เอกสารประกอบการเรียน วิชาแนวคิดสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา สัปดาห์ที่12 -- 101157

Page 1

SOCIOLOGICAL AND ANTHROPOLOGICAL THOUGHTS

แนวคิดสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา รหัสวิชา 261124 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2557 (สัปดาหที่ 15)


อิสระภาพทางความคิดของคนไทย ... ตามแนวคิดมานุษยวิทยา การเลือกปฏิบัติ  วาทกรรม ความจริง ความรู และอํานาจ  คูตรงขาม และความเปนอื่น  ชาติพันธุ และความเปนชายขอบ 


การเลือกปฏิบตั ิ

(DISCRIMINATION)

ไดใหความหมายไววา การปฏิบัติที่แตกตางกัน การกีดกัน การหนวงเหนี่ยว หรือการลําเอียงซึง่ มีพื้นฐานมาจากเรื่องเพศ ผิว เชื้อชาติ ศาสนา ความคิดเห็นทางการเมือง สัญชาติ หรือความยากดีมีจน สถานะของแหลงกําเนิด หรือสถานะอื่นๆ ซึ่งมีวัตถุประสงคหรือมีผลกระทบหรือทําใหสูญเปลาหรือทําใหการยอมรับ ตองเสื่อมเสียไป ซึ่งขัดแยงกับสิทธิหรือการใชสิทธิโดยบุคคลทุกคนบน จุดยืนที่เสมอภาคกันซึ่งสิทธิและเสรีภาพทั้งมวล  ชุลรี ัตน ทองทิพย กลาววา การเลือกปฏิบัติ หมายความวา การกีดกันหรือ การใหสิทธิพิเศษ อันเนื่องจากความแตกตาง ๆ เชือ้ ชาติ เพศ ศาสนา ความเห็นทางการเมือง การแบงแยกเชื้อชาติหรือสังคม อันนํามาซึง่ ความ เสื่อมเสียตอความเสมอภาคในโอกาส  คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงสหประชาชาติ


วาทกรรม คืออะไร (DISCOURSE)

วาทกรรม “กระบวนการในการสรางชุดความคิด ที่แสดงถึงระบบและ กระบวนการในการสราง/ผลิต (constitute) เอกลักษณ (identity) และความหมาย (significance) ใหกับสรรพสิง่ ตางๆ ในสังคม ไมวาจะ เปนความรู ความจริง อํานาจ หรือตัวตนของเราเอง” (ไชยรัตน เจริญสินโอฬาร, 2540: 90)  วาทกรรม “จึงเปนการสราง/ผลิตสรรพสิ่ง (ความคิด) ขึ้นมาในสังคมภายใต กฎเกณฑที่ชัดเจนชุดหนึ่ง และกฎเกณฑนี้ก็จะเปนตัวกําหนดการดํารงอยู การเปลี่ยนแปลง หรือการเลือนหายไปของสรรพสิ่งที่ถูกสรางขึ้น จึงกลาวไดวา การเปลี่ยนแปลงสิ่งตางๆในสังคมมักแปรผันควบคูไปกับสรรพสิ่งที่ วาทกรรมสรางขึ้น ” (Foucault, 1972b: 126 - 131) 


ปฏิบัติการของวาทกรรม 1

(DISCURSIVE PRACTICE)

การวิเคราะหวาทกรรมจึงเปนพื้นที่ยอยที่มีสภาวะของ “ปฏิสัมพันธใน หลากหลายรูปแบบทั้งปะทะ ประสาน แทนที่ ตอสูแยงชิง ผนวกรวม และ ขจัดออกจากพืน้ ที่เดิม” (ธงชัย วินิจจะกูล, 2534: 30)  ภาคปฏิบัติการของวาทกรรมนอกจากจะแสดงผานการพูดของบุคคลในสังคม ไมวาจะเปนการพูดดวยวาจา ตัวหนังสือ สัญลักษณ และ/หรืออากัปกิริยา และไมวาจะเปนการสื่อในระดับใดแลว ยังปรากฏตัวผานจารีตปฏิบัติ ความคิด ความเชื่อ คานิยม และสถาบันในสังคม ที่มีความเกี่ยวของกับ เรื่องนั้นอีกดวย 


ปฏิบัติการของวาทกรรม อํานาจและความรู 1 อํานาจ ตองกระทําผานวาทกรรมโดยการขุดคุย และแกะรอยเพื่อเปด ชองทางและสรางพื้นที่ใหแกวาทกรรมชุดอื่นที่มีความแตกตาง อํานาจอื่นๆ ที่ถูกกดทับไวจากวาทกรรมกระแสหลักของสังคมใหไดมีโอกาสปรากฏตัว ออกมา  การวิเคราะหวาทกรรมจึงตองกระทําไปบนรากฐานความเชื่อมโยงระหวาง อํานาจและความรู เพราะวาทกรรมไมสามารถที่จะดํารงอยูไดอยางอิสระ โดยปราศจากการค้ําจุนของอํานาจ และในทางกลับกันอํานาจก็จะไมสามารถ สถาปนาตัวเองขึ้นมาได หากขาดซึ่งวาทกรรมในการสรางชุดความรู เพื่อการใหกลุมคนที่อยูใตวาทกรรมปฏิบัติตามความคิด จึงเปนที่มาของ อํานาจ 


ปฏิบัติการของวาทกรรม อํานาจและความรู 2 วาทกรรมและความรูเปนสิ่งที่มีความสัมพันธกัน อยางใกลชิด ในลักษณะ ของการมีผลกระทบถึงกันและกัน  อํานาจเปนผูสรางองคความรู โดยความรูที่ถูกสรางขึ้นมาก็จะเขาไปทําหนาที่ รับรองอํานาจ เพื่อใหสามารถยึดครองพื้นที่ เบียดไล และ/หรือแยงชิงพื้นที่ จากอํานาจในชุดอื่นที่แตกตางไปจากตน  ความรูจงึ มิได ใสซื่อปลอดจากการถูกครอบงําโดยอํานาจ และความรูก็มิได ถูกสรางขึ้นมาเพื่อการปลดปลอยมนุษยสูชีวิตแหงเสรีภาพ แตความรูเปน พันธนาการที่เขมงวด วางกฎระเบียบ และครอบงํามนุษยใหสยบยอม 

(Sarup, 1993: 67)


ปฏิบัติการของวาทกรรม อํานาจและความรู 3 

แมพื้นที่ในสังคมจะเต็มไปดวยเสนใยของความสัมพันธเชิงอํานาจ แตก็เปน ความสัมพันธที่มีลักษณะของการกระจัดกระจายไปในแตละพื้นที่ ซึ่งนั่นยอม หมายถึง ลักษณะของอํานาจที่กระจัดกระจายอยูทั่วไปในสังคม อํานาจที่มีอยู ในความสัมพันธจึงขาดการรวบรวม สะสม และจัดเรียงใหเห็นถึงความ ตอเนื่อง สงผลใหอํานาจในความสัมพันธเหลานั้นไมสามารถสถาปนาตนเอง ขึ้นไดอยางมั่นคง ชองวางตรงนี้เองที่ทําใหวาทกรรมหลัก ไดมีโอกาสและ ชองทาง ในการเขาไปทําใหเกิดการผลิต สะสม และหมุนเวียนจนเกิดการ รวบรวมและสถาปนาอํานาจขึ้นไดอยางเปนรูปธรรม (Foucault, 1980:

93)


ปฏิบัติการของวาทกรรม อํานาจและความรู 4 วาทกรรมไดกลายเปนเปาหมายแหงความปรารถนา เปนการตอสูหรือเปน ระบบของการครอบงํา เปนสิ่งที่สื่อแสดงถึงอํานาจที่จะตองถูกยึดกุม เพราะ หากสามารถเขายึดกุมวาทกรรมและทําใหสมาชิกของสังคมยอมรับในวาท กรรมนัน้ ได ยอมหมายถึง การเขายึดครองอํานาจโดยมีวาทกรรรมเปน เครือ่ งมือครอบงําความคิดไปสูก ารปฏิบัติ  ความรู อํานาจ และวาทกรรมจึงเปนฟนเฟองที่สําคัญในการทําใหอํานาจเกิด การหมุนเวียน เปลี่ยนถาย และแทรกซึมไปไดอยางทั่วถึงและตอเนื่องในทุก พื้นที่ของสังคม แมแตในสวนของวิถีปฏิบัติที่เปนสวนตัวของปจเจกบุคคล ไมวาจะเปนครอบครัว รางกาย หรือแมแตเรื่องเพศ (Foucault, 1980: 

119 - 120)


ปฏิบัติการของวาทกรรม อํานาจและความรู 5 อํานาจยังมีแงมุมที่กอใหเกิดความกดขี่ ชืน่ ชอบ และสยบยอมโดยไมมี ขอสงสัย ซึ่งอํานาจในแงนี้เองที่วาทกรรมเขามาแสดงตัวและมีบทบาทอยาง มาก เพราะวาทกรรมจะเขาไป “สรางความจริง” (the production of truth) ขึ้นมาในรูปลักษณของชุดความรู และดวยรูปลักษณที่ “ดูเหมือน” ใสซื่อ เปนกลาง ทําใหการตอตานขัดขืนชุดความคิด/วาทกรรมเกิดขึ้น ในระดับต่ํา  สภาพความเปนจริงของสังคม ที่มีทั้งการใชอํานาจในดานบวกและดานลบ รวมกันเพื่อการควบคุม การจัดการ และการสรางระเบียบวินัยใหแกสังคม ฉะนั้นการพิจารณาถึงอํานาจจึงไมอาจละเลยอีกดานหนึ่งของอํานาจที่อยูใน รูปลักษณของความรู ความจริงได 


ปฏิบัติการของวาทกรรม อํานาจและความรู 6 สามารถปรากฏออกมาไดในหลากหลายรูปแบบ ทั้งนี้ขึ้นอยูกับ เงื่อนไขของการผลิต/เผยแพรของผูใหและรูปแบบการบริโภคของผูร ับ การผลิตและสงตอจะตกอยูภายใตการควบคุม (apparatuses) ของกลไกที่มีความสําคัญทางการเมืองและเศรษฐกิจ เชน มหาวิทยาลัย และ กองทัพ  ฉะนั้น “ความจริง” จึงหมุนเวียนผานกลไกทางการศึกษา และระบบขอมูล ขาวสารที่มีอยูในสังคม และเปนประเด็นปญหาทางการเมืองที่กอใหเกิดการ ถกเถียงและเผชิญหนากันทางสังคม (Foucault, 1980: 131 - 132)  “ความจริง”


วาทกรรม คูตรงขาม และ การกลายเปนอื่น คือความคิดเรื่องการกลายเปนอื่น เชน ดี-เลว รวย-จน เมือง-ชนบท พัฒนา-ดอยพัฒนา ไพร-อํามาตย ราชการ-ราษฎร ฯลฯ  มิเชล ฟูโก เรียกความคิดคูตรงขามวา วาทกรรม  มนุษยติดอยูในกับดักวาทกรรม ที่มีกระบวนการของการแยงชิง เพื่อใหมีอํานาจ  ใชสัญญะเพื่อใหรูวาเราพวกเดียวกันและตางจากพวกอื่น (โดยอาศัยอํานาจในรูปแบบของวาทกรรมเปนตัวเชื่อม)  จึงลืมไปวา ความเปนจริงของการเปนมนุษยคืออะไร  วาทกรรมบางอยางลดคุณคาความเปนมนุษยลง (รูปธรรมของความไมเทาเทียม)  กับดักคูตรงขาม


วาทกรรมคูตรงขาม (DICHOTOMIES)

... คูตรงขาม ... ตั้งแตเมื่อไหร ???  เมื่อมนุษยรวมกันเปนกลุมและแบงแยกกลุมตน ฉัน (ตัวเรา) เธอ (คนอื่น) รวมกัน แขงขัน แยงชิงปจจัย4 โดยการตอสูเพื่อแยงชิงสิ่งเหลานี้ กอเกิดเปน ปญหา ความมมั่นคง และความสงบสุขของสังคมมนุษย  มนุษยจึงสรางเครื่องมือเพื่อตอบสนองความรูสึกในสิ่งที่เรียกวาความสุข จึงกอเกิดเปนกรอบ กฏหมายจารีต ขนบ ธรรมเนียม ประเพณี ของกลุม ปฎิบัติสืบทอดสิ่งเหลานี้จนกลายเปนวัฒนธรรมกลุม  เมื่อวัฒนธรรมผิดจากกลุมตน มักกอใหเกิด เปนคนอื่น กลุมอื่น คนนอก สิ่งเหลานี้ศัพททางมานุษยวิทยา เรียก ความเปนอื่น (Otherness)  มนุษยถูกสอนใหคิดเรื่อง


ความเปนอื่น 1

(OTHERNESS)

แนวคิดความเปนอื่น จะกําหนดตัวเรา กําหนดอารยะธรรมของเรา  แนวคิดที่มาจากนักปรัชญาฝรั่งเศส Foucault "ความเปนอื่น" (the other) หมายถึง คนอีกคนหนึ่งหรือกลุมหนึ่งซึ่งไดถูกนิยามในฐานะ ที่เปนคนที่แตกตาง หรือหมายถึงคนที่มีสถานะต่ํากวาหรือเปนรองกวา (sub-human) ที่รวมเขากับเอกลักษณของกลุมๆ หนึ่ง  ยกตัวอยางเชน (นาซี-ยิว) กลุมนาซี เขานิยามตัวเองใหแตกตางกับชาวยิว (พยายามที่จะธํารงรักษาความตาง) ในความหมายนี้ "ความเปนอื่น" คือการลดคุณคาลงมา เมื่อมันไดถูกนําไปประยุกตใชกับกลุม คน" (สมเกียรติ ตั้งนโม, 2544)  (พัฒนา-ดอยพัฒนา) การ "ดอยพัฒนา" ก็คือ "ความเปนอื่น" ที่ถูกกําหนดขึ้นโดยวาทกรรมของการพัฒนา 


ความเปนอื่น 2

(OTHERNESS)

ความเปนอื่น: คือการสรางความเปน ‘ตัวตน’ หรือ ‘องครวม’ ของ กลุมคนนั้น ใหมีความชัดเจนเปนรูปเปนรางขึ้นมา ในขณะเดียวกันก็ปลุกเรา ใหสมาชิกที่อยูในกลุมนั้นเกิดความรูสึกเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน และมีความ ตองการที่จะแสดงตนในฐานะที่เปนสวนหนึ่งขององครวมนั้น ในขณะเดียวกัน เราไมอาจปฏิเสธไดวาการกระตุนความเปนกลุม โดยการเปรียบเทียบกับการ มี และดํารงอยูของ ‘ชาติอื่น’ หรือ ‘ความเปนอื่น’ อันสื่อถึงภาพลักษณ และ การแสวงประโยชนที่แตกตาง ที่นํามาซึ่งความไมไววางใจซึง่ กันและกัน ความ หวาดระแวง ความขัดแยง การแกงแยงแขงขัน และความเปนศัตรู


ความเปนอื่น 3

(OTHERNESS)

แนวคิดจาก Erick Erikson มองวา แตเดิมนั้นมนุษยเปนสัตว ประเภทเดียวกัน แตไดแบงแยกตัวเองออกเปนชาติ เปนเผา วรรณะ ชนชั้น ศาสนา และอุดมการณที่ตางกัน จนทําใหเกิดความรูสึกวาตนเทานั้นเปน มนุษยประเภทที่แทจริง กลุมอื่นลวนเปนเพียงอะไรบางอยางที่ต่ํากวามนุษย  ติช นัท ฮันห เปนกพระเซนชาวเวียดนามเห็นวา ความยึดมั่นถือมั่นใน "ตัว เรา" "ตัวเขา" "ของเรา" "ของเขา" นั้น ทําใหมนุษยขาดความสามารถที่จะ มองเห็นความเปนมนุษยของผูอื่น เกิดความไมพยายามที่จะเขาใจผูอื่น และ ไมเปดใจกวางยอมรับซึง่ กันและกัน จนตกเปนเหยื่อของลัทธิความเชื่อใด ความเชื่อหนึ่งไดอยางงายดาย 


ความเปนอื่น 4

(OTHERNESS)

ความเปนอื่น นั้นถูกนิยามวาเปนความแตกตางจากตน (self/oneness) ใน ดานหลักๆ 2 ดาน คือ ความเปนอื่นเชิงวัตถุวิสัย (objective otherness) และความเปนอื่นเชิงอัตวิสัย (subjective otherness)  ความเปนอื่นเชิงวัตถุวิสัย หมายถึงความเปนอื่นทางภูมิศาสตร (geographical others) ซึ่งหมายถึงคนที่มาจากที่อื่นๆ ที่มิใชพื้นที่ของตน เชน ภาค ประเทศ โซน และทวีป เปนตน  ความเปนอื่นเชิงอัตวิสัย คือ ความเปนอื่นในแงของกลุมหรือองคกรที่มีพื้นที่ เฉพาะ (spatial organization) ซึ่งมิใชพื้นที่ทางธรรมชาติเชนเดียวกับ ความหมายแรก แตเปนในแงของสังคม วัฒนธรรม ความประพฤติ หรือ แมกระทั่งความแตกตางในเรื่องของความคิดเห็นหรือมุมมอง และรวมถึง สําเนียงการพูด (Murdick et al., 2004) 


อคติชาติพันธุ ... ความเปนอื่น 1

สถานการณ: ในประเทศไทยจึงกลายเปนชาวเขา ไมใชชาวเราเหมือนคนไทย ทั่วไป และโดยมากชาวเขาเหลานี้ก็ไมมีสิทธิที่พึงมีตามกฏหมายดวย เปนเหตุ ใหไมไดรับการบริการและการปฏิบัติตลอดจนทัศนคติ มุมมองที่ดีจากบาง หนวยงานและเจาหนาที่ของรัฐบางคน  ความพยายามของมนุษยที่จะแยกแยะความแตกตางทางวัฒนธรรมมีมานาน แลว ในระยะแรกๆนั้น มักจะแยกแยะกันตามลักษณะรูปธรรมของวัฒนะรรมที่ มองเห็นไดชัดเจน เชน ความแตกตางของภาษาพูดบาง เครื่องแตงกายบาง และวิธีการดํารงชีวิตบาง แตหลังจากลัทธิลาอาณานิคมไดขยายตัวออกไปทั่ว โลก ชาวยุโรปตะวันตกไดเริ่มใช อคติทางชาติพันธุ (Ethnocentrism)มาเปนพื้นฐานในการแยกแยะความแตกตาง ทางวัฒนธรรมมากขึ้น ดวยการจัดแบงประชากรในโลกออกเปน เชื้อชาติตาม สีผิว (Race) ซึ่งแฝงนัยของลําดับชั้นของความยิ่งใหญไวดวย เพราะมักจะ 


อคติชาติพันธุ ... ความเปนอื่น 2  ความพยายามของมนุษยที่จะแยกแยะความแตกตางทางวัฒนธรรมมีมานาน

แลว หลังจากลัทธิลาอาณานิคมไดขยายตัวออกไปทั่วโลก ชาวยุโรปตะวันตกได เริ่มใช อคติทางชาติพนั ธุ (Ethnocentrism) มาเปนพื้นฐานในการแยกแยะ ความแตกตางทางวัฒนธรรมมากขึ้น ดวยการจัดแบงประชากรในโลกออกเปน เชื้อชาติตามสีผิว (Race) ซึ่งแฝงนัยของลําดับชั้นของอํานาจความยิ่งใหญของ ความเปนมหาอํานาจไวดวย โดยมักจะจัดใหชาวผิวขาวของตนเองนั้นเปนเชื้อ ชาติที่ย่ิงใหญที่สุด สวนชาวสีผิวอื่นๆก็จะลดลําดับความสําคัญรองลงมา แตชาว ผิวสีดําจะถูกจัดใหอยูในลําดับต่ําที่สุด การจัดลําดับเชนนี้ก็ถูกทําใหเปนจริงเปน จังมากขึ้นเรื่อยๆ จนยึดถือกันเสมือนวาเปนจริงตามธรรมชาติ โดยไมมีการตัง้ คําถามใดๆทั้งตัวเหยื่อเองและผูไดรับประโยชนจากการจัดลําดับเชนนี้


อคติชาติพันธุ ... ความเปนอื่น 3  เมื่อไมมีการตั้งคําถามใดๆ

ในที่สุดก็กอใหเกิดลัทธินิยมเชื้อชาติตามสีผิว อยางบาคลั่งหรือ ลัทธิเหยียดสีผิว (Racism) ซึ่งเปนสาเหตุของโศกนาฏกรรม ในการฆาลางเผาพันธุ  ตั้งแตป ค.ศ. 1980 เปนตนมา นักมานุษยวิทยาคนสําคัญของอเมริกาคือ Franz Boas ไดคนพบจากการวิจัยจํานวนมากวา สายพันธุทางชีววิทยากับ วัฒนธรรมและภาษาไมจําเปนจะสอดคลองตองกันเสมอไป และเสนอใหแยก ประเด็นของเชื้อชาติตามสีผิวออกจากภาษาและวัฒนธรรม พรอมๆกับตอตาน ลัทธิเหยียดสีผิว


อคติชาติพันธุ ... ความเปนอื่น 4 นักมานุษวิทยาเสนอใหหันมาการศึกษาเกี่ยวกับ ความเปนชาติพนั ธุ (Ethnicity) เพราะเปนกระบวนการแสดงความเปนตัวตนทางวัฒนธรรม และความสัมพันธระหวางกลุม ชน แทนการจัดลําดับเชื้อชาติตามสีผิว ซึง่ ถือเปน กระบวนการกีดกันทางสังคม  นนักมนุษยวิทยาเสนอใหเรียกกลุมชน ที่แสดงความแตกตางกันทางวัฒนธรรม วา กลุมชาติพันธุ (Ethnic Groups) แทน ชนเผา (Tribe) ซึ่งแฝงไวดวย แนวความคิดวิวัฒนาการ ที่จัดใหชนเผาเปนกลุมชนบทในสังคมแบบบุพกาล ดั้งเดิม ในความหมายที่ลาหลังและแฝงนัยในเชิงดูถูกดูแคลนไวดวย เพราะเปน ขั้นตอนแรกของวิวัฒนาการสังคมที่ยังไมมีรัฐ กอนที่จะกาวไปสูสังคมรัฐแบบ จารีต และสังคมทันสมัยในที่สุด ซึ่งเต็มไปดวยอคติตางๆ โดยไมสามารถหา หลักฐานมายืนยันในเชิงประวัติศาสตรไดเสมอไป 


อคติชาติพันธุ ... ความเปนอื่น 5  เชน

ชาวเขาในประเทศไทยมักจะถูกเรียกวาเปนชนเผา ทั้งๆที่ในประวัติศาสตร ชาวเขาบางกลุมไมวาจะเปนชาวอาขาก็ดี ชาวลีซอก็ดี หรือชาวลาหูก็ดี ลวนสืบทอดวัฒนธรรมเดียวกันกับกลุมชนที่เคยปกครองอาณาจักรนานเจา ในอดีต  ในภาษาไทย คําวาชนเผามีนัยแตกตางจากความหมายชนเผาของชาวตะวันตก อยูบาง ตรงที่คนทั่วไปจะใชกับชนเผาไทยดวย ซึ่งนาจะแสดงวา ภาษาทั่วไปใช คําวา ชนเผา ในความหมายเดียวกับกลุมชาติพันธุในทางวิชาการดวย ดังนั้นเพื่อหลีกเลี่ยงนัยในเชิงงดูถูกที่อาจเกิดขึ้นไดจากการใชคําวาชนเผา ใน งานทางวิชาการจึงควรใช กลุม ชาติพันธุ เมื่อพูดถึงกลุมชนที่แตกตางกัน ทาง วัฒนธรรม


การเมืองของความสัมพันธทางชาติพันธุ ... ความเปนอื่น 1 

ในปจจุบันการเมืองของความสัมพันธุทางชาติพันธุ นับวาเปนประเด็นสําคัญ อยางมาก เพราะกลายเปนสวนหนึ่งในกระบวนการของการสรางความหมาย เพื่อ การแยกแยะกลุมชนตางๆ บนพื้นฐานของความสัมพันธุเชิงอํานาจ ในกรณีของ สังคมไทย การเมืองในลักษณะเชนนี้เริ่มตนขึ้นตั้งแตชวงแรกของกระบวนการ สรางรัฐ ประชาชาติ เมือ่ ผูนําทางการเมืองและการปกครองในกรุงเทพฯ ที่เปน ศูนยกลางของอํานาจ เริ่มสรางภาพของ ความเปนคนอื่น (The Otherness) ใหกับกลุมชนตางๆในชาติ ดวยการมองวา กลุมชนที่อยูหางออกไปจากศูนยกลาง เปนคนบานนอก และถาอยูหางออกไปอีก ก็ถึงกับเรียกวาเปนคนปา ทั้งๆที่พวก เขาตางก็อยูรวมในรัฐประชาชาติเดียวกัน นัยที่เกิดขึ้นจากการสรางภาพดังกลาว ไดกลายเปน วาทกรรม (Discourse) หรือการนิยามความหมายเชิงอํานาจ ที่ ผลักดันใหกลุมชนที่อยูหางไกลจากศูนยกลางของอํานาจ


การเมืองของความสัมพันธทางชาติพันธุ ... ความเปนอื่น 2 

การตกอยูในสภาวะไรอํานาจ ที่ผลักดันใหกลุมชนที่อยูหางไกลจากศูนยกลาง ของอํานาจ ตองตกอยูในสภาวะไรอํานาจ หรือที่เรียกวา สภาวะชายขอบของ สังคม (Marginality) ซึ่งเทากับเปนกระบวนการกีดกันใหกลุมชนที่อยู หางไกลเหลานั้น ตองสูญเสียสิทธิตางๆที่พึงมีพงึ ไดจากการพัฒนาตางๆในรัฐ ชาติ ในทางสังคมวิทยาจะเรียกกระบวนการเชนนี้วา กระบวนการสรางสภาวะ ความเปนชายขอบ (Marginalization) ซึง่ สามารถเกิดขึ้นไดกับกลุมชนที่ อยูหางไกลจากอํานาจ ทั้งในแงของระยะทางและความสัมพันธ ดังจะพบวาใน ปจจุบัน แมจะอยูในกรุงเทพฯ แตคนในชุมชนแออัดก็ตองตกอยูในสภาวะเปนคน ชายขอบ เพราะอยูหางไกลจากความสัมพันธุเชิงอํานาจ สําหรับกลุมชนที่อยู หางไกลจากอํานาจในแงระยะทางดวยแลว ก็จะยิ่งไรอํานาจมากขึ้น เชนในกรณี ของชาวเขาในภาคเหนือ


การเมืองของความสัมพันธทางชาติพันธุ ... ความเปนอื่น 3  ชาวเขามักจะถูกกีดกันตางๆ

นานา ทั้งในแงของสิทธิในความเปนพลเมือง สิทธิ ในการตั้งถิ่นฐาน และสิทธิในการจัดการทรัพยากร จนขยายตัวเปนปญหาของ ความขัดแยงอยางรุนแรงในปจจุบัน เมื่อชาวเขาตองถูกคุกคามและถูกกดดันให ยายตั้งถิ่นฐานออกจากปา เพราะรัฐไมรับรองสิทธิของชาวเขาในการตัง้ ถิน่ ฐานอยู ในปา ทั้งๆที่พวกเขาอยูอาศัยมากอน ขณะเดียวกันก็มีความพยายามที่จะหา ประโยชนจากวัฒนธรรมของชาวเขา ดังปรากฏในรูปของ กระบวนการทําใหชาติ พันธุเปนสินคา ซึ่งหมายถึงการใชวัฒนธรรมของกลุมชาติพันธุเปนสินคา  สําหรับการหารายไดจากการทองเที่ยวในรูปตางๆไมวาจะเปนเครื่องแตงกาย หัตถกรรม และวิถีชีวิต ในกระบวนการดังกลาวจะมีการสรางภาพของชาวเขาให เปนเสมือนชุมชนดัง้ เดิม เพือ่ ดึงดูดนักทองเที่ยวใหมาสัมผัสความแปลกที่แทจริง จึงเทากับยิ่งตอกย้ําภาพของชาวเขาที่หยุดนิ่งตายตัวมากขึ้น


การเมืองของความสัมพันธทางชาติพันธุ ... ความเปนอื่น 4  เมื่อกลุมชาติพันธุตางๆ

บนที่สูงไมยอมตั้งรับแตฝายเดียวเชนในยุคกอน แตหันมารวมตัวกันเพื่อเรียกรองสิทธิตางๆที่พึงมีพึงไดในฐานะพลเมืองไทย พรอมๆกับการออกมาแสดง ความมีตัวตนทางชาติพันธุ (Ethnic Identity) ดวยการสรางอัตลักษณของชาวเขาผานทั้งพิธีกรรมและการแสดงออกตางๆ ที่แสดง วาชาวเขานั้นมีความรูและศักยภาพในการอนุรักษทรัพยากรปา ในดานหนึ่งก็เพื่อตอบโตอคติตางๆ ที่มีอยูในวาทกรรมของรัฐ ในอีกดานหนึ่ง ก็เพื่อสรางความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันในหมูชาวเขาเอง


การเมืองของความสัมพันธทางชาติพันธุ ... ความเปนอื่น 5  มานุษยวิทยาเรียกกระบวนการขางตนนี้วา

การเปดพื้นทีท่ างสังคมและ วัฒนธรรม (Social and Cultural Space) ของกลุมชาติพันธุ ที่ เปรียบเสมือนพื้นที่ในการแสดงออกของ สิทธิของกลุมชาติพันธุ (Ethnic Rights) รวมทั้ง ภูมิปญญาความรู (Indigenous Knowledge)  เพื่อนิยามการดํารงอยูทางวัฒนธรรมอยางแตกตาง และกําหนดความสัมพันธุ ทางสังคมของตนเองกับกลุมอื่นๆในสังคม แทนที่จะปลอยใหผูอื่นเปนผูกําหนด ฝายเดียว ซึ่งก็ถือไดวาเปนสิทธิชุมชนอยางหนึ่ง ที่รัฐในระบอบประชาติธิปไตย จะตองยอมรับ ในฐานะที่เปนสวนหนึ่งของประชาสังคม


ความเปนไทย ... ในบริบทของความเปนอื่น 1 ตองกลาวถึง ความเปนไทย (Thainess) ภายใตบริบทของ สังคมไทยที่ทําใหภาพของ “ความเปนอื่น” นั้นเดนชัดขึน้ เนื่องจาก“ความ เปนไทย” ถูกใชในการสรางชาติเพื่อใหเกิดความเปนหนึ่งเดียวกันซึ่งเปนการ รับประกันความมั่นคงของชาติ และทําใหความเปนชาติไทยถูกสงวนไวสําหรับ คนไทยเทานั้น ซึง่ ทําใหตัดสินคนอื่นที่แตกตางจากตนพรอมจะ เบียดขับพวก เขาเหลานั้น โดยเฉพาะอยางยิ่งกลุมชาติพันธุอื่นหรือคนอื่นที่มีสถานะดอยกวา ทางดานเศรษฐกิจและสังคม (โสฬส, 2551; สายชล, 2551) จนกลายเปนการ เปดโอกาสใหเกิดการเลือกปฏิบัติกับคนที่ “เปนอื่น” (Traitongyoo,

 ในความเปนอื่น

2008)


แรงงานเด็กผิดกฏหมาย... ในบริบทของความเปนอื่น 

แรงงานเด็กผิดกฏหมายกับความเปนอื่นในสังคมไทย ดวยความเปนอื่นที่ เชื่อมโยงกับการเขาถึงบริการสาธารณะ การคุมครองแรงงาน ยิ่งเปนภาพ สะทอนความ (ไม) สามารถเขาถึงทรัพยากร และการไดรับผลประโยชนจาก การพัฒนาตางๆไมวาจะเปนดานเศรษฐกิจ สังคม และการศึกษา ที่จัดใหโดย รัฐไทย ทั้งนี้เนื่องจากพวกเขาถูกมองวาเปน“คนอื่น” ที่มีสถานะเปนเพียง แรงงานราคาถูกในกระบวนการผลิตเทานั้น


คนชายขอบ 1

(MARGINAL

MAN)

การที่คนสวนนอยที่สูญเสียสิ่งที่มีคาในชีวิต เพราะถูกผลักดันออกไปจาก เครือขายของผลประโยชน ทีร่ ะบบศูนยกลางอํานาจ ดูแลคุมครองใหกับคน สวนใหญซึ่งสัมพันธใกลชดิ กับระบบอํานาจ อาจดวยสาเหตุที่คนสวนนอย ดังกลาว ตัดขาดตนเองอยูนอกขอบเขตทางกายภาพของสังคมใหญ คําวา “คนชายขอบของสังคม” จึงมีนัยพอที่จะครอบคลุมถึงใครก็ตามที่ถูกกระทํา ใหไรตัวตนไรเกียรติและศักดิศ์ รีในสังคม”


คนชายขอบ 2

(MARGINAL

MAN)

ความเปนชายขอบนั้นไมไดเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ แตทวาเกิดจาก การถูกกระทําเปนชายขอบ โดยมีสาเหตุใหญๆ อาทิ การกําเนิดรัฐชาติ การพัฒนา และโลกาภิวัตน เริ่มตนจากการกําเนิดรัฐชาติ ทําคนที่มิใชพลเมือง ของรัฐชาติหรือ “คนอื่น” กลายเปนคนชายขอบ เนื่องจากไมไดถูกนับรวม วาเปนพวก (self/one) สวนการพัฒนานั้นที่ผานมา มิติการพัฒนาได มุงเนนไปที่ศูนยกลาง โดยทําใหพื้นที่ที่ถูกละเลย โดยเฉพาะพื้นที่ที่เรียกวา “ไกลปนเที่ยง” กลายเปนพื้นที่ชายขอบ และคนที่อาศัยอยูในพื้นที่หลานนั้น ก็กลายเปนคนชายขอบ สําหรับโลกาภิวัตน กระแสของโลกาภิวัตนที่เกิดขึ้น และดําเนินอยูไดทําใหผูคนที่ไมสามารถปรับตัวเขากับกระแสในมิติการเมือง เศรษฐกิจ สังคม การศึกษา และวัฒนธรรม กลายเปนคนชายขอบ อีกรูปแบบหนึ่ง (สุริชัย, 2550)


เพศที่สาม ... กับการเปนชายขอบในสังคมไทย 1  เพศที่สามถูกสังคมวางเอาไว

ใหกลายเปนคนชายขอบไมไดรับการคุมครอง ทางกฎหมาย ถูกจํากัดสิทธิเสรีภาพ และกลายเปนคนบาป ของสังคม  เหตุใดเพศที่สามจึงมีภาพลักษณกลายเปนแบบนี้ ?  เพราะวาความแตกตางกันของเกียรติ ศักดิ์ศรี คุณคาของมนุษยที่เกิดใน สถานะภาพตางๆลวนแตเปนสิ่งที่ไดรับ การอางเหตุผลรองรับดวยความเชื่อ ทางศาสนา


เพศที่สาม ... กับการเปนชายขอบในสังคมไทย 2 (วาทกรรม: ศาสนา) ตราหนาเพศที่สามวา “เปนบุคคลที่เสื่อมจากสิริของ พระผูเปนเจา”  ศาสนาอิสลาม กลาวถึงเพศที่สามไววา “การเปนเพศที่ 3 จะมีความผิดเมื่อ การเปนเชนนัน้ เกิดจากความพยายามที่จะเปน (ความผิดทํานองเดียวกับ การศัลยกรรมรูปรางหนาตา เพราะไมพอใจตอสิ่งที่มีอยูเดิมตามธรรมชาติ) หรือ แสดงออกในสิ่งที่ผิดศีลธรรมของสังคมอิสลาม”  ศาสนาพุทธ พูดถึงเหตุของการเกิดเปนเพศที่สามเอาไววา “คนที่เกิดเปน เพศที่สามเปนเพราะชาติที่แลวทํากรรม ผิดศีลขอกาเม”  ศาสนาคริสต


เพศที่สาม ... กับการเปนชายขอบในสังคมไทย 3 ในการแบงแยกเพศที่สามออกจากสังคม มีหลักการอยางไร ??  สิ่งนี้สามารถอธิบายไดดวยแนวคิดเรื่อง “การขยายออกของตัวตน” และ “การขามพนตนเอง” ตัวตนของเราสามารถขยายออกไดในอีกแบบหนึ่ง คือในการเกิดขึ้นของความเปน “พวกเรา” และ “คนอื่น” นี่คือสิ่งที่เราเรียกวา “อัตลักษณรวม” (Collective Identity) เมื่อคนกลุมหนึ่งมีอะไรหลายๆอยาง รวมกันจนสามารถตั้งชื่อพิเศษใหกับกลุมของตน สรางความรูสึกพิเศษใหแก กลุมของตน ตีวงแยกกลุมของตนออกจากคนอื่นที่เหลือทั้งหมด สรางความรูสึก ยกยองในเกียรติและคาของตนเองที่เกิดขึ้นจากความรูสึกวากลุมของตน อยูเหนือผูอื่น ซึ่งศาสนาก็ใชแนวคิดนี้เองในการแบงแยกเพศที่สาม และทําใหเพศที่สามกลายเปนแพะรับบาปของสังคม 


ชาย-หญิง เพศสภาพกับการเปนชายขอบในสังคมไทย  ประเด็นนี้แสดงใหเราเห็นวาธรรมชาติของอัตลักษณรวม

คือ การแสวงหา อํานาจใหกลุมตัวเองอยูเหนือผูอื่น แกนแทของอัตลักษณรวมจึงเปนเรื่องของ อํานาจที่จะครอบครองทรัพยากรอยางมีตนเองเปนใหญ  สังเกตไดวาวาในทุกอารยะธรรมใหญๆของมนุษยมีการกําหนดใหผูหญิงมี สถานะที่ตํ่ากวาผูชาย นั่นก็เปนอยางหนึ่งที่แสดงใหเห็นการสรางอัตลักษณรวม คือ เมื่อเพศชายรวมตัวกันมากขึ้นก็สรางความยกยองในเกียรติและคาของ ตนเองออกจากเพศหญิง และสรางความเชื่อเขาไปในศาสนาวา เพศหญิงเปน เพศที่มีกรรม ตองเกิดมาใชกรรม แตแลวเมื่อเกิดมีเพศที่สามขึ้นในหมูเพศชาย ที่ยกตัวขึ้นเหนือกวาผูหญิง ทําใหมีความรูสึกเหมือนถูกกบฏ จึงมีการกลาวอาง จากศาสนาเขามาวา เพศที่สามเปนคนบาป เปนเรื่องดางพรอยของสังคม


รายงานกลุม ตอน แชท แชร+รูป profile ในfacebook ของคนในกลุม (กลุมตัวตนของกลุมสวนใหญ) สรุปวัฒธรรมชุปแปงทอด

สรุปเด็กขายพวงมาลัย

ชีวิตชายขอบในเมือง (กลุมตัวตนของกลุมสวนนอย)


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.