www.fiberglassthai.com
1
ThaiComposites ฉบับที่ 5 พฤษภาคม-สิงหาคม 2560 Issue 5, May-August, 2017 ภายใตการกำกับดูแลของ สมาคมไทยคอมโพสิท กรมสงเสริมอุตสาหกรรม
Composites Industry 4.0 from cloud to ground technology
W W W. F I B E R G L A S S T H A I . C O M
นิตยสารไทยคอมโพสิท
THAI COMPOSITES MAGAZINE
2
The company is very much the technology leader. In addition to being the first
The Proven High Performance Sandwich Core
E-mail: info@au.diabgroup.com
company to introduce core kits, it has been in the vanguard of new
China Tel +86 (0)512 5763 0666 E-mail: info@cn.diabgroup.com
environment-friendly processing developments such as DIAB Core Infusion Technology™.
Denmark Tel +45 48 22 04 70 E-mail: info@dk.diabgroup.com France Tel + 33 (0)5 56 47 20 43 E-mail: info@fr.diabgroup.com
high performance composite materials and an extensive range of technical support services.
Germany Tel +49 (0)511 42 03 40 E-mail: info@de.diabgroup.com India Tel +91 (0)44 42 31 67 68 E-mail: info@in.diabgroup.com
Divinycell is a registered trademark of DIAB International AB. All content in this publication is protected under international copyright laws.
www.neo.co.th 3
Italy Tel +39 0119 42 20 56 E-mail: info@it.diabgroup.com
©DIAB February 2008
Norway Tel +47 66 98 19 30 E-mail: info@no.diabgroup.com
High strength to weight ratio Excellent fatigue strength
Poland Tel: +48 602 449 660 E-mail: info@pl.diabgroup.com
Good adhesion / peel strength
Spain Tel +34 661 373 267 info@es.diabgroup.com
Compatible with all main resin types
Sweden Tel +46 (0)430 163 00 E-mail: info.se@se.diabgroup.com
High thermal stability Small cell size
Thailand Tel +66 (0)38 465 388 E-mail: info@th.diabgroup.com
Thermoformable
Taiwan Tel +886-2-27576330 E-mail: info@tw.diabgroup.com
Low water absorption Good insulation values
United Kingdom Tel +44 (0)1452 50 18 60 E-mail: info@uk.diabgroup.com
This data contained in this publication may be subject to revision and changes due to development and changes of the materials. The data is derived from tests and experience. The data is average data and should be treated as such. Calculations should be verified by actual tests. The data is furnished without liability for the company and does not constitute a warranty or representation in respect of the materials or their use. The company reserves the right to release new data in replacement.
If your country is not listed above, please check our web site for details of your nearest DIAB distributor or agent.
Ultra-wide density range Divinycell H SB-Eng-2.08- Rev.1.0
USA Tel +1 (972) 228-3500 E-mail: info@us.diabgroup.com
Z E
W W W. F I B E R G L A S S T H A I . C O M
ผูนำเขา และตัวแทนจัดจำหนาย วัสดุคอมโพสิท ทุกชนิด We have always been much more than just a materials supplier. To this end
we look to establish long-term partnerships with our customers by providing
1. วัสดุเสริมแรง CORE MATERIALS 1. แผนรังผึ้ง Nidaplast 2. พีวีซี โฟม Diab 3. คอรแมน Lantor 4. พียู โฟม PU Foam
2. เรซิ่นสำหรับทำโมลด TOOLING RESIN 1. เรซิ่นทำโมลดชนิดไมหดตัว Nord Composite 2. เจลโคตทำโมลดไวนิล 3. เรซิ่นและเจลโคตโพลีเอสเตอร Major resin 4. อีพ็อกซีเรซิ่น Aditiya
3. เครื่องพนเจลโคดและใยแกว เครื่องฉีดเรซิ่น LRTM - NJ Robinson
4. วัสดุสำหรับงานแว็คคัม ทุกชนิด Bagging fiFilm, Peel ply, Breather, Flow media, Sealant tape Diatex
5. ใยแกว ผาคารบอน และวัสดุสำหรับงานไฟเบอรทุกชนิด - Toxonic, Formosa, Protech, Jushi
6. น้ำยาถอดแบบ สูตรน้ำ ชนิดกึ่งถาวร Semi-permanent, Sealer, Cleaner Axel Plastic
บริษัท นีโอเทค คอมโพสิท จำกัด C O
M
P
O
S
I
T
E
139 ซอยพระยาสุเรนทร 30 ถ.พระยาสุเรนทร แขวงบางชัน เขตคลองสามวา กรุงเทพฯ โทร: 02-517-4955-6, 086-374-6588, 081-686-2922, 086-374-6588, 086-315-2433 แฟกซ: 02-517-4957 Email: nattawut@neo.co.th Website: www.neo.co.th
THAI COMPOSITES MAGAZINE
4
EDITOR'S TALK
ข
อแสดงความยินดีกบั คุณดนู โชติกพานิช ทีไ่ ด้รบั เลือกจากคณะกรรมการสมาคมไทยคอมโพสิท ให้ดำ�รงตำ�แหน่งนายกสมาคมฯ เป็นวาระที่สอง ซึ่งท่านได้ช่วยผลักดันให้ทางสมาคมฯ ได้เป็นที่รู้จัก และ ไว้วางใจจากหน่วยงานภาครัฐเป็นอย่างสูง อาทิเช่น กรม ส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม และหน่วย เชื่อมโยงพัฒนาอุตสาหกรรม สำ�นักงานส่งเสริมการลงทุน เป็นต้น
ผลิต และวัสดุคอมโพสิทใหม่ๆ ทั้งในประเทศและต่าง ประเทศ รวมไปถึงบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องที่เขียนขึ้นโดยผู้ เชี่ยวชาญในสาขานั้นๆ โดยเฉพาะ
ในฉบับนี้เราจะได้อ่านภาคต่อของบทความ “บทบาทของ วัสดุคอมโพสิทต่ออุตสาหกรรมยานยนต์ในอนาคต” โดย ผศ. ดร.สนติพีร์ เอมมณี ที่ท่านได้เกริ่นนำ�ความ จำ�เป็น และบทบาทในปัจจุบัน รวมถึงอนาคตของวัสดุคอม โพสิท ในทั้งอุตสาหกรรมการบิน พลังงานลม และยาน ตลอดปี 2559 ที่ผ่านมา ทางสมาคมฯ ยังคงมีกิจกรรม ยนต์ ไว้อย่างน่าติดตามในตอนที่แล้ว คงจะได้กล่าวในราย เพื่อส่งเสริมการพัฒนาการผลิตให้กับท่านสมาชิก คือ ละเอียดที่น่าสนใจ ให้น่ารู้มากยิ่งไปกว่าเดิมในส่วนของอุตการอบรมการผลิตชิ้นงานด้วยกรรมวิธีแบบต่างๆ และ สาหกรรมยานยนต์ โดยเฉพาะในภาคต่อนี้ ผลิตภัณฑ์รูปแบบต่างๆ และยังจะเพิ่มกิจกรรมการอบรม ให้เข้มข้นมากยิ่งขึ้นในปี 2560 โดยได้มีการวางตารางการ นอกจากนั้น ทางสมาคมฯ ยังได้ คุณรัฐนันท์ อินทรนิวาส สอนประจำ�เดือนไว้อย่างหลากหลาย อาทิเช่น คอร์สอบรม (คุณโบ๊ท) หุ้นส่วนผู้จัดการ หจก. นาวาเลียนคอมโพสิท การผลิตประตูไฟเบอร์กลาส ชิ้นส่วนประดับยนต์จาก เจ้าของรางวัลผลงานยอดเยี่ยม จากงาน SolidWorks คาร์บอนไฟเบอร์ เฟอร์นิเจอร์รูปแบบต่างๆ อุปกรณ์จัด Thai User Conference 2006 โดยสถาบัน SolidWorks สวน รวมไปถึงน้ำ�ตกเทียมอันซับซ้อน ทั้งนี้เพื่อส่งเสริมการ Thai Society มาเขียนบทความแบ่งปันความรู้ในเรื่องการ พัฒนาและออกแบบผลิตภัณฑ์ให้กับท่านสมาชิก เป็นการ ออกแบบเรือสำ�หรับคนทั่วไป ให้กับท่านสมาชิกที่สนใจได้ใช้ ช่ ว ยประชาสั ม พั น ธ์ ถึ ง ศั ก ยภาพของวั ส ดุ ค อมโพสิ ท ที่ เป็นแนวทางในผลิตเรือให้เป็นไปตามหลักการที่ถูกต้อง หรือ สามารถนำ�ไปสร้างสรรค์ชิ้นงานได้มากมายในหลากหลาย นำ�ไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาการออกแบบผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรมแก่ผู้สนใจทั่วไปอีกด้วย อื่นที่คล้ายคลึงกันได้ ท้ายนี้ ผมในฐานะตัวแทนผู้จัดทำ� วารสารฉบับนี้ก็เป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมหลักของสมา วารสารขอกล่าวคำ�ว่า “ขอบคุณ” สำ�หรับทุกท่านที่ส่งเสริม คมฯ ที่จะใช้เป็นหนึ่งในสื่อหลักในการให้ข้อมูลข่าวสารใน สนับสนุน ติดตาม และติชมการจัดทำ�วารสารไทยคอมโพสิทมา แวดวงคอมโพสิทในประเทศไทยไปยังเหล่าสมาชิกและผู้สนใจ อย่างต่อเนื่อง เราจะยังคงจัดหาเนื้อหาดีๆ อย่างนี้มาให้ท่าน รวมถึงแนวโน้มการพัฒนา ทั้งการออกแบบเทคโนโลยีการ ได้อ่านอย่างต่อเนื่องแน่นอน แล้วพบกันใหม่ฉบับหน้าครับ
จุติ เพียรล้ำ�เลิศ อุปนายกสมาคม
W W W. F I B E R G L A S S T H A I . C O M
5
THAI COMPOSITES MAGAZINE
Content s 6
5Edititor's Talk 7Board of Committee 8TCA's Activities 5Training Activities 12Composites in The World 14Composites Activities 16Composites Knowlage 20Composites News Investment 22Automotive 26Composites Technology 30Composites Nano 34Composites Report
สมาคมไทยคอมโพสิท อาคารปฏิบัติการไฟเบอร์กลาส กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ซอยตรีมิตร ถนนพระราม 4 แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 Thai Composites Association Fiberglass Lab Center, Department of Industrial Promotion. Soi Trimitr Rama 4 Rd., Klong Toey, Bangkok 10110 Thailand. Tel.+662 713 5033 Fax.+662 713 5032 Email. thaicomposites@gmail.com Website. www.fiberglassthai.com
BOARD OF COMMITTEE คณะกรรมการบริหาร ปี 2560-2561
ดนู โชติกพนิช นายกสมาคม ธนชัย อำ�นวยสวัสดิ์
จุติ เพียรล้ำ�เลิศ
ผศ.ดร.สนติพีร์ เอมมณี
ณัฐวุฒิ ชัยญาคุณาพฤกษ์
รัฐนันท์ อินทรนิวาส
วรางค์ศิริ ศศิทวีวัฒน์
ประพิณ เพิ่มอารยวงศ์
อุทัย จารุปราโมทย์
อรอนงค์ ใจเย็น
ชัยพล เขมปัญญานุรักษ์
อธิษฐ์ จิรพงศานานุรักษ์
กฤษณะ เลขานุกิจ
จีราภรณ์ วงศ์ชัยพานิชย์
ธวัชชัย จารุกิจจรูญ
ณัฐนันท์ ศิริรักษ์
ดร.ณัฐไชย นะวิโรจน์
พรรณวดี กราพพ์
อุปนายก
อุปนายก
นายทะเบียน
กรรมการ
อุปนายก
อุปนายก
ประชาสัมพันธ์
กรรมการ
เลขาธิการ
กรรมการ
กรรมการ
เหรัญญิก
กรรมการ
กรรมการ
ปฏิคม
กรรมการ
กรรมการ
W W W. F I B E R G L A S S T H A I . C O M
7
THAI COMPOSITES MAGAZINE
TCA'S Activities 8
กำ�หนดการฝึกอบรม ประจำ�ปี 2560 จัดโดยสมาคมไทยคอมโพสิท
การทำ�ประตู ไฟเบอร์กลาส 8-9 พ.ค. 60
ชิ้นส่วนรถยนต์ จากวัสดุคอมโพสิท 22-26 พ.ค. 60
อ่างล้างหน้า ด้วยวัสดุคอมโพสิท 5-9 มิ.ย. 60
เก้าอี้ คาร์บอนไฟเบอร์ 27-29 มิ.ย. 60
ปี่เซี๊ยะหยก ด้วยเรซิ่นหล่อ 11-13 ก.ค. 60
Case IPHONE by Carbon Fiber 25-26 ก.ค. 60
การเลียนแบบ ผิวเปลือกไม้เทียม 8-10 ส.ค. 60
หลังคา ไม่ใช้โครงสร้าง GPC 29-30 ส.ค. 60
งานหล่อ พระพุทธรูปใส 25-26 ต.ค. 60
น้ำ�ตก บ่อปลา 6-10 พ.ย. 60
ชิ้นส่วนรถแข่ง จากวัสดุคอมโพสิท 21-23 พ.ย. 60
โต๊ะหินสนาม 12-15 ธ.ค. 60
TCA’S Agenda การทำ�มาสคอต ไฟเบอร์กลาส 4-8 ก.ย. 60
แผ่นหน้า โต๊ะครัว 19-20 ก.ย. 60
ชิ้นส่วนบิ๊กไบค์ ด้วยคาร์บอนไฟเบอร์ 10-12 ต.ค. 60
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ สมาคมไทยคอมโพสิท อาคารปฏิบัติการไฟเบอร์กลาส ซอยตรีมิตร กล้วยน้ำ�ไท คลองเตย กทม โทร. 02 713 5033 E-mail : thaicomposites@gmail.com http//www.facebook.com/thaicomposites2538 หมายเหตุ หลักสูตรดังกล่าวอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม : รูปภาพประกอบเพื่อการโฆษณาเท่านั้น
MK POLYESTER RESIN CO ., LTD.
ผูนําเขาและจัดจําหนาย โพลีเอสเตอร เรซิ่น
• เรซิ่นสําหรับงานหลอ หลอใสและหลอทั่วไป • เรซิ่นสําหรับงานไฟเบอรกลาส • เรซิ่นทนกรด เกรด ISO • เรซิ่นทนกรด เกรด ไวนิล เอสเตอร • เรซิ่นสําหรับงานเคลือบผิว • อีพอ กซี่เรซิ่น งานเคลือบและงานคารบอน • เจลโคต และ TOOLING GEL
ตัวแทนจําหนาย ฮาต AKZO NOBEL
• ฮาต BUTANOX M-60, BUTANOX M-50 • มวง COBALT 10%, RP-51, PROMOTER A
ใยแกว
• ใยแกวผืน CHOPPED STRAND MAT • ใยแกวผาทอ GLASS FABRICS • ใยแกวตาสาน WOVEN ROVING • ใยแกวเสนดาย ROVING • ใยคารบอน CARBON FABRIC
ยางซิลิโคนถอดแบบ
• ยางซิลิโคน MK 585, MK 586, MK 303 • ยางซิลิโคน SILASTIC 3481, 3483 • ยางซิลิโคน ELASTOSIL M4503 • และยางซิลิโคนเกรดพิเศษ
โซเวนทและวัสดุอปุ กรณตางๆ
• สไตรีน โมโนเมอร • อาซีโทน, ทินเนอร • วัสดุและอุปกรณตางๆสําหรับงานไฟเบอร
จําหนายทั้งปลีกและสง
บริการ ใหคําแนะนําและปรึกษา ฟรี!
บ.เอ็มเค โพลีเอสเตอร เรซิ่น จก.
27/12 หมู 1 ต.บางน้ําจืด อ.เมืองสมุทรสาคร จ.สมุทรสาคร 74000 โทร. 034 441 544 หรือ 088 809 5267-71 แฟกซ. 034 813 831 www.mkresin.com
W W W. F I B E R G L A S S T H A I . C O M
บริษัท เอ็มเค โพลีเอสเตอร เรซิ่น จํากัด
9
THAI COMPOSITES MAGAZINE
10
Act ivit ies อบรม 3D Printing
for Furniture and Composite Product
2
2-24 กุมภาพันธ์ 2560 สมาคมไทย คอมโพสิท ร่วมกับส่วนอุตสาหกรรม เครือ่ งเรือน กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม จัดการฝึกอบรมหัวข้อเรือ่ ง “3D Printing for Furniture and Composite Product” ณ อาคารปฏิบตั กิ าร ไฟเบอร์กลาส กล้วยน้�ำ ไท เป็นการเปิด อบรมฟรี ไม่มคี า่ ใช้จา่ ย ซึง่ ได้รบั ผูส้ นใจร่วม อบรมเป็นจำ�นวนมาก และได้รบั ความรูพ ้ น้ื ฐานของ การพิมพ์แบบสามมิติ ไปจนถึงวิธกี ารปรับใช้เพือ่ งาน ออกแบบในหลากหลายสาขา ส่งผลต่อความเป็นไปได้ สำ�หรับธุรกิจสร้างสรรค์ในอนาคต งานนีไ้ ด้รบั เกียรติ จาก คุณธวัชชัย อาทรกิจ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั บลูโอเซีย่ น จำ�กัด เป็นวิทยากรให้ความรูท้ ง้ั ลงมือปฏิบตั ิ จริงในครัง้ นีด้ ว้ ย
การทำโคมไฟ ด วยวัสดุคอมโพสิท
2
1-23 มีนาคม 2560 สมาคม ไทยคอมโพสิทได้ จัดหลักสูตรอบรมหัวข้อ การ ทำ�โคมไฟด้วยวัสดุคอมโพสิท จัดที่ อาคารปฏิบตั กิ ารไฟเบอร์กลาส กล้วยน้�ำ ไท กรุงเทพ จุดมุง่ หมายการอบรมเพือ่ ให้ผอู้ บรมเกิดความเข้าใจ ใน การทำ�ชิน้ งานโคมไฟจากวัสดุคอมโพสิท จนถึงวิธกี ารปรับใช้เพือ่ งาน ออกแบบในหลากหลายสาขา อันจะนำ�ไปประยุกต์ใช้กบั งานออกแบบผลิตภัณฑ์ สถาปัตยกรรมและการนำ�ไปต่อยอดใช้ในงานสาขาอืน่ ๆ โดยผูอ้ บรมจะได้รบั การ ความรูท้ ง้ั ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ทิ �ำ งานจริงตลอดการอบรม และได้รบั วุฒบิ ตั รจาก สมาคมฯ เมือ่ ผ่านการอบรมทัง้ 3 วัน
W W W. F I B E R G L A S S T H A I . C O M
11
อบรมการทำน้ำตกจำลองขนาดเล็ก สำหรับจัดสวนในบ านด วยวัสดุคอมโพสิท
เ
มือ่ เดือนธันวาคม 2559 ทีผ่ า่ นมา จัดโดยสมาคมไทยคอมโพสิท เพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้มีทักษะและความรู้ในการทำ�ชิ้นงานเพิ่มมาก ยิง่ ขึน้ ในภาคทฤษฏี จะได้รบั ความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับผลิตภัณฑ์ คอมโพสิท การทำ�หินเทียมด้วยวัสดุคอมโพสิท การขึน้ รูปหิน น้�ำ ตกจำ�ลอง และภาคปฏิบตั คิ อื การทำ�หินน้�ำ ตกจำ�ลองและ การตกแต่งชิน้ งาน การอบรมจัดขึน้ ที่ อาคารปฏิบตั กิ ารไฟ เบอร์กลาส กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ถ.พระราม 4 คลองเตย กทม. สนใจการอบรมทีน่ า่ สนใจติดต่อได้ท่ี 02 7135033
THAI COMPOSITES MAGAZINE
12
in t he World Hutchinson more and more composites ฮัทชินสัน : คอมโพสิทมากขึ้น และมากขึ้น ด้วยการซื้อกิจการของอุตสาหกรรมคอมโพสิตเมื่อเดือนกันยายน บริษัทฮัทชินสัน กรุ๊ป แสดงให้เห็นถึง ความสนใจในวัสดุคอมโพสิทที่มากขึ้น ถึงแม้ว่าบริษัทฮัทชินสันนี้จะไม่ใช่ผู้ค้ารายใหม่ แต่ก็ลงทุนอย่าง สม่ำ�เสมอและนำ�เสนอโซลูชั่นที่หลากหลายแก่ลูกค้ามากขึ้นในทุกตลาดที่มีอยู่
ผลิต และซ่อมแซมวัสดุคอมโพสิท และวัสดุ คอมโพสิทที่มีโลหะเป็นส่วนผสมหลักและเป็น ผู้ผ ลิ ต ชิ้น ส่ ว นโดยตรงให้ กับ ภาคส่ ว นการ บินอวกาศ ภาคกองทัพ ภาคโทรคมนาคม และภาคการขนส่งต่อเนือ่ งหลายรูปแบบ) ซึง่ ดูเหมือนว่าอุตสาหกรรมคอมโพสิทได้มาอยู่ ภายใต้แบรนด์ฮทั ชินสันแล้ว
กลุม่ ธุรกิจ และกลุม่ ตลาดทีห่ ลากหลาย
ฮั
ทชินสัน กรุป๊ ทีเ่ รารูจ้ กั ตัง้ แต่เดือนมีนาคม พ.ศ. 2556 เกิดขึ้นจากการตัดสินใจรวมกลุ่มของ หน่วยงานทัง้ หมดภายใต้ชอ่ื ฮัทชินสัน การเปลีย่ น แปลงครัง้ นีท้ �ำ ให้บริษทั สามารถมองเห็นการเชือ่ มโยงกัน ทัง้ ภายในและภายนอกได้มากขึน้ การรวมตัวกันของ 26 แบรนด์ท่ีแตกต่างกันนั้นเป็นไปตามการพัฒนาที่เริ่มต้น ด้วยการจัดตั้งการดำ�เนินงานในต่างประเทศรวมทั้งใน ประเทศจีนและบราซิลซึ่งกลุ่มดังกล่าวดำ�เนินการภายใต้ แบรนด์ฮทั ชินสันอยูแ่ ล้ว
ในฐานะทีเ่ ป็นกลุม่ ธุรกิจหลากหลาย และมีสาย การตลาดหลายกลุม่ ทำ�ให้ฮทั ชินสัน กรุป๊ แตกต่างจากองค์กรทัว่ ไป โดยกลุม่ ธุรกิจ และหน่วยงาน ทัง้ หมดของฮัทชินสัน กรุป๊ ได้รบั ประโยชน์จากข้อมูลที่ เกิดจากกิจกรรมต่างๆ ทีห่ ลากหลาย และประสบการณ์ ด้านตลาดทีถ่ กู รวบรวมไว้ แนวคิดต่างๆ เช่น การเชือ่ ม ต่อเครือข่ายต่างๆ เข้าด้วยกัน การรวมกลุม่ การแบ่งปัน ข้อมูล รวมถึงการผสมผสานนวัตกรรมจะไม่เป็นเพียงแค่ แนวคิดอีกต่อไป แต่เป็นความจริงได้ทง้ั หมดทีก่ ล่าวมานี้ ยังเป็นปัจจัยสำ�คัญในการพัฒนาเทคโนโลยี และกระ บวน การปฏิบตั งิ านอีกด้วย
ตอนนีฮ้ ทั ชินสัน กรุป๊ เพิง่ ได้ครอบครองอุตสาหรกรรม จากมุมมองในทางปฏิบตั ิ ฮัทชินสัน กรุป๊ มีความเชีย่ ว คอมโพสิท (ผูเ้ ชีย่ วชาญระดับนานาชาติดา้ นกระบวนการ ชาญสีด่ า้ น ได้แก่ การปิดผนึก การถ่ายเทของไหล ระบบ
นวัตกรรมคือดีเอ็นเอ เหนือสิง่ อืน่ ใด ความสำ�เร็จขึน้ อยูก่ บั ความสามารถของ บริษทั ในการสร้างสรรค์วสั ดุไฮเทคใหม่ๆ และวิธกี ารแก้ ปัญหาทีช่ ว่ ยตอบสนองความต้องการของลูกค้า ในขณะ เดียวกันก็ต้องสอดคล้องกับมาตรฐานที่เข้มงวดมากขึ้น ด้วย
ตามที่ ฮัทชินสัน กรุป๊ ระบุไว้ในเว็บไซต์วา่ “ความใฝ่ฝนั ของเราคือการพยายามค้นหาแนวทางต่างๆ ทีม่ ากขึน้ เพือ่ นำ�มาเสนอต่อลูกค้าของเรา และมีบทบาทสำ�คัญใน การพัฒนาวัสดุส�ำ หรับอนาคต เราเชือ่ มัน่ ว่าอนาคตขึน้ อยูก่ บั การรวมกันของฟังก์ชนั ต่างๆ การทำ�ให้วสั ดุ และ การทำ�งานของวัสดุสอดคล้องกันเพือ่ ทีจ่ ะสร้าง ‘วัสดุฉลาด
(smart material)’ นัน่ ก็คอื การปรับให้เหมาะสมกับความ ต้องการในการใช้งานต่าง ๆ ของผลิตภัณฑ์ “ เพือ่ ทีจ่ ะบรรลุวตั ถุประสงค์น้ี วิศวกร และช่างเทคนิคกว่า 200 คน กำ�ลังทำ�งานอยูท่ ศ่ี นู ย์วจิ ยั ฮัทชินสันใน Montargis ประเทศฝรัง่ เศส เป็นสถานทีเ่ ก่าแก่ของฮัทชินสัน กรุป๊ ซึง่ ก่อตัง้ เมือ่ ปี พ.ศ. 2396 ศูนย์วจิ ยั กลางนีใ้ ห้การ สนับสนุนศูนย์วจิ ยั เชิงเทคนิค 27 แห่งทัว่ โลกซึง่ มีหน้าที่ ตอบสนองความต้องการของลูกค้า และออกแบบวิธกี าร แก้ไขปัญหาทีเ่ ชือ่ ถือให้กบั ลูกค้า ลำ�ดับความสำ�คัญหลัก สามประการของทีน่ ค่ี อื วัสดุ กระบวนการผลิต และระบบ ความสามารถทั้งหมดถูกระดมมาเพื่อแก้ไขปัญหาความ ท้าทายทางอุตสาหกรรมที่สำ�คัญของตลาดฮัทชินสัน ไม่วา่ จะเป็น การลดน้�ำ หนักของผลิตภัณฑ์ การจัดการ พลังงาน ระบบวิศวกรรมเเมคคาทรอนิกส์ ความสะดวก สบายและความปลอดภัย รวมถึงวัสดุตา่ ง ๆ เช่น อีลาส โตเมอร์ เทอร์โมพลาสติก และวัสดุคอมโพสิท ศูนย์วจิ ยั ฮัทชินสันมีเครื่องมือที่ทันสมัยสำ�หรับกิจกรรมทุกสาขา วิชา เพือ่ ดำ�เนินการวิเคราะห์ทางเคมี การจำ�ลองเชิง ตัวเลขและการวัดอะคูสติก เพือ่ ทดสอบพฤติกรรมเชิงกล ของวัสดุ กลศาสตร์การสัน่ สะเทือน และเทคโนโลยีการ ประมวลผล ดังทีก่ ล่าวมา ศูนย์วจิ ยั ฮัทชินสันได้จดั ตัง้ โครงการวิจยั ซึง่ ถูกออกแบบมาเพือ่ สร้างความก้าวหน้าในเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณทีส่ �ำ คัญ หรือแม้กระทัง่ สร้างนวัตกรรมที่ พลิกโฉมการตลาด และสังคมโลกซึง่ อาจนำ�ไปสูก่ ารพัฒนา ด้านความเชีย่ วชาญ และสายงานธุรกิจใหม่ๆ สิง่ นีเ้ ป็น เครือ่ งมือหนึง่ ทีจ่ ะสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันของ ผลิตภัณฑ์ทจ่ี ะนำ�วัสดุคอมโพสิทมาใช้ดว้ ย ฮัทชินสัน กรุป๊ มองว่าสิง่ นีเ้ ป็นวิธกี ารทีจ่ ะตอบสนองความต้องการของ ลูกค้าด้วยแนวทางการแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้องกับความ เชีย่ วชาญทัง้ สีด่ า้ นของบริษทั ฯ เอง และยังเป็นการตอบ สนองต่อตลาดทีแ่ ตกต่างกันอีกด้วย ไม่ตอ้ งสงสัยเลย ว่าฮัทชินสัน กรุป๊ มีอะไรทีจ่ ะทำ�ให้เราประหลาดใจ เพราะ ว่าการสร้างนวัตกรรมนั้นดูเหมือนจะอยู่ในดีเอ็นเอของ พวกเขาพนักงานทุกคน ทีม่ า www.hutchinson.com แปลจาก JEC Composites Magazine January – February 2017
W W W. F I B E R G L A S S T H A I . C O M
การส่งผ่าน และการเคลือ่ นย้าย และฉนวนกันความร้อน (การสัน่ สะเทือน เสียงรบกวนและความร้อน) ฮัทชินสัน กรุป๊ มีฐานการผลิตทีม่ น่ั คงในตลาดยานยนต์ (รถยนต์ โดยสาร และรถบรรทุกหนัก) ซึง่ คิดเป็นสัดส่วน 70% ของธุรกิจ ภาคธุรกิจการบิน และอวกาศ หน่วยงานการ ป้องกันประเทศ ระบบราง พลังงาน และอุตสาหกรรม ทัว่ ไป (เครือ่ งใช้ในครัวเรือน อาคาร และอุปกรณ์กฬ ี าและ สันทนาการ) คิดเป็นอีก 30% ทีเ่ หลือ เพือ่ ทีจ่ ะรองรับ ตลาดทัง้ หมดนี้ ฮัทชินสัน กรุป๊ ต้องอาศัยพนักงานกว่า 38,300 คนทัว่ โลก โรงงานงานอุตสาหกรรม 95 แห่งใน 25 ประเทศ ศูนย์วจิ ยั ทางเทคนิค 28 แห่งและศูนย์วจิ ยั องค์กรอีกหนึง่ แห่ง
13
THAI COMPOSITES MAGAZINE
14
Composites
Act ivit ies
International Composites Conference Composites in Rail and Automotive: Trends, Innovations and Opportunities “ทิศทางวัสดุคอมโพสิทในอุตสาหกรรมระบบขนส่งทางราง และชิ้นส่วนยานยนต์”
ส
มาคมไทยคอมโพสิท ร่วมกับ JEC GROUP และ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม จัดการประชุม และ สัมมนาวิชาการ ในหัวข้อเรือ่ ง “ทิศทางวัสดุ คอม โพสิทในอุตสาหกรรมระบบขนส่งทางราง และชิน้ ส่วน ยานยนต์” ในวันพุธที่ 15 มิถนุ ายน 2559 ณ ห้องบอล รูม ชัน้ 38 โรงแรมพูลแมน จี กรุงเทพ และวันพฤหัสบดีท่ี 16 มิถนุ ายน 2559 ณ บริษทั คอบร้า อินเตอร์ เนชัน่ แนล จำ�กัด ชลบุรี โดยมีวตั ถุประสงค์มงุ่ เน้นถึงความสำ�คัญ ของการพัฒนาเทคโนโลยี และส่งเสริมความรู้ในด้าน ต่างๆ ของอุตสาหกรรม คอมโพสิท ซึ่งเชื่อมโยงไปยัง อุตสาหกรรมการขนส่งระบบราง และอุตสาหกรรมชิน้
ส่วนยานยนต์ในตลาดโลก รวมทัง้ อุตสาหกรรมอืน่ ๆ อีก มากมาย โดยการจัดงานครั้งนี้ไ ด้ รั บ เกี ย รติ จ าก Daniel Ageda, COO, JEC Group ได้แสดงวิสยั ทัศน์ ถึง ภาพ รวมของอุ ต สาหกรรม คอมโพสิ ท ระดั บ โลก รวมถึ ง วิ ท ยากรจาก หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง อีกหลายท่านมาร่วมให้ ความรู้ ใ นการจั ด งาน ครั้งนี้ด้วย ด้านคุณดนู โชติกพนิช ในฐานะนายก ส ม า ค ม ไ ด้ ใ ห้ เ กี ย ร ติ ร่ ว ม ใ ห้ ก า ร ต้ อ น รั บ พร้ อ มนำ � เยี ่ ย ม ชม กิจการของบริษทั คอบร้า ณ จังหวัดชลบุรีในวันที่สองของการจัดงาน แสดงถึง ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีการผลิตผลิตภัณฑ์คอมโพ สิทไทยทีม่ มี าตรฐานระดับสากล
Hawk Mountain (Thailand) Co., Ltd.
บร�ษัท ฮอวคเมานเทน (ไทยแลนด) จำกัด Head Office : 116/91 Nonsee Rd., Chongnonsee, Yannawa, Bangkok 10120 Tel : (66) 2 681 0283 & 4 Fax : 02 681 0258 E-mail : hawkthai@loxinfo.co.th Website : www.hawk-mountain-thailand.com Chonburi Service Center : Tel/Fax : 038 236 955-6
H.M. Thailand กอตั้งป พ.ศ. 2537 • จำหนายเคร�่องและอุปกรณเคร�่องพนเรซ�่นที่ใหญ และเกาแกที่สุด มีเคร�่องพรอมจำหนาย • มีอะไหลพรอมบร�การมากกวา 2,000 รายการ • มีการฝกอบรมการใชและการซอมบำรุง • มีบร�การหลังการขายโดยไมคิดคาบร�การ • คูมือการใชงานภาษาไทย • บร�การดานเทคนิคโดยตรงจากสำนักงานกรุงเทพฯ และอเมร�กา • เปนผูนำดานเทคโนโลยีลาสุดสำหรับเคร�่องฉีดพนเรซ�่น • เปนผูนำในดานเคร�่องพนที่มีการฟุงกระจายนอยที่สุด • จำหนายในราคายุติธรรม การผลิตไฟเบอรกลาสดวยว�ธ� Flex Molding / Silicone Bag Making
Patriot Chopper / Gelcoater RTM units : (depending on configuration)
่น นิN EวWบางใหญ่ เ รซิ BANGYAI RESIN
Ultra Max Chopper / Ultra Max Gelcoater RTM units : (depending on configuration)
ฟรี จำหนาย : ปลีก-สง ใหคำแนะนำ ปรึกษา
วัสดุและอุปกรณไฟเบอรกลาส งานหลอเรซิ่น ใยแกว, ใยผาคารบอน, ใยตาสาน, ยางซิลิโคนทำพิมพ, ยางพารา อีพ็อกซี่, โพลียูเรเทนโฟม, ขี้ผึ้ง ยาขัด, ปูนพาสเตอร, แว็กซ, ผาขัด, ลูกกลิ้งพรอมอุปกรณ
27/15 หมู 4 ถ.ตลิ่งชัน-สุพรรณบุรี ต.เสาธงหิน อ.บางใหญ จ.นนทบุรี 11140 โทร. 0-2903-3483 แฟกซ. 0-2903-1906 www.newbangyairesin.com
W W W. F I B E R G L A S S T H A I . C O M
15
Composites Knowlage
เรื่องของเรือ... สำ�หรับคนทั่วไป (ตอนที่ 1)
คุ
ณรู้มั้ยว่า “เรือ” แต่ละลำ�นั้นมีส่วนประกอบสำ�คัญๆ อะไรบ้าง นิตยสารไทยคอมโพสิทฉบับ นี้ หจก.นาวาเลียน คอมโพสิท ในฐานะที่อยู่ในวงการต่อเรือ และการออกแบบเรือทุกประเภท จะมาให้ความรู้พร้อมได้นำ�แบบจำ�ลองของ เรือตกปลา เรือไฟเบอร์ขนาดเล็กๆ มีโครงสร้างไม่ ซับซ้อน มาเป็นตัวอย่างเพื่ออธิบายถึงส่วนประกอบต่างๆ ของเรือ รวมทั้งให้เกร็ดความรู้เกี่ยวกับศัพท์ ตำ�แหน่งต่างๆ ของเรือ เช่น หัวเรือ ท้ายเรือ กาบซ้าย กาบขวา, ความรู้เรื่องรูปแบบของท้องเรือ และสูตร การคำ�นวณหาค่าจุดศูนย์กลางของเรือ สำ�หรับนำ�ไปใช้ประโยชน์ต่อการผลิตชิ้นส่วนประกอบของเรือได้ ตำ�แหน่ง และส่วนประกอบต่างๆ ของเรือ Forward Bow Deck
Starboard
Port
THAI COMPOSITES MAGAZINE
16
Keel / Structure
Hull Aft
Stern
Flat (ท้องแบน)
Shallow Vee (ท้อง วี)
MainDeck (ดาดฟ้าหลัก) LowerDeck (ดาดฟ้าชัน้ ล่าง) เป็นพืน้ ทีใ่ ช้สอยทีอ่ ยูต่ �ำ่ กว่า MainDeck (ดาดฟ้าหลัก) Keel / Structure คือโครงสร้างเรือ เป็นชิน้ ส่วนทีใ่ ช้ รองรับแรงกระทำ�ต่าง ๆ ทีเ่ กิดขึน้ ต่อตัวเรือ ซึง่ ถ้าไม่มกี าร รับแรงแล้วกระจายแรงสูโ่ ครงสร้างเรือ แรงทีเ่ กิดขึน้ ทีจ่ ดุ ใดจุดหนึง่ อาจจะมากเกินไป จนทำ�ให้เกิดความเสียหายที่ จุดนัน้ ๆ ได้ Hull คือ ท้องเรือ เป็นชิน้ ส่วนทีใ่ ช้รบั น้�ำ หนักทัง้ หมดทีอ่ ยู่ บนเรือ และทำ�หน้าทีล่ ดแรงต้านทีเ่ กิดขึน้ จากการเคลือ่ นที่ ผ่านน้�ำ ท้องเรือสามารถแบ่งออกได้หลายชนิด เช่น Deep Vee (ท้อง วี ลึก)
Round (ท้อง กลม)
ระดับน้ำ� แนวกระดูกงู ซึ่งในแต่ละประเภทของท้องเรือก็จะมีคุณสมบัตรข้อดีข้อเสียแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับ ประเภท การใช้งาน ของผู้ใช้เรือนั้น ๆ
Boat Geometry ธรรมชาติของเรือ Center of Gravity (CG.) คือ จุดศูนย์กลางมวล Center of Buoyancy (CG.) คือ จุดศูนย์กลางแรงลอย Design Water Line (DWL.) คือ ระดับแนวน้�ำ หรือการกินน้�ำ ลึกทีไ่ ด้จากการคำ�นวณ
ระดับน้ำ� แนวกระดูกงู
โดยปกติแล้วน้ำ�หนักของเรือจะต้องมีค่า เท่ากับแรงลอยตัวของเรือที่ระดับแนวน้ำ� ต่าง ๆ ติดตามฉบับต่อไป ทีจ่ ะมีค�ำ ศัพท์และรายละเอียดเรือ่ งของเรือ เพิม่ มากขึน้ รวมถึงการให้ความรูเ้ รือ่ งของจุดศูนย์ถว่ ง เรือ รวมถึงสูตรการคำ�นวณจุดศูนย์กลางมวล หรือ CG Center of Gravity (CG.) ขอบคุณข้อมูลจาก หจก นาวาเลีย่ น คอมโพสิท http://www.facebook.com/navalian
W W W. F I B E R G L A S S T H A I . C O M
Bow คือ บริเวณหัวเรือ Stern คือ บริเวณท้ายเรือ Port คือ กาบซ้าย Starboard คือ กาบขวา Forward คือ ไปทางหัวเรือ Aft คือ ไปทางท้ายเรือ Deck คือดาดฟ้าเรือ เป็ น พื้น เรื อ ที่ส ามารถใช้ งานได้ซ่ึงในแต่ละประเภทของเรืออาจจะเรียกแตกต่าง ออกไป เช่น MainDeck (ดาดฟ้าหลัก) ในเรือทีป่ ระกอบ ไปด้วยพืน้ ทีใ่ ช้สอยต่างๆ หลายชัน้ เราจะเรียกชัน้ ดาดฟ้า ทีใ่ หญ่ทส่ี ดุ หรือ เป็นดาดฟ้าทีเ่ ริม่ จากหัวเรือไปจนถึงท้าย เรือ UpperDeck (ดาดฟ้ายก) เป็นพืน้ ทีใ่ ช้สอยทีอ่ ยูส่ งู กว่า
17
THAI COMPOSITES MAGAZINE
18 FIBERGLASS
R E S I N S & G E LC O AT S
With good chemis tr y great thin gs happen.™
Derakane epoxy vinyl ester resins ™
• Derakane Momentum 411-350 • Derakane Momentum 470-300 • Derakane 8084 (Primer) • Derakane 510N (Fire Retardant)
ตัวแทนจำหนายแตเพียงผูเดียวในประเทศไทย
บริษัท เลิศวัฒนกิจ จำกัด เลขที่ 9 ซ.สุขสวัสดิ์ 50 แยก 3 ถ.สุขสวัสดิ์ แขวง/เขต ราษฎรบูรณะ กทม.10140 โทรศัพท: 02-8730480-9 โทรสาร: 02-4280556 E-mail: wdc.bkk@gmail.com Website: www.wdc-bkk.com
ตัวแทนจำหนายผลิตภัณฑของ และอื่นๆ ดังตอไปนี้ เรซิ่น เจลโคท สำหรับทำโมลด และทำเรือ โดยเฉพาะ น้ำยาเรซิ่นและใยแกว สำหรับถังน้ำมันใตดิน มี High Temp Epoxy Curing Agents and Epoxy Resin HARDENER NOROX With good chemis tr y great thin gs happen.™
W W W. F I B E R G L A S S T H A I . C O M
19
GRP pipe continuous winding technology
GRP pipe production line with internal curing system
Ultra-wide FRP lighting sheet production line
FRP waste products crush and grinding machine
ใหคำปรึกษาแนะนำฟรี โดยผูเชี่ยวชาญจากตางประเทศ
บริษัท เลิศวัฒนกิจ จำกัด ตัวแทนจำหนายเครื่องจักรและวัตถุดิบสำหรับงานไฟเบอรกลาส MACHINERY & TECHNOLOGIES FOR: • • • • • • • • • • • • • •
FLIAMENT WINDING GRC SLITTING OVEN SANDER (ALSO RETROFITTING) PULTRUSION SPRAY-UP GRINDING GEL-TIMER AERATOR RTM VERTICAL WINDING VACUUM MIXER (FOAM CEMENT) CASTING (FOR ARTIFCIAL MARBLE/CASTING INDUSTRIES)
WELL DEVELOPMENT CO.,LTD. POLGRAN SYSTEM, LATEST TECHNOLOGY FOR PRODUCING GRANITE TEXTURED EFFECT BY SIMPLY SPRAYING GELCOAT (WITHOUT FILLER) PRODUCT • • • • • • • • • • • • •
AIR RELEASE/WETTING AGEMT AR GLASS AAP (PEROXIDE) BIAXIAL/TRIAXIAL BISPHENOL RESIN CARBON FIBRE/CHOTH CHOPPED STRAND FOR BMC CHOPPED STRAND MAT/ W. ROVING COBALT, CATALYST CONTINUOUS STRAND MAT CORE AMT FOAMING AGENT (FOR CEMENT) REEMAY EPOXY RESIN
• GELCOAT • GLASS FLAKE, GLASS CLOTH/TAPE • GRANITE FILLER • SPRAY/F.WINDING ROVING • HONEY COMB • KEVLAR • MEKP DISPENSER • MOLD WIZ • MYLAR • NEXUS • CONDUCTIVE NEXUS • FIBRE FOR CONCRETE • POLYESTER RESIN ORTHO/ ISO ETC.
• • • • • • • • • • • •
PREPGE P.U. CHEMICALS PVE FOAM RTM MOULD MAKING MATERIAL SHEET WAX SILICONE/P.U. RUBBER TISSUE ‘C’ GLASS TOGGLE CLAMP SYSTEM VACUUM BAGGING MATERIALS VINYLESTER RESIN CONDUCTIVE FILLER POLYPROPYLEN (PP) COMPOSITE TIMBER
THAI COMPOSITES MAGAZINE
20
Composites
News Invest ment
High-end motorbikes eager to carbon fibre too รถจักรยานยนต์คุณภาพสูงก็อยากที่จะใช้คาร์บอนไฟเบอร์ด้วย
ถึ
งแม้ ว่ า โครงสร้ า งคาร์ บ อนไฟเบอร์ ไ ด้ ถู ก นำ � มาใช้ เ ป็ น เวลาหลายปี ใ นแวดวงการแข่ ง ขั น รถ จักรยานยนต์ แต่ยังคิดเป็นสัดส่วนเพียงน้อยนิดสำ�หรับชิ้นส่วนโครงสร้างของรถจักรยานยนต์ ทีท่ �ำ จากคาร์บอนไฟเบอร์ทว่ี างจำ�หน่ายโดยแบรนด์ใหญ่ๆ สิง่ นีก้ �ำ ลังจะเปลีย่ นไปเมือ่ Ducati และ BMW ได้เปิดตัวโมเดลแห่งปี 2017 ใหม่สองรุ่นซึ่งเต็มไปด้วยเส้นใยไฮเทค Lamborghini (ซึ่งเป็นเจ้าของ โดยกลุ่ม Volkswagen และเจ้าของ Ducati) และ BMW กำ�ลังขยายความเป็นผู้เชี่ยวชาญในยานยนต์สี่ ล้อของพวกเขาไปยังจักรยานยนต์สองล้อ
สองรุน่ พิเศษ: Ducati เพิง่ ประกาศเปิดตัวรถจักรยานยนต์ สำ�หรับ BMW รุ่น i3, i8 และ 7 Series ได้หรือไม่ เรา แบบซูเปอร์สปอร์ตไบค์ภายใต้ชื่อ 1299 Superleggera แทบจะอดใจรอไม่ไหวสำ�หรับสเปคที่แท้จริงของรถรุ่นนี้ ที่งานแสดงรถจักรยานยนต์ Esposizione internazi- แล้วไม่ได้มีแค่แบรนด์เดียว onale ciclo e motociclo ในเมืองมิลาน ประเทศอิตาลี เมื่อเดือนพฤศจิกายนที่ผ่านมา โดยวันรุ่งขึ้น BMW ก็ได้ ทำ�การเปิดตัว HP4 RACE ของพวกเขาเช่นกัน Ducati โมเดล 1299 Superleggera
แบรนด์ผู้บุกเบิกทั้งสองนี้ไม่ใช่เจ้าเดียวที่นำ�คาร์บอนมา ใช้ในกระบวนการผลิต ยกตัวอย่างเช่น รถจักรยานยนต์ Vander Heide ซึ่งทำ�ให้มีการใช้คาร์บอนไฟเบอร์มาก ขึ้น เช่นเดียวกันกับผู้ผลิตรถจักรยานยนต์ คาวาซากิ ซึ่งได้มีการใช้คาร์บอนไฟเบอร์มากขึ้น กำ�ลังจะเปิดตัว จักรยานยนต์รุ่น 2017 Ninja H2 Carbon Limited Edition โดยจะมีขายเพียง 120 คันจะขายทั่วโลก รถรุ่น นี้มาพร้อมกับพวงมาลัยที่ทำ�จากคาร์บอนไฟเบอร์ซึ่ง ด้วย Ducati 1299 Superleggera ผู้ผลิตจากอิตาลี นี่เป็นครั้งแรกเท่าที่เคยมีมาของชิ้นส่วนพวงมาลัยที่มี ตั้งใจจะนำ�ซุปเปอร์สปอร์ตไบค์ไปยังอีกระดับหนึ่ง และ โครงสร้างเป็นคาร์บอนไฟเบอร์ เป็ น รถจั ก รยานยนต์ รุ่ น แรกที่ ม าพร้ อ มกั บ ชิ้ น ส่ ว น คาร์บอนไฟเบอร์เกือบทั้งคัน ไม่ว่าจะเป็นเฟรม สวิง อนาคตของคาร์บอนไฟเบอร์ในรถจักรยานยนต์ อาร์ม ซับเฟรม รวมถึงล้อที่มีส่วนผสมของคาร์บอน ถึงแม้ว่าจะยังไม่มีความเป็นไปได้ที่เราจะเห็นคาร์บอน ไฟเบอร์เช่นกัน จึงทำ�ให้มีน้ำ�หนักเบาลงกว่าเดิมมาก ไฟเบอร์ในรถจักรยานยนต์ในเมืองเร็วๆ นี้ แต่คาร์บอน องค์ประกอบทั้งหมดเป็นลักษณะเฉพาะของ 1299 Su- ไฟเบอร์มีข้อดีหลายประการสำ�หรับรถประเภทซุปเปอร์ perleggera รวมไปถึงแฟริ่งหน้า และโครงสร้างแบบโม สปอร์ตไบค์เช่นเดียวกับรถยนต์สปอร์ตหรู อย่างไร โนค็อกซึ่งเป็นคาร์บอนไฟเบอร์ชนิดแข็งแกร่งพิเศษซึ่ง ก็ตาม นี่เป็นสัญญาณบวก เพราะในรูปแบบการผลิต แสดงออกถึงดีเอ็นเอของรถ Ducati ได้อย่างชัดเจน รุ่นแรกๆ เหล่านี้คาร์บอนไฟเบอร์จะไม่ถูกจำ�กัดอยู่ที่ตัว ถัง และท่อไอเสียอีกต่อไป แต่จะยังนำ�ไปทำ�เป็นชิ้นส่วน BMW โมเดล HP4 RACE โครงสร้างอื่น ๆ ซึ่งก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ด้วย HP4 BMW ยังอยู่ในขีดความสามารถด้านเทคนิค ในปัจจุบัน กระบวนการผลิตของรุ่นนี้มาพร้อมกับเฟรม ที่มา www.ducati.com หลัก และล้อคาร์บอน จะเริ่มต้นในปี ค.ศ. 2017 ราย www.bmwgroup.com ละเอียดทางเทคนิคทั้งหมดจะถูกเปิดเผยออกสู่ตลาดใน แปลจาก JEC Composites Magazine ฤดูใบไม้ผลิหน้า และจะมีการผลิตในจำ�นวนจำ�กัด เรามา January –February 2017 รอดูกันว่า BMW จะใช้ประโยชน์จากเทคนิคที่พัฒนาขึ้น
W W W. F I B E R G L A S S T H A I . C O M
21
THAI COMPOSITES MAGAZINE
Automotive 22
3D printing meets FRP:
more flexibility for highly-stressed components เมื่อเทคโนโลยีการพิมพ์แบบสามมิติ (3D printing) รวมกับพลาสติกเสริมแรงด้วยเส้นใย (Fiber-Reinforced Plastic, FRP) ทำ�ให้เกิดความยืดหยุ่นมากขึ้นกับชิ้นส่วนที่รับความเค้นสูง
DIPL.-ING. DIPL.-WIRT.ING. HENNING JANSSEN หัวหน้าภาควิชาพลาสติกเสริมแรงด้วยเส้นใย และเทคโนโลยีระบบเลเซอร์ ของสถาบัน Fraunhfer สำ�หรับเทคโนโลยีการผลิต (The Fibre-Reinforced Plastics and Laser System Technology Department Fraunhfer Institute for Production Technology, IPT) รายชื่อผู้ร่วมโครงการ LightFlex (กระบวนการโฟโตนิกสำ�หรับการผลิตชิ้นส่วนวิศวกรรมที่มีน้ำ�หนักเบาซึ่งยืดหยุ่นและมีประสิทธิภาพ จากเส้นใยคอมโพสิตแบบเทอร์โมพลาสติก) - Adam Opel. AG, Russelsheim - Institut fur Kunststoffverarbeitung (IKV) in Industrie und - AFPT GmbH, Dorth - Handwerk ander RWTH Aachen - Arges GmbH, Wackersdorf - KUKA lndustries GmbH & Co. KG, Obernburg - Breyer GmbH Maschinenfabrik, Singen - Pixargus GmbH, Wurseten - F.A. Kumpers GmbH & Co. KG, Rheine - Plastic Omnium Auto Components GmbH, Munchen - Fraunhofer-Insiitut fur - Siemens AG, Erlangen - Produktionstechnologie IPT, Aachen - Lasertine GmbH, Muhtheim-Karlich
ลั
กษณะเฉพาะตั ว และความ สามารถในการปรั บ ตั ว ไม่ จำ � เป็ น ต้ อ งขั ด แย้ ง กั บ ความ แข็งแรงทนทานและความเสถียร เป็น ที่ ค าดการณ์ ว่ า ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ห ลาย ประเภทอาทิเช่น โครงของคาร์ซีท หรือ ชิ้ น ส่ ว นอวั ย วะเที ย มทางการแพทย์ ซึ่ ง จำ � เป็ น ต้ อ งมี คุ ณ สมบั ติ ต รงตาม ลักษณะเหล่านี้ทั้งหมด จะถูกผลิตขึ้น โดยใช้เทคโนโลยีการพิมพ์สามมิติ และ เทคโนโลยีเส้นใยคอมโพสิทในอนาคต
LightFlex การฉีดขึ้นรูป
ชิ้นส่วนพลาสติกที่ฉีดขึ้นรูปโดยใช้วัสดุเส้นใยคอมโพ สิทเพื่อเสริมแรงมีข้อเสียเปรียบที่สำ�คัญประการหนึ่ง คือยากที่จะปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของงาน ที่มีลักษณะเฉพาะได้ เนื่องจากเครื่องมือฉีดขึ้นรูปที่ใช้มี ราคาแพงและไม่ยืดหยุ่น ทำ�ให้มีแต่การผลิตในปริมาณ มากเท่านั้นที่สามารถทำ�ได้ ฟังก์ชันพิเศษหรือการปรับ เปลี่ยนที่เกิดขึ้นในขั้นตอนการพัฒนาผลิตภัณฑ์จำ�เป็น ต้องมีต้นทุนที่สูงขึ้น รวมทั้งขั้นตอนหลังการผลิตที่กิน เวลานาน โดยส่วนใหญ่แล้วการผลิตที่มีปริมาณน้อย หรือแม้แต่การผลิตต้นแบบจะไม่สามารถทำ�ได้ เนื่องจาก มีต้นทุนที่สูงทำ�ให้ไม่คุ้มค่าทางเศรฐกิจ
พิมพ์แบบสามมิตินี้ ชิ้นงานสามารถปรับแต่งให้ตรง กับความต้องการต่างๆ ได้อย่างแท้จริง และมีความ สามารถในการทำ�หน้าที่ ที่ระบุไว้ก่อนที่จะถูกนำ�ไปรวม กับวัสดุคอมโพสิทเส้นใยเทอร์โมพลาสติก เพื่อให้ได้ คุณภาพตามที่ต้องการ แผ่นออร์แกนิก แผ่ นออร์ แ กนิ ก ที่ ทำ � จากวั ส ดุ กึ่ง สำ � เร็ จรู ป แบบทิ ศ ทาง เดียว (unidirectional semi-finished materials) ถู ก นำ � มาใช้ เ พื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพความสามารถใน การรับน้ำ�หนักของชิ้นส่วนที่ใช้พลาสติกเสริมแรงด้วย เส้นใยเป็นส่วนประกอบ สถาบัน Fraunhofer IPT ได้ สร้างความสะดวกมากขึ้นโดยการแทนที่การผลิตสินค้า มาตรฐานที่มีขนาดคงที่ ด้วยการผลิตแผ่นออร์แกนิกรู ปร่ างหลากหลายที่ เ หมาะกั บแต่ ล ะลั กษณะการใช้ ง าน สิ่งนี้ช่วยลดการสูญเสียวัสดุและทำ�ให้ประหยัดค่าใช้จ่าย อย่างมากในด้านการใช้เส้นใยคาร์บอนซึ่งการผลิตมี การใช้ พ ลั ง งานสู ง กระบวนการดั ง กล่ า วได้ ร ั บ การ พัฒนาโดยสถาบัน Fraunhofer IPT ซึ่งเป็นส่วนหนึ่ง ของโครงการ E-Profit ของกระทรวงศึกษาธิการและ การวิจัยแห่งสหพันธรัฐแห่งเยอรมนี กรรมวิ ธี ก ารผลิ ต ประเภทอั ด ขึ้ น รู ป พลาสติ ก แผ่ น (Thermoforming process) สถาบั น Fraunhofer IPT นำ�แผ่นออร์แกนิกที่มี โครงสร้างการพิมพ์แบบ สามมิติมาใช้ในกรรมวิธี ก า ร ผ ลิ ต ป ร ะ เ ภ ท อั ด ขึ้ น รู ป พ ล า ส ติ ก แผ่น โครงการ LightFlex ครอบคลุมกระบวนการ ทั้งหมดของการผลิตแบบปรับตัวที่ได้เชื่อมต่อกัน จาก กระบวนการผลิ ต วั ส ดุ กึ่ ง สำ � เร็ จ รู ป โดยสถาบั น การ แปรรูปพลาสติก (IKV) และธุรกิจการค้าที่มีผู้เชี่ยวชาญ ในมหาวิทยาลัย RWTH Aachen และคู่ค้าอื่น ๆ ผ่าน กระบวนการตัดเลเซอร์โดยบริษัท Arges GmbH
กระบวนการผลิตแบบผสมสารเติมแต่ง ในกรณีดังกล่าว สถาบัน Fraunhofer IPT และผู้ร่วม โครงการ LightFlex จึงกำ�ลังวางแผนว่าจะแทนที่ชิ้น ที่มา www.ipt.fraunhofer.de งานที่ผลิตจากกระบวนการฉีดขึ้นรูปด้วยชิ้นงานที่มา แปลจาก JEC Composites Magazine จากกระบวนการผลิตแบบผสมสารเติมแต่ง ด้วยการ January – February 2017
W W W. F I B E R G L A S S T H A I . C O M
การพิมพ์แบบสามมิติทำ�ให้มีความยืดหยุ่นสูงสุดในด้าน ลักษณะของรูปทรง และฟังก์ชนั การใช้งาน วัสดุเส้นใย คอมโพสิทให้ความเสถียรแม้ในขณะที่ต้องรับภาระแรง กระทำ�สูง สถาบัน Fraunhofer - Institute for Production Technology (IPT) ในเมือง Aachen ซึง่ เป็นการ ร่วมมือกับพันธมิตรในกลุม่ วิศวกรรมต่างๆ กำ�ลัง ตรวจสอบกระบวนการผลิตแบบผสมผสานที่เป็นส่วน หนึง่ ของโครงการ LightFlex ซึง่ เป็นโครงการวิจยั ทีไ่ ด้ รับทุนสนับสนุนจากกระทรวงศึกษาธิการและการวิจัย แห่งสหพันธรัฐแห่งเยอรมนี (BMBF) ผลการวิจยั เบือ้ ง ต้นได้ถูกนำ�เสนอเป็นครั้งแรกเมื่อเดือนมีนาคมที่ผ่านมา ต่อผูเ้ ชีย่ วชาญทีเ่ ข้าชมงาน JEC World Trade Fair
23
THAI COMPOSITES MAGAZINE
Composites Scoop 24
สมาคมไทยคอมโพสิท ร่วมงาน JEC ASIA 2016 งานแสดงสินค้าอุตสาหกรรมคอมโพสิทแห่งเอเซีย โชว์ศักยภาพอุตสาหกรรมคอมโพสิทไทย สู่เวทีสากล
ส
มาคมคอมโพสิทไทย นำ�คณะผูบ้ ริหารสมาคมไทย คอมโพสิท, ผู้ประกอบการ และหน่วยงานภาครัฐ ร่วมงาน JEC ASIA 2016 งานประชุม และงานแสดง สินค้าด้านอุตสาหกรรมคอมโพสิทแห่งเอเชีย ทีจ่ ดั ขึน้ เมือ่ วัน ที่ 15-17 พ.ย. 2559 ทีศ่ นู ย์ประชุม และแสดงสินค้าซันเทค ประเทศสิงค์โปร์ นับเป็นงานระดับเอเชียที่สำ�คัญต่อวงการ อุตสาหกรรมคอมโพสิทอีกงานหนึง่ โดยเป็นงานทีร่ วบรวม ความสำ�คัญของวัสดุคอมโพสิทที่มีต่ออุตสาหกรรมต่างๆ ที่สามารถช่วยทำ�ให้ลดต้นทุนการผลิต และมีคุณภาพที่ดี กว่าเดิม อาทิ ยานยนต์ ขนส่ง ก่อสร้าง เดินเรือ กีฬา ชิน้ ส่วน อิเล็กทรอนิกส์ อากาศยาน และยานอวกาศ เป็นต้น
นับเป็นอีกหนึง่ กิจกรรมทีส่ มาคมฯ ได้ท�ำ หน้าทีเ่ ป็นศูนย์ กลางการประสานงานการเชิญชวน ผูป้ ระกอบการไทย เข้าร่วมงานในรูปแบบการออกบูธ และเยีย่ มชมงานอย่าง ต่อเนือ่ ง ทัง้ นีเ้ พือ่ เป็นการเพิม่ โอกาสในการร่วมพัฒนา ผู้ผลิตชิ้นส่วนในอุตสาหกรรมคอมโพสิทไทยได้ศึกษาดู ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีการผลิตอื่นๆภายในงาน รวมถึงโอกาสในการมองหาช่องทางการตลาดใหม่ๆ เพิม่ ขึน้
สำ�หรับผูส้ นใจร่วมงานออกบูธ หรือร่วมกิจกรรมเยีย่ มชมงาน กับทางสมาคมคอมโพสิทไทย สามารถสอบถามข้อมูลได้ท่ี 02713 5033 หรือติดตามกิจกรรมอัพเดทได้ท่ี Facebook : สมาคมไทยคอมโพสิท (ไฟเบอร์กลาส)
W W W. F I B E R G L A S S T H A I . C O M
25
THAI COMPOSITES MAGAZINE
26
Composites Technology
Complete loudly your Lamborghini collection เติมเต็ม Lamborghini collection ของคุณด้วยชุดลำ�โพงสุดล้ำ� ESAVOX is the docking station built an extreme can polymerized cabon fiber monocoque body in autoclave, variable value opening exhausting system to manage the subwoofer pressure , passive ,vibration absorption and height variable conic supports. The carbon fiber and the original parts of the iconic Lambonghini supercars combined in an object that merges design and sound charity. ESAVOX คือชุดลำ�โพงสุดอลังการณ์ทถ่ี กู ออกแบบให้ มีทกุ สิง่ ทุกอย่างเช่นเดียวกับรถซูเปอร์คาร์ ไม่วา่ จะเป็น โครงสร้างคาร์บอนไฟเบอร์โมโนค็อก (Carbon fiber monocoque) ขึน้ รูปโดยกระบวนการออโตเคลฟ (Autoclave) ซึง่ เป็นวัสดุเดียวกับทีใ่ ช้ในตัวรถ Lamborghini และยังนำ�ชิน้ ส่วนอืน่ ๆ ของตัวรถมาเป็นส่วนประกอบ ด้วยเพือ่ สร้างตัวลำ�โพงให้ดสู มจริงมากขึน้ ไม่วา่ จะเป็น
ในส่วนของชุดท่อไอเสียที่ควบคุมความดันของซับวูฟ เฟอร์ และระบบโช้คอัพเพือ่ รองรับการสัน่ สะเทือน การ รวมตัวกันระหว่างคาร์บอนไฟเบอร์และส่วนประกอบ อันโดดเด่นของ ซูเปอร์คาร์ Lamborghini นีน้ บั เป็นการ ผสมผสานที่ลงตัวของการออกแบบและพลังเสียงสุด กระหึม่ เลยทีเดียว ทีม่ า
www.lamborghinistore.com
คอมโพสิทกับการออกกำ�ลังกาย
rectly and obtain the appropriate level of training benefit from your workout. Bodyblade CxT คืออุปกรณ์กฬ ี าอเนกประสงค์ทท่ี �ำ จากวัสดุคอมโพสิทที่มีน้ำ�หนักเพียง 1.25 ปอนด์แต่ สามารถตอบโจทย์การออกกำ�ลังกายได้หลากหลาย ประเภท Bodyblade CxT ใช้งานได้ดีเหมาะกับคนทุก เพศทุกวัย ไม่วา่ จะเป็น ผูท้ เ่ี พิง่ เริม่ ต้นออกกำ�ลัง ผูท้ อ่ี อก กำ�ลังกายมานานแล้ว หรือแม้กระทัง่ การออกกำ�ลังกาย แบบกลุม่ อุปกรณ์นม้ี ขี นาดกะทัดรัด คุณสามารถพก ติดตัวไปได้ตลอดเวลาทำ�ให้ออกกำ�ลังกายได้แม้ในขณะ ทีอ่ ยูน่ อกบ้าน นอกจากนีย้ งั มีคมู่ อื และดีวดี แี นะนำ�การ ออกกำ�ลังกาย ทีจ่ ะช่วยให้สามารถใช้ Bodyblade CxT ได้อย่างถูกต้องและช่วยให้ได้รบั ประโยชน์สงู สุดจากการ ออกกำ�ลังกายอีกด้วย
Crafted of composite, the Bodyblade CxT is a versatile fitness tool weighs only 1.25 pounds but offers variable resistance for a variety of exercises. It works well for beginners, seniors and group classes. It is compact enough to travel with you , so you don’t have to miss workouts during travel. The package includes anexercise guide and a DVD to help you use the CxT cor- ทีม่ า
www.bodyblade.com
The key to successful organization กุญแจสู่ความสำ�เร็จในองค์กร
in the right place and your keys save much more space than the conventional key ring. In addition, you stop the annoying jingling as well as damaged pocket. CABOSS™ คือพวงกุญแจเรียบหรูท�ำ จากวัสดุคาร์บอน ไฟเบอร์ 100% เพื่อความแข็งแรง และความพึงพอใจ สูงสุด พวงกุญแจนีม้ ลี กั ษณะการจัดเรียงกุญแจคล้ายๆ กับชุดของมีดพก โดยกุญแจแต่ละดอกจะถูกสอดเข้าไป เพือ่ เรียงต่อกันจากกุญแจดอกถัดไปตามลำ�ดับ และถูก ยึดด้วยสกรูกบั ตัวพวงกุญแจ ดังนัน้ ทุก ๆ สิง่ จึงถูกจัด วางอยู่ในตำ�แน่งที่ถูกต้องและช่วยประหยัดพื้นที่ในการ เก็บกุญแจได้มากกว่าพวกกุญแจแบบเก่า นอกจากนีค้ ณ ุ จะไม่ต้องเผชิญกับเสียงกรุ๊งกริ้งอันน่ารำ�คาญรวมทั้ง ความเสียหายทีอ่ าจเกิดขึน้ กับกระเป๋าสตางค์อกี ด้วย
CABOSS is a minimalist keyring made of 100% carbonfibre for maximum strength and comfort. As a type of pocketknife for the set of keys, CABOSS puts your chaos in order. The keys are simply inserted next to each other and screwed oppositely in the organizer. Hence, everything is ทีม่ า
www.bodyblade.com
W W W. F I B E R G L A S S T H A I . C O M
Composites in your workout
27
THAI COMPOSITES MAGAZINE
SATHU AUTO SEAT LTD. PART. 28 รับงานสั่งทำขึ้นรูปชิ้นงาน Fiberglass
หจก. สาธุออโตซีสท 275/21-22 ถนนสาธุประดิษฐ แขวงชองนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทร. 0-2211-7345, 0-2211-6148, 0-2212-6728 โทรสาร. 0-2212-6729 Website: cardecorate.com E-mail: chaiyaponk@gmail.com Line: earthpuk
บริ ษ ั ท โพลี ไ ลน จำกั ด WWW.POLYLINE2002.COM จำหนาย และใหคำปร�กษา บริษัท โพลีไลน จำกัด 47/3 หมู 6 ต.บึงคำพรอย อ.ลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี 12150 โทร. 02-070-6447, 084 696 8441, 084 696 8443, 081 363 0397 แฟกซ. 02-070-6447 E-mail : amnuaypolyline@gmail.com
W W W. F I B E R G L A S S T H A I . C O M
29
THAI COMPOSITES MAGAZINE
Composites Nano 30
น้บทบาทของวั ำ�หนัสกดุคทีอมโพสิ ่เบากั บ ผลกระทบที ห ่ นั ก ทต่ออุตสาหกรรมยานยนต์ในอนาคต (ตอนที่ 3) ระบบส่งกำ�ลัง และส่ ว นประกอบของยานยนต์ : ผศ.ดร. สนติพีร์ เอมมณี ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี สูตรสำ�เร็จในการเลือกวัสดุน้ำ�หนักเบา
จ
ากปัจจัยที่ได้กล่าวไว้ในบทความสองตอนที่ผ่าน มา จะเห็นได้วา่ ในท้ายทีส่ ดุ ผูผ้ ลิตชิน้ ส่วนยานยนต์ ทีเ่ ป็น OEM จำ�เป็นต้องพัฒนากลยุทธ์ในการเลือก วัสดุ เพือ่ ใช้กบั ชิน้ ส่วนต่างๆ ทีผ่ ลิตขึน้ อย่างเหมาะสมเอง เนือ่ งจากรายละเอียดของแต่ละชิน้ มีความต้องการทีแ่ ตก ต่างกัน เช่น การขึน้ รูป ความแข็งแรง ความทนทานต่อ อุณหภูมใิ ช้งาน ฯลฯ นอกเหนือจากนีร้ าคาค่าวัตถุดบิ ของ วัสดุแต่ละชนิดก็ตา่ งกันด้วย ยกตัวอย่างเช่น แผ่นบังโคลน
รถสามารถผลิตจากพลาสติก หรือเส้นใยคาร์บอนได้ ง่ายกว่าเหล็ก ในขณะทีร่ างในอุปกรณ์คอมมอนเรล ใน เครือ่ งยนต์ดเี ซลควรผลิตจากเหล็กกล้าความแข็งแรงสูง เนื่องจากความต้องการในการทนต่อความดัน และการ กัดกร่อน อย่างไรก็ดรี ายละเอียดบทความนีจ้ ะมุง่ เน้นไป ทีว่ สั ดุชนิดหลักๆ ทีเ่ ป็นส่วนประกอบของน้�ำ หนักรถยนต์ มากกว่าร้อยละ 90 โดยทำ�การวิเคราะห์รถในตลาด ทีท่ �ำ การซือ้ ขายกันเป็นจำ�นวนมาก
จากทีไ่ ด้กล่าวไว้แล้วว่า ผูผ้ ลิต OEM ยินดีทจ่ี ะมีคา่ ใช้จา่ ย ทีส่ งู ขึน้ เพือ่ แลกมากับน้�ำ หนักทีล่ ดลง ซึง่ ขึน้ อยูก่ บั รูป แบบของการส่งกำ�ลังในยานยนต์ และขนาดของรถทีแ่ ตก ต่างกัน รูปที่ 11 ได้แสดงถึงรายการทีผ่ ผู้ ลิตสามารถ เลือกใช้ได้ใน 2 มิติ กล่าวคือ ตลาดยานยนต์ จำ � นวนสอง ใ น ส า ม ซึ่ ง ไ ด้ แ ก่ ร ถ ข น า ด กลาง และเล็กทีใ่ ช้เครือ่ งยนต์ สันดาปภายใน (เช่น โตโยต้า อัลทิส) หรือรถยนต์ไฟฟ้าไฮ บริด (Hybrid electric vehicle – HEV) และตลาดรถทีใ่ ช้ ระบบขับเคลือ่ นไฟฟ้าทางไกล (Range-extended elecรูปที่ 10 รายการวัสดุน�ำ้ หนักเบาแบบต่างๆ (ข้อมูลจาก McKinsey) tric vehicle – REEV) จะให้ความสนใจกับรายการวัสดุ น้�ำ หนักเบาทัว่ ไป เนือ่ งจากสามารถรับค่าใช้จา่ ยจากทาง • รายการวัสดุน�ำ้ หนักเบาทัว่ ไป ได้แก่ การใช้เหล็กกล้า เลือกวัสดุน�ำ้ หนักเบาประเภทนีเ้ ท่านัน้ ความแข็งแรงสูงแทนการใช้เหล็กกล้าธรรมดา ซึง่ จะได้ใช้ ในกระบวนการผลิต โดยบริษัทรถยนต์ที่มีคุณภาพมา อีก 1 ใน 3 ของตลาด ซึ่งได้แก่ รถยนต์ขนาดใหญ่ (เช่น เป็นเวลาพักหนึง่ แล้ว การใช้วสั ดุทม่ี นี �ำ้ หนักเบากว่าโดย เมอร์ซเิ ดส เบ็นซ์ อีคลาส) ทีใ่ ช้ระบบส่งกำ�ลังหลายรูป เฉพาะอย่างยิง่ เส้นใยคาร์บอน และอลูมเิ นียมจะถูกมอง แบบ หรือยานยนต์ทใ่ี ช้แบตเตอรีเป็นแหล่งพลังงานเพียง ข้ามเนือ่ งจากเหตุผลทางด้านราคา ตัวเลขของน้�ำ หนัก อย่างเดียว (Battery electric vehicle – BEV) ทัง้ ทีล่ ดลงในรถขนาดกลางอยูท่ ่ี 250 กิโลกรัม หรือร้อย ขนาดกลาง และขนาดเล็กจะเลือกใช้รายการลดน้�ำ หนัก ละ 18 ซึง่ มีคา่ ใช้จา่ ยประมาณ 120 บาทต่อหนึง่ กิโลกรัม ขัน้ กลาง ซึง่ รถยนต์สว่ นใหญ่ในรุน่ นีไ้ ด้เริม่ ใช้เหล็กกล้า ของน้�ำ หนักทีห่ ายไป ความแข็งแรงสูงหรืออลูมเิ นียมในการผลิตไปแล้ว โลหะ • รายการวัสดุน�ำ้ หนักเบาขัน้ กลาง ซึง่ เป็นการนำ�วัสดุอลู น้�ำ หนักเบา เช่น อลูมเิ นียม แม็คนีเซียม และโครงสร้าง มิเนียม แม็กนีเซียม (ในชิน้ ส่วนทีห่ ล่อได้) และเหล็กกล้า แบบแซนด์วชิ ได้ถกู นำ�มาประยุกต์ใช้จ�ำ นวนมาก การนำ� ความแข็งแรงสูงมาทดแทน การพิจารณาใช้เส้นใยคาร์ รายการวัสดุนำ�้ หนักเบาขั้นกลางมาใช้เป็นวัตถุดิบแม้ว่า บอนจะดำ�เนินการในชิ้นส่วนที่ต้องการความแข็งตึงสูง จะมีค่าใช้จ่ายที่สูงขึ้นแต่ก็อยู่ในระดับที่ไม่มากจนเกินไป เป็นพิเศษหรือในชิ้นส่วนที่การลดน้ำ�หนักมีความคุ้มค่า คือ ประมาณ 160 บาท/กิโลกรัม ของน้�ำ หนักทีห่ ายไป (เช่นหลังคา) น้�ำ หนักทีน่ อ้ ยลงโดยประมาณของรถขนาด ซึง่ ยังต่�ำ กว่าระดับทีผ่ ผู้ ลิตยอมรับได้ท่ี 200 – 550 บาท/ กลางทีใ่ ช้รายการวัสดุนค้ี อื 420 กิโลกรัม หรือร้อยละ กิโลกรัม 30 โดยมีคา่ ใช้จา่ ยเพิม่ ขึน้ ที่ 160 บาทต่อน้�ำ หนักหนึง่ กิโลกรัมทีต่ �ำ่ ลง ส่ ว นรายการวั ส ดุ นำ้� หนั กเบาขั้นสู ง สุ ดที่มีก ารใช้ วัสดุ • รายการวั ส ดุ น ้ ำ � หนั ก เบาขั ้ น สู ง สุ ด ซึ ่ ง เป็ น การนำ � คอมโพสิทที่เสริมแรงด้วยเส้นใยคาร์บอนอย่างเต็มที่จะ เทคโนโลยีวสั ดุน�ำ้ หนักเบามาประยุกต์ใช้อย่างเต็มที่ โดย นำ�ไปใช้กับชิ้นส่วนทางโครงสร้างที่ต้องการการลดน้ำ� ไม่ค�ำ นึงถึงข้อจำ�กัดในด้านราคา และค่าใช้จา่ ย น้�ำ หนัก หนักลงมากทีส่ ดุ ในรถยนต์ทม่ี คี วามหรูหรา และรถยนต์ ทีส่ ามารถลดได้สงู สุดอยูท่ ่ี 490 กิโลกรัม หรือประมาณ ไฟฟ้าแบบพรีเมียมเท่านัน้ (รวมกันได้รอ้ ยละ 1 ของ ร้อยละ 35 และน้�ำ หนักทีล่ ดลงได้ 1 กิโลกรัม จะมีคา่ ใช้ จำ�นวนรถยนต์ทง้ั หมด) เนือ่ งจากค่าใช้จา่ ยทีเ่ พิม่ ขึน้ มาก จ่าย 320 – 400 บาท ประมาณ 320 – 400 บาท/กิโลกรัมของน้�ำ หนักทีล่ ดลง
W W W. F I B E R G L A S S T H A I . C O M
ลักษณะของรายการทีป่ ระยุกต์ใช้วสั ดุน�ำ้ หนักเบาทีผ่ ผู้ ลิต OEM จะนำ�ไปใช้ในอนาคต สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 แบบ ตามเซคเมนต์ และชนิดของการส่งกำ�ลังของรถยนต์ทใ่ี ช้ ตามทีร่ ายละเอียดได้กล่าวไว้ดา้ นล่าง และรูปที่ 10
31
THAI COMPOSITES MAGAZINE
32
ปั ญ หาและวิ ธี ก ารแก้ ไขในวั ส ดุ คอมโพสิ ท ที่ เ สริ ม แรงด้ ว ยเส้ น ใย คาร์บอน ทัง้ ๆ ทีว่ สั ดุคอมโพสิททีม่ เี ส้นใย คาร์บอนเป็นวัสดุเสริมแรงจะให้การ ลดน้ำ � หนั ก มี ป ระสิ ท ธิ ผ ลสู ง มาก ราคาวัตถุดิบเส้นใยคาร์บอนจะเป็น อุปสรรคหลักที่ขัดขวางการใช้วัสดุ คอมโพสิทชนิดนีใ้ นวงกว้าง ยิง่ ไป กว่านี้ความท้าทายที่จะใช้คาร์บอน ไฟเบอร์มกั จะเกิดจากปัจจัยต่างๆ ที่ แสดงในรูปที่ 12
รูปที่ 11 การประยุกต์ใช้รายการวัสดุน�ำ้ หนักเบาแบบต่างๆ (ข้อมูลจาก McKinsey)
ปริมาณของการเปลี่ยนวัสดุจะขึ้นอยู่กับรายการของ วัสดุดงั ทีไ่ ด้กล่าวไว้ขา้ งต้น อย่างไรก็ดจี �ำ นวน ช้ิ น ส่ ว น หลายๆ ชิน้ ในรถยนต์ทกุ คันจะใช้วสั ดุชนิดใหม่อย่างเป็น นัยสำ�คัญในช่วงทศวรรษทีก่ �ำ ลังจะมาถึง ซึง่ มีการคาด การณ์ว่าการแข่งขันเพื่อลดน้ำ�หนักของยานยนต์จะเป็น กลจั ก รสำ � คั ญ ในการสร้ า งความแตกต่ า งของผู้ผ ลิ ต OEM โดยเฉพาะรถยนต์ทม่ี ขี นาดใหญ่ในอนาคตอันใกล้ การประยุกต์ใช้และการทำ�ตลาดจะส่งผลอย่างมากต่อ ยีห่ อ้ ของรถและการดึงดูดลูกค้ามาสูผ่ ผู้ ลิต รูปที่ 12 ปัญหาในการใช้วสั ดุคอมโพสิต
วั ส ดุ ห ลั ก ที่ ค าดว่ า จะมี บ ทบาทที่ สำ � คั ญ เพิ่ ม ขึ้ น อย่ า ง มากคือเหล็กกล้าความแข็งแรงสูง อลูมเิ นียม พลาสติก โครงสร้างแซนด์วชิ (ซึง่ เป็นการใช้วสั ดุทง้ั 3 อย่างนีร้ ว่ ม กันในหลายรูปแบบ) แม็คนีเซียม และคอมโพสิทเสริมแรง เส้นใยคาร์บอน ชิน้ ส่วนโครงสร้าง (เช่นโครงรถหรือ โครงสร้างทีน่ ง่ั ) มักทำ�มาจากเหล็กกล้าความแข็งแรงสูง หรืออลูมเิ นียม หรือแม้แต่คอมโพสิททีม่ เี ส้นใยคาร์บอน ชิน้ ส่วนทีต่ อ้ งการรับความแข็งแรงสูงเฉพาะ (เช่นในระบบ บังคับเลีย้ ว และระบบส่งกำ�ลัง) ควรผลิตจากเหล็กกล้า ความแข็งแรงสูง และเส้นใยคาร์บอน ชิน้ ส่วนภายในยัง มีความนิยมใช้เป็นพลาสติกในปัจจุบนั และต่อเนือ่ งไปใน อนาคต ในความเป็นจริงพลาสติกจะมีความสำ�คัญทีส่ งู ขึน้ เช่นใช้เป็นแผ่นกันลมหรือหน้ากากและใช้เป็นชิน้ ส่วน ตัวถังทีไ่ ม่เป็นส่วนหนึง่ ของโครงสร้าง เพราะมีราคาแต่ หน่วยน้�ำ หนักทีด่ ี
นอกเหนือจากราคาของเส้นใยคาร์บอนแล้ว ยังมีความ ท้าทายในการใช้วสั ดุคอมโพสิทอีก 3 ปัจจัยหลักคือ การ ซ่อมบำ�รุงรักษา ความยัง่ ยืนร่วมกับการนำ�วัสดุกลับมา ใช้ใหม่ และการจำ�ลองการรับแรงกระแทก • การซ่อมบำ�รุงชิ้นส่วนที่ผลิตมาจากวัสดุคอมโพสิท เสริมแรงด้วยเส้นใยคาร์บอนมีความยุ่งยาก เนื่องจาก ความเสียหายมักเกิดในบริเวณที่ตรวจสอบไม่ได้จาก การมองโดยตรง การตรวจสอบจึงต้องใช้การส่งคลื่น เสียง หรือการถ่ายภาพด้วยเทคนิคทางความร้อน อัล ตร้าโซนิค หรือเอ็กซเรย์ การใช้เทคโนโลยีเหล่านีต้ ามมา ซึง่ ค่าใช้จา่ ยการลงทุนด้านอุปกรณ์ และการเสริมสร้าง ทักษะผูใ้ ช้งาน อย่างไรก็ดี ด้วยการจัดการทีเ่ หมาะสม จะทำ�ให้ค่าใช้จ่ายอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ เช่น การใช้ ผู้เชีย่ วชาญการตรวจสอบ และเครือ่ งมือร่วมกับผูผ้ ลิต
การสร้ างนวั ต กรรมต่ อ ไป การเรี ย นรู ้ร ะหว่ า งภาค อุ ต สาหกรรมก็ เ ป็ น อี ก บทบาทหนึ่ง ที่สำ� คั ญ ในการแก้ ปัญหาได้อย่างรวดเร็วด้วย อนึ่ ง การเกิ ด ร่ ว มมื อ กั น ระหว่ า งภาคอุ ต สาหกรรม การบิน พลังงานลม และยานยนต์จะช่วยขับดันยุคอุต สาหภิวฒ ั น์ (ทัง้ ๆ ทีม่ คี วามแตกต่างระหว่างวัสดุทใ่ี ช้ และ กระบวนการผลิต) อุตสาหกรรมการบิน และพลังงาน ลมจะยังเป็นภาคส่วนหลักในการผลักดันวิศวกรรมวัสดุ คอมโพสิท และส่งถ่ายองค์ความรู้สู่อุตสาหกรรมยาน ยนต์ ในทางกลับกันความก้าวหน้าในกระบวนการผลิต และวัตถุดิบ เช่น เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการวางเส้นใย หรือความก้าวหน้าทางด้านการบ่มวัสดุ จะเริม่ ต้นจาก อุตสาหกรรมยานยนต์ก่อน เพราะมีความต้องการใน การลดค่าใช้จ่ายมากกว่า หลังจากนั้นจึงถ่ายทอดให้ อุตสาหกรรมทัง้ สองประเภทอีกที ดังแสดงในรูปที่ 13
W W W. F I B E R G L A S S T H A I . C O M
รูปที่ 13 การแลกเปลีย่ นระหว่างภาคอุตสาหกรรม (ข้อมูลจาก McKinsey)
รด ต ใน ิดตา เล่ม ม ต่อ ตอน ไป จบ
นอกจากนี้ ไม่เพียงแค่ผม้ ู สี ว่ นเกีย่ วข้องในภาคอุตสาหกรรม จะมี โ อกาสก้ า วข้ า มความท้ า ทายจากการใช้ เ ส้ น ใย คาร์บอนตามแนวทางทีก่ ล่าวไว้ในข้างต้น โดยใช้รายการ วัสดุน�ำ้ หนักเบาแบบทัว่ ไปและแบบขัน้ กลางแทน แต่กย็ งั มี ความเป็นไปได้ท่กี ารใช้วัสดุนำ�้ หนักเบาขั้นสูงสุดจะมีการ แพร่หลายมากยิ่งขึ้น การเจาะเข้าสู่ภาคอุตสาหกรรม ยานยนต์ของวัสดุนำ้�หนักเบาขั้นสูงสุดจะผลักดันให้เกิด การพัฒนาสองประการคือ • ความต้องการของรถยนต์ไฟฟ้าแบบไฮบริด ทีว่ ง่ิ ได้ระยะมากขึน้ • การลดการปล่อยก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ทส่ี งู ขึน้ โป
OEM รายอืน่ ส่วนเรือ่ งการซ่อมแซมสามารถใช้วธิ กี าร ทีม่ อี ยูแ่ ล้วในงานอากาศยานหลากหลายวิธี เช่น การ ใช้การยึดทางกลหรือการประสานด้วยกาว ซึง่ วิธกี าร เหล่า นี้ส ามารถนำ � มาประยุกต์ให้เข้ากับ อุตสาหกรรม ยานยนต์ได้ นอกจากนีค้ วามเสียหายจากการแยกชัน้ ที่ เกิดขึ้นภายในเนื้อวัสดุสามารถแก้ไขได้จากการฉีดเรซิ่น ไปเชือ่ มรอยร้าวในชิน้ งานทีไ่ ม่ใช่สว่ นหนึง่ ของโครงสร้าง แต่ถา้ ความเสียหายมีความวิกฤต หรือรุนแรงก็มคี วาม จำ�เป็นต้องทำ�การเปลี่ยนและทดแทนด้วยชิ้นใหม่แม้ว่า เหตุการณ์นจ้ี ะไม่เกิดขึน้ บ่อยก็ตาม • เนื่องจากข้อกำ�หนดของสหภาพยุโรป ในการตั้งเป้า หมายเพื่อนำ�ชิ้นส่วน หรือวัสดุในยานยนต์หมุนเวียน กลับมาใช้ใหม่ให้ได้รอ้ ยละ 85 การพัฒนากระบวนการ แปรสภาพเส้นใยคาร์บอนที่ใช้แล้วจึงมีความสำ�คัญต่อ ความสำ�เร็จของการใช้วัสดุน้ำ�หนักเบา ในปัจจุบันมี ความเป็นไปได้ในการลดของเสียจากการขึ้นรูปในตอน ต้นโดยการนำ�ส่วนเหลือทิ้งมาใช้อีกครั้งได้ถึงร้อยละ 30 ของการใช้เส้นใยคาร์บอนทัง้ หมด และนำ�ไปผลิตชิน้ ส่วนขนาดเล็กหรือชิ้นส่วนที่ไม่ต้องการความแข็งตึงที่ สูง หรือเดิมทีค่ าดว่าเส้นใยคาร์บอนทีผ่ า่ นกระบวนการ ขึน้ รูปไปแล้วจะไม่สามารถนำ�กลับมาใช้ใหม่ได้ ก็สามารถ นำ�กลับมาใช้ ได้โดยการบดละเอียดหรือการแยกเส้นใย ด้วยความร้อนหรือเคมี แม้ว่าเส้นใยคาร์บอนที่ผ่าน กระบวนการผลิตไปแล้วจะมีคุณภาพที่ตำ่�กว่าของใหม่ แต่กย็ งั นำ�มาใช้งานได้ • สำ�หรับการจำ�ลองการชน หรือการกระแทกของวัสดุ คอมโพสิทนัน้ อุตสาหกรรมยานยนต์สามารถนำ�ข้อมูล ทีม่ อี ยูใ่ นภาคอุตสาหกรรมการบินมาใช้ประโยชน์ ในขณะ นี้ผู้ผลิตยานยนต์บางรายได้มีความร่วมมือกับบริษัทที่ ผลิตเครือ่ งบินเพือ่ ถ่ายทอดประสบการณ์ และข้อมูลผล การจำ�ลองการชน เช่น บริษทั Boeing และ Lamborghini แต่กย็ งั มีขอ้ จำ�กัดในปัจจุบนั เนือ่ งจากพฤติกรรมทีซ่ บั ซ้อนของวัสดุทม่ี สี มบัตไิ ม่เท่ากันทุกทิศทาง และโปรแกรม ที่ใช้ในการจำ�ลองการกระแทกที่ต้องมีการพัฒนาอยู่ อย่างต่อเนือ่ ง • โดยภาพรวม ยังคงมีอปุ สรรค และปัญหาทีเ่ กิดขึน้ หลาย อย่าง (รวมถึงการใช้ปริมาณพลังงานทีส่ งู มาก ในการผลิต เส้นใยคาร์บอน ซึง่ ส่งผลให้เกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และส่งผลลบต่อสิง่ แวดล้อม) ปัญหาเหล่านีม้ คี วามท้าทาย และเป็นโจทย์ที่กำ�ลังได้รับความสนใจในการวิจัย และ
33
THAI COMPOSITES MAGAZINE
34
Composites Report
สมาคมฯ จัดสัมมนาใหญ่เชิงปฏิบัติการ Carbon Fiber and Reinforce Plastics : The ERA of Thailand 4.0 พร้อมจัดประชุมใหญ่สามัญประจำ�ปี 2560
ส
มาคมไทยคอมโพสิท ร่วมกับ สำ�นักพัฒนา อุตสาหกรรมสนับสนุน (BSID) จัดการสัมมนา ใหญ่ขึ้นมาอีกครั้งเมื่อวันอังคารที่ 31 มกราคม 2560 ณ โรงแรมมณเฑียร ริเวอร์ไซต์ กรุงเทพ และวัน พุธที่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 ณ บริษัท สยามเคมีคอลอิน ดัสตรี้ จำ�กัด จ.สมุทรปราการ โดยครั้งนี้จัดเป็นงาน สัมมนาเชิงปฏิบัติการในหัวข้อเรื่อง Carbon Fiber and Reinforce Plastics : The ERA of Thailand 4.0 โดย มีสมาชิกและผู้สนใจในวงการอุตสาหกรรมคอมโพสิท เข้าร่วมงานอย่างคึกคัก
สำ�หรับวัตถุประสงค์การจัดงานสัม มนาก็เ พื่อมุ่ง เน้น การพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมพลาสติ กวิ ศ วกรรม การ ถ่าย ทอดเทคโนโลยีการผลิตให้แก่ผู้ประกอบการ และ มาตรฐานผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการประยุกต์งานวิจัย และพัฒนาสู่เชิงพาณิชย์ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่ ง ขั น และช่ ว ยพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมพลาสติ ก วิศวกรรมในประเทศไทยให้เจริญเติบโตอย่างยั่งยืนต่อ ไป รวมทั้งสามารถก้าวสู่ตลาดสากลได้อย่างเท่าเทียม กับนานาอารยประเทศอีกด้วย ภายหลังทีจ่ บสัมมนาของวันอังคารที่ 31 มกราคม 2560 ณ โรงแรมมณเฑียร์ริเวอร์ไซต์ ทางสมาคมฯ ได้จัดวาระ พิเศษ ประชุมใหญ่สามัญประจำ�ปี 2560 เพื่อรายงาน สภานภาพของสมาชิก, ผลการดำ�เนินงานสมาคมฯ และ เลือกตั้งคณะกรรมการบริหารชุดใหม่ ซึ่งผลการเลือก ตั้งในครั้งนี้ ต้องขอแสดงความยินดีกับ คุณดนู โชติก พนิช ที่ได้รับความไว้วางใจจากสมาชิกได้รับเลือกให้ ดำ�รงตำ�แหน่ง นายกสมาคม เป็นสมัยที่ 2 และอัพเดท กรรมการชุดใหม่ได้ที่หน้า Board of Director นะคะ
W W W. F I B E R G L A S S T H A I . C O M
35
THAI COMPOSITES MAGAZINE
36
ผูผลิต-นำเขาและจำหนาย วัตถุดิบคุณภาพดี
สำหรั บ งาน ไฟเบอร ก ลาส เชน ใยแกว เรซิ่น ผาตาสาน ใยเสนสั้น ใยพัน/พน ไวนิล เคมีภัณฑและอุปกรณอื่นๆ ทั้งปลีกและสง
The manufacturer-importer and distributor of quality raw material for Fiberglass application such as Chopped Strand mat, UP Resin, Woven Roving, Chopped Strand for Thermo Plastic, Filament Winding. Spray-Roving, Vinyl Ester Resin, Other Chemicals and equipments. We sell in retail and wholesale.
ใยแกวผืน
เรซิ่นไฟเบอร-หลอ
โมโนสไตรีน
อาซิโทน-ทินเนอร
โคบอลท
แปงทัลคัม Talcum
ตัวเรง
โมโนเเวกซ Monowax
น้ำยา PVA Solution
ใยทอ WR
ใยทิชชู
แผนรังผึ้ง
ขี้ผึ้งถอดแบบ
ผาคารบอน-เคฟลาร
ใยพน-ใยพัน
Biaxial +45/-45 องศา
Silicon ถอดเเบบ
โฟมขาว-ดำ
Epoxy Resin
ลูกกลิ้ง
เจลโคท
ใยทอทางเดียว Uni 0/90๐
คอรแมทเสริมความหนา
ใยเเกวตัดสั้น
ผงเบา
น้ำยาถอดเเบบ
เเมสี Pigment Paste
ไมโครบัลลูน
ผงเเคลเซียม
ยางพารา Latex Ruber
บริษัท เจ.เอ็น. ทรานสอส (ประเทศไทย) จำกัด 69/21 ม.13 ซ.เพชรเกษม 91 ถ.เพชรเกษม ต.ออมนอย อ.กระทุมแบน จ.สมุทรสาคร 74130 JN TRANSOS (Thailand) CO.,LTD. 69/21 Moo 13, Petchakasame 91, Petchakasame Road, Omnoi, Kratumbaen, Samutsakorn, Thailand 74130 Tel: 02-8137315-6 Fax: 02-8111574 Mobile: 086-319-5331, 089-444-8108 E-mail: jn_jedsada@hotmail.com
www.jn-transos.com