กลุ่มทวงคืนพลังงานไทย ที่อยู่ ๑๒๗/๗๑ หมู่บ้านเบญจพร ถนนสุขุมวิท มาบตาพุด ระยอง ๒๑๑๕๐ โทร-๐๖๔๖๙๑๔๙๒๕
๔ มิถุนายน ๒๕๖๒ เรื่อง ติดตามทวงคืนสมบัติชาติ ผ่านประธานสภาผู้แทนราษฎร ปี ๒๕๖๒ เรียน นายชวน หลีกภัย ประธานสภาผู้แทนราษฎร สืบเนื่องจากการอสัญกรรมของพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ และการติดตาม คุณูปการทีท่ ่านประธานองคมนตรีได้ดาเนินการมาในอดีต ซึ่งความตอนหนึ่งที่เกี่ยวข้อง กับ พัฒนาการในระบบพลังงานของชาติ ความว่า “ในยุคที่ท่านเป็นนายกฯ ด้วย โครงการพัฒนาแหลมฉบังทาให้เศรษฐกิจประเทศดีขึ้นเป็นลาดับ อีกทัง้ ยังพบแหล่งก๊าซ ธรรมชาติทสี่ าคัญ ... ... ตอนที่บริษัทยูโนแคลเจอก๊าซธรรมชาติแทนที่จะเป็นน้ามันดิบในอ่าวไทยนั้น บริษัทน้ามันทั่วโลกแทบจะไม่ให้ความสนใจกับก๊าซธรรมชาติเลย เพราะการขนส่งทาได้ ยากลาบาก ต้องลงทุนวางท่อซึ่งต้นทุนสูงมาก และท่อไม่มีความยืดหยุ่น ถ้าสร้างท่อเล็ก ก็ส่งได้น้อย พอมีก๊าซฯเพิ่มก็ส่งไม่ได้เกินขีดจากัดของท่อ ถ้าสร้างท่อให้ใหญ่ไปเลย ปริมาณก๊าซฯถ้ามีน้อยก็ทาให้ต้นทุนต่อหน่วยสูง เสียดอกเบี้ยมากเกินความจาเป็น ผู้ขาย ต้องสามารถส่งปริมาณก๊าซฯได้สม่าเสมอ คุณภาพของ ก๊าซฯต้องสม่าเสมอ ผู้ซื้อก็ต้องมี ความสามารถที่จะรับซือ้ ในปริมาณมากๆได้อย่างสม่าเสมอ และมีสถานะทางการเงินดี จ่ายได้แน่นอน ตรงเวลา ยูโนแคลไม่ต้องการลงทุนทาท่อส่งระยะยาวจากปลายอ่าวไทย มาขึ้นบกที่จังหวัดระยอง เพราะในสมัยนั้น การวางท่อส่วนใหญ่จะเป็นบนบก ซึ่งสะดวก ในการซ่อมบารุง และค่าใช้จ่ายถูกกว่ากันมาก เรื่องการเจรจาต่อรองได้ยืดเยื้อเป็นปีก็ไม่ สามารถตกลงกันได้...รัฐบาลประสพปัญหาที่บริษัทน้ามันต่างชาติซึ่งคุมตลาดน้ามันใน ไทยทั้งต้นน้า(สารวจและผลิต) กลางน้า(โรงกลัน่ ) และปลายน้า(จัดจาหน่าย) ถึง ๙๙% บีบให้ขึ้นราคาน้ามันขายปลีก พอรัฐบาลไม่ยอม ก็ไม่นาเข้าน้ามันเข้ามาขาย ก็เลยเกิด การขาดแคลนน้ามันในประเทศไทย องค์การเชือ้ เพลิงก็ช่วยอะไรไม่ได้มาก... ...พล.อ.เกรียงศักดิ์ ชมะนันท์และพล.อ. เปรม บอกว่าแบบนี้อยู่เฉยไม่ได้แล้ว จึง ได้เสนอออก พรบ.ปตท.ธันวาคม ๒๕๒๑ เพื่อรวมองค์การก๊าซธรรมชาติกับองค์การ ๑
เชื้อเพลิงเข้าด้วยกัน เพือ่ ให้ใหญ่พอที่จะมีอานาจต่อรองเพื่อประเทศชาติ เพื่อประชาชน ได้บ้าง ไม่ต้องตกอยู่ในอานาจของต่างชาติแต่ฝา่ ยเดียว” ท่อส่งก๊าซสายประธานหลักจากแปลงเอราวัณในอ่าวไทยขึ้นบกที่มาบตาพุด ได้ ประกาศโดยกระทรวงกลาโหม และกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กาหนดเขตระบบขนส่ง ปิโตรเลียมทางท่อในท้องที่ต่างๆ ลงนามโดยพลเอกเปรม ติณสูลานนทน์ รัฐมนตรี กระทรวงกลาโหม และนายประสิทธิ์ ณรงค์เดช รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม เมื่อ ๑๓ กันยายน ๒๕๒๒ หลังจากมีพระราชบัญญัติ การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๒๑ (วันที่ ๒๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๒๑) นั้น
ซึ่งชัดเจนว่า การก่อสร้างท่อส่งก๊าซสายประธาน (เส้นที่ ๑) ใช้เงินของรัฐบาลไทย ไม่ใช่เงินลงทุนของ บริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) ที่แปรรูป ในปี ๒๕๔๔ หลังโครงการ ท่อส่งก๊าซหลักเส้นที่ ๑ นานถึง ๒๓ ปี ดังนั้นท่อส่งก๊าซธรรมชาติสายประธานหลักเส้นที่ ๑ จึงมีลักษณะเป็น สาธารณสมบัติอันเป็นสมบัติของแผ่นดินโดยเฉพาะ ตามประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๓๐๔(๓) และโดย มาตรา ๑๓๐๕ ทรัพย์สินซึ่งเป็น สาธารณสมบัติของแผ่นดินนั้นจะโอนแก่กันมิได้ เว้นแต่อาศัยอานาจแห่งบทกฎหมาย เฉพาะหรือพระราชกฤษฎีกา, มาตรา ๑๓๐๖ ท่านห้ามมิให้ยกอายุความขึ้นเป็นข้อต่อสู้ กับแผ่นดินในเรื่อง ทรัพย์สินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน, มาตรา ๑๓๐๗ ท่าน ๒
ห้ามมิให้ยึดทรัพย์สินของแผ่นดินไม่วา่ ทรัพย์สินนั้นจะเป็น สาธารณสมบัติของแผ่นดิน หรือไม่ นั้น โดยปัจจุบันพบว่า ท่อส่งก๊าซสายประธานหลักต่างๆ ยังอยูใ่ นการครอบครอง ของเอกชนนามาหาประโยชน์ (บริษัท ปตท. จากัด มหาชน) ซึ่งย่อมไม่ชอบด้วยกฎหมาย กรณีการมีคาพิพากษาของศาลปกครองสูงสุด ที่ ฟ.๓๕/๒๕๕๐ เมื่อ ๑๔ ธันวาคม ๒๕๕๐ ที่มสี าระสาคัญสองประการคือ ให้คณะรัฐมนตรี นาส่งคืนทรัพย์สินที่ได้มาจาก การใช้อานาจมหาชน ซึง่ เป็นสาธารณสมบัติอันเป็นสมบัติของแผ่นดิน นาส่งคืนให้กับ กระทรวงการคลัง และนาคืนอานาจมหาชนจากบริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) แต่มติ คณะรัฐมนตรี เมื่อ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๕๐ ในหน้าที่ ๗ ที่ระบุทรัพย์สินในส่วนท่อส่งก๊าซ ธรรมชาติ ที่ตอ้ งนาส่งคืนให้กับกระทรวงการคลัง มีเพียง ๓ โครงการท่อส่งก๊าซบนบก มูลค่าทางบัญชีเพียง ๑๔,๐๐๘ ล้านบาท เท่านัน้ (ซึ่งเป็นความเท็จ)
เพราะศาลปกครองสูงสุดมีคาพิพากษาให้นาส่งคืนระบบขนส่งปิโตรเลียมทางท่อ ท่อส่งก๊าซและท่อส่งน้ามัน โดยคาพิพากษา หน้า ๘๓ ระบุวา่ ให้ผู้ถูกฟ้องที่ ๑ คือ คณะรัฐมนตรี มีหน้าที่โอนทรัพย์สินดังกล่าวกลับไปให้กระทรวงการคลัง
จากข้อมูลระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติสายหลัก ซึง่ เป็นท่อส่งก๊าซในทะเลจานวน ๘ โครงการ และท่อส่งก๊าซบนบกจานวน ๙ โครงการ ซึ่งปตท. นาส่งเพียง ๓ โครงการบน ๓
บกตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๕๐ หรือประมาณ ๑.๔ หมื่นล้านบาท เท่านั้น – ซึง่ ไม่ชอบด้วยข้อเท็จจริงและไม่ชอบด้วยคาพิพากษาฯ
(ภาพจากระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติในเวบไซต์ ปตท. ) โดยคาร้องรายงานสรุป ที่ปตท. เสนอศาลปกครองเมื่อ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๕๑ ใน หน้า ๔ ส่วนของการคืนทรัพย์สิน โดยระบุในรายงานดังกล่าวว่า
๔
ส่วนที่เป็นท่อส่งก๊าซธรรมชาติ มูลค่า ๑.๔ หมืน่ ล้านบาท ซึ่งเป็นโครงการตามมติ ครม. เท่านั้น ที่ปตท.ส่งคืน และส่งค่าเช่าให้กรมธนารักษ์ ตามคาร้องรายงานที่ปตท. เสนอศาลปกครอง ในหน้า ๕
ระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติในทะเล ๔๑๕ กม. และระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติ บนบก ๑๐๔ กม. โครงการเอราวัณ-โรงแยกก๊าซธรรมชาติ (ท่อเส้นที่ ๑) ทีเ่ ริม่ ดาเนินการก่อสร้างโครงการมาตั้งแต่ปี ๒๕๒๒ (ลงนามโดยพลเอกเปรม ติณสูลา นนท์) นั้น ปตท.จึงยังไม่ได้นาส่งคืนให้กับกระทรวงการคลังแต่อย่างใด และรวมถึง โครงการอื่นๆ เป็นท่อส่งก๊าซในทะเลอีก ๗ โครงการ และท่อส่งก๊าซบนบก ๕ โครงการ การที่ ปตท. ได้ส่งคาร้องรายงานการดาเนินการตามคาพิพากษาของศาลปกครอง สูงสุดในคดีหมายเลขแดงที่ ฟ.๓๕/๒๕๕๐ เมือ่ วันที่ ๒๕ ธันวาคม ๒๔๔๑ และ ศาล ปกครองสูงสุดโดยตุลาการเจ้าของสานวน (นายจรัญ หัตถกรรม) ได้ลงความเห็นด้วย ลายมือในเอกสารคาร้องร่ยงานดังกล่าว ความว่า “พิเคราะห์แล้วเห็นว่า ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๑ ถึงที่ ๔ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ดาเนินการตามดาพิพากษาเป็นที่เรียบร้อยแล้ว รายละเอียดปรากฏตามคาร้อง” เมือ่ วันที่ ๒๖ ธันวาคม ๒๔๔๑ นั้น จึงยังไม่ครบถ้วน ตามที่กล่าวมาแล้วข้างต้น เพราะยังไม่เคยปรากฎว่ามีการออกกฎหมายเฉพาะหรือพระ ราชกฤษฎีกาใดๆ ตามประมวลกฎหมายแพ่ง มาตรา ๑๓๐๕ ที่ให้โอนท่อส่งก๊าซ ธรรมชาติสายหลัก อีก ๑๔ โครงการ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติอันเป็นสมบัติแผ่นดิน โดยเฉพาะให้เป็นทรัพย์สินของปตท. ที่จะใช้เรียกประโยชน์จากค่าผ่านท่อแต่อย่างใด และการดาเนินการของศาลปกครองในการยกคาร้องต่างๆ ก็ไม่เคยชี้แจงอย่างใดในคา พิพากษาและคาสั่งว่า “ท่อส่งก๊าซในทะเล ๘ โครงการ และท่อส่งก๊าซบนบก ๖ โครงการ เป็นทรัพย์สินของบริษัท ปตท.จากัด (มหาชน) ได้อย่างใด” จึงขัดต่อประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๓๐๕ ทรัพย์สินซึ่งเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน นั้นจะโอนแก่กันมิได้ เว้นแต่อาศัยอานาจแห่งบทกฎหมายเฉพาะหรือพระราชกฤษฎีกา และมาตรา ๑๓๐๗ ท่านห้ามมิให้ยึดทรัพย์สินของแผ่นดินไม่ว่าทรัพย์สินนั้นจะเป็น สา ธารณสมบัติของแผ่นดินหรือไม่ ๕
จากเว็บไซต์ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิต ระบุว่า ค่าผ่านท่อที่ปตท.เรียกเก็บนั้น คือ ๒๑.๙๙ บาทต่อล้านบีทียู ซึ่งเป็นค่าคงที่ ไม่ได้ขึ้นลงตามราคาก๊าซธรรมชาติ
ค่าผ่านท่อก๊าซ ปีละมากกว่าสี่หมื่นล้านบาท จึงเป็นต้นทุนในราคาไฟฟ้าที่การ ไฟฟ้าฝ่ายผลิตเรียกเก็บจากประชาชน ทั้งยังเป็นต้นทุนรวมในราคาก๊าซธรรมชาติทสี่ ่งให้ โรงแยกก๊าซ แยกเป็นก๊าซหุงต้ม ขายให้กับประชาชน ทั้งประชาชนยังต้องจ่ายชดเชย ราคาก๊าซหุงต้มผ่านกองทุนน้ามันฯ (ก๊าซธรรมชาติ มากกว่า ๗๐% จากเอราวัณบงกช)
รายได้จากค่าผ่านท่อก๊าซ – (หน้า ๓๐ รายงานปตท.รางวัลคุณภาพแห่งชาติ เพื่อองค์กรที่เป็นเลิศ)
การไม่นาส่งคืนระบบท่อส่งก๊าซ จานวนหลายโครงการ และปล่อยให้เอกชนนามา ผูกขาดหาประโยชน์กับประชาชน จึงได้ถือว่า มีการกระทาในลักษณะฉ้อฉลและฉ้อโกง เบียดบังประชาชน มาตั้งแต่การแปรรูป การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทยเป็นบริษัท มหาชน จึงเป็นการดาเนินการที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย หรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ของ หน่วยงานรัฐ รวมถึงผู้ถกู ฟ้องคดีทั้ง ๔ ในคดีศาลปกครองสูงสุด หมายเลขแดงที่ ฟ.๓๕/ ๒๕๕๐ คือ คณะรัฐมนตรี, นายกรัฐมนตรี กระทรวงพลังงาน และบริษทั ปตท. จากัด (มหาชน) รวมถึงหน่วยงานที่มีหน้าที่ถอื ครองสมบัติแผ่นดิน คือ กระทรวงการคลัง การ ดาเนินการของศาลปกครองที่ขาดความถี่ถ้วนระมัดระวังในการมีคาสั่งต่างๆ เพราะมีคา ร้องคาฟ้องขอให้ศาลปกครองหยิบยกเรื่องขึ้นพิจารณาใหม่ ซึ่งได้ยกคาร้องทั้งหมด และ ศาลปกครองก็ไม่มีอานาจตามกฎหมายที่จะโอนทรัพย์สินซึ่งเป็นสาธารณสมบัติของ ๖
แผ่นดินให้กับเอกชนแต่อย่างใด ล่าสุดคณะรัฐมนตรีมีมติลับให้สานักอัยการสูงสุดส่งเรือ่ ง ให้ศาลปกครองพิจารณาใหม่ เมื่อ ๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐ ขัดแย้งกับมติเดิม เมื่อ ๒๗ กันยายน ๒๕๕๙ “เพื่อประโยชน์แผ่นดิน ให้ดาเนินการนาคืนท่อก๊าซตามมติสตง.เมื่อ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๕๙” จึงขอให้สภาผู้แทนราษฎรเร่งรัดดาเนินการให้มตี รวจสอบ และนาคืนมาให้เกิด ประโยชน์กับแผ่นดิน ให้เกิดความถูกต้องตามกฎหมายและความชอบธรรม เพราะค่า ผ่านท่อกระทบโดยตรงกับประชาชน และรัฐเองก็ไม่ได้รับประโยชน์เต็มจานวน หรือ เหมาะสมกับการนาสมบัติแผ่นดินมาแสวงประโยชน์จนมีผลทาให้ราคาพลังงานทั้งระบบ แพง ทั้งยังต้องพิจารณาชดเชยชดใช้จากการที่ต้องซื้อใช้พลังงานในราคาที่ไม่เป็นธรรม อย่างต่อเนื่องยาวนานมาตั้งแต่ปี ๒๕๔๔ หลังการแปรรูปการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย เพื่อให้รัฐสภาปี ๒๕๖๒ เร่งรัดนาคืนสมบัติของชาติอันเป็นคุณูปการอันใหญ่หลวง ด้านพลังงานชาติของพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ และให้มีการจัดตั้งคณะกรรมาธิการร่วม สองสภา เพื่อติดตามตรวจสอบและดาเนินการให้เกิดความถูกต้องตามคาพิพากษาศาล ปกครองสูงสุด คดีหมายเลขแดงที่ ฟ.๓๕/๒๕๕๐ โดยนาคืนสาธารณสมบัติอันเป็นสมบัติ แผ่นดิน เพือ่ ประโยชน์ชาติและประชาชนสืบต่อไปฯ ด้วยความนับถือ นายศรัลย์ ธนากรภักดี ผู้ประสานงานกลุม่ ทวงคืนพลังงานไทย พท.แพทย์หญิง กมลพรรณ ชีวพันธ์ศรี ผู้ประสานงานกลุม่ คปป. และประชาชน ผู้สนใจปัญหาผลกระทบจากพลังงานไทยทีไ่ ม่เป็นธรรมฯ
๗
เอกสารแนบท้าย หนังสือร้องเรียน ๑. คุณูปการด้านพลังงานไทย ของพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ๒. บางส่วน คาพิพากษาศาลปกครองสูงสุด และการนาส่งคืนท่อก๊าซ ๓. ค่าผ่านท่อที่ กฟผ.จ่ายให้ปตท. ๔. ค่าผ่านท่อ และกาไร จากรายงานปตท. รางวัลคุณภาพแห่งชาติ ปี ๒๕๕๓ ๕. การวางท่อก๊าซธรรมชาติ และแนวท่อส่งก๊าซสายหลัก ของ ปตท. ๖. สาเนา การแจ้งความดาเนินคดี “ฐานความผิดยักยอกสมบัติชาติ” สถานีตารวจ มาบตาพุด ระยอง วันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๖๒ ๗. สาเนา คาฟ้องศาลปกครองกลาง “ทวงคืนระบบท่อน้ามัน” เมื่อ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๖๒ คดีหมายเลขดา ๘. สาเนาคาพิพากษาศาลปกครองสูงสุด วันศุกร์ที่ ๑๔ ธันวาคม ๒๕๕๐ ๙. สาเนามติครม. ตามหนังสือด่วนทีส่ ุด ก.พลังงาน วันจันทร์ที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๕๐ ๑๐. สาเนา คาร้องรายงานปตท.เสนอศาลปกครองสูงสุด ๒๕ ธันวาคม ๒๕๕๑
๘