อารยธรรมลุ่มแม่น้าไนล์ (Egypt) 3000 – 620 (B.C.)
อารยธรรมลุ่มแม่น้าไนล์ อารยธรรมลุ่มแม่น้าไนล์ หรือ อารยธรรมอียิปต์ โบราณก่อก้าเนิดบริเวณดินแดนสองฝั่ง แม่น้าไนล์ ตังแต่ปากแม่น้าไนล์จนไปถึงตอนเหนือของประเทศ ซูดานในปัจจุบัน
แม่น้าไนล์ เป็น แม่น้าที่ยาวที่สุดในโลก 6,670 กิโลเมตร (4,140 ไมล์)
เทือกเขา รูเวนซอรี (Ruwenzori Mountains)
สภาพภูมิประเทศ ลุ่มน้าไนล์ แบ่งออกเป็น 2 บริเวณ ได้แก่ อียิปต์ล่าง (Lower) และ อียิปต์บน (Upper)
(Lower) (Upper)
บริเวณอียิปต์ล่าง (Lower Egypt) อยู่บริเวณที่ราบลุ่มปากแม่น้าไนล์ ซึ่งเป็นบริเวณ ที่แม่น้าไนล์แยกเป็นแม่น้าสาขาที่มีลักษณะเป็น รูปพัด แล้วไหลลงทะเลเมดิเตอร์เรเนียน
บริเวณอียิปต์บน (Upper Egypt) ได้แก่ บริเวณที่แม่น้าไนล์ ไหลผ่าน หุบเขา เป็นที่ราบแคบๆ ขนาบด้วยหน้าผาที่ลาดกว้าง ใหญ่ ถัดจากหน้าผา คือ ทะเลทราย
โนมิส (Nomes)
กษัตริย์เมนิส (Menes)
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเกิดอารยธรรมลุ่มน้าไนล์ 1. ที่ตัง เนื่องจากหิมะละลายในเขตที่ราบสูงเอธิโอเปีย ท้าให้บริเวณ แม่น้าไนล์มีดินตะกอนมาทับถมจึงเป็นพืนที่มีความอุดมสมบูรณ์ มีความได้เปรียบทางธรรมชาติ เนื่องจากประเทศอียิปต์เป็นดินแดน ที่ล้อมรอบด้วยทะเลทรายท้าให้มีปราการธรรมชาติในการป้องกันศัตรู ภายนอก
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเกิดอารยธรรมลุ่มน้าไนล์ 2. ทรัพยากรธรรมชาติ แม้อียิปต์จะแห้งแล้ง แต่สองฝั่งแม่น้าไนล์ ก็ประกอบด้วย หินแกรนิตและหินทราย ซึ่งใช้ก่อสร้างและพัฒนาความเจริญรุ่งเรืองด้าน สถาปัตยกรรม วัสดุเหล่านีมีความแข็งแรงคงทนแข็งแรงและช่วยรักษา มรดกทางด้านอารยธรรมของอียิปต์ให้ปรากฏแก่ชาวโลกมาจนกระทั่ง ปัจจุบัน
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเกิดอารยธรรมลุ่มน้าไนล์ 3. ระบบการปกครอง ชาวอียิปต์ยอมรับอ้านาจและเคารพนับถือกษัตริย์ฟาโรห์ดุจเทพ เจ้าองค์หนึ่ง จึงมีอ้านาจในการปกครองและบริหารอย่างเต็มที่ทังด้าน การเมืองและศาสนา โดยมีขุนนางเป็นผู้ช่วยในการปกครอง และพระ เป็นผู้ช่วยด้านศาสนา ซึ่งการที่ ฟาโรห์มีอ้านาจเด็ดขาดท้าให้อียิปต์ สามารถพัฒนาอารยธรรมของตนได้อย่างเต็มที่
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเกิดอารยธรรมลุ่มน้าไนล์ 4. ภูมิปัญญาของชาวอียิปต์ ชาวอียิปต์สามารถคิดค้นเทคโนโลยีและวิทยาการความเจริญด้าน ต่างๆเพื่อตอบสนองการด้าเนินชีวิต ความเชื่อทางศาสนาและการสร้าง ความเจริญรุ่งเรืองให้แก่อียิปต์ เช่น ความรู้ทางคณิตศาสตร์ เรขาคณิต และฟิสิกส์ ได้ส่งเสริมความเจริญในด้านการก่อสร้างและสถาปัตยกรรม เป็นต้น
อาณาจักรอียิปต์ อักษรเฮียโรกลิฟฟฟฟก (Hieroglyphics)
Papyrus Paper
เฮียโรกลิฟฟฟฟค เดโมติค
กรีก (คอฟฟติก) แท่งหิน โรเซตตา
Jean-Franรงois Champollion
อาณาจักรอียิปต์ 1. สมัยอาณาจักรเก่า
มีความเจริญในช่วงประมาณปี 3,100 – 2,200 ก่อน คริสต์ศักราช เป็นสมัยที่อียิปต์มีความเจริญก้าวหน้าใน ด้านวิทยาศาสตร์และศิลปกรรม เป็นเอกลักษณ์โดดเด่น ของอารยธรรมอียิปต์
กษัตริย์เมนิส (Menes)
ด้านความเชื่อ ชาวอียิปต์นับถือเทพเจ้าหลายองค์ แต่มีเทพเจ้าสูงสุดคือ สุริยเทพ หรือ เทพเจ้ารา (Ra)
RA
RA
Osiris (เทพแห่งแม่น้าไนล์)
Isis (เทพแห่งพืนดิน)
เทพเซต (เทพแห่งพายุและความรุนแรง)
ด้านความเชื่อ ชาวอียิปต์ เชื่อว่าวิญญาณเป็นอมตะ เชื่อเรื่องการฟฟื้นคืนชีพของผู้ตาย เชื่อในความสุข การท้าให้เทพเจ้าพึ่งพอใจ
เทพีไอซิส และโอซิริส
เทพฮอรัส
ด้านความเชื่อ ชาวอียิปต์ นิยมสร้างสุสานฝังพระ ศพของฟาโรห์ ตลอดจนราชวงศ์ และขุนนาง เรียกว่า พีระมิด
พีระมิดขันบันได (STEP PYRAMID) แห่งซัคคารา (SAQQARA)
Pyramid Cheops (คีออปส์ หรือ คูฟฟ)ู
The Great Sphinx of Giza (พีระมิด คาเฟฟร)
พีระมิดในอารยธรรมอียิปต์สร้างขึนเพื่อวัตถุประสงค์ใด (2554)
•1. ใช้เป็นศาสนสถาน •2. ใช้เป็นสถานที่เก็บพระศพของฟาโรห์ •3. แสดงถึงความเชื่อในเรื่องฟื้นคืนชีพ •4. แสดงถึงอ้านาจและความมั่นคงของอาณาจักร
ด้านความการแพทย์ ชาวอียิปต์ มีการท้า มัมมี่ ที่มี กระบวนการที่ซับซ้อน โดยต้องท้า ความสะอาดศพ และห่อด้วยผ้าขาว
อาณาจักรอียิปต์ 2. สมัยอาณาจักรกลาง ฟาโรห์ มี อ้ า นาจปกครองอยู่ ใ นช่ ว งราวปี 2060-1580 ก่ อ น คริสต์ศักราช ในสมัยนีอียิปต์มีความเจริญก้าวหน้าทางด้านทางวิทยาการ และภูมิปัญญามากโดยเฉพาะด้านการชลประทาน จึงได้รับการยกย่องว่า เป็น ยุคทองของอียิปต์ อย่างไรก็ตาม ในช่วงปลายสมัยเกิดความ วุ่นวายภายในประเทศ จนต่างชาติเข้ามารุกรานและปกครองอียิปต์
ฟฟาโรห์เซนุสเรต (ราชวงศ์ 12)
มหาวิหารคานัค
มหาวิหารคานัค
มหาวิหารคานัค
มหาวิหารคานัค
มหาวิหารคานัค
เสาโอเบสิสก์ ( Obelisk ) ความสว่าง และความ รุ่งโรจน์
อาณาจักรอียิปต์ 3. สมัยจักรวรรดิ
อยู่ในช่วงราวปี 1,580 – 664 ก่อนคริสต์ศักราช ฟาโรห์สามารถรวมอียิปต์ให้เป็นปึกแผ่นอีกครัง รวมถึงการ ขั บ ไล่ พ วกฮิ ก ซอส ไปได้ สามารถ ขยายดิ น แดนได้ ถึ ง บริเวณแม่น้ายูเฟรสตีส
ฟฟาโรห์ อาโมสที่ 1 (ราชวงศ์ 16) ขับไล่ ฮิตโซส์
ฟฟาโรห์ อัคเคนาเตน (ราชวงศ์ 18) เอกเทวนิยม
การปฎิรูปศาสนาครังใหญ่ในอียิปต์ ที่เปลี่ยนจาก การนับถือเทพเจ้าหลายองค์(พหุเทวนิยม) เป็นนับเทพเจ้าเพียงองค์เดียว(เอกเทวนิยม)
Aton (อาเตน หรือ อะตัน)
Howard Carter
ฟฟาโรห์ “มหาราช” แรเมซีสที่ 2
ฟฟาโรห์ “มหาราช” แรเมซีสที่ 2
Hittite Warrior
สัญญาแรเมซีสฮัททูซิลี
วิหารอะบูซิมเบล
วิหารอะบูซิมเบล
ฟฟาโรห์ “มหาราช” แรเมซีสที่ 2
อาณาจักรอียิปต์ 4. สมัยปลายยุคอียิปต์โบราณ ในช่วง 660 B.C. อียิปต์เสียอ้านาจให้ อัสซีเรีย ซึ่งยึด ครอง และสูญเสียอ้านาจให้แก่ เปอร์เซีย กรีก โรมัน
Cyrus Thr Great 559-529 B.C.
Alexsandro เฮลเลนิสติก 356-323 B.C.
Julius Caesar 100 B.C.