Sociological and Anthropological Thoughts week13 260856

Page 1

SOCIOLOGICAL AND ANTHROPOLOGICAL THOUGHTS

แนวคิดสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา รหัสวิชา 261124 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2556 (สัปดาห์ที่ 13)


มานุษวิทยาเป็ นงานฝี มือ  ศ.ดร.ยศ

สันตสมบัติ จุดแข็งของมานุษยวิทยา คือการพยายามสร้างเสียงให้กบั คน ตัวเล็กตัวน้อย ซึง่ เวลาที่เขาพูดเองไม่ค่อยมีคนฟั ง ... ยศกล่าวต่อว่าเมื่อพูดถึง “จินตนาการ” ตนก็กลับไปหางานของ C.Wright Mills เป็ นนักสังคมวิทยาใน อเมริกา เขียนเรือ่ ง “จินตนาการทางสังคมวิทยา” [Sociological Imagination]อธิบายว่าจินตนาการคืออะไร เขาบอกว่ามันคือ การตัง้ คำาถาม เพือ่ ทำาความเข้าใจต่อความเคลือ่ นไหวของสังคมโลก แล้วเอาจินตนาการนัน้ มา ทำาความเข้าใจตัวเอง ในฐานะทีเ่ ราเป็ นมนุษย์ในกระแสโลกปั จจุบนั และจินตนาการ เป็ นพลังที่จะปลดเปลื้องโซ่ตรวนทางความคิด เพราะโลกทำาให้เรายึดติดกับความ เจริญทางวัตถุ โดยเชือ่ ว่าเราต้องทะลวงโซ่ตรวนเพื่อไปสูเ่ สรีภาพ โดยการใช้ จินตนาการ สำาหรับ Mills การตัง้ คำาถามคือพลังเพื่อปลดปล่อยมนุษย์ออกจาก ความไม่รูแ้ ละความประมาท ไปสูเ่ สรีภาพทีจ่ ะกำาหนดชะตาชีวติ ตนเอง


บริบทการเปลีย่ นแปลงมานุษวิทยา (1)  ศ.อานันท์

กาญจนพันธุ์ ใช้คาำ ว่า Invisible People คือคนชัน้ ล่างทีเ่ คย เป็ นเกษตรกรมาก่อน พอเปลี่ยนไม่ทาำ การเกษตรแล้ว เราเริม่ มองไม่เห็น ประเด็นคือเราต้องทำาความเข้าใจสังคมชนบทแบบใหม่ ซึง่ มันเปลี่ยนเยอะ มาก ชนชัน้ มันซับซ้อนหลากหลายมากขึ้น ชนชัน้ กลางเราก็ยงั ไม่รูจ้ กั ชนชัน้ ที่ ไม่ใช่ชนั้ กลางก็ยิ่งไม่รูจ้ กั หรือชนชัน้ ผูป้ ระกอบการทีเ่ กิดขึ้นมากมาย ซึง่ ไม่ใช่ ตาสีตาสา แต่เป็ นคนทีส่ นใจการเมือง สนใจนโยบาย พยายามรักษาผล ประโยชน์ของเขา เราอาจจะต้องสร้างจินตนาการใหม่ๆ ทีพ่ ูดถึงคนเหล่านี้


บริบทการเปลีย่ นแปลงมานุษวิทยา (2) 

ยังกล่าวถึงยุคสมัยทีอ่ ยูว่ า่ เป็ นยุคของความอึดอัด และไม่อยาก จะแยแสกับอะไร ในยุคแบบนี้ ทีย่ ุคทีเ่ ราถูกบดบังท่วมท้นด้วยข้อมูล การจะมีจนิ ตนาการจะต้องมี ความสามารถในการเปลีย่ นมุมมอง จาก มุมหนึ่งไปยังอีกมุม สลับไปมาได้ เห็นความเชือ่ มโยงระหว่างมุมมอง มี วิธีคดิ ใหม่ๆ และมี Trans-valuation คล้ายๆ คือการสร้างวิธีที่จะ ข้ามขัดแย้งของคุณค่าต่างๆ สร้างวิธที จี่ ะหาคุณค่าท่ามกลางความขัด แย้งของคุณค่า และสุดท้ายคือการเชือ่ มโยงกับปั ญหาความทุกข์ยาก ของบุคคล ซึง่ เป็ นเรือ่ งเฉพาะตัว กับโครงสร้างสังคม ซึง่ เป็ นประเด็น สาธารณะ Mills


ประวัติความเป็ นมาของมานุษยวิทยากายภาพ (1)  ความพยายามในการศึกษาเรือ ่ งราวของสิง่ มีชวี ติ กับมนุษย์นนั้ มีมาตัง้ แต่บุพกาล

ดังทีเ่ ราได้ยนิ ได้ฟังข้อสงสัยของคนรุน่ ก่อนๆ ว่า คนเราเกิดขึ้นมาได้อย่างไร ทำาไม คนจึงแตกต่างจากสัตว์ประเภทอืน่ ๆ และทำาไมสัตว์ทงั้ หลายจึงมีความแตกต่างกัน เป็ นต้น คำาถามเหล่านี้ได้กระตุน้ ให้มีการค้นหาคำาตอบอย่างจริงจัง  ศาสนาและนิยายปรัมปราทีค ่ นในแต่ละสังคมแต่งขึ้นกลายเป็ นสิง่ ทีไ่ ด้รบั การ ยอมรับกันอย่างแน่นแฟ้ น ตัวอย่างเช่น เซนต์ ออกัสติน ได้อธิบายว่า "มนุษย์ทกุ ชีวติ ในโลกสืบสายตระกูลมาจากอาดัมและอีวา ซึง่ เป็ นบรรพบุรุษคูแ่ รกทีพ่ ระเจ้า สร้างขึ้นเมื่อราว 6,000 ปี มาแล้ว ส่วนในทางซีกโลกตะวันออกชาวเขาเผ่าเย้าที่ อาศัยอยูบ่ นเทือกเขาแถบเอเชียอาร์คเนย์ก็มีความเชือ่ ว่า แต่เดิมมีเทวดาชือ่ เปี้ ยนโกฮูงเป็ นผูส้ ร้างโลกและมนุษย์ผชู ้ ายผูห้ ญิงขึ้น รวมทัง้ อนุญาตให้สมสูเ่ ป็ น สามีภรรยากันได้ ต่อมาเมื่อเกิดน้าำ ท่วมโลก ผูค้ นล้มตายจนเหลือเพียงชายหญิงคู่ หนึ่งทีอ่ พยพหนีนา้ ำ มาอาศัยอยูบ่ นเทือกเขา ซึง่ ภายหลังได้กลายเป็ นบรรพบุรุษชาว เขาเผ่าเย้าในปั จจุบนั


ประวัติความเป็ นมาของมานุษยวิทยากายภาพ (2) 

ความเชือ่ ทีเ่ พิ่งกล่าวถึงนี้เป็ นสิง่ ทีห่ ยัง่ รากฝังลึกลงไปในวัฒนธรรมและ ขนบธรรมเนียมประเพณีของคนเกือบทุกคนในสังคมนัน้ รวมทัง้ ได้มีการ สร้างข้อบังคับมิให้สมาชิกเชือ่ ถือ  คาโรลัส ลินเน่ (Carolus Linnaeus) กล่าวว่า ระบบของสิง่ มีชวี ต ิ เป็ นสิง่ แน่นอนตายตัวตามทีพ่ ระผูเ้ ป็ นเจ้าทรงสร้างไว้ และระบบนี้เป็ นสิง่ ที่ ไม่มีการเปลี่ยนแปลง (fixed by creation and never change)  ทรรศนะเกี่ยวกับความสถิตของสรรพสิง่ ได้รบ ั การวิพากษ์วจิ ารณ์จากนัก ปรัชญาร่วมสมัยกับลินเน่จาำ นวนหลายคน อาทิเช่น บุฟฟง (Buffon) มองสิง่ มีชวี ติ ทัง้ มวลว่าเป็ นกระบวนการของระบบทีม่ กี ารเคลื่อนไหวอยูเ่ สมอ ทุกสิง่ หาได้มโี ครงสร้างทางกายภาพทีแ่ น่นอนตายตัว


ประวัติความเป็ นมาของมานุษยวิทยากายภาพ (3) ทรรศนะเกี่ยวกับพลวัตของสรรพสิง่ (dynamic perspective) หรือการมองระบบสิง่ มีชวี ติ ว่าจะต้องมีการเคลือ่ นไหวอยู่ ตลอดเวลาดังทีเ่ พิ่งกล่าวถึงนี้นนั้ ก่อให้เกิดการมองโลกแบบใหม่ที่มองว่าสรรพ สิง่ จะต้องมีการเปลีย่ นแปลงตามสภาพแวดล้อมที่อยู่รอบตัวเสมอ และระบบของ สิง่ มีชวี ติ ทีป่ รากฏดังทีเ่ ห็นในขณะนี้นนั้ เป็ นผลมาจากการเปลีย่ นแปลงเรือ่ ยมา นับแต่อดีตหลายพันหลายหมื่นปี จนทำาให้รูปลักษณ์ของสิง่ มีชวี ติ แต่ละชนิดมี ลักษณะเป็ นดังเช่นนี้ และจะต้องมีการเปลีย่ นแปลงต่อไปอย่างไม่หยุดยัง้ จากแนว ทรรศนะนี้เองได้กลายเป็ นชนวนทีก่ อ่ ให้เกิดการค้นคว้าของนักวิชาการในแขนง ต่าง ๆ เพื่อร่วมกันศึกษาถึงขบวนการเปลีย่ นแปลงของสิง่ มีชวี ติ หรือกล่าวโดย ย่อก็คอื แนวความคิดเรือ่ งวิวฒ ั นาการได้เริม่ บังเกิดขึ้นอย่างจริงจังและเป็ นหลักที่ ตรงตามทิศทางของวิทยาศาสตร์สมัยใหม่

 จะเห็นได้วา่


มานุษวิทยากายภาพคืออะไร (1) "ตัวมนุษย์" และ "ความเป็ นมา" ในแง่โครงสร้าง ทางชีวภาพ เป็ นหน้าที่หลักของนักมานุษยวิทยากายภาพ นักมานุษยวิทยาสาขานี้ใช้แนวการศึกษาแบบ ชีววัฒนธรรม (biocultural approach) มาใช้เป็ นกรอบเพื่อค้นหาความรู ้ ความเข้าใจในเรือ่ งสรีรวิทยาของมนุษย์ โดยแนวการศึกษาแบบนี้เป็ น การนำาเอาความรูส้ าขาชีววิทยา สัตวศาสตร์ พันธุศาสตร์ สิง่ แวดล้อมและนิเวศวิทยา และวัฒนธรรมมาผสมผสานกัน เพื่อสร้าง กรอบการวิเคราะห์ใหม่ทใี่ ช้ศึกษา ตัวของมนุษย์หรือโฮโมเซเปี ยนส์

่ วกับ  การศึกษาเกีย

(Homo sapiens)


มานุษวิทยากายภาพคืออะไร (2)  จากแนวการศึกษาแบบชีววัฒนธรรมนี้

ได้สง่ ผลให้วชิ ามานุษยวิทยา กายภาพมีลกั ษณะเด่นแตกต่างไปจากวิชาในสาขาสังคมศาสตร์ (Social sciences) อืน่ ๆ ทัง้ นี้เป็ นเพราะได้นาำ วิทยาการของการศึกษาในสาขา วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ (Natural sciences) หลายสาขา อาทิเช่น ชีววิทยา ธรณีวทิ ยา กายวิภาคศาสตร์ สัตววิทยา พันธุศาสตร์ และเคมีมา ใช้เป็ นเครือ่ งมือ รวมทัง้ ได้นาำ ทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในการศึกษา วิเคราะห์ ในขณะเดียวกัน จากการทีม่ วลมนุษย์ตอ้ งตอบสนองต่อความ ต้องการทางร่างกายและสิง่ แวดล้อมรอบกาย ต้องอาศัยอยูร่ วมกันเป็ นกลุม่ และแสดงพฤติกรรมไปตามกฎเกณฑ์ทางวัฒนธรรมทีไ่ ด้สร้างสมกันขึ้นมา ทำาให้นกั มานุษยวิทยากายภาพมีความจำาเป็ นทีจ่ ะต้องให้ความสนใจเรือ่ ง ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางชีวภาพกับการโต้ตอบทางวัฒนธรรมของ มนุษย์ทมี่ ีชวี ติ อยูใ่ นแต่ละยุคแต่ละสมัยภายใต้สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ ทีพ่ วกเขาอาศัยอยู่


วิวฒ ั นาการของมนุษย์-ไพรเมต ั ว์ในสายโฮโม  แม้วา่ นักมานุษยวิทยากายภาพจะเน้นความสนใจศึกษาหมู่สต

เป็ นหลักก็ตาม แต่การทีจ่ ะทำาความเข้าในเรือ่ งนี้อย่างละเอียดลึกซึ้งได้นนั้ จำาเป็ นทีจ่ ะต้องมองย้อนไปยังอดีตกาลนับตัง้ แต่จดุ กำาเนิดของสิง่ มีชวี ติ ครัง้ แรกบนโลก จากนัน้ ต้องมองภาพกว้างทัง้ ทีเ่ ป็ นโลกของพืชและโลกของสัตว์ เพื่อทีจ่ ะสามารถให้คาำ อธิบายการวิวฒ ั นาการของมนุษย์ได้อย่างชัดเจน กล่าวกันว่า ในเบื้องแรกนัน้ สิง่ มีชวี ติ เกิดขึ้นนัน้ มีเพียงหนึ่งเซล ต่อมาก็จะมี เซลมากขึ้น เป็ นพืชและสัตว์นา้ ำ สัตว์บก และก้าวขึ้นมาเป็ นกลุม่ สัตว์ทีเ่ รียก ว่า ไพรเมต (primate) ซึง่ ถือกันว่าไพรเมตเป็ นจุดเปลีย่ นผ่านครัง้ สำาคัญ เพราะเป็ นกลุม่ สัตว์ทมี่ ีโครงสร้างทางกายภาพแตกต่างไปจากสัตว์ประเภท อืน่ ทัง้ ปวง และกล่าวกันว่าไพรเมตนี้เองทีเ่ ป็ นจุดเริม่ ต้นทีจ่ ะวิวฒ ั นาการต่อ ไปจนเป็ นมนุษย์ในทีส่ ุด


ความแตกต่างระหว่างมนุษย์ (1) ่ ไพรเมตแล้วก็ตาม  แม้วา่ จะมีการพัฒนามาจนถึงจุดสูงสุดของสัตว์ในกลุม

แต่มนุษย์ในปั จจุบนั ก็ยงั มีความแตกต่างระหว่างกันและกันมากมาย ทัง้ ที่ เป็ นความแตกต่างทางร่างกายและการโต้ตอบต่อสิง่ แวดล้อมทางธรรมชาติ ทีอ่ ยูร่ อบตัว ด้วยเหตุน้ ี นักมานุษยวิทยากายภาพจึงให้ความ สนใจต่อความ แตกต่างเหล่านี้ 1. ความแตกต่างที่มองเห็นได้ดว้ ยตา ได้แก่ สีผวิ สีของนัยน์ตา เส้นผม รูปทรงของใบหน้า ปาก จมูก และกระดูกขากรรไกร อนึ่ง ความแตกต่าง ภายในยีนทีไ่ ม่อาจมองเห็นด้วยตา เช่น กลุม่ เลือด คุณลักษณะภายในเซลที่ สามารถถ่ายทอดทางพันธุกรรม เช่น โรคโลหิตจาง ทีย่ งั ผลให้โรคบางอย่าง เกิดขึ้นกับคนบางกลุม่ ผูซ้ ึง่ มีลกั ษณะองค์ประกอบเหล่านี้อยูภ่ ายในร่างกาย


ความแตกต่างระหว่างมนุษย์ (2)  2.

การปรับตัวของร่างกายต่อภูมิอากาศและสภาพแวดล้อมบางประเภท ส่งผลให้โครงสร้างร่างกาย อวัยวะบางส่วนและเนื้อเยือ่ ห่อหุม้ ผิวหนัง เปลีย่ นแปลง รวมทัง้ มีการส่งทอดสิง่ แปลกใหม่ผา่ นไปยังลูกหลานโดยทาง พันธุกรรมอีกด้วย สิง่ เหล่านี้ก็เป็ นหัวข้อทีน่ กั มานุษยวิทยาให้ความ สนใจ และพยายามศึกษาวิจยั กลุม่ คนทีอ่ าศัยอยูใ่ นแถบทะเลทราย แถบอาร์คติก และแถบบริเวณทีร่ าบสูงเหนือระดับน้าำ ทะเลกว่า 5,000 - 12,500 ฟุต ส่วนอีกหัวข้อหนึ่งทีน่ า่ สนใจทีเ่ กีย่ วข้องกับเรือ่ งการปรับตัวนี้ก็คอื การ สร้างวัฒนธรรมที่มีแบบแผนเฉพาะอย่างขึ้น เช่น คนทีอ่ าศัยอยูต่ ามขัว้ โลก จะปลูกบ้านด้วยก้อนน้าำ แข็งและสวมเสื้อผ้าด้วยหนังนอกจากนี้ การใช้ไฟ การรวมกลุม่ ฯลฯ ก็จะมีแบบแผนพิเศษแตกต่างไปจากกลุม่ คนทีอ่ าศัยอยู่ ในเขตอบอุน่ และเขตร้อน จะเห็นได้วา่ หัวข้อเรือ่ งการปรับตัวของมนุษย์ตอ่ สภาพแวดล้อมได้ครอบคลุมเนื้อหาสาระทีก่ ว้างขวาง จึงมีนกั วิชาการทีใ่ ห้ ความสนใจในเรือ่ งนี้เป็ นพิเศษ และมีการตัง้ ชือ่ เป็ นวิชาใหม่วา่ มนุษย์นเิ วศวิทยา (Human Ecology)


ทฤษฎีวิวฒ ั นาการ (1)  ลามาร์ค

เชือ่ ว่าโครงสร้างทางร่างกายของสิง่ มีชวี ติ แต่ละชนิดทีด่ าำ รงคง อยูใ่ นลักษณะเช่นนี้เป็ นเพราะสภาพแวดล้อมทีเ่ อื้ออำานวยให้เกิดการคง สภาพของโครงสร้างดังทีเ่ ป็ นอยู่ หากสภาพแวดล้อมเปลี่ยนแปลงไป โครงสร้างทางชีวภาพของสิง่ มีชวี ติ นัน้ ๆ ก็จะเปลี่ยนไปด้วย การ เปลี่ยนแปลงดังกล่าวถึงนี้มสี าเหตุมาจากความพยายามของอวัยวะบาง ส่วนทีพ่ ร้อมทีจ่ ะปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม โดยจะมีการเปลี่ยนที ละเล็กทีละน้อยจนกลายเป็ นอวัยวะชนิดใหม่ข้ ึน และจะส่งผ่านต่อไปยัง ลูกหลานทางพันธุกรรมอีกด้วย อย่างไรก็ตาม ลามาร์คยังไม่อาจให้คาำ ตอบในรายละเอียดเกี่ยวกับกลไกของการเปลี่ยนแปลงว่า เป็ นเช่นไร


ทฤษฎีวิวฒ ั นาการ (2)  ชาลส์ ลีลล์

ผูซ้ งึ่ เสนอหลักยูนิฟอร์ม (Uniformitarionism) สภาพแวดล้อม ทางธรรมชาติมีผลต่อการปรับแต่งอวัยวะทางด้านร่างกายของสิง่ มีชวี ติ ทีก่ อ่ ให้ เกิดสภาพโครงสร้างทีเ่ หมาะสมกับสิง่ แวดล้อมขึ้น กระบวนการเปลี่ยนแปลง เช่นนี้ยงั ผลให้มีการต่อสูเ้ พื่อให้มีชวี ติ รอดของสรรพสิง่  ชาลส์ ดาร์วิน อะไรคือสาเหตุทก ี่ อ่ ให้เกิดความแตกต่างทางด้านร่างกายหาก มิใช่เป็ นผลมาจากปั จจัยทางสภาพแวดล้อม โดยตัง้ สมมติฐานว่า สิง่ มีชวี ติ ทุก ประเภทจะมีการเปลีย่ นแปลงโดยกระบวนการทางธรรมชาติ ส่วนปั จจัยทีก่ อ่ ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงหรือทีเ่ รียกว่าการวิวฒ ั นาการก็คอื การเลือกสรรตาม ธรรมชาติ (มีความแข็งแรงและสามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้อย่าง เหมาะสม) โดยมีขอ้ สรุปทีว่ า่ สิง่ มีชวี ิตที่เหมาะสมเท่านัน้ ที่จะมีชวี ิตรอดได้ ไป ใช้กบั ระบบเศรษฐกิจและระบบการเมือง รวมทัง้ เรือ่ งอืน่ ๆ อย่างแพร่หลาย


บรรพบุรษุ ของมนุษย์ – โฮโม (1)  โฮมินิด

ก็คอื ผูท้ ีส่ ามารถสร้างเครือ่ งไม้เครือ่ งมือได้  ความสามารถในการสร้างเครือ ่ งไม้เครือ่ งมือเป็ นคุณลักษณะทีก่ าำ หนด ขนาดของสมอง โครงสร้างของฟัน และการเคลื่อนไหวทีท่ าำ ให้โฮมินิด สามารถสร้าง "วัฒนธรรม" เพื่อใช้ในการดำารงชีวติ นัน่ หมายความว่า เมือ่ เรากล่าวถึงโฮมินิด เรามักจะหมายถึงสิง่ มีชวี ติ ทีส่ ร้างและพึ่งพา วัฒนธรรมเพื่อการดำารงชีวติ  สกุลโฮโม วิวฒ ั นาการต่อเรือ่ ยมา สกุลโฮโมจำาแนกออกเป็ น 2 สปิ ชี่ ได้แก่ (1) โฮโม อีเรคตัส และ (2) โฮโม เซเปี ยนส์  โฮโม อีเรคตัส มีการค้นพบซากดึกดำาบรรพ์ของโฮโม อีเรคตัสในทวีป เอเชีย ยุโรป และแอฟริกา แต่ไม่พบในทวีปอเมริกาและออสเตรเลียเลย


บรรพบุรษุ ของมนุษย์ – โฮโม (2) อีเรคตัส ในทวีปเอเชีย : มนุษย์ชวา มนุษย์ปักกิง่ โฮโม อีเรคตัสมี ชีวติ อยูร่ ะหว่าง 600,000 - 2 ล้านปี มาแล้ว นอกจากนี้ ยังสันนิฐานกันว่า แต่เดิมมีแหล่งกำาเนิดตามแถบเส้นศูนย์สตู ร ต่อมา ได้อพยพ กระจัดกระจายไปทางเหนือและบ้างก็ขา้ มไปอาศัยอยูใ่ นทวีปยุโรป  เครือ่ งมือหินสำาหรับการหาอาหารและเครือ ่ งนุ่งห่มในชีวติ ประจำาวัน นอกจากนี้ยงั เชือ่ กันว่าโฮโม อีเรคตัสเป็ นกลุม่ แรกทีเ่ ริม่ ใช้ภาษาในการ สือ่ สาร รวมถึงการใช้ ระบบสัญลักษณ์ ด้านภาษาพูดเพื่อบ่งบอกถึง ความต้องการและความรูส้ กึ ของตนได้บา้ ง เราเรียก วัฒนธรรมของโฮมิ นิดยุคโฮโม อีเรคตัสนี้วา่ “วัฒนธรรมอาชูเลีย่ น”  โฮโม


บรรพบุรษุ ของมนุษย์ – โฮโม (3) 

โฮโม เซเปี ยนส์ เซเปี ยนส์ (Homo sapiens sapiens) ซึง่ เป็ นสปิ ชยี่ อ่ ย ของโฮโม เซเปี ยนส์ ซึง่ ถือว่าเป็ นมนุษย์ปัจจุบนั (modern man) นี้เกิด ขึ้นครัง้ แรกเมื่อ 40,000 ปี มานี้ ดังนัน้ ช่วงเวลาจาก 600,000 ปี มา จนถึง 40,000 ปี เป็ นระยะเวลายาวนานทีโ่ ฮโม อีเรคตัส ได้ววิ ฒ ั นาการ จนทำาให้รูปลักษณ์ทางร่างกายเปลี่ยนแปลงเรือ่ ยมา จนกลายเป็ นโฮโม เซเปี ยนส์  การค้นพบซากของมนุษย์นีแอนเดอร์ธอลส์ รูปร่างทางร่างกายของมัน เกือบเท่ากับของมนุษย์สมัยใหม่ แต่ก็ยงั ไม่เหมือนกันร้อยเปอร์เซนต์ ดัง นัน้ จึงแสดงให้เห็นถึงหลักฐานสำาคัญว่า มนุษย์นีแอนเดอร์ธอลส์เป็ นขัน้ ตอนสุดท้ายทีจ่ ะวิวฒ ั นการกลายเป็ นโฮโม เซเปี ยนส์ เซเปี ยนส์ อัน เป็ นการชี้ชดั ถึงลำาดับขัน้ ทีส่ ามารถพิสจู น์ได้ในทฤษฎีววิ ฒ ั นาการ


บรรพบุรษุ ของมนุษย์ – โฮโม (4) 

มนุษย์นีแอนเดอร์ธอลส์มีความเฉลียวฉลาด สามารถดำารงชีวติ อยูใ่ นสภาพ อากาศหนาวของยุคน้าำ แข็งด้วยการอาศัยอยูใ่ นถ้าำ สวมใส่เสื้อผ้าหนา ใช้ไฟ ได้ อาศัยอยูร่ วมกันเป็ นหมูบ่ า้ น และสามารถล่าสัตว์ใหญ่นอ้ ยได้ทุกประเภท  เราเรียกวัฒนธรรมของคนในยุคนี้วา่ วัฒนธรรมมุสเตอเรียน มนุษย์นี แอนเดอร์ธอลส์อาศัยอยูแ่ ถบยุโรปตะวันตก แต่ก็พบหลักฐานว่ามีชวี ติ อยูใ่ น บริเวณประเทศอิรกั โซเวียต และจีนเช่นเดียวกัน คาดว่าคงสูญพันธุใ์ น ระหว่าง 35,000 -40,000 ปี มาแล้ว


ความแตกต่างทางชีวภาพระหว่างมนุษย์สมัยใหม่ เราจะพบว่ามนุษย์ทีอ่ าศัยอยูบ่ นโลกจำานวนกว่า 5,000 ล้านคนมีลกั ษณะ ทางกายภาพแตกต่างกันออกไป เราอาจจำาแนกความแตกต่างออกได้ดงั นี้ (1) ชาติพนั ธุ์ของมนุษย์ รูปลักษณะทีเ่ ราสามารถมองเห็นด้วยตาได้อย่าง

 ปั จจุบน ั

ชัดเจน ดังนัน้ จึงมีผพู ้ ยายามจำาแนกชาติพนั ธุข์ องมนุษย์ออกเป็ นกลุม่ ๆ ตาม ลักษณะสีผวิ โดย ประชุมขององค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรม ของสหประชาชาติ หรือยูเนสโกได้จดั ประชุมนักมานุษยวิทยากายภาพทีก่ รุง ปารีส ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1951 ได้เห็น พ้องกันว่ากลุม่ ชาติพนั ธุข์ อง มนุษย์ในโลกนี้แบ่งออกได้เป็ นกลุม่ ใหญ่ ๆ จำานวน 3 กลุม่ ได้แก่ นิกรอย์ ลอง โกลอยด์ คอเคซอยด์ (2) ขนาดของร่างกาย (3) กลุ่มเลือด


ทฤษฎีเกีย่ วกับชาติพนั ธุ์ของมนุษย์ (1) สาเหตุใดทีท่ าำ ให้มนุษย์มีสผี วิ ต่างกัน ???  ฟรานส์ โบแอส นักมานุษยวิทยาผูม ้ ีชอื่ เสียงคนหนึ่งได้ตงั้ สมมติฐานไว้วา่ การทีค่ นมีสผี วิ ต่างกันเป็ นเพราะระดับของการปกป้องจากธรรมชาติไม่เท่ากัน โบแอสยกตัวอย่างว่า หากจะพิจารณาดูหมี จะเห็นได้วา่ หมีสดี าำ มักอาศัยตามเส้นศูนย์สูตรเพราะไม่คอ่ ยได้รบั การปกป้ องจากแสงอันแรงกล้า ของดวงอาทิตย์เมื่อเปรียบเทียบกับหมีสขี าวทีอ่ าศัยอยูต่ ามขัว้ โลก อีกตัวอย่าง หนึ่งก็คอื สัตว์เลี้ยงนอกบ้าน เช่น วัว และควายจะมีสเี ข้มกว่าสัตว์ เลี้ยงในบ้าน เช่น แมว ซึง่ มีสอี อ่ นกว่าเพราะได้รบั การเลี้ยงดูในทีร่ ม่ จากข้อ สังเกตนี้เอง โบแอสจึงให้ความเห็นว่า ทฤษฎีน้ ีอาจใช้ในการอธิบายความแตก ต่างทางด้านสีผวิ ของมนุษย์ทีค่ นผิวดำาและผิวเหลืองอาศัยตามบริเวณเขต เส้นศูนย์สูตร และคนผิวขาวมักอาศัยตามเขตอบอุน่ และเขตหนาว 


ทฤษฎีเกีย่ วกับชาติพนั ธุ์ของมนุษย์ (2) ั ธุย์ งั ไม่อาจหาข้อยุตไิ ด้ เพราะมีขอ้ โต้แย้งมากมาย  อย่างไรก็ตามทฤษฎีเกี่ยวกับชาติพน

อาทิเช่น ชาวเอสกิโมมีผวิ สีเหลืองแต่อาศัยอยูใ่ นเขตขัว้ โลก ในขณะทีช่ าวอียปิ ต์อาศัยอยู่ แถบเส้นศูนย์สตู รแต่มีสผี ิวดำาเข้มน้อยกว่าพวกนิโกรทีอ่ าศัยอยูห่ า่ งจากเส้นศูนย์สูตร มากกว่า ั ธุข์ องมนุษย์น้ ีบางครัง้ ก่อให้เกิดปั ญหาทางด้านข้อขัดแย้ง  ในการศึกษาเรือ่ งชาติพน ระหว่างหมูม่ นุษยชาติเพราะก่อให้เกิด "อคติทางเชื้อชาติ" (racism) ได้ ดังตัวอย่างเช่น คนผิวขาวมักอ้างว่าพวกตนดีเด่นและเฉลียวฉลาดกว่าคนผิวสีดาำ และผิวเหลือง จึงสามารถสร้างเทคโนโลยี เครือ่ งไม้เครือ่ งมือทางวิทยาศาสตร์ให้ ก้าวหน้าทันสมัยได้มากกว่า อนึ่ง แม้คนผิวสีเดียวกันก็มีอคติตอ่ กัน อาทิเช่น คน เยอรมันมักคิดว่าพวกเขามีคณ ุ ลักษณะทางพันธุกรรมเหนือกว่าคนผิวขาวกลุม่ อืน่ และ คนญี่ปุ่นก็อา้ งว่า ยีนของพวกเขามีคณ ุ ภาพมากกว่ายีนของคนผิวเหลืองอืน่ การกระทำา ดังกล่าวก่อให้เกิดความรังเกียจเดียจฉันท์และการต่อสูอ้ ย่างรุนแรงทางเชื้อชาติในแต่ละ ประเทศ


สรุป องค์การยูเนสโกจึงลงความเห็นว่า...ในทางมานุษยวิทยา คำาว่าชาติพนั ธุ ์ ใช้ในการแบ่งกลุม่ มนุษยชาติซึง่ มีลกั ษณะสีผิวทางด้านร่างกายแตก ต่างกัน ความแตกต่างกันนี้เป็ นความแตกต่างขัน้ พื้นฐานทางธรรมชาติและสืบ ต่อไปยังลูกหลานได้โดยทางพันธุกรรม การจัดกลุม่ ของมนุษย์โดยวิธนี ้ ี นัก มานุษยวิทยาได้ใช้กฎเกณฑ์ของการแบ่งตามหลักของชีววิทยาแต่  การแบ่งแยกกลุม ่ ซึง่ อาศัยชาติพนั ธุ ์ (สีผวิ ทางด้านร่างกายแตกต่างกัน) เป็ นหลัก นี้ "ไม่ใช้" เป็ นสือ่ สำาคัญในทางมานุษยวิทยามากนัก ทัง้ นี้ ลักษณะของความ แตกต่างด้านอืน่ ซึง่ ซับซ้อน และมีความหมายในเชิงนิตนิ ยั ร่วมด้วย  คนทุกสีผวิ อาจมีความรูค้ วามฉลาดและสามารถเท่าเทียมกันถ้าหากอยูใ่ นสภาพ แวดล้อมทีค่ ล้ายคลึงกัน จริงหรือ ???  ดังนัน ้


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.