Complete sociological and anthropological week3 160656

Page 1

SOCIOLOGICAL AND ANTHROPOLOGICAL THOUGHTS

แนวคิดสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา รหัสวิชา 261124 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2556 (สัปดาห์ท่ี 3)


เค้าโครงเนื้อหา ‘สังคมศาสตร์’ ในฐานะ‘เครือ่ งมือ’ สาหรับการทาความเข้าใจมนุษย์และสังคม ‘มนุษย์’ หน่วยวิเคราะห์หลัก ในการศึกษาวิทยาศาสตร์สงั คม


การจาแนกประเภทของความรู ้ ความรู ้

วิทยาศาสตร์ ธรรมชาติ

วิทยาศาสตร์สงั คม/ สังคมศาสตร์

มนุษยศาสตร์

สังคมศาสตร์  ศาสตร์กลุ่มหนึ่งที่มุ่ งศึกษาเกี่ยวกับมนุษย์และพฤติกรรมของมนุษย์

ในฐานะที่เป็ น สัต ว์ ส งั คม ทั้ง ในแง่ ข องพฤติ ก รรมบุ ค คล กลุ่ ม บุ ค คลหรื อ สัง คม รวมถึ ง สภาพแวดล้อม ปรากฏการณ์ทางสังคม ที่ส่งผลต่ อการอยู่ร่วมกันของมนุษย์ และ วัฒนธรรม อันสะท้อนถึงวิถชี ีวิตของมนุษย์ ที่เคลือ่ นไหวเปลีย่ นแปลงอยู่ตลอดเวลา


ทฤษฎีสงั คมศาสตร์ ที่ตงั้ อยู่บนรากฐานความรู ้ ซึง่ สามารถทดลองให้เห็นจริงได้ เพื่ อ อธิ บ ายปรากฏการณ์ส่ ว นใดส่ ว นหนึ่ ง ของสัง คมและแสดงความสัม พัน ธ์ ที่เกี่ยวข้องกันอย่างมี แบบแผน จนนามาใช้เป็ นแนวทางคาดคะเนปรากฏการณ์ ทางสังคมอย่างใดอย่างหนึ่งในอนาคตได้

 ชุดของแนวความคิด

กล่องความคิด! ความจาเป็ นที่ตอ้ งอ่านต้นฉบับของนักทฤษฎีสงั คมศาสตร์ 1. เกิดการเสวนาโดยตรงระหว่างผูท้ ่ีกาลังศึกษาปั จจุบนั กับนักทฤษฎี 2. บทวิจารณ์เกีย่ วกับทฤษฎีไม่สามารถทดแทนงานเขียนต้นฉบับได้ 3. ตรวจสอบข้อผิดพลาดในการตีความ/วิพากษ์ทฤษฎีนนั้ ๆ รวมทัง้ ตรวจสอบความถูกต้องในการถ่ายทอดความรูจ้ ากทฤษฎีดงั กล่าว


ลักษณะทฤษฎีสงั คมศาสตร์        

เป็ นจริงทางสังคม มีหน่วยวิเคราะห์ มีสมมติฐาน มีระดับนามธรรมและการไตร่ตรองความสัมพันธ์ สะท้อนวัตถุประสงค์ในตัวเอง ใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ มีการเปลีย่ นแปลงพัฒนาอยู่เสมอ เป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนามนุษย์


สาขาของสังคมศาสตร์ สังคมศาสตร์ สังคมศาสตร์บริสทุ ธิ์

สังคมศาสตร์ประยุกต์

สังคมวิทยา

การพัฒนาสังคม

มานุษยวิทยา

การพัฒนาชุมชน

รัฐศาสตร์

การพัฒนาชนบท

ฯลฯ

ฯลฯ


ความหมายสังคมวิทยา ศาสตร์ท่ีว่าด้วยสังคม  การศึกษากระบวนการทางสังคมด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์  การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในกลุ่มสังคม  การศึกษาระเบียบสังคม (เพือ่ ให้สงั คมสงบสุข) สรุป สังคมวิทยาจึงเป็ นวิชา ที่มีระเบียบวธีวิจยั อย่างมีแบบแผน เพือ่ ก่อให้เกิความเข้าใจ วิเคราะห์ และบูรณาการความสัมพันธ์ของหน่วยทางสังคม รวมถึงการกระทาระหว่าง สมาชิกต่างๆ ในสังคมด้วย 


ความสาคัญของแนวคิด/ทฤษฎีสงั คมวิทยา 

แนวคิด/ทฤษฎีสงั คมวิทยา มุง่ ศึกษาและวิเคราะห์สงั คม ในมิตขิ องการจัดระเบียบสังคม โดยพิจารณาถึงสภาพความเป็ นอยูข่ องสังคม การยอมรับกฏเกณฑ์ และระบบความสัมพันธ์ ทางอานาจของสมาชิกในสังคมให้เป็ นไปตามทีส่ มาชิกใน สังคมคาดหวัง และเพื่อความอยูร่ อด ของสังคม  นอกจากนี้แนวคิด/ทฤษฎีสงั คมวิทยา ยังพิจารณาถึงปั ญหาของการจัดระเบียบ แบบแผนของ การจัดระเบียบทีส่ มาชิกในสังคมได้สร้าง รักษา และเปลี่ยนแปลง ในทุกระดับชัน้ ของสังคม แนวคิด/ทฤษฎีทางสังคมวิทยาทีส่ าคัญในการอธิบายถึงการจัดระเบียบสังคมมีอยูห่ ลายทฤษฎี ได้แก่  ทฤษฏีโครงสร้างหน้าที่  ทฤษฎีความขัดแย้ง ่น  ทฤษฎีแลกเปลีย  ทฤษฎีการกระทาระหว่างกันโดยสัญลักษณ์


ทฤษฎีโครงสร้างหน้าที่ ทาร์คอต พาร์สนั (Tacott Parsons) นักสังคมวิทยาชาวอเมริกนั ่ งั คมมีการจัดระเบียบขึ้นนัน้ เนื่องจากว่ามนุษย์มี “ความสมัครใจ”  การทีส (voluntarism) ทีจ่ ะเข้าไปทากิจกรรมต่างๆในสังคม  “การกระทา” (action) มีความสาคัญอย่างมากในการอิบายและศึกษาระบบสังคม การกระทา คือ การกระทาระหว่างกัน (interaction) ระหว่างผูก้ ระทา ในสถานการณ์หนึ่ง มีจดุ ประสงค์ วิธีการ และแนวคิดของผูก้ ระทา เพื่อให้ผกู ้ ระทาได้ควบคุมสถานการณ์ เพื่อไปสู่ จุดหมาย 

บรรทัดฐาน ค่านิยม แนวคิด ผูก้ ระทา

เป้าหมาย สถานการณ์ท่ีเกีย่ วข้อง


ทฤษฎีโครงสร้างหน้าที่ (2) 

การกระทาระหว่างผูก้ ระทาดังกล่าว หรือความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกทีม่ ีตอ่ กันตาม สถานภาพ บทบาทนี้ จะเกิดเป็ นระบบสังคมขึ้น ทาให้สามารถวิเคราะห์บุคคลต่างในสังคมได้  เงื่อนไขสาคัญในการเกิดระบบสังคม คือ 1. ผูก้ ระทาต้องมีแรงจูงใจตามสถานภาพบทบาทของตน 2. ระบบสังคมต้องพยายามหลีกเลี่ยงความขัดแย้งหรือพฤติกรรมทีเ่ บี่ยงเบนไปจากสังคม ่ นเป็ นสถาบัน (industrialization) ทาให้สงั คมเกิดขึ้นอย่างเป็ นระเบียบ  สภาวะการเปลีย  ค่า นิ ย มและความเชื่อ /วัฒ นธรรม ได้แ ทรกซึม อยู่ ภายในระบบบุ ค ลิ ก ภาพของบุ ค คลในสัง คม ผ่านกระบวนการขัดเกลาทางสังคมอย่างสมา่ เสมอและเป็ นเวลานาน ตลอดจนมีการลงโทษและ ให้รางวัล เพื่อก่อให้เกิดภาวะการเปลี่ยนแปลงของสถาบันทางสังคม ภายใต้บรรทัดฐาน/แบบแผน ทางวัฒนธรรม ซึง่ เป็ นตัวกาหนดการกระทาระหว่างกัน


ทฤษฎีโครงสร้างหน้าที่ (3) 

ระบบสังคมมีหน้าที่ 4 ประการ ทีจ่ ะทาให้สงั คมอยูร่ อด

วัตถุประสงค์และการดาเนินไป เพือ่ บรรลุวตั ถุประสงค์ (สถาบันครอบครัว/การศึกษา) [1]

การปรับตัว (สถาบันเศรษฐกิจ)

การบูรณาการ/ ช่วยกันทางานอย่างต่อเนือ่ ง (สถาบันการปกครอง/กษัตริย)์ [3]

มีการจัดการกับความตึงเครียด (สถาบันศาล/ศาสนา)

[2]

[4]

** ระบบสังคมสังคมประกอบด้วยสถาบันทางสังคมต่างๆ เช่น สถาบันครอบครัว เป็ นสถาบันพื้นฐานทีส่ าคัญต่อสมาชิกในสังคม ทีจ่ ะถ่ายทอดบุคลิกภาพ อบรมสัง่ สอน จนมีสภาวะเปลี่ยนเป็ นสถาบัน

[1]+[2]

เครือ่ งมือ ขับเคลื่อน ในระบบสังคม [3]+[4]

อารมณ์และ ความเป็ นอยูร่ ว่ ม กันในสังคม


ทฤษฎีความขัดแย้ง คาร์ล มาร์ก (Karl Marx) นักสังคมวิทยาชาวเยอรมัน  การจัดระเบียบทางเศรษฐกิจเป้ นตัวกาหนดการจัดระเบียบทางสังคม (โครงสร้างชนชัน้ ค่านิยม วัฒนธรรม ระบบความคิด)  การจัดระเบียบทางเศรษฐกิจเป็ นรากบานสาคัญ ก่อใหเกิดการปฏิวตั ิ/ ความขัดแย้งทางชนชัน้  โครงสร้างสังคมมี 2 ส่วน หน้าที่โครงสร้างส่วนบน: เครื่องมือของชนชัน้ ปกครอง เพื่ อ รัก ษาสถานภาพที่ เ หนื อ กว่ า กฏหมาย ศาสนา ศิลปะ สร้า งความชอบธรรมผ่ า นกฏหมาย ระบบ ค่านิยม รัฐบาล โครงสร้างส่วนบน จริยธรรมซึง่ บัญญัตไิ ว้เพื่อกลุม่ ตน 

ชนชัน้ วัตถุดบิ ทรัพยากร และเทคโนโลยี

โครงสร้างส่วนล่าง

หน้าที่โครงสร้างส่วนล่าง: กาหนดหน้าทีส่ ว่ นบน


ทฤษฎีความขัดแย้ง (2) 

มาร์กซ์ได้แบ่งปั จจัยพื้นฐานทางเศรษฐกิจออกเป็ น 2 ส่วน 1. พลังการผลิต ได้แก่ ทรัพยากร วัตถุดบิ และเทคโนโลยี ซึง่ นามาเพื่อการผลิตในสังคม 2. ความสัมพันธ์การผลิต คือ การทีบ่ ุคคลหรือกลามบุคคลมีความสัมพันธ์กนั เรือ่ งพลังการผลิต อันจะก่อให้เกิดชนชัน้ ในสังคม  มาร์กซ์ได้แบ่งชนชัน้ ไว้ 2 ระดับ 1. ชนชัน้ ผูเ้ ป็ นเจ้าของปัจจัยการผลิต 2. ชนชัน้ ทีไ่ ม่ได้เป็ นเจ้าของการผลิต  ใช้วธ ิ ีการวิเคราะห์แบบ “วัตถุนิยมวิภาษวิธี” ไปวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของสังคม โดยศึกษาความขัดแย้งของชนชัน้ จากการจัดระเบียบเศรษฐกิจเป็ นพื้นฐาน ทีก่ าหนดระเบียบทางสังคมใหม่ ่ อ่ สูก้ นั ระหว่าง  ทฤษฎีความขัดแย้งในความหมายของมาร์กซ์มีลกั ษณะทีต “นายทุน vs กรรมกร” และเชือ่ ว่าในทีส่ ุดชัน้ กรรมกรจะชนะ และสังคมใหม่จะเป็ น คอมมิวนิสต์


ทฤษฎีปฏิสมั พันธ์เชิงสัญลักษณ์ จอร์จ เฮอร์เบิรต์ มี้ด (George Herbert Mead)  การกระท าระหว่า งกัน ของบุ ค คลในสัง คมต้อ งอาศัย สัญ ลัก ษณ์ โดยเฉพาะ “ภาษา ” เป็ นสื่ อ การติดต่อที่สาคัญที่สุด ที่ทาให้มนุ ษย์ผูกพันและสัมพันธ์กนั จนสร้างเป็ นระเบียบกฎเกณฑ์ต่าง ในสังคม ทาให้สงั คมมีการจัดระเบียบขึ้น  ความสัมพันธ์ทางสังคมของบุคคลในสังคมนัน ้ อยูท่ ก่ี ารใช้ภาษาร่วมกัน การให้ความหมายร่วมกัน (shared Meaning) การกระทาระหว่างกันจึงเกิดเป้ นความสัมพันธ์ข้ ึน เพราะใช้สญ ั ลักษณ์ ร่วมกัน  เพราะมนุษย์กบ ั สังคมมีความสัมพันธ์ตอ่ กัน มนุษย์จงึ เป็ นส่วนหนึ่งของสังคม ทัง้ มนุษย์และสังคม จึงต้องพึ่งพาอาศัยกัน เพื่อแก้ปัญหาและความอยู่รอดของทัง้ สองฝ่ าย ฉะนัน้ การกระบวนการ กระทาระหว่างกัน (social interaction) จึงมีความสาคัญในทฤษฎีน้ ี 


ทฤษฎีปฏิสมั พันธ์เชิงสัญลักษณ์ (2)  

ในบุคคลหนึ่งประกอบไปด้วย I กับ Me เพื่อการแก้ปัญหาหรือการตัดสินใจในเรือ่ งใดๆ I เป็ นเรือ่ งของความต้องการเฉพาะตัว เป็ นส่วนทีฝ่ ังอยูใ่ นลักษณะทางชีวภาพ/สัญชาตญาณ เช่น เสรีภาพ ความคิดสร้างสรรค์ ความต้องการภายใน Me เป็ นทัศนของบุคคลอืน่ ทีต่ นเองเข้าใจ/ การรับรูจ้ ากสังคมภายนอก ค่านิยมทัศนคติ ความกดดันจากสังคม/สภาพแวดล้อมภายนอก และรับไว้ในตัวเอง Self จึ ง เป็ นส่ ว นประกอบของ I+Me เพราะฉะนั้น การที่ บุ ค คลจะตัด สิ น ใจกระท าใดๆ ย่อมขึ้นอยูก่ บั ว่าจะมีสว่ นใดมากกว่ากัน จนแสดงเป็ นบุคลิกภาพ การรวมกลุม่ ทางสังคมเกิดจาก “ความตัง้ ใจ” ในการแสดงออกตามภาษา/สัญลักษณ์ทไี่ ด้มีการ กาหนดร่วมกันในสังคม

Me

Self

I


ทฤษฎีการแลกเปลีย่ น จอร์จ ซี ฮอแมนส์ (George C. Homans)  ได้รบ ั อิทธิพลจากเศรษฐศาสตร์มาอธิบายสังคม  การกระทาระหว่างกันของบุคคลอาศัยการตอบโต้ -- ถ้าเขาทาดีตอ่ เรา เราก็ทาดีตอ่ เขา  ในสถานการณ์ห นึ่ ง ๆ พฤติ ก รรมในระบบสัง คมจะเป็ นผลมากจากการตัด สิ น ใจของบุ ค คล ทีจ่ ะได้รบั รางวัลมากทีส่ ุด และลงโทษน้อยทีส่ ุด  บุคคลในสังคมจะทาพฤติกรรมนัน ้ ซา้ ๆ เมื่อได้รบั รางวัลในอดีต  บุ คคลในสัง คมจะทาพฤติกรรมนัน ้ ซา้ ๆ เมื่ออยู่ในสถานการณ์ที่คล้ายคลึงกับพฤติกรรมที่เคย ได้รบั รางวัล  การได้รบ ั รางวัลในอดีต จะได้รบั การยอมรับในสังคมว่าดี  การกระทาซา้ ยังจะเกิดขึ้นต่อเมื่อพฤติกรรมเหล่านัน ้ ยังได้รบั รางวัลอยู่  บุ ค คลจะยิ่ง แสดงพฤติก รรมที่ได้ร บ ั รางวัล หากไม่ได้รบั บุ คคลก็ จะยิ่งแสดงพฤติกรรมที่ทาให้ ได้รบั รางวัลต่อไป  เพราะฉะนัน ้ การติดต่อสัมพันธ์จงึ เป็ นการแลกเปลี่ยนกิจกรรมระหว่างกัน 


สรุป 

การศึกษาสังคมของนักสังคมวิทยานัน้ พิจารณาการจัดระเบียบสังคม โดยอาศัยแนวคิดทีจ่ ะอธิบาย สังคมว่า ระบบสังคมดารงอยูแ่ ละมีการจัดระเบียบได้อย่างไร เพื่อความอยูร่ อดของสังคมนัน้  ทฤษฎีโครงสร้างหน้าที่ พยายามอธิบายว่า หน่วยต่างๆสังคมมีหน้าทีเ่ กี่ยวพันเพื่อความอยูร่ อดของ สังคมได้อย่างไร บุคคลเข้าไปอยูใ่ นระบบด้วยความสมัครใจ ทีจ่ ะกระทาตามความเชือ่ /ค่านิยมต่างๆ ซึง่ สะท้อนออกมาตามการกระทาของบุคคล และจะเกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมก็ตอ่ เมื่อระบบย่อย ของสังคมจะปรับเข้ากับระบบย่อยส่วนอืน่ ๆ ทาให้เกิดความสมดุลในสังคม ่ งความขัดแย้งทางชนชัน้ ทีม่ ีรากฐานทางเศรษฐกิจเป็ นตัวกาหนด  ทฤษฎีความขัดแย้ง เน้นในเรือ ความขัดแย้งนี้ก่อให้เกิดความรุนแรง การปฏิวตั ิ ทาให้สงั คมมีการจัดระเบียบใหม่  ทฤษฎีการกระทาระหว่างกันเชิงสัญลักษณ์ การจัดระเบียบสังคมเกิดจากการกระทาระหว่างกันของ คนในสังคม การเข้าใจความหมายของสัญลักษณ์/ ภาษาร่วมกัน มีการแปล ประเมินความหมาย ทาให้เกิดการกระทาขึ้น


สรุป ทฤษฎีการแลกเปลีย่ น การจัดระเบียบสังคมเกิดจากการแลกเปลี่ยนการกระทาระหว่างกัน โดย พิจารณาจากรางวัล/ความพึงพอใจ หรือติดต่อกันน้อยลง เนื่องจากความไม่พอใจ/ได้รบั การลงโทษ โดยมีผลการแสดงพฤติกรรมโดยเฉพาะในส่วนขององค์กรธุรกิจ  ดังนัน ้ แนวคิด/ทฤษฎีทางสังคมวิทยาต่างๆ พยายามอธิบายการจัดระเบียบทางสังคม เพื่อที่เราจะได้ เข้าใจสังคมที่เราอาศัยอยู่มากยิง่ ขึ้น  แม้จะไม่มีทฤษฎีใดที่สามารถเข้าใจ/อธิบายระบบสังคมได้อย่างสมบูรณ์ แต่เป็ นการจัดการวิเคราะห์ ระเบียบสังคมในมิตติ า่ งๆ เพื่อนาไปประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์ปัญหาทีเ่ กิดขึ้นในสังคมและค้นหา แนวทางในการแก้ไขปัญหาเหล่านัน้ ต่อไป 


งานกลุ่ม 

ทฤษฎีสงั คมวิทยาทัง้ 4 ทฤษฎี นาไปใช้อธิบาย/วิเคราะห์ปัญหาสังคมได้อย่างไร พร้อมทัง้ เสนอแนวทางแก้ไข ขัน้ ตอน  1. สรุปบทความ – เนื้อหาบทความนี้เกี่ยวข้องกับอะไร ใคร ทาอะไร ทีไ่ หน เมื่อไหร่ อย่างไร ควรแยกออกมาทีละประเด็น 2. ทฤษฎีทนี่ ามาใช้ – สรุปเนื้อหาคร่าวๆเกี่ยวกับทฤษฎี จุดยืนของทฤษฎีคอื อะไร 3. ความสอดคล้อง – ความเข้ากันได้ของเนื้อหาทีไ่ ด้จากบทความและทฤษฎี มีประเด็นใดบ้าง 4. ความคิดเห็น – จากทฤษฎีน้ ีเรามองการจัดระเบียบสังคมแบบนี้อย่างไร ทาไมต้องใช้ทฤษฎี นี้อธิบายเหตุการณ์น้ ี ไม่ใช้ทฤษฎีอน่ื 5. แนวทางแก้ไข – ทฤษฎีชว่ ยให้เราเข้าใจสังคมมากขึ้น เราจะแก้ไขปัญหาสังคมนัน้ อย่างไร


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.