เอกสารประกอบการเรียนวิชา แนวคิดสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา สัปดาห์ที่ 13 171157

Page 1

SOCIOLOGICAL AND ANTHROPOLOGICAL THOUGHTS

แนวคิดสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา รหัสวิชา 262112 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2557 (สัปดาหที่ 16)


มานุษยวิทยาและเทคโนโลยีสมัยใหม (1)  เมื่อการศึกษาทางชาติพันธุวรรณนาถูกนําไปใชศึกษาเทคโนโลยีการ

สื่อสารสมัยใหม  ตั้งแตตนทศวรรษที่ 1990 นักมานุษยวิทยาตนพบกับเรื่องราวที่ตอง เอยถึงเทคโนโลยีสื่อสารสมัยใหม ในฐานะเปนหัวขอสําหรับการศึกษา  ฮาคเกน(1993) กลาววามานุษยวิทยามีวิธีศึกษาแบบองครวมเพื่อที่จะ ทําความเขาใจการเปลี่ยนแปลงในระดับใหญ มานุษยวิทยาจึงถูกใช ศึกษาเทคโนโลยีสมัยใหมในเชิงวัฒนธรรม  เอสโคบาร(1994) อธิบายวามานุษยวิทยาเหมาะสมที่จะใชศึกษาใน งานวิจัยทางชาติพันธุวรรณาเพื่ออธิบายลักษณะของการเยียวยาทาง วัฒนธรรม ชี้ใหเห็นวามีพฤติกรรมอะไรเกิดขึ้น และการเปลี่ยนแปลงที่ เกี่ยวของกับการพัฒนาเทคโนโลยี


มานุษยวิทยาและเทคโนโลยีสมัยใหม (2) วิลสันและปเตอรสน ั (2002) กลาววา มานุษยวิทยาเปนวิชาที่ใช ศึกษาการสื่อสารแบบออนไลนซึ่งเกิดขึ้นอยางรวดเร็ว คุก (2004) กลาววาการตรวจสอบเทคโนโลยีสมัยใหมภายใต บริบทการเมือง สังคม และเศรษฐกิจซึง่ มีขอ มูลขาวสารและ ภาพลักษณตา งๆเกิดขึ้น ถูกใช ถูกสงผาน และใหความหมาย การศึกษาเรื่องนี้แสดงใหเห็นวามานุษยวิทยาเหมาะจะใชศึกษามิติ สังคมของเทคโนโลยีสมัยใหม มานุษยวิทยากําลังสนใจเรื่องราวที่กวางขึ้นกวาเดิม ยืนยันวา “มีอะไรเกิดขึ้น” ในวัฒนธรรมที่สัมพันธกับการ เปลี่ยนแปลง ที่เกิดจากวัตถุทางวัฒนธรรม ทําใหการศึกษาทาง มานุษยวิทยามีพลังมากขึ้น >> พื้นที่ชาติพันธุวรรณนา


มานุษยวิทยากับการสื่อสารสมัยใหม  การสื่อสารก็เปนเรื่องจําเปนพื้นฐาน

ในทางกลับกันกระบวนการสราง อัตลักษณที่ใชเพื่อการสื่อสาร ไดเปลี่ยนไปสูการแสดงถึงความเปน มนุษยชาติ หรืออาจเปนเรื่องอารมณของบุคคลที่ถูกมองวาเปนสิ่ง สากล เปนเรื่องมวลชน เปนจินตนาการ การสื่อสารอาจถูกมองวาเปน สิ่งที่อยูรวมกับสภาพเชิงรูปธรรมและนามธรรมของความคิดแบบเสรี ของการเปนพลเมือง


การสื่อสารในฐานะเปนเครื่องหมายเรนลับของสภาวะสมัยใหม (1)  การสือ่ สารซึ่งเปรียบเสมือนเปนวิธีการแลกเปลีย ่ นความหมายและสรางความ

เปนมนุษยใหเปนสิ่งมีชวี ิตที่พูดได และเปนจุดกําเนิดและตัวแสดงของการสือ่ สาร  นอรเบิรต  วีเนอร (1948) ไซเบอรเนติกสเปนเครื่องมือสรางสังคมที่มศี ีลธรรม ซึ่งถูกควบคุมโดยกระบวนการทางสังคม หมายถึงกลุม คนที่มารวมตัวกันและ แลกเปลีย่ นการกระทําซึ่งกันและกัน ในความคิดของวีเนอร ระบบสังคมแบบนี้คือ องคกรที่มลี ักษณะเปนปจเจกมีการรวมตัวกันโดยอาศัยการสือ่ สาร มีกระบวนการตอเนื่องของการแลกเปลีย่ นและตอบสนอง จากแนวคิดนี้ทําให ประชาธิปไตย สามารถเกิดขึ้นไดและเปนแรงกระตุนใหเกิดการสือ่ สาร  วีเนอรเชื่อวาการสือ่ สารเปนความจริงพืน ้ ฐานที่มีอยูใ นสมอง และเปนแกนแทของ มนุษย


การสื่อสารในฐานะเปนเครื่องหมายเรนลับของสภาวะสมัยใหม (2)  วีเนอรกลาววา

ปจเจกบุคคลจําเปนตองเรียนรูที่จะใชภาษา ในฐานะเปนเครื่องมือที่จะ สื่อสารกับคนอื่น ในระดับการเมืองมหภาค ไซเบอรเนติกส (ระบบสังคมจําลองในโลก ไซเบอร) จะสรางมโนภาพของประชาธิปไตย ทั้งสวนที่เปนสังคมและคําสอน การสื่อสาร มิไดเปนเพียงเครื่องมือสําหรับการติดตอกับคนอืน่ ๆ แตยงั เปนเครื่องมือของปจเจกที่ ใชควบคุมคนอื่นและแบบแผนทางสังคม ซึง่ มีการตอสูกับสิ่งที่ไรระเบียบแบบแผน การสื่อสารมิไดเปนเพียงแกนแทของมนุษยเทานัน้ แตยังสิ่งจําเปนที่ถูกกําหนดไวแลว สําหรับการจัดระเบียบชีวิต บุคคล และสังคม สําหรับไซเบอรเนติกส  การสะทอนภาพของการตอสูของปจเจกเพื่อที่จะยืนยัน จัดระเบียบ และแผขยาย ประชาธิปไตยเปนสิ่งที่เกิดขึ้น ความคิดของวีเนอรเกี่ยวกับไซเบอรเนติกสในฐานะเปน ยุทธวิธีทางการเมือง ซึ่งความรูน ้จี ะถูกใชเพือ่ เผชิญหนากับความไรระเบียบ และเผด็จการ โดยการพัฒนาเทคโนโลยีของและประชาธิปไตย



การสื่อสารในฐานะเปนเครื่องหมายเรนลับของสภาวะสมัยใหม (3)  มวลชนอาจรับรูหรือตรวจสอบเครื่องพิสูจนความชั่วที่แขงขันกับหายนะของ

อํานาจ  การสื่อสารอาจกลาวไดวาสวนเติมเต็มใหกับแนวคิด  ขอโตแยงที่หลากหลายทําใหขอมูลขาวสารเปนแกนแทของการสือ่ สาร  มีการคนหา กระทําที่เกิดขึ้นจริงจากการสื่อสาร มากกวาการลอกเลียนแบบ  การสื่อสารคือการสะทอนตัวตน หรือเปนกระบวนการ “สะทอนกลับ” ของ การปรับปรุงแกไข ซึ่งตัวมนุษยจะเปนผูแปลความหมายของสิ่งที่อยูในใจไป เปนสิ่งที่เคลื่อนไหว และทําใหสิ่งที่ตองการสื่อ/ตัวตน แพรไปสูมนุษยคนอื่น และทําหนาที่เปนตัวขยายสํานึกของความเปนมนุษย/พลเมือง


การสื่อสารในฐานะเปนเครื่องหมายเรนลับของสภาวะสมัยใหม (4)  มนุษยก็ไมเคยประสบผลสําเร็จที่จะเขาใจคนอื่นไดโดยตรงและทั่วถึง

ดังนั้น การเปดเผยของไซเบอร และการพยายามกอใหเกิดการสื่อสารแบบเสมอภาค  การแสดงใหเห็นความสัมพันธระหวางความคิดกับขอมูล/ สิ่งภายนอก ทําให เห็นวาการสื่อสารมิใชเรื่องความรูสึกที่ตองการสงขาวสารหรือติดตอกับคนอื่น เปนแนวทางของการอางตัวตน  ทายที่สุดการสื่อสารก็จะกลายเปนการชี้ใหเห็นความตางระหวางสิ่งที่ถูกสงออก ไปกับสิ่งที่ถูกรับกลับมา และความตางระหวางผูสงและผูรับ


การสื่อสารในฐานะเปนเครื่องหมายเรนลับของสภาวะสมัยใหม (5)  สมมุติฐานเกี่ยวกับความปรารถนาของมนุษยที่เปนแกนแทเพื่อที่จะสื่อสารและ

มโนทัศนของการสื่อสารแบบประชาธิปไตยในฐานะเปนความสัมพันธของการ แลกเปลี่ยนตัวตน ทําใหไซเบอรเนิตกสตอบสนองตอความคิดเรื่องเสรีภาพ สมัยใหม ซึ่งเปนสิ่งสําคัญที่สุดตอการสรางจินตนาการเกี่ยวกับการทําลายลาง รางกายเพื่อใหมีการสรางนามธรรมของการสื่อสารที่บริสุทธิ์ กลาวงายๆคือ ไซเบอรเนติกสทําใหความคิดเกี่ยวกับรูปแบบการเปนพลเมืองสมัยใหม กลายเปนเรื่องราวขึ้นมาอีกครั้งหนึ่ง


วัฒนธรรมและการสื่อสารในไซเบอร (1) สมิธ ในเรื่อง Communication and Culture (1966) สมิธกลาววาสิ่งมีชีวิตมิไดมีแตการสื่อสาร แตสิ่งมีชีวิตยังมีสงั คมและจรรโลง วัฒนธรรมของตัวเองซึง่ ตองถูกสงตอไป ในปเดียวกัน เกียรตนิยาม “มนุษย” ตามความหมายของมโนทัศนของสิ่งเติมเต็มแบบไซเบอรเนติกส กลาวคือมนุษยเปนสัตวที่ตองพึ่งสิ่งภายนอกเพื่อที่จะจัดระเบียบพฤติกรรม ของตัวเอง เกียรตโตแยงวาวัฒนธรรมเปรียบเสมือนกลไกอยางหนึ่งที่ใช ควบคุมพฤติกรรม  อธิบายวาการสื่อสารเปนกระบวนการของการแลกเปลี่ยนตามธรรมชาติ ระหวางบุคคลสองคน การสือ่ สารคือความจําเปนเริ่มแรกสําหรับการมี ตัวตนของมนุษย การสื่อสารเปนวิธีการสรางแบบแผน ที่อางอิง และ สภาพ ชั่วคราวของตัวตน  อัลเฟณด


วัฒนธรรมและการสื่อสารในไซเบอร (2) รูปแบบที่มีการแลกเปลี่ยนใน การสื่อสารซึ่งเกิดขึ้นเปนผลผลิตที่เกิดขึ้นจากการสื่อสาร ในทางกลับกัน ตัวตน จะถูกสรางขึ้นในปจจุบันโดยสิ่งที่อยูภายนอก ซึ่งจะรวมเปนหนึ่งเดียวกับตัวตน และจะปรากฏเปนสวนเติมเต็มของตัวตน  “ความปรารถนาของคนอื่น” ตัวตนที่ถูกแสดงออกมาเปนรูปแบบที่ปกปด หรือ ซอนอยูลาคองอธิบายวา การละทิ้งดังกลาวนี้คือการไมพูด การไมอา งอิงสถานที่ ที่ตัวตนดํารงอยู เปนการสะทอนภาพลักษณตัวตนซึ่งจะกลายเปนคนอื่น  “ตัวตนของสิ่งไมมีตัวตน” คือการที่ “ฉัน” ถูกทําใหมีตัวตนจริง ตัวตนที่ถูก ผลิตก็จะมีอยูใ นเนื้อความทีถ่ ูกถายทอดออกมา  การสื่อสารจะชวยใหปจเจกบุคคลเขาถึงคนอื่นๆ  การสือ่ สารคือโอกาสที่จะปลดปลอยตัวตนออกไป


วัฒนธรรมและการสื่อสารในไซเบอร (3)  การทําความเขาใจโลก

ผันแปรไปตามอํานาจทางสังคมในแตละยุคสมัย  เรื่องทาทายและเรื่องที่เปนไปไดสําหรับมานุษยวิทยาในคริสตศตวรรษที่ 21  เทคโนโลยีสื่อสารไมวาจะเกาหรือใหมลวนดํารงอยูในระบบการสื่อสารที่ถูก ควบคุมดวยจริยธรรม  การสื่อสาร/ความคิดเชิงภาษาซึ่งถูกสรางขึ้นเพื่อเปนตัวแทนของความจริงซึ่ง ความจริงแบบนี้ตองการที่จะอางและแสดงตัวตน  การบริโภคสินคาเกี่ยวกับขอมูลขาวสารและความหมาย กลาวคือ เปนการ ย้ําใหเห็นความไมแนนอนที่เกิดขึ้นภายใตวาทกรรม


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.