Sociological and Anthropological Thoughts week16 160956

Page 1

Sociological and Anthropological Thoughts

แนวคิด สัง คมวิท ยาและมานุษ ยวิท ยา รหัส วิช า 262112 ภาคเรีย นที่ 1 ปีก ารศึก ษา 2556 (สัป ดาห์ท ี่ 16)


มานุษ ยวิท ยาและเทคโนโลยีส มัย ใหม่ (1)  เมื่อการศึกษาทางชาติพันธุ์วรรณนาถูกนำาไปใช้ศึกษาเทคโนโลยีการ

สื่อสารสมัยใหม่

 ตั้งแต่ต้นทศวรรษที่

1990 นักมานุษยวิทยาต้นพบกับเรือ ่ งราวที่ต้องเอ่ยถึง เทคโนโลยีส ื่อ สารสมัย ใหม่ ในฐานะเป็น หัว ข้อ สำา หรับ การศึก ษา

 ฮาคเก้น (1993)

กล่าวว่ามานุษยวิทยามีวิธีศึกษาแบบองค์รวมเพื่อที่จะ ทำาความเข้าใจการเปลี่ยนแปลงในระดับใหญ่ มานุษ ยวิท ยาจึง ถูก ใช้ ศึก ษาเทคโนโลยีส มัย ใหม่ใ นเชิง วัฒ นธรรม

 เอสโคบาร์(1994)

อธิบายว่ามานุษยวิทยาเหมาะสมที่จะใช้ศึกษาในงาน วิจัยทางชาติพันธุ์วรรณาเพื่ออธิบายลักษณะของการเยีย วยาทาง วัฒ นธรรม ชี้ให้เห็นว่ามีพ ฤติก รรมอะไรเกิด ขึ้น และการ เปลี่ย นแปลงทีเ่ กี่ย วข้อ งกับ การพัฒ นาเทคโนโลยี


มานุษ ยวิท ยาและเทคโนโลยีส มัย ใหม่ (2)

วิล สัน และปีเ ตอร์ส ัน

(2002) กล่าวว่า มานุษยวิทยาเป็นวิชาที่ใช้ศ ึก ษาการ สื่อ สารแบบออนไลน์ซึ่งเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว

คุ้ก

(2004) กล่าวว่าการตรวจสอบเทคโนโลยีส มัย ใหม่ภ ายใต้บ ริบ ท การเมือ ง สัง คม และเศรษฐกิจ ซึ่ง มีข ้อ มูล ข่า วสารและภาพลัก ษณ์ ต่างๆ เกิด ขึ้น ถูก ใช้ ถูก ส่ง ผ่า น และให้ค วามหมาย การศึกษาเรื่องนี้แสดงให้ เห็นว่ามานุษยวิทยาเหมาะจะใช้ศึกษามิติสังคมของเทคโนโลยีสมัยใหม่

มานุษ ยวิท ยากำาลังสนใจเรื่องราวที่กว้า งขึ้น กว่า เดิม

“มีอ ะไรเกิด ขึ้น ” ในวัฒ นธรรมที่ส ัม พัน ธ์ก ับ การเปลี่ย นแปลง ที่ เกิดจากวัต ถุท างวัฒ นธรรม ทำาให้การศึกษาทางมานุษ ยวิท ยามีพ ลัง มากขึ้น >> พื้น ที่ช าติพ ัน ธุ์ว รรณนา

ยืนยันว่า


มานุษ ยวิท ยากับ การสือ ่ สารสมัย ใหม่  การสื่อสารก็เป็นเรื่องจำาเป็นพื้นฐาน

ในทาง

กลับกันกระบวนการสร้า ง อัต ลัก ษณ์ท ี่ใ ช้เ พื่อ การสื่อ สาร ได้เปลี่ยน ไปสู่การแสดงถึงความเป็นมนุษยชาติ หรือ อาจเป็นเรื่องอารมณ์ของบุคคลที่ถก ู มองว่า เป็นสิ่งสากล เป็นเรื่องมวลชน เป็น จินตนาการ การสื่อสารอาจถูกมองว่าเป็นสิ่ง ที่อ ยูร่ วมกับ สภาพเชิง รูป ธรรมและ นามธรรมของความคิด แบบเสรีข อง การเป็น พลเมือ ง


การสือ ่ สารในฐานะเป็น เครื่อ งหมาย เร้น ลับ ของสภาวะสมัย ใหม่ (1)  การสื่อ สารซึ่งเปรียบเสมือนเป็นวิธ ีก ารแลกเปลี่ย นความหมาย

และสร้า งความเป็น มนุษ ย์ให้เป็นสิ่งมีชีวิตที่พด ู ได้ และเป็นจุด กำา เนิด และตัว แสดงของการสื่อ สาร

 นอร์เ บิร ์ต

วีเ นอร์ (1948) ไซเบอร์เ นติก ส์เ ป็น เครื่อ งมือ สร้า ง สัง คมที่ม ศ ี ีล ธรรม ซึ่งถูกควบคุมโดยกระบวนการทางสังคม หมายถึง กลุ่ม คนที่ม ารวมตัว กัน และแลกเปลี่ย นการกระทำา ซึ่ง กัน และกัน ในความคิดของวีเนอร์ ระบบสัง คมแบบนีค ้ ือ องค์ก รที่ม ีล ัก ษณะ เป็น ปัจ เจกมีก ารรวมตัว กัน โดยอาศัย การสื่อ สาร มีก ระบวนการต่อ เนื่อ งของการแลก เปลี่ย นและตอบสนอง จากแนวคิด นีท ้ ำา ให้ป ระชาธิป ไตย สามารถเกิดขึ้นได้และเป็น แรงกระตุน ้ ให้เ กิด การสื่อ สาร

 วีเนอร์เชื่อว่าการสื่อ สารเป็น ความจริง พืน ้ ฐาน ที่มอ ี ยู่ในสมอง

เป็น แก่น แท้ข องมนุษ ย์

และ


การสือ ่ สารในฐานะเป็น เครือ ่ งหมายเร้น ลับ ของสภาวะสมัย ใหม่ (2)  วีเนอร์กล่าวว่า

ปัจเจกบุคคลจำาเป็นต้องเรียนรู้ที่จะใช้ภาษา ในฐานะเป็นเครื่อ งมือ ทีจ ่ ะ สือ ่ สารกับ คนอื่น ในระดับการเมืองมหภาค ไซเบอร์เนติกส์ (ระบบสังคมจำาลองในโลก ไซเบอร์) จะสร้างมโนภาพของประชาธิป ไตย ทัง้ ส่วนทีเ่ ป็นสังคมและคำาสอน การสื่อ สาร มิไ ด้เ ป็น เพีย งเครื่อ งมือ สำา หรับ การติด ต่อ กับ คนอืน ่ ๆ แต่ย ัง เป็น เครื่อ งมือ ของปัจ เจก ทีใ ่ ช้ค วบคุม คนอืน ่ และแบบแผนทางสัง คม ซึ่งมีการต่อสู้กับสิ่งที่ไร้ระเบียบแบบแผน การ สือ ่ สารมิไ ด้เ ป็น เพีย งแก่น แท้ข องมนุษ ย์เ ท่า นั้น แต่ย ัง สิ่ง จำา เป็น ทีถ ่ ูก กำา หนดไว้แ ล้ว สำา หรับ การจัด ระเบีย บชีว ิต บุค คล และสัง คม สำา หรับ ไซเบอร์เ นติก ส์

 การสะท้อนภาพของการต่อสู้ของปัจเจกเพือ ่ ที่จะยืนยัน

จัดระเบียบ และแผ่ขยายประชาธิปไตย เป็นสิง่ ทีเ่ กิดขึ้น ความคิดของวีเนอร์เกีย ่ วกับไซเบอร์เ นติก ส์ใ นฐานะเป็น ยุท ธวิธ ีท างการ เมือ ง ซึ่ง ความรู้น ี้จ ะถูก ใช้เ พื่อ เผชิญ หน้า กับ ความไร้ร ะเบีย บ และเผด็จ การ โดยการพัฒ นาเทคโนโลยีข องและประชาธิป ไตย



การสือ ่ สารในฐานะเป็น เครื่อ งหมายเร้น ลับ ของสภาวะสมัย ใหม่ (3)  มวลชนอาจรับรู้หรือตรวจสอบเครื่อ งพิส ูจ น์ความชัว ่ ที่แข่งขันกับหายนะของอำานาจ  การสื่อสารอาจกล่าวได้ว่าส่ว นเติม เต็ม ให้ก บ ั แนวคิด  ข้อ โต้แ ย้ง ที่ห ลากหลายทำา ให้ข ้อ มูล ข่า วสารเป็น แก่น แท้ข องการสื่อ สาร  มีการค้น หา

กระทำาที่เกิดขึ้นจริงจากการสื่อสาร มากกว่าการลอกเลียนแบบ

หรือเป็นกระบวนการ “สะท้อ นกลับ ” ของ การปรับ ปรุง แก้ไ ข ซึ่งตัวมนุษย์จะเป็นผูแ ้ ปลความหมายของสิ่งที่อยู่ในใจไปเป็นสิ่ง ที่เคลื่อนไหว และทำา ให้ส ิ่ง ที่ต ้อ งการสือ ่ /ตัว ตน แพร่ไ ปสู่ม นุษ ย์ค นอืน ่ และทำา หน้า ที่เ ป็น ตัว ขยายสำา นึก ของความเป็น มนุษ ย์ /พลเมือ ง

 การสื่อ สารคือ การสะท้อ นตัว ตน


การสือ ่ สารในฐานะเป็น เครือ ่ งหมายเร้น ลับ ของสภาวะสมัย ใหม่ (4)  มนุษย์ก็ไม่เคยประสบผลสำาเร็จที่จะเข้าใจคนอื่นได้

โดยตรงและทั่วถึง ดังนั้นการเปิดเผยของไซเบอร์ และการพยายามก่อให้เกิดการสื่อสารแบบเสมอภาค

 การแสดงให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างความคิดกับ

ข้อมูล/ สิ่งภายนอก ทำาให้เห็นว่าการสื่อสารมิใช่ เรื่องความรู้สึกที่ต้องการส่งข่าวสารหรือติดต่อกับคน อื่น เป็นแนวทางของการอ้างตัวตน

 ท้ายที่สุดการสื่อสารก็จะกลายเป็นการชี้ให้เห็นความ

ต่างระหว่างสิ่งที่ถูกส่งออกไปกับสิ่งที่ถูกรับกลับมา และความต่างระหว่างผู้ส่งและผู้รับ


การสือ ่ สารในฐานะเป็น เครือ ่ งหมายเร้น ลับ ของสภาวะสมัย ใหม่ (5)  สมมุติฐานเกีย ่ วกับความปรารถนาของมนุษย์ที่เป็น

แก่นแท้เพื่อที่จะสือ ่ สารและมโนทัศน์ของการสือ ่ สาร แบบประชาธิปไตยในฐานะเป็นความสัมพันธ์ของการ แลกเปลี่ยนตัวตน ทำาให้ไซเบอร์เนิตกส์ตอบสนองต่อ ความคิดเรือ ่ งเสรีภาพสมัยใหม่ ซึ่งเป็นสิง่ สำาคัญทีส ่ ุด ต่อการสร้างจินตนาการเกีย ่ วกับการทำาลายล้าง ร่างกายเพื่อให้มก ี ารสร้างนามธรรมของการสือ ่ สารที่ บริสท ุ ธิ์ กล่าวง่ายๆคือ ไซเบอร์เนติกส์ทำาให้ความคิด เกีย ่ วกับรูปแบบการเป็นพลเมืองสมัยใหม่กลายเป็น เรื่องราวขึ้นมาอีกครั้งหนึง่


วัฒ นธรรมและการสือ ่ สารในไซเบอร์ (1)  อัล เฟณ้ด

สมิธ ในเรือ ่ ง Communication and Culture (1966) สมิธกล่าว ว่าสิง่ มีชีวต ิ มิได้มีแต่การสือ ่ สาร แต่สงิ่ มีชีวต ิ ยังมีสงั คมและจรรโลง วัฒนธรรมของตัวเองซึง่ ต้องถูกส่งต่อไป ในปีเดียวกัน เกียร์ตนิยาม “มนุษย์” ตามความหมายของมโนทัศน์ของสิ่งเติมเต็มแบบไซเบอร์เนติ กส์ กล่าวคือมนุษย์เป็นสัตว์ที่ต้องพึ่งสิง่ ภายนอกเพื่อที่จะจัดระเบียบ พฤติกรรมของตัวเอง เกียร์ตโต้แย้งว่าวัฒนธรรมเปรียบเสมือนกลไก อย่างหนึ่งทีใ ่ ช้ควบคุมพฤติกรรม

 อธิบายว่าการสือ ่ สารเป็นกระบวนการของการแลกเปลี่ยนตาม

ธรรมชาติระหว่างบุคคลสองคน การสือ ่ สารคือ ความจำา เป็น เริ่ม แรกสำา หรับ การมีต ัว ตนของมนุษ ย์ การสื่อสารเป็นวิธีการสร้าง แบบแผน ที่อ้างอิง และ สภาพชั่วคราวของตัวตน


วัฒ นธรรมและการสือ ่ สารในไซเบอร์ (2)  การสื่อ สารคือ โอกาสที่จ ะปลดปล่อ ยตัว ตน ออกไป

รูปแบบทีม ่ ีการ แลกเปลี่ยนในการสื่อสารซึ่งเกิดขึ้นเป็นผลผลิตที่เกิดขึ้นจากการสื่อสาร ในทางกลับกัน ตัวตนจะถูกสร้างขึน ้ ในปัจจุบันโดยสิ่งที่อยูภ ่ ายนอก ซึ่งจะรวมเป็นหนึ่งเดียวกับตัวตนและจะปรากฏเป็นส่วนเติมเต็มของตัว ตน

 “ความปรารถนาของคนอื่น ”

ตัว ตนที่ถูกแสดงออกมาเป็นรูปแบบที่ ปกปิด หรือซ่อนอยูล ่ าคองอธิบายว่า การละทิ้งดังกล่าวนี้คือการไม่พด ู การไม่อ้างอิงสถานที่ที่ตว ั ตนดำารงอยู่ เป็น การสะท้อ นภาพลัก ษณ์ ตัว ตนซึง่ จะกลายเป็น คนอื่น

 “ตัวตนของสิ่งไม่มีตว ั ตน”

คือการที่ “ฉัน” ถูกทำาให้มีตว ั ตนจริง ตัวตน ที่ถูกผลิตก็จะมีอยู่ในเนื้อความทีถ ่ ูกถ่ายทอดออกมา

 การสื่อสารจะช่วยให้ปัจเจกบุคคลเข้าถึงคนอื่นๆ


วัฒ นธรรมและการสือ ่ สารในไซเบอร์ (3)  การทำาความเข้าใจโลก

ยุคสมัย

ผันแปรไปตามอำานาจทางสังคมในแต่ละ

 เรื่องท้าทายและเรื่องที่เป็นไปได้สำาหรับมานุษยวิทยาในคริสต์

ศตวรรษที่ 21

 เทคโนโลยีสอ ื่ สารไม่ว่าจะเก่าหรือใหม่ล้วนดำารงอยู่ในระบบการ

สือ ่ สารที่ถูกควบคุมด้วยจริย ธรรม

 การสือ ่ สาร/ความคิดเชิงภาษาซึง่ ถูกสร้างขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนของ

ความจริงซึง่ ความจริงแบบนี้ตอ ้ งการที่จะอ้า งและแสดงตัว ตน

 การบริโภคสินค้าเกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารและความหมาย

กล่าวคือ เป็นการยำ้าให้เห็นความไม่แน่นอนที่เกิดขึ้นภายใต้วาทกรรม


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.