ปตท.คอร์รัปชั่น ทิ้งภัยเสี่ยงให้ชุมชน

Page 1

ปญหาการคอรรัปชั่น ที่ มาบตาพุด ระยอง ของ พนง.รัฐวิสาหกิจ และพนง.เจาหนาที่รัฐ สรางภัยเสีย่ ง ใหประชาชน-ประเทศชาติ นําเรียนเสนอ

พณ.ทานนายกรัฐมนตรี นางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร ผานเวบไซด - http://www.stopcorruption.go.th/

โดย กลุมพิทักษอากาศสดชื่น มาบตาพุด 24 สิงหาคม 2555


คอรรัปชั่น ทิ้งภัยเสี่ยงใหชุมชน ประชาชน ประเทศชาติ

โรงงานวัตถุอันตราย ไมตอกเสาเข็ม อายุใชงาน 30-40 ป จะทรุดพังปไหน อยูติดตลาด อยูตรงกลางระหวางชุมชน ที่มโี รงงานวัตถุอันตราย และสารไวไฟ รายลอมอยูจํานวนมาก

พนง.เจาหนาที่รัฐ หนวยงานรัฐ ปลอยปละละเลย ใหมีการสรางทํา โรงงานวัตถุอันตราย เสี่ยงทรุดพัง อยูใกลตลาด อยูตรงกลางระหวางชุมชน...ผิดมั้ย กม. ใครบอกไดบางไมตอกเสาเข็มทั้งโรงงานมันปลอดภัยดีหรือ - ไมใชแคปญหาปายโฆษณาเสี่ยง เพราะลมพัง สรางปญหาทั้งตําบล – ๐ พรบ. โรงงาน ป 2535 อาคารโรงงาน ตองสรางทําให “มั่นคงแข็งแรงเหมาะสม” ซึ่ง กม.ไมไดระบุวา ตองสรางตาม พรบ.ควบคุมอาคาร เพราะ มาตรฐานของอุตสาหกรรมตางๆนั้น ตองการความมั่นคงแข็งแรง ของโครงสรางตางกัน ใน การสรางอาคารสวนผลิต หรือสวนเก็บกัก ของอุตสากรรมพลังงาน น้ํามันและกาซ ซึ่งกําหนดคาทรุดตัวตางกันที่ ยอมรับได ใหทรุดไดนอยมาก 5-15 มิลลิเมตร (0.5-1.5 เซนติเมตร) เทานั้น ซึง่ เปนขอกําหนดของ ปตท. หรือ เทียบเทา มาตรฐานสากลทั่วไป หรือเทียบกับความหนาของตลับยาหมอง เสมือนไมยอมใหทรุดไดเลยนั้น...แลว ทําไม ไมตอกเสาเข็มทั้งหมด อายุใชงาน 30-40 ป จะทรุดพังปไหน และถาในฤดูฝนนี้ละ ทันการณ ทันเวลาหรือไม แกปญหา ดวยหลักวิชาหลักเหตุผล เกิดเหตุภัยรายแรง กระทบความมั่นคงของชาติ ๐

1


ฐานรากที่ไมยอมใหทรุดไดเลยนั้น มาจากเหตุผลที่วา “การคํานวณในสวนของ ระบบทอกาซเหลวทีโ่ ยงใยกัน ยั้วเยี้ยนั้น ประกอบดวยขอตอ จํานวนมาก ประกอบดวยวาลวตางๆ วาลวควบคุม วาลวตรวจสอบ วาลวลดเพิ่มความดัน ความดันของกาซเหลวในทอ อุณหภูมท ิ ี่แตกตาง-เพิ่มลด มีทั้งรอนจัด ทัง้ เย็นจัด แรงดึง แรงสั่น แรงการจากไหล ศึกษาเพื่อไมใหเกิดการรั่วไหลซึ่งนั่นหมายถึงความเสียหาย ที่อาจทําใหเกิดไฟไหมระเบิดได หรือแพรกระจายสารพิษ ที่เปนอันตรายเฉียบพลันได” การทรุดของฐานยึดตางๆ ทําใหเกิดแรงเฉือนแรงบิดโมเมนตมหาศาล ซึ่งแรงตางๆ นี้ คํานวณไมได ไมมีขนาดทีช ่ ัดเจน ดังนัน ้ มาตรฐานในการสรางทํา โรงงานที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมพลังงาน จึงถูก กําหนดใหการทรุดตัวทีย ่ อมจะเกิดขึ้นนอยมาก เสมือนหนึ่งวาไมยอมใหทรุดไดเลย ซึ่งตรงนี้ เปนเหตุผลวา ทําไม พรบ.โรงงาน จึงไมไดบอกวา “การสรางทําอาคาร ใหอิง พรบ.ควบคุมอาคาร ป 2522” เพราะตองสรางทําใหเหมาะสม กับความตองการตามมาตรฐานของอุตสาหกรรมนั้นๆ ซึง่ ไมไดกําหนดไว ใน พรบ.ควบคุมอาคาร ซึง่ เปนมาตรฐานที่ ระบุใหใชทั่วไป การทรุดเกิดขึ้นแลวหรือไม - ระหวางที่ทําการติดตัง้ เครื่องจักร ในโรงแยกกาซใหม ของ ปตท. มีการทรุด และรื้อ ซอมใหม มากกวา 10 จุด และกอนที่จะมีการทดสอบระบบ มีการตรวจสอบเบื้องตน พบวา มีการทรุดตัวตางกันเกินคา ทรุดตัวที่ยอมรับได คือ 5มิลลิเมตรไปแลว ในหลายจุด จากรายงานการทดสอบ เพียง 20 ฐานราก จากทั้งหมด มากกวา 2,000 ฐานราก เมื่อ เดือนมกราคม 2553

การประเมินอันตรายรายแรง - โรงแยกกาซ ปตท. การประเมินอันตรายรายแรง

เมื่อไมตอกเสาเข็มทั้งหมด และมีขอกําหนดความทรุดตัวตางกันนอยมาก 0.5-1.5 ซม.เทานั้น ที่จะไมกระทบกับทอ และขอตอตางๆ อุปกรณตางๆ ที่จะทําใหเกิดกาซแตกรั่วได โอกาสเกิดการรั่วไหลรุนแรงจึงมีโอกาสสูงมาก เพราะการ ไมตอกเสาเข็มทัง้ โรงแยกกาซที่ 6 และโรงแยกกาซอีเทน ดังนั้นที่ทําการศึกษาประเมินบงชี้ความเสี่ยง การศึกษา HAZOP ที่ไมไดอางอิงการทรุดของฐานรากตางๆ เอาไวดว ย วัสดุ อุปกรณตางๆ ยอมอยูในความไมแข็งแรง ทัง้ ระบบ

เมื่อมีการเสี่ยงทรุดของฐานราก 2-3 พันตัว ไมใชเรื่องสภาวะแวดลอมกลไกภายนอก หรือจากเหตุไมคาดฝน จากพายุ รอยป แผนดินไหวอะไรนั่น แลวทําไมตองปลอยใหมีความเสี่ยงมหาศาล กับ พนง.ปตท. เอง กับประชาชนชาวบาน ประเทศชาติ ...กรมโรงงาน และผูเ กี่ยวของ ตองให ปตท. ประเมินความเสี่ยงของทุกโรงงานใหมท้ง ั หมด และทําการซอมสรางใหเปนไปตาม "มาตรฐานสากล" ของ ทอ-ขอตอ-วาลว และวัสดุอุปกรณอื่นๆ

2


อันตรายและความรุนแรง จาก ตารางรัศมีการไดรับผลกระทบ กับแผนที่ จะพบวา ในรายงาน ปดความจริงในสวนของผลกระทบพื้นที่ครอบคลุมทั้งตลาด และหลายชุมชน

ระยะ 600 ม. รัศมีเหตุรุนแรง ผลกระทบตอคน ซึ่งคน 100% ตายภายใน 1 นาที

3


ระเบิดแบบ LPG BLEVE โอกาสเกิดนอยมากจริงหรือ ที่ระยะ 600 ม. รัศมีเหตุรุนแรง สงผลกระทบตอคน คน 100% ตายภายใน 1 นาที โอกาสในการระเบิด 6 ใน 1,000,000,000 ซึ่งยากมาก แตการสรางทําโดยไมมั่นคงแข็ง แรง ฝนตกหนัก พายุลมแรง จะลมพังสรางภัยหรือไม โอกาสการเกิดมาจากสถิตใิ นหนังสือนั้น เชื่อถือไดแคไหนกอในเมื่อเมืองไทย 2 เดือน 2 ครั้ง วันที่ 5-5-55 โรงงาน บีเอสที มาบตาพุดระเบิด และ วันที่ 4-7-55 โรงกลั่นบางจากระเบิด...และจะเมื่อไหรที่ไหนอีก - โอกาสเกิดการรั่วไหลของโปรเพน / LPG เทากับ 6 ในลาน ครั้ง/ป (เชื่อไดหรือ ทํารั่วไหลกันประจํา) - โอกาสเกิดการรั่วไหลของกาซโซลีนธรรมชาติ เทากับ 2 ในแสน ครัง้ /ป (เชื่อไดหรือ ทํารั่วไหลกันประจํา) * ระดับความรอน - ผลกระทบตออุปกรณ ผลกระทบตอคน * ในรัศมี 2 กิโลเมตร ครอบคลุม ชุมชน และโรงงานอื่นๆจํานวนมาก จะมีคน 1 % ตายภายใน 1นาที ที่เหลือ 99 % หมายถึง การตาย หรือบาดเจ็บ ไมใชถูกประเมินวา จะตายแค 1 % ที่เกิดขึ้นที่เม็กซิโก ตายหลายรอยคน บาดเจ็บ หลายหมื่น บาดเจ็บสาหัสหลายพันคน บานเรือนถูกเผาวอดวาย ตรงนั้นมีเพียง 1 ใน 7 ของคลังกาซ ปตท. เสี่ยง และตรงนี้คือ อันตรายที่ยังไมรวมถึงอันตรายจากแรงอัดของระเบิด แคกรณี LPG BLEVE 1 ถัง ใน 12 ถัง ขนาดใหญ

แบบกอสราง โรงแยกกาซใหม ปตท.เสี่ยง ไมมีมาตรฐานการกอสราง ที่อางวา มีฝรั่งเปนวิศวกรที่ปรึกษา แลวมีมาตรฐานสูงจึงไมเปนความจริง เกิดเหตุภัยแลว ประชาชนชาวบานตื่นกลัว แมไมเจ็บตาย คนอยูรอบโรงงานเสี่ยงภัย ไมใชผูมีผลกระทบหรือ ทีท ่ ําไมคน กทม. อยากใหรื้อโรงกลัน ่ บางจาก

อางมีตา งชาติมาสรางทํา จางฝรั่งเปนวิศวกรที่ปรึกษา จึงมีมาตรฐานสูงระดับโลก ทัง้ ที่แบบกอสรางทั้งหมด ไมมีขอมูลกําหนด วาดินตองบดอัดใหแข็งแรงแคไหนอยางไร แลวจะสรางทําไดแบบไหน ใหดน ิ รับแรงไดตรง กับการออกแบบ ศาลปกครอง อางวา ไมผิด กม. แลวถูก กม. แบบไหนทีโ่ รงงานวัตถุอันตราย สรางทํากันแบบนี้

4


แบบกอสราง - โรงแยกกาซใหม ของ ปตท. ซึ่งแบบของโรงแยกกาซที่ 6 และโรงแยกกาซอีเทน ลักษณะคลายคลึงกัน ผูรับเหมาหลัก เดียวกัน เวลาการกอสรางชวงเดียวกัน งานฐานรากตางๆ มิ.ย.51-พ.ย.51 ระยะเวลา 5.5 เดือน ฐานรากทั้งหมด เปนฐานรากตื้นไมมีเสาเข็ม ในสวนโครงสรางรับระบบทอเปนฐานรากหลอสําเร็จ แตโรงแยกกาซอีเทน ขออนุมัติโครงการกอน จึงไมไดถูกระงับ (แบบที่ใชในการกอสราง ทั้งหมดจะไมมีการลงนามอนุมัติ ตางกับแบบกอสรางในระบบราชการ) สังเกตุดา นขวาของแบบซึ่งระบุชนิดและความแข็งแรงของคอนกรีตและเหล็กเสริม แตไมมีการระบุความแข็งแรงหรือความหนาแนนของดิน เพราะชนิดและความแข็งแรงของวัสดุเปนการกํานดจากการออกแบบฐานราก (วัสดุเกี่ยวของกับงานฐานราก - ความแข็งแรงของดินหรือเสาเข็ม, คอนกรีต และเหล็กเสริม)

แบบฐานราก-ถังเก็บสารเคมีเหลว

แบบฐานราก-ถังเก็บกาซทรงกลม ขนาด 6,000 ม3

5


แบบฐานราก-หอตม/หอความดัน ความสูง 40-50 ม. (ลดหลั่น)

แบบฐานราก-โครงสรางรับระบบทอ ความสูง 21-24 ม.

แบบโครงสรางรับทอ

6


คากําหนดมาตรฐานการทรุดตัวที่ยอมรับได ในการออกแบบกอสรางฐานรากคอนกรีตและพื้นคอนกรีต โดย กําหนดคาทรุดตัวที่ยอมรับไดนอยมาก เพียง 5-15 มม. หรือ 0.5-1.5 ซม. หรือหนาเทาฝายาหมองตราลิงถือลูกทอ สําหรับการทรุดตัวทัง้ หมด และคาทรุดตัวตางกัน ถานึกไมออกวา การทรุดตัวตางกันเปนแบบไหน ใหนึกถึงถังซักผา ตอนที่ฐานถังวางเอียง ถังจะสั่นแรงมากมีเสียงดังมาก จนบางครั้งเครื่องอาจหยุดทํางาน เพราะมอเตอร รอนจัด - การ ทรุดตัวไมเทากัน จะทําใหเกิดแรงบิดมหาศาล กรณีที่มีระยะหางนอยและมีการทรุดตัวมาก ทออาจบิดตัวจนฉีก หรือ ขอตอตางๆ หลุดหลวม เยื้องศูนย ซึง่ การระงับเหตุทําไดยากยิ่ง กรณีที่รั่วบริเวณขอตอหรือวาลวควบคุม ในกรณีทท ี่ อ น้ําแตกรั่วไหลยังตองใชเวลานานในการซอม น้ํายังเจิง่ นองไปทั่ว แตถาลองนึกถึงกาซไวไฟรั่ว หรือทอสงกาซ อันตรายรั่วแบบควบคุมยาก จึงเปนที่มาวา “มันจะเกิดเหตุไฟไหม และระเบิดอยางไร”

การทดสอบดินงายๆ แบบนี้ 5 จุด บอกวา ดินแข็งกวา โรงงานอื่นๆ ที่อยูติดกัน

อายุการใชงานโรงงาน ยาวนาน 30-40 ป จะทรุดพังวันไหน !? แคทรุด ... ทําไมเสี่ยง! ไฟไหมระเบิดควบคุมไมได ดูภาพแลวลองจินตนาถึงเหตุตางๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น ซึ่งไมใช แคผนังราวปูนแตก กาซแอลพีจีทรี่ ั่วออกมา มีอัตราการขยายตัว 250 เทา และหนักกวาอากาศ จะไหลลงสูท  ี่ตํา่ สามารถเกิดระเบิดที่จุดที่เกิดการรั่วไหล เพราะจะควบแนน ปดบริเวณรูรั่วกอนที่จะเกิดการระเบิดและติดไฟ ซึ่งเมื่อเปน กลุมไฟ จะขยายตัวจากกีาซอีก 250 เทา แลวใหนึกภาพทอตางๆ ขนาดใหญ คลังกาซแอลพีจี ที่มากถึง 4 พันคันรถ

7


แบบฐานรากของโรงแยกกาซที่ 6 ซึ่งไมมข ี อมูลความสามารถรับน้าํ หนักดิน ไวเลยทั้งที่เปนฐานรากตืน ้ (ปกปดขอมูล) คารับน้าํ หนัก ทีใ่ ชเทียบเทากับการสราง ทําบนดินที่มีลก ั ษณะเปน หินปูนหินทราย ที่เปนผลมาจากการทดสอบดินแบบงายๆ แตนํามาออกแบบ โรงงานวัตถุอน ั ตราย ที่ มีคลังกาซไวไฟมากมายมหาศาล “สรางทําปลอดภัยหรือ มักงายสราง”

8


9


คนไทย จะอยูกันไป แบบนี้หรือ (ที่สื่อกันในสังคมออนไลน กับจิตสาธารณะแบบไทยๆ) คนไทย เราจะอยูกันแบบนี้หรือ ประเทศไทยมีกฎหมายมากมายใชควบคุมกํากับ มีหนวยงานเจาหนาที่รัฐกอมากมาย มีสื่อมวลชนอางตัวอางตนกันวาดีก็มีเยอะ มีศาลปกครอง ทีอ ่ างกันวา เปนที่พงึ่ พาของประชาชน ตาม รธน.ฯ ๐ หายนะซ้ําซากของประชาชน เกิดเพราะใคร อะไร รูปเชิงประจักษนี้ บอกอะไร เราๆทานๆ จะปลอยใหบานเมืองไทย อยูกันไปแบบนี้หรือ สึนามิ ครากอน ลมตายหลายพัน ก็เพราะไมสนใจใสใจ มาวันนี้ จะรอ บทเรียนชอกช้ํา ใหเกิดซ้ําๆ อีกหรือ...ที่ไมใชแค ชาวบานมาบตาพุด บาดเจ็บลมตาย ประเทศชาติสอแววหายนะเลยนะครับ ถาระงับไมได เอาไม อยู ลองใช คําวา “ถา...แลวอะไรจะเกิดขึ้น” WHAT-IF วิธีงายๆใชประเมินบงชี้อน ั ตราย กับ คลังกาซแอลพีจี 4 พัน คันรถ กับโรงแยกกาซใหม ปตท. ที่ไมตอกเสาเข็มทั้งหมด โรงกลั่น-โรงไฟฟา-โรงงานสารเคมีอันตราย-วัตถุไวไฟ มากมายที่รายลอม ถาลุกลามไหมไฟ ระเบิดไปดวยกัน อะไรมันจะเกิดขึ้น กับประเทศไทยที่รักของเรา !?

พรบ. โรงงาน ป 2535 อาคารโรงงาน ตองสรางทํา “ใหมั่นคงแข็งแรงเหมาะสม” ซึ่ง กม.ไมไดระบุวา ตองสรางตาม พรบ.ควบคุมอาคาร เพราะ มาตรฐานของอุตสาหกรรมตางๆ ตองการความมั่นคงแข็งแรง ของโครงสรางตางกัน ในสวนอาคารสวนผลิต หรือสวนเก็บกัก ของอุตสากรรมพลังงาน น้ํามันและกาซ ซึ่งกําหนดคาทรุดตัวตางกันที่ยอมรับได ใหทรุดไดนอยมากเพียง 5-15 มิลลิเมตร หรือ 0.5-1.5 เซนติเมตร เทานัน ้ เปนขอกําหนดของ ปตท.ที่เขียนขึน ้ เอง หรือเทียบเทามาตรฐานสากลทั่วไป ๐ เกิดเหตุแลว น้ําตาไมชวยอะไร เทียนไฟ ดอกไม อะไรๆ ไมตอ  งเอามาทําทาระลึกนึกถึง วันนีท ้ ี่ควรชวยกันระงับ เหตุ แตกอไมทําอะไรอยางไรกัน ชางมรึง ชางแมรง ชางมันกันไปหมด แลวไหนละ ทีบ ่ อกวา “คนไทยไมทิ้งกัน” ๐ กรณีการระเบิดแบบ LPG BLEVE ของ ถังเก็บลูกโลก 4,000 ม3 ระดับความรอน 37.5 (kW/m 2 ) รัศมี 0.6 กม.จากโรงแยกกาซที่ 6 ผลกระทบกับคน 100% ตาย ภายใน 1 นาที / 1% ตาย ภายใน 1 วินาที ประชาชนชาวบาน มากแคไหน ในรัศมี 1 กม. ของ โรงแยกกาซ ใหม ที่ 6 ที่ ตุลา การศาลปกครอง อางวา เสี่ยงตาย 100% แบบนี้ ไมมีผลกระทบ กับโรงงานเสี่ยงทรุดพัง ที่มีคลังกาซไวไฟจํานวนมหาศาล ที่อยูตรงกลางระหวางชุมชน-และโรงงานอืน ่ ๆ จํานวนมาก ฯ

๐ ศาลปกครองที่พึ่งของประชาชน โดยตรงตามรัฐธรรมนูญ ไมดูขอ กม.โดยถี่ถวน แตจะเปนแค นายประกัน ให ปตท. หนวยงานรัฐปลอยปละละเลย มักงายไมรอบคอบปลอยใหสรางทํา โรงงานวัตถุอันตราย ไมตอกเสาเข็ม หลาย โรงงาน ในมาบตาพุด "มั่นคงแข็งแรงเหมาะสม และไววางใจได" แคไหน กม. พรบ.โรงงาน พรบ.วัตถุอน ั ตราย ป 2535 มีอยู แตทําไมรไู มสนใจ ศาลปกครอง ทําตัวใหประชาชนพึ่งไมได กลับทิ้งภัยใหประชาชนอีก แบบนี้ "ละเวน การทําหนาที่โดยสุจริต" หรือไม!? – เมื่อขบวนการศาลเลือกใชชองโหวของ กม. แลวทิ้งภัยใหประชาชนชาวบาน ๐ ๐ วันที่ ศาลปกครอง รูสก ึ สั่นคลอน และมีความเสี่ยง อางวามีกลุมคนจะจองรือ ้ ลม พวกทานเรียกรองใหสื่อ ให ประชาชนชวย เพื่อชวยกันรักษาพวกทาน องคกรทานไว อางวา เพื่อเปนทีพ ่ ึ่งพาของประชาชน ดํารงความเปนธรรม ชอบธรรม สรางความปลอดภัยผาสุกใหสังคม แตครั้นเมื่อประชาชนเสี่ยงเจ็บตายตื่นกลัว ทานกลับบอกวา “ประชาชน ไมมีสิทธิ จะกลัวเจ็บกลัวตาย” ทั้งทีเ่ มื่อเกิดเหตุรายแรงแลว ก็ไมมีหนวยงานไหนดูแลประชาชนได แมกระทัง่ ขบวนการศาลปกครอง ก็ไมเคยเอยถึงเรื่องทีเ่ กิดขึ้น และยังซ้ําเติมดวยการทิ้งประชาชนใหเสี่ยงเจ็บตายไดอีก ๐ * ประชาชนชาวบาน ไมมท ี ี่พึ่งแลว จริงๆ หรือ? *

10


เหตุโรงงาน บีเอสที มาบตาพุดระเบิด เมื่อวันที่ 5 พ.ค. 55

๐ เกิดเหตุภัยแลวระงับไมไดเอาไมอยู ถาไมมีฝนชวย ซ้ํารายยังปลอยทิ้งใหชาวบานใหตาย ไมมีสัญญาณเตือนภัย ไมมีการแจงเตือน แจงภัย แจงใหอพยพ ทุกฝายอางวาไมมีอํานาจหนาที่ ไมมีใครกลาสัง่ ถาประชาชนเจ็บตายจํานวนมาก กอคงแคโยนกันไปมา เมื่อสรางทํากัน “ไมมั่นคงแข็งแรงและไมเหมาะสม ไมตอกเสาเข็มทัง้ หมด ทรุดพัง กาซรั่วไฟไหมระเบิด ลุกลาม สรางภัยหายนะ” เปนเพียงการคาดการณ จินตนาการเกินจริง หรือ คนมาบตาพุดไมมีสท ิ ธิ์กลัวเจ็บกลัวตาย หรือ ๐ ** โอกาสของการเกิดเหตุนอยมาก มีเพียง 1.2 ในรอยลาน ครั้งตอป ปนี้คนไทยไดเห็น 2 ครัง้ **

เหตุโรงกลั่นบางจากระเบิด เมื่อวันที่ 4 ก.ค. 55

* ผูวา กทม. ใช พรบ.ปองกัน-บรรเทาสาธารณะภัย สัง่ รื้อปายเสี่ยงที่อนุมัตถ ิ ูก กม. ... ซึ่งโรงงานเสี่ยงภัย ใช กม.ฉบับเดียวกัน สั่งไลรื้อได เปนภัยตอความมั่นคงของชาติ ถาโรงแยกกาซใหม ปตท.ระเบิด*

* ปตท. อางวามีตางชาติมาสรางทํา จางฝรั่งเปนวิศวกรที่ปรึกษา จึงมีมาตรฐานสูง ระดับ โลก ทั้งที่แบบกอสราง ทั้งหมด ไมมีขอมูลกําหนด วาดินตองบดอัดใหแข็งแรงแคไหน อยางไร แลวจะสรางทําไดแบบไหน ใหดินรับแรงได ตรงกับการออกแบบ ศาลปกครอง อางวา ไมผิด แลวถูกแบบไหน โรงงานวัตถุอันตรายสรางทํากันแบบนี้ * โครงการ โรงแยกกาซที่ 6 และโรงแยกกาซอีเทน ของ ปตท. บ.SAMSUNG เปนผูร บ ั เหมาหลัก บ.FOSTER WHEELER เปนวิศวกรทีป ่ รึกษา บ.อิตาเลี่ยนไทย ผูรับเหมายอยงาน ฐานราก - กลุมผูรองเรียน เปนวิศวกรโยธา ที่กอสรางฐานรากเสี่ยง กับสํานึกที่จะลบภัยที่จะเกิดแกสาธารณะ

11


๐ มองยาก เขาใจยากแบบไหน หอความดันสูง หอแยกกาซ กลั่นกาซ ฐานรากไมตอกเสาเข็ม มั่นคงแข็งแรงเหมาะสม และนาไววางใจหรือ ๐

๐ ปายโฆษณาลมทับคนตาย เปนเหตุรายแรงที่สุดในเรื่องปายเสี่ยง กรณีโรงแยกกาซใหมเสี่ยง นั้น... เหตุรายแรงทีส ่ ุดคือ “คลังกาซระเบิด” เพราะสรางทําไมมั่นคงปลอดภัย เชื่อแคไหน เกิดเหตุภัยแลวจะเอาอยู ๐ * เกิดภัยรายไมใชแคปญ  หาปายโฆษณาเสี่ยงลมพัง แตจะสรางหายนะภัยใหหลายชุมชน และประเทศชาติดวย *

12


ประธานเจโทร (กรุงเทพ) เคยหวัง … วา นายอภิสิทธิ์ สมัยที่เปน นายกรัฐมนตรี จะดําเนินการเรื่องนี้อยางเหมาะสม แตนายอภิสิทธิ์ กลับไมดาํ เนินการอะไร เลย ทัง้ ทีไ่ ดรบ ั หนังสือรองเรียนเรื่องนี้ 2 ครั้งกับมือ แตไปใหสัมภาษณวา...จะเรงรัดจัดทํา “สัญญาณเตือนภัย” ขอมูลอางอิง เชิงประจักษ ที่ทําไม ตองตรวจสอบเสริมสราง โรงงานจํานวนมาก ของ ปตท. ในมาบตาพุด ทีไ่ มตอก เสาเข็มฐานรากทั้งหมด มีรายละเอียด ใน http://khonmaptaphut.blogspot.com/2011/06/blog-post.html

แม ปตท. สงแมบานมาสกัด แตนายอภิสิทธิ์ ไดรับรูขอมูลทัง้ หมดแลว เมื่อ 16 ม.ค.2553 http://airfresh-society.blogspot.com/2010/06/blog-post_08.html

แมจะรับหนังสืออีกครั้ง เมื่อ 20 พ.ย. 2553 แตก็ยังคงเฉย ไมสั่งการอยางใด เรงรัดสัญญาณเตือนภัยซ้ําอีก http://maptaphut-news.blogspot.com/2010/11/20-53.html 21.50 น. วันที่ 11 มิ.ย. 54 นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหนาพรรคประชาธิปตย ไดเดินทางไปยังสนามกีฬาจังหวัด ระยอง เพื่อขึ้นปราศรัยใหญของพรรคประชาธิปตย ชวยผูส  มัคร ส.ส.ภาคตะวันออก โดยมีประชาชน ประมาณ 3,000 คน มารอฟงการปราศรัย ทั้งนี้ นายอภิสิทธิ์ ไดย้ําถึงนโยบายเพื่อประชาชนของพรรคประชาธิปตย อาทิ แนวทางการ แกปญหาของพืน ้ ทีโ่ ดยเฉพาะปญหาวิกฤตินิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ที่มีผลกระทบตอสภาวะแวดลอมของรัฐบาลที่ ผานมาที่สามารถหาความสมดุลใหกับภาคอุตสาหกรรมและสิ่งแวดลอม โดยนายอภิสิทธิ์ กลาววา “ความปรองดองที่ ตองการอยูในทุกวันนี้ ตองมาดูจากการแกปญหาของมาบตาพุดเปนตัวอยาง” -(เกิดภัยแลว สัญญาญเตือนภัยไมดงั ) *อดีตนายก อภิสิทธิ์ แจงวา “แกปญหามาบตาพุดเบ็ดเสร็จสําเร็จ” ... แตปลอยใหชาวบานเสี่ยงตายกันไป * แบบนี้มั้ย ทําไมบอกวา "นายกอภิสิทธิ์เลือดเย็น" ทั้งที่ มีอํานาจที่จะสั่งใหมีการตรวจสอบซอมสราง ตาม พรบ. ปองกัน และบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ ป 2550 และ พรบ.ความมั่นคงภายใน ป 2551 ที่ใหอํานาจเต็มไวฯ

13


จดหมายตอบจาก เจโทร(กรุงเทพ) เรื่องโรงแยกกาซ ปตท. เสี่ยง Letter to JETRO (BANGKOK) and His Reply http://khonmaptaphut.blogspot.com/2010/08/letter-to-jetro-bangkok.html ประธานเจโทร กรุงเทพ ใชเวลาเพียง 2 วัน ในการเรงรัดตอบจดหมาย ที่ทางกลุมสงไปใหรับรู และชวยหาทางแกไข ทําไมคนญี่ปน ุ ใหความสนใจ แตทําไมคนไทย พากันเย็นชาเฉยชานิ่งเฉยกันหมด ... ฯ

ประธานคณะกรรมการบริหาร เจโทร (กรุงเทพ) องคการสงเสริมการคาตางประเทศของญี่ปุน

Munenori Yamada President, JETRO Bangkok บางสวนของจดหมายตอบกลับ … “We assure you that we are committed to indicated rules and regulations, and we do not compromise any safety standards. In your email, you have delivered your concern to PM Abhisit and other ministers. We, Japanese and Japanese business community who enjoy staying in our great Thailand, strongly hope that Thai government will make proper actions on this issue. “ .... “ในอีเมลของคุณ คุณไดสง ให นายกอภิสิทธิ์ และรัฐมนตรีหลายทาน รวมทั้งผูเกี่ยวของตางๆ ไปแลวนั้น เราชุมชน ธุรกิจญี่ปน ุ และญี่ปุนทีไ่ ดอยูในประเทศไทยไดอยางดีและมีความสุข เราหวังอยางสูงยิ่งวา รัฐบาลไทยจะการ ดําเนินการกับปญหานี้ อยางเหมาะสมตอไป” แต … นายอภิสิทธิ์ กลับไมทําอะไรเลย !!!??? น้ําทวมดอนเมือง กับ หลายนิคมลมจมน้ํา เปนเรื่องทีไ่ มมีใครคาดคิดวามันจะเกิด เกิดเหตุแลว เสียหายแลว มาจากอะไร เพราะเหตุภัยธรรมชาติทงั้ หมดหรือ

ครากอน...ถาเหตุภย ั ระงับไมได ลุกลามเอาไมอยู ประชาชน ชาวบาน จะเจ็บตายมากเทาไหร ที่ถูกปลอยทิง้ ใหตาย การรับสถานการณฉก ุ เฉิน ที่ลมเหลวโดยสิน ้ เชิง ชาวบานอพยพหนีตาย เมื่อดูทวี ี ทีผ ่ ูวาระยอง สั่งอพยพ / กาซรั่ว เพราะ ซีลวาลวแตกรั่ว มันไฟไหม-ระเบิดเองได

14


ชุมชนมากมายรายลอมอยู กับโรงแยกกาซใหม ปตท.สรางเสี่ยง อยูติดตลาดอยูตรงกลางระหวางชุมชนจํานวนมาก และโรงงานอันตรายอื่นๆ จํานวนมาก

จะทิ้งภัยเสี่ยงใหประเทศชาติประชาชนหรือ หรือคิดเพียงวา “มันจะไมเกิด” หรือคิดวา “จะเอาอยู” พรบ.ปองกัน-บรรเทา สาธารณภัย – พรบ.ความมั่นคงภายใน นํามาใชเพื่อปกปองประชาชนได ขอมูลเพิ่มจํานวนมากดูไดจากเวบไซด http://maptaphut-news.blogspot.com http://khonmaptaphut.blogspot.com http://airfresh-society.blogspot.com/ https://www.facebook.com/airfresh.society ประวัติกลุมพิทักษอากาศสดชื่น มาบตาพุด http://khonmaptaphut.blogspot.com/2010/07/blog-post_18.html

“เสี่ยงภัยแคไหน เมื่อเทียบกับ การสรางทําของโรงงานใกลเคียง”

ศรัลย ธนากรภักดี - 081-3574725 ผูประสานงาน กลุมพิทักษอากาศสดชืน ่ มาบตาพุด อีเมล – srun_t@live.com ผูทํารายงงานนี้ นําเรียนเสนอ พณ.ทาน นายก รมต. ผาน http://www.stopcorruption.go.th/ ประวัติกลุมพิทักษอากาศสดชื่น มาบตาพุด http://khonmaptaphut.blogspot.com/2010/07/blog-post_18.html

15


(ค.๒) คํา...ชี้แจงเพิ่มเติม ของคํารองอุทธรณคําสั่ง

คดีหมายเลขดําที่ ........๑๒๑...../๒๕๕๓...... คดีหมายเลขแดงที่ ......๑๒๒..../๒๕๕๓...... ศาลปกครองระยอง

วันที่…๒๔… เดือน…มีนาคม...พุทธศักราช ...๒๕๕๔... ขาพเจา นายศรัลย ธนากรภักดี ผูฟองคดี (ผูประสานงาน กลุมพิทักษอากาศสดชื่นฯ มาบตาพุด ระยอง ตัวแทนประชาชน ที่กําลังเผชิญความเสี่ยงหายนะภัย จากภาคอุตสาหกรรมมักงาย) เกิดวันที่ 22 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2506 อายุ 48 ป อาชีพ รับจาง อยูที่ 127/71 หมูบานเบญจพร ถนน สุขุมวิท ซอย 33 ตําบล มาบตาพุด อําเภอ เมืองฯ จังหวัด ระยอง รหัสไปรษณีย 21150 โทรศัพท 081-3574725 โทรสาร 038-608891 ฟอง เทศบาลเมืองมาบตาพุด ที่ 1, การนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ที่ 2, บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ที่ 3, กระทรวงอุตสาหกรรม ที4่ และกระทรวงพลังงาน ที่ 5 (ที1่ และ ที่ 2 เปนผูอนุมัติแบบ, ที่ 3 ผูขออนุมัติและเจาของโครงการ , ที่ 4 ผูอนุมัติโครงการและ ที่ 5 ผูกํากับดูแลโครงการ ) อยูที่ (ตามแนบทาย – 1 ของคําฟอง) มีความประสงค ขอยื่นคําชี้แจงเพิ่มเติมของคํารองอุทธรณคําสั่ง มีขอความตามที่จะกลาว ตอไปนี้ สืบเนื่องจากการยื่นคําฟองคดี การอนุมัติและการดําเนินการกอสราง ใน 3 โครงการขนาด ใหญของ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ในพื้นที่มาบตาพุด ระยอง ซึ่งยื่นคําฟองเมื่อ 27 พฤษภาคม 2553 และตอมาศาลปกครองระยองไมรับคําฟอง ซึ่งไดสงคํารองอุทธรณคําสั่ง เมื่อ 24 กันยายน 2553 ดวยขณะนี้ มีขอมูลสําคัญชี้แจงเพิ่มเติมดังนี้ วิกฤตจากเหตุแผนดินไหว และสึนามิที่ญี่ปุน แมไมไดทําให องคคณะตุลาการ มองเห็นภัย จากภาคอุตสาหกรรมที่กําลังจะกลายเปนวิกฤตของโลก ทั้งปญหาจากสารกัมมันตรังสี ทีอ่ าจเกิด การรั่วไหลไปในอากาศและน้ํา ไปสะสมในพืชสัตวมนุษย และ สรางความไมเชื่อมั่นในโรงไฟฟา นิวเคลียรทั้งที่สรางเสร็จแลว กําลังสราง หรือกําลังจะตัดสินใจสรางดวย ภัยธรรมชาติเปนสิ่งที่ หลีกเลี่ยงไดยาก แตกรณีปญหาของโรงไฟฟานิวเคลียร กลับมีขอมูลใหมวา มีการรายงานเท็จ ใน ขบวนการซอมบํารุง ซึ่งมาจากความมักงายประมาทของผูดําเนินการ จนเกิดผลเสียหายใหญ หลวง ที่เกิดขึ้นแลวกับความตระหนกของผูคนทั่วโลก แมยังไมเกิดการรั่วไหลสูงเกินกวาที่จะ ยอมรับไดก็ตาม ซึ่งภัยจากภาคอุตสาหกรรม ทีบ่ อยครั้งเกิดจากความประมาทมักงาย ไมรอบคอบ ของมนุษย ที่สรางหายนะใหญหลวงให ดังเชน กรณีแทนเจาะของ ปตท.สผ. ที่เคยเรียนชี้แจง


แผนที่ 2 เพิ่มเติมมาแลวนั้น และจาก 2 เหตุการณดังกลาวนาจะเปนเรื่องที่ประจักษชัดไดวา การปกปด ขอมูลความไมแข็งแรงไมปลอดภัย แจงเท็จในกรณีตางๆ การซอมบํารุง ซอมสราง ตรวจสอบ นั้น กอใหเกิดเหตุรายขึ้นแลวมีผลกระทบอยางไร และแมจะไมทําใหองคคณะตุลาการ ตระหนักไดหรือ จินตนาถึงได กับเหตุภัยที่อาจจะเกิดขึ้น และควบคุมไมไดนั้น จะสรางหายนะใหญหลวงอยางไร ภาพขาวทั้งในโทรทัศน และอินเตอรเน็ต ที่แจงวาการดับไฟจากเหตุไฟไหมและระเบิดไมสามารถ ควบคุมได แมเนิ่นนานกวาสามวัน ภาพคลังกาซระเบิดรุนแรง และขยายวงลุกลามออกไปในวง กวางในประเทศญี่ปุนนั้น นาจะทําใหเห็นภาพถึงเหตุภัยไดจนเปนที่ประจักษแลว ซึ่งกรณีนเี้ อง ได สรางความรูสึกหวาดหวั่นขัวญแขวน ใหผูที่อยูในมาบตาพุดโดยทั่วไปอยางกวางขวางดวย รวมทั้ง พนักงานของโรงแยกกาซ ปตท. เอง เพราะเคยเกิดไฟไหมขณะทดสอบระบบบางสวน จนขัวญ ผวา จึงใหมีการซอมการหนีภัยไฟไหมระเบิด ทั้งโรงงาน เพื่อเรียกขัวญกําลังใจ ตางกับชาวบาน ทั่วไป สัญญาณเตือนภัย–การรับรู-แผนหนีภัย–แผนอพยพ ก็ไมมี ไมไดรไู มไดเห็นแตอยางใด ฯ อากาศวิปริต ที่เกิดความหนาวเย็นเฉียบพลัน ในกลางเดือนมีนาคม ซึ่งไมเคยปรากฏมา กอนนั้น มีผลกระทบมาจากเหตุแผนดินไหว ทีเ่ กิดจากการเคลื่อนยายของมวลน้ําจํานวนมหาศาล อยางรวดเร็วในมหาสมุทรแปซิฟก ความกดอากาศเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว เนื่องจากการ เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของมวลน้ําที่เคลื่อนที่ไปดวย ดังนี้เองเหตุภัยแมเกิดที่หนึง่ อาจสงผลกระทบ อยางรุนแรงมายังอีกที่หนึ่งไดอยางรุนแรงเฉียบพลัน ไมมีใครยืนยันไดวาแผนดินไหวรุนแรงจะไม เกิดขึ้น พื้นที่มาบตาพุดแมจะถูกระบุวาไมเปนพื้นที่เสี่ยงแผนดินก็ตามจะไมไดรับผลกระทบ อีก ทั้งพายุรุนแรงที่ไมไดเกิดขึ้นมานานมากในอาวไทย จะไมเกิดหรือไมมีโอกาสเกิด หายนะภัยสึนามิ ในไทยที่เคยถูกเตือน ในครั้งแรกก็ถูกกนดาประณามวา เปนความคิดที่เสียจริต เพราะทําลาย บรรยากาศการทองเที่ยว สรางความตื่นตระหนก และสุดทายเหตุภัยสรางเหตุสลดใหญหลวงให ผูคน การที่รัฐบาลโดยนายกรัฐมนตรีประกาศดันทุรังเปดใชงานโรงแยกกาซ ที่ 6 ในสภาผูแทน ศาลปกครองระยองไมรับคําฟอง คกก. 4 ฝาย เชื่อตามขอชี้แจงแจงเท็จของ ปตท. โดยที่ทุกฝาย โดยยังไมมีการแสวงหาขอเท็จจริงและยืนยันไดวา โครงสรางเหลานั้นแข็งแรงปลอดภัยมั่นคงอยู ได ตลอดอายุการใชงาน 25-30 ป และผูคนประชาชนโดยรอบจะไมเผชิญเหตุหายนะนั้น จึงใครขอเรียงลําดับความเท็จของรายงาน ขอชี้แจงตางๆ ที่ ปตท. ชี้แจงทั้งตอสาธารณะ ศาลปกครองระยองและ คกก.4 ฝาย เฉพาะประเด็นที่มีนัยสําคัญดังนี้ 1. ปตท. ชี้แจงวา ทดสอบดินแลวแข็งแรงสูงมากถึง 90 ตัน/ม2 จนไมจําเปนตอง ตอกเสาเข็มเพราะดินแข็งแรงมากพอแลว (ซึ่งแข็งแรงกวาในพื้นที่โรงงานอื่นๆ ในมาบตาพุด 3-7 เทา) การนําคาสูงมากนี้ไปเปนขอมูลฐานในการออกแบบจึงมี ความเสี่ยงสูงมากสําหรับโครงสรางพิเศษสําคัญตางๆที่ตองการความมั่นคงสูง (แมออกแบบโกดังขาวสาร วิศวกรโยธาทั่วไป ยังไมกลาใชคาสูงมากเทานี้ ถาจะ ใชสูงมากๆ ก็ใชเพียง 15-20 ตัน/ม2 เทานั้น เพราะเปนการสุมทดสอบดิน)


แผนที่ 3 คารับ น้ําหนักของดินสูงมากถึง 90 ตัน/ม2 ถานําไปใช ออกแบบถังเก็บน้ํา จะสรางไดสูงเทาตึก 8 ชั้น โดยไมตอง ตอกเสาเข็ม เลย และจะไมทรุดเลยแมแตน ิ้วเดียว ตลอด ระยะเวลานานถึง 30 ป ในทุกสภาวะอากาศ ใชคาดินรับน้ําหนัก 30 ตัน/ม2 สําหรับ ออกแบบ (S.F.=3.0) * ถาทรุดเกิน 1 นิ้ว = ดินไมสามารถรับน้ําหนักไดจริง * (เหลือ เชื่อจริงๆ วาการออกแบบและการอนุมัติแบบทําได ถูกตองตามกฏหมายการกอสรางของประเทศไทย) ซึ่งขอมูลฐานความแข็งแรงของดินนี้ ไดนํามาออกแบบ ฐานรากตื้นของโรงแยกกาซใหมของ ปตท. ทั้งหมด จึงไมม ีความจําเปน ตองใชเสาเข็มเลย

ดินแข็ง ถึงแข็งมาก ดิน แนนถึงแนนมาก คาดิน รับ น้ําหนัก 40 ตัน/ม2 (ประลัย) กอสรางบนพื้นที่ดินเดิม(ไมม ีการถมใหม) ในการกอสรางอาคารเรียน 3 ชั้น ของ มหาวิทยาลัย รามคําแหง นครราชสีมา ใชคาดินรับน้ําหนัก 20 ตัน/ม2 S.F.=2 ในการออกแบบฐานรากตื้น (มักเลือกใชกับ งานโครงสรางทีห่ นักไมมาก ไมม ีความเฉพาะ พิเศษสําคัญมาก หรือมีความสูงไมม าก และ ลักษณะของดิน มีความแข็ง แรงมากพอเพียง)

การเลือกใชขอมูลจากการทดสอบดินแบบงายๆ ดวยการกดน้ําหนัก Plate Bearing Capacity สวนใหญมักจะทํากับงานที่เปนดินเดิมไมใชดินถมใหม เพื่อใชออกแบบฐานรากตื้น


2.

3.

4.

5.

6.

แผนที่ 4 ตามขอกําหนดออกแบบกอสรางฐานราก คาทรุดตัวตางกันที่ยอมรับไดนอยมาก เพียง 1-2 ซม. ซึ่งจะไมทําใหเกิดผลกระทบ ไปยังทอ-ขอตอ-เครื่องจักร ตางๆ บิดแตก แกนเครื่องจักรเอียง ขอกําหนดนีจ้ ึงไมสอดคลองกับการออกแบบฐาน รากตื้น เพราะฐานรากตื้นมีความเสี่ยงในการทรุดตัวสูง การอางวามาตรฐานสูง ยอมตองออกแบบกอสรางโดยไมมีความเสี่ยงในการทรุดตัวเลย การอางวาจากคุณสมบัติของดิน การทรุดตัวครั้งแรกแลวจะหยุดนั้น เปนไป ไมได เพราะโครงสรางตางๆ มีการสั่นตลอดเวลา เม็ดดินมีการเรียงตัวใหม ตลอดเวลา ยิ่งใชงานนานมากยิ่งมีความเสี่ยงในการทรุดตัวสูงมาก กรณีมีฝนตก ติดตอกันหลายวัน ระดับน้ําใตดินสูงขึ้น ยิ่งทําใหดินออนกําลังลงมากดวย อางถึง พนักงานอัยการ ไดยื่นคําชี้แจงตอศาลวา การออกแบบและอนุมัติถูกตอง ตามกฏหมาย มาจากการใชคารับน้ําหนักดินที่สูงมาก และมากกวาโรงงาน ใกลเคียงติดกัน 3-7 เทา จึงไมจําเปนตองตอกเสาเข็มฐานราก มีมาตรการเฝาระวังการทรุดตัวของฐานรากอยางเปนระบบตอเนื่อง และไมพบ การทรุดตัวนั้น เปนความเท็จ เพราะพบการทรุดตัวจํานวนมากระหวางการ ติดตั้งทอ และเครื่องจักร จนมีการรื้อทําใหม การใชเสาเข็มเจาะ ใชวิธีฉีดโฟม และวิธีอื่นๆ ในชวงเดือนเมษายน ถึง มิถุนายน 2552 แตไมเคยมีการตรวจสอบ ซ้ําเลย รวมทั้งการตรวจสอบระดับการทรุดตัวดวย เพิ่งเริ่มมาเก็บขอมูลเดิม ใน เดือนธันวาคม 2552 วางแผนวาจะเขาไปสํารวจรวมกัน ชวงปลายเดือน มกราคม 2553 โดยขอมูลระดับฐานราก หลังกอสรางเสร็จของโครงสรางตางๆ ไมสามารถเก็บรวบรวมไดโดยเร็ว เพราะผูรับเหมายอย ถอนคนและสํานักงาน ออกไปแลว จึงตองจัดทําขึ้นมาใหม และอยูระหวางดําเนินการ การอางวา ผูฟองไมมีความสามารถในการประเมินเรื่องการทรุดตัวของฐานราก ตื้นไดนั้น ไมเปนความจริง ผูฟองซึ่งเปนวิศวกรโยธาอาวุโส ที่เคยมีหนาที่ กําหนด-ออกแบบ-วางแผนวิธีการกอสรางของโครงสรางพิเศษสําคัญตางๆ ของ โรงไฟฟาถานหินบีแอลซีพี เชน ออกแบบวิธีการกอสรางการขุดและสรางระบบ ปองกันทอน้ํามันดิบเดิมใตดิน ลึกลงไป 13 ม. เพื่อกอสรางอุโมงครับน้ําขนาด ใหญ – ออกแบบวิธีการกอสรางอุโมงคใตดินขนาดใหญ เพื่อระบายน้ําออกสู ทะเล ซึ่งตองดําเนินการ ใหทันกับสภาวะอากาศ ที่มีคลื่นลมแรง และถาไมสําเร็จ ทันเวลาอาจจะทําใหโรงไฟฟาเสร็จชาลง 1 ป เพราะจะติดชวงมรสุม และสภาวะ อากาศ คลื่นลมแรงที่ไมเหมาะสม รวมถึงออกแบบระบบระบายน้ําจากการขุด ซึ่งมีตะกอนขุนมาก ตองมีการบําบัดกอนปลอยออกทะเล ซึ่งปริมาณมีน้ําเกือบ แสนคิวตอวันที่ตองการระบายออก โดยทําเปนแบบไหลอิสระ ผานระบบกรอง


7.

8.

9.

แผนที่ 5 น้ําที่ออกแบบขึ้น เพื่อลดความขุนและตะกอนกอนปลอยออกทะเล โดยไมไดใช ระบบไฟฟาหรือปมน้ําชวย ทําใหประหยัดการใชไฟฟา และกําแพงกันตะกอน ในทะเล ลดคาใชจายหลายสิบลานบาท ดังนั้นการประเมินการทรุดตัวของฐาน รากตื้นปกติๆ ที่ใชฐานรากหลอสําเร็จวางในดินขุดที่บดอัดปกติ โดยไมมีการ ทดสอบซ้ําวา วางบนดินที่มีความแข็งแรงตามการออกแบบ หรือ 90 ตัน/ม2 จึง ไมใชเรื่องที่เกินความสามารถที่จะประเมิน หรือทวงติงถึงความไมถูกตอง คารับน้ําหนักดินสูงมากถึง 90 ตัน/ม2 นี้ จะตองถูกระบุไวใน แบบกอสราง และ ขอกําหนดการตรวจสอบงานดิน วิธกี ารถมบดอัด การใชวัสดุเลือกพิเศษ เชนหิน คลุก ดินทรายผสมซีเมนตผง หรือวิธีพิเศษอื่นใด การใหกดทดสอบดินซ้ํา หรือ ทดสอบกอนวางฐานรากหลอสําเร็จ หรือหลอฐานราก เพื่อยืนยันวาสามารถรับ น้ําหนักไดจริงตรงตามการออกแบบ แตไมมีการระบุไวเลย กรณีที่ระบุไว วิศวกร สนาม จะตองทํางานดินอยางเขมงวดมาก ทั้งการทําและการควบคุมงานเพราะ ใชคารับน้ําหนักสูงมากผิดปกติ แตคานี้ กลับไมมีใครทราบเลย ทั้งวิศวกรสนาม ผูปฏิบัติงานและวิศวกรสนามผูตรวจสอบ รวมถึง วิศวกรคุมคุณภาพ (QA/QC) ขอมูลนี้จึงถูกปกปด เพราะถาระบุไว การทํางานจะยุงยากขึ้น ทําใหโครงการ เสร็จลาชา เพราะแผนงานฐานรากทั้งหมด ถูกระบุใหเสร็จ ภายใน 4.5 เดือน และทําใหชวงฤดูฝน ขบวนการตรวจสอบคุณภาพตางๆ จึงยิ่งยอหยอน – การ ทํางานที่ไรการตรวจสอบ กับคารับน้ําหนักดินที่สูงมากนี้ จึงมีความเสี่ยงสูงมาก ประเด็นที่ ปตท. อางถึง หนังสือจากบริษัท อิตาเลี่ยนไทย ที่เปนผูรับเหมายอย งานฐานราก วา ผูฟองไดพันสภาพพนักงานแลวนั้น ไมเกี่ยวกับประเด็นความ เสี่ยงสูงมากในการทรุดตัวของฐานรากตางๆ และการปลดออกนั้นมาจาก ความเห็นของผูฟองวา ปญหาการขาดทุนสูงหลายรอยลาน ในโครงการตางๆ มาจากการไมใสใจควบคุมดูแล ของผูบริหารและผูกํากับดูแลโครงการ ทั้งที่ควร จะกระทําได และทําใหทุเลาลงได โดยเสนอวิธีการทํางานและควบคุมตรวจสอบ ไปดวย ในฐานะหนาที่วิศวกรควบคุม ที่สามารถมองภาพวาควรควบคุมอยางไร ปตท. ชีแ้ จงวา การขอตรวจสอบ โดยคณะตรวจสอบที่กลุมฯตั้งขึ้น ขอเรียกรับ ผลประโยชน 10 ป หรือตลอดอายุการใชงานโรงงานนั้น รวมทั้งตรวจสอบ รวมกันแลวไมพบวามีปญหาแตอยางใดนั้น เปนความเท็จ ซึ่งมีการเสนอจริงใหมี คณะกรรมการตรวจสอบรวม 3 ฝาย ที่มี ปตท. การนิคมอุตสาหกรรม และกลุมฯ ซึ่งกรอบการตรวจสอบ รวมถึงคณะผูตรวจสอบของกลุมฯ นําเสนอในการประชุม เพื่อเปนตุกตา วาควรจะดําเนิการอยางไร ซึ่งวิศวกรโยธา ที่กลุมฯนําเสนอคือ วิศวกรสนามที่เคยทํางานในโรงแยกกาซใหมทั้ง 2 แหง ซึ่งจะรูจักสถานที่ และ


แผนที่ 6 (ตอ-ขอ 9) รูรายละเอียดของงานเดิมอยูแลว จะสามารถทํางานไดรวดเร็วและมี ประสิทธิภาพ ซึ่งจําเปนตองขอใหลาออกจากบริษัทเดิม มารวมอยูในคณะผู ตรวจสอบของกลุมฯ ทั้งนีจ้ ึงควรมีคาตอบแทน ใชตามเกณฑเงินเดือนอายุงาน ของพนักงาน ปตท. ทั่วไป เพราะงายตอการพิจารณาตัดสินใจ สวนคณะ ตรวจสอบของ ปตท. เปนสวนที่ ปตท. จะตองจัดตั้งขึ้นเอง เพื่อตรวจสอบ ติดตามและประชุมรวม ซึ่งกําหนดกรอบการตรวจสอบซอมสราง ระยะแรกและ กลางไว 3 ป ใน 3 โรงงาน ซึ่งมีปริมาณฐานรากหลายพันตัว แตหลังจากนั้น ปตท. และการนิคมอุตสาหกรรม ตองรวมตรวจสอบกันตอไป ตามกรอบการ ตรวจสอบที่ยอมรับรวมกัน กําหนดเวลาไว 10 ป หรือตลอดอายุการใชงาน โรงงาน ซึ่งยังไมทันมีการดําเนินการอยางไร เพราะคณะกรรมการฯ ที่ ปตท. สวนธุรกิจกาซตั้งขึ้น ไมมาเขารวมประชุม อางวามีภารกิจมาก และจะฝน ทดสอบเดินระบบของโรงแยกกาซอีเทน ตอไปอีก ซึ่งเสมือนการไมยอมรับใหมี การตรวจสอบ ทางกลุมฯ จึงนําเรื่องนี้เสนอตอภาคสวนอื่น จนกระทั่งนํามาฟอง ศาลปกครองในที่สุด เพราะความเฉยชาของสวนงานตางๆ ของรัฐ และเครือขาย สิ่งแวดลอมตางๆ อีกทั้งการนําความเท็จนีแ้ จงตอสาธารณะ ศาลปกครองระยอง คณะกรรมการ 4 ฝาย ผูนําชุมชนตางๆ รวมทั้งสื่อมวลชน จนผูฟองและกลุมฯ เสมือนคนที่จะไปรีดไถเรียกรองผลประโยชน และทําใหเกิดความเคลือบแคลง ของสังคมไปแลวนั้น ก็จะไมชวยลดความเสี่ยงไดเลย และไมทําใหฐานรากตางๆ แข็งแรงขึ้นได และผูคนประชาชนในมาบตาพุดก็ไมอยูในสถานะที่ปลอดภัยขึ้น แตอยางใด แม 18 ชั่วโมงกอนหนาที่ ปตท. จะชี้แจงผูนําชุมชนในมาบตาพุดนั้น ปรากฏเหตุน้ําทวมดานหนาและภายในโรงแยกกาซ ปตท. จนนาตกใจ เพราะ ฝนตกหนักติดตอกัน ทั้งๆที่ไมเคยเกิดเหตุลักษณะนี้มากอน เสมือนคําเตือนจาก ฟาดิน แตชาวบานพรอมที่เชื่อตาม ปตท. วาทุกอยางแข็งแรงปลอดภัยดี มีการ ตรวจสอบโดยตลอด เปนแคการสรางเรื่องของกลุมคนที่จะมารีดไถเทานั้น ฯ ตัวอยางเหตุหายนะเปนที่ประจักษแลว เชน เทปโกเพิ่งสารภาพอยางจําใจวาไดกุรายงาน เท็จเกี่ยวกับผลการซอมบํารุงโรงไฟฟานิวเคลียรฟุกุชิมะซึ่งปฏิเสธไดยากวาไมมีผลเลยตอความ เสียหายของเตาปฏิกรณนิวเคลียรหลังเกิดแผนดินไหวและสึนามิ...ขนาดของญี่ปุนที่ขึ้นชือ่ วา ทํางานอยางรอบคอบและรับผิดชอบ ยังทําเลวรายไดถึงขนาดนี้ กรณีของเมืองไทยถาจะดันทุรัง สรางโรงไฟฟานิวเคลียรคงไมตองพูดถึง...หายนะอยางเดียวเทานั้นที่จะเกิดขึ้น อยูวาจะเกิดขึ้น เมื่อไหรเทานั้น ซึ่งเปนตัวอยางขอคิดความเห็นในอินเตอรเน็ต ที่มีตอความมักงายประมาทของคน ไทยเมื่อเทียบกับคนญี่ปุน และเปนผลตอความเชื่อมั่นกับโครงการที่ออนไหวเรื่องมาตรฐานความ


แผนที่ 7 ปลอดภัย ซึ่งสามารถโยงเขากับประเด็น การกอสรางโรงแยกกาซ ที่สรางความมันคงทางพลั ่ งงาน บนความเสี่ยงของชาติ โดยการไมตอกเสาเข็มฐานรากทั้งหมด ทั้งที่เปนโรงงานกาซไวไฟ มีคลัง กาซขนาดมหาศาล เทียบเทารถบรรทุกกาซถึง 4,200 คัน การทํางานใดแครูสึกวามันไมปลอดภัย แลวนั้น ถือวางานนั้นไมปลอดภัย ตองมีการทําอยางไรใหเกิดความรูสึกปลอดภัยได ราวยึดจับ ที่ โยงยึดกันตก จึงถูกกําหนดขึ้น แมคําฟองนี้จะไมถูกรับไวพิจารณาโดยศาลปกครองระยอง แตก็ ไมไดใหหลักยึดอะไรเลยวา โครงการที่มีความเสี่ยงสูงมากนี้ อยูในสถานะที่ปลอดภัยแลว ทั้งนี้ใน 30 กวาโครงการใหม ของ ปตท. ในพื้นที่มาบตาพุด ซึ่งไมสามารถลวงรูไดทั้งหมด วา มีจํานวนมากเพียงใด ทีไ่ มตอกเสาเข็มฐานรากทัง้ โครงการบาง เพราะทุกโครงการมีแผนงานที่ เรงรัด คลายคลึงกัน ซึ่งในสวนนี้ ทางกลุมฯ เพียงตั้งขอสังเกตุในการประชุม ซึ่งในโครงการอื่นๆ ทาง ปตท. และ การนิคมอุตสาหกรรม ควรรวมกันตรวจสอบดวย ตามกรอบการตรวจสอบฯ มหันตภัย ของภาคอุตสาหกรม ทีม่ าจากการปกปด ชี้แจงแจงเท็จ เรื่องความแข็งแรงไม เพียงพอ การละเลยที่จะตรวจสอบ การสรางรายงานเท็จ นาจะพอทําใหประจักษ ถึงภาพความ เสียหายใหญหลวงได การใหความเชื่อถือรายงานเท็จขอชี้แจงแจงเท็จ วาปลอดภัยครบถวน ถูกตอง เสมือนมีการไตสวนแลว ทั้งทีย่ ังไมเคยมีการแสวงหาขอเท็จจริงเลยนั้น จึงใครขออางถึง วันที่ 3 มีนาคม 2554 เวลา 10.30 น. ดร.หัสวุฒิ วิฑิตวิริยกุล ประธานศาลปกครองสูงสุด ไดแถลงขาวตอสื่อมวลชน เนื่องในโอกาสครบรอบ 10 ปศาลปกครอง ตอนหนึ่งที่ย้ํายืน ความวา "การเปนตุลาการหรือการเปนเจาหนาที่ศาลจะตองมีหลัก 4 ประการ คือ 1.ตองมีความรู ความสามารถ 2.ตองซื่อสัตยสุจริต 3.ตองมีจุดยืนที่เปนกลางและยึดหลักความถูกตอง 4.ตองมี ความกลาหาญในการพิจารณาคดี เพื่อใหคําตัดสินจะไมเบี่ยงเบนความเปนธรรม" เวลาที่เนิ่นนานนานมากกวา 180 วัน (หรือ 6 เดือน) ไดยืนยันถึงความกลาหาญทีค่ วรแลว นั้น การอางความเรงดวนเมื่อเทียบกับคดีอื่นๆ ที่วามีมากมาย ซึ่งแมไมสงผลกระทบตอชีวิตผูคน ประชาชนจํานวนมาก ยังไดรับการพิจารณาไตสวนแลวดังปรากฏในสื่อมวลชนในหลายคดี และ แมคดีนี้ จะไมถูกรับคําฟองใหมีการไตสวน โดยอางวา หมดอายุความ ผูฟองไมใชผูเสียหายไดรับ ผลกระทบ ตกจริตคิดไปเอง ขาดความรูขอมูลไมเพียงพอ นอกเขตอํานาจศาล หรือดวยเหตุผลอื่น อันใดก็ตาม ความเสี่ยงหายนะภัยสูงอยูคงกับผูคนประชาชนสังคมประเทศชาติ ตอไป และมิได แสดงวา คําฟองนี้ไมมีมูลความเสี่ยง รวมทั้งไมไดยืนยันวา เหตุหายนะจะไมเกิด แตกลับดูดาย ทอดทิ้งผูคนประชาชน ใหอยูกับความเสี่ยงสูงที่จะตองเผชิญเหตุมหันตภัยตลอดไป และจะเปนได แคเพียง ใบรับประกันใหกับ ปตท. ไปอางตอสาธารณะวา คดีไมมีมูล ไตสวนแลว กลุมผูฟองมารีด ไถ ศาลปกครองไมรับคําฟอง และคดีถูกจําหนายออกจากสารบบไปแลว ทุกอยางแข็งแรงดี ปลอดภัยดี ตรวจสอบมาโดยตลอด มีมาตรฐานสูง ทําตามมาตรฐานสากล ก็เทานั้น ฯ


แผนที่ 8 เหตุมหันตภัยในประเทศญี่ปุน ที่สรางความโศกสลดใหคนทั้งโลก และยังคงทิ้งปญหาใหญ หลวงใหชาวโลกตื่นตระหนกตอไดอีก ซึ่งตนเหตุหนึ่งมาจากความมักงายประมาท การรายงาน เท็จ การปกปดความจริง เพียงคิดวาไมนาเกิดเหตุภัยขึ้น ซึ่งภัยธรรมชาติของโลกขณะนี้ วิปริต แปรปรวนและยากที่จะคํานวณทํานายใหเทาทันเพื่อเตรียมการปองกันได และ “ผลจากการชี้แจง แจงเท็จ ที่สรางความมหันตภัยรายแรง ยอมเปนสิ่งที่ประจักษแลว” จึงเปนเหตุให ตองนําคําชี้แจง นี้มาเสนออีกวาระหนึ่ง และเพื่อใหขบวนการยุติธรรม มีสวนรวมในการหยุดยั้งเหตุหายนะ กอนที่ ทุกฝายจะดันทุรังเปดใช โรงงานเสี่ยง โดยอางเพียงผลกระทบดานเศรษฐกิจ แลวทิ้งความเสี่ยงไว ใหกับผูคนประชาชนในมาบตาพุด และโรงงานอื่นๆ โดยรอบจํานวนมาก รอวันเกิดเหตุรายขึ้นฯ เอกสารแนบ 1. ขอมูลขาว วิกฤตโรงไฟฟานิวเคลียรของญี่ปุนกับรายงานเท็จการตรวจสอบ 2. หนังสือชี้แจงของคณะกรรมการ 4 ฝาย แจงวา ปตท. ไดรายงานในที่ประชุม ตรงกับที่พนักงานอัยการรายงานตอศาล ดวยขอมูลที่ปราศจากความจริง เรื่อง การอางวามีการตรวจสอบแลวกับกลุมพิทักษอากาศสดชื่น ไมพบปญหาเลยทุก อยางปลอดภัยแข็งแรงดี อีกทั้งมีการตรวจสอบมาโดยตลอด นั้นเปนความเท็จ 3. เอกสารประกอบ กรณีศึกษาการสรางพระมหาเจดียว ัดเขาสุกิม ที่แสดงถึงงาน เสาเข็มและงานฐานรากที่ตองศึกษาอยางละเอียดถี่ถวน ดวยความใสใจ แมจะ กอสรางบนภูเขา ที่ดินประกอบไปดวยหินและดินแข็ง แตยังตองใชเสาเข็มเจาะ 4. เอกสารประชาสัมพันธ ของ ปตท. เรื่องโรงแยกกาซที่ 6 ไมตอกเสาเข็ม แมคดีนจี้ ะไมมีการไตสวนเพื่อใหมีการตรวจสอบ-ติดตาม และเสริมสรางความแรงของฐาน รากตางๆ ของโรงงานอันตรายที่กอสรางไมแข็งแรง จนปราศจากความเสี่ยงจากการทรุดพังแลว นั้น ก็จะเปนไดเพียง ใบรับประกันวา “หายนะภัยจะไมเกิด” อีกทั้งยังจะปรักปรําให ผูมีสํานึกตอ สาธารณะ วาเปนกลุมรีดไถหาผลประโยชน แตถาวันหนึ่งวันใดเกิดเหตุภัยรายขึ้น จนเปน อันตรายตอชีวิตผูคนประชาชนจํานวนมากแลวนั้น ยอมจะเปนตราบาปใหขบวนการยุติธรรมศาล ปกครองไทย ไปตราบนานเทานาน ในทุกๆครั้งที่ผูคนรําลึกถึงเหตุสลด กับการละเลยเฉยชาฯ เรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาประกอบ คํารองอุทธรณคําสั่ง เพื่อศาลโปรดพิจารณา ผูฟองคดี

(ลงชื่อ) (...ศรัลย..ธนากรภักดี...)


รายชื่อประชาชน ในพื้นที่มาบตาพุด รวมลงนาม การยื่นฟองใหม บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) กรณีการสรางทํา โรงแยกกาซใหม ปตท. และโรงงานวัตถุอันตรายและสารไวไฟ หลายโรงในมาบตาพุด ไมตอกเสาเข็มฐานรากทั้งหมด ไมมั่นคงแข็งแรงเหมาะสม และไมนาไววางใจ ทรุดพังสรางภัย เสี่ยงกออันตรายรุนแรง ในกรณีกาซรั่วไฟไหมระเบิดลุกลาม และเอาไมอยู เพราะมีคลังกาซแอลพีจี จํานวนมหาศาลมากถึง 4 พันคันรถ ผิด พรบ.โรงงาน และ พรบ.วัตถุอันตราย ป 2535 อยูใกลตลาด อยูตรงกลางระหวางชุมชน

(หมายเหตุ รวบรวมรายชือ่ เมื่อบาย 27 ส.ค. 2555 และเย็น 28 ส.ค. 2555

มีผูใหความสนใจจํานวนมาก แตไมกลาลงชือ่ รวม เพราะกลัวผลกระทบ)








Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.