อารยธรรมอินเดีย
•อินเดีย เป็นต้นสายธารทางวัฒนธรรมของชาติตะวันออก ( ชนชาติในทวีปเอเชีย ) หลายชาติ •เป็นแหล่งอารยธรรมที่เก่าแก่แห่งหนึ่งของโลก
“แหล่งอารยธรรมลุ่มแม่น้าสินธุ” ( Indus Civilization )
อารยธรรมอินเดีย ประวัติศาสตร์
ก่อนประวัติศาสตร์ เมืองโมเฮนโจดาโร ( Mohenjo Daro ) ทางตอนใต้ของประเทศปากีสถาน
เมืองฮารับปา ( Harappa ) ในแคว้นปันจาป ประเทศปากีสถานใน ปัจจุบัน
อินเดียเข้าสู่
“สมัยประวัติศาสตร์”
เมื่อมีการประดิษฐ์
ตัวอักษรขึนใช้ประมาณ 700 ปี ก่อนคริสต์ศักราช โดย
อินโด – อารยัน
ชนเผ่า
( Indo – Aryan ) ซึ่งตังถิ่นฐานในบริเวณ ลุ่มแม่น้าคงคา สมัยประวัติศาสตร์ของอินเดียแบ่งเป็น 4 ยุค ดังนี 1) ประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 2) ประวัติศาสตร์สมัยกลาง 3) ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ 4) ประวัติศาสตร์ร่วมสมัย
อารยธรรมลุ่มแม่น้าสินธุ 2,500 – 1,500 ปี ก่อนคริสต์ศักราช
mohenjo daro
สภาพสังคม ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ ชนเผ่าดั้งเดิม ของ ลุ่มแม่น้าสินธุ เรียกว่า
“ทราวิฑ” หรือ ดราวิเดียน ( Dravidian ) ภายหลัง ชนเผ่า อินโด – อารยัน เข้ามารุกราน
สภาพสังคม ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ •คัมภีร์พระเวท (คัมภีร์ที่เก่าแก่ที่สุดของอินเดีย) อธิบายว่า •ชนเผ่า อินโด – อารยัน แยกกันอยู่เป็นชนเผ่า •เริ่มมีการแบ่งวรรณะทางสังคม
อินเดีย สมัยประวัติศาสตร์
อินเดียสมัยประวัติศาสตร์ (1) ประวัติศาสตร์สมัยโบราณ ตังแต่เริ่มมีตัวอักษร ถึง ราชวงศ์คุปตะ (2) ประวัติศาสตร์สมัยกลาง ตังแต่ ค.ศ.600 ถึง ราชวงศ์โมกุล (3) ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ ตังแต่ ต้นราชวงศ์โมกุล ถึง ได้รับเอกราชจากอังกฤษ (4) ประวัติศาสตร์ร่วมสมัย
“บรามิ ลิป”ิ ( Brahmi lipi )
“บรามิ ลิป”ิ ( Brahmi lipi )
ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยโบราณ สมัยพระเวท ( ประมาณ 1,500-600 ปี ก่อน คริสต์ศักราช )
สมัยพุทธกาล หรือสมัยก่อน ราชวงศ์เมา รยะ
สมัยราชวงศ์ สมัย สมัยจักรวรรดิ กุษาณะ จักรวรรดิคุป เมารยะ (200 ปีก่อน ตะ ( Gupta ) 600-300 ปีก่อน คริสต์ศักราช – ประมาณ คริสต์ศักราช ค.ศ.320 ) ค.ศ.320-550
สมัยพระเวท ( ประมาณ 1,500-600 ปีก่อนคริสต์ศักราช )
•เป็น อารยธรรมของชนเผ่าอินโด-อารยัน (Indo-Aryan) ซึ่ง อพยพมาจากเอเชียกลาง เข้ามาตั้งถิ่นฐานในบริเวณที่ ราบลุ่มแม่น้าสินธุและคงคา •โดยขับไล่ชนพื้น ดราวิเดียนให้ถอยร่นลงไปทางตอนใต้ ของอินเดีย
•“คั ม ภี ร์ พ ระเวท” ซึ่ ง เป็ น บทสวดของพวก พราหมณ์ นอกจากนี้ ยั ง มี บ ทประพั น ธ์ ม หา กาพย์ที่ยิ่งใหญ่อีก 2 เรื่อง คือ •มหากาพย์รามายณะ •มหาภารตะ บางทีจึงเรียกว่าเป็นยุคมหากาพย์
• ฤคเวท (สันสกฤต: ऋग्वेद, ฤคฺเวท, Rigveda) เป็น คัมภีร์เล่มแรกในวรรณคดีพระเวท แต่งขึ้นเมื่อราว 3000 ปี ก่ อ นคริ ส ตกาล เป็ น ต้ า ราทางศาสนาที่ เ ก่ า แก่ ที่ สุ ด ในโลก ประกอบไปด้วยบทสวดที่วางท่วงท้านองในการสวดไว้อย่าง ตายตัว กล่าวถึงบทสรรเสริญคุณ อ้านาจแห่งเทวะ และประวัติ การสร้างโลก รวมถึงหน้าที่ของพระพรหมผู้สร้างมนุษย์และ สรรพสิ่ง ซึ่งจะใช้ในพิธี การบรวงสรวงเทพเจ้าต่างๆ ของชาว อารยัน ตามประเพณีของฮินดู
•สามเวท (ภาษาสันสกฤต: सामवेद, นับเป็น คัมภีร์ฮินดูที่ส้าคัญและเก่าแก่มาก เนื้อหาส่วนที่ เก่าแก่ที่สุด มีอายุราว 1,000 ปีก่อนคริสตกาล โดย มีความส้าคัญและความเก่าแก่รองจากคัมภีร์ฤคเวท
•ยชุรเวท (สันสกฤต ยชุรฺเวท, यजुवेद) เป็น คัม ภี ร์พระเวทในศาสนาพราหมณ์ ฮิน ดู มาจาก ศั พ ท์ ยชุ สฺ (บทสวดด้ ว ยพิ ธี ก รรม) และ เวท (ความรู้ ) ประมาณกั น ว่ า ประพั น ธ์ ขึ้ น เมื่ อ ราว 1,400 - 1,000 ปีก่อนคริสตกาล
สมัยพุทธกาล หรือสมัยก่อนราชวงศ์เมารยะ ( Maurya ) จักรวรรดิมคธ พระเจ้าพิมพิสาร และ พระเจ้าอชาตศัตรู ขยายอ้านาจการ ปกครองของจักรวรรดิไปกว้างขวาง เป็นช่วงที่อินเดียถือก้าเนิดศาสนาทีส่ ้าคัญ 2 ศาสนา คือ ศาสนาพุทธและศาสนาเชน
สมัยราชวงศ์เมารยะ ( Maurya ) ปกครองโดยรวมอ้านาจไว้ศนู ย์กลาง การตรากฎหมาย การศาล
พระเจ้าอโศกมหาราช กษัตริย์ที่มีความส้าคัญต่อราชวงศ์ เมารยะ เผยแพร่พระพุทธศาสนาไปยังดินแดนทั้งใกล้และไกล รวมทัง้ ดินแดนใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งเผยแพร่เข้าสู่แผ่นดินไทยในยุคสมัยทีย่ ังเป็นอาณาจักรทวารวดี
อโศการาม เมืองปาฏลีบุตร
พระโสณะ-พระอุตตระ พระสมณทูตผู้นาพระพุทธศาสนาสู่ 'สุวรรณภูมิ'
สมัยราชวงศ์กุษาณะ ( ประมาณ 200 ปีก่อนคริสต์ศักราช – ค.ศ.320 ) เกิดสงคราม และความแตกแยก กุษาณะ (Kushana) เป็น ชนต่างชาติที่เข้ามารุกรานและตั้งอาณาจักร ปกครองอินเดียทางตอนเหนือ กษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่ คือ พระเจ้ากนิษกะ
เกิดการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม ระหว่าง อินเดีย และ ตะวันตก
สมัยราชวงศ์สมัยจักรวรรดิคุปตะ ( Gupta ) ประมาณ ค.ศ.320-550 ราชวงศ์คุปตะได้ทรงรวบรวมอินเดียให้เป็นจักรวรรดิอีกครั้งหนึ่ง
ยุคทองของอินเดีย มีความเจริญรุ่งเรืองในทุก ๆ ด้าน ทั้งด้าน ศิลปวัฒนธรรม การเมือง การปกครอง ปรัชญาและศาสนา ตลอดจนการ ค้าขายกับต่างประเทศ
มหาวิทยาลัย นาลันทา
มหาวิทยาลัย พรานณสี
ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยกลาง สมัยหลังราชวงศ์คุปตะ หรือยุคกลางของอินเดีย ( ค.ศ.550 – 1206 ) เป็นยุคที่จักรวรรดิแตกแยกเป็นแคว้นหรืออาณาจักรจ้านวนมาก ต่างมีราชวงศ์แยกปกครองกันเอง ทางตอนใต้ของอินเดีย มีการเติบโตของอารยธรรมอย่างต่อเนื่อง เช่น อาณาจักรปัลลวะ มีการฟื้นฟูการนับถือ ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู
ศาสนาพุทธ และ ศาสนาเชน เสื่อมลง
ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยใหม่ สมัยสุลต่านแห่งเดลฮี หรืออาณาจักรเดลฮี ( ค.ศ. 1206-1526 ) เป็นยุคที่พวกมุสลิมเข้ามาปกครองอินเดีย มีสุลต่านเป็นผู้ปกครองที่เมืองเดลฮี สมัยจักรวรรดิโมกุล ( Mughul ) ประมาณ ค.ศ. 1526 – 1858 เป็นจักรวรรดิอิสลามและ เป็นราชวงศ์สุดท้ายของอินเดีย สมัยอินเดียตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษในปี ค.ศ. 1858
สมัยจักรวรรดิโมกุล ( Mughul ) ประมาณ ค.ศ. 1526 – 1858 มุสลิมเชื้อสายเติร์กจากเอเชียกลาง ขยายอ้านาจเข้ามาปกครอง กษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่ คือ พระเจ้าอักบาร์มหาราช , และ พระเจ้าออรังเซบ ใช้ก้าลัง ท้าลายวัดของศาสนาพุทธ และ พราหมณ์ – ฮินดู บีบให้ชาวอินเดียนับถือ อิสลาม
การเก็บภาษี จิซยา (Jizya) จากราษฎรที่ไม่ใช่ชาวมุสลิม การประยุกต์หลักศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู และ อิสลาม = ซิกข์
พระเจ้าอักบาร์
พระเจ้าออรังเซบ
ป้อมแดง
ป้อมอัครา
พระเจ้าชาห์ จาฮาล มัมทัส มาฮาล
พระเจ้าชาห์ จาฮาล
สมัยอาณานิคมของอังกฤษ ประมาณ ค.ศ.1858 - 1947 ปลายสมัยอาณาจักรโมกุล กษัตริย์ทรงใช้จ่ายฟุ่มเฟือย ต้องเพิ่มภาษี และเพิ่มการเกณฑ์แรงงานท้าให้ราษฎรอดอยาก และยังกดขี่ท้าลายล้าง ศาสนาฮินดูและชาวฮินดูอย่างรุนแรง เกิดความแตกแยกภายในชาติ เป็น เหตุให้อังกฤษค่อยๆเข้าแทรกแซงและครอบครองอินเดีย
บอมเบย์ (มุมไบ)
กัลกัตตา มัทราช
ผลกระทบจากการเข้ามาของอังกฤษในอินเดีย •เกิ ด รั ฐ บาลอิ น เดี ย ภายใต้ ก ารปกครองของอั ง กฤษ โดยมี ตัวแทนจากอังกฤษมาเป็นผู้ปกครองเมืองที่ส้าคัญ ส่วนเมือง ที่ไม่ส้าคัญชนพื้นเมืองปกครองกันเองภายใต้การดูแลของ อังกฤษ •งานหัตถกรรมลดความส้าคัญลงหันมาส่งเสริมอุตสาหกรรม •เป็นแหล่งวัตถุดิบป้อนให้กับโรงงานในอังกฤษ
จักรพรรดินีนาถแห่งอินเดีย
ผลกระทบจากการเข้ามาของอังกฤษในอินเดีย •ระบบวรรณะได้ผ่อนคลายลง •การขยายตัวสังคมเมืองสูส่ ังคมชนบท •การเลียนแบบวัฒนธรรมตะวันตกทั้งการแต่งกาย วัฒนธรรมและค่านิยม •ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการ และวางรากฐานการศึกษาให้กับอินเดีย
ขบวนการต่อสู้เพื่อเอกราชที่ส้าคัญแบ่งแยก ตามศาสนา คือ คองเกรซแห่งชาติอินเดีย ซึ่ง เป็ น ตั ว แทนของชาวฮิ น ดู และสั น นิ บ าตส มุสลิม ผู้น้าคนส้าคัญในการเรียกร้องเอกราช คือ มหาตะมะคานธี โดยใช้ หลักอหิงสา
อังกฤษได้ประกาศให้อิสรภาพแก่ อินเดีย หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ในปี ค.ศ. 1948
“ด้วยเกลือหยิบมือนี ข้าพเจ้า ขอต่อต้านการบังคับของ จักรวรรดิอังกฤษ ขอเราจง ร่วมกันต่อสู้เพื่อสิทธิของเราเถิด”
ความขัดแย้งทางศาสนา ท้าให้อินเดียถูกแบ่ง ออกเป็น 2 ประเทศ คือ
อินเดีย ซึ่งมีประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาฮินดู ปากีสถาน ซึ่งประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนา อิสลาม
https://www.bbc.com/thai/international-40815819