การปฏิวัติ อุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม หมายถึง กระบวนการ เปลี่ยนแปลงใน ว ิธีการผลิต และระบบการผลิต
การปฏิวัติอุตสาหกรรม จากเดิมที่ ใช้แรงงานคน แรงงานสัตว์ รวมทั้ง พลังงานจากธรรมชาติ เคร่อื งมือแบบง่ายๆ มาเป็น การใช้เคร่อื งจักรกลแทน เร่มิ จากแบบ ง่ายๆ จนถึง ่ ก แบบซับซ้อนทีม ี าลังผลิตสูง จนเกิดเป็นการ
ผลิตในระบบโรงงาน (FACTORY SYSTEM)
การปฏิวัติเกษตรกรรม อังกฤษเป็นผู้นาในการปฏิวัติเกษตรกรรม (AGRICULTURAL REVOLUTION) โดยนาความรู้ทาง ว ิทยาศาสตร์มาปรับปรุงการเกษตรให้ ้ โดยในคร ิสต์ศตวรรษที่ 16 อังกฤษนา พัฒนาขึน ่ น ระบบล้อม เขตทีด ิ (ENCLOSURE SYSTEM)
ปัจจัยที่ทาให้อังกฤษเร่มิ การปฏิวัติอุตสาหกรรม
1. ใช้ นโยบายการค้า เป็นนโยบาย หลั ก ของประเทศ และการท าการค้ า เ ส ร ี ท า ใ ห้ เ กิ ด ก า ร ข ย า ย ตั ว ท า ง เศรษฐกิจเป็นอย่างมาก
Bank of England
East India company
ปัจจัยที่ทาให้อังกฤษเร่มิ การปฏิวัติอุตสาหกรรม
2. อังกฤษเป็นประเทศที่มี ความก้าวหน้าทางว ิทยาศาสตร์ มาก ที่สุด เพราะมีการก่อตั้ง ราชบัณฑิต (The royal soiecy)
ปัจจัยที่ทาให้อังกฤษเร่มิ การปฏิวัติอุตสาหกรรม
3. ก า ร ท า ส ง ค ร า ม ท า ง ท ะ เ ล กั บ ประเทศคู่ แ ข่ ง ใน การขยายอ านาจทาง ทะเล (สเปน) และสามารถยึ ด ครอง ดินแดนใน เอเชีย และ อเมร ิกา ได้สาเร็จ
ปัจจัยที่ทาให้อังกฤษเร่มิ การปฏิวัติอุตสาหกรรม
่ ยู่โพ้น 4. อังกฤษมีอาณานิคมทีอ ทะเลที่เป็นแหล่งวัตถุดบ ิ และตลาด ทั้งใน ทว ีปเอเชีย และอเมร ิกา
การปฏิวัติอุตสาหกรรม แบ่งออกเป็น 2 ระยะ
ระยะที่ 1 ประดิษฐ์ เคร่อื งจักร
ระยะที่ 2 พัฒนา คมนาคม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม ในระยะแรก
การปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะแรกใน ระหว่าง ค.ศ 1760-1800
การปฏิ วั ติ อุ ต สาหกรรมในระยะแรก
คื อ ก า ร ป ร ะ ดิ ษ ฐ์ เ พื่ อ ต อ บ ส น อ ง อุตสาหกรรมการ ทอผ้า
การปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะแรกใน ระหว่าง ค.ศ 1760-1800
ค.ศ. 1733 จอห์น เคย์ (JOHN KAY) ได้ ประดิษฐ์กี่กระตุก (FLYING SHUTTLE) ซึ่งช่วย ให้ช่างทอผ้าสามารถผลิตผ้าได้มากกว่าเดิมถึง 2 เท่า
John Kay
การปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะแรกใน ระหว่าง ค.ศ 1760-1800
( James Hargreaves ค.ศ. 1720 – 1778 ) สร้าง เคร่อื งปั่นด้าย สปินนิง เจนนี ( spinning jenny ) ที่ป่ นด้ ั ายได้พร้อมกันทีละ 16 เส้น
James Hargreaves ค.ศ. 1720 – 1778
Spinning Jenny
การปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะแรกใน ระหว่าง ค.ศ 1760-1800 ค.ศ. 1769 ร ิชาร์ด อาร์กไรต์ (RICHARD ARKWRIGHT) ได้ปรับปรุง เครอื่ งปั่นด้ายให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น และพัฒนาเป็น เครอื่ งจักรกลที่ใช้พลังน้าหมุนแทนพลังคนเร ียกว่า WATER FRAME ทาให้เกิดโรงงาน ทอผ้าตามร ิมฝั่งแม่นา้ ทัว่ ประเทศ มีการ ขยายตัวทาไร่ ฝ้ายในอเมร ิกา
บิดาแห่ง ระบบโรงงาน (Factory)
รชาร์ ิ ด อาร์กไรต์ (RICHARD ARKWRIGHT)
เคร่ อื งปั่ นด้ า ยของ อาร์ ค ไรต์ นี้ นั บ เป็ น ก้ า ว สาคัญของ การเร่ มิ ต้ น การผลิ ต สิ่งทอในอังกฤษ จากที่ทา กั น ในบ้ า น หร ือ โรงนา ม า เ ป็ น ร ะ บ บ โ ร ง ง า น อุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะแรกใน ระหว่าง ค.ศ 1760-1800 โทมัส นิวโคเมน (Thomas Newcomen) ค.ศ. 1705)
การประดิษฐ์เคร่อื งจักรไอนา้
โทมัส นิวโคเมน (Thomas Newcomen)
การปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะแรกใน ระหว่าง ค.ศ 1760-1800
เจมส์ วัตต์ (JAMES WATT) ค.ศ. 1769 สร้างเคร่อื งจักรกลโดยใช้พลังงานไอนา้ เช่น เหมืองแร่และการทอผ้า ต่างใช้เคร่อื งจักรไอนา้ เมื่อมีการพัฒนาเคร่อื งจักร กลไอนา้ ทาให้อุตสาหกรรม เหล็กขยายปร ิมาณการผลิตได้อย่างรวดเร็ว
เจมส์ วัตต์ (JAMES WATT)
การปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะแรกใน ระหว่าง ค.ศ 1760-1800 เมื่อถึงยุค ค.ศ. 1780 เป็นต้นไป เคร่อื งจักรไอนา้ ถูกประยุกต์ใช้ กับการสร้างพลังงานให้แก่เคร่อื งจักรชนิดอื่นๆ ้ึ อย่างรวดเร็ว ก่อให้เกิดการพัฒนาโรงงานกึ่งอัตโนมัติขน โดยเป็นครั้งแรกในหน้าประวัติศาสตร์ท่ผ ี ค ู้ นไม่ต้องพึ่งพา แรงงานมนุษย์, แรงงานสัตว์, จากลมหร ือจากนา้ อีกต่อไป เคร่อื งจักรไอนา้ จึงถูกใช้งานอย่างแพร่หลาย
การปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะแรกใน ระหว่าง ค.ศ 1760-1800
Henry Cort ค.ศ. 1740 - 1800 คิดค้นว ิธีหลอมเหล็ก ให้ได้ เหล็กบร ิสุทธิ์ คุณภาพดี และต่อมามีการพัฒนาว ิธีตัดเหล็ก ให้เป็นรูปร่างต่าง ๆ สามารถ ทาให้ปรับปรุงคุณภาพของปืนใหญ่ (Cannon) และ ปืนดาบศิลา (Musket) ตลอดจนยุทโธปกรณ์ ต่าง ๆ
Henry Cort
สรุป นวัตกรรม
ในการปฏิวัติอุตสาหกรรมยุคแรก
สิ่งทอ เคร่อื งจักรไอน้า
การผลิตเหล็ก
การปฏิวัติ อุตสาหกรรม ในระยะที่สอง
การปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะสอง การปฏิวัตอ ิ ต ุ สาหกรรมระยะที่ 2 เป็น การปรับปรุงการคมนาคม , สื่อสาร ซึ่งเป็นผลมาจาก ความสาเร็จของอุตสาหกรรมเหล็กและ เคร่อื งจักรไอนา้
การปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะสอง ร ิชาร์ด เทรว ีทิก (RICHARD TREVITICK)
่ นรถบรรทุก นาพลังงานไอนา้ มาขับเคลือ
รถจักรไอน้าจึงมีบทบาทสาคัญใน อุตสาหกรรมขนส่ง
การปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะสอง จอร์จ สตีเฟนสัน (GEORGE STEPHENSON)
สร้าง Rocket รับส่งผู้โดยสาร ถือเป็นจุดเร่มิ ต้นการเข้าสูย ่ ุคการใช้รถไฟ ซึ่งเป็นผลทาให้ ความเจร ิญขยายตัวจากเขตเมืองไปสู่ ชนบท เปลี่ยนชนบทให้กลายเป็นเมือง
GEORGE STEPHENSON
การปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะสอง นอกจากนีร้ ถไฟยัง เป็นพาหนะสาคัญในการลาเลียงกาลังพล และอาวุธยุทโธปกรณ์ต่างๆ ในคร ิสต์ศตวรรษที่ 19
การปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะสอง โรเบิร์ต ฟุลตัน (ROBERT FULTON)
ประสบความสาเร็จใน การนาพลังไอน้ามา ่ รับส่งผู้โดยสาร ใช้กับเร ือเพือ
ROBERT FULTON
การปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะสอง แซม มวล คูนาร์ด (SEMUEL CUNARD) สร้างเร ือกลไฟแล่นข้า มหาสมุทรแอตแลนติก ได้ภายใน 14 วัน และมีการปรับปรุงเร ือกลไฟให้มป ี ระสิทธิภาพยิง่ ขึ้น
การปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะสอง คาร์ล เบนซ์ (KARL BENZ) กอตต์ลีบ เดมเลอร์ (GOTTLIEB DAIMLER) สามารถนาเคร่อื งยนต์ที่ใช้นา้ มันเบนซินมาใช้กบ ั รถยนต์ทาให้อุตสาหกรรมรถยนต์เจร ิญก้าวหน้าขึ้น
อเล็กซานเดอร์ เกรแฮม เบลล์ (ALEXANDER GRAHAM BELL) ประดิษฐ์โทรศัพท์ได้สาเร็จใน ค.ศ. 1876 และ ใน ค.ศ. 1901 ก็มีการ ประดิษฐ์ว ิทยุโทรเลข ได้และส่งโทรเลขข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกได้สาเร็จ ธอมัส แอลวา เอดิสัน (THOMAS ALVA EDISON) ชาวอเมร ิกันประดิษฐ์หลอดไฟฟ้า เคร่อื งเล่น จานเสียง และ กล้องถ่ายภาพยนตร์ได้
ALEXANDER GRAHAM BELL
THOMAS ALVA EDISON
ผลการปฏิวัติ อุตสาหกรรม
ผลของการปฏิวัติอุตสาหกรรม 1. ประชากรในยุโรปเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ ว เพราะความ ก้าวหน้า ทางว ิทยาศาสตร์และทางด้านการแพทย์เจร ิญก้าวหน้า ขึ้นอย่างต่อเนื่อง รวมทั้ ง ความสมบู ร ณ์ ข องอาหาร ระบบ สาธารณสุ ข และการดู แ ล
สุขภาพอนามัย การเพิม ่ ประชากรอย่างรวดเร็ว ทาให้เกิดการอพยพ จากชนบทมาหางานท าใน เมื อ งจนเกิ ด ปั ญ หาความแออั ด ของ
ประชากรในเขตเมือง
ค.ศ. 1800 ประชากร ในยุโรป 187 ล้าน คน
100 ปี
ค.ศ. 1900 ประชากร ในยุโรป 400 ล้าน คน
ผลของการปฏิวัติอุตสาหกรรม 2. การก่ อ สร้ า งอาคารบ้ า นเร อื นและ สถาปัตยกรรม พัฒนาก้าวหน้ามากขึ้น เพราะ การพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมและ เทคโนโลยี ก าร ก่ อ ส ร้ า ง ท า ใ ห้ อ า ค า ร แ ข็ ง แ ร ง ขึ้ น
ผลของการปฏิวัติอุตสาหกรรม 3. เ กิ ด ปั ญ ห า สั ง ค ม ต่ า ง ๆ ม า ก ม า ย เ ช่ น ชุ ม ช น แ อ อั ด
ปัญหาอาชญากรรม ความเหลื่อมล้าทางสังคม การใช้แรงงานเด็ก การเอารั ด เอาเปร ยี บกั น ท าให้ เ กิ ด แนวคิ ด ของ ลั ท ธิ สั ง คมนิ ย ม (SOCIALISM) ของคาร์ล มาร์กซ์ (KARL MARX) ที่เร ียกร้องให้
กรรมกร รวมพลังกันเพื่อก่อการปฏิวัติโค่นล้มระบบ ทุนนิยม ทาให้ ลัทธิสังคมนิยมมีบทบาทและอิทธิพลมากขึ้น
ผลของการปฏิวัติอุตสาหกรรม 4. เกิ ด ลั ท ธิ เ สร น ี ิ ย ม (LIBERALISM) ซึ่ ง เป็ น พื้ น ฐานการ
ปกครองระบอบประชาธิปไตยและ แนวคิดนี้แพร่หลายกว้างขวางขึ้น ทั้ง ด้ า นการเมื อ งและเศรษฐกิ จ ค.ศ. 1776 แอดั ม สมิ ธ (ADAM SMITH) ได้พิมพ์งานเขียนชื่อ THE WEALTH OF NATIONS
เ พื่ อ เ ส น อ แ น ว คิ ด ว่ า ค ว า ม มั่ ง คั่ ง ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ จ ะ เ กิ ด จ า ก ระบบการค้าแบบเสร ี (LAISSEZ FAIRE)
ผลของการปฏิวัติอุตสาหกรรม กล่ า วได้ ว่ า การปฏิวัติอุตสาหกรรมก่อให้เกิด การแบ่งค่า ย
ระหว่างลัทธิทุนนิยมกับลัทธิ สังคมนิยมอย่างเป็นรู ปธรรม ต่อมา ใน ค.ศ. 1889 ได้มีการประกาศให้วันที่ 1 พฤษภาคมของทุก ปี เ ป็ น วั น เ ม ย์ เ ด ย์ ห ร อ ื วั น แ ร ง ง า น ส า ก ล ( MAYDAY)
นอกจากนี้ยังทาให้เกิด วรรณกรรมแนวสัจนิยม (REALISM)
สรุป การปฏิวัติ อุตสาหกรรม
การปฏิวัติ อุตสาหกรรม ในประเทศไทย
ประเทศไทย การปฏิวัติอุตสาหกรรมในประวัติศาสตร์ของไทยเร่มิ มีความ
ชัดเจนใน รั ชสมัยของ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว คื อ บ ร ษ ิ ั ท ปู น ซี เ ม น ต์ ไ ท ย จ า กั ด ( ม ห า ช น ) ก่ อ ตั้ ง ขึ้ น เมื่ อ วั น ที่ 8 มิ ถุ น ายน พ.ศ. 2456 (ค.ศ. 1913) ในช่ ว งแรก
พระองค์ทรงมอบหมายให้ชาวเดนมาร์ก
ประเทศไทย อี ก ตั ว อย่ า งที่ เ ป็ น อุ ต สาหกรรมในประเทศไทยโดยมี เอกชนเป็นผู้ดาเนินการ คือ บร ิษั ท บุญรอดบิวเวอร ี จากัด
ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมเบียร์แห่งแรกของประเทศไทย ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2476 (ค.ศ. 1933) โดยพระยาภิรมย์ภักดี
ข้อใดไม่ใช่ปัจจัยของการปฏิวัติอุตสาหกรรม •1. ความต้องการทางการอาหารและค้นหาวิธีการผลิตให้มี ประสิทธิภาพ •2. อังกฤษเป็นประเทศทีม่ ีอาณานิคมโพ้นทะเล •3. ความมั่นคงทางการเมืองของอังกฤษหลังการปฏิวัติอันรุ่งโรจน์ •4. ลัทธิพาณิชยนิยมกาลังขยายตัวในประเทศตะวันตก