SOCIOLOGICAL AND ANTHROPOLOGICAL THOUGHTS
แนวคิดสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา รหัสวิชา 261124 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2557 (สัปดาห์ท่ี 5)
ทฤษฎีระบบโลก (WORLD SYSTEM THEORY) การครอบงําและแสวงหา ผลประโยชน์
การจัดส่ งวัตถุดิบ และแรงงาน
• ศูนย์ กลางทุนนิยมโลก
• ชายขอบทุนนิยม/ บริวาร
(CORE CAPITALISM)
(PHERIPHERAL CAPITALISM)
เช่น ประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศส เนเธอแลนด์
• กึง่ ชายขอบทุนนิยม (SEMI-PHERIPHERAL CAPITALISM)
• ระบบทุนนิยมโลก (WORLD CAPITALISM)
การครอบงําจากศูนย์กลางน้อยลง มีการพัฒนาด้านอุตสาหกรรม และอิสระทางการเมืองมากขึ้น
• ชนชั้นและการครอบงําจากศูนย์ กลาง อิมมานูเอล วอลเลอร์ สไตน์
ระบบภาษา ความคิด เกี่ยวกับสิ่ งทีเรากล่าวถึง หรื อความหมายของคํา
(SEMIOTICS)
คําที่เราเปล่งเสี ยงหรื อเขียนขึ้น เพื่อใช้เรี ยกสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง เป็ นสัญลักษณ์แทนสิ่ งหนึ่ง ความหมายสั ญญะ
ขัน
รู ปสั ญญะ
• ภาษาทีม่ นุษย์ ใช้ มโี ครงสร้ าง/ ระบบซ่ อนอยู่ • ภาษา = สั ญลักษณ์ • “คํา” และ “ความหมาย” ไม่ ตายตัว • ความหมายใหม่ จากเสี ยงเดิม เรียกว่ า พัฒนาการ แฟร์ ดนิ องด์ เดอ โซสซูร์
การรื้อสร้าง (DECONSTRUCTION)
• การค้ นพบ/ รื้อสร้ างความหมายอืน่ ๆ ทีถ่ ูกกดทับเอาไว้
...................
• ความหมายมากกว่ า 2 อย่ างขึน้ ไป ในบริบททีแ่ ตกต่ างกัน บทบาทดั้งเดิม ... บทบาททีแ่ สดงออกมา • “ดิฟเฟอร์ รองค์ ” = ความหลากเลือ่ น
• ความหมายเปลีย่ นแปลงไปตามกาลเวลา • ไม่ มคี วามจริงสู งสุ ด • ทุกสิ่ งอยู่ภายใต้ เงือ่ นไขภาษา สั งคม และวัฒนธรรม จึงจําเป็ นต่ องมีการรื้อสร้ าง • การตีความ
ทีไ่ ม่ มที างเข้ าถึงความหมายสุ ดท้ ายได้
รู ปสั ญญะ/ คํา เป็ นสิ่ งทีล่ ่ องลอยอิสระ • การรื้อสร้ าง คือ กระบวนการนิยามสิ่ งทีแ่ ปลกปลอม เพือ่ สร้ างลักษณะเฉพาะ • “คู่ตรงข้ าม” เช่ น วัฒนธรรมชั้นสู ง ... วัฒนธรรมมวลชน • “สิ่ งทีห่ ายไปทีด่ าํ รงอยู่” “ความเงียบทีก่ าํ ลังผลิตอยู่” คือ ตัวบท/ สิ่ งแปลกปลอม ทีถ่ ูกอ้ างว่ าไม่ จําเป็ นต้ องมีอยู่ แต่ ทขี่ าดไม่ ได้ ฌ้ าคส์ แดริด้า
การก่อตัวของโครงสร้างความสัมพันธ์ของสังคม (STRUCTURATION)
การกระทําของมนุษย์
• การกระทําของมนุษย์ที่มีโครงสร้างเป็ นตัวกําหนด • มนุษย์เป็ นผูส้ ร้างและเปลี่ยนแปลงทิศทางสังคมได้ • การวิเคราะห์ชีวติ ทางสังคมต้องอาศัยการตีความ • ไม่มีโครงสร้างทางสังคมหรื อปัจเจกชนฝ่ ายเดียว ปัจเจกชน/ โครงสร้ าง ที่ทรงอํานาจ แต่ท้ งั สองส่วนต้องดํารงอยูร่ ่ วมกัน สั งคม ผู้กระทํา • ระบบทวิลกั ษณ์ของโครงสร้าง • โครงสร้างสังคม คือ กฏและทรัพยากรที่ใช้ในการผลิต • ผูก้ ระทํา คือ ความสามารถที่รู้วา่ จะทําอะไร • สื่ อ ศูนย์กลางในการสะท้อนภาวะสมัยใหม่ กําหนดอัตลักษณ์ ตัวกําหนดชีวติ ทางสังคม ของบุคคล สร้างและสะท้อนความเป็ นไปของโลกและสังคม และพฤติกรรมของมนุษย์ • รัฐ ไม่ใช่ผกู ้ ระทําหลักหรื อตัวขับเคลื่อนสังคม • มายาคติ ความหมายทางวัฒนธรรมบนร่ างกายมนุษย์ เป็ นอัตลักษณ์ใหม่ที่ได้รับจากระบบทุนนิยม เช่น ครี มผิวขาว ยาลดความอ้วน เป็ นต้น แอนโทนี กิดเดนส์