เนื้อหารายวิชาแนวคิดวิชาแนวคิดสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา 2556

Page 1

รายละเอียดของรายวิ ชา ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา วิ ทยาเขต/คณะ/ภาควิ ชา ภาควิชาสังคมวิทยา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ หมวดที่ ๑ ข้อมูลทัวไป ่ ๑. รหัสและชื่อรายวิ ชา ๒๖๑๑๒๔ แนวคิดสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (Sociological and Anthropological Thoughts) ๒. จานวนหน่ วยกิ ต ๓ หน่วยกิต (๓-๐-๖) ๓. หลักสูตรและประเภทของรายวิ ชา ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการบริการสังคมและการพัฒนาชุมชน โดยเป็นวิชาเอกเลือก ๔. อาจารย์ผร้ ู บั ผิดชอบรายวิ ชา ณพฤนท์ ธารธนคุณ ๕. ภาคการศึกษา / ชัน้ ปี ที่เรียน ภาคต้น การจัดการบริการสังคมชัน้ ปีท่ี 1 และการพัฒนาชุมชนชัน้ ปีท่ี 2 ๖. รายวิ ชาที่ต้องเรียนมาก่อน (pre-requisite) (ถ้ามี) ไม่ม ี ๗. รายวิ ชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (co-requisites) (ถ้ามี) ไม่ม ี ๘. สถานที่เรียน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ๙. วันที่จดั ทาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิ ชาครัง้ ล่าสุด พฤษภาคม ๒๕๕๖


หมวดที่ ๒ จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ ๑. จุดมุ่งหมายของรายวิ ชา -

ห้ผเู้ รียนเข้าใจขอบเขต ความเป็นมาและลักษณะของสังคมวิทยา และมานุษยวิทยา เพื่อให้ผเู้ รียนตระหนักถึงความสัมพันธ์ของสังคมและวัฒนธรรม เพื่อให้ผเู้ รียนเข้าใจแนวความคิดและวิธกี ารทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา เพื่อให้ผเู้ รียนสามารถนาแนวความคิดทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาไปประยุกต์ ใช้ในการอธิบายปรากฏการณ์และพฤติกรรมทางสังคมของมนุษย์ เพื่อให้ผเู้ รียนสามารถอธิบายการเปลีย่ นแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมได้ อย่างมีหลักเกณฑ์

๒. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิ ชา - เพื่อให้ผเู้ รียนมีความรูแ้ ละความเข้าใจในแนวความคิดและวิธกี ารทางสังคมวิทยา และมานุษยวิทยา - เพื่อให้ผเู้ รียนสามารถประยุกต์ใช้ความรูท้ างสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาในการอธิบาย ปรากฏการณ์ทางสังคมและพฤติกรรมทางสังคมของมนุ ษย์ ตลอดจนการเปลีย่ นแปลง ทางสังคมและวัฒนธรรมได้

หมวดที่ ๓ ลักษณะและการดาเนิ นการ ๑. คาอธิ บายรายวิ ชา ขอบเขต ความเป็นมาและลักษณะของสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ความพันธ์ของสังคม และวัฒนธรรม การนาแนวความคิดและวิธกี ารทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาไป ประยุกต์ใช้ในการอธิบายปรากฏการณ์และพฤติกรรมทางสังคมของมนุษย์ ตลอดจน การเปลีย่ นแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม ๒. จานวนชัวโมงที ่ ่ใช้ ต่อภาคการศึกษา


บรรยาย

สอนเสริ ม

การฝึ กปฏิ บตั ิ /งาน ภาคสนาม/การฝึ กงาน

การศึกษาด้วย ตนเอง

3 ชัวโมงต่ ่ อสัปดาห์

ไม่ม ี

ไม่ม ี

๖ ชัวโมงต่ ่ อ สัปดาห์

๓. จ านวนชัว่ โมงต่ อ สัป ดาห์ ที่ อ าจารย์ใ ห้ ค าปรึ ก ษาและแนะน าทางวิ ช าการแก่ นั ก ศึ ก ษา เป็ นรายบุคคล - ตามตารางทีก่ าหนดในแต่ละภาคการศึกษา ๒ ชัวโมงต่ ่ อสัปดาห์ - ตามทีน่ ิสติ นัดหมาย ตลอดเวลา - จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ตลอดเวลา หมวดที่ ๔ การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ๑. คุณธรรม จริ ยธรรม ๑.๑ คุณธรรม จริ ยธรรมที่ ต้องพัฒนา - ปลูกฝงั ให้มกี ารใช้สติและปญั ญาในการปฏิบตั ิ กระทาของตนให้เป็ นไปตามกฎ และกติกาของสังคม และมีความรับผิดชอบต่อหน้าทีแ่ ละการงาน ๑.๒ วิ ธีการสอนที่ จะใช้พฒ ั นาการเรียนรู้ - บอกข้อปฏิบตั แิ ละหลักเกณฑ์การให้คะแนนการเข้าชัน้ เรียนและการแต่งกาย - ยกตัวอย่างการใช้สติและปญั ญาในการตัดสินใจอย่างถูกต้อง ระหว่างการเรียนการสอน - มอบหมายให้ทารายงานเดีย่ วและรายงานกลุ่ม ๑.๓ วิ ธีการประเมิ นผล - ประเมินจากเวลาเรียน ความประพฤติและการแต่งกาย - ประเมินจากรายงาน การสอบกลางภาคและปลายภาค ๒. ความรู้ ๒.๑ ความรู้ที่จะได้รบั - เข้าใจประโยชน์และคุณค่าของแนวคิดทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาในการอธิบาย ปรากฏการณ์และพฤติกรรมทางสังคมของมนุษย์ - เข้าใจวิธกี ารทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาในการได้มาซึง่ ความรูใ้ นการเข้าใจสังคม และวัฒนธรรม - เข้าใจความสัมพันธ์ของ และ


๒.๒ วิ ธีการสอน - บรรยายและยกกรณีตวั อย่าง - ศึกษาดูงานและ/หรือรายงาน หาความรูแ้ ละ/หรือทารายงานเพิม่ เติม ๒.๓ วิ ธีการประเมิ นผล - สอบกลางภาคและปลายภาค - ประเมินผลจากความสนใจในการศึกษาดูงานและ/หรือเนื้อหาจากรายงาน ๓. ทักษะทางปัญญา ๓.๑ ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา - สามารถเลือกและประยุกต์แนวคิดทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาในการอธิบาย ปรากฏการณ์และพฤติกรรมทางสังคมของมนุษย์ - สามารถวิเคราะห์ปญั หาและผลกระทบการเปลีย่ นแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมได้ อย่างมีหลักเกณฑ์ ๓.๒ วิ ธีการสอน - บรรยายและยกตัวอย่าง การประยุกต์ใช้แนวคิดทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาในการ อธิบายปรากฏการณ์และพฤติกรรมทางสังคมของมนุษย์ - รายงานการวิเคราะห์ปญั หาและผลกระทบการเปลีย่ นแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม ๓.๓ วิ ธีการประเมิ นผลทักษะทางปัญญาของนักศึกษา - สอบระหว่างภาค/ปลายภาค - ประเมินผลเนื้อหาจากรายงานและการแสดงความคิดเห็นระหว่างผูเ้ รียน ๔. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ๔.๑ ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องการพัฒนา - การทางานร่วมกัน การยอมรับความคิดเห็นต่าง และการแบ่งความรับผิดชอบ ๔.๒ วิ ธีการสอน - มอบหมายให้ทางานกลุ่ม และมีการแบ่งหน้าทีท่ ช่ี ดั เจน ๔.๓ วิ ธีการประเมิ น - ประเมินการนาเสนองาน การตอบคาถาม และเนื้อหาของรายงาน ๕. ทักษะการวิ เคราะห์เชิ งตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ๕.๑ ทักษะการวิ เคราะห์เชิ งตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา - สามารถคานวณ ตลอดจน ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างง่าย ในการค้นหาความรู้ เก็บข้อมูล ทารายงาน และนาเสนอรายงาน - ใช้ภาษาในการสื่อสารร่วมกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้อย่างถูกต้อง


๕.๒ วิ ธีการสอน - แนะนาการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สาหรับใช้งานในสานักงานและสาหรับใช้อนิ เทอร์เน็ต ๕.๓ วิ ธีการประเมิ น - การใช้ภาษาในการนาเสนอรายงานและเนื้อหารายงานทีถ่ ูกต้องและชัดเจน รวมถึงมีความกระชับ - การใช้จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ในการติดต่อกับผูส้ อน เช่น สอบถามปญั หาการเรียน การรับส่งรายงาน - การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการนาเสนอรายงาน - การอ้างอิงแหล่งข้อมูลรายงานจากอินเทอร์เน็ต หมวดที่ ๕ แผนการสอนและการประเมิ นผล ๑. แผนการสอน สัปดาห์ ที่

หัวข้อ/รายละเอียด

จานวน (ชัวโมง) ่

กิ จกรรมการเรียน การสอนและสื่อที่ใช้

แ ะนาการเรียน-การสอน การประเมินผลรายวิชา

บรรยายและอธิบาย

ความรูแ้ ละสังคม-มนุษย์

บ ยายและอธิบาย อภิปรายหน้าชั้น

๓ ๔ ๕ ๖ ๗

ความรูเ้ บือ้ งต้นเกี่ยวกับ แนวคิดสังคมวิทยา แนวคิดสังคมวิทยา ยุคคลาสสิ ค แนวคิดสังคมวิทยา ยุคสมัยใหม่และหลังสมัยใหม่ แนวคิดสังคมวิทยา ในชีวติ ประจาวัน สรุปแนวคิดสังคมวิทยา และการนาไปประยุกต์ใช้

๘ ๙

๓ ๓ ๓ ๓

บ ยายและอธิบาย แสดงตัวอย่าง อภิปรายร่วม และกิจกรรมกลุ่ม

๓ สอบกลางภาค

ความรูเ้ บือ้ งต้นเกี่ยวกับ แนวคิดมานุษยวิทยา

ผูส้ อน

ณพฤนท์ ธารธนคุณ


๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖

วิวฒ ั นาการของมนุษย์และ แนวคิดมานุษยวิทยากายภาพ แนวคิดมานุษยวิทยาวัฒนธรรม และงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง สรุปแนวคิดมานุษยวิทยา และการนาไปประยุกต์ใช้ แนวคิดการเปลีย่ นแปลงทาง สังคม-วัฒนธรรม แนวคิด โครงสร้าง-ผูก้ ระทาการ สรุปวิชาแนวคิดสังคมวิทยามานุษยวิทยา รายงานเดีย่ ว รายงานกลุ่ม

๑๗ รวม ผลการ เรียนรู้* ๑,๔ ๑,๔ ๑,๒,๓,๕ ๑,๒,๓,๔,๕ ๑,๒,๓,๔,๕ ๑,๒,๓,๔,๕ ๑,๒,๓,๔,๕ ๑,๒,๓,๔,๕

วิ ธีการประเมิ น การแต่งกาย เวลาเรียน การเข้าเรียน กิจกรรมในชัน้ เรียน รายงานเดีย่ ว รายงานกลุ่ม สอบกลางภาค สอบปลายภาค

๓ ๓ ๓ ๓

บ ยายและอธิบาย แสดงตัวอย่าง อภิปรายร่วม และกิจกรรมกลุ่ม

ณพฤนท์ ธารธนคุณ

๓ ๓ รายงาน วิจารณ์ และเสนอแนะ สอบปลายภาค ๔๘ ๓

สัปดาห์ที่ประเมิ น

สัดส่วนของ การประเมิ น

๑-๑๖ ๑-๑๖ ๒-๑๖ ๒-๑๖ ๑๕ ๑๖ ๘ ๑๗

๕ ๕ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๒๐ ๓๐

*หมายเหตุ ๑. คุณธรรม จริยธรรม ๒. ความรู้ ๓. ทักษะทางปญั ญา ๔. ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ๕. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ


หมวดที่ ๖ ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน ๑. ตาราและเอกสารหลัก ปริตตา เฉลิมเผ่า กออนันตกูล บรรณาธิการ. (๒๕๔๕). คนใน: ประสบการณ์ภาคสนามของนักมานุษยวิทยาไทย. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรนิ ธร. พัชรินทร์ สิรสุนทร. (๒๕๕๖). แนวคิด ทฤษฎี เทคนิค และการประยุกต์เพือ่ การพัฒนาสังคม. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. พัทยา สายหู. (๒๕๔๐). กลไกของสังคม. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ยศ สันตสมบัต.ิ (๒๕๓๙). มนุษย์กบั วัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. สุภางค์ จันทวานิช. (๒๕๕๕). ทฤษฎีสงั คมวิทยา. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อานันท์ กาญจนพันธ์. (๒๕๒๘). แนวความคิดพื้นฐานทางมานุษยวิทยา แปลจาก Invitation to Anthropology by Douglas L. Oliver. กรุงเทพฯ: สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย. ๒. เอกสารและข้อมูลสาคัญ ฉลาดชาย รมิตานท์ และวารุณี ภูรสิ นิ สิทธ์. (๒๕๒๙). สังคมวิทยาและมานุษยวิทยาไทย: สถานภาพและทิศทาง. ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เชษฐา พวงหัตถ์. (๒๕๔๘). โครงสร้าง-ผูก้ ระทาการ (Structure-Agency). กรุงเทพฯ: สานักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ. สุรชิ ยั หวันแก้ว. (๒๕๕๐). คนชายขอบ: จากความคิดสู่ความจริง. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ยศ สันตสมบัต.ิ (๒๕๓๒). จากวารนรถึงเทวดา: มาร์กซิสต์และมานุษยวิทยามาร์กซิสต์. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ๓. เอกสารและข้อมูลแนะนา นิธ ิ เอียวศรีวงศ์. (๒๕๓๓). ความหลากหลายของวัฒนธรรมไทย: การท้าทายใหม่ ใน สู่ความเข้าใจวัฒนธรรม (หน้า ๙-๑๑๕). กรุงเทพฯ: สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ. ศรีศกั ดิ ์ วัลลิโภดม. (๒๕๔๔). พัฒนาการทางสังคม-วัฒนธรรมไทย = Socio-Cultural Development in Thai History.เอกวิทย์ ณ ถลาง (บรรณาธิการ). กรุงเทพฯ : อมรินทร์.


หมวดที่ ๗ การประเมิ นและปรับปรุงการดาเนิ นการของรายวิ ชา ๑. กลยุทธ์การประเมิ นประสิ ทธิ ผลของรายวิ ชาโดยนักศึกษา ให้นสิ ติ ประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ได้แก่ วิธกี ารสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิง่ สนับสนุ นการเรียนการสอน ซึง่ มีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรูท้ ไ่ี ด้รบั พร้อมข้อเสนอแนะ เพื่อการปรับปรุงผ่านระบบประเมินผลการเรียนของมหาวิทยาลัย ๒. กลยุทธ์การประเมิ นการสอน ติดตามการประเมินผลการเรียนและข้อเสนอแนะของนิสติ จากระบบการประเมินผลการเรียนของ มหาวิทยาลัย ๓. การปรับปรุงการสอน ทบทวนการจัดการเรียนการสอนจากข้อมูลการประเมินผลการเรียนและข้อเสนอแนะของนิสติ จาก ระบบการประเมินผลการเรียนของมหาวิทยาลัย ๔. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ รายวิ ชาของนักศึกษา ทบทวนพฤติกรรม รายงาน และคะแนนสอบของผูเ้ รียน ๕. การดาเนิ นการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิ ทธิ ผลของรายวิ ชา พิจารณาจากข้อมูลการประเมินผลการเรียนและข้อเสนอแนะของนิสติ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.