เพิ่มเติม_เด็กขายพวงมาลัย ชีวิตชายขอบในเมือง

Page 1

เด็กขายพวงมาลัย: ชีวิตชายขอบในเมือง บทสังเคราะห์ องค์ ความรู้ จากงานวิจัยและฐานข้ อมูลออนไลน์ อรทัย อาจอ่า รองศาสตราจารย์ สถาบันวิจยั ประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ความนา บทความเรื่ อง “เด็กขายพวงมาลัย: ชี วิตชายขอบในเมื อง” นี ้ แรกเริ่ มเดิมที ตังความหวั ้ งไว้ ค่อนข้ างสูงว่า จะพยายามทาให้ เป็ นบทความที่มีความครอบคลุมในทุกด้ าน หรื อสามารถทาการ ประมวลภาพสถานการณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวกับเด็กกลุ่มนี ้ หรื อตังใจที ้ ่จะทาให้ เป็ นบทสังเคราะห์องค์ ความรู้ บนพื ้นฐานของข้ อมูลทุตยิ ภูมิ หรื อบนพื ้นฐานของการศึกษา ทบทวน ประมวลภาพจากการ ศึกษาวิจยั ต่างๆ จากเมือง ในขอบเขตทัว่ ประเทศที่คอ่ นข้ างสมบูรณ์ แต่พอลงมือดาเนินการจริ ง กลับพบว่า มีข้อจากัดด้ านการศึกษาวิจยั หรื อพบว่าข้ อมูลด้ านนี ้ ยังมีอยู่ไม่มากนัก ทังๆ ้ ที่เป็ น เรื่ อ งหรื อ หัว ข้ อ ที่ แ สดงอยู่ใ นฐานข้ อ มูล ของ Google มากถึ ง 900 กว่า รายการก็ ต าม แต่ส่วนใหญ่ (จากทังหมด ้ 900 กว่ารายการ) นัน้ มักเป็ นการกล่าวพาดพิงถึง “เด็กขาย พวงมาลัย” เพียงแค่สนั้ ๆ หรื อ ส่วนใหญ่เป็ นการพูดถึงความทุกข์ ยาก ความยากจน ความเหลื ่อม ล้ าที ่มีอยู่ในสังคม หรื อ คุณภาพชี วิตที ่ต้อยต่ าของประชากรกลุ่มต่างๆ หรื อ เด็กกลุ่ มอื ่นๆ และ/ หรื อ ปรากฏการณ์ใหม่ๆ ทีเ่ กี ่ยวกับเด็ก ไม่ว่าจะเป็ น แรงงานเด็ก เด็กเร่ ร่อน เด็กข้างถนน เด็กเก็บ ขยะ เด็กซาเล้ง เด็กซิ่ งรถ เด็กชกมวย เด็กเล่นเกมส์ เด็กติ ดเน็ต เด็กติ ดกาว เด็กต่างด้าว เด็ก ขอทาน เด็กยิ งข้อสอบ เด็กที ่ถูกใช้เป็ นเครื ่ องมื อ หรื อการแสวงประโยชน์ ในรู ปแบบต่างๆ ฯลฯ เสร็ จแล้ว ก็มกั จะพ่วงคาว่า “เด็กขายพวงมาลัย” และ “เด็กเช็ดกระจกรถ” เอาไว้ในกลุ่มเด็ก เหล่านีด้ ว้ ยเสมอ ไม่ว่าจะเป็ นการพูดโดยใคร หรื อในบทความใดก็ตาม (อดิศกั ด์ ผลิตผลการพิมพ์ 2549; ไพฑูรย์ สุขกสิกร 2549) ซึ่งอันที่จริ งนัน้ ควรจะมีการจาแนกประเภทของกลุ่มเด็กต่างๆ เหล่านี ้ ทัง้ นี ้ เพื่อที่จะ สามารถทาความเข้ าใจสภาพปั ญหา และเงื่อนไขต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องได้ อย่างละเอียดลึกซึ ้งมากขึ ้น เพราะความจริ งแล้ ว เด็กขายพวงมาลัย -ดอกไม้ และเด็กเช็ดกระจกรถ ควรจัดอยู่ในกลุ่มเด็ก ทางาน หรื อจาเป็ นต้ องช่วยครอบครัวทางาน หรื อ จาเป็ นต้ องได้ รับการเลี ้ยงดูจากครอบครัวแบบ ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน เนื่องจากความจาเป็ นทางเศรษฐกิจ ซึ่งกลุ่มนี ้ ประกอบไปด้ วย แรงงาน เด็ก เด็กเก็บขยะ เด็กซาเล้ ง เด็กชกมวย เด็กขอทาน และเด็กต่างด้ าวบางกลุ่ม สาหรับเด็กเล่น เกมส์ เด็กติดเน็ต และเด็ กซิ่ง รถ ก็อาจจัดอยู่ในกลุ่มหรื อประเภทที่ 2 ซึ่งได้ รับอิทธิ พลจาก เทคโนโลยี หรื อ อาจเรี ยกว่า เป็ นกลุม่ เด็กที่ตกเป็ นเหยื่อของสังคมสมัยใหม่ มีพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ และมักเที่ยวเตร่ยามวิกาล เนื่องจากถูกละเลยจากครอบครัว หรื อครอบครัวไม่ร้ ูเท่าทันอิทธิพลของ


เทคโนโลยีสมัยใหม่ และกลุ่มที่ 3 คือกลุ่มเด็กที่เร่ร่อน ไร้ บ้าน-ไร้ รัก และ/หรื อ เด็กข้ างถนน ซึ่งส่วน หนึ่งอาจดารงชีพด้ วยการขอทาน และเก็บของเก่าขาย เพื่อประทังชีวิตไปด้ วยในบางเวลา ซึ่งเด็ก กลุม่ นี ้ มักเป็ นเด็กที่หลุดออกจากครอบครัว และใช้ ชีวิตเร่ร่อนไปตามท้ องถนน และไม่ได้ ทางานที่มี รายได้ ชดั เจน และบางส่วนติดกาว หรื อสารเสพติดอื่นๆ อยู่ด้วย นอกจากนี ้ ในปั จจุบนั ก็ยงั มีเด็ก หรื อเยาวชนอีกกลุม่ หนึง่ เพิ่มขึ ้นมาด้ วย คือ เด็กยิงข้ อสอบ ซึ่งเป็ นอาชีพที่ทารายได้ ดีพอสมควร แต่ จะต้ องเป็ นเด็กที่เก่ง หรื อมีผลการเรี ยนดี (สุวฒ ั น์ อัศวไชยชาญ 2548) อย่างไรก็ตาม การสืบค้ นข้ อมูลในฐานข้ อมูล Google ก็ช่วยทาให้ ผ้ ูเขียนได้ ทราบความ เคลื่อนไหวต่างๆ เกี่ยวกับเด็กขายพวงมาลัย รวมถึงปั ญหาของเด็กในกลุ่มต่างๆ และทาให้ เกิดแรง บันดาลใจในการทาความเข้ าใจการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ทางสังคม วัฒนธรรม และเทคโนโลยี ที่ ส่งผลต่อเด็กเป็ นอย่างมาก นอกจากนี ้ ยังทาให้ ทราบด้ วยว่า มี บคุ คลในวงการต่างๆ ที ่สนใจสภาพความเป็ นอยู่ หรื อ ความเป็ นไปของเด็กขายพวงมาลัย มากพอสมควร เพราะมี การกล่างถึงกันมาก (แม้ แต่นกั ธุรกิจ และนักเขียน) โดยเฉพาะตังแต่ ้ ที่มีเด็กนักเรี ยนหญิงที่ช่วยพ่อแม่ขายพวงมาลัย และดอกจาปี ถูก รถบรรทุกชนเสียชีวิตเมื่อวันที่ 28 มิถนุ ายน 2549 ที่เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร (เหตุการณ์เพิ่ง ผ่านไปไม่ถึงหนึง่ ปี นี่เอง) สาหรับก่อนหน้ านี ้พบว่า มีการศึกษาเกี่ยวกับเด็กขายพวงมาลัยและเด็กเช็ดกระจกรถอยู่ เนืองๆ เริ่ มครัง้ แรกตังแต่ ้ ปี พ.ศ. 2519 หรื อ 30 กว่าปี ที่ผ่านมา (จัดทาโดยกระทรวงศึกษาธิการ และสานักงานส่งเสริ มเยาวชน) และมีปรากฏออกมาเป็ นระยะๆ โดยเฉพาะในช่วงที่มีเด็กขาย พวงมาลัยจานวนมากบนท้ องถนน ในด้านหนึ่ง แสดงให้เห็นว่า มี คนสนใจเกี ่ยวกับความเป็ นมาเป็ นไปของเด็กกลุ่มนี ้ม ากพอสมควร แต่ในอี กด้านหนึ่ง ก็ แสดงให้เห็นด้วยว่า เรื ่ องนี ้ยงั ไม่ มี ทางออกที ่ได้ผลชัดเจน จึงทาให้ มีการเกิดขึ ้นของเด็กกลุ่มนี ้ หรื อมีการโผล่ขึ ้นมาของปรากฏการณ์ นี ้ เป็ นระยะๆ แล้ วก็หายไป แล้ วก็เกิดขึ ้นอีก ไม่จบสิ ้น สิ่งนี ้ จึงเป็ นความน่าสนใจว่า เป็ นเพราะ อะไร คาถามหลักของบทความ บทความนี ้ เป็ นความพยายามที่ จ ะตอบคาถาม หรื อทาความเข้ าใจประเด็นต่างๆ ที่ เกี่ยวข้ องกับการเกิดขึ ้น คงอยู่ สูญสลายไป โผล่ขึ ้นมาใหม่ ของอาชีพเด็กขายพวงมาลัย ซึ่งหลายๆ คนมองว่า เป็ นอาชีพของคนชายขอบ ที่มีความเชื่อมโยงกับปรากฏการณ์ เมือ ง หรื อความเป็ น ศูนย์กลางของเมือง ซึ่งในบทความนี ้ ก็ได้ พยายามที่จะวิเคราะห์ให้ เห็นถึงความเชื่อมโยงดังกล่าว ให้ มีความชัดเจนมากขึ ้น รวมทัง้ การทาความเข้ าใจ ปั จจัย -องค์ ประกอบที่สาคัญของการ ดาเนินอาชีพ “ขายพวงมาลัย” โดยเฉพาะ ความเป็ นเด็ก และความเป็ นถนน นัน้ มี


ความสาคัญอย่ างไรต่ อการดาเนินอาชีพขายพวงมาลัย และการสะท้ อนสภาพชีวิตของเด็ก และครอบครัวพวงมาลัย รวมไปถึงชุมชน หรื อเขตที่อยู่อาศัยของเด็กเหล่านี ้ อย่างมีความสัมพันธ์ เชื่ อ มโยงซึ่ง กัน และกัน รวมถึง ท าความเข้ า ใจ เงื่ อนไข หรื อ ภาวะแวดล้ อ มต่า งๆ ที่ เป็ นตัว กาหนดการดิ ้นรนต่อสู้ และกลยุทธ์ในการอยู่รอด โดยเฉพาะเมื ่อนาปั จจัยด้านชนชัน้ เพศสภาพ และชาติ พนั ธุ์เข้ามาพิ จารณาร่ วมด้วยนัน้ ทาให้เราเข้าใจความสลับซับซ้อนในความเป็ นชายขอบ ของคนกลุ่มนี ้ มากขึ้นอย่างไรบ้าง สิ่งที่สาคัญอีกประเด็นหนึ่งก็คือ ความรู้สึกของเด็กในฐานะที่เป็ นผู้หาเลี ้ยงครอบครัว ความ ตระหนักในความเสี่ยง ความต้ องการด้ านการศึกษาและ/หรื อสัมฤทธิ์ผลด้ านนี ้ และความต้ องการ เกี่ยวกับอนาคต หรื ออาชีพในอนาคตของเด็กกลุ่มนี ้ สิ่งเหล่านี ้บ่งบอกอะไรแก่สงั คมไทย บทบาท ของรัฐและ/หรื อ หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องเป็ นอย่างไร หรื อมีมมุ มองอย่างไรต่อเด็ก ปฏิสมั พันธ์ ซึง่ กันและกันในช่วงที่ผา่ นมาเป็ นอย่างไร คนในสังคมมองเด็กเหล่านี ้อย่างไร ดัชนีชี ้วัดความสาเร็ จ ของมนุษย์ที่จดั ทาโดยหน่วยงานพัฒนาของสหประชาชาติ ในบริ บทดังกล่าวนี ้ ใช้ การได้ หรื อไม่ได้ หรื อใช้ ได้ มากน้ อยแค่ไหน อย่างไร ทางออก และ/หรื อ ทางเลือกต่างๆ ที่ได้ ผลคืออะไร มีหรื อไม่ อย่างไร เป็ นเพราะอะไร นอกจากนี ้ บทความนี ้ยังพยายามที่จะตอบคาถามหลักตามแนวการศึกษาสังคมศาสตร์ แนวใหม่ ที่เรี ยกว่า “ปั ญญาปฏิ บตั ิ ” (phronesis) หรื อ “สัง คมศาสตร์ แนวปั ญญาปฏิ บตั ิ ” (phronetic social science) (อรทัย อาจอ่า 2546; Flyvbjerg 2001) ที่ให้ ความสาคัญกับการ ศึกษาวิจยั หรื อการให้ แสงสว่างทางปั ญญา โดยการศึกษาวิจยั และการนาผลการศึกษาวิจยั (หรื อ การสังเคราะห์องค์ความรู้ บนพื ้นฐานของการวิจยั - ข้ อมูลทุตยิ ภูมิ) ไปใช้ ให้ เป็ นประโยชน์ โดยเป็ น การตังค ้ าถามกับตนเองในฐานะนักวิจยั 4 ประการ ดังนี ้คือ 1. เรากาลังจะไปทางไหนกันดี เกี่ยวกับ ปั ญหานี ้-สถานการณ์เช่นนี ้? 2. ใครได้ และใครเสีย ภายใต้ กลไกของอานาจแบบใด? 3. สิ่งที่เกิดขึ ้นนี ้ เป็ นสิ่งที่พงึ ปรารถนาของสังคมหรื อไม่? และ 4. เราควรจะต้ องทาอะไรต่อไป หรื อทาอย่างไรกันดี? นอกจากนี ้ การศึกษาปรากฏการณ์สงั คมตามแนวของสังคมศาสตร์ เชิงปั ญญาปฏิบตั ิ ยัง เน้ นย ้าถึงความสาคัญของสิ่งละอันพันละน้ อย (minutae) ซึง่ ถ้ าเราสามารถทาความเข้ าใจ สิ่งเล็กๆ น้ อยๆ ปลีกย่อยเหล่านี ้ให้ ได้ มากเท่าใด ก็สามารถสะท้ อนให้ เห็นถึงปมประเด็นปั ญหาที่ยิ่งใหญ่ได้ ทังสิ ้ ้น เช่นเดียวกับเรื่ องราวของเด็กขายพวงมาลัย ซึ่งดูเหมือนเป็ นกลุ่มคนที่ไม่มากมายนัก เมื่อ เปรี ยบเทียบกับกลุ่มอาชีพ หรื อประเด็นปั ญหาอื่นๆ แต่กลับสามารถสะท้ อนภาพของความเป็ น เมืองที่โตแบบไม่เท่าเทียม หรื อทาให้ เกิดความเหลื่อมล ้าได้ เป็ นอย่างดี


นอกจากนี ้ แง่มมุ ต่างๆ ที่เป็ นรายละเอียดปลีกย่อยของเด็กและครอบครัวพวงมาลัย ก็ช่วย ทาให้ เข้ าใจความละเอียดอ่อน และความเป็ นไปของชีวิตของกลุ่มคนชนชันล่ ้ างได้ อย่างแจ่มชัด และมีความเชื่อมโยงกับปั ญหาต่างๆ ของครอบครัว -สังคม เช่น การติดสุรา การลักเล็กขโมยน้ อย การติดยาเสพติด-สารระเหย การค้ ายาบ้ า ฯลฯ ถ้ าสังคม หรื อหน่วยงานที่เกี่ยวข้ องแก้ ไขปั ญหาไม่ ตรงจุด ก็จะกลายเป็ นการตอกย ้าซ ้าเติมการดารงชีวิตที่ยากอยู่แล้ วของคนเหล่านี ้ ให้ มีความ ยากลาบาก มีความทุกข์ระทมแสนสาหัสมากขึ ้น และ/หรื อ เป็ นการถาโถม หรื อทาให้ ปัญหามี ความสลับซับซ้ อนมากยิ่งขึ ้นไปอีก ความมุ่งหวัง หรือความคาดหวังของบทความ-ผู้เขียน ผู้เขียนคาดหวังว่า ผู้ที่มีโอกาสอ่านบทความนี ้ จะมีความเข้ าใจกลุ่มเด็กขายพวงมาลัย และ ครอบครัวของพวกเขามากขึ ้น โดยเฉพาะกลุ่มคนหรื อประชาชนที่มีทศั นะ ความคิดเห็น และ ความรู้สึกที่ไม่ดีตอ่ คนกลุ่มนี ้ ซึ่งส่วนหนึ่งเป็ นผลมาจากการประสบกับการกระทาที่ก้าวร้ าว หรื อ ได้ รับประสบการณ์ที่ไม่ดีจากเด็กกลุม่ นี ้ เช่น การถูกบังคับให้ ซื ้อพวงมาลัย และ การถูกโกงเงินทอน เป็ นต้ น นอกจากนี ้ ผู้เขียนยังคาดหวังว่า จะทาให้ สงั คมเกิดความสนใจในกลุ่มเด็กต่างๆ ดังกล่าว ข้ างต้ นอย่างจริงจัง ไม่เฉพาะกลุม่ เด็กขายพวงมาลัย เท่านัน้ และนาไปสู่ความพยายามที่จะเข้ าถึง และเข้ าใจ คนกลุ่มนี ้ให้ มากขึ ้น สื่อสารกันให้ มากขึ ้น และเข้ าใจสภาพปั ญหา และความต้ องการ ของพวกเขาให้ มากขึ ้น จนนาไปสู่การร่วมมือกันในการหาทางออกต่างๆ ทังในด้ ้ านอาชีพ-การทา มาหากิน การศึกษาของเด็ก การฝึ กอบรม การบาบัดเยียวยาครอบครัว (family therapy) การ จัดสรรสวัส ดิการที่ พ อเพี ยง การปรั บเปลี่ ย นโครงสร้ างด้ านต่างๆ ของสัง คม เช่น เรื่ องการ ครอบครองที่ดิน-ปั จจัยการผลิต การมีนโยบายการพัฒนาที่เน้ นความเท่าเทียม หรื อลดช่องว่าง ทางชนชันที ้ ่เป็ นอยู่ และการตรากฎหมายหรื อพระราชบัญญัติตา่ งๆ ที่ให้ การปกป้องคุ้มครอง หรื อ เกื ้อหนุนให้ คนชันล่ ้ างสามารถดารงชีวิตอยู่ได้ อย่างมีคณ ุ ภาพพอสมควร และสิทธิประโยชน์ตา่ งๆ ทังในระดั ้ บปั จเจกบุคคล ระดับครอบครัว ไปจนถึงระดับชุมชน-ละแวกที่อยู่อาศัย และระดับพื ้นที่ ภาค ระดับเมือง-นคร จนถึงระดับประเทศ สาหรับลาดับต่อจากนี ้ จะเป็ นการเข้ าสู่เนื ้อหา หรื อ นาเสนอแง่มมุ ต่างๆ ที่มีความสาคัญต่อการทาความเข้ าใจ “เด็กขายพวงมาลัย-ขายดอกไม้ -เช็ด กระจกรถ” รวมทังครอบครั ้ วของพวกเขา ความเป็ นชายขอบกับความเป็ นเมือง-ศูนย์ กลาง และชีวิตเด็กขายพวงมาลัย คาหลัก (keywords) ที่สาคัญยิ่งคาหนึ่งของบทความนี ้ คือคาว่า “ชายขอบ” หรื อ “ความ เป็ นชายขอบ” (marginality) หรื อกระบวนการผลักให้ เป็ นชายขอบ (marginalisation) ซึ่งได้ รับ


อิทธิพลในเชิงแนวคิดทฤษฎีมาจาก ทฤษฎีการพัฒนา ที่เรี ยกว่า การพัฒนาความด้ อยพัฒนา และทฤษฎีการพึ่งพิง (Dependency Theory) ของนักวิชาการในแอฟริ กา และลาตินอเมริ กา ซึ่ง ทาการพัฒนาแนวคิดและทฤษฎีนี ้ขึ ้นมา เพื่อเป็ นการทัดทาน หรื อเป็ นแรงต้ าน หรื อ จะเรี ยกว่าเป็ น “ยาแก้ ” ต่อ “โรคความด้ อยพัฒนา” ที่กลุ่มนักวิชาการตะวันตกหยิบยื่นให้ อันเป็ นผลมาจากการ นาเสนอทฤษฎี ความทันสมัย หรื อการพัฒนาความทันสมัย (Amin 1974, 1976; Cardoso and Faletto 1979; Emmanuel 1972; Frank 1967) ทฤษฎีดงั กล่าว วิเคราะห์ถึงความสัมพันธ์ที่ไม่เท่าเทียมกันระหว่างประเทศที่เป็ นศูนย์กลาง ของระบบทุนนิยม และประเทศบริ วาร ที่เป็ นชายขอบของระบบเศรษฐกิจของโลก ซึ่งถูกเอารัดเอา เปรี ยบจากประเทศทุนนิยมศูนย์กลาง เพราะอยูภ่ ายใต้ เงื่อนไขของระบบที่ไม่มีความเท่าเทียมด้ าน อานาจ และการแลกเปลี่ยนที่ไม่เท่าเทียมของระบบการค้ าของโลก และนักวิ ชาการด้านการพัฒนา ได้นาเอาแนวคิ ดและทฤษฎี ดงั กล่าวมาประยุกต์ใช้ในการทาความเข้ าใจปฏิ สมั พันธ์ ต่างๆ ในระดับ ภูมิภาค และระดับประเทศหรื อ รัฐ-ชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ ง การทาความเข้าใจความสัมพันธ์ ระหว่างเมื องกับชนบท ความสัมพันธ์ ระหว่างคนในชนชัน้ ต่างๆ ในสังคม รวมถึงความสัมพันธ์ ระหว่างภาคเศรษฐกิ จทีเ่ ป็ นทางการ และไม่เป็ นทางการ ซึ่งสามารถนามาประยุกต์ใช้ ได้ เป็ นอย่าง ดี เพราะทาให้ มองเห็นถึงความแตกต่างหลากหลายต่างๆ ที่มีอยู่ในสังคมมากขึ ้น และยังทาให้ เข้ าใจถึ ง การด ารงอยู่ หรื อ การเกิ ด ขึ น้ ของความแตกต่ า งหลากหลายดัง กล่ า วอี ก ด้ ว ย สาหรับในกรณีของเด็กขายพวงมาลัยก็เช่นกัน ที่สามารถนาทฤษฎีศูนย์ กลางและชาย ขอบ (centre and periphery) มาใช้ ในการอธิบายได้ อย่างมีความสอดคล้ องเป็ นอย่างยิ่ง เพราะ สามารถทาให้ ม องเห็นถึ ง ความสลับซับซ้ อน ที่ ดารงอยู่ใ นเมื อ ง เหมื อนดัง ที่ ง านศึก ษาของ นักวิชาการหลายๆ ท่านได้ สะท้ อนออกมาก่อนหน้ านี ้ ซึ่งอยู่บนพื ้นฐานของการศึกษาในกลุ่มเกย์ หญิงรักหญิง วัยรุ่น คนชรา-ผู้สงู อายุ คนเก็บขยะ และเด็กข้ างถนนในเมือง และทาให้ เข้ าใจความ หลากหลายของความเป็ นชายขอบ ไม่ว่าจะเป็ นความแตกต่างทางชนชัน้ ความแตกต่างทางเพศ สภาพ และความแตกต่างของวัย-อายุ (ปริตตา เฉลิมเผ่า กออนันตกูล 2545) นอกจากนี ้ การศึกษาดัง กล่าวข้ างต้ นนัน้ ยัง พบด้ วยว่า ความแตกต่ าง และความ สลับซับซ้อนภายในกลุ่ม หรื อคนที ่อยู่ในระนาบเดี ยวกัน หรื อกลุ่มเดี ยวกันนัน้ เมื ่อนาเอาประเด็น ชนชัน้ (class) วัย-อายุ (age) ชาติ พนั ธ์ (ethnicity) และเพศสภาพ (gender) เข้ามาพิ จารณาร่ วม ด้วย ก็ยิ่งพบความแตกต่าง และความสลับซับซ้อนมากขึ้นไปอี ก ยกตัวอย่างเช่น กรณีของกลุ่ม หญิงรักหญิง เมื่อนาประเด็นชนชันเข้ ้ ามาประกอบการพิจารณา ก็พบว่า หญิงรักหญิงที่เป็ นชนชัน้ กลาง มีการปฏิบตั ิ และมีสานึกที่แตกต่างจากหญิงรักหญิงที่เป็ นสาวโรงงาน หรื อ สาวชนบท หรื อ มีลกั ษณะที่แยกย่อยลงไปอีก (ปริ ตตา เฉลิมเผ่า กออนันตกูล 2545) และสิ่งนี ้ ก็พบในกลุ่มเด็ก ขายพวงมาลัย ด้ ว ยเช่น กัน โดยเฉพาะเมื่ อ น าประเด็น วัย -อายุเ ข้ า มาพิ จ ารณา จะพบว่ า


ความสาเร็ จในการดาเนินอาชีพนี ้ มีความสัมพันธ์ กบั อายุของเด็ก กล่าวคือ ยิ่งเด็กมีอายุน้อย เท่ าไร ก็สามารถขายได้ มากขึ้น เท่ านั้น ด้ วยเหตุนี ้ ยิ่งมีความเป็ นเด็กมากเท่าไร ก็ยิ่งสามารถทาให้ คนสงสาร หรื อเห็นใจมากขึ ้น ตามไปด้ วย และถ้ าเด็กใส่ชดุ นักเรี ยนไปขายในตอนเย็น จนถึงดึกดื่นด้ วยแล้ ว ก็ยิ่งจะทาให้ ประสบ ผลสาเร็ จในการขาย นอกจากนี ้ เด็กเล็กยังไม่ร้ ูสึกอาย แต่เมื่อเด็กโตมากขึ ้น จะรู้สึกอาย และไม่ ต้ องการขายพวงมาลัยอีกต่อไป (ปวีพร ประสพเกียรติโภคา 2546; ดาลัด ศิระวุฒิ 2548; สุนทรา ภรณ์ จันทภาโส 2546; สุกญ ั ญา พรโสภากุล 2546) ดังนัน้ เด็กขายพวงมาลัยจึงจาเป็ นต้ องช่วยพ่อแม่ทางาน ตังแต่ ้ ยงั ไม่เข้ าเรี ยนเลยด้ วยซ ้า แต่ก็ต้องอยูใ่ นสายตาของพ่อ-แม่ หรื อผู้ปกครอง (เพราะเกรงว่าเด็กจะถูกทาร้ าย หรื อถูกแย่งเงินที่ ขายได้ ก่อนกลับถึงบ้ าน) สาหรับเด็กที่อายุมากขึ ้นหน่อย ก็ต้องเดินเร่ ขายไปตามย่านต่างๆ ทัง้ ร้ านอาหาร บาร์ เบียร์ ไนท์บาร์ ซาร์ ฯลฯ (สุกญ ั ญา พรโสภากุล 2546) และประเด็นชาติ พนั ธ์ หรื อ เชื ้อชาติ ก็มีความสาคัญต่อการทาความเข้าใจความสลับซับซ้อนภายในกลุ่มเด็กขายพวงมาลัย ดังเช่น เด็กขายพวงมาลัย-ดอกไม้ ในจังหวัดเชี ยงใหม่ ที ่พบว่า ส่วนใหญ่เป็ นชาวอาข่า และเป็ น เพศหญิ ง (ในขณะที ่เด็กขายพวงมาลัยส่วนใหญ่ในจังหวัดนครศรี ธรรมราชนัน้ เกื อบทัง้ หมดเป็ น เพศชาย) เด็กกลุ่มนี ้จาเป็ นต้องเข้ามาขายพวงมาลัยและดอกไม้ (ดอกกุหลาบ-ดอกมะลิ ) เพราะ สามารถพูดภาษาไทยได้ ในขณะที ่พ่อ แม่พูดไม่ค่อยได้ (โดยเฉพาะอาข่าที ่อพยพมาจากประเทศ พม่า) เด็กจึ งจาเป็ นต้องช่วยเหลื อครอบครัว และเด็กหลายคนไม่มีพ่อ เนื่องจากพ่อติดคุก (เพราะ เกี่ยวข้ องกับยาเสพติด) หรื อพ่อตาย จึงเหลือแต่แม่ ซึ่งไม่สามารถพูดภาษาไทยได้ และไม่มีทนุ ใน การทามาค้ าขาย หรื อทาอาชีพอิสระ เหมือนกับกลุม่ อาข่าที่พอมีทนุ และขายของที่ระลึกที่เกี่ยวข้ อง กับวัฒนธรรมของเผ่าตนเองได้ นอกจากนี ้ ก็ยงั มีความแตกต่างด้านอื ่นๆ ภายในกลุ่มอาข่าเอง โดยเฉพาะความแตกต่าง ระหว่าง กลุ่มที ่มาจากประเทศพม่ า และกลุ่มที ่มาจาก อาเภอแม่สรวย จังหวัด เชี ยงราย อัน เนื ่องมาจากการมี หรื อไม่มีบตั รประชาชน สาหรับคนที ่มีบตั รประชาชน ก็สามารถเข้ าทางานใน ภาคเศรษฐกิจที่เป็ นทางการ ดังเช่น โรงงานอุตสาหกรรม หรื อบริ ษัทห้ างร้ านต่างๆ ได้ แต่ถ้าไม่มี ทางเลือกต่างๆ มีให้ ไม่มากนัก จึงจาเป็ นต้ องทาอาชีพอิสระ ที่ไม่ต้องลงทุนอะไรมากมาย อย่างไรก็ตาม กลุ่มเด็กอาข่าที่เคลื่อนย้ ายมาจากจังหวัดเชียงรายนัน้ มักจะประสบกับ ปั ญหาต่างๆ มากพอๆ กับกลุ่มที่อพยพมาจากพม่า เนื่องจากเป็ นกลุ่มที่ ถูกทางการเพ่งเล็ง ว่า เกี่ ยวข้ องกับการค้ ายาเสพติด เพราะอยู่ใกล้ กับแหล่งผลิต หรื อใกล้ เส้ นทางลาเลียงยาเสพติด ประกอบกับ การเข้ า มาอยู่ในเมื องเชี ยงใหม่ ก็ ไ ม่ไ ด้ รับ การยอมรั บ หรื อตอบสนองที่ ดี จ าก ตลาดแรงงาน (ไม่คอ่ ยมีใครอยากให้ งานทา) หรื อถูกรังเกียจจากคนพื ้นเมือง เนื่องจากมองว่าคน เหล่านี ้บุกรุกพื ้นที่ป่า ค้ ายาเสพติด ไม่มีการศึกษา และสกปรก และอีกส่วนหนึ่งเป็ นผลมาจากการ


ที่คนเหล่านี ้ มีคดีความที่เกี่ยวข้ องกับยาเสพติดบ่อยครัง้ จึงทาให้ ภาพพจน์เสียทังหมด ้ (สุกญ ั ญา พรโสภากุล 2546) การขายพวงมาลัยและดอกไม้ ของเด็กเหล่านี ้ จึงมีความยากลาบากไม่น้อย โดยเฉพาะกลุ่ม ที่ต้องขายอยู่ตามย่านบาร์ เบียร์ และไนท์บาซาร์ ซึ่งเป็ นย่านบันเทิง และมีสถานบริ การต่างๆ ที่ไม่ เหมาะสมกับเด็ก เหมือนดังที่มีบคุ คลหนึ่ง ที่ไม่พอใจเด็กเหล่านี ้ และเขียนแสดงความคิดเห็นเชิง ลบต่อเด็ก ปานประหนึ่งว่าเด็กเป็ นขอทาน โดยเขากล่าวว่า .....“มันยากเหมื อนกันนะครับ หมดรุ่น หนึ่งก็มาอีกรุ่นหนึ่งเหมื อนขอทาน (ประเภท แขนขายังดี ) คนบอกว่าอย่าให้ ไม่เช่นนัน้ เขาก็จะงอ มื องอเท้าต่อไป แต่ก็ยงั ไม่หมดสักที มี รุ่นใหม่มาเรื ่อยๆ แถมยังข้ามชาติ มาอี ก แถวบ้านผมก็เด็ก ขายดอกมะลิ แถวไนท์บาซาร์ หรื อตามบาร์ เบี ยร์ ต่างๆ ตัง้ แต่หวั ค่าถึงดึก ก็มีแต่เด็กพวกนี ้ยวั้ เยี ้ย ไปหมด คิ ดดูสิครับว่า วันหนึ่งวันหนึ่งก็วนเวี ยนอยู่ย่านแบบนี ้ ไม่ทนั โตก็จะไปเป็ นอะไร” (คุณแสน ไชย (นามสมมุต)ิ สนทนาเมื่อ 19 ตุลาคม 2548) จากคากล่าวข้ างต้ น แสดงให้ เห็นถึงการเกลียดชังกลุ่มชาติพนั ธ์ ที่มีความแตกต่างจากตน นอกจากนี ้ สิ่งที่จะต้ องทาความเข้ าใจในเนื ้อความดังกล่าว ก็คือ การที่บคุ คลคนนี ้มองว่า เด็ก เหล่านี ้งอมืองอเท้ า ทังๆ ้ ที่ในความเป็ นจริ งนัน้ พวกเขากาลังทางาน หรื อ ทาการขายสินค้ า แต่ เนื่องจากสินค้ าเหล่านี ้ อาจจะไม่เป็ นที่ต้องการ จึงเป็ นไปได้ ว่า เขารู้สึกว่า ถูกเด็กยัดเยียด ตื ้อ หรื อ กึ่งบังคับให้ เขาซื ้อ ดังนัน้ การเป็ นเด็กขายพวงมาลัยที่มีชาติพนั ธ์ที่แตกต่างไปจากกลุ่มชาติพนั ธ์หลักของสังคม จึงอาจไม่ใช่ทางทามาหากินที่จะชุบเลี ้ยงชีวิตของเด็กและครอบครัวได้ ต่อไปอย่างยืนนาน เพราะ ต้ องฝ่ ากระแสเกลียดชังของคนพื ้นเมือง หรื อเจ้ าถิ่นเดิมไปให้ ได้ ซึ่งไม่ใช่เรื่ องง่าย และในที่สดุ เด็ก ก็ต้องลงเอยดัง ที่บุคคลข้ างต้ น กล่าวสบประมาทไว้ เพราะเมื่ อเด็กต้ องประสบปั ญหาต่างๆ โดยเฉพาะ การถูกปฏิเสธจากผู้คน ขายสินค้ าไม่คอ่ ยได้ รายได้ ไม่พอเพียง และเมื่อมีอายุมากขึ ้นๆ เด็กๆ เหล่านี ้ ก็ จะผันตัวเองไปทางานในสถานบริ การต่างๆ และส่วนหนึ่ง ตัดสินใจไปอยู่กับ ชาวต่างชาติ ซึ่งก็คงลงเอยในเรื่ อง การให้ บริ การทางเพศกับชาวต่างชาติเหล่านี ้ (อย่างไรก็ตาม สาหรับประเด็นนี ้ ยังไม่มีข้อมูลหรื อรายละเอียดเพียงพอ ที่จะกล่าวสรุปใดๆ ณ ขณะนี ้ได้ ดีนกั ) ความเป็ นเด็ก-ชีวิตเลือดเนือ้ ของเด็ก และความเป็ นถนน: ปั จจัยการผลิตของคนชายขอบ ในเมือง โดยปกติ การที่คนเรา จะประกอบอาชีพอะไรก็ตามแต่ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง อาชีพที่อิสระ ทังหลาย ้ ก็มกั จะต้ องมีการ “ลงทุน” ไม่ว่าจะเป็ นแรงงาน ความรู้ –ความคิด เงินทุน ที่ดิน สถาน ประกอบการ สิ่งแวดล้ อมทางธรรมชาติ และสิ่งแวดล้ อมที่มนุษย์สร้ างขึ ้น ฯลฯ ซึ่งสิ่งเหล่านี ้ในทาง เศรษฐศาสตร์ มักเรี ยกกันว่า “ปั จจัยการผลิ ต” แต่สาหรับคนจน หรื อคนที่ไม่สามารถเข้ าทางานใน


ระบบการจ้ างงานแบบปกติ ที่เป็ นทางการได้ พวกเขาก็มีเพียงแค่ “แรงงาน” และอาจมีความรู้ ทักษะอยู่บ้าง ที่อาจเรี ยกเป็ น “ทุนทางปั ญญา” หรื อเป็ น “ปั จจัยการผลิ ต” ตังต้ ้ นอย่างหนึ่ง เพราะ แม้ แต่เงินทุนเล็กๆ น้ อยๆ เพียงแค่ 2,000- 3,000 บาท ก็อาจจะต้ องไป ขอหยิบขอยืมจากญาติพี่ น้ อง คนที่ร้ ูจกั หรื อนายทุนเงินกู้นอกระบบ สาหรับอาชีพการขายพวงมาลัยก็เช่นกัน จากการศึกษาของสุนทราภรณ์ จันทภาโส (2546) พบว่า พ่อแม่ของเด็กขายพวงมาลัย หรื ออาจเรี ยกว่า ครอบครัวพวงมาลัย จานวนไม่น้อยมักจะ ต้ องไปขอหยิบขอยืมเงินทุน จากนายทุนเงินกู้นอกระบบ หรื อเพื่อนบ้ าน หรื อญาติ เพื่อนามาลงทุน ในการซื ้อดอกมะลิ และอุปกรณ์ตา่ งๆ หรื ออาจตกอยูภ่ ายใต้ การครอบงาของผู้ที่มีอิทธิพลในวงการ นี ้ หรื อคนที่ทาตัวเป็ น เจ้ าพ่อและเจ้ าแม่ในวงการ นอกจากนี ้ สุนทราภรณ์ จันทภาโส (2546) ยัง พบด้ วยว่า ครอบครัวพวงมาลัยที่ศกึ ษา ในจังหวัดนครศรี ธรรมราช มีหนี ้สิน ซึ่งส่วนหนึ่งเป็ นหนี ้สิน ที่เกิดจากการลงทุนทาอาชีพนี ้ และหนี ้สินประเภทอื่นๆ จานวนมาก ดังนัน้ การที่พอ่ แม่ หรื อผู้ปกครองของเด็ก ใช้ เด็กไปขายพวงมาลัยให้ นนั ้ เป็ นเพราะมองเห็น ว่า “ความเป็ นเด็ก” นันจะช่ ้ วยทาให้ บรรลุเป้าหมายของการขาย ได้ มากกว่า ทังนี ้ ้เนื่องจาก “ความ เป็ นเด็ก” เป็ นลักษณะสากลที่สามารถเรี ยกร้ องความเห็นอกเห็นใจ ความสงสาร และความ ช่วยเหลือจากผู้อื่นได้ มาก คนจนจานวนมากจึงใช้ แรงงานของลูกหลานของตนในการช่วยดารงชีพ ดังนัน้ “ความเป็ นเด็ก” จึงถือเป็ น “ทุน” หรื อ “ปั จจัยการผลิ ต” ชนิ ดหนึ่งของคนจน หรื อคนที ่จดั ว่า อยู่ “ชายขอบ” ของระบบเศรษฐกิ จแบบทุนนิ ยม นอกจากนี ้ เด็ กส่วนใหญ่ ยงั ใช้ “ทุนทาง วัฒนธรรม” ที ่ตนเองมี อยู่และสังคมไทยชอบ หรื อถื อเป็ นประเพณี ปฏิ บตั ิ ที่แสดงให้เห็นถึงความ อ่อนน้อมถ่อมตน ดังเช่น การยกมื อไหว้ เพื อ่ ขอความเห็นใจจากผู้ซื้อ หรื อลูกค้าของตนด้วย และ ส่วนใหญ่มกั ใช้ได้ผลดี ยกเว้ นในกรณีเด็กโตหน่อย (เกิน 15 ปี ) จะไม่ไหว้ เพราะถือว่าตนเองโตแล้ ว เป็ นหนุม่ แล้ ว และเป็ นเรื่ องของศักดิศ์ รี (สุนทราภรณ์ จันทภาโส 2546) ต่อคาถามที่ว่า ทาไมจึงต้ องขายบนถนน? ความจริ งแล้ ว “ความเป็ นถนน” เป็ นตัวสะท้ อน ความเป็ นเมืองอย่างแท้ จริง ที่ไหนไม่มีถนน หรื อถนนเข้ าไปไม่ถึง เรามักเรี ยกกันว่า ถิ่นกันดาร ขาด การพัฒนา หรื อการพัฒนายังไปไม่ถึง หรื อ บางคนเรี ยกแบบดูถกู ว่าเป็ น “บ้ านนอกคอกนา” ถนน จึ งเป็ นสิ่ งที ่คู่กบั เมื อง เป็ นตัวชี ้วดั ของการพัฒนา และเป็ นสัญลักษณ์ ของความเป็ นเมื อง (สิริพร สมบูรณ์บรู ณะ 2545) การใช้ ถนน เป็ นแหล่งทามาหากิน หรื อแหล่งในการสนับสนุน-การดารงชีวิต จึงเป็ นการใช้ ทรัพยากรของเมืองที่อยู่ตรงหน้ าให้ เป็ นประโยชน์ เพราะถ้ าไม่ขายบนท้ องถนน ก็ต้องไปขายบน ฟุตบาทหรื อทางเท้ า ซึ่งจะต้ องไปแย่งชิงพื ้นที่ทางเท้ า กับพวกแผงลอย ที่ยึ ดพื ้นที่กันไปหมดแล้ ว โดยเฉพาะในย่านที่มีคนสัญจรไปมาพลุกพล่านนัน้ พบว่า ไม่มีพื ้นที่บนทางเท้ าเหลือไว้ สาหรับคน กลุ่มนี ้เลย และถ้ าไม่ขายบนทางเท้ า ก็จะต้ องมีแผงหรื อร้ านเล็กๆ ของตนเอง ก็ติดปั ญหาว่าจะไป


ตังตรงไหน ้ หรื อจะต้ องทาการเช่าที่ดินปลูกเพิง ซึ่งมีความเป็ นไปได้ น้อยมาก หรื อเป็ นไปได้ เฉพาะ กรณีที่เป็ นที่ดินรกร้ าง หรื อเป็ นที่ดินของรัฐ หรื อรัฐวิสาหกิจ ที่ไม่มีการดูแล หรื อไม่ได้ ใช้ ประโยชน์ เท่านัน้ แต่ถ้าเป็ นที่ดินเอกชน ยิ่งเป็ นในย่านธุรกิจ ซึ่งที่ดินมีราคาแพงลิบลิ่วนัน้ ยิ่งเป็ นไปได้ ยาก หรื อเลิกคิดได้ เลย เพราะที่ดินหายากมาก หรื อถึงแม้ จะมีที่ดิน พอจะแบ่งปั นขอเช่าได้ แต่คน เหล่านี ้จะเอาทุน หรื อเงินที่ไหนมาเช่า นอกจากนี ้ การลงทุนสูงเกินไปในขณะที่มลู ค่า หรื อราคาสินค้ าที่ขายนัน้ มีราคาต่า คงไม่มี ใครทา เพราะรู้ ดีว่าไม่ค้ มุ ทุน ดังนัน้ ในกรณีของการขายตามสี่แยกไฟแดง ก็จะรอเวลา หรื อรอ ลูกค้ า อยู่ตามใต้ สะพาน ซึ่งเทียบได้ กบั สถานประกอบการ หรื ออาคารพักพิง ที่ไม่ต้องลงทุนใน การสร้ างอีกเช่นกัน ประกอบกับ พวงมาลัยมีความสัมพันธ์ กับสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งคนใช้ รถใช้ ถนน จานวนมาก นาไปกราบไหว้ บชู าพระพุทธรูป หรื อ สิ่งศักดิส์ ิทธิ์ หรื อวัตถุมงคลที่มีอยู่ ทังในรถและที ้ ่ บ้ าน ด้ วยเหตุนี ้ กลุ่มลูกค้าที ข่ บั รถสัญจรไปมา จึงเป็ นกลุ่มเป้ าหมายที ่สาคัญที ่สดุ ของครอบครัว พวงมาลัย และแน่นอนว่า พื ้นที ่ๆ เหมาะสมที ่สุดก็ คือ ถนนและสี ่แยกไฟแดง นัน่ เอง แต่ก็ สังเกตเห็นได้ อย่างชัดเจนว่า ช่วงหลังๆ มานี ้ เด็กขายพวงมาลัย-ดอกไม้ -ขนม-มะม่วง-ทิชชู ฯลฯ ที่ จาเป็ นต้ องใช้ พื ้นที่ถนนทามาหากินนัน้ มีเพิ่มมากขึ ้น และเปิ ดพื ้นที่การค้ าขาย หรื อขยายพื ้นที่ การค้ าของตนเพิ่มขึ ้น ส่วนหนึง่ เป็ นผลมาจาก จานวนผู้ค้าตามแยกต่างๆ มีเพิ่มขึ ้น และไม่ต้องการ แข่งขันกันเอง (แต่ในบางครัง้ ก็จาเป็ นต้ องแย่งกันขาย หรื อแย่งลูกค้ ากันบ้ าง เพราะถ้ าขายไม่หมด กลับไปบ้ านก็จะถูกลงโทษ) และส่วนหนึ่งเป็ นผลมาจากมีการจับปรับในบางครัง้ แต่ระยะหลังๆ มานี ้ ตารวจจะไม่ค่อยจับ ถ้าขายเฉพาะพวงมาลัย หรื อดอกไม้ หรื อขนม-ลูกอม-ทิ ชชู หรื อสิ นค้า ต่างๆ โดยไม่มีการเช็ดกระจกรถ สิ่งนี ้เป็ นลักษณะร่วมของเมืองทังในกรุ ้ งเทพมหานคร เชียงใหม่ และนครศรี ธรรมราช เนื่องจากตารวจเองก็เห็นใจเด็กขายพวงมาลัย แต่ถ้าเช็ดกระจกรถด้ วย มัก ทาให้ เกิดปั ญหาต่างๆ ตามมา จึงไม่อนุญาตให้ เช็ดกระจกรถ หรื อไม่อนุญาตให้ ทาอาชีพนี ้บนท้ อง ถนน (ดาลัด ศิระวุฒิ 2548 : 38) นอกจากนี ้ ยังพบว่า เด็กขายพวงมาลัยเหล่านี ้ใช้ “ทุน” ที่สาคัญอีกประการหนึ่งที่ตนเองมี อยู่ ก็คือ ร่ างกาย หรื อจะเรี ยกว่า ชี วิตเลื อดเนื ้อ ของตนเองก็ว่าได้​้ เด็กเหล่านี ้จะต้ องทุ่มเททุก อย่าง พวกเขาจะต้ องใช้ การเดิน เดิน และเดิน เร่ขายไปตามร้ านอาหาร สวนอาหาร แผงลอย และ ตลาดโต้ รุ่งในย่านต่างๆ เด็กบางส่วนต้ องเดินทางเป็ นระยะไกลมากในวันหนึ่งๆ หรื อเดินเร่ ขาย แบบนับรอบไม่ถ้วน ดังที่เด็กคนหนึ่งสะท้ อนว่า ... “ถ้าจะให้เปรี ยบเที ยบ อาจเท่ากับระยะทางจาก ห้าแยกลาดพร้าว ไปจนถึงชลบุรีก็ว่าได้​้” (ดาลัด ศิระวุฒิ 2548: 35) เพราะฉะนัน้ ถ้ าเรามองจากแง่มุมต่างๆ ของคนเหล่านี ้ จะทาให้ เราสามารถเข้ าใจได้ เป็ น อย่างดีว่า ทาไมคนเหล่านี ้จึงประกอบอาชีพดังกล่าว ทังๆ ้ ที่เสี่ยงต่อการถูกตารวจหรื อเทศกิจจับ


ปรับ หรื อถูกดุดา่ หรื อเสี่ยงต่ออุบตั เิ หตุ และอาจอันตรายถึงแก่ชีวิต (ดังเช่นที่เกิดขึ ้นกับเด็กหลายๆ คนมาแล้ ว) และเป็ นการบัน่ ทอนการเรี ยน หรื อทาให้ ผลการศึกษาตกต่า (ซึ่งเท่ากับเป็ นการปิ ด โอกาสในการเลื่อนชันทางสั ้ งคมของตนเอง เพราะการศึกษาเป็ นเครื่ องมือในการเลื่อนชันทาง ้ สังคมที่สาคัญยิ่ง) แต่ก็ยงั จาเป็ นต้ องทา หรื อทังๆ ้ ที่ร้ ู ว่าเป็ นอาชีพที่ต่าต้ อย (ในสายตาของคน จานวนมาก) ทังยั ้ งต้ องทางานหนักตากแดด ตากลม กราฝน เพียงเพื่อรายได้ พอประทังชีวิต ดังเช่น เด็กจานวนมากในจังหวัดนครศรี ธรรมราชที่มีรายได้ เพียง 50-100 บาทต่อวัน ก็ยงั จาเป็ นต้ องทา (สุนทราภรณ์ จันทภาโส 2546) เพราะถ้ าไม่ทา จะเอาชีวิตรอดได้ อย่างไร ในขณะที่ เด็กที่จงั หวัดเชียงใหม่ อาจมีรายได้ มากกว่าพ่อ ซึง่ เป็ นกรรมกรก่อสร้ าง (ซึง่ มีรายได้ เพียงวันละ 50100 บาท เนื่องจากเป็ นชนเผ่าอาข่า ที่ไม่มีทางเลือก ไม่มีใครต้ องการรับเข้ าทางาน จึงจาเป็ นต้ อง รับค่าจ้ างที่ต่ากว่าอัตราปกติ ) จึงทาให้ เด็กอาข่าที่เดินเร่ ขายดอกไม้ และพวงมาลัย กลายเป็ น ความหวัง หรื อเป็ นผู้สร้ างรายได้ หลักให้ กบั ครอบครัว เพราะสามารถหารายได้ ๆ มากกว่าผู้เป็ นพ่อ ของตนเอง บางคืนได้ มากถึง 400-500 บาท (โดยยังไม่ได้ หกั ต้ นทุน ) (ปวีพร ประสพเกียรติโภคา 2546; สุกญ ั ญา พรโสภากุล 2546) ดังนัน้ การขายพวงมาลัยบนท้ องถนน จึงเป็ นการทามาหากินที่สจุ ริ ต เป็ นการลงทุนด้านตัว เงิ นที ่ต่า แต่เป็ นการลงทุนด้านเวลา ร่ างกายและจิ ตใจ-อารมณ์ ที่สูงมากของเด็ก หรื ออาจเรี ยกว่า เป็ นการลงทุนด้วยชี วิตของเด็กเลยก็ ว่าได้ เพราะเด็กต้องขาดโอกาสในการศึ กษา หรื อทาให้ สัมฤทธิ์ ผลทางการศึ กษาตกต่ า ส่งผลให้ขาดโอกาสในการเลื ่อนชัน้ ทางสังคม และต้องตกอยู่ใน วัฒนธรรมแห่งความยากจนต่อไป (Lewis 1961a; 1961b, 1968) เผชิญภาวะกดดันรอบด้ าน: สัมมาอาชีพที่ไม่ มีใครชื่นชอบ นอกจากนี ้เด็กยังต้ องมีการปรับตัวสูง เพื่อให้ สามารถดาเนินอาชีพนี ้ได้ ตลอดรอดฝั่ ง และมี การเก็บกดด้ านอารมณ์-ความรู้สึกและความต้ องการต่างๆ ค่อนข้ างสูง ทังนี ้ ้ เพื่อให้ สามารถเผชิญ กับแรงกดดันต่างๆ จากภาวะรอบด้ านอย่างไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้​้ เริ่ มตัง้ แต่ ภาวะกดดัน ภายในครอบครัว เพราะถ้าขายพวงมาลัยไม่ หมด ก็ จะถูกทาโทษ หรื อถูกว่ากล่าวต่างๆ นานา รวมทัง้ เพือ่ นๆ ที ่คอยล้อเลี ยน หรื อแม้แต่ครู ที่โรงเรี ยน ที ่คอยทาโทษ เพราะเด็กมาสาย ไม่ค่อยทา การบ้าน และผลการเรี ยนตกต่า ส่วนหนึ่งต้องเรี ยนช้ าชัน้ เพราะเรี ยนไม่รู้เรื ่ อง เด็กขาดสมาธิ และ ขาดแรงจู งใจในการเรี ยน (สุนทราภรณ์ จันทภาโส 2546; สุกัญญา พรโสภากุล 2546; ปวีพร ประสพเกียรติโภคา 2546) นอกจากนี ้ ยังจาเป็ นต้องเผชิ ญแรงกดดันจากกลุ่มผู้ขายด้วยกันเอง ที ่อาจมี การแย่งกันขาย ทัง้ แย่งตัวลูกค้า-ผูซ้ ื ้อ และแย่งพื น้ ที ่ค้าขาย หรื อการเผชิ ญกับสายตาของผู้สญ ั จรไปมา หรื อผู้คนที ่ คอยขับไล่ด้วยความราคาญ หรื อเมื ่อขายเสร็ จแล้วในตอนดึก ก็อาจจะต้องคอยเผชิ ญกับกลุ่มเด็ก


วัยรุ่นที ่ติดยา ที ่อาจคอยรี ดไถเงิ นค่าขาย หรื อในระหว่างการขาย ก็ต้องคอยดู คอยหลบ คอยหนี ตารวจ เทศกิ จ ที่มีหน้ าที่โดยตรงในการดูแลรักษาความเรี ยบร้ อยของพื ้นที่สาธารณะ ท้ องถนน และกฎระเบียบการจราจร อย่างไรก็ตาม เด็กไม่ได้ มีโอกาสในการตัดสินใจ หรื อไม่ได้ เป็ นผู้ตดั สินใจเลือกอาชีพนี ้ด้ วย ตนเอง แต่ต้องทาตามภาวะ เงื่อนไข หรื อการตัดสินใจของพ่อแม่ ผู้ปกครอง หรื อครอบครัว อย่างไร ก็ดี การทาอาชีพนีข้ องครอบครัว ก็เป็ นการตัดสินใจบนภาวะจายอมของสภาพเศรษฐกิจของ ครอบครัว และภาวะตลาดแรงงานที่ไม่ปกติ ที่ไม่เปิ ดให้ กบั คนกลุ่มนี ้ ได้ เข้ าสู่อาชีพที่มีอยู่ในระบบ ปกติได้ จึงพบว่า การตัดสินใจทาอาชีพนี ้ของพ่อแม่ของเด็ก ได้ ผา่ นกระบวนการกลัน่ กรองมาระดับ หนึ่งแล้ วว่าสามารถทาได้ ไม่ต้องลงทุน (แต่ลงแรง) มาก หรื อ เป็ นอาชีพ ที่ช่วยประทังชีวิตให้ อยู่ รอดได้ หรื อในกรณีของชนเผ่าอาข่า พบว่า เป็ นอาชีพที่ทารายได้ มากกว่าอาชีพของตนเอง-พ่อแม่ ความรู้ สึกของเด็ก ต่ ออาชีพของตนเอง: ไม่ ช่ืนชอบ แต่ ไม่ ร้ ู ว่าจะทาอย่ างไร? จากการทบทวนงานศึกษาวิจัย ซึ่งเป็ นการศึกษาระดับจุลภาค หรื อเป็ นการศึกษาเชิ ง คุณภาพที่สามารถเจาะลึกถึงความรู้สกึ ของเด็กมาได้ ในระดับหนึ่งนัน้ พบว่า เด็กจานวนมาก บอก ว่า ตอนแรกๆ ก็ร้ ู สึกสนุก โดยเฉพาะเมื่อยังเป็ นเด็ก และบางส่วนมองว่า ได้ ออกมาเที่ยว และมี บางส่วน แต่เป็ นส่วนน้ อยตอบว่า รู้สึกภูมิใจที่ได้ ช่วยเหลือครอบครัว แต่ถ้ าเป็ นเด็กโตขึ ้นมาหน่อย ส่วนใหญ่ตอบว่า รู้ สึกอาย และยิ่งโตขึ ้น ก็ยิ่งอาย ไม่ชอบอาชีพที่ทาอยู่ เพราะต้ องทางานหนัก (เด็กส่วนใหญ่ทางานตังแต่ ้ 17.30 หรื อ 18.00-1.00 น.) ต้ องเสี่ยงภัย เหนื่อยมาก ไม่ได้ เล่นกับ เพื่อน เวลาพักผ่อนไม่เพียงพอ ต้ องนอนดึกและตื่นแต่เช้ า เพราะต้ องไปเรี ยนหนังสือ ทาให้ การ เรี ยนไม่ดี และโดนครูทาโทษบ่อยครัง้ แต่สาหรับเด็กที่มีปัญหาครอบครัว หรื อพ่อแม่ทะเลาะเบาะ แว้ งกันบ่อย มักจะรู้สึกตรงกันข้ าม กล่าวคือ ตอนที่ต้องออกมาขายพวงมาลัย หรื อดอกไม้ ในตอน แรกๆ นัน้ รู้สึกไม่ชอบ แต่เมื่อทามาเรื่ อยๆ ก็ร้ ูสึก สนุกดี เพราะได้ ออกมาเที่ยวเล่นบ้ าง เนื่องจาก เวลาอยู่ที่บ้าน รู้สึกเบื่อที่พ่อแม่ทะเลาะกันเป็ นประจา (ส่วนใหญ่มกั ทะเลาะกันเรื่ องเงิน หรื อเป็ น เพราะเงินไม่พอใช้ ) และบางส่วนเป็ นเพราะพ่อติดเหล้ า และการพนัน ทาให้ แม่ต้องทางานหาเลี ้ยง ครอบครัว และเกิดความเครี ยด ทาให้ สภาพครอบครัวไม่อบอุน่ เลยทาให้ ไม่อยากอยูบ่ ้ าน สาหรับเด็กเช็ดกระจกรถนัน้ เด็กสะท้ อนว่า ในระหว่างที่ให้ บริ การเช็ดกระจกรถ เพื่อแลกกับ เงินอยู่นนั ้ พวกเขาจะคอยคิดอยู่เสมอๆ ว่า เมื่อโตขึ ้นจะไม่ประกอบอาชีพนี ้ เพราะสังคมปฏิเสธ พวกเขาตลอดเวลา จนทาให้ ไม่ร้ ู สึกศรัทธาต่ออาชีพของตนเองเลย และเมื่อต้ องประจันหน้ ากับ ลูกค้ า (จาเป็ น) นัน้ ส่วนมากจะรู้สึกอาย และเมื ่อต้องโดนตารวจจับ จะรู้ สึกเจ็ บใจมาก ทาให้เด็ก จานวนมาก กลายเป็ นเด็กเก็บกด และก้าวร้าว บางส่วนใช้ วิธีการระบายความคับข้ องใจที่มีอยู่


ด้ วยการใช้ สารเสพติด เล่น การพนัน และกระทาตัวเป็ นขอทานตามร้ านอาหาร และบางส่วน เปลี่ยนอาชีพ กลายเป็ นคนลักเล็กขโมยน้ อย ความตระหนักในความเสี่ยง และอุบัตเิ หตุ: รู้ ดี แต่ ไม่ มีทางเลือก จากการศึกษาของสุกญ ั ญา พรโสภากุล (2546) และ สุนทราภรณ์ จันทภาโส (2546) พบว่า เด็กขายพวงมาลัยทังที ้ ่เชียงใหม่ และนครศรี ธรรมราช มีความตระหนักในความเสี่ยงต่ออุบตั ิเหตุ และ/หรื อเกรงกลัวว่าจะได้ รับอันตราย-อุบตั ิเหตุ แต่ก็ไม่สามารถทาอะไรได้ หรื อไม่มีทางเลือก แต่ ยัง จ าเป็ น หรื อ จ ายอมต้ อ งท าอาชี พ นี ้ เพราะจ าเป็ นต้ อ งช่ว ยเหลื อ ครอบครั ว ส าหรั บ ใน กรุงเทพมหานครนัน้ พบว่า การศึกษาเกี่ยวกับประเด็นนี ้ ยังไม่มีความชัดเจนเท่าที่ควร แต่ก็มีการ ถามเด็กเกี่ยวกับ ความกลัวในอุบตั เิ หตุ หรื อถามว่า.. “เด็กมี ความกลัวหรื อไม่ ?” หรื อมี มากน้อยแค่ ไหน (ดาลัด ศิ ระวุฒิ 2548) ซึ่ งเด็กหลายๆ คนก็ตอบว่า กลัวและปกติ จะคอยระมัดระวัง โดยจะ พยายามลงไปขายในถนนเมื ่อรถติ ดไฟแดงเท่านัน้ แต่บางครั้งก็มีพลาดบ้าง เนื ่องจากมี รถมอเตอร์ ไซด์วิ่งสวนขึ้นมา และ พบว่าเด็กที ่เคยประสบกับอุบตั ิ เหตุนนั้ มี จานวนหนึ่ง แต่เป็ นอุบตั ิ เหตุเล็กๆ น้อยๆ ไม่ ถึงกับทาให้เ สี ยชี วิต เช่ น ถูกรถมอเตอร์ ไซด์ เฉี ่ ยวชน หรื อประสบเหตุหกล้ม อัน เนือ่ งมาจากต้องเร่ งรี บลงไปในท้องถนน เพือ่ แข่งกับไฟเขี ยว และคนอื ่นๆ ที ่มีอาชี พเหมื อนกัน เป็ น ต้น ความต้ องการด้ านการศึกษาและความใฝ่ ฝั นด้ านอาชีพ : โอกาสในการเลื่อนชั้นทางสังคม ที่ถูกปิ ดตาย สาหรับ ความต้ องการด้ านการศึกษา และ/หรื อสัมฤทธิ์ผลทางการศึกษานัน้ พบว่า เด็ก ขายพวงมาลัยส่วนใหญ่ ต้ องประสบกับปั ญหานี ้เป็ นอย่างมาก จากการศึกษาเด็กขายพวงมาลัย ในจังหวัดนครศรี ธรรมราชของสุนทราภรณ์ จันทภาโส (2546) ซึ่งศึกษาเด็ก จานวน 9 คน อายุ ระหว่าง 8-14 ปี ซึ่งส่วนใหญ่หรื อเกือบทังหมดเป็ ้ นเพศชาย พบว่า เด็กที่ศกึ ษาทังหมด ้ 9 คนนี ้ มี สัมฤทธิ์ ผลทางการศึกษาต่า หรื อบางคนต้ องออกจากโรงเรี ยนกลางคัน เพราะพ่อแม่เสียชีวิต เนื่องจากโรคเอดส์ ทาให้ ไม่มีใครส่งเสียให้ เรี ยน หรื อเด็กบางคนต้ องประสบกับภาวะวิกฤตใน ครอบครัว ทาให้ ต้องออกจากโรงเรี ยน เหมือนดังที่เด็กคนหนึ่งสะท้ อนว่า .... “ผมได้เข้าเรี ยนใน โรงเรี ยนแห่งนี ้แค่ 2 ปี เท่านัน้ ก็ ต้องออก เพราะไม่มีใครดูแลครอบครัว พ่อผมพิ การขา แม่ ผมมี อาชี พเก็บขยะ ซึ่งไม่สบายบ่อย หากมัวแต่ไปโรงเรี ยน ก็ไม่มีอะไรกิ น ก็เลยต้องออกจากโรงเรี ยนใน ที ่สุด ด้วยเหตุผล คื อต้องช่วยเหลื อครอบครัว และเบื ่อที ่จะเรี ยนด้วย” (สุนทราภรณ์ จันทวังโส 2546: 18) หรื อเด็กอีกคนหนึ่งสะท้ อนว่า.... “ผมเรี ยนได้ชนั้ ป. 4 ก็ต้องออกจากโรงเรี ยน เพราะ


รู้ สึกขี ้เกี ยจ เรี ยนไปก็เกื อบตก หรื อไม่ก็ต้องซ้ าชัน้ เพราะผลการเรี ยนไม่ดี สอบได้ที่เกื อบสุดท้าย” (สุนทราภรณ์ จันทวังโส 2546 : 18) เป็ นต้ น เช่ นเดีย วกับผลการศึกษาของ ปวี พ ร ประสพเกี ย รติโภคา (2546) ซึ่ง ศึก ษาเด็กขาย พวงมาลัยชาวอาข่า ในตัวเมืองเชียงใหม่ จานวน 5 คน อายุระหว่าง 7-12 ปี แบ่งเป็ นเพศชาย จานวน 2 คน และเพศหญิง จานวน 3 คน พบว่า เด็กเหล่านี ้มีปัญหาการเรี ยนทุกคน หรื อมีผลการ เรี ยนในระดับต่า ถึงต่ามาก และทุกคนต้ องถูกครูทาโทษอยู่เสมอๆ เนื่องจากไม่ได้ ทาการบ้ าน มา เข้ าเรี ยนสาย และไม่มีสมาธิในการเรี ยน หรื อนัง่ หลับระหว่างการเรี ยน นอกจากนี ้ เด็กชาวอาข่า บางส่วน (โดยเฉพาะเด็กโต) ยังต้ องประสบปั ญหาการใช้ ภาษาไทยด้ วย เพราะบางคน อพยพมา จากประเทศพม่า หรื อชายแดน ทาให้ เรี ยนไม่ทนั เพื่อนๆ ในชันเรี ้ ยน และ ยิ่งทาให้ การเรี ยนตก ต่าลงไปอีก เพราะสภาพแวดล้ อมหรื อบรรยากาศภายในห้ องเรี ยนบีบคันเป็ ้ นอย่างมาก สาหรับความต้ องการ และ/หรื อความใฝ่ ฝั นด้ านอาชีพนัน้ พบว่า เด็กขายพวงมาลัยทุก คน ต้ องการมีอาชีพที่ดี มีความมัน่ คง และได้ รับการยอมรับในสังคม ไม่ว่าจะเป็ น อาชีพพ่อค้ า แม่ค้า หรื อการค้ าขาย บางคนต้ องการเป็ นครู และบางส่วนต้ องการเป็ นทหาร และอาชีพอื่นๆ เช่น รับจ้ าง (เหมือนกับพ่อแม่ของตนเอง) แต่มีเพียงส่วนน้ อยที่ต้องการผลิตซ ้าอาชีพของพ่อแม่ตนเอง เช่น รับจ้ างแบกของ แต่ที่น่าสนใจคือ ไม่มีใครต้ องการทาอาชีพขายพวงมาลัยเหมือนพ่อแม่ของ ตนเองแม้ แต่คนเดียว นอกจากนี ้ เด็กขายพวงมาลัยที่นครศรี ธรรมราช ก็ปฏิเสธและรังเกียจอาชีพ ตารวจเป็ นอย่างมาก เพราะเด็กเหล่านี ้มีประสบการณ์ที่ไม่ดีกบั ตารวจ จึงทาให้ มีทศั นคติในเชิงลบ ต่ออาชีพนี ้ และไม่มีเด็กคนไหนต้ องการมีอาชีพเป็ นตารวจเลย แต่เมื่อพิจารณาดูอย่างรอบด้ านแล้ ว เด็กขายพวงมาลัยมีทางเลือกต่างๆ ในชีวิตน้ อยมาก ทังด้ ้ านการเรี ยนและการงาน เพราะการขาดโอกาสทางการศึกษา หรื อไม่ได้ รับโอกาสดังกล่าว อย่างเท่าเทียมกับเด็กอื่นๆ ในวัยเดียวกัน แต่จาเป็ นต้ องหาเลี ้ยงปากท้ องให้ อยู่รอดไปวันๆ จนเกิด การบ่มเพาะพฤติกรรมบางอย่างเพื่อความอยู่รอด (แต่อาจเป็ นพฤติกรรมที่ไม่เป็ นที่พึงปรารถนา ของสังคม) สาหรับคาตอบเกี่ยวกับอนาคตของเด็กเหล่านี ้นัน้ เราๆ ท่านๆ ก็คงพอทราบกันอยู่ว่าจะ เป็ นเช่นไรต่อไป หรื อหลายคนต้ องจบชีวิตก่อนวัยอันควร โดยไม่ต้องพูดถึงโอกาสที่ดีกว่าในอนาคต สาหรั บคนที่พออยู่รอดต่ อไปได้ โอกาสในการเลื่อนชัน้ ทางสังคมของพวกเขา ก็มีเหลืออยู่ น้ อยมาก อันเนื่องมาจากข้ อจากัดด้ านทรั พยากรของครอบครั ว พ่ อแม่ ก็มีการศึกษาน้ อย ไม่ สามารถเกือ้ หนุ นหรื อช่ วยเหลือด้ านการศึกษาของลู กได้ มากนั ก ผลการเรี ยนของ ตนเองก็ตกต่า สิ่งแวดล้ อมครอบครั วที่ไม่ เอือ้ อานวยดังกล่ าว และหลายๆ ครอบครั วยัง ประสบกับภาวะวิกฤติ หรือมีโรคภัยไข้ เจ็บกระหน่ าซา้ เติม เช่ น โรคเอดส์ ความพิการ ติด ยาเสพติด ฯลฯ โอกาสในการเลื่อนชัน้ ทางสังคมผ่ านการศึกษา จึงเป็ นประตูท่ ถี ูกปิ ดตาย


ความหมิ่นเหม่ ของอาชีพขายพวงมาลัย และอาชีพอื่นๆ ที่ผิดกฎหมาย: ชีวิตนี้ ใคร กาหนด จากการศึกษาของสุนทราภรณ์ จันทภาโส (2546) ทาให้ มองเห็นได้ ว่า อาชี พเด็กขาย พวงมาลัย นัน้ มี ความเสี ่ยงต่อการที ่จะเปลี ่ยนเป็ นอาชี พอื ่น (ที ่ไม่พึงปรารถนาของสังคม) ทัง้ นี ้ ถ้า เด็กเหล่านี ้ถูกกดดันจากอานาจรัฐ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที ่ตารวจ และสังคมรอบข้ าง และปั จจัย สาคัญอีกประการหนึ่ง ก็คือ ฤดูกาล เพราะในช่วงฤดูฝน มักจะไม่มีดอกมะลิจาหน่าย หรื อมี ปริ มาณน้ อย ทาให้ ไม่สามารถดาเนินอาชีพนี ้ได้ หรื อ พอได้ ขาย แต่ไม่พอเพียง เด็กจานวนหนึ่งจึง จาเป็ นต้ องออกรับจ้ างทาอาชีพอื่นๆ แต่บางส่วนจาเป็ นต้ องออกขอทานบ้ าง วิ่งราวบ้ าง ลักขโมย บ้ าง และบางส่วนจาต้ องค้ ายาเสพติด และต้ องติดคุกในที่สดุ ดังเช่น เด็กขายพวงมาลัยคนหนึ่งใน จังหวัดนครศรี ธ รรมราชที่ต้องติดคุก ด้ วยข้ อหาลักทรัพย์ และมีสารเสพติดประเภทกาวไว้ ใน ครอบครอง ดังนัน้ คาถามคือ ระหว่างอาชีพขายพวงมาลัย (ที่น่าราคาญสาหรับหลายๆ คน) กับ อาชีพที่ผิดกฎหมาย อย่างไหนน่าพึงปรารถนาสาหรับสังคมมากกว่ากัน? คนในสังคมมองและปฏิบัตอิ ย่ างไร ต่ อเด็กขายพวงมาลัย: สิ่งเหล่ านี้สะท้ อนอะไร ส า ห รั บ ค น ใ น สั ง ค ม นั ้น ส า ม า ร ถ แ บ่ ง อ อ ก ไ ด้ เ ป็ น 3 ก ลุ่ ม ใ ห ญ่ ๆ กลุ่มแรก คือ กลุ่มที ่ตอบรับในเชิ งบวกต่อเด็กขายพวงมาลัย เพราะสงสาร และเห็นใจเด็ก พบว่า คนกลุม่ นี ้ มักจะอุดหนุน หรื อซื ้อพวงมาลัยจากเด็ก หรื อบางส่วนในกลุ่มนี ้ ให้ เงินเด็ก โดยไม่ รับพวงมาลัยไปก็มี และบางส่วนให้ เงินเพิ่มแก่เด็ก นอกเหนือจากราคาพวงมาลัยที่ตกลงกันไว้ และยังอาจมีการเชื ้อเชิญให้ คนอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็ นเพื่อน ญาติ คนรู้ จกั คนทัว่ ๆ ไป ช่วยสนับสนุน หรื ออุดหนุนเด็ก ถ้ าพบเห็น หรื อประสบกับเด็กขายพวงมาลัย และบางส่วนในกลุ่มนี ้ ถึงขันห่ ้ วงใย บางคนโทรศัพท์แจ้ งข้ อมูลให้ กบั หน่วยงานด้ านเด็ก ว่าพบเห็นเด็กขายพวงมาลัย ที่อาจตกอยู่ใน อันตราย เป็ นต้ น และบางคนถึงขันแต่ ้ งเพลงยกย่องอาชีพนี ้ และเสนอขอจดลิขสิทธิ์ “เพลงเด็กขาย พวงมาลัย” ตังแต่ ้ เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2549 ที่ผา่ นมา กลุ่มที่ 2 เป็ นกลุ่มที ่ไม่ชอบ หรื อถึงขัน้ เกลี ยดชัง สาปแช่ง สมน้ าหน้า (เมื่อเด็กประสบ อุบตั ิเหตุ) และในกลุ่มนี ้ ส่วนหนึ่งพบว่า เคยมีประสบการณ์ที่ไม่ดีกบั เด็กขายพวงมาลัย เช่น ถูก โกงเงินทอน ถูกเชิญชวนแกมบังคับข่มขู่ให้ ซื ้อ ถูกขูดรถ เป็ นต้ น แต่สาหรับบุคคลที่ไม่เคยประสบ เหตุหรื อการกระทาที่ไม่ดีของเด็ก แต่กลับเกลียดชัง ราคาญ หรื อไม่ต้องการเกี่ยวข้ องใดๆ กับเด็ก กลุม่ นี ้ ก็มีอยูจ่ านวนไม่น้อย สาหรับกลุ่มที่สองนี ้ ก็แน่นอนว่า ต้ องการเห็นอาชีพขายพวงมาลัยบน ท้ องถนนหายไปจากโลกนี ้ และยังมีบางคนเขียนโพสต์ใน website และขอร้ องให้ คนในสังคม เลิก การกระทาที่เป็ นการสนับสนุนอาชีพนี ้ โดยการเลิกซื ้อพวงมาลัย ก็ยงั มี


กลุ่มสุดท้ าย คือ กลุ่มที ่นิยมความเป็ นไทย โดยมองว่า อาชี พขายพวงมาลัย เป็ นอาชี พที ่ เป็ นสัญลักษณ์ ของความเป็ นไทย ควบคู่หรื อเที ยบเคี ยงกับอาชี พอื ่นๆ เช่น อาชีพขายข้ าวแกง คน ถีบสามล้ อ ในขณะที่นกั วิชาการจานวนมาก กลับมองว่า เป็ นสัญลักษณ์ของความยากจน หรื อ ความด้ อยโอกาส และจัดให้ อยูใ่ นกลุม่ เดียวกันกับกลุม่ เด็กเร่ร่อน และขอทาน หน่ วยงานรัฐและองค์ กรอื่นปฏิบัตอิ ย่ างไรต่ อเด็กขายพวงมาลัย: ยาแก้ ที่ยังไม่ ถูกกับโรค สาหรับหน่วยงานของรัฐ ซึง่ มีหน้ าที่หรื อภารกิจเกี่ยวข้ องโดยตรงกับเรื่ องนี ้ พบว่ามีอยู่หลาย หน่วยงานด้ วยกัน เช่น ตารวจ การศึกษานอกโรงเรี ยน กระทรวงพัฒนาสังคม คณะกรรมการสิทธิ มนุษยชนแห่งชาติ สาหรับในเขตกรุ งเทพมหานครและปริ มณฑล ก็มีหน่วยงานท้ องถิ่น ดังเช่น กองบัญชาการตารวจนครบาล กรุ งเทพมหานคร นอกจากนี ้ ก็ยงั มีหน่วยงานพัฒนาเอกชน หรื อ มูล นิ ธิ ต่า งๆ เช่ น ไว.เอ็ ม .ซี . เอ มูล นิ ธิ พิ ทัก ษ์ สิ ท ธิ เ ด็ก มูล นิ ธิ เ พื่ อ การพัฒ นาเด็ก ฯลฯ เท่าที่สามารถประมวลข้ อมูลย้ อนหลังกลับไปได้ ประมาณ 5-6 ปี พบว่า หน่วยงานรัฐมี ทัศนะและการปฏิบตั ทิ ี่สาคัญๆ พอสรุปได้ ดงั นี ้คือ 1. การดาเนินการในทางกฎหมาย พบว่า ส่วนใหญ่ที่ผ่านมา เป็ นการดาเนินการตาม กฎหมายจราจร คือ การจับปรั บ โดยเฉพาะในจัง หวัดนครศรี ธ รรมราช ใช้ วิธี การนีเ้ ป็ นหลัก นอกจากนี ้ เจ้ าหน้ าที่รัฐบางท่านเสนอว่า ควรมีการใช้ พรบ. จราจรทางบก พ.ศ. 2522 เอาผิดกับ ทังผู ้ ้ ซื ้อด้ วย นอกจากนี ้ ก็ยงั มีข้อเสนอ หรื อความคิดริ เริ่ มเกี่ ยวกับการดาเนินการทางกฎหมายกับ พ่อแม่ หรื อผู้ปกครอง โดยเจ้ าหน้ าที่รัฐบางคน เสนอว่า ควรใช้ กฎหมายคุ้มครองเด็ก หรื อ พรบ. คุ้มครองเด็กปี 2546 เอาผิดกับพ่อแม่ที่ใช้ ลกู ให้ มาทางาน เพราะเท่ากับเป็ นการละเมิดสิทธิเด็ก หรื อเลี ้ยงดูเด็กอย่างไม่เหมาะสม ซึ่งมีโทษปรับไม่เ กิน 30,000 บาท หรื อจาคุกไม่เกิน 3 เดือน และ ยังกล่าวเน้ นย ้าด้ วยว่าต้ องมีการเอาโทษตามกฎหมายอย่างจริ งจัง (บทความ “ล้ อมคอกเด็กขาย พวงมาลัย” หนังสือพิมพ์บางกอกทูเดย์ 28 มิถนุ ายน 2549) 2. ขอความร่ วมมือสังคมไม่ ให้ อุดหนุน หรื อเลิกซือ้ พวงมาลัย พบว่า เจ้ าหน้ าที่รัฐบาง ท่าน ได้ ให้ สมั ภาษณ์สื่อมวลชนในทานอง ขอความร่ วมมือจากสังคม ไม่ให้ การสนับสนุนอาชีพนี ้ โดยไม่ต้องการให้ ซื ้อพวงมาลัยจากเด็ก หรื อผู้ขายบนท้ องถนนอีกต่อไป และความคิดดังกล่าว ยัง ได้ รั บการขานรั บจากสื่ อมวลชนบาง ส่ ว นอี กด้ วย (อั ญ ชนก แข็ ง แรง 2549) 3. ขอให้ เปลี่ยนหรื อเลิกอาชีพน้ี ้​้ โดยพยายามจัดส่งเด็ก หรื อแนะนาให้ ไปฝึ กอบรม อาชีพอื่นๆ โดยไม่ได้ ทาความเข้ าใจถึงความเป็ นมาของอาชีพนี ้ ว่ามีความเกี่ยวข้ องสัมพันธ์ กับ ปั จจัยอื่นๆ หรื อเงื่อนไขอะไรบ้ าง หรื อ บางส่วนสัญญาว่าจะจัดหาที่ขายให้ ใหม่ ถ้ ายังต้ องการทา อาชีพนี ้ต่อไป ดังเช่น อดีตปลัด กทม. ท่านหนึ่ง กล่าวว่า... “ถ้าเลิ กอาชี พนี ้ได้เลยก็ยิ่งดี แต่ถ้าเลิ ก


ไ ม่ ไ ด้ ก็ จ ะ จั ด ห า ที ่ ใ ห้ ข า ย ” (ผู้ จั ด ก า ร อ อ น ไ ล น์ 2546) เ ป็ น ต้ น 4. ให้ ทุนครอบครั วประกอบอาชีพอื่น ซึ่งดาเนินการโดยกระทรวงพัฒนาสังคม แต่ หลัง จากให้ ทุน ไปแล้ ว กลับ พบว่า ยัง มี เ ด็ ก อี ก จ านวนหนึ่ง กลับ ไปขายพวงมาลัย เช่น เดิ ม 5. มีความพยายามในการต่ อรองกับครอบครั วของเด็ก ในบางยุค เช่น สมัยที่นาย วัฒนา เมืองสุข (พ.ศ. 2547-2548) เป็ นรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงพัฒนาสังคม ได้ ให้ ข้อมูลกับ สื่อมวลชนว่า ได้ จดั ส่งเจ้ าหน้ าที่ไปเจรจาต่ อรองกับผู้ปกครอง โดยเสนอพ่อแม่ หรื อผู้ปกครองว่า ควรให้ เด็กเรี ยนหนังสือในตอนกลางวัน และให้ ขายพวงมาลัยในตอนกลางคืน (ไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง 2548) ซึง่ ข้ อเสนอนี ้ ไม่สอดคล้ องกับความเป็ นจริ ง เพราะเด็กจานวนมากหรื อส่วนใหญ่ เรี ยนตอน กลางวัน และทางานตอนกลางคืนอยู่แล้ ว แต่ไม่มีสมั ฤทธิ์ผลทางการเรี ยน เพราะต้ องทางานหนัก เ กิ น ไ ป ทั ้ ง ๆ ที่ ยั ง เ ป็ น เ ด็ ก เ พ ร า ะ ฉ ะ นั ้น ต ร ง นี ้ จึ ง ไ ม่ ใ ช่ ท า ง อ อ ก 6. ขอให้ หยุดขายชั่วคราว เพื่อให้ บ้านเมืองเรียบร้ อย ในช่วงที่ประเทศไทยเป็ นเจ้ าภาพ ในการจัดประชุมเอเปค เมื่อปี พ.ศ. 2546 พบว่า เด็กขายพวงมาลัยในกรุงเทพมหานครจานวน มาก หรื อในย่านที่ เ ป็ นแหล่ง ผลิ ต หรื อเป็ นศูนย์รวมเด็กขายพวงมาลัย อาทิ มี นบุรี ราชเทวี ลาดพร้ าว ห้ วยขวาง แถวๆ มักกะสัน แยกตึกชัย ยมราช ฯลฯ ถูกสัง่ ไม่ให้ ออกมา ทังนี ้ ้ เพื่อให้ เกิด ความเรี ยบร้ อยในบ้ า นเมื อง ในช่วงที่ มี “แขกบ้านแขกเมื อ ง” เข้ า มาเมื อ งไทยจ านวนมาก 7. สนับสนุนการศึกษานอกโรงเรี ยน ซึ่งพบว่า เป็ นความพยายามในการประสานงาน ขององค์กรพัฒนาเอกชน หรื อครูที่มีความห่วงใยเด็ก แต่เด็กจานวนหนึ่งก็ไม่สามารถเรี ยนได้ อย่าง ต่อเนื่อง เพราะมีปัจจัยเงื่อนไขต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องมากมาย เช่น สภาพร่ า งกาย-จิตใจ-สมอง หรื อ ความพร้ อมด้ านต่างๆ ของตัวเด็ก เกิดภาวะวิกฤต หรื อความผันแปรภายในครอบครัวทาให้ ต้อง เลิกกลางคัน ถูกจับเพราะติดกาว พบว่า ช่องว่างที่สาคัญยิ่งในการดาเนินงานของรัฐ ก็คือ ขาดการสื่อสาร หรื อ การพูดคุย แลกเปลี่ยน หรื อ การทาความเข้ าใจปรากฏการณ์นี ้จากมุมมองของเด็กและครอบครัว อย่างมี ความสัมพันธ์ เชื่อมโยงกับปั ญหา หรื อเงื่อนไขอื่นๆ ที่มีความสลับซับซ้ อนของครอบครัว และเป็ น การกาหนด หรื อตัดสินใจโดยหน่วยงาน หรื อเจ้ าหน้ าที่ของรัฐเป็ นหลัก ด้ วยเหตุนี ้ ยาขนานต่างๆ ที่ ใช้ มา จึงยังไม่คอ่ ยถูกกับโรคเท่าใดนัก และสะท้ อนให้ เห็นว่า หน่วยงานต่างๆ ของรัฐยังถนัดในการ ทางานตามแนวเดิมๆ ที่เคยปฏิบตั ิกนั มาหลายชัว่ อายุคน ซึ่งอาจสรุปสันๆ ้ ได้ ว่า... “โรคก็เรื ้อรัง แต่ มี วิวฒ ั นาการ และเริ่ มดือ้ ยา ในขณะที ย่ าเก่าหมดฤทธิ์ และยังคิ ดค้นยาตัวใหม่ไม่ทนั ”


ดัชนีชีว้ ัดความสาเร็จของมนุษย์ กับคุณภาพชีวิตของเด็กขายพวงมาลัย: ช่ องว่ างที่แท้ จริ ง คืออะไร? ช่องว่างที่แท้ จริ งของปั ญหา หรื อความเหลื่อมล ้าที่มีอยู่ค่อนข้ างมาก ระหว่างเกณฑ์หรื อ ดัชนีชี ้วัดคุณภาพชีวิตต่างๆ ซึ่งเป็ นมาตรฐานที่พฒ ั นาโดยหน่วยงานทังของไทยและต่ ้ างประเทศ กับสภาพความเป็ นอยู่ที่แท้ จริ งของเด็กหรื อประชาชน โดยเฉพาะดัชนีชี ้วัดความสาเร็ จของมนุษย์ ที่เสนอโดยหน่วยงานพัฒนาของสหประชาชาติ ซึ่งใช้ เป็ นเกณฑ์มาตรฐานในการพัฒนาสังคมนัน้ ความจริ งแล้ ว ผู้เขียนก็เห็นด้ วยกับการมีเกณฑ์มาตรฐาน ไม่ว่าจะเกี่ยวกับเรื่ องอะไรก็ตาม เพราะ เป็ นเครื่ องมือที่จะช่วยทาให้ เราทราบว่า เราอยู่ในระดับไหน และจะไปสู่จดุ ไหน ซึ่งถ้ าเรามีความ จริ งจัง-จริ งใจ กับการใช้ มาตรฐาน และใช้ อย่างถูกต้ อง ก็น่าจะก่อผลในทางที่เป็ นคุณประโยชน์ เป็ นแน่ แต่ในทางปฏิบตั ิจริ ง พบว่า ยังมีปัญหาเกี่ยวกับการใช้ เกณฑ์มาตรฐานต่างๆ ที่จดั ทาโดย หน่วยงานระหว่างประเทศค่อนข้ างมาก โดยเฉพาะมาตรฐานด้ านการพัฒนามนุษย์ ซึ่งในแต่ละ สังคมมีความแตกต่างกันมาก (แต่ถ้าเป็ นมาตรฐานการพัฒนาสินค้ า หรื อวัตถุนนั ้ พบว่า เรา สามารถนาเกณฑ์เหล่านันมาใช้ ้ หรื อยอมรับได้ เพราะถ้ าเราต้ องการแข่งขันในตลาดโลกให้ ได้ เรา ก็ต้องทาให้ ได้ โดยไม่ต้องมีการพิจารณาบริ บททางสังคม) แต่สาหรับ “มาตรฐานเกี ่ยวกับคนหรื อ สังคม” นัน้ เป็ นเรื่ องที่เราจะต้ องใช้ อย่างมีความระมัดระวัง และควรอยู่บนฐานของการเรี ยนรู้ และ ปรับแก้ ให้ สอดคล้ องกับบริบทอยูเ่ สมอๆ แต่ถึงกระนัน้ ผู้เขียน ก็มองว่า เราจาเป็ นต้ องยึดมาตรฐาน อย่างใดอย่างหนึ่ง และถ้ าเรายึดมาตรฐานของสหประชาชาติ ก็จะต้ องพยายามทาให้ สงั คมไปสู่ มาตรฐานดังกล่าวให้ ได้ หรื ออย่างน้ อยดีขึ ้นเรื่ อยๆ ทุกปี สาหรับกรณีเด็กขายพวงมาลัย (หรื อ ประเด็นปั ญหา-ปรากฏการณ์ หลายๆ อย่างในสังคมไทย) กับความห่างไกลจากมาตรฐานนัน้ ผู้ เ ขี ย น พ อ จ ะ ป ร ะ เ มิ น ไ ด้ ว่ า มี ช่ อ ง ว่ า ง ใ ห ญ่ ๆ 4 ป ร ะ ก า ร ดั ง นี ค้ ื อ 1.ช่ องว่ างทั้งด้ านคุณธรรม-จริ ยธรรมของผู้มีอานาจในสังคม (morality gap) ดัง สะท้ อนให้ เห็นถึงวิธีการในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐข้ างต้ น ซึ่งทาให้ เห็นได้ ว่า การ ตัดสิ นใจในการใช้ ม าตรการใดๆ ของผู้มี อานาจในสัง คม มักเป็ นการตัดสินใจบนความคิด ความรู้สกึ ของตนเอง โดยขาดการพิจารณาความเป็ นจริ งทางสังคมที่มีความสลับซับซ้ อน จึงทาให้ ปั ญหาหลายๆ อย่างไม่ได้ รับการแก้ ไข หรื อมีการแก้ ไข แต่ไม่ถกู จุด หรื อแก้ ได้ ชวั่ ครัง้ ชัว่ คราว หรื อ เป็ นแค่ชว่ งระยะเวลาสันๆ ้ เท่านัน้ 2.ช่ องว่ างด้ านความรู้ ้​้ (knowledge gap) กล่าวคือ การกาหนดแนวทาง หรื อทางออก ต่างๆ ของปั ญ หาใดๆ ในสัง คม ไม่ได้ ถูกกาหนดขึน้ บนพื น้ ฐานของความรู้ ที่ แท้ จ ริ ง ในความ สลับซับซ้ อนของความเป็ นสังคมมนุษย์ จึงมองทุกอย่างแบบแยกส่วน ขาดความเชื่อมโยง แก้ ได้ เ ป ล า ะ ห นึ่ ง แ ต่ ไ ป ติ ด อี ก เ ป ล า ะ ห นึ่ ง เ ป็ น อ ย่ า ง นี อ้ ยู่ ร่ า ไ ป ไ ม่ มี วั น จ บ สิ น้ 3.ช่ องว่ างด้ านนโยบาย (policy gap) พบว่า นโยบายหรื อมาตรการต่างๆ มักเป็ นระยะสัน้


และไม่ได้ กระแทกที่ตวั ปั ญหา หรื อโครงสร้ างของปั ญหา ซึ่งความจริ งแล้ ว เด็กขายพวงมาลัยเป็ น เพียงอาการหนึ่งของปั ญหาใหญ่ หรื อโรคร้ ายแรงในสังคม ซึ่งก็คือ โรคความเหลื่อมล ้าของระบบที่ เป็ นอยู่ และข้ อจากัดต่างๆ ที่ มีอยู่ในระบบสัง คมของมนุษย์ เช่น เราไม่สามารถหยุดจานวน ประชากรได้ แต่เราก็ไม่สามารถจากัดการครอบครองทรัพยากรต่างๆ ของมนุษย์ได้ (โดยเฉพาะ ทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งมีจากัด ไม่มี การเติบโต มีแต่ ร่ อยหรอ หรื อน้ อยลง เช่น การหายไปของ ชายหาด หรื อพื ้นดิน ) 4.ช่ องว่ างด้ านการดาเนินงาน (performance gap) สังคมไทยเป็ นสังคมที่ยงั ประสบ ปั ญหาเกี่ ยวกับการทางานตามแผนและนโยบาย บางช่วงเวลา มีแผนและนโยบายที่ดี แต่ไม่ สามารถ หรื อไม่ได้ ดาเนินการตามแผน ประกอบกับ การจัดการแก้ ไขปั ญหาที่ผ่านมา ก็ไม่ได้ มีการ ติดตามประเมินผลด้ วยความจริ งจัง และจริ งใจ ว่าเป็ นอย่างไร ใช้ ได้ ผลหรื อไม่ เป็ นเพราะอะไร หรื อบางกรณีมีการประเมิน แต่ไม่ได้ นามาใช้ ประโยชน์ หรื อใช้ ประโยชน์ไม่ได้ เป็ นต้ น ตรงนี ้เป็ น ความจริ ง ที่เราควรยอมรับร่ วมกัน หรื อเป็ นสิ่งที่ควรสานึกรู้ ร่ วมกัน และเรื่ องนีเ้ ป็ นเรื่ องของ จิตสานึกของความเป็ นมนุษย์ที่มีคณ ุ ค่าในสังคม สังคมจะทาอย่ างไรต่ อไปกันดี การสะท้ อนปั ญหาต่างๆ เกี่ยวกับชีวิตเด็กขายพวงมาลัยข้ างต้ น อาจจะช่วยทาให้ หลายๆ ท่าน พอมองเห็นได้ ว่า ปั ญหาหรื อโรคนี ้มีความสลับซับซ้ อนเกินกว่า จะใช้ ยาเพียงตัวใดตัวหนึ่ง เพื่อให้ ได้ ผลที่ชะงัด เหมือนดังที่หน่วยงานของรัฐดาเนินการมา หรื อบางท่านมองว่า เป็ นเพียงแค่ เรื่ องของการดาเนินอาชีพที่ ไม่ถูกที่ถูกทางนัน้ ก็คงต้ องเปลี่ยนทัศนะกันใหม่เสี ยแล้ ว สาหรั บ ทางออก ก็คือ การอุดช่องว่างดังกล่าวข้ างต้ นให้ ได้ หรื อถ้ าอุดไม่ได้ ในฉับพลันทันใด ก็คงจะต้ อง ค่อยๆ ช่วยกันลดช่องว่างนันลงที ้ ละน้ อย แต่ต้องเป็ นการดาเนินการที่จริ งจัง และมี การใช้มาตรการ ต่างๆ ทัง้ ด้านการเมื อง เศรษฐกิ จ สังคม การศึกษา วัฒนธรรม กฎหมาย ทัง้ ในระยะสัน้ ระยะ กลาง และระยะยาว ที ่มีความครอบคลุม และต้องเป็ นการทางานในเชิ งโครงสร้ างสังคม การ ป้ องกัน และพิ จารณาความเป็ นทัง้ หมดของสังคม (totality) โดยเฉพาะการใช้ มาตรการทาง เศรษฐกิจสังคม ที่จะทาให้ เกิดความเท่าเทียมในด้ านมาตรฐานการครองชีพ หรื อระดับความ เป็ นอยูร่ ะหว่างคน 3 กลุม่ (รวย ปานกลาง และจน) ให้ มากขึ ้น สาหรับเด็กขายพวงมาลัยและครอบครัว ก็จะต้ องเป็ นการทางานในหลายๆ ระดับเช่นกัน ทัง้ ระดับปั จเจกบุคคล ระดับครอบครัว-ครัวเรื อน ระดับชุมชน ระดับองค์กร-หน่วยงาน ไปจนถึงระดับ จังหวัด ภาค และประเทศ และที่สาคัญต้ องอยู่บนพื ้นฐานของการระดมสมอง และการมีส่วนร่วม ของผู้เกี่ ยวข้ องทุกฝ่ าย แต่สาคัญเหนืออื่นใด ก็คือ จะต้องมี ความเข้าใจปั ญหานี ้อย่างมี ความ เชื ่อมโยงกับการพัฒ นาความเป็ นเมื อง และการพัฒนาประเทศที ่ขาดการปรับเปลี ่ยนในเชิ ง


โครงสร้าง ที ่จะทาให้เกิ ดความเท่าเที ยมของกลุ่มคนในชนชัน้ ต่างๆ หรื อมี ความเหลื ่อมล้าน้อยลง ในช่วงเวลาทีผ่ ่านมา กิตติกรรมประกาศ ผู้เขียนขอขอบคุณ คุณศิริอาภา อร่ามเรื อง และคุณวิวรรณ เอกริ นทรางกุล ที่ ได้ กรุณาช่วยเรื่ องการค้ นคว้ าข้ อมูล การจัดพิมพ์ต้นฉบับ และเป็ นธุระต่างๆ ในเรื่ องเอกสารอ้ างอิง ผู้เขียนรู้สกึ ซาบซึ ้งในความมีน ้าใจอันงดงามของทังสองท่ ้ านเป็ นอย่างยิ่ง เอกสารอ้ างอิง ดาลัด ศิระวุฒิ. 2548. “เด็กขายพวงมาลัย” หน้ า 31-42 ใน 10 เรื่ องในเมืองใหญ่. บรรณาธิกรโดย สุวฒ ั น์ อัศวไชยชาญ. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์สารคดี. ดาลัด ศิระวุฒิ . 2548. เด็กขายพวงมาลัย . http://www.sarakadee.com/web/modules.php (สืบค้ นเมื่อ 15 เมษายน 2550) ผู้จัดการออนไลน์ . 2546. กทม. ขอจัดอี กฉากรับเอเปค สั่ง เก็ บ “เด็ กขายพวงมาลัย ”. http://www.manager.co.th/QOL/ViewNews.aspx?News. (สืบค้ นเมื่อ 15 เมษายน 2550) ปริ ตตา เฉลิมเผ่า กออนันตกูล. 2545. ชี วิตชายขอบ: ตัวตนและความหมาย. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์มานุษย วิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน). ปวีพร ประสพเกียรติโภคา. 2546. การเข้าสู่อาชี พเด็กขายพวงมาลัย: กรณี ศึกษาเด็กชาวอาข่า. รายงานซึง่ เป็ นส่วนหนึง่ ของกระบวนวิชาการสัมมนา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สุกญ ั ญา พรโสภากุล. 2546. วิ ถีชีวิตเด็กขายดอกไม้ในเมื องเชี ยงใหม่ . กรุ งเทพมหานคร: ศูนย์ ศึกษาเศรษฐ ศาสตร์ การเมือง คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สุนทราภรณ์ จันทภาโส. 2546. เยาวชนกับความล่มสลายของครอบครัว : กรณี เด็กเช็ดกระจกรถ และขายพวงมาลัยในเขตเทศบาลนครศรี ธรรมราช. กรุ ง เทพมหานคร: ศูนย์ ศึก ษาเศรษฐศาสตร์ การเมื อง คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. สุวฒ ั น์ อัศวไชยชาญ. 2548. 10 เรื ่องในเมื องใหญ้่ . กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์สารคดี. สิริพร สมบูรณ์บรู ณะ. 2545. “ขยะเก็บชี วิต: ชี วิตขายขยะ ประสบการณ์ เมื องคนเก็บและรับซื ้อ ของเก่าซาเล้ง” หน้ า 184-223 ใน ชีวิตชายขอบ:


ตัวตนและความหมาย บรรณาธิกรโดย ปริ ตตา เฉลิมเผ่า กออนันตกูล . กรุ งเทพมหานคร: ศูนย์ มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน). หนังสือพิมพ์บางกอกทูเดย์ . 2549. ล้อมคอกเด็กขายพวงมาลัย อภิ รักษ์ ร่วมคุมเข้มพืน้ ที ่เสี ่ยงทัว่ กรุง. http;//www.backtohome.org/autopagenew/show_page.php (สืบค้ นเมื่อ 15 เมษายน 2550) อ ดิ ศั ก ดิ์ ผ ลิ ต ผ ล ก า ร พิ ม พ์ . 2549. เ รื ่ อ ง น่ า รู้ สู่ ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย . http://www.csip.org/csip/autopage/show_page.php? (สืบค้ นเมื่อ 28 พฤษภาคม 2550) อรทัย อาจอ่า. 2546. ฟื ้ นสังคมศาสตร์ : ทาไมการวิ จยั ทางสังคมจึ งล้มเหลว และจะทาให้ประสบ ความสาเร็ จได้อย่างไร. (แปล) นครปฐม: สถาบันวิจยั ประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล และสานักพิมพ์คบไฟ. อั ญ ช น ก แ ข็ ง แ ร ง . 2549. ป ร อ ท สั ง ค ม . . . เ ด็ ก ข า ย พ ว ง ม า ลั ย . http://www.101newschannel.com/squarethink_detail.php?news (สืบค้ นเมื่อ 15 เมษายน 2550) ไ พ ฑู ร ย์ สุ ข ก สิ ก ร . 2549. ค ว า ม จ ริ ง ห รื อ ค ว า ม คิ ด . http://www.thaila.us/index.php?option=com_content&task. (สืบค้ นเมื่อ 17 เมษายน 2550) ไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง. 2548. “วัฒนา” ค้านอาบอบนวด เล็งแก้ปัญหาเด็กขายพวงมาลัย. http://www.socialwarning.net/data/views.php?recordID=179 (สืบค้ นเมื่อ 17 เมษายน 2550) Amin, Samir. 1974. Accumulation on a World Scale. New York: Monthly Review Press. Amin, Samir. 1976. Unequal Development. Sussex: Harvester Press. Cardoso, F.H. and Faletto, Enzo. 1979. Dependency and Development in Latin America. Berkeley: University of California Press. Emmanuel, Arghiri. 1972. Unequal Exchange: A Study of the Imperialism of Trade. New York: Monthly Review Press. Flyvbjerg, Bent. 2001. Making Social Science Matter: Why Social Inquiry Fails and How It Can Succeed Again. Cambridge: Cambridge University Press.


Frank, Andre Gunder. 1967. Capitalism and Underdevelopment in Latin America: Historical Studies of Chile and Brazil. New York: Monthly Review Press. Lewis, Oscar. 1961a. La Vida: A Peutorican Family in the Culture of Poverty. New York: Random House. Lewis, Oscar. 1961b. The Children of Sanchez. New York: Random House Lewis, Oscar. 1968. A Study of Slum Culture. New York: Random House.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.