สื่อการสอน

Page 1

ระบบและความสําคัญของสื่อการเรียนการสอน โดย;เทวิน ศรีดาโคตร

ระบบการใชสื่อการสอน การใชสื่อการสอนนั้น ผูสอนควรจะไดมีการวางแผนอยางเปนระบบในการใชเพื่อใหบรรลุถึง วัตถุประสงคการเรียนรูตามจุดประสงคที่วางไว ขั้นตอนดังนี้

การวิเคราะหผูเรียน เปนการวิเคราะหลักษณะผูเรียนเพื่อที่ผูสอนจะไดทราบวาผูเรียนมีความพรอมในการเรียนมากนอย เพียงใดทั้งนี้เพราะการที่จะใชสื่อใหไดผลดียอมจะตองเลือกสื่อใหมีความสัมพันธกับลักษณะ ผูเรียน ดังนั้นผูสอนจะตองคํานึงถึงลักษณะทั่วไปและลักษณะเฉพาะของผูเรียน เชน การกําหนดลักษณะ ทั่วไป ซึ่งไดแก อายุ ระดับความรู สังคม เศรษฐกิจและวัฒนธรรมของผูเรียนแตละคน ถึงแมวาลักษณะ ทั่วไปของผูเรียนจะไมมีความเกี่ยวของกับเนื้อหาบทเรียนก็ตามแตก็เปน สิ่งที่ชวยใหผูสอนสามารถตัดสิน ระดับของบทเรียนและเพื่อเลือกตัวอยางของเนื้อหาใหเหมาะสมกับผูเรียนได สวนลักษณะเฉพาะของผูเรียน แตละคนนั้น นับวามีสวนสําคัญโดยตรงกับเนื้อหาบทเรียนตลอดจนสื่อการสอนและวิธีการที่จะนํามาใชใน การสอน สิ่งที่ตองนํามาใชในการวิเคราะห ประกอบดวย 1. ทักษะที่มีมากอน (prerequisite skill) เพื่อใหทราบวาผูเรียนมีความรูพื้นฐาน หรือทักษะที่เกี่ยวของ กับบทเรียนนั้นวามีอะไรบาง กอนที่จะเรียน 2. ทักษะเปาหมาย (target skill) ผูเรียนมีความชํานาญในทักษะที่จะสอนนั้นมากอนหรือไม เพื่อจะ ไดสอนใหตรงกับที่วางจุดมุงหมายไว 3. ทักษะในการเรียน (study skill) ผูเรียนมีความสามารถขั้นตนทางดานภาษา การอานเขียน การ คํานวณ ฯลฯ ซึ่งเปนสิ่งจําเปนที่จะชวยในการเรียนรูนั้นในระดับมากนอยเพียงไร 4. เจตคติ (attitudes) ผูเรียนมีเจตคติอยางไรตอวิชาที่จะเรียนนัน้ การวิเคราะหลักษณะผูเรียนนั้น ถึงแมวาจะเปนการกระทําเพียงผิวเผินก็ตาม แตก็สามารถนําไปใชในการเลือก สื่อที่เหมาะสมได เชน หาก ผูเรียนมีทักษะในการอานต่ํากวาเกณฑก็สามารถชวยไดดวยการใชสื่อประเภทที่มิใชสื่อสิ่งพิมพหรือถาหาก ผูเรียนในกลุมนั้นมีความแตกตางกันมาก ก็สามารถใหเรียนดวยชุดการเรียนรายบุคคลได การวิเคราะหลักษณะผูเรียนอาจจะทําใดยากเปนบางครั้ง ทั้งนี้เพราะผูสอนอาจมีเวลานอยที่จะสังเกต หรือ ผูเรียน อาจเปนผูมาจากที่อื่นที่เขามาเรียนหรือรับการอบรม แตก็สามารถกระทําไดดวยการสนทนากับ ผูเรียนหรือผูรวมชั้นอื่นๆ หรืออาจมีการทดสอบกอนเรียนเพื่อดูพื้นฐานของผูเรียนก็ได

Create PDF files without this message by purchasing novaPDF printer (http://www.novapdf.com)


การกําหนดจุดประสงค วัตถุประสงคเปนสิ่งที่ตั้งขึ้นเพื่อคาดหวังวาผูเรียนจะสามารถบรรลุในสิ่งตางๆ ที่ตั้งหรือกําหนด ไว การตั้งหรือ กําหนดวัตถุประสงคในการเรียนการสอนนั้นก็เพื่อ 1. ผูสอนจะไดทราบวาการเรียนการสอนนั้นมีวัตถุประสงคอะไร เพื่อสะดวกในการเลือกสื่อ และ วิธีการใหถูกตอง วัตถุประสงคนี้จะชวยในการจัดลําดับกิจกรรมการเรียนและสรางสิ่งแวดลอม หรือ ประสบการณการเรียนรูเพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคนั้น 2. ชวยในการประเมินผูเรียนไดอยางถูกตอง เพราะผูสอนจะไมทราบเลยวาผูเรียนไดบรรลุตาม วัตถุประสงคที่ตั้งไวหรือไมถาไมมีการกําหนดวัตถุประสงคไวกอนลวงหนา 3. ชวยใหผูเรียนทราบวา เมื่อเรียนบทเรียนนั้นแลวจะสามารถเรียนรูหรือกระทําอะไรไดบาง การกําหนดวัตถุประสงค ควรประกอบดวย 1. การกระทํา (performance) เปนสิ่งที่คาดหวังวาผูเรียนจะสามารถกระทําอะไรไดบางภายหลังจาก การเรียนแลว ซึ่งการกระทํานั้นตองเปนสิ่งที่สังเกตเห็นได 2. เงื่อนไข (Conditions) เปนขอจํากัดหรือเงื่อนไขที่ตั้งขึ้นโดยรวมอยูภายใตการกระทํานั้น 3. เกณฑ (Criteria) เพื่อเปนการตัดสินการกระทํานั้นวาเปนไปตามที่กําหนดไวหรือไม เมื่อกําหนดวัตถุประสงคแลว ควรมีการแบงประเภท หรือระดับของขอบเขตการเรียนรู ทั้งนี้เพื่อเปน ประโยชนหรือแนวทางในการตัดสินวา การเรียนรูนั้นจะครอบคลุมแนวของทักษะหรือพฤติกรรม อะไรบาง จึงตองมีการกําหนดเปน "วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม" ซึ่งควรจะประกอบดวยองคประกอบตางๆ ดังนี้ - พุทธิพิสัย เปนวัตถุประสงคที่ตั้งไวเพือ่ วัดการเรียนรูของผูเรียนเกี่ยวกับความรู ความ เขาใจ สติปญญา การวิเคราะห สังเคราะห และประเมินผล - จิตพิสัย เปนวัตถุประสงคทางดานความคิด ทัศนคติ ความรูสึก คานิยม และการเสริมสรางทาง ปญญา เชน ความรูสึกซาบซึ้งตอดนตรี หรืองานศิลปะ เปนตน - ทักษะพิสัย เปนวัตถุประสงคเกี่ยวกับการกระทํา การแสดงออก หรือการปฏิบัติ เชน ทักษะการ เลนฟุตบอล ทักษะการพิมพ หรือทักษะการประดิษฐตัวอักษร เปนตน

การเลือก ดัดแปลง หรือออกแบบสื่อ การที่จะมีสื่อวัสดุที่เหมาะสมในการเรียนการสอน สามารถทําได 3 วิธี คือ 1. เลือกจากสื่อที่มีอยูแลว สวนใหญในสถาบันการศึกษามักจะมีทรัพยากรที่สามารถใชเปนสื่อไดอยู แลวดังนั้น สิ่งที่ผูสอนตองกระทําคือ ตรวจสอบดูวามีสิ่งใดที่จะใชเปนสื่อไดบาง โดยเลือกใหตรงกับ ลักษณะผูเรียนและวัตถุประสงคของการเรียน เชน สื่อที่มีอยูมีเนื้อหาขอมูลและกิจกรรมที่ตรงกับวัตถุ-

Create PDF files without this message by purchasing novaPDF printer (http://www.novapdf.com)


ประสงคที่ตั้งไวหรือไม และการเลือกสื่อนั้นยอมขึ้นอยูกับวิธีการสอนในบทเรียนและขอจํากัดของ สถานการณการเรียนการสอนดวย 2. ดัดแปลงสื่อที่มีอยูแลว ใหใชไดดีและเหมาะสมมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ยอมขึ้นกับเวลาและงบประมาณ ในการดัดแปลงสื่อนั้นดวย เชน มีภาพยนตรเสียงในฟลมเปนภาษาอังกฤษ ถามีการแปลเปนภาษาไทยแลว บันทึกเสียงลงใหม เพื่อใหผูเรียนชมและฟงเขาใจงายขึ้น จะคุมกับเวลาและการลงทุนหรือไม เหลานี้เปนตน 3. การออกแบบสื่อใหม กรณีที่ไมมีสื่อเดิมอยู หรือสื่อที่มีอยูแ ลวไมส ามารถนํามาดัดแปลงใหใชได ตามที่ตองการผูสอนยอมตองมีก ารออกแบบและจัดทําสื่อใหม ซึ่งตองคํานึงถึงองคประกอบตาง ๆ หลาย อยาง เชน ตอ งใหตรงกับวัตถุประสงคของการเรียนและลักษณะของผูเรียน มีงบประมาณในการจัดทํา เพียงพอหรือไม มีเครื่องมือและผูชํานาญในการจัดทําสื่อหรือไม เหลานี้เปนตน

การใชสื่อ เปนขั้นของการกระทําจริง ซึ่งผูสอนจะตองดําเนินการดังนี้ 1. ดูหรืออานเนื้อหาในสื่อเหลานั้นกอนเปนการเตรียมตัวลวงหนา เชน ดูสไลดหรือวีดิทัศนเพื่อศึกษา เนื้อหาใหแมนยํากอนนําไปสอน หรืออานบทวิจารณเกี่ยวกับเรื่องนั้นรวมดวย 2. จัดเตรียมสถานที่ ที่นั่งเรียน อุปกรณเครื่องมือ และสิ่งตางๆ เพื่อความสะดวกเรียบรอยกอนการ สอนและควรตองทดลองอุปกรณที่จะใชกอนวาใชไดดีหรือไม 3. เตรียมตัวผูเรียน โดยการใชสื่อนําเขาสูบทเรียน ถามีการฉายวีดิทัศนหรือภาพยนตใหชม ก็ควร จะตองสรุปเนื้อหาเรื่องที่จะชมนั้นใหผูเรียนทราบเสียกอนวาเกีย่ วของกับทบเรียนอยางไรบาง เปนการ แนะนํากอนลวงหนาและเพื่อสรางแรงจูงใจแกผูเรียน 4. ควบคุมชั้นเรียน เพื่อใหผูเรียนมีความสนใจในสื่อที่นําเสนอนั้น

การกําหนดการตอบสนองของผูเรียน การใหผูเรียนมีสวนรวมในการเรียน และเปดโอกาสใหมีการตอบสนองนั้นเปนสิ่งสําคัญยิ่งซึ่งผูเรียน จะมีก ารตอบสนองหรือไมและมากนอ ยเพียงใดก็ขึ้นอยูกับสื่อที่นํามาใช สื่อบางชนิดเมื่อใชแ ลวจะเปด โอกาสใหผูเรียนมีสวนรวมมากกวาสื่อชนิดอื่นๆ เชน การใหอานขอ ความในหนังสือ หรือ ดูภาพ จะทําให ผูเรียนมีการอภิปรายจากสิ่งที่อานหรือเห็น ผูเรียนยอมมีการตอบสนองเกิดขึ้นไดทันทีและงายกวาการใหดู ภาพยนตร ทั้งนี้เพราะการดูภาพยนตรถาจะใหดูรูเรื่องจริงๆ แลวควรจะตอ งดูใหจบเรื่องเสียกอ นแลวจึง อภิปรายกัน ซึ่งจะดีกวาหยุดดูทีละตอนแลวอภิปราย เพราะจะทําใหมีการขัดจังหวะเกิดความไมตอเนื่องใน การดู อาจทําใหไมเขาใจหรือจับความสําคัญของเรื่องไมได นอกจากนี้ผูเรียนสามารถมีการ ตอบสนองโดย

Create PDF files without this message by purchasing novaPDF printer (http://www.novapdf.com)


เป ดเผย (overt respone) โดยการพู ดออกมา หรื อเขี ยน และ การตอบสนองภายในตั วผู เรี ย น (convert response) โดยการทองจําหรือคิดในใจ เมื่อผูเรียนมีก ารตอบสนองแลวผูสอนควรใหก ารเสริมแรงทันที เพื่อใหผูเรียนทราบวาตนมีความเขาใจและเกิดการเรียนรูที่ถูกตองหรือไม การเรียนการสอนโดยการใหทํา แบบฝก หัด การตอบคําถาม การอภิปราย หรือการใชบทเรียนแบบโปรแกรม จะเปนการเปดโอกาสให ผูเรียนมีการตอบสนองและไดรับการเสริมแรงระหวางการเรียน

การประเมินผล การประเมินสามารกระทําได 3 ลักษณะ คือ 1. การประเมินกระบวนการสอน เพื่อเปนการประเมินวาสามารถบรรลุไดตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว หรือไมทั้งในดานผูสอน สื่อการสอน และวิธีการสอน โดยในการประเมินสามารถทําไดทั้งในระยะ กอน ระหวาง และหลังการสอน 2. การประเมินความสําเร็จของผูเรียน ขึ้นอยูกับวัตถุประสงคที่ตั้งไววามีเกณฑเทาใด การวัดผลอาจ ทําไดดวยการทดสอบ การสอบปากเปลา หรือดูจากผลงานของผูเรียน สิ่งสําคัญที่สุดที่จะทราบวาผูเรียน สัมฤทธิผลทางการเรียนมากนอยเทาใด คือ สังเกตจากการปฏิบัติและการแสดงออกของผูเรียนนั้น ๆ 3. การประเมินสื่อและวิธีการสอน โดยการใหผูเรียนมีการอภิปรายและวิจารณการใชสื่อ และเทคนิค วิธีการสอนวาเหมาะสมมากนอยเพียงใด

การปรับปรุงแกไข การปรับปรุงและแกไข เปนการนําเสนอผลที่ไดจากการประเมินมาตรวจสอบการใชสื่อทั้งระบบเพื่อ ปรับปรุงและพัฒนาระบบการใชสื่อการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

ความสําคัญของสื่อการเรียนการสอน สื่อการสอน หมายถึง วัสดุอุปกรณและวิธีการประกอบการสอนเพื่อใชเปนสื่อกลางในการสื่อ ความหมายที่ผูสอนประสงคจะสง หรือถายทอดไปยังผูเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพตามวัตถุประสงคหรือ จุดมุงหมายที่ผูสอนวางไวไดเปนอยางดี เชน หนังสือในหองสมุด โสตทัศนวัสดุตาง ๆ เชน โทรทัศน วิทยุ ไลด ฟลมสตริป รูปภาพ แผนที่ ของจริง และทรัพยากรจากแหลงชุมชน ความสําคัญของสื่อการสอน ไชยยศ เรืองสุวรรณ กลาววา ปญหาอยางหนึ่งในการสอนก็คือ แนวทางการตัดสินใจจัดดําเนินการให ผูเรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมขึ้นตามจุดมุงหมาย ซึ่งการสอนโดยทั่วไป ครูมักมีบทบาทในการจัด ประสบการณตาง ๆ ไมวาจะเปนดานเนื้อหาสาระ หรือทักษะและมีบทบาทในการจัดประสบการณเพื่อการ

Create PDF files without this message by purchasing novaPDF printer (http://www.novapdf.com)


เรียนการสอน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับตัวผูเรียนแตละคนดวยวา ผูเรียนมีความตองการอยางไร ดังนั้นการจัดการเรียน การสอนในรูปแบบนี้ การจัดสภาพแวดลอมที่ดีเพื่อการเรียนการสอนจึงมีความสําคัญมาก ทั้งนี้เพื่อสราง บรรยากาศและแรงจูงใจผูเรียนใหเกิดความอยากเรียนรูและเพื่อเปนแหลงศึกษาคนควาหาความรูของผูเรียน ไดตามจุดมุงหมาย สภาพแวดลอมเพื่อการเรียนรูทั้งมวลที่จัดขึ้นมาเพื่อการเรียนการสอนนั้น ก็คือ การเรียน การสอนนั่นเอง เอ็ดการ เดล ไดกลาวสรุปถึงความสําคัญของสื่อการสอน ดังนี้ 1. สื่อการสอน ชวยสรางรากฐานที่เปนรูปธรรมขึ้นในความคิดของผูเรียน การฟงเพียงอยาง เดียวนั้น ผูเรียนจะตองใชจินตนาการเขาชวยดวย เพื่อใหสิ่งที่เปนนามธรรมเกิดเปน รูปธรรมขึ้นในความคิด แตสําหรับสิ่งที่ยุงยากซับซอน ผูเรียนยอมไมมีความสามารถจะทํา ได การใชอุปกรณเขาชวยจะทําใหผูเรียนมีความเขาใจและสรางรูปธรรมขึ้นในใจได 2. สื่อการสอน ชวยเราความสนใจของผูเรียน เพราะผูเรียนสามารถใชประสาทสัมผัสไดดวย ตา หู และการเคลื่อนไหวจับตองไดแทนการฟงหรือดูเพียงอยางเดียว 3. เปนรากฐานในการพัฒนาการเรียนรูและชวยความทรงจําอยางถาวร ผูเรียนจะสามารถนํา ประสบการณเดิมไปสัมพันธกับประสบการณใหม ๆ ได เมื่อมีพื้นฐานประสบการณเดิมที่ ดีอยูแลว 4. ชวยใหผูเรียนไดมีพัฒนาการทางความคิด ซึ่งตอเนื่องเปนอันหนึ่งอันเดียวกันทําใหเห็น ความสัมพันธเกี่ยวของกับสิ่งตาง ๆ เชน เวลา สถานที่ วัฏจักรของสิ่งมีชีวิต 5. ชวยเพิ่มทักษะในการอานและเสริมสรางความเขาใจในความหมายของคําใหม ๆ ใหมากขึ้น ผูเรียนที่อานหนังสือชาก็จะสามารถอานไดทันพวกที่อานเร็วได เพราะไดยินเสียงและได เห็นภาพประกอบกัน เปรื่อง กุมุท ใหความสําคัญของสื่อการสอน ดังนี้ 1. ชวยใหคุณภาพการเรียนรูดีขึ้น เพราะมีความจริงจังและมีความหมายชัดเจนตอผูเรียน 2. ชวยใหนักเรียนรูไดในปริมาณมากขึ้นในเวลาทีก่ ําหนดไวจํานวนหนึ่ง 3. ชวยใหผูเรียนสนใจและมีสวนรวมอยางแข็งขันในกระบวนการเรียนการสอน 4. ชวยใหผูเรียนจํา ประทับความรูสึก และทําอะไรเปนเร็วขึ้นและดีขึ้น

Create PDF files without this message by purchasing novaPDF printer (http://www.novapdf.com)


5. ชวยสงเสริมการคิดและการแกปญหาในขบวนการเรียนรูของนักเรียน 6. ชวยใหสามารถเรียนรูในสิ่งที่เรียนไดลําบากโดยการชวยแกปญหา หรือขอจํากัดตางๆ ได ดังนี้ ทําสิ่งที่ซับซอนใหงายขึ้น ทํานามธรรมใหมีรูปธรรมขึ้น ทําสิ่งที่เคลื่อนไหวเร็วใหดูชาลง ทําสิ่งที่ใหญมากใหยอยขนาดลง ทําสิ่งที่เล็กมากใหขยายขนาดขึ้น นําอดีตมาศึกษาได นําสิ่งที่อยูไกลหรือลี้ลับมาศึกษาได 7. ชวยใหนักเรียนเรียนสําเร็จงายขึ้นและสอบไดมากขึ้น ***************************

Create PDF files without this message by purchasing novaPDF printer (http://www.novapdf.com)


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.