หน่วยที่ 1 รู้จักข้อมูลและแหล่งข้อมูลใกล้ตัว
โดย นางสาวมลฤดี สีโน
1
หน่วยที่ 1 รู้จักข้อมูลและแหล่งข้อมูลใกล้ตัว
โดย นางสาวมลฤดี สีโน
2
หน่วยที่ 1 รู้จักข้อมูลและแหล่งข้อมูลใกล้ตัว
โดย นางสาวมลฤดี สีโน
3
หน่วยที่ 1 รู้จักข้อมูลและแหล่งข้อมูลใกล้ตัว
ข้อมูลคืออะไร ? ข้อมูล (Data) หมายถึง สิ่งต่าง ๆ ที่อยู่ รอบตัวเรา เป็นความจริงที่เกี่ยวข้องกับคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ หรือเหตุการณ์ต่าง ๆ ยกตัวอย่างเช่น พระอาทิตย์ ดอกไม้ ครอบครัวของเรา เป็นต้น ข้อมูลเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับทุกคน เราต้องการข้อมูลในการเรียนรู้และสร้าง ความเข้าใจ เพื่อนามาพัฒนาตัวเองให้ทัน ต่อเหตุการณ์ อีกทั้งข้อมูลยังช่วยให้เราสามารถ ตัดสินใจในเรื่องต่าง ๆ ได้ง่ายขึ้น
โดย นางสาวมลฤดี สีโน
4
หน่วยที่ 1 รู้จักข้อมูลและแหล่งข้อมูลใกล้ตัว ครอบครัวของเรา
อายุ เชื้อชาติ ศาสนา ข้อ มูล
แต่ละอย่างจะมีลักษณะเฉพาะของสิ่งนั้น เราสามารถเพิ่มรายละเอียดของ
ข้อมูลให้มากขึ้น โดยจะต้องดูว่าเป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร ถ้าเป็นข้อ มูลของครอบครัวเราก็ สามารถเพิ่มรายละเอียดของข้อมูลได้อีก เช่น ข้อมูลของคุณพ่อ ประกอบด้วย อายุ เชื้อชาติ ศาสนา ส่วนสูง และน้าหนัก เป็นต้น
ตัวอย่าง ข้อมูลที่เกี่ยวกับอายุ เราสามารถสังเกตความแตกต่างของอายุได้จากสภาพของร่างกายที่เปลี่ยนแปลงไป
5 ปี
14 ปี
38 ปี โดย นางสาวมลฤดี สีโน
65 ปี 5
หน่วยที่ 1 รู้จักข้อมูลและแหล่งข้อมูลใกล้ตัว ตัวอย่าง ข้อมูลเกี่ยวกับเชื้อชาติ เราสามารถสั งเกตความแตกต่ า งของเชื้ อ ชาติ ไ ด้ จ ากรู ป ร่ าง หน้ าตา ทรงผม ภาษา และวัฒนธรรม เป็นต้น
ยกตัวอย่างเช่น
คนไทย
คนเวียดนาม
คนเกาหลี
คนญี่ปุ่น
ตัวอย่าง ข้อมูลเกี่ยวกับศาสนา เราสามารถสังเกตความแตกต่างของศาสนาได้จากการแต่งกายหรือศาสนสถาน เป็นต้น
ยกตัวอย่างเช่น
ศาสนาพุทธ
ศาสนาคริสต์
ศาสนาอิสลาม
คาศัพท์ที่สาคัญ
Data อ่านว่า ดา-ต้า
หรือ
เด-ทะ หมายถึง ข้อมูล
โดย นางสาวมลฤดี สีโน
6
หน่วยที่ 1 รู้จักข้อมูลและแหล่งข้อมูลใกล้ตัว
เราสามารถรับรู้ข้อมูลได้อย่างไร โลก ของเราเป็นโลกที่เต็มไปด้วยข้อมูล มากมาย จะเห็นได้จากสิ่งแวดล้อมรอบตัว หรื อ สิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในชี วิ ต ประจ าวั น ก็ เ ป็ น ข้อมูลด้วยเช่นกัน
เราสามารถรับรู้ข้อมูลได้ อย่างไรนะ
ตา-ดู จมูก-ดมกลิ่น
หู-ฟัง ผิวหนัง-สัมผัส
ลิ้น-รับรส
เราสามารถรับรู้ข้อมูลต่าง ๆ ที่น่าสนใจมากมายบนโลกนี้ได้ด้วย
อวัยวะรับสัมผัส
ประกอบด้วย ตา หู จมูก ลิ้น และผิวหนัง โดยอวัยวะรับสัมผัสต่าง ๆ นี้จะทาหน้าที่ แตกต่างกั น ออกไป เพื่อ ให้ เราสามารถรั บ ความรู้ สึก และรั บ รู้ ก ารเปลี่ ย นแปลงของ สิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัวเราได้อย่างครบถ้วน โดย นางสาวมลฤดี สีโน
7
หน่วยที่ 1 รู้จักข้อมูลและแหล่งข้อมูลใกล้ตัว อวัยวะรับสัมผัส
ตา
หู
ใช้อ่านหนังสือ
ใช้ฟังเพลง,เสียงพูดคุยกัน โดย นางสาวมลฤดี สีโน
8
หน่วยที่ 1 รู้จักข้อมูลและแหล่งข้อมูลใกล้ตัว อวัยวะรับสัมผัส
จมูก
ลิ้น
ใช้ดมกลิ่น
ผิวหนัง
ใช้รู้รสชาติของอาหาร
ใช้สัมผัสอากาศร้อนหนาว
โดย นางสาวมลฤดี สีโน
9
หน่วยที่ 1 รู้จักข้อมูลและแหล่งข้อมูลใกล้ตัว
แหล่งข้อมูล
คือ แหล่งที่บรรจุเนื้อหาหรือเรื่องราวต่าง ๆ ที่เราสามารถ
ค้นคว้า สืบค้น และเรีย นรู้ข้อมูล ตามที่ เราต้องการได้ ซึ่งแหล่งข้อมูลมีอ ยู่มากมาย รอบตัว เรา เพีย งแค่ เราหมั่ น สั งเกตและให้ ความสนใจก็ จ ะได้ รั บ ข้ อ มู ลที่ มี ป ระโยชน์ ตัวอย่างแหล่งข้อมูลรอบตัวเรา เช่น
บุคคล เป็ น แหล่ ง ข้ อ มู ลที่ เ กิ ด จากบุ ค คลที่ มี ค วามรู้ ความสามารถ มี ป ระสบการณ์ เกี่ยวกับเรื่องราวต่าง ๆ ที่เราสนใจ ซึ่งเราสามารถค้นหาข้อมูลความรู้เหล่านั้นได้จากการ สังเกตหรือการซักถาม เช่น อยากทราบวิธีคิดเลขต้องเรียนรู้จากครูคณิตศาสตร์ หรือ หากสนใจเรื่องภาษาอังกฤษก็ต้องเรียนรู้จากครูภาษาอังกฤษ เป็นต้น
เรียนรู้วิธีการคิดเลข
เรียนภาษาอังกฤษจากคุณครู
โดย นางสาวมลฤดี สีโน
10
หน่วยที่ 1 รู้จักข้อมูลและแหล่งข้อมูลใกล้ตัว สื่อสิ่งพิมพ์ เป็นแหล่งข้อมูลที่ใช้กระดาษหรือวัสดุอื่น ๆ ในการพิมพ์ตัวอักษรเพื่อถ่ายทอด ข้อมูลไปยังผู้อ่าน เช่น หนังสือเรียน หนังสือพิมพ์ นิตยสาร ใบปลิว แผ่นพับ ฉลากยา เป็นต้น
หนังสือเรียน
แผ่นพับ
ฉลากยา โดย นางสาวมลฤดี สีโน
11
หน่วยที่ 1 รู้จักข้อมูลและแหล่งข้อมูลใกล้ตัว สถานที่และสิ่งแวดล้อม เป็นแหล่งข้อมูลที่เราต้องค้นหาความรู้และเรียนรู้ด้วยตนเอง เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ ต้องการ เช่น ห้องสมุด พิพิธภัณฑ์ สวนสาธารณะ เป็นต้น
สถานที่และสิ่งแวดล้อม
โดย นางสาวมลฤดี สีโน
12
หน่วยที่ 1 รู้จักข้อมูลและแหล่งข้อมูลใกล้ตัว เทคโนโลยี เป็น แหล่งข้อ มูลที่กว้ างขวางและทัน สมั ย ท าให้เรารั บรู้ ข้อ มูลข่าวสารได้อ ย่าง รวดเร็ว เช่น โทรทัศน์ วิทยุ ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นต้น
โทรทัศน์
วิทยุ
อินเทอร์เน็ต โดย นางสาวมลฤดี สีโน
13
หน่วยที่ 1 รู้จักข้อมูลและแหล่งข้อมูลใกล้ตัว
การเก็บข้อมูลสามารถทาได้หลายวิธี เราควรเก็บข้อมูลให้เป็นระเบียบ เป็น หมวดหมู่ เพื่อแบ่งแยกประเภทของข้อมูล ทาให้สะดวกในการค้นหา โดยเราสามารถ จัดเก็บข้อมูลด้วยวิธีต่าง ๆ ดังนี้
เก็บข้อมูลไว้ในคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์สามารถจัดเก็บข้อมูลได้มากมาย มีความรวดเร็ว ถูกต้อง แม่นยา และสะดวกต่อการเรียกใช้
เก็บข้อมูลรูปภาพ
เก็บข้อมูลเสียง
กขค
เก็บข้อมูลตัวอักษร
เก็บข้อมูลตัวเลข
โดย นางสาวมลฤดี สีโน
14
หน่วยที่ 1 รู้จักข้อมูลและแหล่งข้อมูลใกล้ตัว อุปกรณ์บันทึกข้อมูลชนิดต่าง ๆ อุปกรณ์บันทึกข้อมูล คือ อุปกรณ์ที่ใช้บันทึกข้อมูลหรือโปรแกรมที่เราต้องการใช้ งานในครั้งต่อไป ซึ่งสามารถบรรจุข้อมูลและโปรแกรมได้เป็นจานวนมาก เช่น แผ่น CD หรือ แผ่น DVD แฟลชไดร์ฟ (Flash Drive) ฮาร์ดดิสก์แบบพกพา (External Harddisk) การ์ดหน่วยความจา (Memory Card) และฝากออนไลน์ไว้บนอินเตอร์เน็ต เป็นต้น
แฟลชไดร์ฟ
แผ่น CD , แผ่น DVD
ฮาร์ดดิสก์แบบพกพา
การ์ดหน่วยความจา
ฝ า ก ข้ อ มู ล อ อ น ไ ล น์ ไ ว้ บ น อินเตอร์เน็ต เราสามารถเรียกข้อมูล มาใช้ได้ทุกที่ที่มีอินเตอร์เน็ต และ รองรับอุปกรณ์ต่าง ๆ ได้
โดย นางสาวมลฤดี สีโน
15
หน่วยที่ 1 รู้จักข้อมูลและแหล่งข้อมูลใกล้ตัว เก็บข้อมูลไว้ในสมุดหรือแฟ้มต่าง ๆ สมุดภาพเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลรูปภาพที่เราสนใจไว้ในสมุดหรืออัลบั้ม อาจ เขียนอธิบาย วัน เดือน ปี และชื่อสถานที่ เพื่อเตือนความจาให้เราสามารถลาดับ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในตอนนั้นได้ ส่วนแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) คือ แฟ้มที่ใส่ กระดาษหลาย ๆ แผ่น ซึ่งเป็นแฟ้มที่เก็บรวบรวมข้อมูลของเจ้าของแฟ้ม รวมทั้งเป็น แหล่งจัดเก็บผลงานที่แสดงให้เห็นถึงความสามารถและทักษะต่าง ๆ ของเจ้าของแฟ้ม สะสมผลงาน แฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) แฟ้มที่รวบรวมข้อมูลพื้นฐานส่วนตัวและผลงาน หลักฐานร่องรอยที่นาเสนอสามารถสะท้อนให้เห็น ภาพความสามารถที่แท้จริงของเจ้าของแฟ้มได้อย่าง ชัดเจน
อัลบั้มรูปภาพ รวบรวมรูปภาพเหตุการณ์ต่าง ๆ ซึ่งบอกสถานที่ วัน เวลา ในรูปภาพที่รวบรวมไว้ตามลาดับ
โดย นางสาวมลฤดี สีโน
16
หน่วยที่ 2 คอมพิวเตอร์ของฉัน
โดย นางสาวมลฤดี สีโน
14
หน่วยที่ 2 คอมพิวเตอร์ของฉัน
คอมพิวเตอร์คืออะไร ?
คอมพิ ว เตอร์ (Computer) หมายถึ ง อุ ป กรณ์ ท างอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (electrinic device) ที่ม นุษย์ ใช้ เป็ น เครื่ องมือ ช่ วยในการจั ดการกั บข้ อ มูลที่ อาจเป็ นได้ ทั้งตัวเลข ตัวอักษร หรือสัญลักษณ์ที่ใช้แทนความหมายในสิ่งต่าง ๆ โดยคุณสมบัติที่สาคัญ ของคอมพิวเตอร์คือการที่สามารถกาหนดชุดคาสั่งล่วงหน้าหรือโปรแกรมได้
ในปัจจุบันคอมพิวเตอร์มีรูปร่างหลายแบบด้วยกัน มีทั้งขนาดเล็ก และขนาดใหญ่ โดยแต่ละแบบจะมีความสามารถและวิธีใช้งานที่แตกต่างกัน ซึ่งเราสามารถแบ่งประเภท ของคอมพิวเตอร์ได้ ดังนี้
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer) เรี ย กย่ อ ๆ ว่า เครื่ อ งพี ซี (PC) เป็ น คอมพิวเตอร์ที่ได้รับความนิยมมาก ราคาถูก ส่ ว นใหญ่ จ ะใช้ ใ นบ้ า น ส านั ก งาน หรื อ โรงเรี ย น ไม่ เ หมาะสาหรั บ การเคลื่ อ นย้ า ย บ่อย ๆ โดย นางสาวมลฤดี สีโน
15
หน่วยที่ 2 คอมพิวเตอร์ของฉัน โน้ตบุ๊ค (Notebook) / แล็ปท็อป (Laptop)
เป็ น ค อ ม พิ ว เต อ ร์ ที่ มี ข น า ดเ ล็ ก น้าหนักเบา เหมาะสาหรับพกพา แต่มีราคา แพงกว่าเครื่องพีซี (PC)
แท็บเล็ต (Tablet) เป็ น คอมพิ ว เตอร์ แ บบพกพา หรื อ คอมพิวเตอร์ที่สามารถใช้งานขณะเคลื่อนที่ได้ มีขนาดกลางที่ มีหน้ าจอแบบสั มผัสในการใช้ งานเป็นหลัก
เครื่องคิดเงินหน้าร้าน (POS) เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในร้านค้าหรือใน ห้างสรรพสินค้า ใช้สาหรับคิดเงินเท่านั้น
โทรศัพท์เคลื่อนที่ (Telephone) เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในการ สื่ อ สารสองทาง ในการติ ด ต่ อ กั บ เครื อ ข่ า ย โทรศั พ ท์ มื อ ถื อ มี ความสามารถเพิ่ ม ขึ้ น ใน ลักษณะคอมพิวเตอร์พ กพาจะถูกกล่าวถึงใน ชื่อสมาร์ทโฟน โดย นางสาวมลฤดี สีโน
16
หน่วยที่ 2 คอมพิวเตอร์ของฉัน
คอมพิวเตอร์มีประโยชน์ในการใช้งานด้านต่าง ๆ ดังนี้
ด้านการจัดการ
ด้านงานธุรกิจ
ด้านการติดต่อสื่อสาร
ด้านการออกแบบ
ด้านการแพทย์
ด้านการคมนาคม
คาศัพท์ที่สาคัญ
Technology อ่านว่า เท็ก-โน-โล-จี หมายถึง
การนาความรู้ ทักษะ วิธีการ และทรัพยากรต่าง ๆ มาทาให้เกิดความสะดวกสบาย โดย นางสาวมลฤดี สีโน
17
หน่วยที่ 2 คอมพิวเตอร์ของฉัน
หน้าจอ
เคส
คีย์บอร์ด
เมาส์
คาศัพท์ที่สาคัญ
Internet อ่านว่า อิน-เทอ-เน็ด หมายถึง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ที่มีการเชื่อมต่อข้อมูลกันทั่วโลก โดย นางสาวมลฤดี สีโน
18
หน่วยที่ 2 คอมพิวเตอร์ของฉัน อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
หน้าจอ
มี ลัก ษณะคล้ ายกั บ จอโทรทั ศน์ ท า หน้ า ที่ แ สดงผลข้ อ มู ล เป็ น ตั ว อั ก ษร ตั ว เลข และรู ป ภาพให้ เ รามองเห็ น ซึ่ ง จอภาพมี ด้วยกันหลายแบบ เช่น จอธรรมดา จอแอล ซีดี จอแอลอีดี จอสัมผัส เป็นต้น
เป็นกล่องสาหรับบรรจุอุปกรณ์ต่าง ๆ ของคอมพิ ว เตอร์ เ ข้ า ไว้ ด้ ว ยกั น เพื่ อ สั่ ง ให้ คอมพิว เตอร์ ท างาน ภายในมี CPU ซึ่ งท า หน้าที่ประมวลผล และบันทึกข้อมูลที่มาจาก การป้อนข้อมูลของแป้นพิมพ์และเมาส์
คีย์บอร์ด
เคส
มี ลั ก ษณะคล้ า ยแป้ น พิ ม พ์ ดี ด ท า หน้าที่ป้อนข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์
มี ลั ก ษณะคล้ า ยกั บ หนู ท าหน้ า ที่ เหมื อ นนิ้ ว มื อ ของคน สามารถใช้ ห ยิ บ จั บ สิ่งของบนหน้ าจอ ทางานลั ก ษณะเดี ย วกั บ แป้นพิมพ์ คือ ป้อนข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์
โดย นางสาวมลฤดี สีโน
เมาส์
19
หน่วยที่ 2 คอมพิวเตอร์ของฉัน วิวัฒนาการของจอภาพ จอแสดงผลบนคอมพิวเตอร์ได้มีวิวัฒนาการมาอย่างต่อเนื่อง ในยุคเริ่มแรกจอภาพ จะเป็ น เพีย งตั ว หนั งสื อ สี ข าว พื้ น หลั งสี ด าเท่ านั้ น หลั ง จากที่ มี ก ารพั ฒ นาโปรแกรมที่ ตอบสนองการใช้ งานกราฟฟิ ก มากยิ่ งขึ้ น จอแสดงผลก็ มี ก ารพั ฒ นาให้ ส อดคล้ อ งกั บ โปรแกรมและเทคโนโลยี ในการแสดงผลเพื่อ ให้ ภาพและกราฟฟิ กที่ ออกมาบนหน้ าจอ คอมพิวเตอร์มีความสมจริงมากที่สุด
จอภาพ CRT (Cathode Ray Tubes) มี ห ลั ก การ ทางานแบบเดียวกับจอโทรทัศน์ เป็นเทคโนโลยีแสดงผลที่ อายุเกินกว่า 100 ปี คาดกันว่าในอนาคตจะเลิกใช้จอชนิด นี้ เพื่อประหยัดพลังงานและถนอมสายตา
จอภาพ LCD (Liquid Crystal Display) ถูกคิดค้นขึ้น ในปี ค.ศ.1963 ในยุ ค ดิจิ ตอล สามารถแสดงตัวอั กษร และรูปภาพได้ ช่วยลดความเมื่อยล้าในการมองเห็น
จอภาพ LED (Organic Light Emitting Diodes) เป็นเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่จะเข้ามาเพื่อทดแทน จอ LCD มีข้อดีคือ ใช้พลังงานน้อย จอภาพบาง แบน มี น้าหนักเบา และให้สีที่คมชัด
จอภาพสัมผัส (Touch Screen) เป็นระบบที่ พัฒนาขึ้นให้ผู้ใช้สัมผัสที่จอภาพแล้วได้รับการตอบสนอง จากคอมพิวเตอร์ เปรียบเสมือนเมาส์ที่จอภาพ ทาให้ ผู้ใช้งานคล่องแคล่ว สะดวกรวดเร็วมากขึ้น
โดย นางสาวมลฤดี สีโน
20
หน่วยที่ 2 คอมพิวเตอร์ของฉัน
คอมพิวเตอร์มีองค์ประกอบที่สาคัญอยู่ด้วยกัน 3 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และพีเพิลแวร์ ดังนี้
1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) คือ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่สามารถสัมผัสและจับต้องได้ เช่น เครื่องพิมพ์ เมาส์ แป้นพิมพ์ และจอภาพ เป็นต้น
เครื่องพิมพ์ (Printer)
เมาส์ (Mouse)
แป้นพิมพ์ (Keyboard)
จอภาพ (Monitor)
โดย นางสาวมลฤดี สีโน
21
หน่วยที่ 2 คอมพิวเตอร์ของฉัน 2. ซอฟต์แวร์ (Software) คือ โปรแกรมหรือชุดคาสั่งที่ควบคุมให้คอมพิวเตอร์ทางาน เช่น โปรแกรมเพนท์ โปรแกรมเกม โปรแกรมเวิร์ด โปรแกรมสแกนไวรัส เป็นต้น โปรแกรมแพนท์ ใช้สาหรับวาดรูป
โปรแกรมเกม
โปรแกรมไมโครซอฟต์ เวิร์ดใช้พิมพ์งาน
โปรแกรมสแกนไวรัส
3. พีเพิลแวร์ (Peopleware) คื อ ค น ที่ มี ค ว า ม รู้ เ กี่ ย ว กั บ คอมพิวเตอร์ในด้านต่าง ๆ สามารถใช้งาน สั่งงาน เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทางานได้
โดย นางสาวมลฤดี สีโน
22
หน่วยที่ 2 คอมพิวเตอร์ของฉัน
นอกจากขั้นตอนการเปิดใช้งานคอมพิวเตอร์แล้ว หลังจากใช้งานเสร็จเราจะต้อง ปิดคอมพิวเตอร์ตามขั้นตอน ดังนี้
2
3
1
คลิ๊กปุ่ม Start หน้าต่างเมนูต่าง ๆ
ปุม่ Sleep Shut down Restart
คลิ๊กปุ่ม Power เข้าสู่เมนูปิดคอมพิวเตอร์
เพื่อ
เมื่อนักเรียนเข้าสู่เมนู Shutdown จะพบว่ า มี เมนูอีกหลายเมนู เรา มาดู กั น ว่ า เมนู เ หล่ า นี้ จะมีการทางานอย่างไร บ้าง
จะปรากฎ
การทางาน ใช้พักการทางานของคอมพิวเตอร์ชั่วคราว ใช้จบการทางานทั้งหมด ปิดคอมพิวเตอร์ ใช้ปิดและเปิดคอมพิวเตอร์ขึ้นมาใหม่โดยอัตโนมัติ โดย นางสาวมลฤดี สีโน
23
หน่วยที่ 2 คอมพิวเตอร์ของฉัน
ปุ่มอักขระ
ปุ่มฟังก์ชั่น
ปุ่มควบคุมทิศทาง
ปุ่มตัวเลข
แป้นพิมพ์เป็นอุปกรณ์ป้อนข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์ โดยมีปุ่มทั้งหมด 104 ปุ่ม ประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ดังนี้ 1.ปุ่มอักขระ
คือ ปุ่มตัวอักษร ตัวเลข และสัญลักษณ์ต่าง ๆ ทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ใช้สาหรับพิมพ์ตัวอักษรหรือข้อความ 2.ปุ่มฟังก์ชั่น
คือ แป้นพิมพ์สาหรับใช้เป็นคาสั่งพิเศษเฉพาะโปรแกรมแต่ละโปรแกรม โดย นางสาวมลฤดี สีโน
24
หน่วยที่ 2 คอมพิวเตอร์ของฉัน 3.ปุ่มควบคุมทิศทางเคเซอร์
เคเซอร์ คือ สัญลักษณ์หรือลูกศรที่เปลี่ยนตาแหน่งการแสดงผลตามการเลื่อน เมาส์ของผู้ใช้งาน และสามารถเปลี่ยนรูปแบการแสดงผลตามลักษณะการใช้งานของ จอภาพ เช่น หรือ 4.ปุ่มตัวเลข
เป็นปุ่มที่อยู่ทางขวามือของแป้นพิมพ์ มีลักษณะการใช้งานคล้ายกับเครื่องคิดเลข 5.ปุ่มที่ควรรู้จัก ปุ่ม ESC ใช้กดเพื่อยกเลิกคาสั่ง ที่ ท าไปหรื อ ใช้ เ ฉพาะส าหรั บ โปรแกรมนั้น ๆ
ปุ่ ม Enter ใช้ ก ดใน การสั่งให้ คอมทางาน หรือขึ้นบรรทัดใหม่
ปุ่ม Ctrl และ Alt เป็นปุ่มที่ใช้กดควบคู่กับปุ่มอื่น ๆ เพื่อให้เกิดการทางานอย่างใด อย่ า งหนึ่ ง เช่ น Ctrl+S = บั น ทึ ก ข้ อ มู ล หรื อ Ctrl + Alt + Del = การปิ ด โปรแกรมอย่างสิ้นเชิง เป็นต้น โดย นางสาวมลฤดี สีโน
25
หน่วยที่ 2 คอมพิวเตอร์ของฉัน ปุ่ม Back Space ใช้กดเพื่อลบ ตัวอักษรที่อ ยู่หน้าเคอร์เซอร์ที ละ 1 ตัวอักษร
ปุ่ ม Delete ใ ช้ ก ด เ พื่ อ ล บ ตัวอักษรที่อยู่หลังเคเซอร์ทีละ ตัวอักษร
ปุ่ม Shift ใช้กดเพื่อพิมพ์อักษร ตัวบน สาหรับภาษาไทยและ ใช้ พิ ม พ์ ตั ว พิ ม พ์ ใ หญ่ ส าหรั บ ภาษาอังกฤษ
ปุ่ม Caps Lock ใช้กดเพื่อพิมพ์ อักษรตัวบน สาหรับภาษาไทย และใช้พิมพ์ตัวพิมพ์ใหญ่สาหรับ ภาษาอังกฤษ โดยกดแค่ 1 ครั้ง
ปุ่ม Spacebar ใช้กดเมื่อต้องการเว้นช่องว่างระหว่างตัวอักษร
แป้นพิมพ์มีปุ่มมากมายเลย แล้วเมาส์จะเป็นอย่างไรนะ
โดย นางสาวมลฤดี สีโน
26
หน่วยที่ 2 คอมพิวเตอร์ของฉัน
เมาส์ (Mouse) เป็ น อุ ป กรณ์ ต่ อ พ่ ว งที่ เ พิ่ ม ความสามารถให้ คอมพิ ว เตอร์ ท างานได้ ง่ายมากยิ่ งขึ้ น สามารถบอกตาแหน่งบนจอภาพว่าเรากาลังอยู่ส่วนใด ของจอภาพ มีอยู่หลายประเภทได้แก่ เมาส์แบบลูกกลิ้ง เมาส์แสง เป็นต้น
เมาส์จะมีลักษณะการใช้งาน ดังนี้ 1.การคลิ๊กเมาส์ปุ่มซ้าย
2.การดับเบิลคลิก
คือ การคลิกเมาส์ปุ่มซ้ายหนึ่งครั้ง ใช้เพื่อ เลื อ กค าสั่ ง หรื อ เลื อ กส่ ว นต่ า ง ๆ ของ โปรแกรม
คือ การคลิ ก เมาส์ ปุ่ ม ซ้ า ยติ ด กั น 2 ครั้ ง อย่างรวดเร็ว ใช้เพื่อเปิดโปรแกรมต่าง ๆ ขึ้นมาใช้งาน
โดย นางสาวมลฤดี สีโน
27
หน่วยที่ 2 คอมพิวเตอร์ของฉัน 3.การคลิ๊กเมาส์ปุ่มขวา
4.การใช้ปุ่มเลื่อน
คือ การคลิกเมาส์ปุ่ม ขวาหนึ่งครั้งใช้เพื่อ เปิดเมนูย่อย จะมีการแสดงรายการต่าง ๆ ปรากฏขึ้นมา
คือ การใช้ล้อเลื่อนเลื่อนดูเอกสารและเว็บ เพจต่ า ง ๆ เมื่ อ ต้ อ งการเลื่ อ นลงให้ ห มุ น ล้อเลื่อนลงมาข้า งล่า ง เมื่อต้อ งการเลื่อ น ขึ้นให้หมุนล้อเลื่อนขึ้นไปข้างบน
5.การลากแล้วปล่อย
คือ การใช้เมาส์เลื่อนหรือย้ายวัตถุบนจอภาพด้วยการเลื่อนตัวชี้เมาส์ไปชี้ที่ส่วนใดส่วนหนึ่งของไอคอน แล้วคลิก เมาส์ที่ปุ่มซ้ายค้างไว้จากนั้นลากเมาส์ไปยังตาแหน่งที่ต้องการแล้วปล่อยเมาส์
โดย นางสาวมลฤดี สีโน
28
หน่วยที่ 2 คอมพิวเตอร์ของฉัน
คอมพิวเตอร์ก็เหมือนกับเครื่องใช้ไฟฟ้าทั่ว ๆ ไป ถ้าเราใช้อย่างเดียวโดยไม่ ดูแลรักษา อายุการใช้งานก็จะสั้นลง ฉะนั้นเราควรดูแลรักษาคอมพิวเตอร์อย่างสม่าเสมอ โดยมีวิธีการปฏิบัติ ดังนี้
ไม่ควรใช้งานคอมพิวเตอร์ ในการทางานหลายเครื่อง จนไม่ได้พัก ทาให้เปลือง ไฟ และเครื่อง คอมพิวเตอร์ร้อนขึ้น
ทาความสะอาดบนโต๊ะ คอมพิวเตอร์ และจัดการ เก็บของทาความสะอาดให้ เป็นระเบียบเรียบร้อย
โดย นางสาวมลฤดี สีโน
29
หน่วยที่ 2 คอมพิวเตอร์ของฉัน ไม่ควรรับประทานอาหาร ขนม หรือน้าที่โต๊ะ คอมพิวเตอร์
การทางานที่หน้าจอ คอมพิวเตอร์ มีระยะห่างจาก หน้าจอประมาณ 50 เซนติเมตร และต้องนั่งหลัง ตรงไม่งอหลัง
โต๊ะคอมพิวเตอร์ต้องมีแสง สว่างเหมาะสม ไม่มืดเกินไป และไม่สว่างจนเกินไป ถ้าแสง สว่างไม่เพียงพออาจจะทาให้ เวลาทางานปวดตาได้
โดย นางสาวมลฤดี สีโน
30
หน่วยที่ 3 โปรแกรมวาดภาพ Paint
โดย นางสาวมลฤดี สีโน
47
หน่วยที่ 3 โปรแกรมวาดภาพ Paint
เป็นโปรแกรมพื้นฐานสาหรับการวาดภาพ หรือการ ออกแบบกราฟิกบนคอมพิวเตอร์ที่มีรายละเอียดไม่ซับซ้อน มาก จัดอยู่ในกลุ่มโปรแกรมวาดภาพระบายสี ที่มี ความสามารถในการสร้างภาพอย่างง่ายๆ และแก้ไขภาพที่ สร้างขึ้นเอง หรืออาจนารูปภาพมาจากที่อื่นๆ เพื่อตกแต่ง รวมทั้งการวาดภาพรูปทรงเรขาคณิตต่างๆ โดยการ ใช้เมาส์เป็นเครื่องมือเหมาะสาหรับผู้เริ่มต้นฝึกออกแบบ หรือผู้เรียนที่ยังมือใหม่จะได้มี โอกาสได้ฝึกการใช้เครื่องมือต่างๆ เมื่อตกแต่งเสร็จแล้วสามารถนาไปประกอบเอกสารอื่นๆ ได้ เช่นโปรแกรม Word, Excel เป็นต้น
การเปิดโปรแกรมเพนท์
3
2
1 1 คลิกปุ่ม
(Search Windows)
2 พิมพ์ paint ที่ช่องค้นห้า
3 คลิกเลือก
(paint)
คาศัพท์ที่สาคัญ
Paint อ่านว่า เพนท์
หมายถึง
โดย นางสาวมลฤดี สีโน
วาดภาพระบายสี 48
หน่วยที่ 3 โปรแกรมวาดภาพ Paint 1 คลิกปุ่มปิด
การปิดโปรแกรมเพนท์
2 จะปรากฏหน้าต่าง Paint ให้
1
วิธีที่ 1
(Close)
คลิกเลือกคาสั่งอย่างใด อย่างหนึ่งต่อไปนี้ เพื่อบันทึกผลงานก่อนปิด โปรแกรม
2
เพื่อปิดโปรแกรมไม่ ต้องการบันทึกผลงาน เพื่อยกเลิกคาสั่งการปิด โปรแกรม
วิธีที่ 2 1
1 คลิกปุ่มปิด
(File)
2 คลิกเลือกคาสั่ง
3 2
เพื่อบันทึกผลงานก่อนปิดโปรแกรม เพื่อปิดโปรแกรมไม่ต้องการบันทึก ผลงาน เพื่อยกเลิกคาสั่งการปิดโปรแกรม
โดย นางสาวมลฤดี สีโน
49
หน่วยที่ 3 โปรแกรมวาดภาพ Paint
2
1
3
4 5
6
7
8 1 แถบเครื่องมือด่วน (Quick Access Toolbar) ใช้แสดงคาสั่งที่เรียกใช้บ่อย ๆ 2 แถบชื่อเรื่อง (Title Bar) ใช้แสดงชื่อโปรแกรม และชื่อไฟล์ที่เปิดใช้งานอยู่ 3 ปุ่มควบคุม (Control Button) ใช้ควบคุมการเปิด – ปิด,ย่อ – ขยาย หน้าต่าง 4 ปุ่มเพนท์ (Paint Button) ใช้เรียกคาสั่งพื้นฐานของโปรแกรม Paint 5 ริบบอน (Ribbon) ใช้แสดงคาสั่งและเครื่องมือต่าง ๆ โดยจัดเป็นหมวดหมู่เพื่อ
ง่ายต่อการใช้งาน 6 พื้นที่สาหรับวาดภาพ (Drawing Area) ส่วนที่ใช้วาดภาพ ระบายสี และตกแต่ง
รูปภาพ 7 แถบสถานะ (Status Bar) ส่วนที่ใช้แสดงสถานะของพื้นที่ในหน้ากระดาษ 8 แถบเลื่อนย่อ – ขยาย (Zoom - in,Zoom - out) ส่วนที่ใช้ย่อ – ขยาย
หน้ากระดาษ เพื่อดูมุมมองที่ใหญ่ขึ้นหรือเล็กลงของรูปภาพที่วาด
โดย นางสาวมลฤดี สีโน
50
เกมแสนสนุกท้ายบทเรียน
โดย นางสาวมลฤดี สีโน
50
เกมแสนสนุกท้ายบทเรียน เกมแสนสนุกท้ายบทเรียน คาชี้แจง พิจารณาภาพ เพื่อหาเส้นทางให้กระต่ายตามหาแครอทให้สาเร็จ
โดย นางสาวมลฤดี สีโน
51
เกมแสนสนุกท้ายบทเรียน เกมแสนสนุกท้ายบทเรียน คาชี้แจง พิจารณาภาพ เพื่อหาเส้นทางให้แม่แกะตามหาลูกแกะให้สาเร็จ
โดย นางสาวมลฤดี สีโน
52
เกมแสนสนุกท้ายบทเรียน เกมแสนสนุกท้ายบทเรียน คาชี้แจง นักเรียนจะต้องพาลูก ๆ ของสัตว์ทงั้ 4 ชนิด ไปพบกับแม่ให้สาเร็จ
โดย นางสาวมลฤดี สีโน
53
เกมแสนสนุกท้ายบทเรียน เกมแสนสนุกท้ายบทเรียน คาชี้แจง พิจารณาภาพ แล้วลากเส้นนักล่าสมบัติคนใดจะเดินทางไปพบหีบสมบัติ
โดย นางสาวมลฤดี สีโน
54
เกมแสนสนุกท้ายบทเรียน เกมแสนสนุกท้ายบทเรียน คาชี้แจง พิจารณาภาพ เพื่อหาเส้นทางให้สิงโตไปกินเนื้อให้ได้
โดย นางสาวมลฤดี สีโน
55
เกมแสนสนุกท้ายบทเรียน เกมแสนสนุกท้ายบทเรียน คาชี้แจง ให้นักเรียนหาเส้นทางเพื่อให้แม่ม้าตามหาลูกม้าให้สาเร็จ
โดย นางสาวมลฤดี สีโน
56
เกมแสนสนุกท้ายบทเรียน เกมแสนสนุกท้ายบทเรียน คาชี้แจง ให้นักเรียนหาจุดแตกต่างของภาพให้ครบ 4 จุด
โดย นางสาวมลฤดี สีโน
57
เกมแสนสนุกท้ายบทเรียน เกมแสนสนุกท้ายบทเรียน คาชี้แจง ให้นักเรียนหาจุดแตกต่างของภาพให้ครบ 5 จุด
โดย นางสาวมลฤดี สีโน
58
เกมแสนสนุกท้ายบทเรียน เกมแสนสนุกท้ายบทเรียน คาชี้แจง ให้นักเรียนหาจุดแตกต่างของภาพให้ครบ 4 จุด
โดย นางสาวมลฤดี สีโน
59
เกมแสนสนุกท้ายบทเรียน
โดย นางสาวมลฤดี สีโน
60