คำขอให้พิจารณาคดีใหม่

Page 1

(ค.๒) คํา...ขอใหพิจารณาคดีใหม

คํารองที่ ............./๒๕๕๕......

ศาลปกครองสูงสุด วันที… ่ ๒๔… เดือน…กันยายน...พุทธศักราช ...๒๕๕๕... ขาพเจา นายศรัลย ธนากรภักดี ผูรอง (ผูประสานงาน กลุมพิทักษอากาศสดชืน่ ฯ มาบตาพุด ระยอง ตัวแทน ประชาชน พรอมรายชื่อประชาชนลงชื่อรวมขอใหพจิ ารณาคดีใหม - แนบทาย) เกิดวันที่ ๒๒ เดือน สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๐๖ อายุ ๔๙ ป อาชีพ รับจาง อยูที่ ๑๒๗/๗๑ หมูบานเบญจพร ถนน สุขุมวิท ซอย ๓๓ ตําบล มาบตาพุด อําเภอ เมืองฯ จังหวัด ระยอง รหัสไปรษณีย ๒๑๑๕๐ โทรศัพท ๐๘๑-๓๕๗๔๗๒๕ โทรสาร ๐๓๘-๖๐๘๘๙๑ ฟอง เทศบาลเมืองมาบตาพุด ที่ ๑, การนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ที่ ๒, บริษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) ที่ ๓, กระทรวงอุตสาหกรรม ที่๔ และกระทรวงพลังงาน ที่ ๕ (ที๑่ และ ที่ ๒ เปนผูอนุมตั ิแบบ, ที่ ๓ ผูขออนุมตั ิและเจาของ โครงการ , ที่ ๔ ผูอนุมตั โิ ครงการและ ที่ ๕ ผูกํากับดูแลโครงการ ) อยูที่ (ตามแนบทาย – ๑ ของคําฟองเดิม) มีความประสงค ขอใหพจิ ารณาคดีใหม มีขอความตามทีจ่ ะกลาว ดังตอไปนี้ อางถึง คดีหมายเลขดําที่ ๑๒๑/๒๕๕๓ คดีหมายเลขแดงที่ ๑๑๒/๒๕๕๓ ของศาลปกครองระยอง คํารองที่ ๘๒๗/๒๕๕๓ คําสัง่ ที่ ๒๕๐/๒๕๕๕ ของศาลปกครองสูงสุด ดวยกรณีคาํ รองเรื่อง การปโตรเลียมแหงประเทศไทย หรือ บริษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) ไดสรางทําและดําเนินการ โรงงานวัตถุอันตราย และสารไวไฟ ๓ แหงคือ โรงแยกกาซใหมที่ 6 โรงแยกกาซอีเทน ของ ปตท.และโรงงานผลิต สารฟนอล ผิดหรือขัดกับ พระราชบัญญัตโิ รงงาน ป ๒๕๓๕ และ พระราชบัญญัติวตั ถุอันตราย ป ๒๕๓๕ รวมทั้งการ ปลอยปละละเลย ของพนักงานเจาหนาที่รฐั ทีเ่ กี่ยวของกับการอนุมตั -ิ อนุญาต ใหมี สรางทํา และดําเนินการโรงงาน ดังกลาว แตศาลปกครองสูงสุดมีคาํ สั่งไมรบั คํารอง ซึง่ ผูร องเห็นวา ศาลปกครอง ฟงขอเท็จจริงผิดพลาด ขณะนี้มี พยานหลักฐานใหมอันอาจทําใหขอเท็จจริงที่ฟงเปนยุตแิ ลวนั้นเปลี่ยนแปลงไปไดในสาระสําคัญ และขบวนการ พิจารณาไมชอบตามวิธีพิจารณาคดีของศาลปกครอง มีขอบกพรองสําคัญในกระบวนพิจารณาพิพากษาทําใหผลของ คดีไมมคี วามยุติธรรม ดังจะกลาวดังตอไปนี้ การทีห่ นวยงานรัฐ ปลอยปละละเลย ใหมกี ารสรางทําดําเนินการ โรงงานวัตถุอันตรายและสารไวไฟ ที่มีคลังกาซ ไวไฟขนาดใหญ สรางทําต่ํากวามาตรฐาน ไมมนั่ คงแข็งแรงเหมาะสม และไมนาไววางใจ ในเขตเทศบาล ที่มชี าวบาน อยูกันอยางหนาแนน จึงยอมตองมีความถีถ่ วนรอบดานในการใชอํานาจทางปกครอง โดยเฉพาะอยางยิ่ง ผลกระทบ ตอสาธารณะ ทีต่ ามรายงานการประเมินความเสี่ยง ของโรงแยกกาซที่ ๕ ของ ปตท. ที่แจงวา "คนในรัศมี ๑ กม. ๑๐๐ เปอรเซนต ตายภายใน ๑ นาที ถามีการระเบิดของถังเก็บกาซแอลพีจที รงกลมขนาดใหญนนั้ " อันตรายรุนแรงอยาง กวางขวาง ที่กระทบทัง้ ประชาชน และโรงงานวัตถุอันตรายและสารไวไฟที่รายลอมอยูในรัศมีอนั ตรายรุนแรงนั้น


แผนที่ ๒ ยอมที่จะตองใชความถีถ่ วนรอบคอบแคไหน เพราะไมใชปายโฆษณาลมพัง ที่จะสรางผลกระทบในพืน้ ที่จํากัด เทานั้น การพิจารณาขอกฎหมายปายโฆษณา ใชพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร ป ๒๕๒๒ ก็ยังไมเพียงพอ วัสดุ ลักษณะ ขนาด และแรงลมทีใ่ ชในการคํานวณ ก็ยังมีคาํ แนะนําใหเปลี่ยนแปลง มีกฏระเบียบใหม ซึง่ พนักงาน เจาหนาที่จําเปนตองรู และเขาใจ เพื่อจะไมทงิ้ ภัยเสี่ยงใหกบั ประชาชน ในงานกอสรางพิเศษสําคัญ ก็มมี าตรฐาน อางอิงเฉพาะ เชนรันเวยสนามบิน เพราะการทรุดพัง จะสรางวิบัติภัยหายนะได ซึง่ โรงงานวัตถุอันตราย และสาร ไวไฟ ก็มมี าตรฐานการสรางทํา และยังอิงกับการประเมินความเสี่ยง ที่จะสรางอันตรายรุนแรงดวย ซึง่ กรณี การ ประเมินความเสี่ยงของโรงแยกกาซแบบ HAZOP นั้น ใหเสมือนวา ไมมีแรงที่คาํ นวณหรือคาดการณไมได ที่มผี ล มาจากการทรุดตัวของโครงสราง และองคอาคารตางๆ หมายถึงไมยอมใหทรุดตัวไดเลย หรือยอมใหทรุดไดนอย มาก ขอกําหนดคาทรุดตัวตางกันที่ยอมรับได ๕ – ๑๐ มม. คือมาตรฐานโรงกลั่น โรงแยกกาซของ ปตท. เพราะถา ทรุดมากกวานี้ จะมีผลตอทอ-ขอตอตางๆ อุปกรณวาลว เครื่องมือ เครื่องจักร บิดแตกรั่วได และการรั่วของกาซ ไวไฟเหลวซึง่ มีอตั ราขยายตัว ๒๕๐ เทา การเกิดไฟไหมระเบิดเองไดดวยกระแสไฟฟาสถิตย หรือจากการควบแนน ที่จุดรั่วก็สามารถทําใหระเบิดเองไดดวย เปนดังนี้ การเลือกไมเจาะหรือตอกเสาเข็มสําหรับฐานรากทัง้ หมดยอม เปนสภาวะการเพิ่มโอกาสและสงเสริมใหเกิดความเสียหายได เพราะขอเสียขอแรกของการใชฐานรากตืน้ คือเสี่ยง ทรุดตัว การทรุดตัวแบบประลัย หรือการวิบัตขิ องทอ-ขอตอ-อุปกรณตางๆ ที่มาจากแรงบิดมหาศาล ประหนึ่งฟาง เสนสุดทายบนหลังลา ซึ่งมีแรงเครียดเคนแฝงอยู ซึง่ ลักษณะนี้จะตางจากกําแพง ผนัง ฝา คอนกรีต ทีจ่ ะเกิดการ แตกราว ตรงนี้คอื ภัยทีม่ องไมเห็น สังเกตุไมได จะเกิดเหตุเมื่อไหรวันใด จึงไมมใี ครคาดเดาได อาจเปนไปไดทั้ง วันที่ฝนตกหนักพายุลมแรง หรือวันที่ภาวะอากาศปกติ ถึงตรงนี้ จึงสรุปไดวา โรงงานทีถ่ ูกรอง เปนโรงงานวัตถุ อันตราย และกาซไวไฟ ที่มคี วามเสี่ยงทรุดทัง้ โรงงาน และมีโอกาสสรางภัยอันตรายรุนแรงไดทกุ วันทุกเวลา เพราะ มีความเสี่ยงทรุดทัง้ โรงงาน การอางถึงการศึกษา HAZOP วามีโอกาสเกิดไดนอยมากเพียง ๑ ในหลายรอยลานครั้ง ตอปนั้น ตองอิงจากมาตรฐานการสรางทํา ที่เสมือนไมยอมใหทรุดไดเลย เจตนจํานงของ พระราชบัญญัติโรงงาน และพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย ป ๒๕๓๕ บัญญัตไิ ววา “อาคารโรงงาน ตองสรางทําใหมนั่ คงแข็งแรงเหมาะสม และไววางใจได” ซึ่งควรอธิบายไดดังนี้ และมีรูป ประกอบอธิบายเปรียบเทียบใหเห็นความชัดเจนในหนาถัดไป คําวา “มั่นคงแข็งแรง” คือ ทนรับสภาวะการณตางๆ ได โดยไมทรุดพัง ตลอดอายุการใชงาน ๓๐-๔๐ ป คําวา “เหมาะสม” คือ อิงมาตรฐาน ขอกําหนดตางๆ หรืออิงขอกําหนดของเครื่องจักร ที่แกนเครื่องจักร คาที่ยอมรับ ใหเอียงหนีศนู ยนอยมาก อิงกับวิธีการศึกษาประเมินบงชี้ความเสี่ยงอันตรายตางๆ คําวา “ไววางใจได” คือ การดําเนินที่ถถี่ วนรอบคอบ รอบดาน มีมาตรการตางๆ มีปายสัญลักษณตางๆเปนตน ความมุง หมายในการบัญญัติกฎหมาย มาจากความตองการใหมีการสรางทําโรงงานที่ปลอดภัย และไมสรางอันตราย ตอสาธารณะ ซึง่ ตัวอยางภัยจากโรงกาซแอลพีจรี ะเบิดทีเ่ ม็กซิโก มีประชาชนเจ็บตายจํานวนมาก ไฟไหมบานเรือน อยางกวางขวาง ระเบิดตอเนื่องกันนานมากกวา ๑๐ ชั่วโมง แมจะบอกกันวา โอกาสเกิดไดนอยมากเรื่องโรงงานไฟ ไหมระเบิดนัน้ ในรอบ ๔-๕ เดือนที่ผานมา มีเหตุไฟไหมระเบิดของโรงงานอุตสาหกรรมพลังงาน และปโตรเคมี เฉลี่ย มากกวาเดือนละครัง้ เฉพาะที่เปนขาวใหญๆ คือ โรงงานบีเอสที มาบตาพุด ๕ พ.ค.๕๕, โรงกลัน่ บางจาก ๔ ก.ค.๕๕, โรงกลัน่ เชฟรอน ๘ ส.ค.๕๕ (วันที่มีคาํ สั่งไมรับฟอง), โรงกลั่นเวเนซูเอลา ๒๕ ส.ค.๕๕ และโรงงานกาซพีเม็กซ เม็กซิโก ๑๙ ก.ย.๕๕ ซึง่ เหตุที่เกิดบอยครัง้ สรางความตระหนกตืน่ กลัวกับภัยที่อยูใ กลบานมากทวีคณ ู ขึน้ อีก ทีค่ น หางไกลอาจไมเคยรูสกึ กันเลย อีกทั้งเหตุโรงกลัน่ เวเนซูลาระเบิด ถูกระบุวา สาเหตุมาจากกาซไวไฟรั่ว


แผนที่ ๓ ปายโฆษณาขนาดใหญลมพัง สรางภัยในวงจํากัด เฉพาะพื้นที่ใตปายเทานั้น แตถาถังสารเคมี วัตถุ ไวไฟ ลมพังสรางภัยอยางกวางขวาง การสรางทํา จึง ตองทําใหแข็งแรงเปนพิเศษ ไมมีปญหาที่เกิดจาก การลมพังได เพราะมีอายุการใชงานยาวนาน ไมใช ใชตั้งวางไวเพียงชั่วคราว จากความไมแข็งแรงทรุด พังสรางภัยใหสาธารณะมาแลว เชนกรณี การทรุด ของฐานวางพลุที่จุดในงานตรุษจีน ของจังหวัด สุพรรณบุรี ทําใหมีคนบาดเจ็บลมตาย บานเรือนถูก ไฟไหม และเสียหายจากแรงอัดของระเบิด แมใช ชั่วคราวก็ยังตองแข็งแรงพอฯ เจตนจํานงของ พรบ.โรงงาน และวัตถุอันตราย ป ๒๕๓๕ เพื่อควบคุมใหมีโรงงาน “ที่แข็งแรง มั่นคงเหมาะสม และนาไววางใจได “ จากภาพเปรียบเทียบใหเห็นวา กรณีถังน้ําทรุด ทอ น้ําแตกรั่ว ไมสรางภัยอันตรายอยางใด ในขณะที่ ถังของสารเคมีอันตราย ถาทรุดพัง ทอแตกรั่ว ยอมจะสรางภัย อยางกวางขวาง แมจะมีการ คํานวณ และถูกตองตาม พรบ.ควบคุมอาคารแลว แตไมแข็งแรงมั่นคงเหมาะสม และไมนาไววางใจ ผิด พรบ.โรงงาน และ พรบ.วัตถุอันตราย พนักงานเจาหนาที่หนวยงานรัฐ ที่มีหนาที่อนุมัติ อนุญาต และ ตรวจสอบ ปลอยปละละเลย ใหมีการ สรางทํา-ดําเนินการ โรงงานวัตถุอันตรายและสาร ไวไฟ ที่มีคลังกาซขนาดใหญ สรางทําต่ํากวา มาตรฐาน ไมมั่นคงแข็งแรงเหมาะสม และไมนา ไววางใจ ในเขตเทศบาล ที่มีชาวบานอยูกันอยาง หนาแนน... ทรุดพัง ยอมสรางภัยกวางขวาง เพราะมี คลังกาซไวไฟมหาศาล มาตรฐานโรงกลั่น โรงแยกกาซ ที่ ปตท.กําหนดขึ้น ยอมใหทรุดตางกันไดเพียง ๕-๑๐ มม. ถาทรุด มากกวานี้ จะสงผลกระทบกับทอ-ขอตอตางๆ อุปกรณตางๆ ทําใหบิดแตก ทําใหกาซไวไฟ รั่วไหล อาจทําใหเกิดไฟไหม ระเบิดได โอกาสนอยมากที่จะ เกิดการรั่ว ของกาซไวไฟ ในการศึกษาประเมินความ เสี่ยง มาจากมาตรฐานของฐานรากโครงสรางพิเศษ สําคัญ ตางๆ ที่ไมยอมใหทรุดไดเลย ดังนั้นการไม ตอกเสาเข็มฐานรากทั้งหมด ยอมเปนการสร แผนทีา่งทํ๓าต่ํา กวามาตรฐาน แบบกอสรางไมระบุขอกําหนดงานดิน


แผนที่ ๔

การอางวา “ขออนุมัติถูกตองตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร” แตสรางทําไมไดตรงตามการออกแบบ จะรับ น้ําหนักโครงสรางตางๆ ไดอยางไร คาความสามารถรับน้ําหนักของดิน ทีใ่ ชสูงมากถึง ๓๐ ตัน / ม๒ โดยทั่วไป เทียบเทา ชั้นดินที่มีลักษณะเปนหินปูนหินทราย ตอกหรือเจาะเสาเข็มไมได ชั้นดินดานหินดาน ยังใชกันเพียง ๒๕ ตัน/ม๒ ชั้นดินในความลึกของเสาเข็ม ยาว ๑๐-๑๒ ม. นั้น ไมปรากฏ ในรายงานการทดสอบดินของ ปตท. โรงแยกกาซที่ ๖ วาดินมีความแข็งแรงกวา โรงงานอื่นๆ เมื่อเปรียบเทียบกับโรงงานแพรกแอรที่อยูติดกัน ซึ่งใช เสาเข็มเจาะ ๑๐-๑๒ ม. และใชคาความสามารถรับน้ําหนักของดินเพียง ๕ ตัน/ม๒ เทานัน้ ในสวนของอาคาร SUBSTATION ของโรงแยกกาซที่ ๖ ซึ่งกอสรางโดย บ. ABB ก็ใชเสาเข็มเจาะ ลึก ๑๐-๑๒ ม. (จะมั่นคงแข็งแรงได ตรงตามการออกแบบหรือ ไมมี วิศวกรสนามหรือวิศวกรควบคุมคุณภาพ คนใดเลยทีท่ ราบถึง คาความสามารถ รับน้ําหนักของดินทีใ่ ชในการออกแบบ สูงถึง ๓๐ ตัน/ม2 เพราะควบคุมการกอสรางใหไดสงู ขนาดนั้นยากมาก) * แบบกอสราง ฐานรากตื้น ทั้งหมดของโรงแยกกาซใหม ปตท. ไมมีมาตรฐานขอกําหนด งานดิน *


แผนที่ ๕

ฐานรากโรงงานแพรกแอร ที่อยูในพื้นที่โรงแยกกาซ ปตท. มาบตาพุด ใชเสาเข็มเจาะ ขนาด ๓๕๐ มม. ยาว ๑๐ เมตร คารับน้ําหนัก ๔๐ ตัน/ตน และกําหนดคาความสามารถรับน้ําหนักของดินไวในแบบเพียง ๕ ตัน/ม๒ ซึ่ง นอยกวา ๖ เทา เทียบกับของโรงแยกกาซที่ ๖ ของ ปตท.ใชออกแบบฐานรากตืน้ (ไมใชเสาเข็มฐานรากทัง้ หมด) ที่๓๐ ตัน/ม๒ ชั้นดินที่หางกันเพียงรอยกวาเมตรอยูในรั้วเดียวกัน คารับน้ําหนักของดินตางกันถึง ๖ เทา ดินโดยปรกติ จะมีคา รับน้ําหนัก หรือ ลักษณะของเม็ดดินคลายคลึงกัน ยกเวนที่มลี ักษณะเปนกอนหินขนาด ใหญ เชน กรณีพนื้ ที่ไหลเขาของการกอสรางเจดียวัดเขาสุกิม ที่มลี ักษณะแตกตางกันหลายลักษณะ ซึ่งยังตอง ใชทง้ั เสาเข็มตอก และเสาเข็มเจาะที่เจาะลงไปในชั้นหินลึก ๓ เมตร ผสมผสานกับฐานรากคอนกรีตหลา


แผนที่ ๖ พนักงานเจาหนาที่รัฐ ยอมรูดีวา โรงงานที่อนุมตั ิใหสรางทํา หรือดําเนินการนั้น มีความเสี่ยงภัยที่จะกออันตราย รุนแรงอยางไร โดยเฉพาะอยางยิ่งโรงงาน ที่อยูในเขตเทศบาล อยูกลางชุมชนจํานวนมาก ยอมตองมีความถี่ ถวน ในการพิจารณาอันตรายตางๆ ที่จะเกิดตอสาธารณะได เชนในการตอเติมอาคารตางๆ เมื่อผิดแบบ หรือใช แบบที่ไมสมบูรณ ยังสามารถใชอํานาจทางปกครอง สั่งใหรื้อได จากคํารองที่แจงถึงการสรางทําวา ไมระบุคา ความสามารถรับน้ําหนักของดินทีใ่ ชในการออกแบบ ไวในแบบกอสรางแลว ก็ควรจะเรงรัดใหมีการตรวจสอบ เพราะโครงสรางพิเศษสําคัญทั้งหมดวางไวบนดิน ที่อางวามีความแข็งแรงมาก แตไมมีการทดสอบซ้ํา หลังการ ขุด และบดอัด เพื่อวางฐานรากตื้น ซึง่ สรางทําอยางไร ก็ไมสามารถรับน้ําหนักไดตามการออกแบบ ดังนี้แลว นอกจากจะสรางทําโดยขาดความมั่นคงแข็งแรง และเหมาะสม เพราะเลือกที่ไมตอกเสาเข็มฐานราก ซึ่ง มาตรฐานขอกําหนด คาทรุดตัวตางกันนอยมากที่กําหนดไวเพียง ๕ – ๑๐ มม. เทานั้นเสมือนไมยอมใหทรุดได เลย การกอสรางโรงแยกกาซใหมใชแบบกอสราง กับขอกําหนด ที่ไมมีมาตรฐานงานดินในการกอสราง วา จะตองควบคุมใหดินสามารถรับน้ําหนักไดเทาใด เพื่อหลอ หรือติดตั้งฐานรากตื้นทั้งโรงงาน จึงเปนการสรางทํา โดยไมมีมาตรฐาน แตที่ผานมาก็ไมมีหนวยงานรัฐ ที่เกี่ยวของเขาไปตรวจสอบ เพียงแตหาเอกสารเพื่อใหพวก ตนพนผิด อางเพียงวา อนุมัติกนั ถูกตองตาม พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร ป ๒๕๒๒ แลวเทานัน้ ก็ยอมถือได วาละเลยหนาที่ที่จะตรวจสอบดวย เพราะทิ้งความเสี่ยงภัยใหประชาชน รายงานการประเมินความเสี่ยงอันตรายรุนแรงของโรงแยกกาซที่ ๕

ระยะรัศมี ๑ กม. ที่แจงวาผลกระทบตอคน คือ ๑๐๐ % ตาย ภายใน ๑ นาที คืออันตรายรุนแรงของเหตุที่เกิดขึ้น ได พนักงานเจาหนาทีท่ ี่เกี่ยวของจะอางวาไมรูไมไดดูไมได โอกาสของการเกิดกาซรั่วที่อางวานอยมากนั้น เมื่อ สรางทํากันไมมนั่ คงแข็งแรงแลว เมื่อมีธรรมชาติภัยที่ไมเคยเกิดมาในรอบ ๑๐๐ ป เกิดขึ้น จะเอาอยูหรือ น้ําทวม ป ๒๕๕๔ สรางความเสียหายใหญหลวงยังเกิดใหเห็นแลว รอจะโทษเหตุสุดวิสัย หรือ มักงายประมาท


แผนที่ ๗

กรณีคาํ สัง่ ของศาลปกครองระยอง และศาลปกครองสูงสุดไมรับคําฟอง วา “ไมมีสทิ ธิฟองคดี” และอางวา พนักงานเจาหนาที่หนวยงานรัฐ ปฏิบัตถิ กู ตองตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคารป ๒๕๒๒ แลวนั้น ผูรองได อุทธรณ หรือโตแยงคําสัง่ มาแลว ตัง้ แต ๒๔ กันยายน ๒๕๕๓ และสงหนังสือชี้แจงเพิม่ เติม-เรงรัดคดีหลายครั้ง แตการอานคําสั่งไมรับฟองที่อานเมื่อตนฤดูฝน ๘ สิงหาคม ๒๕๕๕ (ฝนมาพายุเขา โรงงานไมตอกเสาเข็มจะ ปลอดภัยดี หรือจะทรุดพังสรางภัย) ที่มีการสัง่ คดี ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๕๕ ซึง่ คําสั่งแลวเสร็จมาตั้งแตปลายป ๒๕๕๔ หลังจากเหตุน้ําทวมศาลปกครอง น้ําทวมสนามบินดอนเมือง และทวมหลายนิคมอุตสาหกรรม ซึง่ ก็ไมมี การทบทวนคําสั่ง (ผูร องไปติดตามในเดือน มกราคม ๒๕๕๕ ไดรับแจงวาอยูระหวางการตรวจอักษรคําสัง่ ไม ตองสงอะไรมาแลว) และแมมีเหตุโรงงาน บีเอสที มาบตาพุด ระเบิด เมื่อ ๕ พฤษภาคม ๒๕๕๕ การมีหมายให ไปรับฟงคําสัง่ เมื่อ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๕๕ หลังเหตุโรงกลั่นบางจากระเบิด เมื่อ ๔ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ซึ่งทั้ง ๒ เหตุการณ ไดสรางผลกระทบประชาชนในวงกวาง และสรางความตื่นตระหนกใหประชาชน การสั่งคดีไมรับฟอง ในตนฤดูฝน และหลังเหตุระเบิดของโรงงาน ที่มาบตาพุด ที่บางจาก แสดงใหเห็นวา การพิจารณาคดี ไมไดให ความสนใจเหตุภัยตางๆ ความแปรปรวนของธรรมชาติภยั ที่รนุ แรงขึ้น กับความไมมั่นคงแข็งแรงในการสรางทํา และความเสี่ยงภัยอันตรายรุนแรงที่อาจจะเกิดขึ้นกับประชาชน ในพื้นที่เศรษฐกิจของชาติตามที่อางกัน สวนหนึง่ ของนิติรัฐ หรือไม การที่ประชาชนสามารถเขาถึงองคกรตุลาการไดยอมเปนหลักประกันสิทธิของ ประชาชนไดวา องคกรตุลาการจะพิจารณาเรื่องของตนอยางถูกตอง และเปนธรรมโดยปราศจากการมีอิทธิพล จากองคกรอื่นๆ โดยเหตุนี้หลักประกันในการคุมครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน จึงเรียกรองวาอยางนอย ประชาชนจะตองสามารถไดรับความคุมครองจากองคตุลาการได (ประชาชนมีสิทธิรองทุกข ในเรื่องตางๆ และมี สิทธิฟองหนวยงานของรัฐได รัฐธรรมนูญ ป ๒๕๔๐ มาตรา ๖๑ บุคคลยอมมีสิทธิเสนอเรื่องราวรองทุกข และ ไดรับแจงผลการพิจารณา ภายในเวลาอันสมควร ทัง้ นีต้ ามที่กฎหมายบัญญัต)ิ “สิทธิขั้นพื้นฐาน ความเปนมนุษย และสัตว คือการกลัวเจ็บกลัวตาย การหลีกลี้หนีภัย ปกปองอันตราย ปกปอง ทรัพยสิน อาณาเขตของตน ที่ยังไมตองกาวลวงไปถึง ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย หรือ สิทธิมนุษยชนอะไร”


แผนที่ ๘ ๕ พ.ค. ๕๕ โรงงานบีเอสที มาบตาพุด ระเบิด เมื่อเกิดเหตุภัยแลวระงับไมไดเอาไมอยู ถาไมมีฝนชวย ซ้ํารายยัง ปลอยทิ้งชาวบานใหตาย ไมมสี ัญญาณเตือนภัย ไมมีการแจงเตือนแจงภัยแจงอพยพ ไมมีหนวยงานใดชวยเหลือ ประชาชน ทุกฝายอางวาไมมีอํานาจหนาที่ ไมมใี ครกลาสั่ง ถาประชาชนเจ็บตายจํานวนมาก ใครจะรับผิดชอบ ชาวบานตองการหรือ เงินเยียวยาชดเชยที่แลกดวยชีวิต การเจ็บปวยพิการ บานเรือนไหมไฟ ประเด็นนีไ้ ดสง เปนคําชี้แจงเพิ่มเติมมายังศาลปกครองแลว แตคาดวา องคคณะตุลาการ ไมไดอานไมไดดู วาเมื่อเกิดเหตุภัย อะไรกับชาวบาน ชาวบานไดรับผลกระทบอะไร รัศมีไกลกวา ๖ กม. เงินเยียวยาชดเชย ที่วันนี้ถงึ มือผูไ ดรับ ผลกระทบแบบไมครบถวน คนทีไ่ มมที ะเบียนบานในพื้นที่ ไมใชผูไดรับผลกระทบ ไมไดรับเงินเยียวยาชดเชย ตองเจ็บตายฟรีหรืออยางไร ถาเกิดภัยอันตรายรุนแรงขึน้ (ดร.วีรพงศ ไชยเพิ่ม ผูวาการการนิคมอุตสาหกรรม แหงประเทศไทย (กนอ.) ระบุวา สาเหตุของเพลิงไหมเกิดจากถังบรรจุสารโทลูอีน ขนาด ๗.๔ ลูกบาศกเมตร – ปริมาณคลังกาซไวไฟเหลว ของ ปตท. ปริมาณ ๓๓,๖๐๐ ลบ.ม. หรือมากกวา ๔.๒ พันคันรถ ที่อยูในสภาวะ เสี่ยงที่จะกอใหเกิดภัย ถามีเหตุระเบิดไฟไหมลุกลามในโรงแยกกาซมาบตาพุด)

รูปเหตุโรงงาน บีเอสที มาบตาพุด ระเบิด เมื่อ ๕ พฤษภาคม ๒๕๕๕ ในสื่อ ออนไลน ของกลุมทวงคืน ปตท.

วันที่ ศาลปกครอง รูส ึกสั่นคลอน และมีความเสี่ยง อางวามีกลุมคนจองจะรื้อลม พวกทานเรียกรองใหสื่อ-ให ประชาชนชวยกันดู เพื่อชวยกันรักษาพวกทาน องคกรทานไว อางวา เพื่อเปนที่พึ่งพาของประชาชน ดํารงความ เปนธรรม ชอบธรรม สรางความปลอดภัยผาสุกใหสงั คม แตครั้นเมื่อประชาชนเสี่ยงเจ็บตาย ตื่นกลัว ทานกลับ บอกวา “ประชาชน ไมมีสทิ ธิ จะกลัวเจ็บกลัวตาย” ทั้งที่เมื่อเกิดเหตุรายแรงแลว ก็ไมมหี นวยงานไหนดูแล ประชาชนได แมกระทั่งขบวนการศาลปกครอง ก็ไมเคยเอยถึงเรื่องที่เกิดขึ้น และยังซ้ําเติมดวยการทิ้งประชาชน ใหเสี่ยงเจ็บตายไดอีก หนวยงานของรัฐ เจาหนาที่รฐั ทุกหนวยงาน อางวาไมมีอํานาจหนาที่ สัง่ ตรวจสอบ โรงงานเสี่ยงสรางอันตราย ของ ปตท. ทีส่ รางทําไมมนั่ คงแข็งแรงเหมาะสมและนาไววางใจ ผิด พรบ.โรงงาน และ พรบ.วัตถุอันตราย อยางประจักษชัด แตทุกคนทุกหนวยงาน อางวา "ตองรอศาลปกครองสั่ง" ศาลปกครอง สูงสุดสั่งไมรับคดีอางวาถูกตองแลว ไมมีการตรวจสอบ ทั้งที่วิศวกรรมสถาน ก็รูวามีความเสี่ยงมหาศาล แตตอง รอศาลปกครองสั่ง ประเทศไทย จะปลอยทิ้งความเสี่ยงภัยกันไวแบบนี้หรือ?


แผนที่ ๙ คนมาบตาพุดไมมสี ิทธิ์กลัวเจ็บกลัวตายหรือ ผูร องไดออกไปชี้ชวนใหประชาชนเห็นภัย เพียงระยะเวลาสั้นๆ ก็มี ประชาชนรวมลงชื่อเพื่อรวมกันรองฟองใหม ใหศาลปกครองสูงสุด ตรวจตราแบบรอบคอบถี่ถวนในการพิจารณา อีกครั้งหนึง่ ที่ศาลปกครองสูงสุด บอกวา ไมผิด การเลือกใชขอกฎหมายของตุลาการศาลปกครองสูงสุด คําวา สูงสุด ยอมมีคาํ ถีถ่ วนรอบคอบ ในการชีผ้ ิดถูก โดยเฉพาะอยางยิ่ง ผลกระทบตอสาธารณะ ทีต่ ามรายงานการ ประเมินความเสี่ยง ของ ปตท. ที่แจงวา "คนในรัศมี ๑ กม. ๑๐๐ เปอรเซนต ตายภายใน ๑ นาที นั้น" อันตราย รุนแรงแบบนี้ ที่จะตองใชความถีถ่ วนรอบคอบแคไหน ระบุวาเปนการคาดการณ สิ่งที่จะเกิดหรือไมเกิดก็ได แต จะทิ้งภัยเสี่ยงใหประชาชนตองรับหรืออยางไร เสี่ยงภัยดานสุขภาพอนามัย ก็ยังแกกนั ไมได วันนี้จะทิ้งใหเสี่ยง ภัยอันตรายรุนแรงอีก โดยไมมีการตรวจสอบ ไมมีขอมูลทางวิทยาศาสตรหรือ วาระที่ ทานประธานศาลปกครอง ประกาศผานสื่อ กับการปฏิบัติที่แตกตางกัน ที่ทานกลาวไววา “เมื่อมีการ กอตั้งศาลปกครองและใชระบอบไตสวนในการพิจารณาคดี ศาลมีอํานาจในการแสวงหาขอเท็จจริง พยานหลักฐานตางๆ ใหปรากฏออกมาบนพื้นฐานขอเท็จจริงทีค่ รบถวนทัง้ หมด จึงนาจะเปนธรรมและถูกตอง มากกวาการพิจารณาตามขอเท็จจริงที่คูกรณีเสนอใหมา ซึ่งตนเห็นวาการใชศาลปกครองพิจารณาคดีอยางนี้เปน ประโยชนกับประชาชนมากกวา ...” ซึ่งกรณีการไมรับคําฟอง ซึ่งนอกจากการไมมีการไตสวน ไมอานไมดคู าํ ชี้แจงตางๆ ไมไดแสวงขอเท็จจริงอยางครบถวนแลว แตกลับเพิ่มสงเสริมสภาวะการไดรับความเสียหายของ ประชาชนขึ้นอีก ความเสี่ยงไมใชความรูส ึก เปนการเพิ่มสงเสริมโอกาสที่จะใหประชาชนประสบพบภัย ให ประชาชนเสี่ยงภัยเสี่ยงตายเพิ่มขึ้น ยอมเปนผลกระทบ ที่มาจากการประมาทมักงาย ละเลยการปฏิบัติหนาที่ที่ ควรถีถ่ วนรอบคอบ จึงไมเฉพาะเพียงพนักงานเจาหนาทีข่ องรัฐ ที่มีอํานาจทางปกครอง อนุมตั ิใหสรางทําอนุญาตใหดําเนินการโรงงานเสี่ยงภัย เทานั้นฯ ผูรอง และประชาชนในพืน้ ที่มาบตาพุดทีร่ ว มกันลงชื่อ หรือมิไดลงชื่อรวม พักอาศัยอยูใกลโรงงานที่สามารถ สรางอันตรายรุนแรงรายแรงไดนั้น ถือวา มีความเสี่ยงภัยเดิมอยูแลว จากการปลอยปละละเลยของเจาหนาที่รัฐ ใหสรางทํา และดําเนินการโรงงานวัตถุอันตราย และสารไวไฟ โดยไมมั่นคงแข็งแรงเหมาะสม และไมนาไววางใจ เปนการเพิ่มสภาวะที่สง เสริมใหเกิดความเสียหาย หรือเพิ่มโอกาสที่จะเกิดความเสียหายขึ้นไดอีกนั้น ยอมถือวา ไดรับผลกระทบจากการละเลยการทําหนาที่แลว ซึ่งประชาชนสวนใหญก็มีความเห็นตรงกันวา “การมีโรงงาน อันตราย ในเขตชุมชน ก็มคี วามเสี่ยงเดิมอยูแลว ยิ่งไมตอกเสาเข็มฐานรากนั้นจะเอาอยูหรือ ไมมใี ครเชื่อวา ปตท.จะไมตอกเสาเข็มฐานราก ทําไมมักงายประมาท เพราะทุกวันนี้ ธรรมชาติภัยอะไรอะไรก็เกิดขึ้นได สนามบินดอนเมืองยังถูกน้ําทวม และตอนมีเหตุระเบิดทีโ่ รงงาน บีเอสที ก็ไมเห็นมีใครออกมาชวยประชาชน คาชดเชยเยียวยาไมถึงมือผูไ ดรับผลกระทบครบถวน ตองมีทะเบียนบาน มาทํางานหลายป ก็เชาบานเขาอยู แบบนี้ เจาของบานนอนอยูระยอง ไมใชผไู ดรับผลกระทบ แตมารับสตางค “ แมขณะนี้ จะอางวายังไมมีเหตุไฟไหมระเบิด จนสงผลเสียหายรายแรง แตการรั่วไหลของกาซบอยครั้ง ของ โรงงานผลิตสารฟนอล กับกลิ่นกาซหุงตมรั่วไหลรุนแรง บริเวณหนาโรงแยกกาซ ปตท. มาบตาพุด ซึง่ สงผล กระทบชาวบาน และมีการรองเรียนบอยครั้งนัน้ ถือไดวา เกิดความเสียหายดานสุขภาพอนามัย ทั้งทางกาย ทัง้ ทางจิตใจ แลวหรือไม หรือจะตองรอใหกอเหตุเจ็บตาย ไฟไหมบานเรือนรานโรงจํานวนมากกอน จึงถือวาเปน การละเลยการทําหนาที่ ของพนักงานเจาหนาที่ของรัฐ ผูร องและชาวบานจึงจะมีสทิ ธิในการฟองคดี - “แมจะอาง วา การละเลยการทําหนาที่ หมดอายุความไปแลว แตความเสี่ยงภัยของประชาชน ไมมีวันที่จะหมดอายุภัยเสี่ยง จนกวา จะมีการตรวจสอบ ซอมสรางใหแข็งแรงมั่นคง หมดความเสี่ยงที่จะทรุด”


แผนที่ ๑๐ การรับรูของประชาชน กับเสียง และแสงบนทองฟา ยามกลางคืนตามภาพนั้น ความรูส ึกหวาดกลัว วิตกกังวล เปนอยางไร เมื่อเกิดเหตุแลวไมมีสญ ั ญาณเตือนภัย ไมมกี ารแจงเตือน ไมมหี นวยงานใดๆ ชวยเหลือประชาชน เสียงโรงงานระเบิด กับเสียงฟารองฟาผา เปนเสียงเดียวกัน ถาเกิดเหตุตอนกลางคืนขณะหลับ จะเกิดอะไรขึ้น ผลกระทบเกิดแลว การเยียวยา ที่ตองตามทวงถาม ไมมสี ื่อใหความสนใจ คนไมมีทะเบียนบานในพืน้ ที่ ไดรับ ผลกระทบ ไมไดคา ชดเชย เหลียวแล อะไรเกิดขึ้นในพืน้ ที่มาบตาพุด พื้นที่เศรษฐกิจของชาติ ผลกระทบจาก มลพิษเยียวยาไมได ยังถูกทิง้ ใหเสี่ยงภัย จากขบวนการยุติธรรม ซ้ําอีก...

ทองฟากลางคืนที่เหมือนมีเหตุไฟไหมเปนประจํา มีเสียงไซเรนรถฉุกเฉินสําทับอีก ไมรูวามีเหตุอะไรเกิดขึ้น มีแตความหวาดวิตกกังวล ที่คนนอกพื้นที่ไมเคยรูสึก ถึงความหวาดกลัว

จากรายงาน การประเมินความเสี่ยง ของ โรงแยกกาซ ที่ ๕ ของ ปตท. นั้น พนักงานเจาหนาที่ ตองทราบถึง อันตรายรุนแรงดีแลว อีกทั้งรัศมีอันตรายรุนแรงครอบคลุม ทั้งตลาด ชุมชน โรงเรียน และโรงงานวัตถุอันตราย และสารไวไฟ อื่นๆ จํานวนมาก ที่จะกอใหเกิดระเบิดลุกลาม - อันตรายรุนแรง ของปายโฆษณา คือ พังลมทับ คนตาย แต อันตรายรุนแรง ของโรงแยกกาซใหม ปตท. คือ คนในรัศมี ๑ กม. ๑๐๐% จะตายภายใน ๑ นาที การอางวา โอกาสเกิดการรั่วไหลของกาซอยางรุนแรงนัน้ นอยมาก เพียง ๑ ในหลายรอยลาน ครั้งตอป แตเมื่อ การสรางทําต่ํากวามาตรฐานแลว ไมมีความมั่นคงแข็งแรงไดจริงตามขอกําหนดแลว การศึกษาเรื่องโอกาสและ ความเสี่ยง จึงอางอิงกันไมได ดังนั้นการปลอยปละละเลยใหมี โรงงาน ทีส่ ามารถสรางภัยอันตรายรายแรงเชนนี้ แลว นาจะถือไดวา เปนการประมาทอยางไมนาใหอภัย ไมใชแคการละเลย การปฏิบัติหนาที่เทานั้น ผูวาราชการจังหวัดระยอง นายกเทศมนตรีมาบตาพุด อาง วาไมมีอํานาจทางกฎหมาย, ผูวาการการนิคมอุตสาหกรรม แหงประเทศไทย, ผูอํานวยการการนิคมมาบตาพุด อางวา อยูนอกเขตอํานาจ ของการนิคมอุตสาหกรรม เพราะอยูใน เขตเทศบาล วิศวกรรมสถาน รับรู แตอางวาตองรอคําสัง่ ศาลปกครอง หนวยงานอื่นๆ รับรูแตเงียบเฉยกันหมด ทั้งที่ รูวาไมปลอดภัย สื่อมวลชน เงียบเพราะหวงแคคาโฆษณา หรือเพราะ ผลประโยชนทับซอนอื่นๆ สส.สว. ของจังหวัด ระยอง ก็อางเพียงวา นากยกรัฐมนตรี รูเรื่องแลว ยังไมสั่ง การอะไร เห็นวา จะเรงรัดทําสัญญาณเตือนภัย แตเกิดเหตุ ภัยแลว สัญญาณเตือนภัย อะไรๆ ก็ไมมีเสียงดังเตือน


แผนที่ ๑๑ พระราชบัญญัติจัดตัง้ ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งบงชีส้ ิทธิประชาชน มาตรา ๔๒ ผูใดไดรับความเดือดรอนหรือเสียหาย หรืออาจจะเดือดรอนหรือเสียหายโดยมิอาจหลีกเลี่ยงไดอัน เนื่องจากการกระทําหรือการงดเวนการกระทําของหนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐหรือมีขอโตแยง เกี่ยวกับสัญญาทางปกครอง หรือกรณีอื่นใดที่อยูในเขตอํานาจศาลปกครองตามมาตรา ๙ (กรณี คดีพิพาท เกี่ยวกับการกระทําละเมิดหรือความรับผิดอยางอื่นของหนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐอันเกิดจาก การใชอํานาจตามกฎหมาย หรือจากกฎ คําสั่งทางปกครอง หรือคําสัง่ อื่น หรือจากการละเลยตอหนาที่ตามที่ กฎหมายกําหนดใหตองปฏิบัติหรือปฎิบตั ิหนาที่ดงั กลาวลาชาเกินสมควร) รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มีบทบัญญัตใิ นการคุมครองสิทธิ และเสรีภาพของ ประชาชน มาตรา ๔๐ (๑) และ (๒) ที่บัญญัตใิ หสิทธิในกระบวนการยุติธรรมแกประชาชน ทัง้ สิทธิในการเขาถึง กระบวนการยุติธรรมไดโดยงาย สะดวก รวดเร็ว ทั่วถึง สิทธิพื้นฐานในกระบวนการพิจารณา ซึ่งอยางนอยตองมี หลักประกันขั้นพืน้ ฐานเรื่องการไดรับการพิจารณาโดยเปดเผย การไดรับทราบขอเท็จจริงและตรวจเอกสารอยาง เพียงพอ การเสนอขอเท็จจริง ขอโตแยง และพยานหลักฐานของตน มาตรา ๖๐ ใหประชาชนสามารถใชสทิ ธิใน การฟองหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ ราชการสวนทองถิ่น หรือองคกรอื่นของรัฐที่เปนนิติบุคคล ใหรับผิดเนื่องจากการกระทําหรือการละเวนการกระทําของขาราชการ พนักงานหรือลูกจางของหนวยงานนั้น และมาตรา ๖๗ วรรคสาม ใหสทิ ธิ ชุมชนในการฟองหนวยงานทางปกครองเกี่ยวกับสิ่งแวดลอม ฯลฯ ระเบียบกรมโรงงานอุตสาหกรรม วาดวยหลักเกณฑการชี้บงอันตราย การประเมินความเสี่ยง และการจัดทํา แผนงานบริหารจัดการความเสี่ยง พ.ศ. ๒๕๔๓ การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) หมายถึง กระบวนการ การประมาณระดับความเสี่ยง และการ ตัดสิน วาความเสี่ยงนั้นอยูในระดับที่ยอมรับไดหรือไม ซึง่ ตองทําแลวเสร็จกอนการดําเนินการโรงงาน “ความเสี่ยง” หมายถึง ผลลัพธของความนาจะเกิดอันตราย และผลจากอันตรายนั้น (อุบตั ิเหตุหรืออุบัติการณ) “การชี้บงอันตราย” หมายถึง กระบวนการ ในการรับรูถ ึงอันตรายที่มีอยู และการกําหนดลักษณะของอันตราย “อันตราย” หมายถึง แหลงหรือสถานการณที่อาจกอใหเกิดการบาดเจ็บ หรือความเจ็บปวย ความเสียหายของ ทรัพยสิน ความเสียหายตอสิง่ แวดลอมหรือสิง่ ตาง ๆ เหลานี้รวมกัน "อุบัติภัยรายแรง" หมายความวา การเกิดเพลิงไหม การระเบิด หรือการรั่วไหลของสารเคมีหรือวัตถุ อันตรายที่สงผลกระทบรุนแรงตอสุขภาพอนามัย ชีวิต ทรัพยสิน ชุมชน หรือสิง่ แวดลอม Hazard and Operability Study (HAZOP) เปนเทคนิคการศึกษา วิเคราะหและทบทวน เพื่อชี้บง อันตรายและ คนหาปญหาที่อาจเกิดขึ้นจากการดําเนินงานโรงงาน โดยการวิเคราะหหาอันตรายและปญหาของระบบ ตางๆ ซึ่งอาจจะเกิดจากความไมสมบูรณ ในการออกแบบ ที่เกิดขึ้นโดยไมไดตงั้ ใจ ดวยการตั้งคําถามที่ สมมุติสถานการณของการผลิตในภาวะตาง ๆ โดยการใช HAZOP Guide Words มาประกอบกับปจจัยการผลิต ที่ไดออกแบบไว หรือความบกพรองและความผิดปกติในการทํางาน เชน อัตราการไหล อุณหภูมิ ความดัน เปนตน เพื่อนํามาชี้บงอันตรายหรือคนหาปญหาในกระบวนการผลิตซึง่ อาจทําใหเกิดอุบัติเหตุ หรืออุบัติภัย รุนแรงขึ้นได (ซึ่งไมไดระบุเรื่องการทรุดของฐานรากองคอาคารตางๆ จึงเสมือนวาไมมีการทรุดตัวเลย)


แผนที่ ๑๒

เชื่อถือไดอยางไร สรุปการประเมินอันตรายรายแรง ของโรงแยกกาซ ที่ ๕ ปตท. คงเขียนแบบเดียวกันกับโรง แยกกาซที่ ๖ ของ ปตท. จากผลการศึกษาเมื่อเกิดกรณีสารเคมีรั่วไหล ลูกไฟ (Fireball) Pool Fire และ Jet Fire ที่อาจจะเกิดขึ้น จะมีรัศมีความรอนจะครอบคลุมพื้นที่ภายในพื้นทีโ่ รงแยกกาซธรรมชาติและบริเวณใกลเคียง แตกระนั้น เหตุการณเหลานี้มโี อกาสเกิดขึ้นนอยมาก เนื่องจากทางโรงงานมีมาตรการปองกันดานตาง ๆ มากมาย รวมถึง แผนฉุกเฉิน และการศึกษา HAZOP ดังนั้นผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากอันตรายรายแรงจึงอยูในระดับต่ํา * ที่มาของโอกาสเกิดอันตรายรุนแรง ที่อางวามาจากการศึกษา HAZOP ยอมเชื่อถือไมได เมื่อพื้นฐานรากฐาน ของทุก NODE ที่การศึกษา ไมมีความมั่นคงแข็งแรง เพราะมีแรงบิดมหาศาล ที่เกิดจากการทรุดตัวตางกัน *


แผนที่ ๑๓ Failure Modes and Effects Analysis (FMEA) เปนเทคนิคการชี้บง อันตรายที่ใชการวิเคราะหในรูปแบบความ ลมเหลวและผลที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการตรวจสอบชิ้นสวนเครือ่ งจักรอุปกรณในแตละสวนของระบบแลวนํามาวิ เคราะหหาผลที่จะเกิดขึ้นเมื่อเกิดความลมเหลวของเครื่องจักรอุปกรณ (ซึง่ ไมไดระบุเรื่องการทรุดของฐานราก องคอาคารตางๆ จึงเสมือนวาไมมีการทรุดตัวเลย เชนเดียวกันกับ การศึกษา HAZOP) กรณีใช WHAT-IF Analysis ซึ่งจะพบวา เกิดเหตุอันตรายไดทั้งโรงงาน เชน ถาฐานทรุดพัง ทอแตก ขอตอแตก วาลวแตก นอตหนาจานขาด กาซไวไฟเหลวรั่ว เกิดไฟไหม เกิดระเบิด แลวอะไรจะเกิดขึ้น ซึง่ ตองทํากับทุก โครงสรางทั้งโรงงาน เพราะมีความเสี่ยงทรุดทั้งหมด แตสามารถแยกโซนเปนสวนเฝาระวังพิเศษได กรณีการศึกษา เรื่องการประเมินความเสี่ยง กับความนาหวงใย

เกิดเหตุบอยครั้งมากขึ้น ที่เกิดเหตุระเบิดรุนแรง ของ ภาคอุตสาหกรรมพลังงาน และปโตรเคมี ที่หลายประเทศเพิ่มมาตรการควบคุม ดวยการออกระเบียบ และออกกฎหมายเพิ่มเพื่อปกปองประชาชน-สภาวะแวดลอม

เมือ่ เกิดเหตุแลว มีการเจ็บตายจํานวนมาก ที่โรงงานบีเอสที ระเบิดนั้น ขาวในพื้นที่มีการเสียชีวิต มากกวา ๑๐๐ คน

ความรุนแรงของ การระเบิดของโรงงาน บีเอสที แรงอัดระเบิดสงผลกระทบตอบานเรือน ไกลถึง ๖ กิโลเมตร การประเมินความเสี่ยงใหม ของโรงงานตางๆ ในมาบตาพุด กําลังอยูระหวางการดําเนินการ (อางจากขาว)


แผนที่ ๑๔

ปญหาของโรงงานในมาบตาพุด กับผลกระทบสิ่งแวดลอมแกไขไมได วันนี้กลับเพิ่มใหเสี่ยงภัยอันตรายรุนแรงรายแรงอีก

เมื่อรับรูวา มีความเสี่ยงสูง จึงควรตองมีการตรวจสอบ มีขอมูลทางวิทยาศาสตร มีการซอมสรางแกไข และการติดตาม, ความมั่นคงแข็งแรงที่ควรเกิน ๑๐๐% สําหรับโรงงานที่มีโอกาสสรางอันตรายรุนแรงมาก ไมใชปลอยทิ้งใหเสี่ยงทรุดพังได เมื่อเกิดเหตุภัยแลว ถาระงับไมไดเอาไมอยู ยอมจะสรางความเสียหายใหญหลวง เหตุที่เคยสรางความเสียหายใหญหลวงกลางทะเลติมอร ก็มาจากการสรางทําต่ํากวามาตรฐานที่ ปตท.สผ.กําหนดขึ้นเอง ซึ่งเปนผลสอบสวนจากคณะกรรมการตรวจสอบของรัฐบาลออสเตรเลีย (ตามที่เคยสงมาในหนังสือชี้แจงเพิ่มเติมแลว)

ภาพตัวอยาง การทรุดทําใหเกิดการแตกรั่ว ในกรณี ที่เปนกาซไวไฟแอลพีจีเหลว จะขยายตัวเปนกาซ ๒๕๐ เทา (ซึ่งแอลพีจีในสถานะที่เปนของเหลว ถารั่วออกมาจะมีอันตรายมากกวาที่เปนกาซ เพราะจํานวนที่ออกมาเปนของเหลว เมื่อกลายเปนกาซจะเพิ่มปริมาตร มากขึ้น ปริมาณกาซมาก อันตรายและความรุนแรงก็ยอมมีมาก อีกทั้ง แอลพีจีบริสุทธ ไมมีสี ไมมีกลิ่น และผลทางกาย อยูในกลุมยาสลบทั่วไป ขอมูลจาก กรมธุรกิจพลังงาน) ซึ่งในโรงแยกกาซ ยอมมีแอลพีจีบริสุทธ ในขบวนการกอนการเติมสีเติมกลิ่น ซึ่งจะมีอันตรายมากขึ้นเมื่อรั่ว


แผนที่ ๑๕

ธรรมชาติของดิน เมื่ออุมน้ําแลวออนตัวได จะเชื่อไดอยางไรหรือ กับโรงกลั่น-โรงแยกกาซไมตอกเสาเข็ม

โรงงานระเบิดเปนขาวใหญในรอบ ๔-๕ เดือน เฉลี่ยมากกวาเดือนละครั้ง โอกาสที่เกิดยากนั้นจริงหรือ

โรงแยกกาซ ที่ ๖ และ โรงแยกกาซอีเทน ของ ปตท. สรางทําแบบนี้ เชื่อมั่นหรือวาจะไมทรุดพังสรางภัย ยอมใหทรุดตางไดเพียง ๕ – ๑๐ มม. ทรุดมากกวานี้อาจจะทําใหทอ-ขอตอแตก กาซรั่วเปนสาเหตุไฟไหมระเบิด คารับน้ําหนักของดิน ๓๐ ตัน/ม๒ ที่เทียบเทา ดินที่เปนหินปูนหินทราย แข็งกวาดินดานหินดานที่ตอกเสาเข็มไมลง


แผนที่ ๑๖

ลาสุด ๑๙ ก.ย.๕๕ ที่โรงงานกาซพีเม็กซ ของ เม็กซิโก และในป ๒๕๒๗ ก็เคยเกิดระเบิดหลายระลอกที่โรงงานผลิตกาซแอลพีจี ของบริษัทนี้ ในเมืองซาน ฮัวนิโก ทําใหมีผูเสียชีวิตหลายรอยศพบาดเจ็บนับหมื่น จนถูกเรียกกันวา “หายนะที่ซาน ฮัวนิโก” ซึ่งเปนเหตุการณที่อางถึง “อันตรายรุนแรงรายแรง” ที่สรางหายนะทั้งเมือง แตโชคดีที่ไมมีโรงงานอื่นๆรายลอมแบบที่มาบตาพุด

ในกรณีที่รับคําฟองไวพิจารณาแลว ขอใหศาลมีคําสั่งบรรเทาทุกขชั่วคราว โดยให ปตท. กับพนักงานเจาหนาที่ รัฐที่เกี่ยวของ รวมกันทํารายงานประเมินความเสี่ยงใหม ดวยวิธีการศึกษา HAZOP และ FMEA โดยจะตองนํา โอกาสในการทรุดตัวของฐานรากตางๆ ทัง้ หมดเขาไปรวมดวย โดยใหคํานวณหาโอกาสที่จะทําเกิดอันตราย รุนแรงใหมทั้งหมด ของโรงงานวัตถุอันตราย และกาซไวไฟทั้ง ๓ แหง ที่สรางทําโดยไมมั่นคงแข็งแรงเหมาะสม และไมนาไววางใจ โดยอิงหลักวิชา หลักเหตุผล เพื่อประชาชนจะอุนใจไดวา เหตุอันตรายรุนแรงนั้น มันเกิดขึ้น ไดยากจริงๆ และเปนเพียงการคาดการณ เปนจินตนาการเกินจริงฯ การขอใหมีการพิจารณาใหมนี้ มีเจตนจํานง และแสวงหาคําตอบของขอผิดปกติตางๆ ที่ประชาชนตั้งขอกังขาไว ดวยดังนี้ ความเปนรัฐวิสาหกิจ ที่มีการสรางทําต่ํากวามาตรฐาน จะเขาขายคอรรัปชั่นหรือไม, ประชาชนไดรับ สิทธิอยางไร และไดรับความยุติธรรมอยางไรจากขบวนการ หรือระบบ ทีจ่ ะเขาถึงเปาประสงคจุดมุงหมายของ รัฐธรรมนูญที่บัญญัตไิ วหรือไม และประเทศไทยเปนนิติรฐั มีนติ ิธรรมหรือไม เมื่อ กฎหมายไมสามารถบังคับใช กับองคกรขนาดใหญ กับผูท ี่มีอํานาจ หรือขัดกันซึง่ ผลประโยชนทบั ซอน เพือ่ โปรดพิจารณาอยางถี่ถวนรอบดาน ใหเปนไปตามวิธขี บวนการพิจารณาของศาลปกครอง ตามที่กฎหมาย กําหนด เพื่อปลดภัยความเสี่ยงของชาวบาน และสรางความผาสุกใหสังคม เพื่อเขาไปสูขบวนการตรวจสอบติดตาม-แกไข และเสริมความมั่นคงแข็งแรง ของ ๓ โรงงานเสี่ยงสรางอันตรายรุนแรง ของ ปตท. เพื่อใหเกิด ความมั่นใจของชาวบานไดวา โรงงานเสี่ยงสรางภัย จะไมสรางเหตุอันตรายรุนแรงรายแรงขึน้ ดวยเถิด เพื่อศาลโปรดพิจารณา ผูรอง

(ลงชื่อ) (...ศรัลย..ธนากรภักดี...)


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.