SOCIOLOGICAL AND ANTHROPOLOGICAL THOUGHTS
แนวคิดสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา รหัสวิชา 261124 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2556 (สัปดาห์ที่ 15)
อิสระภาพทางความคิดของคนไทย ... ตามแนวคิดมานุษยวิทยา
การเลือกปฏิบตั ิ วาทกรรม ความจริง ความรู ้ และอำานาจ คู่ตรงข้าม และความเป็ นอืน่ ชาติพนั ธุ์ และความเป็ นชายขอบ
การเลือกปฏิบตั ิ
(DISCRIMINATION)
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ
ได้ให้ความหมายไว้วา่ การปฏิบตั ิที่แตกต่างกัน การกีดกัน การหน่วงเหนี่ยว หรือการลำาเอียง ซึง่ มีพ้ นื ฐานมาจากเรือ่ งเพศ ผิว เชื้อชาติ ศาสนา ความคิดเห็น ทางการเมือง สัญชาติ หรือความยากดีมีจน สถานะของแหล่งกำาเนิด หรือ สถานะอืน่ ๆ ซึง่ มีวตั ถุประสงค์หรือมีผลกระทบหรือทำาให้สญ ู เปล่าหรือทำาให้การยอมรับต้องเสือ่ มเสียไป ซึง่ ขัดแย้งกับสิทธิหรือการใช้สทิ ธิ โดยบุคคลทุกคนบน จุดยืนที่เสมอภาคกันซึง่ สิทธิและ เสรีภาพทัง้ มวล ชุลรี ตั น์ ทองทิพย์ กล่าวว่า การเลือกปฏิบตั ิ หมายความว่า การกีดกันหรือ การให้สทิ ธิพเิ ศษ อันเนื่องจากความแตกต่าง ๆ เชื้อชาติ เพศ ศาสนา ความ เห็นทางการเมือง การแบ่งแยกเชื้อชาติหรือสังคม อันนำามาซึง่ ความเสือ่ มเสีย
วาทกรรม คืออะไร
(DISCOURSE)
วาทกรรม “กระบวนการในการสร้างชุดความคิด ที่แสดงถึงระบบและ กระบวนการในการสร้าง/ผลิต (constitute) เอกลักษณ์ (identity) และความหมาย (significance) ให้กบั สรรพสิง่ ต่างๆ ในสังคม ไม่วา่ จะ เป็ นความรู ้ ความจริง อำานาจ หรือตัวตนของเราเอง” (ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร, 2540: 90) วาทกรรม “จึงเป็ นการสร้าง/ผลิตสรรพสิง่ (ความคิด) ขึ้นมาในสังคมภายใต้ กฎเกณฑ์ทชี่ ดั เจนชุดหนึ่ง และกฎเกณฑ์น้ ีก็จะเป็ นตัวกำาหนดการดำารงอยู่ การเปลีย่ นแปลง หรือการเลือนหายไปของสรรพสิง่ ที่ถูกสร้างขึ้น จึง กล่าวได้วา่ การเปลี่ยนแปลงสิง่ ต่างๆในสังคมมักแปรผันควบคูไ่ ปกับสรรพสิง่ ที่ วาทกรรมสร้างขึ้น ” (Foucault, 1972b: 126 - 131)
ปฏิบตั ิการของวาทกรรม 1
(DISCURSIVE PRACTICE)
การวิเคราะห์วาทกรรมจึงเป็ นพื้นทีย่ อ่ ยทีม่ ีสภาวะของ “ปฏิสมั พันธ์ในหลาก หลายรูปแบบทัง้ ปะทะ ประสาน แทนที่ ต่อสูแ้ ย่งชิง ผนวกรวม และขจัด ออกจากพื้นที่เดิม” (ธงชัย วินิจจะกูล, 2534: 30) ภาคปฏิบต ั กิ ารของวาทกรรมนอกจากจะแสดงผ่านการพูดของบุคคลในสังคม ไม่วา่ จะเป็ นการพูดด้วยวาจา ตัวหนังสือ สัญลักษณ์ และ/หรืออากัปกิรยิ า และไม่วา่ จะเป็ นการสือ่ ในระดับใดแล้ว ยังปรากฏตัวผ่านจารีตปฏิบตั ิ ความ คิด ความเชือ่ ค่านิยม และสถาบันในสังคม ทีม่ ีความเกี่ยวข้องกับเรือ่ งนัน้ อีกด้วย
ปฏิบตั ิการของวาทกรรม อำานาจและความรู ้ 1
อำานาจ ต้องกระทำาผ่านวาทกรรมโดยการขุดคุย้ และแกะรอยเพื่อเปิ ด ช่อง ทางและสร้างพื้นทีใ่ ห้แก่วาทกรรมชุดอืน่ ทีม่ ีความแตกต่าง อำานาจอืน่ ๆ ทีถ่ ูกกดทับไว้จากวาทกรรมกระแสหลักของสังคมให้ได้มีโอกาสปรากฏ ตัวออกมา การวิเคราะห์วาทกรรมจึงต้องกระทำาไปบนรากฐานความเชือ ่ มโยงระหว่าง อำานาจและความรู ้ เพราะวาทกรรมไม่สามารถที่จะดำารงอยู่ได้อย่างอิสระ ำ นของอำานาจ และในทางกลับกันอำานาจก็จะไม่ โดยปราศจากการค้าจุ สามารถสถาปนาตัวเองขึ้นมาได้ หากขาดซึง่ วาทกรรมในการสร้างชุดความรู ้ เพื่อการให้กลุม่ คนทีอ่ ยูใ่ ต้วาทกรรมปฏิบตั ติ ามความคิด จึงเป็ นทีม่ าของ อำานาจ
ปฏิบตั ิการของวาทกรรม อำานาจและความรู ้ 2 วาทกรรมและความรูเ้ ป็ นสิง่ ที่มีความสัมพันธ์กนั อย่างใกล้ชดิ ในลักษณะ ของการมีผลกระทบถึงกันและกัน อำานาจเป็ นผูส้ ร้างองค์ความรู ้ โดยความรูท้ ี่ถูกสร้างขึ้นมาก็จะเข้าไปทำาหน้าที่ รับรองอำานาจ เพื่อให้สามารถยึดครองพื้นที่ เบียดไล่ และ/หรือแย่งชิงพื้นที่ จากอำานาจในชุดอืน่ ที่แตกต่างไปจากตน ความรูจ้ งึ มิได้ ใสซือ่ ปลอดจากการถูกครอบงำาโดยอำานาจ และความรูก้ ็มิได้ ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อการปลดปล่อยมนุษย์ส่ชู วี ิตแห่งเสรีภาพ แต่ความรูเ้ ป็ น พันธนาการทีเ่ ข้มงวด วางกฎระเบียบ และครอบงำามนุษย์ให้สยบยอม
(Sarup, 1993: 67)
ปฏิบตั ิการของวาทกรรม อำานาจและความรู ้ 3
แม้พ้ ืนทีใ่ นสังคมจะเต็มไปด้วยเส้นใยของความสัมพันธ์เชิงอำานาจ แต่ก็เป็ น ความสัมพันธ์ทมี่ ลี กั ษณะของการกระจัดกระจายไปในแต่ละพื้นที่ ซึง่ นัน่ ย่อม หมายถึง ลักษณะของอำานาจที่กระจัดกระจายอยู่ทวั่ ไปในสังคม อำานาจทีม่ อี ยู่ ในความสัมพันธ์จงึ ขาดการรวบรวม สะสม และจัดเรียงให้เห็นถึงความต่อ เนื่อง ส่งผลให้อาำ นาจในความสัมพันธ์เหล่านัน้ ไม่สามารถสถาปนาตนเองขึ้น ได้อย่างมัน่ คง ช่องว่างตรงนี้เองทีท่ าำ ให้วาทกรรมหลัก ได้มีโอกาสและช่องทาง ในการเข้าไปทำาให้เกิดการผลิต สะสม และหมุนเวียนจนเกิดการรวบรวมและ สถาปนาอำานาจขึ้นได้อย่างเป็ นรูปธรรม (Foucault, 1980: 93)
ปฏิบตั ิการของวาทกรรม อำานาจและความรู ้ 4
วาทกรรมได้กลายเป็ นเป้ าหมายแห่งความปรารถนา เป็ นการต่อสูห้ รือเป็ น ระบบของการครอบงำา เป็ นสิง่ ทีส่ อื่ แสดงถึงอำานาจทีจ่ ะต้องถูกยึดกุม เพราะ หากสามารถเข้ายึดกุมวาทกรรมและทำาให้สมาชิกของสังคมยอมรับในวาท กรรมนัน้ ได้ ย่อมหมายถึง การเข้ายึดครองอำานาจโดยมีวาทกรรรมเป็ นเครือ่ ง มือครอบงำาความคิดไปสู่การปฏิบตั ิ ความรู ้ อำานาจ และวาทกรรมจึงเป็ นฟั นเฟื องทีส ่ าำ คัญในการทำาให้อาำ นาจเกิด การหมุนเวียน เปลี่ยนถ่าย และแทรกซึมไปได้อย่างทัว่ ถึงและต่อเนื่องในทุก พื้นทีข่ องสังคม แม้แต่ในส่วนของวิถปี ฏิบตั ิที่เป็ นส่วนตัวของปั จเจกบุคคล ไม่ว่าจะเป็ นครอบครัว ร่างกาย หรือแม้แต่เรือ่ งเพศ (Foucault, 1980: 119 - 120)
ปฏิบตั ิการของวาทกรรม อำานาจและความรู ้ 5 อำานาจยังมีแง่มุมทีก่ อ่ ให้เกิดความกดขี่ ชืน่ ชอบ และสยบยอมโดยไม่มี ข้อสงสัย ซึง่ อำานาจในแง่น้ ีเองทีว่ าทกรรมเข้ามาแสดงตัวและมีบทบาทอย่าง มาก เพราะวาทกรรมจะเข้าไป “สร้างความจริง” (the production of truth) ขึ้นมาในรูปลักษณ์ของชุดความรู ้ และด้วยรูปลักษณ์ที่ “ดูเหมือน” ใสซือ่ เป็ นกลาง ทำาให้การต่อต้านขัดขืนชุดความคิด/วาทกรรมเกิดขึ้น ในระดับต่ำา สภาพความเป็ นจริงของสังคม ทีม ่ ีทงั้ การใช้อาำ นาจในด้านบวกและด้านลบ ร่วมกันเพื่อการควบคุม การจัดการ และการสร้างระเบียบวินยั ให้แก่สงั คม ฉะนัน้ การพิจารณาถึงอำานาจจึงไม่อาจละเลยอีกด้านหนึ่งของอำานาจทีอ่ ยูใ่ นรูป ลักษณ์ของความรู ้ ความจริงได้
ปฏิบตั ิการของวาทกรรม อำานาจและความรู ้ 6 “ความจริง”
สามารถปรากฏออกมาได้ในหลากหลายรูปแบบ ทัง้ นี้ข้ ึนอยูก่ บั เงื่อนไขของการผลิต/เผยแพร่ของผูใ้ ห้และรูปแบบการบริโภคของผูร้ บั การผลิตและส่งต่อจะตกอยู่ภายใต้การควบคุม (apparatuses) ของกลไกทีม่ ีความสำาคัญทางการเมืองและเศรษฐกิจ เช่น มหาวิทยาลัย และกองทัพ ฉะนัน ้ “ความจริง” จึงหมุนเวียนผ่านกลไกทางการศึกษา และระบบข้อมูล ข่าวสารที่มีอยู่ในสังคม และเป็ นประเด็นปั ญหาทางการเมืองทีก่ ่อให้เกิดการถก เถียงและเผชิญหน้ากันทางสังคม (Foucault, 1980: 131 - 132)
วาทกรรม คู่ตรงข้าม และ การกลายเป็ นอืน่ คือความคิดเรือ่ งการกลายเป็ นอืน่ เช่น ดี-เลว รวย-จน เมือง-ชนบท พัฒนา-ด้อยพัฒนา ไพร่-อำามาตย์ ราชการ-ราษฎร ฯลฯ มิเชล ฟูโก้ เรียกความคิดคูต ่ รงข้ามว่า วาทกรรม มนุษย์ตด ิ อยูใ่ นกับดักวาทกรรม ทีม่ ีกระบวนการของการแย่งชิง เพื่อให้มีอาำ นาจ ใช้สญ ั ญะเพื่อให้รูว้ า่ เราพวกเดียวกันและต่างจากพวกอืน่ (โดยอาศัยอำานาจในรูปแบบของวาทกรรมเป็ นตัวเชือ่ ม) จึงลืมไปว่า ความเป็ นจริงของการเป็ นมนุษย์คอ ื อะไร วาทกรรมบางอย่างลดคุณค่าความเป็ นมนุษย์ลง (รูปธรรมของความไม่เท่าเทียม) กับดักคู่ตรงข้าม
วาทกรรมคู่ตรงข้าม
(DICHOTOMIES)
... คู่ตรงข้าม ... ตัง้ แต่เมื่อไหร่ ??? เมื่อมนุษย์รวมกันเป็ นกลุ่มและแบ่งแยกกลุ่มตน ฉัน (ตัวเรา) เธอ (คนอืน ่) ร่วมกัน แข่งขัน แย่งชิงปั จจัย4 โดยการต่อสูเ้ พือ่ แย่งชิงสิง่ เหล่านี้ ก่อเกิดเป็ น ปั ญหา ความมมัน่ คง และความสงบสุขของสังคมมนุษย์ มนุษย์จงึ สร้างเครือ่ งมือเพือ่ ตอบสนองความรูส้ ก ึ ในสิง่ ทีเ่ รียกว่าความสุข จึงก่อเกิดเป็ นกรอบ กฏหมายจารีต ขนบ ธรรมเนียม ประเพณี ของกลุม่ ปฎิบตั สิ บื ทอดสิง่ เหล่านี้จนกลายเป็ นวัฒนธรรมกลุ่ม เมื่อวัฒนธรรมผิดจากกลุ่มตน มักก่อให้เกิด เป็ นคนอืน ่ กลุ่มอืน่ คนนอก สิง่ เหล่านี้ศพั ท์ทางมานุษยวิทยา เรียก ความเป็ นอืน่ (Otherness) มนุษย์ถูกสอนให้คด ิ เรือ่ ง
ความเป็ นอืน่ 1
(OTHERNESS)
แนวคิดความเป็ นอืน่ จะกำาหนดตัวเรา กำาหนดอารยะธรรมของเรา แนวคิดทีม ่ าจากนักปรัชญาฝรัง่ เศส Foucault "ความเป็ นอืน่ " (the other) หมายถึง คนอีกคนหนึ่งหรือกลุม ่ หนึ่งซึง่ ได้ ถูกนิยามในฐานะ ที่เป็ นคนที่แตกต่าง หรือหมายถึงคนที่มีสถานะ ต่ำากว่าหรือเป็ นรองกว่า (sub-human) ทีร่ วมเข้ากับเอกลักษณ์ของกลุม่ ๆ หนึ่ง ยกตัวอย่างเช่น (นาซี-ยิว) กลุม ่ นาซี เขานิยามตัวเองให้แตกต่างกับชาวยิว (พยายามที่จะธำารงรักษาความต่าง) ในความหมายนี้ "ความเป็ นอืน่ " คือการลดคุณค่าลงมา เมื่อมันได้ถกู นำาไปประยุกต์ใช้กบั กลุ่ม คน" (สมเกียรติ ตัง้ นโม, 2544) (พัฒนา-ด้อยพัฒนา) การ "ด้อยพัฒนา" ก็คอื "ความเป็ นอืน ่"
ความเป็ นอืน่ 2
(OTHERNESS)
ความเป็ นอืน่ : คือการสร้างความเป็ น ‘ตัวตน’ หรือ ‘องค์รวม’ ของ กลุ่มคนนัน้ ให้มคี วามชัดเจนเป็ นรูปเป็ นร่างขึ้นมา ในขณะเดียวกันก็ ปลุกเร้าให้สมาชิกทีอ่ ยูใ่ นกลุม่ นัน้ เกิดความรูส้ กึ เป็ นอันหนึ่งอันเดียวกัน และมี ความต้องการที่จะแสดงตนในฐานะที่เป็ นส่วนหนึ่งขององค์รวมนัน้ ในขณะ เดียวกัน เราไม่อาจปฏิเสธได้วา่ การกระตุน้ ความเป็ นกลุ่ม โดยการเปรียบ เทียบกับการมี และดำารงอยู่ของ ‘ชาติอืน่ ’ หรือ ‘ความเป็ นอืน่ ’ อันสือ่ ถึงภาพ ลักษณ์ และการแสวงประโยชน์ที่แตกต่าง ทีน่ าำ มาซึง่ ความไม่ไว้วางใจซึง่ กัน และกัน ความหวาดระแวง ความขัดแย้ง การแก่งแย่งแข่งขัน และความเป็ น ศัตรู
ความเป็ นอืน่ 3
(OTHERNESS)
แนวคิดจาก Erick Erikson มองว่า แต่เดิมนัน้ มนุษย์เป็ นสัตว์ ประเภทเดียวกัน แต่ได้แบ่งแยกตัวเองออกเป็ นชาติ เป็ นเผ่า วรรณะ ชนชัน้ ศาสนา และอุดมการณ์ที่ต่างกัน จนทำาให้เกิดความรูส้ กึ ว่าตนเท่านัน้ เป็ น มนุษย์ประเภททีแ่ ท้จริง กลุ่มอืน่ ล้วนเป็ นเพียงอะไรบางอย่างที่ต่ำากว่ามนุษย์ ติช นัท ฮันห์ เป็ นกพระเซนชาวเวียดนามเห็นว่า ความยึดมัน ่ ถือมัน่ ใน "ตัว เรา" "ตัวเขา" "ของเรา" "ของเขา" นัน้ ทำาให้มนุษย์ขาดความสามารถที่ จะมองเห็นความเป็ นมนุษย์ของผูอ้ ืน่ เกิดความไม่พยายามที่จะเข้าใจผูอ้ นื่ และ ไม่เปิ ดใจกว้างยอมรับซึง่ กันและกัน จนตกเป็ นเหยือ่ ของลัทธิความเชือ่ ใด ความเชือ่ หนึ่งได้อย่างง่ายดาย
ความเป็ นอืน่ 4
(OTHERNESS)
ความเป็ นอืน่ นัน้ ถูกนิยามว่าเป็ นความแตกต่างจากตน (self/oneness) ใน ด้านหลักๆ 2 ด้าน คือ ความเป็ นอืน่ เชิงวัตถุวิสยั (objective otherness) และความเป็ นอืน่ เชิงอัตวิสยั (subjective otherness) ความเป็ นอืน ่ เชิงวัตถุวิสยั หมายถึงความเป็ นอืน่ ทางภูมิศาสตร์ ่ าจากทีอ่ นื่ ๆ ทีม่ ใิ ช่พ้ ืนทีข่ องตน (geographical others) ซึง่ หมายถึงคนทีม เช่น ภาค ประเทศ โซน และทวีป เป็ นต้น ความเป็ นอืน ่ เชิงอัตวิสยั คือ ความเป็ นอืน่ ในแง่ของกลุม่ หรือองค์กรทีม่ ีพ้ ืนที่ เฉพาะ (spatial organization) ซึง่ มิใช่พ้ ืนทีท่ างธรรมชาติเช่นเดียวกับความ หมายแรก แต่เป็ นในแง่ของสังคม วัฒนธรรม ความประพฤติ หรือแม้กระทัง่ ความแตกต่างในเรือ่ งของความคิดเห็นหรือมุมมอง และรวมถึงสำาเนียงการ พูด (Murdick et al., 2004)
อคติชาติพนั ธุ์ ... ความเป็ นอืน่ 1 สถานการณ์: ในประเทศไทยจึงกลายเป็ นชาวเขา ไม่ใช่ชาวเราเหมือนคนไทย ทัว่ ไป และโดยมากชาวเขาเหล่านี้ก็ไม่มีสทิ ธิทีพ่ ึงมีตามกฏหมายด้วย เป็ นเหตุ ให้ไม่ได้รบั การบริการและการปฏิบตั ติ ลอดจนทัศนคติ มุมมองทีด่ จี ากบาง หน่วยงานและเจ้าหน้าทีข่ องรัฐบางคน ความพยายามของมนุษย์ทีจ่ ะแยกแยะความแตกต่างทางวัฒนธรรมมีมานาน แล้ว ในระยะแรกๆนัน้ มักจะแยกแยะกันตามลักษณะรูปธรรมของวัฒนะรรมที่ มองเห็นได้ชดั เจน เช่น ความแตกต่างของภาษาพูดบ้าง เครือ่ งแต่งกายบ้าง และวิธีการดำารงชีวติ บ้าง แต่หลังจากลัทธิลา่ อาณานิคมได้ขยายตัวออกไปทัว่ โลก ชาวยุโรปตะวันตกได้เริม่ ใช้ อคติทางชาติพนั ธุ ์ (Ethnocentrism)มาเป็ นพื้นฐานในการแยกแยะความแตกต่าง ทางวัฒนธรรมมากขึ้น ด้วยการจัดแบ่งประชากรในโลกออกเป็ น เชื้อชาติตาม สีผวิ (Race) ซึง่ แฝงนัยของลำาดับชัน้ ของความยิ่งใหญ่ไว้ดว้ ย เพราะมักจะ
อคติชาติพนั ธุ์ ... ความเป็ นอืน่ 2 ความพยายามของมนุษย์ทีจ่ ะแยกแยะความแตกต่างทางวัฒนธรรมมีมานานแล้ว
หลังจากลัทธิลา่ อาณานิคมได้ขยายตัวออกไปทัว่ โลก ชาวยุโรปตะวันตกได้เริม่ ใช้ อคติทางชาติพนั ธุ์ (Ethnocentrism) มาเป็ นพื้นฐานในการแยกแยะ ความ แตกต่างทางวัฒนธรรมมากขึ้น ด้วยการจัดแบ่งประชากรในโลกออกเป็ น เชื้อ ชาติตามสีผวิ (Race) ซึง่ แฝงนัยของลำาดับชัน้ ของอำานาจความยิง่ ใหญ่ของความ เป็ นมหาอำานาจไว้ดว้ ย โดยมักจะจัดให้ชาวผิวขาวของตนเองนัน้ เป็ นเชื้อชาติที่ยงิ่ ใหญ่ทสี่ ุด ส่วนชาวสีผวิ อืน่ ๆก็จะลดลำาดับความสำาคัญรองลงมา แต่ชาวผิวสีดาำ จะถูกจัดให้อยู่ในลำาดับต่ำาที่สดุ การจัดลำาดับเช่นนี้ก็ถูกทำาให้เป็ นจริงเป็ นจังมาก ขึ้นเรือ่ ยๆ จนยึดถือกันเสมือนว่าเป็ นจริงตามธรรมชาติ โดยไม่มีการตัง้ คำาถาม ใดๆทัง้ ตัวเหยือ่ เองและผูไ้ ด้รบั ประโยชน์จากการจัดลำาดับเช่นนี้
อคติชาติพนั ธุ์ ... ความเป็ นอืน่ 3 เมื่อไม่มีการตัง้ คำาถามใดๆ
ในทีส่ ุดก็กอ่ ให้เกิดลัทธินิยมเชื้อชาติตามสีผวิ อย่างบ้าคลัง่ หรือ ลัทธิเหยียดสีผวิ (Racism) ซึง่ เป็ นสาเหตุของ โศกนาฏกรรมในการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ ตัง้ แต่ปี ค.ศ. 1980 เป็ นต้นมา นักมานุษยวิทยาคนสำาคัญของอเมริกาคือ Franz Boas ได้คน ้ พบจากการวิจยั จำานวนมากว่า สายพันธุ์ทางชีววิทยากับ วัฒนธรรมและภาษาไม่จาำ เป็ นจะสอดคล้องต้องกันเสมอไป และเสนอให้แยก ประเด็นของเชื้อชาติตามสีผวิ ออกจากภาษาและวัฒนธรรม พร้อมๆกับต่อต้าน ลัทธิเหยียดสีผวิ
อคติชาติพนั ธุ์ ... ความเป็ นอืน่ 4
นักมานุษวิทยาเสนอให้หนั มาการศึกษาเกี่ยวกับ ความเป็ นชาติพนั ธุ์ (Ethnicity) เพราะเป็ นกระบวนการแสดงความเป็ นตัวตนทางวัฒนธรรม และความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มชน แทนการจัดลำาดับเชื้อชาติตามสีผวิ ซึง่ ถือ เป็ นกระบวนการกีดกันทางสังคม นนักมนุษยวิทยาเสนอให้เรียกกลุม ่ ชน ทีแ่ สดงความแตกต่างกันทางวัฒนธรรม ว่า กลุ่มชาติพนั ธุ์ (Ethnic Groups) แทน ชนเผ่า (Tribe) ซึง่ แฝงไว้ดว้ ย แนวความคิดวิวฒ ั นาการ ทีจ่ ดั ให้ชนเผ่าเป็ นกลุม่ ชนบทในสังคมแบบบุพกาล ดัง้ เดิม ในความหมายที่ลา้ หลังและแฝงนัยในเชิงดูถูกดูแคลนไว้ดว้ ย เพราะเป็ น ขัน้ ตอนแรกของวิวฒ ั นาการสังคมทีย่ งั ไม่มรี ฐั ก่อนทีจ่ ะก้าวไปสูส่ งั คมรัฐแบบ จารีต และสังคมทันสมัยในทีส่ ุด ซึง่ เต็มไปด้วยอคติตา่ งๆ โดยไม่สามารถหา หลักฐานมายืนยันในเชิงประวัตศิ าสตร์ได้เสมอไป
อคติชาติพนั ธุ์ ... ความเป็ นอืน่ 5 เช่น
ชาวเขาในประเทศไทยมักจะถูกเรียกว่าเป็ นชนเผ่า ทัง้ ๆทีใ่ นประวัตศิ าสตร์ ชาวเขาบางกลุม่ ไม่วา่ จะเป็ นชาวอาข่าก็ดี ชาวลีซอก็ดี หรือชาวลาหูก่ ็ดี ล้วนสืบทอดวัฒนธรรมเดียวกันกับกลุ่มชนที่เคยปกครองอาณาจักร น่านเจ้า ในอดีต ในภาษาไทย คำาว่าชนเผ่ามีนยั แตกต่างจากความหมายชนเผ่าของชาวตะวันตก อยูบ่ า้ ง ตรงทีค่ นทัว่ ไปจะใช้กบั ชนเผ่าไทยด้วย ซึง่ น่าจะแสดงว่า ภาษาทัว่ ไปใช้คาำ ว่า ชนเผ่า ในความหมายเดียวกับกลุม่ ชาติพนั ธุใ์ นทางวิชาการด้วย ดังนัน้ เพื่อหลีกเลี่ยงนัยในเชิงงดูถูกทีอ่ าจเกิดขึ้นได้จากการใช้คาำ ว่าชนเผ่า ใน งานทางวิชาการจึงควรใช้ กลุ่มชาติพนั ธุ์ เมื่อพูดถึงกลุ่มชนที่แตกต่างกัน ทาง วัฒนธรรม
การเมืองของความสัมพันธ์ทางชาติพนั ธุ์ ... ความเป็ นอืน่ 1
ในปั จจุบนั การเมืองของความสัมพันธุท์ างชาติพนั ธุ ์ นับว่าเป็ นประเด็นสำาคัญ อย่างมาก เพราะกลายเป็ นส่วนหนึ่งในกระบวนการของการสร้างความหมาย เพือ่ การแยกแยะกลุ่มชนต่างๆ บนพื้นฐานของความสัมพันธุ์เชิงอำานาจ ในกรณีของ สังคมไทย การเมืองในลักษณะเช่นนี้เริม่ ต้นขึ้นตัง้ แต่ชว่ งแรกของกระบวนการ สร้างรัฐ ประชาชาติ เมื่อผูน้ าำ ทางการเมืองและการปกครองในกรุงเทพฯ ทีเ่ ป็ น ศูนย์กลางของอำานาจ เริม่ สร้างภาพของ ความเป็ นคนอืน่ (The Otherness)ให้ กับกลุม่ ชนต่างๆในชาติ ด้วยการมองว่า กลุ่มชนที่อยู่ห่างออกไปจากศูนย์กลาง เป็ นคนบ้านนอก และถ้าอยูห่ า่ งออกไปอีก ก็ถึงกับเรียกว่าเป็ นคนป่ า ทัง้ ๆทีพ่ วก เขาต่างก็อยูร่ ว่ มในรัฐประชาชาติเดียวกัน นัยทีเ่ กิดขึ้นจากการสร้างภาพดังกล่าว ได้กลายเป็ น วาทกรรม (Discourse) หรือการนิยามความหมายเชิงอำานาจ ที่ ผลักดันให้กลุม่ ชนทีอ่ ยูห่ า่ งไกลจากศูนย์กลางของอำานาจ
การเมืองของความสัมพันธ์ทางชาติพนั ธุ์ ... ความเป็ นอืน่ 2
การตกอยูใ่ นสภาวะไร้อาำ นาจ ทีผ่ ลักดันให้กลุม่ ชนทีอ่ ยูห่ า่ งไกลจากศูนย์กลาง ของอำานาจ ต้องตกอยูใ่ นสภาวะไร้อาำ นาจ หรือทีเ่ รียกว่า สภาวะชายขอบของ สังคม (Marginality) ซึง่ เท่ากับเป็ นกระบวนการกีดกันให้กลุม่ ชนทีอ่ ยูห่ า่ ง ไกลเหล่านัน้ ต้องสูญเสียสิทธิต่างๆที่พงึ มีพงึ ได้จากการพัฒนาต่างๆในรัฐชาติ ในทางสังคมวิทยาจะเรียกกระบวนการเช่นนี้วา่ กระบวนการสร้างสภาวะความ เป็ นชายขอบ (Marginalization) ซึง่ สามารถเกิดขึ้นได้กบั กลุม่ ชนทีอ่ ยูห่ า่ ง ไกลจากอำานาจ ทัง้ ในแง่ของระยะทางและความสัมพันธ์ ดังจะพบว่าในปั จจุบนั แม้ จะอยูใ่ นกรุงเทพฯ แต่คนในชุมชนแออัดก็ตอ้ งตกอยูใ่ นสภาวะเป็ นคนชายขอบ เพราะอยู่ห่างไกลจากความสัมพันธุ์เชิงอำานาจ สำาหรับกลุม่ ชนทีอ่ ยูห่ า่ งไกลจาก อำานาจในแง่ระยะทางด้วยแล้ว ก็จะยิ่งไร้อาำ นาจมากขึ้น เช่นในกรณีของชาวเขาใน ภาคเหนือ
การเมืองของความสัมพันธ์ทางชาติพนั ธุ์ ... ความเป็ นอืน่ 3 ชาวเขามักจะถูกกีดกันต่างๆ
นานา ทัง้ ในแง่ของสิทธิในความเป็ นพลเมือง สิทธิ ในการตัง้ ถิน่ ฐาน และสิทธิในการจัดการทรัพยากร จนขยายตัวเป็ นปั ญหาของ ความขัดแย้งอย่างรุนแรงในปั จจุบนั เมือ่ ชาวเขาต้องถูกคุกคามและถูกกดดันให้ ย้ายตัง้ ถิ่นฐานออกจากป่ า เพราะรัฐไม่รบั รองสิทธิของชาวเขาในการตัง้ ถิน่ ฐาน อยู่ในป่ า ทัง้ ๆทีพ่ วกเขาอยูอ่ าศัยมาก่อน ขณะเดียวกันก็มีความพยายามทีจ่ ะหา ประโยชน์จากวัฒนธรรมของชาวเขา ดังปรากฏในรูปของ กระบวนการทำาให้ ชาติพนั ธุ์เป็ นสินค้า ซึง่ หมายถึงการใช้วฒ ั นธรรมของกลุม่ ชาติพนั ธุเ์ ป็ นสินค้า สำาหรับการหารายได้จากการท่องเที่ยวในรูปต่างๆไม่วา่ จะเป็ นเครือ่ งแต่งกาย หัตถกรรม และวิถชี วี ิต ในกระบวนการดังกล่าวจะมีการสร้างภาพของชาวเขาให้ เป็ นเสมือนชุมชนดัง้ เดิม เพื่อดึงดูดนักท่องเทีย่ วให้มาสัมผัสความแปลกทีแ่ ท้จริง จึงเท่ากับยิ่งตอกย้าำ ภาพของชาวเขาที่หยุดนิ่งตายตัวมากขึ้น
การเมืองของความสัมพันธ์ทางชาติพนั ธุ์ ... ความเป็ นอืน่ 4 เมื่อกลุม ่ ชาติพนั ธุต์ า่ งๆ
บนทีส่ งู ไม่ยอมตัง้ รับแต่ฝ่ายเดียวเช่นในยุคก่อน แต่หนั มารวมตัวกันเพื่อเรียกร้องสิทธิตา่ งๆทีพ่ ึงมีพึงได้ในฐานะ พลเมืองไทย พร้อมๆกับการออกมาแสดง ความมีตวั ตนทางชาติพนั ธุ์ (Ethnic Identity) ด้วยการสร้างอัตลักษณ์ของชาวเขาผ่านทัง้ พิธก ี รรมและ การแสดงออกต่างๆ ทีแ่ สดง ว่าชาวเขานัน้ มีความรูแ้ ละศักยภาพ ในการอนุรกั ษ์ทรัพยากรป่ า ในด้านหนึ่งก็เพื่อตอบโต้อคติต่างๆ ที่มีอยู่ในวาทกรรมของรัฐ ในอีกด้านหนึ่งก็เพื่อสร้างความเป็ นอันหนึ่งอัน เดียวกันในหมู่ชาวเขาเอง
การเมืองของความสัมพันธ์ทางชาติพนั ธุ์ ... ความเป็ นอืน่ 5 การเปิ ดพื้นที่ทางสังคมและ วัฒนธรรม (Social and Cultural Space) ของกลุม่ ชาติพนั ธุ ์ ทีเ่ ปรียบ เสมือนพื้นทีใ่ นการแสดงออกของ สิทธิของกลุ่มชาติพนั ธุ์ (Ethnic Rights) รวมทัง้ ภูมิปัญญาความรู ้ (Indigenous Knowledge) เพื่อนิยามการดำารงอยูท ่ างวัฒนธรรมอย่างแตกต่าง และกำาหนดความสัมพันธุ์ ทางสังคมของตนเองกับกลุ่มอืน่ ๆในสังคม แทนที่จะปล่อยให้ผูอ้ นื่ เป็ นผูก้ าำ หนด ฝ่ ายเดียว ซึง่ ก็ถือได้วา่ เป็ นสิทธิชุมชนอย่างหนึ่ง ทีร่ ฐั ในระบอบประชาติธิปไตย จะต้องยอมรับ ในฐานะทีเ่ ป็ นส่วนหนึ่งของประชาสังคม มานุษยวิทยาเรียกกระบวนการข้างต้นนี้วา่
ความเป็ นไทย ... ในบริบทของความเป็ นอืน่ 1 ในความเป็ นอืน ่
ต้องกล่าวถึง ความเป็ นไทย (Thainess) ภายใต้บริบทของ สังคมไทยทีท่ าำ ให้ภาพของ “ความเป็ นอืน่ ” นัน้ เด่นชัดขึ้น เนื่องจาก“ความ เป็ นไทย” ถูกใช้ในการสร้างชาติเพื่อให้เกิดความเป็ นหนึ่งเดียวกันซึง่ เป็ นการ รับประกันความมัน่ คงของชาติ และทำาให้ความเป็ นชาติไทยถูกสงวนไว้สาำ หรับ คนไทยเท่านัน้ ซึง่ ทำาให้ตดั สินคนอืน่ ที่แตกต่างจากตนพร้อมจะ เบียดขับพวก เขาเหล่านัน้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ กลุม่ ชาติพนั ธุอ์ ืน่ หรือคนอืน่ ทีม่ ีสถานะด้อยกว่า ทางด้านเศรษฐกิจและสังคม (โสฬส, 2551; สายชล, 2551) จนกลายเป็ นการ เปิ ดโอกาสให้เกิดการเลือกปฏิบตั ิกบั คนที่ “เป็ นอืน่ ” (Traitongyoo, 2008)
แรงงานเด็กผิดกฏหมาย... ในบริบทของความเป็ นอืน่
แรงงานเด็กผิดกฏหมายกับความเป็ นอืน่ ในสังคมไทย ด้วยความเป็ นอืน่ ที่ เชือ่ มโยงกับการเข้าถึงบริการสาธารณะ การคุม้ ครองแรงงาน ยิง่ เป็ นภาพ สะท้อนความ (ไม่) สามารถเข้าถึงทรัพยากร และการได้รบั ผลประโยชน์จาก การพัฒนาต่างๆไม่วา่ จะเป็ นด้านเศรษฐกิจ สังคม และการศึกษา ทีจ่ ดั ให้โดย รัฐไทย ทัง้ นี้เนื่องจากพวกเขาถูกมองว่าเป็ น“คนอืน่ ” ทีม่ ีสถานะเป็ นเพียง แรงงานราคาถูกในกระบวนการผลิตเท่านัน้
คนชายขอบ 1
(MARGINAL
MAN)
การที่คนส่วนน้อยที่สญ ู เสียสิง่ ที่มีค่าในชีวิต เพราะถูกผลักดันออกไปจาก เครือข่ายของผลประโยชน์ ที่ระบบศูนย์กลางอำานาจ ดูแลคุม้ ครองให้กบั คน ส่วนใหญ่ซงึ่ สัมพันธ์ใกล้ชดิ กับระบบอำานาจ อาจด้วยสาเหตุทคี่ นส่วนน้อยดัง กล่าว ตัดขาดตนเองอยู่นอกขอบเขตทางกายภาพของสังคมใหญ่ คำาว่า “คน ชายขอบของสังคม” จึงมีนยั พอที่จะครอบคลุมถึงใครก็ตามที่ถูกกระทำา ให้ไร้ ตัวตนไร้เกียรติและศักดิศ์ รีในสังคม”
คนชายขอบ 2
(MARGINAL
MAN)
ความเป็ นชายขอบนัน้ ไม่ได้เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ แต่ทว่าเกิดจาก การถูกกระทำาเป็ นชายขอบ โดยมีสาเหตุใหญ่ๆ อาทิ การกำาเนิดรัฐชาติ การพัฒนา และโลกาภิวตั น์ เริม่ ต้นจากการกำาเนิดรัฐชาติ ทำาคนทีม่ ิใช่พลเมืองของรัฐชาติหรือ “คนอืน่ ” กลายเป็ นคนชายขอบ เนื่องจากไม่ได้ถูกนับรวมว่าเป็ นพวก (self/one) ส่วนการพัฒนานัน้ ทีผ่ า่ น มา มิตกิ ารพัฒนาได้มุง่ เน้นไปทีศ่ ูนย์กลาง โดยทำาให้พ้ ืนทีท่ ถี่ ูกละเลย โดย เฉพาะพื้นทีท่ เี่ รียกว่า “ไกลปื นเที่ยง” กลายเป็ นพื้นทีช่ ายขอบ และคนทีอ่ าศัย อยูใ่ นพื้นทีห่ ล่านนัน้ ก็กลายเป็ นคนชายขอบ สำาหรับโลกาภิวตั น์ กระแสของ โลกาภิวตั น์ทีเ่ กิดขึ้นและดำาเนินอยูไ่ ด้ทาำ ให้ผคู ้ นที่ไม่สามารถปรับตัวเข้ากับ กระแสในมิตกิ ารเมือง เศรษฐกิจ สังคม การศึกษา และวัฒนธรรม กลายเป็ น คนชายขอบ อีกรูปแบบหนึ่ง (สุรชิ ยั , 2550)
เพศที่สาม ... กับการเป็ นชายขอบในสังคมไทย 1 เพศทีส ่ ามถูกสังคมวางเอาไว้ ให้กลายเป็ นคนชายขอบไม่ได้รบั การคุม้ ครอง
ทางกฎหมาย ถูกจำากัดสิทธิเสรีภาพ และกลายเป็ นคนบาป ของสังคม เหตุใดเพศทีส ่ ามจึงมีภาพลักษณ์กลายเป็ นแบบนี้ ? เพราะว่าความแตกต่างกันของเกียรติ ศักดิศ ์ รี คุณค่าของมนุษย์ทีเ่ กิดใน สถานะภาพต่างๆล้วนแต่เป็ นสิง่ ทีไ่ ด้รบั การอ้างเหตุผลรองรับด้วยความเชือ่ ทางศาสนา
เพศที่สาม ... กับการเป็ นชายขอบในสังคมไทย 2 (วาทกรรม: ศาสนา) ตราหน้าเพศทีส่ ามว่า “เป็ นบุคคลที่เสือ่ มจากสิรขิ อง พระผูเ้ ป็ นเจ้า” ศาสนาอิสลาม กล่าวถึงเพศทีส ่ ามไว้วา่ “การเป็ นเพศที่ 3 จะมีความผิดเมื่อ การเป็ นเช่นนัน้ เกิดจากความพยายามที่จะเป็ น (ความผิดทำานองเดียวกับ การศัลยกรรมรูปร่างหน้าตา เพราะไม่พอใจต่อสิง่ ที่มีอยู่เดิมตามธรรมชาติ) หรือ แสดงออกในสิง่ ที่ผดิ ศีลธรรมของสังคมอิสลาม” ศาสนาพุทธ พูดถึงเหตุของการเกิดเป็ นเพศทีส ่ ามเอาไว้วา่ “คนที่เกิดเป็ น เพศที่สามเป็ นเพราะชาติที่แล้วทำากรรม ผิดศีลข้อกาเม” ศาสนาคริสต์
เพศที่สาม ... กับการเป็ นชายขอบในสังคมไทย 3 ในการแบ่งแยกเพศที่สามออกจากสังคม มีหลักการอย่างไร ?? สิง่ นี้สามารถอธิบายได้ดว้ ยแนวคิดเรือ ่ ง “การขยายออกของตัวตน” และ “การ ข้ามพ้นตนเอง” ตัวตนของเราสามารถขยายออกได้ในอีกแบบหนึ่ง คือในการเกิดขึ้นของความเป็ น “พวกเรา” และ “คนอืน่ ” นี่คอื สิง่ ทีเ่ รา เรียกว่า “อัตลักษณ์ร่วม” (Collective Identity) เมื่อคน กลุม่ หนึ่งมีอะไรหลายๆอย่างร่วมกันจนสามารถตัง้ ชือ่ พิเศษให้กบั กลุม่ ของตน สร้างความรูส้ กึ พิเศษให้แก่กลุม่ ของตน ตีวงแยกกลุม่ ของตนออกจากคนอื น่ ที่ เหลือทัง้ หมด สร้างความรูส้ กึ ยกย่องในเกียรติและค่าของตนเองทีเ่ กิดขึ้นจาก ความรูส้ กึ ว่ากลุ่มของตน อยู่เหนือผูอ้ ืน่ ซึง่ ศาสนาก็ใช้แนวคิดนี้เอง ในการแบ่งแยกเพศทีส่ าม และทำาให้เพศทีส่ ามกลายเป็ น แพะรับบาปของสังคม
ชาย-หญิง เพศสภาพกับการเป็ นชายขอบในสังคมไทย ประเด็นนี้แสดงให้เราเห็นว่าธรรมชาติของอัตลักษณ์ร่วม
คือ การแสวงหา อำานาจให้กลุ่มตัวเองอยู่เหนือผูอ้ ืน่ แก่นแท้ของอัตลักษณ์รว่ มจึงเป็ นเรือ่ งของ อำานาจที่จะครอบครองทรัพยากรอย่างมีตนเองเป็ นใหญ่ สังเกตได้วา่ ว่าในทุกอารยะธรรมใหญ่ๆของมนุษย์มีการกำาหนดให้ผูห้ ญิงมี สถานะที่ตาำ่ กว่าผูช้ าย นัน่ ก็เป็ นอย่างหนึ่งทีแ่ สดงให้เห็นการสร้างอัตลักษณ์ร่วม คือ เมือ่ เพศชายรวมตัวกันมากขึ้นก็สร้างความยกย่องในเกียรติและค่าของ ตนเองออกจากเพศหญิง และสร้างความเชือ่ เข้าไปในศาสนาว่า เพศหญิงเป็ น เพศที่มีกรรม ต้องเกิดมาใช้กรรม แต่แล้วเมื่อเกิดมีเพศทีส่ ามขึ้นในหมูเ่ พศชาย ทีย่ กตัวขึ้นเหนือกว่าผูห้ ญิง ทำาให้มคี วามรูส้ กึ เหมือนถูกกบฏ จึงมีการกล่าวอ้าง จากศาสนาเข้ามาว่า เพศทีส่ ามเป็ นคนบาป เป็ นเรือ่ งด่างพร้อยของสังคม
รายงานกลุ่ม ตอน แชท แชร์+รูป profileในfacebook ของคนในกลุม่ (กลุม่ ตัวตนของกลุม่ ส่วนใหญ่) สรุปวัฒธรรมชุปแป้ งทอด
สรุปเด็กขายพวงมาลัย
ชีวติ ชายขอบในเมือง (กลุม่ ตัวตนของกลุม่ ส่วนน้อย)