Sociological and anthropological week4 230656

Page 1

SOCIOLOGICAL AND ANTHROPOLOGICAL THOUGHTS

แนวคิดสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา รหัสวิชา 261124 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2556 (สัปดาห์ท่ี 4)


แนวคิดว่าด้วย ... สังคม แนวคิดว่าด้วยสังคมในอดีต: ความพยายามหาอธิบายการกาเนิดของสังคมกับ “ธรรมชาติ”  แนวคิดว่าด้วยสังคมในยุคกลาง: ความพยายามหาอธิบายการกาเนิดของสังคมกับ “ศาสนา”  แนวคิดว่าด้วยสังคมในยุคสมัยฟื้ นฟูศลิ ปวิทยาการ: ความพยายามหาอธิบายการกาเนิดของ สังคมกับ “เหตุผล”  แนวคิดสังคมวิทยาคลาสสิค 


แนวคิดว่าด้วยสังคมในยุคกลาง 

ค.ศ. 345-430

เซนต์ ออกุสติน (St. Augustin) แนวคิดทางสังคม สังคมประกอบไปด้วยบัญชาของพระเจ้าและพันธะของ พลเมือง 2 ส่วน ซึง่ ยึดโยงร่วมกัน ได้แก่ ... 1. สิทธิร่วมกัน หมายถึง ระบบความสัมพันธ์ทถ่ี ูกต้อง ทีเ่ กิดจากบัญชาของ พระเจ้า พลเมืองต้องมีศาสนาและศรัทธาในพระเจ้า ่ ระเจ้าบรรชานัน้ ยุติธรรม เสมอ - สิง่ ทีพ - ความยุตธิ รรม ไม่ใช่สง่ิ มนุษย์สร้างขึ้น (ผูป้ กครอง) - ดังนัน้ มนุษย์จงึ มีหน้าทีเ่ พียง ศรัทธา ในพระเจ้าเท่านัน้ 2. ประโยชน์ร่วมกัน หมายถึง มนุษย์ไม่ได้กระทาสิง่ ต่างๆ โดยเสรี สิทธิและผลประโยชน์จงึ เป็ นเรือ่ งส่วนรวม “ถ้าปราศจากความยุติธรรมแล้วราชอาณาจักรก็มีค่าเท่ากับซ่องโจร”


แนวคิดว่าด้วยสังคมในยุคกลาง

ค.ศ. 1226-1274

ศรัทธา ศีลธรรม

เหตุผล 

กฎหมาย

เซนต์ ทอมัส อไควนัส (St. Thomas Aquinas)  แนวคิดทางสังคม 1. เชือ่ มัน่ ใน เหตุผล มากกว่าศรัทธาต่อบัญชาของพระเจ้าเพียงอย่างเดียว - เหตุผลกับศัทธาต้องอยูด่ ว้ ยกัน (ไม่เชือ่ เพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง) - รัฐบาลชี้นาด้วยหลักศีลธรรมและกากับด้วยกฎหมาย - กฏหมายถูกกากับด้วยหลักเหตุผล 2. ความยุติธรรม ไม่ได้เกิดจากพระเจ้า แต่เกิดจากมวลชนทีม่ ีความดีรว่ ม - มวลชน คือ คนจานวนมากทีอ่ ยูร่ ว่ มกัน โดยคนเหล่านัน้ สามารถมี ผูแ้ ทนทีจ่ ะบังคับและก่อให้เกิดความดีรว่ มได้ - ตัวแทนทีด่ ขี องมวลชน คือ พระราชา ทีเ่ ป็ น มนุษย์ ไม่ใช่ พระเจ้า - พระเจ้า (ศาสนจักร) และตัวแทนมวลชน (อาณาจักร) ซึง่ ก่อให้เกิดหลักประกันในการอยูร่ ว่ มกันเป็ นสังคม


แนวคิดว่าด้วยสังคมสมัยฟื้ นฟูศลิ ปะวิทยาการ

ค.ศ. 1588-1679

ทอมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes)  แนวคิดทางสังคม 1. มองธรรมชาติของมนุษย์ในด้านลบ - ความชัว่ ร้าย (สงคราม ความยากจน) ทาให้มารวมตัวกัน 2. สัญญาประชาคม (Social Contract) - ตกลงกันเพื่อเลือกผูม้ ีอานาจสูงสุด ในการป้ องกันสังคมอนาธิปไตย - ไม่ศรัทธาพระเจ้า และระบอบประชาธิปไตย - ระบอบกษัตริย์ เป็ นผูป้ กครอง และไม่ใช่เพียงตัวแทนของประชาชน - ปัจเจกชนเข้ามารวมตัวกันอย่างสมัครใจภายใต้การปกครองของรัฐ ทีม่ ีอานาจเต็ม/ สมบูรณาญาสิทธิราชย์


แนวคิดว่าด้วยสังคมสมัยฟื้ นฟูศลิ ปะวิทยาการ

ค.ศ. 1712-1778

ฌอง ฌ้าค รุสโซ (Jean Jacques Rousseau)  แนวคิดทางสังคม 1. มองธรรมชาติของมนุษย์ในด้านบวก 2. สัญญาประชาคม (Social Contract) - สิทธิและหน้าที่ของประชาชนทีม่ ีตอ่ สังคม 3. ประชาสังคม - รัฐทาหน้าทีใ่ นการกากับควบคุมผลประโยชน์ของส่วนรวมไว้ - ประชาชนเรียกร้องอานาจอันชอบธรรมคืนจากรัฐบาลได้ หากไม่ทาตามข้อตกลงร่วมกัน


แนวคิดสังคมวิทยาคลาสสิค

ค.ศ. 1798-1875

... ปฏิฐานนิยม คืออะไร? … เครือ่ งมือ/ วิธีการในการแสวงหาความรู ้ โดยการปฏิ เ สธความเชื่ อ เดิ ม ที่ ม าจาก การอิทธิพลของศาสนา และให้ความสาคัญ กับเหตุผล และกระบวนการพิ สูจน์ได้ดว้ ย ความเป็ นวิทยาศาสตร์ มี ก ารเฝ้ าสัง เกต อย่างเป็ นระบบ เพื่ อสร้างกฏเกณฑ์ในการ อธิบาย/ ทานายปรากฏการณ์ทางสังคมได้ เพื่อแสวงหาความเป็ นจริงในสังคมมนุษย์

ออกุส กองต์ (August Comte) 1. บิดาแห่งสังคมวิทยา 2. ปฏิฐานนิยม 3. กฏสามขัน้ ในการอธิบายพัฒนาการสังคมมนุษย์ - เทวนิยม พระเจ้าสร้างสังคมและมนุษย์อาศัยศรัทธาเพียงเท่านัน้ - ปรัชญา สังคมเป็ นเรือ่ งของมนุษย์และเหตุผล - ปฏิฐานนิยม สังคมเกิดความตระหนักรูใ้ นความจริงต่างๆของสังคม พิสจู น์และยืนยันได้จากประสบการณ์ตรงของคนในสังคม 4. กฏว่าด้วยการกระทาและการตอบโต้ - สังคมสถิตและสังคมพลวัต - ความก้าวหน้าของสังคมไม่ได้เกิดจากความขัดแย้ง 5. สังคมชีวอินทรีย์ (ครอบครัว)


แนวคิดสังคมวิทยาคลาสสิค

ค.ศ. 1798-1875

ออกุส กองต์ (August Comte) 6. ภาษา - เครือ่ งมือทีน่ าไปสูค่ วามคิด ทีท่ าให้สงั คมดารงอยูไ่ ด้ 7. ศาสนา - ศาสนาของมนุษยชาติ มีข้ นึ เพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์ 8. การแบ่งงานกันทา - ใครมีบทบาทเช่นไรในสังคม ก่อให้เกิด การพึ่งพา การจัดระเบียบ รวมถึงสถาบันทางสังคม


แนวคิดสังคมวิทยาคลาสสิค

ค.ศ. 1858-1917

เอมิล ดูรไ์ คม์ (Emile Durkheim) 1. ความเป็ นจริงทางสังคม ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ 1.1 โครงสร้าง (กฏหมายและองค์กรบริหาร) 1.2 พลัง (ศาสนาและวัฒนธรรม) 2. สานึกร่วม - ความเชือ่ หรือความรูส้ กึ ทีค่ นในสังคมมีรว่ มกัน และสามารถส่งต่อ ความเป็ นอันหนึ่งอันเดียวนัน้ ไปยังสมาชิกของสังคมในรุน่ ต่อไปได้ 3. ความสัมพันธ์ทางสังคมในแง่ของความเป็ นปึ กแผ่น 3.1 เชิงกลไก (ความเหมือนกัน) 3.2 เชิงอินทรีย์ (ความแตกต่างเชิงหน้าที)่


แนวคิดสังคมวิทยาคลาสสิค

ค.ศ. 1858-1917

เอมิล ดูร์ไคม์ (Emile Durkheim) 4. การฆ่าตัวตาย จาแนกตามสาเหตุได้ 3 แบบ ดังนี้ 4.1 ปั ญหาส่วนบุคคล 4.2 ปั ญญาของปั จเจกเมื่อเข้าไปเป็ นส่วนหนึง่ ของกลุ่ม 4.3 ปั ญญาเมื่อเกิดภาวะวิกฤต (สังคมสมัยใหม่) 5. ศาสนาสังคม - ศาสนาทีแ่ ท้จริงหมายถึง สังคม เป็ นสิง่ ประดิษฐ์ของมนุษย์ และทาให้สงั คมมีระเบียบอยูไ่ ด้ (ศรัทธาvs.หน้าที)่ 6. อาชญากรรม - ก่อให้เกิดมโนธรรม และการเปลี่ยนแปลงในสังคม 7. ภาวะไร้บรรทัดฐาน - ชี้ให้เห็นถึงการบูรณาการของสังคม


แนวคิดสังคมวิทยาคลาสสิค

ค.ศ. 1864-1920

แมกซ์ เวเบอร์ (Max Weber) 1. การกระทาทางสังคม - ผลประโยชน์เป็ นตัวกาหนดการกระทา และเหตุผลในการอยูร่ ว่ มกัน - กระบวนการใช้หลักเหตุผล (ไม่ใช่พฤติกรรม) 2. กลุ่มสถานภาพและช่วงชัน้ - กลุม่ สถานภาพ คือ กลุม่ ทีม่ ีแบบแผนในการบริโภคและการใช้ชวี ติ (ไม่ใช่เรือ่ งของเงินเพียงเท่านัน้ ) - ช่วงชัน้ คือ กลุม่ คนทีแ่ บ่งตามอานาจทางเศรษฐกิจหรือทรัพย์สนิ 3. อานาจและสิทธิอานาจ - อานาจ คือ การทีบ่ ุคคลสามารถแสดงความต้องการของตนเองได้ และแสดงความต้องการนัน้ เหนือผูอ้ น่ื - สิทธิอานาจ คือ สิทธิอนั ชอบธรรมทีจ่ ะให้ผอู ้ นื่ ทาตามความต้องการ


แนวคิดสังคมวิทยาคลาสสิค

ค.ศ. 1864-1920

แมกซ์ เวเบอร์ (Max Weber) 3. อานาจและสิทธิอานาจ (ต่อ) - สิทธิอานาจ 3 แบบ คือ 1. สิทธิอานาจตามประเพณี 2. สิทธิอานาจตามบุญบารมี 3. สิทธิอานาจตามหลักเหตุผลและกฏหมาย 4. ระบบการบริหารแบบองค์การ - สิทธิและอานาจ งานเฉพาะด้าน บริหารจากบนลงล่าง - ใช้เหตุผลและคานึงถึงผลประโยชน์ (แยกชีวติ ส่วนตัว) 5. แฟร์ชเตเฮ่น - กระบวนการทาความเข้าใจความคิด และพฤติกรรมของมนุษย์ โดยมุง่ เน้นการศึกษาไปยังจุดมุง่ หมายของปรากฏการณ์สงั คม


อภิปรายกลุ่ม


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.