เอกสารประกอบการบรรยาย เรือ่ ง
สื่อการเรียนการสอน
สำนักพัฒนาเทคนิคศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
ฝ่ายสื่อการเรียนการสอน สำนักพัฒนาเทคนิคศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
คำนำ
Ê×Íè ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹
¡
สือ่ การเรียนการสอน นับเป็นองค์ประกอบทีส่ ำคัญมากประการหนึง่ ในกระบวนการเรียนการสอน นอกเหนือจากตัวผูส้ อน ผูเ้ รียน และเทคนิควิธกี ารต่าง ๆ บทบาทของสือ่ การเรียนการสอน ก็คอื เป็นตัวกลาง หรือพาหนะ หรือเครือ่ งมือ หรือช่องทางทีใ่ ช้นำเรือ่ งราว ข้อมูลความรูห้ รือสิง่ บอกกล่าว (Information) ของผูส้ ง่ สารหรือผูส้ อนไปสูผ่ รู้ บั หรือผูเ้ รียน เพือ่ ทำให้การเรียนรูห้ รือการเรียนการสอนบรรลุผลสำเร็จตาม วัตถุประสงค์หรือจุดมุ่งหมายที่วางไว้ได้เป็นอย่างดี สื่อการเรียนการสอนได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สอดคล้องกับการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีดา้ นต่าง ๆ จากสือ่ พืน้ ฐานซึง่ เป็นภาษาพูดหรือเขียน ถึงปัจจุบนั สือ่ มีหลายประเภท หลายรูปแบบ ให้ผสู้ อนได้พจิ ารณาเลือกใช้ตามความเหมาะสมของสือ่ แต่ละประเภท ทีม่ คี ณ ุ ลักษณะหรือคุณสมบัตเิ ฉพาะตัวของมันเอง สือ่ การเรียนการสอนทีถ่ อื ว่าทันสมัยมากในปัจจุบนั ก็คอื สื่อประเภทซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ ซึ่งการพัฒนาเป็นไปอย่างรวดเร็วควบคู่ไปกับเทคโนโลยีทางด้าน คอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction : CAI) หรือสือ่ ประสมทีเ่ รียกว่า มัลติมเิ ดีย (Multi Media) เป็นต้น เนื้อหาของเอกสารเล่มนี้จะกล่าวถึง นิยาม ความสำคัญ เทคนิคการใช้ การจำแนกประเภท การพิจารณาเลือกประเภทของสือ่ การเรียนการสอน แนวทางในการเก็บรักษา ตลอดจนเงือ่ นไขเกีย่ วกับการ สร้างสือ่ การเรียนการสอน ซึง่ สามารถใช้ศกึ ษาเพือ่ เป็นแนวทางในการเลือกใช้ ออกแบบและพัฒนาและสร้าง สือ่ การเรียนการสอน ชวลิต เข่งทอง ฝ่ายสือ่ การเรียนการสอน สำนักพัฒนาเทคนิคศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
สารบัญ
ฝ่ายสื่อการเรียนการสอน สำนักพัฒนาเทคนิคศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
อุปสรรคในการเรียนการสอน ความหมายของสือ่ การเรียนการสอน ทำไมจึงต้องใช้สอ่ื การเรียนการสอน การจำแนกประเภทของสือ่ การเรียนการสอน การเลือกสือ่ การเรียนการสอนให้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ เทคนิคการใช้สอ่ื การเรียนการสอน ประเภทของสือ่ การเรียนการสอน ลักษณะและแนวทางการใช้สอ่ื ประเภทต่าง ๆ สือ่ e-Learning แนวทางการเก็บรักษาสือ่ การเรียนการสอน เงือ่ นไขเกีย่ วกับการสร้างสือ่ การเรียนการสอน บทสรุป บรรณานุกรม
Ê×Íè ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹
หน้า 1 1 2 2 4 7 8 8 15 18 19 20 21
¢
อุปสรรคและความหมายของการเรียนการสอน
Ê×Íè ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ 1/21
1
ãºà¹×éÍËÒ
1. อุปสรรคในการเรียนการสอน
ฝ่ายสื่อการเรียนการสอน สำนักพัฒนาเทคนิคศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
เนื่องจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีเป็นไปอย่างรวดเร็ว เป็นเหตุให้ผู้สอนสถาบันอาชีวะ และเทคนิคศึกษาต้องประสบปัญหาอย่างมาก ในการที่จะทำให้ผลการเรียนการสอนบรรลุเป้าหมาย อยูเ่ สมอ การทีจ่ ะให้ผสู้ ำเร็จการศึกษาในแต่ละวิชาได้ออกไปปฏิบตั งิ านเป็นช่างเทคนิคทีม่ ที กั ษะจริง ๆ นัน้ ย่อมไม่สามารถเป็นไปได้ดว้ ยการเล่าเรียนในช่วงระยะเวลาสัน้ ๆ แต่ผสู้ อนจะต้องเล็งเห็นถึงความสำคัญ ของการที่จะต้องมีเวลาเพียงพอ สำหรับทำความคุ้นเคยกับวัสดุเครื่องมือหรืออุปกรณ์ต่าง ๆ ตลอดจน การเรียนรู้ถึงขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานต่าง ๆ ในสาขาวิชานั้น ๆ หากลำดับขั้นตอนที่เกิดขึ้นใน กระบวนการทางเทคนิคยิ่งซับซ้อนมากเท่าใด การถ่ายทอดความรู้ในชั้นเรียนก็ยิ่งเผชิญกับอุปสรรค มากขึน้ เท่านัน้ ปัจจุบนั นี้ นอกเหนือจากความรูท้ างวิชาการแล้ว ผูส้ อนวิชาทางเทคนิคยังจะต้องรูจ้ กั นำเอาวิธกี าร และสื่อต่าง ๆ มาใช้เพื่อให้การเรียนการสอนนั้น ๆ มีประสิทธิภาพมากที่สุดเท่าที่จะเป็นได้ นิยามของ ประสิทธิภาพในการสอนทางเทคนิค η มีดงั นี้
η=
เนือ้ หาทีผ่ เู้ รียนได้จากการสอน เนือ้ หาทีผ่ สู้ อนเตรียมจากหลักสูตรและถ่ายทอดให้ในชัน้ เรียน
2. ความหมายของสือ่ การเรียนการสอน (Instructional Media) สือ่ (Media) หมายถึง ตัวกลางทีใ่ ช้ถา่ ยทอดหรือนำความรูใ้ นลักษณะต่าง ๆ จากผูส้ ง่ ไปยังผูร้ บั ให้เข้าใจ ความหมายได้ตรงกัน ในการเรียนการสอน สือ่ ทีใ่ ช้เป็นตัวกลางนำความรูใ้ นกระบวนการสือ่ ความหมาย ระหว่างผูส้ อนกับผูเ้ รียนเรียกว่าสือ่ การเรียนการสอน (Instruction Media) ในทางการศึกษามีคำที่มีความหมายแนวเดียวกันกับสื่อการเรียนการสอน เช่น สื่อการสอน (Instructional Media or Teaclning Media) สือ่ การศึกษา (Educational media) อุปกรณ์ชว่ ยสอน (Teaching Aids) เป็นต้น ในปัจจุบันนักการศึกษามักจะเรียกการนำสื่อการเรียนการสอนชนิดต่าง ๆ มารวมกันว่า เทคโนโลยีทางการศึกษา (Educational) ซึง่ หมายถึง การนำเอาวัสดุ อุปกรณ์และวิธกี ารมา ใช้รว่ มกันอย่างมีระบบในการเรียนการสอน เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการเรียนการสอน
ทำไมจึงต้องใช้สอ่ื และการจำแนกประเภทของสือ่
Ê×Íè ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ 2/21
2
ãºà¹×éÍËÒ
ฝ่ายสื่อการเรียนการสอน สำนักพัฒนาเทคนิคศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
3. ทำไมจึงต้องใช้สอ่ื การเรียนการสอน
ข้อพิจารณาในการตอบคำถามว่า ทำไมจึงต้องใช้สื่อเพื่อช่วยในการเรียนการสอน มีอยู่หลาย ประการดังนี้ 3.1 ช่วยให้คณ ุ ภาพการเรียนรูด้ ขี น้ึ เพราะมีความจริงจังและมีความหมายชัดเจนต่อผูเ้ รียน 3.2 ช่วยให้ผเู้ รียนได้เรียนรูใ้ นปริมาณมากขึน้ ในเวลาทีก่ ำหนดไว้จำนวนหนึง่ 3.3 ช่วยให้ผเู้ รียนสนใจ และมีสว่ นร่วมอย่างแข็งขันในกระบวนการเรียนการสอน 3.4 ช่วยให้ผเู้ รียนจำ ประทับความรูส้ กึ ได้รวดเร็วและดีขน้ึ 3.5 ช่วยส่งเสริมการคิดและการแก้ปญ ั หาในกระบวนการเรียนการสอน 3.6 ช่วยให้สามารถเรียนรูใ้ นสิง่ ทีเ่ รียนได้ลำบาก เพราะ 3.6.1 ทำสิง่ ทีซ่ บั ซ้อนให้งา่ ยขึน้ 3.6.2 ทำนามธรรมให้เป็นรูปธรรมขึน้ 3.6.3 ทำสิง่ ทีเ่ คลือ่ นไหวหรือเปลีย่ นแปลงช้าให้ดเู ร็วขึน้ 3.6.4 ทำสิง่ ทีเ่ คลือ่ นไหวหรือเปลีย่ นแปลงเร็วให้ดชู า้ ลง 3.6.5 ทำสิง่ ทีใ่ หญ่มากให้ยอ่ ขนาดขึน้ 3.6.6 ทำสิง่ ทีเ่ ล็กมากให้ขยายขนาดขึน้ 3.6.7 นำอดีตมาให้นกั ศึกษาได้ 3.6.8 นำสิ่งที่อยู่ไกลหรือลี้ลับมาศึกษาได้ ในกรณีนี้เป็นการส่งเสริมการเรียนการสอน มีคณ ุ ภาพดีขน้ึ และยังสอดคล้องกับวิธกี ารสอนทีค่ รูผสู้ อนพิจารณาเลือกเอามาใช้สอน อีกด้วย 3.7 ช่วยให้ผเู้ รียนเรียนสำเร็จง่ายขึน้ และผ่านการวัดผลอันหมายถึงการบรรลุวตั ถุประสงค์ของบทเรียน
4. การจำแนกประเภทของสือ่ การเรียนการสอน
มีการจำแนกประเภทสือ่ การเรียนการสอนตามแนวความคิดทีแ่ ตกต่างกัน ดังตัวอย่าง 4.1 จำแนกประเภทสือ่ การเรียนการสอน โดยพิจารณาจากลักษณะประสาทการรับรูข้ องผูเ้ รียน จากการเห็นและการฟัง ซึง่ สามารถจำแนกประเภทของสือ่ ได้ดงั ต่อไปนี้ 4.1.1 สือ่ ทีเ่ ป็นภาพ (Visual Media) ก. ภาพทีไ่ ม่ตอ้ งฉาย (Non-Projected) ได้แก่ ภาพบนกระดาษดำ ภาพจากแผ่นภาพ ภาพจากหนังสือและสิง่ พิมพ์ตา่ ง ๆ ข. ภาพทีต่ อ้ งฉาย (Projected) ได้แก่ ภาพจากเครือ่ งฉายภาพข้ามศีรษะ เครือ่ งฉายสไลด์ เครือ่ งฉายภาพยนตร์หรือวิดที ศั น์ 4.1.2 สือ่ ทีเ่ ป็นเสียง (Audio Media) ได้แก่ สือ่ ประเภทเสียงทีใ่ ช้ในกระบวนการเรียนรู้ เช่น เทปบันทึกเสียง วิทยุ เป็นต้น 4.1.3 สือ่ ทีเ่ ป็นทัง้ ภาพและเสียง (Audio-Visual Media) ได้แก่ สือ่ ทีแ่ สดงภาพและเสียง พร้อม ๆ กัน เช่น สไลด์ประกอบเสียง ภาพยนตร์ทม่ี เี สียง (Sound-film) เทปโทรทัศน์ บทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน (CAI) และมัลติมเิ ดีย เป็นต้น
ฝ่ายสื่อการเรียนการสอน สำนักพัฒนาเทคนิคศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
ทำไมจึงต้องใช้สอ่ื และการจำแนกประเภทของสือ่
Ê×Íè ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ 3/21
3
ãºà¹×éÍËÒ
4.2 จำแนกประเภทของสือ่ การเรียนการสอน ในทางเทคโนโลยีการศึกษา อาจจำแนกได้เป็น 4.2.1 เครื่องมืออุปกรณ์ (Hardware) สื่อการเรียนการสอนประเภทเครื่องมือหรืออุปกรณ์ เรียกกันโดยทัว่ ไปว่า ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หรือสือ่ ใหญ่ (Big Media) หมายถึง สิง่ ทีเ่ ป็น อุปกรณ์ทางเทคนิคทั้งหลายที่ประกอบด้วยกลไกไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งไม่ใช่สิ่ง สิ้นเปลือง ได้แก่ เครื่องฉายทั้งหลาย เช่น เครื่องฉายภาพยนตร์ เครื่องฉายสไลด์ เครือ่ งฉายภาพทึบแสง เครือ่ งฉายภาพข้ามศีรษะ เครือ่ งรับโทรทัศน์ รวมทัง้ เครือ่ งมือ หรืออุปกรณ์ทางเทคนิคอื่น ๆ ที่เป็นทางผ่านของความรู้ เช่น เครื่องฉายจุลซีวัน เครือ่ งคอมพิวเตอร์ เป็นต้น 4.2.2 วัสดุ (Software) สือ่ การเรียนการสอนประเภทวัสดุ บางครัง้ เรียกว่า ซอฟต์แวร์ (Software) หรือสือ่ เล็ก (Small Media) ซึง่ เป็นวัสดุทเ่ี ก็บความรูใ้ นลักษณะของภาพ เสียง และตัวอักษร ในรูปแบบต่าง ๆ จำแนกได้ 2 ประเภท คือ ก. วัสดุที่ต้องอาศัยเครื่องมือหรืออุปกรณ์ (Hardware) เพื่อเสนอเรื่องราว ข้อมูล หรือความรูอ้ อกมาสือ่ ความหมายแก่ผเู้ รียน ได้แก่ ฟิลม์ แผ่นใส เทปบันทึกเสียง เป็นต้น ข. วัสดุทเ่ี สนอความรูไ้ ด้ดว้ ยตนเอง โดยไม่ตอ้ งอาศัยเครือ่ งมือหรืออุปกรณ์ใด ๆ เช่น ตำรา หนังสือ เอกสาร คูม่ อื รูปภาพ แผ่นภาพ ของจริง ของตัวอย่าง หุน่ จำลอง เป็นต้น 4.2.3 เทคนิคและวิธกี าร (Technique and Method) การสือ่ ความหมายในการเรียนการสอน บางครัง้ ไม่อาจทำได้ดว้ ยเครือ่ งมืออุปกรณ์หรือวัสดุ แต่จะต้องอาศัยเทคนิคหรือวิธกี าร เพือ่ การให้เกิดการเรียนรู้ หรือใช้ทง้ั วัสดุอปุ กรณ์และวิธกี ารไปพร้อม ๆ กัน แต่เน้นทีว่ ธิ กี าร เป็นสำคัญ เช่น การสาธิตประกอบการใช้เครือ่ งมือเครือ่ งจักร การทดลอง การแสดงบทบาท การศึกษานอกสถานที่ การจัดนิทรรศการ เป็นต้น ดังนัน้ เทคนิคหรือวิธกี ารต่าง ๆ ดังกล่าว จึงจัดว่าเป็นสื่อการเรียนการสอนอีกประเภทหนึ่ง แต่สื่อประเภทนี้มักจะใช้ร่วมกับสื่อ 2 ประเภทแรก จึงจะได้ผลดี เมือ่ กล่าวถึงการสือ่ การเรียนการสอนในกระบวนการเรียนการสอนโดยทัว่ ไป ส่วนใหญ่จะคำนึงถึงวัสดุ อุปกรณ์ ทีใ่ ช้ประกอบการเรียนรู้ ซึง่ ได้แก่ ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ มากกว่าเทคนิคหรือวิธกี าร ดังนัน้ จึง นิยมเรียกสือ่ การเรียนการสอนว่าอุปกรณ์ชว่ ยสอนหรืออุปกรณ์การสอน (Teaching Aids) ซึง่ หมายถึง วัสดุและอุปกรณ์ทใ่ี ช้ประกอบการเรียนรูห้ รือเพิม่ ประสิทธิภาพในการสือ่ ความหมาย อันจะส่งผลให้ผเู้ รียน เกิดความเข้าใจในบทเรียนได้งา่ ยขึน้
Ê×Íè ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ 4/21
การเลือกใช้สอ่ื ให้เหมาะกับวัตถุประสงค์
4
ãºà¹×éÍËÒ
5. การเลือกสือ่ การเรียนการสอนให้เหมาะกับวัตถุประสงค์ ในการพิจารณาเลือกใช้หรือสร้างสือ่ การเรียนการสอนให้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ในขัน้ ต้นจะต้อง พิจารณาเป้าหมายของวัตถุประสงค์ของบทเรียนเป็นหลัก โดยการวิเคราะห์เนือ้ หาของวัตถุประสงค์นั้น ๆ ว่า มีจดุ สำคัญอะไรควรสือ่ ความหมายลักษณะใด จากนัน้ จึงเลือกลักษณะของสือ่ ให้สอดคล้องกับเนือ้ หาหลัก ของวัตถุประสงค์นน้ั โดยพิจารณาเลือกเรียงลำดับจากสิง่ ทีเ่ ป็นนามธรรม (Abstract) ไปสูส่ ง่ิ ทีเ่ ป็นรูปธรรม (Concrete) ดังนี้ วัตถุประสงค์
พิจารณาเลือก
วิเคราะห์เนือ้ หาเพือ่ จุดสำคัญ ของวัตถุประสงค์
ลักษณะของสือ่
ฝ่ายสื่อการเรียนการสอน สำนักพัฒนาเทคนิคศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
หุน่ จำลอง
รูปธรรม (Concrete)
รูปภาพเคลือ่ นไหว
ของจริง
รูปภาพนิง่
คำพูด/คำบรรยาย
(Abstract) นามธรรม
ตัวอย่างการเลือกสือ่ การเรียนการสอน วัตถุประสงค์ของบทเรียน : หลังจากจบบทเรียนแล้ว ผูเ้ รียนจะสามารถ ก. อธิบายความหมายของคำว่า “สือ่ การเรียนการสอน” ได้ ข. บอกชือ่ ส่วนต่างๆ ของหลอดไฟแบบมีไส้ (Incandescent Lamp)ได้ ค. อ่านค่าแรงดัน กระแส ความต้านทานทีย่ า่ นวัดต่างๆ ของมัลติมเิ ตอร์ได้ถกู ต้อง
การพิจารณาเลือกสือ่ การเรียนการสอน วัตถุประสงค์ขอ้ ก. พบว่า สือ่ ทีจ่ ำเป็นในการใช้สอนเพือ่ ให้บรรลุเป้าหมายได้กค็ อื ใช้เพียงคำพูด บรรยายก็เพียงพอแล้ว วัตถุประสงค์ขอ ้ ข. ถ้าใช้คำพูดหรือบรรยายเพียงอย่างเดียวคงไม่พอทีจ่ ะให้ผเู้ รียนบรรลุเป้าหมาย ได้งา่ ยนัก ดังนัน้ จึงต้องมีสอ่ื การเรียนการสอนอืน่ ๆ ช่วย เช่น รูปภาพนิง่ หุน่ จำลอง หรือของจริง ซึง่ สือ่ ทัง้ 3 ลักษณะนีน้ า่ จะช่วยให้ผเู้ รียนบรรลุวตั ถุประสงค์ทต่ี ง้ั ไว้ได้ดกี ว่า แต่การทีจ่ ะกำหนดว่า เป็นสือ่ ประเภทใดนัน้ จะต้องพิจารณาต่อไปถึงปัจจัยอืน่ ประกอบ ดังนั้นในวัตถุประสงค์ข้อนี้สื่อการเรียนการสอนที่เลือกใช้จึงอาจเป็นแผ่นใสหรือแผ่นภาพที่เป็น รูปหลอดไฟฟ้าขนาดใหญ่หรือใช้หลอดไฟฟ้าจริงก็ได้เนื่องจากหาได้ง่าย แต่จะต้องมีจำนวนเพียงพอกับ ความต้องการของผูเ้ รียน เนือ่ งจากของจริงมีขนาดเล็กเกินไป
Ê×Íè ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ 5/21
การเลือกใช้สอ่ื ให้เหมาะกับวัตถุประสงค์
5
ãºà¹×éÍËÒ
วัตถุประสงค์ขอ้ ค. เนือ่ งจากมัลติมเิ ตอร์ของจริงมีขนาดเล็ก ผูเ้ รียนทัง้ ชัน้ ไม่สามารถมองเห็นสเกล หรืออ่านค่าได้พร้อม ๆ กัน ควรเพิม่ ขนาดมัลติมเิ ตอร์ให้ใหญ่ขน้ึ โดยทำเป็นแผ่นภาพ แผ่นใส หรือจำลองแบบจากของจริงจะเป็นสื่อที่ชัดเจนกว่า และผู้สอนสามารถควบคุมชั้นเรียนได้ ในเวลาเดียวกัน ส่วนการใช้มลั ติมเิ ตอร์จริงจะควบคุมการสอนได้ยากในช่วงของการให้เนือ้ หา แต่ถา้ เป็นการประลองหรือเป็นแบบฝึกหัด จะเหมาะสมกว่าแผ่นภาพหรือแผ่นใส เมือ่ พิจารณาได้ลกั ษณะของสือ่ จาการวิเคราะห์เนือ้ หาหลักของวัตถุประสงค์บทเรียนแล้ว ในขัน้ ต่อไป เป็นการวิเคราะห์ตอ่ เพือ่ หาประเภทของสือ่ หรืออุปกรณ์ชว่ ยสอนทีส่ อดคล้องกับวัตถุประสงค์นน้ั โดยพิจารณา จากคุณสมบัตเิ ฉพาะตัว และความเหมาะสมในการใช้ประกอบการสอนของสือ่ การเรียนการสอนแต่ละประเภท ดังรายละเอียดต่อไปนี้
รูปภาพนิง่
ภาพลายเส้น 2 มิติ
ภาพลายเส้น 3 มิติ
ภาพง่าย ๆ ใช้ เวลาเขียนสัน้ ๆ
ภาพซับซ้อนต้องการ ความละเอียดใช้เวลา
ฝ่ายสื่อการเรียนการสอน สำนักพัฒนาเทคนิคศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
กระดานดำ
แผ่นภาพ.แผ่นใส
ภาพสเก็ต (ภาพเหมือน)
แผ่นภาพ.สไลด์ แผ่นใส
ภาพถ่ายของจริง
ก.
แผ่นใส(ถ่าย) ภาพสไลด์
Ê×Íè ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ 6/21
การเลือกใช้สอ่ื ให้เหมาะกับวัตถุประสงค์
ãºà¹×éÍËÒ
รูปภาพเคลือ่ นไหว
ข.
ภาพ 2 มิติ
ภาพ 3 มิติ
เคลือ่ นไหวด้วยมือ
เคลือ่ นไหวอัตโนมัติ
ภาพลายเส้น
ภาพถ่าย
เคลือ่ นไหวด้วยมือ
เคลือ่ นไหวอัตโนมัติ
ภาพยนต์,วิดที ศั น์ แผ่นใสเคลือ่ นที่
แผ่นภาพ,แผ่นใส หุน่ จำลองพลาสติก
ฝ่ายสื่อการเรียนการสอน สำนักพัฒนาเทคนิคศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
6
แผ่นภาพ,แผ่นใส
ภาพยนต์,วิดที ศั น์
หุน่ จำลอง
ค.
แบบตายตัว
แบบเคลือ่ นไหวได้
แบบแยกชิน้ ได้
แบบแยกชิน้ ไม่ได้
ขับด้วยมือหมุน
ขับด้วยมอเตอร์
การเลือกใช้สอ่ื ให้เหมาะกับวัตถุประสงค์ และเทคนิคการใช้สอ่ื
ฝ่ายสื่อการเรียนการสอน สำนักพัฒนาเทคนิคศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
คำอธิบายยาว ๆ ข้อความ มีการเรียบเรียง อ้างอิง
คำอธิบายยาว ๆ อย่างอิสระไม่เรียบเรียง
จดบนกระดานดำหรือใช้สอ่ื ชนิดอืน่ ทีใ่ ช้ได้คล้ายกัน
ãºà¹×éÍËÒ
7
คำบรรยาย
จ. ข้อความหรือ หัวข้อสัน้ ๆ
Ê×Íè ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ 7/21
เขียนเป็นตำรา หรือใบเนือ้ หา
คำพูด
6. เทคนิคการใช้สอ่ื สารการเรียนการสอน การใช้สอ่ื การเรียนการสอน ย่อมจะมีเทคนิคทีแ่ ตกต่างกันไปตามเงือ่ นไขต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง เช่น ลักษณะและคุณสมบัตขิ องสือ่ แต่ละประเภท กลุม่ ผูเ้ รียน ผูส้ อน สถานที่ ความพร้อมของอุปกรณ์และเครือ่ งมือ ประกอบตลอดจนสภาพแวดล้อมต่าง ๆ เป็นต้น แต่หลักการสำคัญทีจ่ ะต้องคำนึงถึงอยูเ่ สมอก็คอื “เงือ่ นไข การเรียนรู”้ คินเตอร์ ได้ให้ขอ้ เสนอแนะในการใช้สอ่ื การเรียนการสอนไว้ ดังต่อไปนี้ 6.1 ไม่มวี ธิ กี ารสอนหรือวัสดุประกอบการสอนชนิดใด ทีจ่ ะสามารถใช้กบั ผูเ้ รียนและบทเรียนทัว่ ไปได้ วิธสี อนและวัสดุประกอบการสอนแต่ละประเภทย่อมมีจดุ มุง่ หมายเฉพาะของมันเอง 6.2 ในบทเรียนหนึง่ ๆ ไม่ควรใช้สอ่ื การเรียนการสอนมากเกินไป ควรใช้เพียงแต่เท่าทีจ่ ำเป็นเท่านัน้ ในบางครัง้ ก็ไม่ควรใช้สอ่ื อย่างเดียวตลอด 6.3 สือ่ การเรียนการสอนทีใ่ ช้ควรจะต้องสอดคล้องกับบทเรียนและกระบวนการเรียนการสอน 6.4 สื่อการเรียนการสอนควรสร้างให้เกิดโอกาสที่ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการเตรียมและการใช้ อันก่อให้เกิดประสบการณ์การเรียนรูท้ ไ่ี ม่ลมื ง่าย 6.5 ก่อนใช้สอ่ื การเรียนการสอน ผูส้ อนควรทดลองใช้กอ่ นเพือ่ ความแน่ใจว่าจะใช้ได้ถกู ต้อง และ มีประสิทธิภาพนอกจากนัน้ ยังต้องจัดเตรียมอุปกรณ์และเครือ่ งมือประกอบให้พร้อมทุกอย่าง
ประเภทของสือ่ การเรียนการสอน
Ê×Íè ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ 8/21
8
ãºà¹×éÍËÒ
ฝ่ายสื่อการเรียนการสอน สำนักพัฒนาเทคนิคศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
7. ประเภทของสือ่ การเรียนการสอน สือ่ การเรียนการสอนทีใ่ ช้ประกอบในการเรียนการสอนเท่าทีพ่ บเห็นและจากประสบการณ์ พอสรุป เป็นประเภทต่าง ๆ ดังนีค้ อื 7.1 กระดานดำ (Chalk Boards) 7.2 หนังสือ ตำราเรียน/ใบเนือ้ หาและใบงาน (Book or text/Information and Worksheets) 7.3 แผ่นภาพ (Wall Charts) 7.4 แผ่นใส (Overhead Transparencies)/สไลด์อเิ ล็กทรอนิกส์ (Electronics Slide) 7.5 โมเดลพลาสติก (Overhead Plastic Models) 7.6 ภาพสไลด์และแผ่นภาพยนต์ (Slide Series and Filmstrips) 7.7 แถบบันทึกเสียง (Audiotape Recordings) 7.8 แถบวิดที ศั น์/แผ่นวิดที ศั น์ (Videotape Recordings and Videodiscs) 7.9 หุน่ จำลอง (Models) 7.10 อุปกรณ์ทดลอง/สาธิต (Experimental/Demonstration Sets) 7.11 ของจริง (Real Objects) 7.12 บทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน(CAI) หรือซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์อน่ื ๆ เป็นต้น
8. ลักษณะและแนวทางการใช้สอ่ื ประเภทต่าง ๆ 8.1 กระดานดำ (Chalk Boards) ก. เหตุผลทีเ่ ลือกใช้ ข้อความทีแ ่ สดงสัน้ ๆ ภาพทีแ ่ สดงเป็นภาพง่ายๆ ใช้เวลาเขียนสัน้ ๆ ไม่มไี ฟฟ้าหรืออุปกรณ์อน ่ื ๆ ต้องการเปลีย ่ นแปลง แก้ไขภาพหรือข้อความบ่อยๆ ใช้กบ ั ผูเ้ รียนจำนวนไม่มากนัก ข. กิจกรรมในการเรียนการสอน เหมาะสำหรับการเรียนการสอนแบบบรรยาย หรือถาม-ตอบ สามารถให้ผเู้ รียนร่วมกิจกรรมบนกระดานดำได้งา ่ ย และพร้อมกันหลายคนได้ เปลีย ่ นแปลงและเพิม่ เติมรายละเอียดต่าง ๆ ได้งา่ ย ค. ลักษณะทางเทคนิค ไม่ตอ ้ งใช้อปุ กรณ์อน่ื ๆ ประกอบ ไม่ตอ ้ งใช้ไฟฟ้า เก็บรักษาไว้ไม่ได้ อายุการใช้งานสัน ้ มีเนือ ้ ทีใ่ นการใช้งานกว้าง
ประเภทของสือ่ การเรียนการสอน
Ê×Íè ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ 9/21
9
ãºà¹×éÍËÒ
ฝ่ายสื่อการเรียนการสอน สำนักพัฒนาเทคนิคศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
8.2. ใบเนือ้ หาและใบงาน (Information Sheet and Work Sheets) ก. เหตุผลทีเ่ ลือกใช้ ไม่มต ี ำราหรือหนังสือทีเ่ หมาะสมและสอดคล้องกับความต้องการโดยตรง เนือ ้ หาทีต่ อ้ งการกระจัดกระจายอยูใ่ นตำราหลายเล่ม ตำรามีราคาแพงเกินไป และมีเนือ ้ หาเกินความต้องการ รายละเอียดเนือ ้ หามีมาก หรือมีภาพและวงจรทีซ่ บั ซ้อนเสียเวลานานในการลอกจาก กระดานดำ ในการสอนผู้เรียนจำนวนมาก ๆ แบบบรรยายควรมีใบเนื้อหา ใบงานประกอบ เพือ่ ให้ทกุ คน เรียนได้ทว่ั ถึง ข. กิจกรรมในการเรียนการสอน เหมาะสำหรับการเรียนการสอนแบบบรรยาย ถาม-ตอบ แบบเป็นกลุม ่ ย่อย หรือเรียน ด้วยตนเอง ผูเ้ รียนทุกคนสามารถมีกจ ิ กรรมพร้อมกันในเวลาเดียวกัน เช่น อ่านและทำใบงาน สามารถให้ผเู้ รียนศึกษาและทบทวนบทเรียนได้ดว ้ ยตนเอง ขณะทีผ ่ สู้ อนกำลังบรรยายหรือป้อนข้อคำถามระหว่าง บทเรียนไม่ควรแจกใบเนือ้ หา ให้ผเู้ รียนอ่าน ค. ลักษณะทางเทคนิค ต้องใช้วส ั ดุอปุ กรณ์ในการสร้าง เช่น กระดาษไข กระดาษ เครือ่ งโรเนียว เครือ่ งถ่ายเอกสาร หรือเครือ่ งพิมพ์คอมพิวเตอร์ เป็นต้น ต้องใช้พนักงานพิมพ์ดด ี ช่วย หรือผูส้ อนต้องพิมพ์เองในการสร้างต้นฉบับ สามารถทำสำเนาได้จำนวนมากไม่จำกัด จัดเก็บรักษาง่าย และสะดวกต่อการนำไปใช้ครัง้ ต่อไป
ประเภทของสือ่ การเรียนการสอน
Ê×Íè ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ 10/21 10 ãºà¹×éÍËÒ
ฝ่ายสื่อการเรียนการสอน สำนักพัฒนาเทคนิคศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
8.3แผ่นภาพ (Wall Charts)
ก. เหตุผลทีเ่ ลือกใช้ ภาพทีแ ่ สดงยุง่ ยากซับซ้อนต้องใช้เวลาเขียนมาก ไม่มไี ฟฟ้าหรืออุปกรณ์เครือ ่ งฉายภาพอืน่ ๆ ในห้องเรียน ดึงดูดความสนใจของผูเ้ รียนทัง้ ชัน ้ มาทีภ่ าพได้ ต้องการแสดงให้เห็นทีละขัน ้ ตอนโดยใช้ภาพแยกส่วน ข. กิจกรรมในการเรียนการสอน เหมาะกับการสอนแบบบรรยาย หรือ ถาม-ตอบ สามารถให้ผเู้ รียนร่วมกิจกรรมได้ โดยใช้ดน ิ สอสีหรือชอล์คสีเพิม่ เติมรายละเอียดได้ ให้ผเู้ รียนอธิบายส่วนประกอบต่างๆ ของภาพหน้าชัน ้ เรียนได้ ภาพทุกภาพควรมีรายการคำถามทีด ่ ปี ระกอบ เพือ่ กระตุน้ ให้ผเู้ รียนมีสว่ นร่วมในการ คิดหาคำตอบ ค. ลักษณะทางเทคนิค ไม่ตอ ้ งใช้อปุ กรณ์เครือ่ งมือทีย่ งุ่ ยากในการสร้าง ยกเว้นในกรณีตอ้ งการลอกรูปภาพ ทีซ่ บั ซ้อน จากตำราต้องใช้เครือ่ งขยายภาพ ไม่ตอ ้ งใช้ไฟฟ้าหรืออุปกรณ์ในขณะใช้สอน การเก็บรักษาค่อนข้างยุง่ ยากเพราะมีขนาดใหญ่
8.4แผ่นใส (Overhead Transparencies )
ก. เหตุผลทีเ่ ลือกใช้ ภาพทีแ ่ สดงยุง่ ยากซับซ้อน เสียเวลาในการเขียนมาก ต้องการแสดงรูปภาพทีเ่ ป็นขัน ้ ตอน โดยใช้ภาพซ้อน (Over Lay) ต้องการขยายภาพให้มข ี นาดใหญ่หรือเล็กได้ตามต้องการ ต้องการใช้ภาพซ้อนทีส ่ ามารถเลือ่ นหรือเคลือ่ นทีไ่ ด้ สามารถควบคุมชัน ้ เรียนได้ดใี นขณะสอน ข. กิจกรรมในการเรียนการสอน เหมาะกับการสอนแบบบรรยาย หรือถาม-ตอบ ผูเ้ รียนสามารถร่วมกิจกรรมโดยเขียนลงบนแผ่นใสได้ ผูเ้ รียนสามารถอธิบายรายละเอียดต่างๆ ของภาพหน้าชัน ้ เรียนได้ การเตรียมภาพแผ่นเดีย ่ วหรือภาพซ้อน ควรมีรายการคำถามประกอบภาพทีเ่ หมาะสม เป็นขัน้ ตอน ค. ลักษณะทางเทคนิค สามารถสร้างขึน ้ เองได้งา่ ย ๆ โดยใช้ปากกาเขียนแผ่นใส (ปัจจุบนั สามารถลอกภาพ ทีซ่ บั ซ้อนจากต้นฉบับโดยใช้เครือ่ งถ่ายเอกสาร หรือเครือ่ งสแกนเนอร์) ฉายภาพในห้องสว่างได้ ไม่จำเป็นต้องใช้ในห้องมืด การเก็บรักษาง่ายและเคลือ ่ นย้ายสะดวก ต้องใช้ไฟฟ้าและเครือ ่ งฉายภาพโปร่งใส (Overhead Projector)
ประเภทของสือ่ การเรียนการสอน
Ê×Íè ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ 11/21 11 ãºà¹×éÍËÒ
8.5โมเดลพลาสติก (Overhead Plastic Models)
ฝ่ายสื่อการเรียนการสอน สำนักพัฒนาเทคนิคศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
ก. เหตุผลทีเ่ ลือกใช้ แสดงหลักการทำงานของชิน ้ ส่วนทีเ่ คลือ่ นไหวได้ แสดงส่วนประกอบหลักทีไ่ ม่ยงุ่ ยากนัก สามารถควบคุมชัน ้ เรียนได้ดขี ณะสอน ช่วยกระตุน ้ ให้ผเู้ รียนมีกจิ กรรมร่วม ข. กิจกรรมในการเรียนการสอน เหมาะกับการสอนแบบบรรยาย และถาม-ตอบ สามารถให้ผเู้ รียนร่วมกิจกรรมได้โดยการอธิบายประกอบการเคลือ ่ นไหวชิน้ ส่วนต่าง ๆ ขัน ้ ตอนการเคลือ่ นทีข่ องชิน้ ส่วนต่างๆ ผูส้ อนสามารถเตรียมคำถามไว้ถามเป็นขัน้ ตอนได้ ค. ลักษณะทางเทคนิค สามารถสร้างได้งา ่ ย ราคาไม่แพง สามารถฉายในห้องทีส ่ ว่างได้ ไม่จำเป็นต้องใช้หอ้ งมืด ชิน ้ ส่วนต่าง ๆ มีขนาดพอเหมาะ และน้ำหนักเบา การเก็บรักษาและทำความสะอาดง่าย สามารถเคลือ ่ นย้ายสะดวก
8.6ภาพสไลด์ และแผ่นภาพยนต์ (Slide Series and Filmstrips)
ก. เหตุผลทีเ่ ลือกใช้ แสดงภาพทีย ่ งุ่ ยากซับซ้อนมากหรือภาพถ่ายของจริง ดึงดูดความสนใจของผูเ้ รียนมารวมทีภ ่ าพได้ สามารถย่อภาพให้เล็กหรือขยายใหญ่ตามขนาดของกลุม ่ ผูเ้ รียนได้ ต้องการแสดงภาพประกอบเสียงในกรณีทต ่ี อ้ งการให้ผเู้ รียนเรียนด้วยตนเอง โดยใช้ ภาพสไลด์ ชุดประกอบเทป ( Slide-tape Program) ข. กิจกรรมในการเรียนการสอน ภาพสไลด์เดีย ่ วสามารถสอนได้โดยวิธกี ารบรรยาย หรือถาม-ตอบ ส่วนสไลด์ชดุ ประกอบ เทป สามารถเรียนได้ดว้ ยตนเอง ผูเ้ รียนร่วมกิจกรรมได้โดยการตอบคำถามจากผูส ้ อนเมือ่ สอนด้วยภาพสไลด์เดีย่ ว ผูเ้ รียนสมารถอธิบายรายละเอียดจากภาพหน้าชัน ้ เรียนได้ การใช้ภาพสไลด์เดีย ่ วผูส้ อนควรเตรียมรายการคำถามประกอบภาพ ไว้เป็นขัน้ ตอน จะดีกว่า การสอนแบบบรรยายจากภาพโดยตรง ค. ลักษณะทางเทคนิค สามารถทำขึน ้ ใช้เองได้งา่ ย โดยใช้กล้องถ่ายรูปธรรมดา กระบวนการล้างฟิลม ์ ทำได้งา่ ยสะดวกโดยร้านถ่ายรูปถัว่ ไป การเก็บรักษาภาพง่าย และสะดวกเพราะมีขนาดเล็ก เครือ ่ งฉายภาพสไลด์ชนิดไฟแรงสูง สามารถฉายได้ในมุมมืดของห้อง โดยไม่ตอ้ งฉาย ในห้องมืด สามารถใช้รว ่ มกับเทปเป็นชุดสไลด์ประกอบเสียง สามารถถ่ายสำเนาเป็นหลาย ๆ ชุดได้สะดวก
ประเภทของสือ่ การเรียนการสอน
Ê×Íè ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ 12/21 12 ãºà¹×éÍËÒ
ฝ่ายสื่อการเรียนการสอน สำนักพัฒนาเทคนิคศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
8.7แถบวิดที ศั น์ และแผ่นวิดที ศั น์ (Videotape Recording and Videodiscs) ก. เหตุผลทีเ่ ลือกใช้ อธิบายโดยภาพเคลือ ่ นไหวหรือการเคลือ่ นทีอ่ ย่างต่อเนือ่ ง ดึงดูดความสนใจของผูเ้ รียนได้เป็นอย่างดี สามารถย้อนกลับไปเริม ่ เนือ้ หาเดิมได้ตลอดเวลา สามารถย่อหรือขยายภาพได้ตามขนาดตามความเหมาะสมของผูเ้ รียน สามารถใช้ภาพนิง่ หรือภาพเคลือ ่ นไหวร่วมกันได้ มีเสียงบรรยายทีส ่ มั พันธ์กบั ภาพจริงเคลือ่ นไหวหรือภาพเคลือ่ นไหวด้วยเทคนิคพิเศษ สามารถเลือกกรอบเฉพาะเจาะจงได้บนแผ่นวิดท ี ศั น์ ข. กิจกรรมในการเรียนการสอน สามารถใช้กบ ั การเรียนการสอนได้หลากหลายวิธี รวมถึงการเรียนด้วยตนเอง ผูเ้ รียนร่วมกิจกรรมได้ระหว่างบทเรียนโดยการตอบคำถามหรือทำกิจกรรมกลุม ่ ค. ลักษณะทางเทคนิค สามารถจัดทำใช้ได้ดว ้ ยตนเองโดยใช้เครือ่ งมืออุปกรณ์ทไ่ี ม่ยงุ่ ยาก ต้องใช้ประกอบกับเครือ ่ งเล่นและเครือ่ งฉาย ไม่จำเป็นต้องฉายในห้องมืด ต้องพัฒนาให้ทน ั กับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทีท่ นั สมัย สามารถใช้รว ่ มกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ผลิตต้นฉบับราคาสูง สะดวกในการสำเนาหลาย ๆ ชุดได้อย่างรวดเร็ว ง่ายและสะดวกต่อการบำรุงรักษา จัดเก็บและเคลือ ่ นย้าย
ประเภทของสือ่ การเรียนการสอน
Ê×Íè ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ 13/21 13 ãºà¹×éÍËÒ
ฝ่ายสื่อการเรียนการสอน สำนักพัฒนาเทคนิคศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
8.8หุน่ จำลอง (Models) ก. เหตุผลทีเ่ ลือกใช้ สามารถมองเห็นได้ 3 มิติ เข้าใจง่าย สาธิตการทำงานของอุปกรณ์ ชิน ้ ส่วนหรือกลไกทีย่ งุ่ ยากให้เข้าใจได้งา่ ยและรวดเร็วขึน้ สาธิตการทำงานทีเ่ คลือ ่ นไหวรวดเร็วให้ชา้ ลง ตรวจปรับความเข้าใจของผูเ้ รียนระหว่างภาพกับของจริง โดยเฉพาะวิชาเขียนแบบ เทคนิค ข. กิจกรรมในการเรียนการสอน เหมาะกับการสอนแบบรรยาย และถาม-ตอบ สังเกตการสาธิตของผูส ้ อนและตอบคำถาม ผูส ้ อนและผูเ้ รียนร่วมกันปฏิบตั ขิ ณะสาธิต อภิปรายปัญหาร่วมกัน ค. ลักษณะทางเทคนิค มีรป ู ทรงเป็น 3 มิติ คล้ายของจริง สร้างได้เองในสถานศึกษา มีขนาดเหมาะ น้ำหนักเบา จัดเก็บและเคลือ ่ นย้ายสะดวก ใช้วส ั ดุทห่ี าได้งา่ ยในท้องถิน่ และราคาถูก
8.9ชุดทดลอง/สาธิต (Experimental/Demonstration Sets)หรือชุดฝึกปฏิบตั ิ
ก. เหตุผลทีเ่ ลือกใช้ ต้องการพิสจ ู น์ขอ้ เท็จจริง ทำให้ผเู้ รียนหรือผูร ้ บั การฝึกได้เห็นปรากฎการณ์จากการทดลองปฏิบตั จิ ริง ต้องการแสดงกระบวนการหรือขัน ้ ตอนต่าง ๆ ของผลลัพธ์ทต่ี อ้ งการ กระตุน ้ ความสนใจของผูเ้ รียนหรือผูร้ บั การฝึกได้ดี ผูเ้ รียนหรือผูร ้ บั การฝึกสามารถเรียนรูเ้ ป็นรายบุคคล เป็นกลุม่ หรือร่วมกับผูส้ อนได้ ข. กิจกรรมในการเรียนการสอน สามารถใช้กบ ั การสอนหรือการฝึกได้หลายวิธี ผูส ้ อนหรือผูฝ้ กึ เตรียมเครือ่ งมืออุปกรณ์ และวัสดุตา่ ง ๆ ทีต่ อ้ งใช้สำหรับการทดลอง หรือสาธิต ผูส ้ อนหรือผูฝ้ กึ ให้คำปรึกษาแนะนำระหว่างบทเรียนหรือการฝึกได้ตลอดเวลา ผูเ้ รียนหรือผูร ้ บั การฝึกมีกจิ กรรมร่วมระหว่างบทเรียนหรือการฝึก ค. ลักษณะทางเทคนิค ต้องใช้เวลาในการเตรียมการค่อนข้างมาก มีขนาดใหญ่ น้ำหนักค่อนข้างมาก และเคลือ ่ นย้ายไม่สะดวก อุปกรณ์ประกอบมีราคาแพง ต้องการสถานทีใ่ นการจัดเก็บและบำรุงรักษา
ประเภทของสือ่ การเรียนการสอน
Ê×Íè ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ 14/21 14 ãºà¹×éÍËÒ
ฝ่ายสื่อการเรียนการสอน สำนักพัฒนาเทคนิคศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
8.10 ของจริง (Real Objects) ก. เหตุผลทีเ่ ลือกใช้ ไม่สามารถใช้สอ ่ื ชนิดอืน่ ๆ ได้ดเี ท่า ของจริงสามารถหาได้งา ่ ย หรือยืมมาได้จากโรงฝึกงาน ของจริงสามารถแสดงรายละเอียดและวัตถุประสงค์ทต ่ี อ้ งการได้ ของจริงมีนำ ้ หนักและขนาดพอเหมาะทีจ่ ะนำมาใช้ประกอบการสอนในชัน้ เรียนได้ ข. กิจกรรมในการเรียนการสอน เหมาะกับการสอนแบบบรรยาย สาธิต หรือถาม-ตอบ ผูเ้ รียนสามารถร่วมกิจกรรมโดยอธิบายหรือสาธิตจากของจริงนัน ้ ได้โดยตรง จับต้อง สังเกต ศึกษาได้ดว ้ ยตนเอง หรือเป็นกลุม่ ย่อย โดยใช้ใบงานประกอบ ค. ลักษณะทางเทคนิค ส่วนใหญ่ได้มาจากโรงฝึกงาน หรือห้องประลองเพือ ่ นำมาประกอบการสอนทางด้าน ทฤษฎี ภายในห้องเรียน ขนาด น้ำหนัก คือ ข้อจำกัดในการนำมาใช้ ต้องการการจำแนกความแตกต่างของชิน ้ ส่วน โดยใช้สหี รือสัญลักษณ์ ต้องการสื่อประเภทอื่นช่วย ในกรณีที่ไม่สามารถเห็นการทำงานที่ยุ่งยาก ซับซ้อน หรือมีขนาดเล็กเกินไป
สือ่ e-Learning
Ê×Íè ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ 15/21 15 ãºà¹×éÍËÒ
ฝ่ายสื่อการเรียนการสอน สำนักพัฒนาเทคนิคศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
9. สือ่ e-Learning e-Learning Center แห่งสหราชอาณาจักรได้ให้ ความหมายของ e-Learning ไว้วา่ “e-Learning is the delivery of learning and training using electronic media. for example: using computers. internet. intranet .ln principle e-Learning is a kind of distance learning: learning learning materlals can be accessed from the web or CD via a computer. Tutors and learners can cimmunicate with each other using e-mail or discussion forums. e-Learning can be used as the main method of delivery of training or as a combined approach with classroom-based training” สรุปได้ว่า “e-Learning เป็นการนำส่งบทเรียนเพือ่ การศึกษา และฝึกอบรม โดยใช้สอ่ื อิเล็กทรอนิกส์ เช่น คอมพิวเตอร์ และเครือข่ายอินเตอร์เน็ต อินทราเน็ต โดยหลักแล้ว e-Learning เป็นการศึกษาทางไกลวิธหี นึง่ ทีผ่ เู้ รียน สามารถศึกษาวัสดุการเรียนผ่านคอมพิวเตอร์จากเว็บไซต์หรือซีดี ซึง่ ผูส้ อนเสริมและผูเ้ รียนสามารถติดต่อ สือ่ สารซึง่ กันและกันโดยใช้จดหมายอิเล็กทรอนิกส์หรือการใช้บอร์ดวิเคราะห์รว่ มกัน e-Learning จึงสามารถ ใช้เป็นวิธกี ารหลักในการนำส่งบทเรียนเพือ่ การฝึกอบรมหรือใช้ควบคูก่ บั การฝึกอบรมปกติในชัน้ เรียน” ความสำคัญของ e-Learning จึงอยูท่ ต่ี วั วัสดุการเรียน หรือ Learning Materials ทีเ่ ป็นหัวใจ ในการถ่ายทอดองค์ความรูไ้ ปยังผูเ้ รียนตามทีผ่ สู้ อนออกแบบขึน้ มา ซึง่ การออกแบบวัสดุการเรียนดังกล่าวนี้ ต้องเป็นไปตามหลักการเรียนรูท้ กุ ประการโดยยึดที่ วัตถุประสงค์ หรือเป้าหมายทางการเรียนเป็นหลัก ซึง่ Ruth C. Clark ได้กล่าวสนับสนุนในประเด็นนีไ้ ว้วา่ “e-Learning is an instruction delivered on a computer by way of CD-ROM lnternet ,or lnternet with the following features :1) includes content relevant to the learning objective 2) uses instructional methods such as examples and practice to help learning 3) uses media elements such as words and pictures to deliver the content and methods, and 4) builds new knowledge and skills linked to individual learning goals or to improved organizational performance “ การศึกษาหรือการฝึกอบรมในระบบ e-Learning จะได้ผลหรือไม่ จึงขึน้ อยูก่ บั คุณภาพของตัววัสดุการเรียน ซึง่ นอกจากจะต้องออกแบบให้สมั พันธ์กบั วัตถุประสงค์ตามหลัก การเรียนรูแ้ ล้วยังต้องเลือกใช้สอ่ื ทัง้ ข้อความและภาพทีเ่ หมาะสมเพือ่ นำเสนอข้อมูล รวมทัง้ ยังต้องสร้างองค์ ความรูใ้ หม่ ๆ ทีเ่ ชือ่ มโยงไปยังประสบการณ์ของผูเ้ รียนแต่ละคนอีกด้วยวัสดุการเรียนในรูปของสือ่ อิเล็กทรอนิกส์ จึงมีความสำคัญต่อการศึกษาหรือการฝึกอบรมในระบบ e-Learning เป็นอย่างมาก หากมีการพัฒนาวัสดุ การเรียนทีม่ คี ณ ุ ภาพ ก็ยอ่ มส่งผลให้การเรียนรูใ้ นระบบ e-Learning มีประสิทธิภาพตามไปด้วย
วัสดุการเรียน (Learning Materials)
ฝ่ายสื่อการเรียนการสอน สำนักพัฒนาเทคนิคศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
9.1 วัสดุการเรียน (Learning Materials)
Ê×Íè ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ 16/21 16 ãºà¹×éÍËÒ
วัสดุการเรียน (Learning Materials) หมายถึง บทเรียน สือ่ การเรียน กิจกรรมการเรียนการสอน แบบทดสอบ การตรวจ ปรับและกระบวนการเรียนรูอ้ น่ื ๆ ทีน่ ำเสนอผ่านคอมพิวเตอร์ เพือ่ ถ่ายทอดไปยังผูเ้ รียน ตามวัตถุประสงค์ของบทเรียนที่กำหนดไว้ ซึ่งนำเสนอในรูปของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Media) จำแนกออกเป็น 6 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ 1. บทเรียนคอมพิวเตอร์บนเว็บ (Web Based lnstruction) หมายถึง บทเรียนสำเร็จรูปทีน่ ำเสนอ ผ่านคอมพิวเตอร์หรือระบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทั้งเครือข่ายอินเตอร์เน็ตและเครือข่าย อินทราเน็ต ได้แก่ WBI (Web Based lnstruction), WBT (Web Based Training), IBI (lnternet Based lnstruction), NBI (Net Based lnstruction)หรือบทเรียนที่มีชื่ออื่น ๆ เพือ่ ใช้ในการศึกษาด้วยตนอง 2. สไลด์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Slide) หมายถึง สื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้นำเสนอข้อมูล ต่าง ๆ เพือ่ การเรียนการสอน เช่น PowerPoint Slide หรือ Presentation Files 3. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Books) หมายถึง หนังสือ ทีน่ ำเสนอผ่านจอภาพของเรือ่ งคอมพิวเตอร์ เพือ่ การศึกษาด้วยตนเอง ซึง่ พัฒนาขึน้ ภายใต้แนวความคิดของการนำเสนอหนังสือทัว่ ๆ ไป 4. เอกสารประกอบการบรรยายอิเล็กทรอนิกส์ (e-Lecture Notes) หมายถึง เอกสารประกอบ การสอน หรือเอกสารประกอบการสอน หรือเอกสารคำสอนทีผ่ สู้ อนใช้เพือ่ ประกอบการสอนผูเ้ รียน ซึง่ อยูใ่ นรูปของสือ่ อิเล็กทรอนิกส์ เช่น Document Files, Text Files และ PDF Files 5. ไฟล์ภาพเคลือ่ นไหวและเสียงดิจติ อล (Video File and Digital Sound) หมายถึง ภาพ เคลือ่ นไหว และเสียงทีน่ ำเสนอผ่าน คอมพิวเตอร์ เพือ่ ใช้เป็นวัสดุประการศึกษาหรือการฝึกอบรม เพือ่ นำเสนอข้อมูลในลักษณะของมัลติมเี ดีย 6. เอกสารไฮเปอร์เท็กซ์และไฮเปอร์มเี ดีย (Hypertext and Hypermedia Document) หมายถึง ไฟล์เอกสารต่าง ๆ ในรูป ของ HTML Files ซึง่ นำเสนอผ่านทางเว็บเบราเซอร์ ประกอบด้วย ข้อความ ภาพ และการเชือ่ มโยง (Link) ไปยังส่วนต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง ทัง้ ภายในและภายนอก วัสดุการเรียนทั้ง 6 ประเภทดังกล่าว บทเรียนคอมพิวเตอร์บนเว็บนับว่ามีความสำคัญที่สุด ต่อการเรียนรูใ้ นระบบ e-Learning เนือ่ งจากเป็นวัสดุทใ่ี ช้นำเสนอเนือ้ หาสาระแก่ผเู้ รียนโดยตรงบทเรียน คอมพิวเตอร์เว็บจึงมีบทบาทต่อการศึกษาและการฝึกอบรมในการเรียนรู้ e-Learning เป็นอย่างมาก จึงทำให้ บางคนคิดว่าการศึกษาด้วยตนเองผ่านบทเรียน WBI หรือ WBT ก็คอื e-Learning ซึง่ ไม่นา่ จะเป็นคำตอบ ทีถ่ กู ต้องนัก เนือ่ งจากคำตอบทีแ่ ท้จริงนัน้ e-Learning lnc แห่งเยอรมันนี ได้สรุปไว้ ค่อนข้างชัดเจนว่า “eLearning is the solution of the next education” การออกแบบและพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเว็บ จึงเป็นเรือ่ งสำคัญทีจ่ ะต้องดำเนินการอย่างเป็นระบบ และมีการตรวจปรับทุกขัน้ ตอน เพือ่ ให้ได้มาซึง่ บทเรียน ทีม่ คี ณ ุ ภาพ ซึง่ จะส่งผลให้การศึกษาและการฝึกอบรมระบบe-Learning มีคณ ุ ภาพตามไปด้วย
ความแตกต่างระหว่างบทเรียน CAI กับเรียน WBI
9.2 ความแตกต่างระหว่างบทเรียน
Ê×Íè ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ 17/21 17 ãºà¹×éÍËÒ
CAI กับบทเรียน WBI
ฝ่ายสื่อการเรียนการสอน สำนักพัฒนาเทคนิคศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
บทเรียน WBI เป็นบทเรียนคอมพิวเตอร์ประเภทหนึ่งที่นำเสนอ โดยใช้เว็บเบราเซอร์ผ่าน เครือข่ายคอมพิวเตอร์ทง้ั เครือข่ายอินเตอร์เน็ตหรืออินทราเน็ตภายในองค์กร โดยพืน้ ฐานแล้วจะไม่แตกต่าง กับบทเรียนทีน่ ำเสนอในรูปของ CD-ROM Based System เช่น บทเรียน CAI ทีย่ ดึ หลักการ 4 ls เช่นเดียวกัน ได้แก่1) lnformation คือ ความเป็นสารสนเทศ 2) interactive คือ การปฏิสมั พันธ์ 3)lndividualization คือ การศึกษา ตนเอง และ 4) immediate Feedback คือ การตอบสนองโดยทันที สำหรับส่วนทีแ่ ตกต่างของ บทเรียนคอมพิวเตอร์บนเว็บ ก็คอื การใช้คณ ุ สมบัตแิ ละเทคโนโลยีของเว็บเบราเซอร์นำเสนอส่วนต่าง ๆ ได้แก่ ส่วนของการติดต่อกับผูใ้ ช้ การสืบท่องข้อมูล และส่วนของการสนับสนุนกระบวนการเรียนรู้ เนือ่ งจากบทเรียน WBI ถูกออกแบบขึน้ มาเพือ่ ใช้ในการศึกษาทางไกลมากกว่าการใช้ในชัน้ เรียน จึงมีการใช้สว่ นบริการต่าง ๆ บนเครือข่ายคอมพิวเตอร์เอือ้ ประโยชน์แก่ผเู้ รียนแตกต่างจากบทเรียน CAI ทีอ่ าศัยผูส้ อนเป็นผูช้ แ้ี นะแนว ทางการเรียน อย่างไรก็ตามบทเรียน CAI ก็สามารถพัฒนาให้เป็นบทเรียน WBI ได้เช่นกัน โดยการเพิ่มเติม ส่วนสนับสนุน กระบวนการเรียนรู้เข้าไปและนำเสนอผ่านเว็บเบราเซอร์ก็จะกลายเป็นบทเรียน WBI โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในปัจจุบนั ความสามารถของระบบนิพนธ์บทเรียน (Authonng System) สามารถนำเสนอ บทเรียนผ่านเบราเซอร์ได้ จึงไม่มขี อ้ จำกัดใดๆในการพัฒนาบทเรียน CAI ให้เป็นบทเรียน WBI
9.3 ประเภทของบทเรียน WBI
บทเรียน WBI จำแนกออก 3 ประเภท ตามลำดับ ความยาก ได้แก่ 1. Embedded WBI เป็นบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเว็บทีน่ ำเสนอ ด้วยข้อความและกราฟิกเป็นหลักจัด ว่าเป็นบทเรียนขัน้ พืน้ ฐานทีพ่ ฒ ั นามาจากบทเรียน CAI ส่วนใหญ่พฒ ั นาขึน้ ด้วยภาษา HTML (Hypertext Markup Langrage) 2. IWBI (lnteractive WBI) เป็นบทเรียนคอมพิวเตอร์บน เว็บทีพ่ ฒ ั นาขึน้ จากบทเรียนประเภทแรก โดยเน้นการปฏิสัมพันธ์ กับผู้เรียนเป็นหลัก นอกจากจะนำเสนอด้วยสื่อต่าง ๆ ทั้งข้อความ กราฟิก และภาพเคลือ่ นไหวแล้วการพัฒนาบทเรียนในระดับนี้ จึงต้องใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ยคุ ที่ 4 ภาษาเชิงวัตถุ (Object Oriented Programming) เช่น Visual Basic, Visual c++ รวมทัง้ ภาษา HTML, Perl เป็นต้น 3.IMMWBI (lnteractive Multimedia WBI) เป็นบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเว็บทีน่ ำเสนอ โดย ยึดคุณสมบัตทิ ง้ั 5 ด้านของมัลติมเี ดีย ได้แก่ ข้อความ ภาพนิง่ ภาพเคลือ่ นไหว การปฏิสมั พันธ์ และเสียง จัดว่าเป็นระดับสูงสุดของบทเรียน WBI เนือ่ งจากปฏิสมั พันธ์เพือ่ จัดการทางด้านภาพเคลือ่ นไหว และเสียง ของบทเรียนโดยใช้เว็บเบราเซอร์นน้ั มีความยุง่ ยากมากกว่าบทเรียนทีน่ ำเสนอแบบใช้งานเพียงลำพัง ผูพ้ ฒ ั นา บทเรียนจะต้องใช้เทคนิคต่าง ๆ เข้าช่วยเพือ่ ให้การตรวจปรับของบทเรียนจากการมีปฏิสมั พันธ์เป็นไปด้วย ความรวดเร็วแดละราบรื่น เช่น การเขียนคุกกี้ (Cookies) ช่วยสื่อสารข้อมูลระหว่างเว็บเซิร์ฟเวอร์กับ ตัวบทเรียนทีอ่ ยูใ่ นไคลเอนท์ ตัวอย่างของภาษาทีใ่ ช้พฒ ั นาบทเรียน ระดับนี้ ได้แก่ Java, ASP,JSP และ PHP เป็นต้น
แนวทางการเก็บรักษาสือ่ และเงือ่ นไขการสร้างสือ่
Ê×Íè ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ 18/21 18 ãºà¹×éÍËÒ
10. แนวทางการเก็บรักษาสือ่ การเรียนการสอน การเก็บรักษาสือ่ เป็นสิง่ สำคัญประการหนึง่ ในเรือ่ งการใช้ ผูส้ อนหรือสถานศึกษาหลายแห่งอาจจะ มองข้ามความสำคัญในเรือ่ งนีไ้ ป ถ้าหากมีสอ่ื การสอนต่าง ๆ ไม่มากนักก็อาจจะไม่จำเป็น แต่ตอ้ งมีมากขึน้ ก็จำเป็นต้องมีหน่วยจัดเก็บ บริการเบิกยืมสือ่ การเรียนการสอน ประโยชน์ทจ่ี ะต้องได้นอกจากสะดวกแก่ การเบิกยืม ยังช่วยในการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง ในระบบใหญ่สามารถจะนำเครื่อง คอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการด้านนี้ การจัดการให้เกิดระบบในการเก็บรักษาสือ่ จะต้องกำหนดสิง่ เหล่านีใ้ ห้แน่นนอนเสียก่อน
ฝ่ายสื่อการเรียนการสอน สำนักพัฒนาเทคนิคศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
10.1 เลขหมายรหัสของสือ่
สือ่ การเรียนการสอนแต่ละประเภทแต่ละชิน้ จะต้องให้เลขหมายรหัส ถ้าหากเป็นประเภทเดียวกัน แต่มหี ลายชิน้ เช่น ใบงาน ใบเนือ้ หา สไลด์ ควรจะให้เพียงเลขหมายเดียว เลขหมายทีใ่ ห้น้ี จะทำหน้าทีแ่ ทนชือ่ ของสื่อการเรียนการสอนนั้น ๆ เลขหมายจะเป็นเลขกี่หลัก ขึ้นอยู่กับจำนวนที่คาดการณ์ว่าจะมีได้ ไม่ควรจะให้เลขหมายรหัสของสือ่ ทำหน้าทีแ่ ทนเลขหมายการจัดจำแนกด้วย เพราะจะได้ตวั เลขทีย่ าวมาก อย่างไรก็ตามเลขหมายรหัสสามารถจะจัดแบ่งใช้เป็นช่วงๆ เชิงการจำแนกทีจ่ ะสะดวกต่อการค้นหาใช้งาน เช่น แบ่งเป็นช่วง ๆ เพือ่ จำแนกสาขาวิชา สือ่ การเรียนการสอน แต่ละประเภทจะต้องกำหนดบริเวณทีต่ ดิ ตาม เลขหมายเลขรหัสทีแ่ น่นอนเหมือน ๆ กัน
10.2 เลขหมายการจัดจำแนก
เป็นเลขหมายที่กำหนดขึ้น เพื่อกำกับคู่กับเลขหมายรหัสของสื่อ สำหรับใช้ในการจำแนก และค้นหาสือ่ จำนวนตัวเลขจะขึน้ อยูก่ บั ขอบเขตของการจำแนก และจะเรียงกันไปตามลำดับความสำคัญ ในการจำแนก ความสะดวกในการค้นหาเพือ่ นำไปใช้งาน เช่น จำแนกสาขา หัวเรือ่ ง ประเภทสือ่ เป็นต้น
10.3 สถานที่ อุปกรณ์ สำหรับเก็บสือ่
สถานที่ อุปกรณ์ ได้แก่ ห้อง ตู้ ชัน้ ของ กล่อง อุปกรณ์สำหรับแขวน ยึด เป็นต้น ต้องจัดเตรียม ให้เหมาะสม กับสือ่ การเรียนการสอนแต่ละประเภท และจัดเตรียมเลขหมายตูช้ น้ั ไว้ดว้ ย นอกจากการจัดเตรียมสิ่งทั้งสามประการแล้ว ควรจะจัดเตรียมเอกสารที่จำเป็นต้องใช้ใน การทำงาน ด้วย เช่น ใบทะเบียน เพือ่ รวยรวมรายละเอียดต่าง ๆ ของสือ่ แต่ละชิน้ เช่น เลขหมายรหัส ชือ่ สือ่ การจัดจำแนกตูช้ น้ั ทีจ่ ดั เก็บ แหล่งทีม่ าได้มาอย่างไรข้อมูลด้านเทคนิค (ขนาด จำนวน น้ำหนัก เป็นต้น) ราคาเลขหมายรหัสสือ่ ทีต่ อ้ งใช้ประกอบเอกสารอีกประการหนึง่ คือ บัญชีสอ่ื เพือ่ ตรวจสอบการออกเลขหมาย รหัสสือ่ นอกจากนัน้ ก็ตอ้ งจัดเตรียมใบเบิกยืมสือ่ กำหนด ระเบียบขัน้ ตอนการเบิกยืม เอกสารความรูเ้ กีย่ วกับ การจัดแบบเก็บรักษาสือ่ เพือ่ ให้ผทู้ จ่ี ะมาทำหน้าทีใ่ นเรือ่ งนีไ้ ด้เข้าใจระบบงานและการพัฒนาระบบต่อไปในอนาคต
เงือ่ นไขการสร้างสือ่ การเรียนการสอน
ฝ่ายสื่อการเรียนการสอน สำนักพัฒนาเทคนิคศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
11.เงือ่ นไขเกีย่ วกับการสร้างสือ่ การเรียนการสอน
Ê×Íè ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ 19/21 19 ãºà¹×éÍËÒ
สือ่ การเรียนการสอนทีม่ อี ยูใ่ นสถานศึกษาอาจกล่าวได้มาจาก 2 แหล่ง คือ มาจากแหล่งภายนอก ได้แก่ การจัดซือ้ หรือการบริจาค และอีกแหล่งมาจากการทำขึน้ เอง โดยผูส้ อนหรือผูเ้ รียนภายในสถานศึกษา การจัดให้มสี อ่ื สารการเรียนการสอนนัน้ อาจกล่าวได้วา่ ขึน้ อยูก่ บั เงือ่ นไขต่าง ๆ ในสถานศึกษา เช่น นโยบาย งบประมาณ วัสดุ เทคโนโลยี ความรูป้ ระสบการณ์ในการสร้าง ความรูป้ ระสบการณ์ตลอดจนทัศนคติ ของผูส้ อนและเงือ่ นไขเกีย่ วกับผูเ้ รียนเงือ่ นไขต่าง ๆ พอจะสรุปในรายละเอียดได้ดงั นี้ 11.1 เงือ่ นไขจากสถานศึกษา 11.1.1 สถานภาพของการศึกษา ได้แก่ ขนาดของสถานศึกษา งบประมาณ ความพร้อมและ ความสะดวกในเรือ่ งวัสดุ อุปกรณ์เครือ่ งมือและเครือ่ งจักรต่าง ๆ 11.1.2 การบริหารงาน ผูบ้ ริหารได้เน้น หรือให้ความสำคัญในเรือ่ งสือ่ การเรียนการสอน หรือ ไม่เพียงใด 11.1.3 ลักษณะการเรียนการสอน เช่น หลักสูตรการศึกษา แผนการสอน ระดับชัน้ และ สาขาการศึกษา 11.2 เงือ่ นไขจากตัวผูส้ อน 11.2.1 พืน้ ฐานความรูแ้ ละประสบการณ์ของผูส้ อนแต่ละคนจะแตกต่างกัน ประสบการณ์ใน การสอน และความเชีย่ วชาญในเนือ้ หาวิชา ทำให้เอือ้ อำนวยต่อการสร้างและใช้สอ่ื การเรียนการสอนได้ดกี ว่า 11.2.2 ประสบการณ์ในการทำสือ่ การเรียนการสอน ผูท้ เ่ี คยทำการออกแบบสร้างสือ่ การเรียน การสอน จะสามารถทำได้ดว้ ยตนเอง และเข้าใจปัญหาต่าง ๆ ระหว่างดำเนินงาน 11.2.3 ทัศนคติในการใช้ เช่น ความกล้า ความกระตือรือร้นทีจ่ ะใช้สอ่ื ตลอดจนการใฝ่หาความรู้ ในด้านนีอ้ ยูเ่ สมอ 11.3 เงือ่ นไขจากกิจกรรมในบทเรียน 11.3.1 การวางแผนบทเรียน จะเป็นตัวกำหนดคุณลักษณะและแผนการในการสร้างสือ่ 11.3.2 วิธกี ารเรียนการสอน แต่ละช่วงของบทเรียนซึง่ ผูส้ อนได้กำหนดกิจกรรมจะเป็นตัวกำหนด ลักษณะของสือ่ การเรียนการสอน 11.3.3 ความพร้อม ความสะดวกในชัน้ เรียน เช่น ปลัก๊ ไฟ การทำให้หอ้ งมืดเพือ่ ฉายสไลด์ ตำแหน่งทีจ่ ะวางจอความสะดวกในการขนย้ายเครือ่ ง OHP เป็นต้น 11.3.4 ประสบการณ์และความกล้าในการมีสว่ นร่วมทีจ่ ะใช้สอ่ื ของผูเ้ รียน เป็นปัจจัยอย่างหนึง่ ทีจ่ ะทำให้สอ่ื นัน้ มีคณ ุ ค่า สำหรับการเรียนการสอน ผูส้ อนต้องทำให้ผเู้ รียนมีกจิ กรรมร่วม ในการใช้สอ่ื การเรียนการสอนเสมอ
บทสรุป
Ê×Íè ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ 20/21 20 ãºà¹×éÍËÒ
จากเงือ่ นไขต่าง ๆ ทีไ่ ด้กล่าวมานัน้ เงือ่ นไขใดทีจ่ ำเป็นต้องจัดเตรียมหรือทำให้เกิดขึน้ ก็จะต้อง ดำเนินการเงือ่ นไขใดทีจ่ ะเป็นอุปสรรค์กต็ อ้ งแก้ไขหรือทำให้หมดไป อย่างไรก็ตามโดยปกติบคุ คลสำคัญทีจ่ ะ ผลักดันให้มีสื่อการเรียนการสอนใช้ในสถานศึกษาก็คือ ผู้บริหารและผู้สอน ผู้บริหารจะต้องมีนโยบาย ให้ความสนับสนุนต่าง ๆ ผูส้ อนจะต้องมุง่ มัน่ ดำเนินการพยายาม ศึกษาหาความรูท้ างด้านนี้ และจัดให้มกี าร สร้างขึน้ ใช้เอง ในสถานศึกษา โดยระดมทรัพยากรต่าง ๆ กำลังงานของผูเ้ รียน วัสดุ เครือ่ งมือ เครือ่ งจักร และแผนเวลา งานฝึกปฏิบตั ขิ องผูเ้ รียน สามารถจะใช้เพือ่ ทำสือ่ การเรียนการสอนได้ สิง่ สำคัญจะต้องจัด การด้วยก็คอื ระบบของแบบงานและการเก็บรักษา
ฝ่ายสื่อการเรียนการสอน สำนักพัฒนาเทคนิคศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
12. บทสรุป ในระบบการเรียนการสอน สื่อการเรียนการสอนนับว่าเป็นปัจจัยสำคัญประการหนึ่งที่จะทำให้ การเรียนการสอนดำเนินไปได้จนบรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ สือ่ การเรียนการสอน มีหลายประเภท แต่ละประเภทก็มคี ณ ุ ลักษณะหรือคุณสมบัตติ า่ งกันไป ผูส้ อนทีต่ ระหนักในคุณค่าของสือ่ จะต้องศึกษาให้เข้าใจถึงเงือ่ นไขการเลือกใช้ และใช้งานได้อย่างถูกต้อง เงือ่ นไขทีเ่ กีย่ วข้องกับการตัดสินใจ เลือกใช้สอ่ื ได้แก่ เงือ่ นไขทีเ่ กีย่ วกับเนือ้ หาวิชา ตัวผูเ้ รียน วิธกี ารสอนความพร้อมทางด้านอืน่ ๆ นอกจากนัน้ ก็ตอ้ งคำนึงถึงคุณสมบัตเิ ฉพาะตัวของสือ่ แต่ละประเภท และแม้แต่เงือ่ นไขที่ เกีย่ วกับตัวผูส้ อนด้วย เมื่อมีความรู้ประสบการณ์เกี่ยวกับสื่อการเรียนการสอน สามารถเลือกใช้ได้อย่างถูกต้อง ก็มี ความพร้อมทีผ่ สู้ อนจะสามารถทำสือ่ ขึน้ ใช้เอง แต่โดยมากมักจะประสบกับปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ใน สถานศึกษา ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ เหล่านัน้ ก็ควรจะแก้ไขให้หมดไป ผูท้ ม่ี บี ทบาทสำคัญในเรือ่ งนี้ คือ ผูบ้ ริหารและผูส้ อนทีจ่ ะสามารถผลักดันให้มสี อ่ื การเรียนการสอนใช้ในสถานศึกษา นอกจากนัน่ สิง่ สำคัญอีก ประการทีไ่ ม่ควรจะมองผ่าน ก็คอื ระบบการจัดเก็บสือ่ การเรียนการสอน เพือ่ ทำให้การนำสือ่ ไปใช้สอนครบวงจร
ฝ่ายสื่อการเรียนการสอน สำนักพัฒนาเทคนิคศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
บรรณานุกรม
Ê×Íè ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ 21/21 21 ãºà¹×éÍËÒ
บรรณานุกรม 1. ชม ภูมภิ าค เทคโนโลยีทางการเรียนและศึกษา. กรุงเทพมหานคร : สำนักงานพิมพ์ประสานมิตร 2. ณรงค์ สมพงษ์ สื่อเพื่องานส่งเสริมเผยแพร่. กรุงเทพมหานคร : งานการพิมพ์ฝ่ายสื่อการศึกษา สำนักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทาลัยเกษตรศาสตร์. 2530. 3. พิสฐิ เมธาภัทร . ธีระพล เมธีกลุ ยุทธวิธกี ารเรียนการสอนวิชาเทคนิค. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2531. 4. ลัดดา ศุขปรีดี เทคโนโลยีการเรียนการสอน. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.2523 5. มนต์ชัย เทียนทอง อุปกรณ์ช่วยสอน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ. 2530. 6. มนต์ชยั เทียนทอง ก้าวไกล วารสารพัฒนาเทคนิคการศึกษาปีท่ี 16 ฉบับที่ 48 ตุลาคม-ธันวาคม 2546. 7. วัลลภ จันทร์ตระกูล การเลือก-ใช้ –สร้างสือ่ การสอน. เอกสารอัดโรเนียว สำนักพัฒนาเทคนิคศึกษา สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. มปป. 8. วิสทุ ธิ์ วิวฒ ั น์วศิ วกร. สือ่ การเรียนการสอน เอกสารประกอบการบรรยาย. สำนักพัฒนาเทคนิคศึกษา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2532. (อัดสำเนา) 9. Jerrolde.Kemp, Don C.Smellie.Planning, Producing, and Using Instructional Media. 6thed. NewYork : Harper&Row, Publishers,1989.
สำนักพัฒนาเทคนิคศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ถนนพิบลู สงคราม บางซือ่ กรุงเทพฯ 10800 โทรศัพท์ 0-2586-9017, 0-2585-7590 โทรสาร 0-2585-7590 http : // www.ited.kmutnb.ac.th E-mail : ited@kmutnb.ac.th