแล้วทางร้านได้ มีการร่วมงานกับศิลปินต่างๆ มา “ด้วยความทีเ่ รารูจ ้ ก ั กับ 1 ใน 6 นัก โดยตลอด ซึ่งส่วนมากจะชักชวน

X-trem magazine - 66 -

ต่อๆ กันโดยอาศัยความเป็นเพื่อน ซึ่งเป็นความโชคดีของทางร้านที่ มีหนึง ่ ในนักสเก๊ตบอร์ดของเรารูจ ้ ก ั กับตะวัน และตะวันเองก็มค ี วามสนใจ ที่จะร่วมงาน “งานศิลปะบนสเก๊ตบอร์ดไม่จำ�เป็น ต้องอยู่คู่กับกราฟฟิตี้เสมอไป แต่ เราสามารถที่จะใส่ทุกอย่างให้ผสม ผสานไปกับสเก๊ตบอร์ดได้ ไม่วา่ จะเป็น รูปภาพ งานศิลปะ ในทุกแขนง ทุก อย่างมันรวมกันได้เพราะสเก๊ตบอร์ ดก็เป็นกีฬาทีแ่ ฝงไปด้วยจินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ ให้เกิดท่วงท่า ใหม่ๆ ไม่ต่างจากศิลปะ “การร่วมงานกับตะวัน ทีเ่ ป็นศิลปิน ทีม ่ ค ี วามคลาสสิกในตัวจึงเป็นอะไร ที่น่าสนใจมาก” Simon กล่าว และ เผยว่า สมาชิกทุกคนในทีมชอบมาก และผลตอบรับทางโลกออนไลน์ไป เป็นในทางทีด ่ ท ี ง ั้ นักสเก๊ตบอร์ดชาว ไทยและต่างชาติ รวมถึงกระแสจาก ทางศิลปินต่างประเทศด้วย นอกจากนี้ ยังเชื่อว่าการร่วมงาน กับตะวัน ซึ่งเป็นศิลปินที่มีชื่อเสียง และได้รบ ั การยอมรับในสังคมในครัง ้ นี้จะทำ�ให้สังคมไทยเปลี่ยนมุมมอง และภาพลักษณ์ของวงการสเก๊ตบ อร์ดในทิศทางที่ดีขึ้น


"ผมเป็นนักสเก๊ตบอร์ดมาทั้งชีวิต จนเมื่อ 11 ปีก่อนได้มีโอกาสรู้จัก วงการสเก๊ตบอร์ดในประเทศไทย ซึ่งยังไม่เป็นที่นิยม จึงได้เดินทาง มาตั้งบริษัทเพื่อสนับสนุนนักสเก๊ ตบอร์ด พยายามทำ�ให้สังคมยอม รับนักสเก๊ตบอร์ดมากขึน ้ พยายาม ให้นก ั สเก๊ตบอร์ดเติบโตในทางทีถ ่ ก ู ต้อง เพราะในสังคมไทยมีทัศนคติ ในทางลบ คิดว่าเด็กเหล่านี้จะเป็น เด็กไม่ดี ติดยา ทั้งที่เด็กเหล่านี้มา ออกกำ�ลังกาย ฝึกฝนด้วยความ พยายามกว่าที่จะเล่นได้ รวมถึงยัง สามารถสร้างรายได้ให้กับตนเอง ได้อีกด้วย

ขณะที่ 1 ใน 6 นายแบบผูช้ ก ั ชวนตะวัน เข้ามาร่วมงานด้วย คือ ปริญญา กิจ พูลลาภ หรือ "เต๋า" บอกว่า ปกติแล้ว ชืน ่ ชอบงานของตะวันมาโดยตลอด เห็นตะวันเพนต์แบบสดๆ แล้วรู้สึก ประทับใจและชื่นชอบ เลยได้มีการ พูดคุยหรือ "จีบ" เรื่อยมา จนได้มี โอกาสมาทำ�จริงๆ

"คิดมาตลอดว่างานของตะวันจะ เข้ากับสเก๊ตบอร์ดได้เป็นอย่างดี เพราะมันคือศิลปะ คือการมิกซ์กัน ระหว่างศิลปะ ดังนั้น ต้องออกมา ดีอย่างแน่นอน เพราะเล่นสเก๊ตบ อร์ดมาเกือบ 20 ปี เห็นลายกราฟิก บนแผ่นบอร์ดมานับไม่ถ้วน เราจึง "และหวังว่าการมาของตะวันครั้ง อยากได้ศิลปินที่มีลักษณะเฉพาะ นี้วงการสเก๊ตบอร์ดในไทยจะเปิด อย่างตะวัน รวมถึงยังเป็นศิลปิน กว้างมากขึ้น" เจ้าของร้านสเก๊ตบ ไทยอีกด้วย และผลตอบรับที่ออก อร์ดชื่อดังกล่าว มายิ่งทำ�ให้เรารู้สึกดีใจมาก เพราะ ทุกคนอาจมองว่าสเก๊ตบอร์ด เป็น X-trem magazine - 67 -

เพียงแค่แผ่นกระดานติดล้อ เล่นกัน กวนเมือง แต่เมือ ่ เป็นแบบนีแ้ ล้วนีค ่ อ ื งานศิลปะอย่างชัดเจน" เต๋าบอกอีกว่า การยอมรับในสังคม อนาคตจะเป็นอย่างไรไม่เป็นไร เพราะ เราทำ�ในสิ่งที่เราชอบ คนจะรับได้ หรือไม่ คนจะชอบหรือไม่ เป็นเรื่อง ของวิธก ี ารเสพงานศิลปะของแต่ละ คน แต่การมาของตะวัน จะทำ�ให้ส เก๊ตบอร์ดสามารถเข้าถึงผู้คนได้ หลากหลายมากขึ้น ไม่จำ�เป็นต้อง เป็นกราฟฟิตี้อย่างเดียวอีกต่อไป การผสมผสานระหว่างสองศิลปะที่ ก้าวข้ามกรอบและพรมแดนของกัน และกัน ได้รง ั สรรค์สง ่ิ ใหม่ขน ึ้ ในสังคม สิ่งใหม่ที่เกิดขึ้นด้วยการยอมรับ และ ความเข้าใจ โดยไม่จำ�เป็นต้อง "บังคับ"


X-trem magazine - 68 -


X-trem magazine - 69 -


X-trem magazine - 70 -


X-trem magazine - 71 -


Interview with Janchai & Mark A on Preduce team shop project


Special interview with Janchai Montrelerdrasme, Preduce’s media manager and Mark Atipat, newest shop team member about upcoming video, Preduce team shop. *The interview only available in Thai language*

มื่อหัวเรือใหญ่จากลุ่มQP หรือ (สวนเบญจสิริ)ฝากผลงานไว้ แล้วกับ การทำ�วิดโี อสเก็ต I LUV QP, Loosen ไหล ฯลฯ หลังจากจบการศึกษาปริญญา ตรีทอ ี่ เมริกา ก็ตด ั สินใจทิง ้ งานและ โอกาสดีๆ กลับประเทศไทย เพื่อที่ หวังว่าจะกลับมาทำ�สิ่งที่รัก สร้าง ซีนสเก็ตในเมืองไทย ซึ่งปัจจุบัน เค้าทำ�งานเต็มตัวให้กับเรา พรีดิ้ว ซ์ พร้อมกับโปรเจคล่าสุด....

Facebook ของพรีดิวซ์

Tao : อยากจะถามถึงโปรเจคล่าสุด ว่าเป็นยังไงมีอะไรบ้าง ? Jane : เป็นโปรเจค วีดโี อทีมร้าน พรี ดิว้ ซ์ จริงๆเริม ่ แรกถ่ายกับเด็กพวก นีอ ้ ยูแ่ ล้ว ตัง ้ ใจจะทำ�เป็นโปรเจคส่วน ตัว(ยกเว้น Mark O’ grady) แล้วไซ ม่อน บอกว่าทำ� วิดีโอ ทีมร้านกันดี กว่า(Team shop) ก็เลยเอาฟุตเทจ ทีถ ่ า่ ยมาเอามาใช้ดว้ ย โดยมี Peter, Bomb, Mark Atipat และ Mark O’ เรามาสัมภาษณ์ เจน กันดีกว่า Grady(ซึง ่ ไซม่อนเป็นคนชวนเข้ามา) ซึง ่ ถือว่าดี เพราะทุกคนเข้ากันได้ และ Tao : แนะนำ�ตัวและ ตำ�แหน่งหน้าที่ เล่นสเก็ตด้วยกันอยู่แล้ว ปัจจุบันหน่อย ? Jane : เจนชัย มนตรีเลิศรัศมี ตำ�แหน่ง Tao : แล้วโปรเจค วีดีโอ ทีมร้าน ฝ่าย มีเดีย ให้กบ ั บริษท ั พรีดวิ้ ซ์ และ (Team shop) นี้ เริม ่ กันตัง ่ แต่เมือ ่ ไหร่ ก็รับงานฟรีแลนซ์ทั่วไป ถ่ายงาน Jane : ประมาณเดือนตุลาคม 2012 ปาร์ตี้ MV งานหนัง งานโฆษณา จริงๆระยะเวลาของงานนีม ้ น ั น้อยมาก ลงมือเริม ่ จริงจังก็ประมาณ 2เดือน Tao : ต้องทำ�อะไรบ้าง ? แต่ก็ยังพอมีฟุตเทจที่สะสมมาก่อน Jane : ถ่ายวิดีโอ กับทีมสเก็ตของ บ้าง เพราะทีแรกก็ไม่ได้ตง ั้ ใจจะถ่าย พรีดวิ ซ์ ดูแลอัพเดท เวปไซด์(www. เป็นวิดโี อให้พรีดวิ้ ซ์ โปรเจคอันนีพ ้ อ preduce.com), Instagram, และก็ สรุปแล้ว ตั้งใจจะทำ�เพื่อแนะนำ�เด็ก

X-trem magazine - 73 -

ใหม่ของพรีดิ้วซ์ ซึ่งไม่ได้มีฟุตเทจ สุดยอด ท่ายากมากอะไรแบบนั้น แต่ก็คิดว่าพอได้อยู่ กำ�ลังดี Tao : ถ่ายกับเด็กๆ เป็นยังไงบ้าง ต่างจากการทำ� QP หรือว่าถ่าย กับพวกมีอายุ ของพรีดิ้วซ์ ไหม ? Jane : ก็แตกต่างกัน ถ่ายกับ พี่ เก่ง พี่เต๋า พี่เลิศ ก็แตกต่างกันไป คนละแบบ อาจจะไม่ตอ ้ งแนะนำ�หรือ พูดอะไรมาก แต่กบ ั เด็กพวกนี้ ทีย ่ ง ั ถือว่ายังใหม่ในซีน(วงการ) ก็อาจ จะต้องแนะนำ� ชี้นำ�บ้าง ทั้งเรื่อง สปอร์ต เรือ ่ งท่า บางทีเราก็ชว่ ยคิด ให้ว่า สปอร์ตนี้ ท่านี้สวย ท่านี้น่าจะ ได้ แต่ถ้ามันไม่เล่นกันก็ไม่ได้ว่าอะไร แต่กต ็ อ ้ งค่อยช่วยเสริมไอเดีย ก็มม ี ม ุ บางมุมของตากล้องทีต ่ อ ้ งขอท่าที่ อยากได้อยากเห็นกันบ้าง ทีส ่ �ำ คัญ คือเลือกท่าให้เข้ากับสปอร์ตด้วย โดยเฉพาะสปอร์ตในเมืองไทย ที่ดู ออกมาง่ายแต่จริงๆไม่ใช่เลย เคย พาโปรเมืองนอกไปเล่น เค้าเห็นก็วา่ ทำ�ไมมันยากจังไม่เหมือนกับในวิดโี อ สปอร์ตบ้านเรายากจริงๆ เลยต้อง


ช่วยเลือกท่าให้เข้ากับสปอร์ตบ้านเรา หน่อย เมืองไทยเราก็รอ ู้ ยูว่ า่ แต่ละที่ สภาพอากาศ ยาม เวลาที่เหมาะที่ ควร ยากมากครับ Tao : ฟังอย่างงี้ก็ดูเหมือน งาน ซีเรียสมากขึ้น เป็นระบบมากขึ้น ? Jane - ยุคนี้ ยุคดิจต ิ อล ทำ�งานง่าย ขึ้นมาก ไม่เหมือนตอนทำ� QP ถ่าย เป็นเทป กลับบ้านมาต้องมาแคป เจอร์ลงคอมฯ เสียเวลาเป็นชัว่ โมงๆ แต่เดีย ๋ วนีเ้ ป็น ดิจต ิ อล กลับบ้านมา โอนไฟล์ 10 นาที เราก็รู้แล้วว่าวันนี้ เราถ่ายอะไรไปบ้าง จัดเก็บเป็นระบบ ง่ายกว่าเดิมมาก ช่วยได้เยอะมาก Tao - ขอกลับมาเรือ ่ งทีมร้าน(Shop team)ไอ้Peter กับ ไอ้ Bomb เรารู้ อยูแ่ ล้วว่าเป็นทีม พรีดวิ้ ซ์ แต่ไอ้สอง มาร์ค นี้ มาได้ไง ? Jane : เออสองตัวนี้ มันเริ่มสับสน เพราะมันชื่อมาร์คเหมือนกัน คือ Mark Atipat และ Mark O’Grady ก็เลยเป็น Mark A และ Mark O Mark A ผมเห็นมันตั้งแต่กลับจาก อเมริกาใหม่ๆ สมัยปาร์คชมพูทเี่ อกมัย เปิดใหม่ๆ(ประมาณ 2ปีกว่า) ผมกับ พี่เก่งเห็นมันเล่นสไตล์ดี ก็เลยเรียก มาคุย ชวนกันถ่ายวิดีโอ และพอได้ ทำ�งานกับพรีดวิ้ ซ์ ก็เลยเอาฟุตเทจ ที่ถ่ายมาร์ค เอ มาก่อนหน้านี้ ให้ไซ ม่อนดู แล้วไซม่อนก็บอกว่าทำ�วิดโี อ ทีมร้านเลยดีกว่า เลยชวน Mark A เข้าทีมร้าน ส่วน Mark O คิคว่าน่า จะเป็น ไซม่อน ที่ ชวนเข้ามา เพราะ ก่อนหน้านี้ ไซม่อนก็ให้ซื้อของลด ราคาอยู่แล้ว ลองออกไปถ่ายวิดีโอ ด้วยกันแล้ว สนุก ฟุตเทจออกมาดู ดี มันขยัน เราเห็นพัฒนาการมัน ชัดเจน จริงๆก็เหมือนกับเราลอง ถ่ายกับเด็กใหม่ๆ ซึ่งไม่ใช่แค่สอง มาร์คนี้ มีคนอืน ่ ด้วย ถ่ายกับหลาย คน แต่สองคนนีม ้ ฝ ี ม ี อ ื ผ่าน และเข้า กับคนอื่นๆในทีมได้ ทุกอย่างก็เลย ลงตัวกลายเป็น สองมาร์ค ทีม ่ าใหม่ Tao : ในฐานะที่ เจนเป็นคนดูแลและ ก็ทำ�โปรเจคนี้ทั้งหมด ตั้งใจอยาก ให้ วิดีโอออกมาแบบไหน ? Jane : จริงๆทีจ ่ ะฉายในงาน Again วันที่ 24 พฤษจิกายน นี้ มีสองอัน คือ ทีมร้าน พรีดวิ้ ซ์ และ พาร์ทของ ไฮ พระรามแปด(Hi Again) เลย พยายามจะตัดให้ออกมาไม่เหมือน X-trem magazine - 74 -


กัน แยกเวลาการตัดต่อของแต่ละ แล้วก็ให้ในเอเชียดูมากกว่า ว่าตอน อันออกไปเลย พยายามจะใช้เทคนิค นี้เราไปถึงไหน เด็กรุ่นใหม่เราไปถึง ในการตัดต่อและถ่ายต่างกัน ไหน อยากให้มันป็นเอกลักษณ์ใน แบบของพรีดิ้วซ์ Tao : พอมี เดทไลน์ สำ�หรับวิดีโอ ทีมร้านอันนี้ รู้สึกยังไง แล้วทำ�งาน Tao : ขอเข้าถึงเรื่องการตัดต่อ หน่อย ได้ข่าวว่า พอเข้าช่วงนี้ ช่วง ยังไงในเวลาสั้นๆแบบนี้ ? Jane : ผมเป็นคนตั้ง เดทไลน์เอง ตัดต่อ เจน จะไม่ดู วิดีโอสเก็ตใหม่ๆ คือสิ้นเดือน พฤษจิกายนนี้ และ มี เลย ทำ�ไมอะ ? เวลาประมาณ สองเดือน ไม่ได้ตง ั้ ใจ Jane : 555555 ใช่ผมเป็น แต่ไม่ได้ ให้มันเหมือนวิดีโอเมืองนอก ท่าไม่ เป็นกับทุกวิดีโอ เป็นแค่วิดีโอของ ต้องยากอะไรขนาดนั้น แต่ก็ไม่ให้ Patrik Wallner น่าเกลียด เป้าหมายจริงๆ ต้องการ ดึงสไตล์ของเด็กสเก็ตของแต่ละคน Tao : เอ้า! ทำ�ไมเป็นแค่วิดีโอของ ่ จะมีวด ิ โี อ Meet The ออกมามากกว่า ช่วยกันหาว่าแต่ละ Patrik (Pat เพิง Stans ออกมาใหม่ แ ต่ เจนไม่ยอมดู) คนชอบเล่นกันสไตล์ไหนแบบไหน เช่น Jane : ผมรู จ ้ ก ั งาน Pat มานานแล้ว Mark O ชอบเล่นแฮนด์เรียว และเล่น ตั ง ่ แต่ อ ยู เ ่ มกา บั ง เอิ ญ เห็ นจากเวป ได้ดี ก็จะได้ชว่ ยหาสปอร์ตทีเ่ หมาะกับ www.visualtraveling.com เค้าเดิน มัน จะได้เป็นแนวสำ�หรับการทำ�วิดโี อ ทาง เล่ น สเก็ ต บอร์ ด แล้ ว ก็ ถ่ ายรูป อันอืน ่ ต่อไปของพวกมัน แต่สว่ นตัว การมีเดทไลน์มน ั เพิง ่ มามีผลกระทบ ด้วย ซึ่งผมก็ชอบถ่ายรูปมาก่อน ช่วงใกล้ๆนีแ้ หละ เพราะ โปรโมทแล้ว แล้วบังเอิญที่ Pat ได้มาทำ�งานถ่าย จะฉายพร้อม Again ใน วันที่ 24 Chaiyo ให้ พรีดวิ้ ซ์ เราเหมือนดูงาน พฤษจิกายนนี้ แต่วิดีโอยังไม่เสร็จ เข้ามาตลอด ชอบในหลายๆช๊อต นีแ่ หละกดดัน ซึง ่ เหลืออีกแค่ไม่กวี่ น ั ของเค้า พอจะทำ� ตัดต่องานสเก็ต กลัวว่าถ้าไปดูวด ิ โี อใหม่ของเค้าแล้ว Tao : ตอนนี้ไปได้กี่เปอร์เซ็นละ ? จะมี อิธิพลกับการตัดต่องานของ Jane : ตอนนี้ประมาณ 80% จริงๆ เรา อยากดึงสไตล์ของตัวเองออก ตัง ้ ใจอยากให้เด็กสเก็ตไทยดู ในสไตล์ มาให้ได้มากที่สุด กับอุปกรณ์เท่าที่ แบบพรีดวิ้ ซ์ สตรีทสเก็ตทีเ่ ราขึน ้ ชือ ่ เรามี ใช้มันให้ได้ประโยชน์มากที่สุด X-trem magazine - 75 -

น่าจะดีสุดสำ�หรับเราตอนนี้ Tao : งั้นก็ตัดปัญหาโดยการไม่ดู วิดีโอเค้า ก่อนที่เราจะตัดงานของ เราเสร็จ ? Jane : ใช่ ก็ไว้รอดูทเี ดียว จะได้เคลียร์ ในใจ ชื่นชมงานเค้าได้เต็มที่ Tao : โอเช งั้น Top 3 วิดีโอสเก็ต ของเจนชัย ? Jane : 1. Hot Chocolate 2. Baker 3 3. Element Future Nature Tao : คำ�ถามสุดท้าย เป้าหมายต่อ ไป หลังจากโปรเจคนี้ ? Jane : ตอนนี้กำ�ลังทำ�พาร์ท พี่เก่ง แล้วก็ พี่เลิศ เป็น full part HD ซึ่ง มันอาจจะนานหน่อย เป็นโปรเจค ของพรีดวิ้ ซ์ ได้คย ุ กับเค้าสองคนนี้ ไว้แล้ว และแต่ละคนบอกว่า งานนีจ ้ ะ จัดให้หนักกว่าเดิมเต็มกว่าเดิม อาจ จจะช้าแต่จะจัดเต็มจริงๆ สองคนนี้ ซีเรียสมากเค้าวางแผนไว้เลยว่าจะไป เล่นท่าไหนทีส ่ ปอร์ตไหน รับรองเลย ว่ามีอะไรใหม่ๆแน่นอน และยังมี full part ของ อ๊อด ด้วย ซึ่งก็คงแรง ไม่แพ้กน ั แล้วก็จะมีโปรเจคส่วนตัวที่ รวมฟุตเทจเพื่อนๆหลายๆคน เป็น วิดีโอประจำ�ปีอย่างที่เคยทำ�มาแล้ว


แชมป์ออลี่ เด็กหน้าใหม่ที่เพิ่งจะ เข้าทีม พรีดิ้วซ์ สดๆร้อน กับวิดี โอพาร์ท อันแรกในชีวิต ที่ต้อง พิสูจน์ ตัวเอง ของ Mark A Tao : ตลกดีวะ เค้าเรียกมึง Mark A กับ Mark O เหมือนกล้วยหอม เอ บี เลย เคยดูป่าว Mark A : 5555 เออ... ได้อยู่นะ Tao : มันมีหลายมาร์คนะ สับสน ไหมเวลาคน เรียก Mark A : สับสน ครับ เมื่อก่อน เรียก มาร์ค หันกันสองคนตลอด ไม่รู้เรียกเรารึป่าว Tao : เป็นใครมาจากไหน เล่น ที่ไหน มี สปอนเซอร์ อะไรบ้าง เล่า ให้ฟังหน่อย Mark A : ชื่อ มาร์ค อธิปัตย์ (Mark Atipat) เป็นคนกรุงเทพ เล่นสเก็ตอยู่หัวหมาก สปอนเซอร์ ตอนนี้ก็มี ได้ Vans, Preduce Team Shop, Atta Tao : งี้ก็ หัดเล่นมา ตั้งแต่ยุค ลานหน้าหัวหมากเลยดิ Mark A : ครับ Tao : เห็นเล่น ออลี่ แน่นมาก ได้ แชมป์ออลี่มาด้วยนิ ทำ�ไงให้ออลี่ สูงอะ Mark A – ไม่รู้พี่ 555 สงสัยเล่น พื้นเหี้ยๆหน้าหัวหมากมามั้ง พอ เจอพื้นเรียบๆก็เลยเล่นง่าย แต่ จริงๆเพิ่งมาได้สูงๆ ปีสองปีนี้ แหละ ก็มีฝึกข้ามของ ออลี่ขึ้น ออ ลี่ไกล เมื่อก่อนก็หัดข้ามแต่ 3แผ่น แต่พอลองตั่ง4แผ่น มันข้าม 4แผ่นครึ่งมันก็ข้าม จากนั้นก็เลย ได้เลย Tao : ไปเห็นที่ไหนมา วะ ว่าต้อง ฝึก ออลี่ สูง ออลี่ไกล Mark A : ชอบดู Andrew Brophy ออลี่ต้องคนนี้เลย Tao : ตอนนี้เป็น Team shop ของพรีดิ้วซ์ ด้วย เล่าให้ฟังหน่อย ว่า ก่อนหน้านี้รู้จักพรีดิวซ์ได้ยังไง Mark A - วิดีโอ Smooth พี่ ผมรับได้ ไซม่อนโยนแจกที่งาน นครสวรรค์ Tao : 55555 จริงเดะ

Mark A : จริงพี่ ผมกระโดดรับได้ Tao : เข้าเรื่องหน่อย ก่อนหน้านี้ เคยมี คลิป มีวิดีโอของตัวเองมา บ้างรึยัง Mark A : ไม่มีพี่ ถ่ายกับ พี่เจน อันนี้ อันแรกเลย เจอพี่เจนตอนไป งานฉายวิดีโอ QP Loosen ไหล แล้วก็นั้นแหละเค้าชวนไปถ่ายไหน ก็ไป Tao : ตอนนี้ พาร์ทกำ�ลังจะเสร็จ ละ เวลามาดูเจนตัดต่อ มาเห็นฟุต เทจตัวเองบนจอ รู้สึกไงบ้าง Mark A : ชอบพี่ เจ๋งดี ไม่เคยดู ตัวเองในจอ ชอบพี่ เท่ดี Tao : เล่าให้ฟังหน่อย ทำ�งานกับ เจน เป็นไงบ้าง ทำ�อะไรกันบ้าง Mark A : บ้านผมอยู่ใกล้ พี่เจน ก็ จะนัดกันช่วงบ่าย เจอกันปากซอย บ้านพี่เจน แล้วก็ไปสปอร์ตกัน ช่วงนี้ก็จะออกบ่อยหน่อย อาทิตย์ ละ 3-4 วัน แต่ก่อนหน้านี้ก็ไม่บ่อย เท่านี้ ตอนนี้มันมีเดทไลน์ ใกล้แล้ว ด้วย พี่เจนก็เร่ง ก็กดดันหน่อย ตอนถ่ายกันก็มีพี่เจนแนะนำ� ช่วย เลือกท่า ก็มีได้บ้างไม่ได้บ้าง 5555 ตอนนี้ยังไม่ครบเลย ที่ อยากได้ ยังเหลืออีก เหลือเวลา อีกไม่กี่วันแล้ว Tao : มีท่าไหนไหมที่ได้มา ยากๆ แต่ก็ได้มาแล้ว Mark A : มีอันนึงที่ แปดริ้ว ฉะเชิงเทรา นั้นแหละพี่ ไป 3 ครั้ง ไปเล่นท่าเดียว ครั้งแรกเกือบลง แต่เจ็บก่อน ครั้งที่สอง ไปเล่นแป๊บ เดียว ก็เจ็บเลย 5555 ครั้งที่สาม ทีแรกก็กลัวๆ เลยค่อยๆวอร์ม ก่อน ไม่ใส่เลย แต่พอมั่นใจก็ใส่เลย แล้วก็ได้มา ดีใจมาก เพราะอยาก ได้ท่านี้ในวิดีโอมาก Tao : แล้วกับ Vans จะมีวิดีโออะไร ให้เราดูไหม Mark A : ยังไม่มีพี่ แต่คนเล่นอะ อยากทำ�อยากออกสปอร์ตอยาก ถ่ายวิดีโอ แต่ก็ยังไม่รู้ว่าเค้าจะทำ� อะไรกันบ้าง Tao : พูดถึงคนอื่นๆในวิดีโอนี้ หน่อย Mark A : กับพี่ Bomb ไม่ค่อยได้ X-trem magazine - 76 -

เจอเลย ส่วน พี่ Peter กับ Mark O ก็เล่นด้วยกันประจำ� ชอบโดนพี่ Peter แกล้ง ไอ้ Mark O มันชอบ เล่นเหล็ก ในวิดีโอน่าจะมีอะไรโหดๆ เจ๋งเยอะ Tao : โอเค หวังว่า วิดีโอพาร์ทนี้ จะออกมา ดี อย่างที่ชอบกัน ? Mark A : ครับผม ขอบคุณครับ สวีสดีครับ


X-trem magazine - 77 -


X-trem magazine - 78 -


X-trem magazine - 79 -


X-trem magazine - 80 -


X-trem magazine - 81 -


X-trem magazine - 82 -


X-trem magazine - 83 -


X-trem magazine - 84 -


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.