คู่มือการค้ นคว้ าสารสนเทศจากห้ องสมุด สาหรั บนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ประจาปี การศึกษา 2554
โดย ฝ่ ายบริการสื่อการศึกษา สานักบรรณสารสนเทศ
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2554
คู่มือการค้ นคว้ าสารสนเทศจากห้ องสมุด สาหรั บนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ประจาปี การศึกษา 2554 จํานวนพิมพ์ 3,000 เล่ม พฤษภาคม 2554
คณะผู้จดั ทา ที่ปรึกษา รองศาสตราจารย์ ดร.สมพร พุทธาพิทกั ษ์ ผล
ผู้อํานวยการสํานักบรรณสารสนเทศ
บรรณาธิการ นางสาวพรทิพย์ สุวนั ทารัตน์
หัวหน้ าฝ่ ายบริการสื่อการศึกษา
ผู้ประสานงานการจัดพิมพ์ นางสุธญ ั ณิช หุ่นหลา
หัวหน้ าหน่วยบริการสื่อโสตทัศน์
คานา สํานักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จัดทําคู่มือการศึกษาค้ นคว้ าห้ องสมุด สําหรับนักศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษาขึน้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ เป็ นคู่มือให้ นักศึกษาระดั บบัณฑิต ศึกษา ได้ ศกึ ษาและใช้ ประโยชน์ในการใช้ ห้องสมุดเพื่อการศึกษาค้ นคว้ า ทังนี ้ ้ห้ องสมุดมีบทบาทสําคัญ อย่างมากในการเรี ยนในระบบการศึกษาทางไกล คูม่ ือเล่มนี ้มิใช่เป็ นประโยชน์ตอ่ การใช้ บริ การต่าง ๆ ของ สํานักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชเท่านัน้ ยังจะเป็ นประโยชน์ในการศึกษาค้ นคว้ า ในห้ องสมุดของสถาบันอื่น ๆ ด้ วย เนื ้อหาของคู่มือ ให้ คําแนะนําวิธีการใช้ ห้องสมุดโดยสังเขป รู้ จกั ทรัพยากรสารสนเทศประเภท ต่าง ๆ รวมทังบริ ้ การห้ องสมุดที่นกั ศึกษาจะได้ ใช้ ประโยชน์ ตลอดจนรายชื่อหน่วยงานและสถานที่ติดต่อที่ จะเอื ้อ ประโยชน์ให้ นกั ศึกษามากที่สุด โดยมีการปรับปรุ งข้ อมูลให้ ทนั สมัยทุกปี สําหรับคู่มือเล่มนี ้เป็ น ฉบับปรับปรุงปี 2554 สํานักบรรณสารสนเทศ หวังเป็ นอย่างยิ่งว่าคูม่ ือเล่มนี ้ จะเป็ นประโยชน์ตอ่ นักศึกษา และเป็ นส่วน หนึง่ ของความสําเร็จในการศึกษาต่อไป สานักบรรณสารสนเทศ พฤษภาคม 2554
สารบัญ หน้ า คํานํา บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4
สํานักบรรณสารสนเทศ....………………..…...…………………………………. 1 ทรัพยากรสารสนเทศและบริ การห้ องสมุด....................................................... 5 การค้ นฐานข้ อมูล............……...…………………………….…………………. 19 เอกสารประกอบการใช้ บริ การห้ องสมุด.......................................................... 43 1. แบบคําขอใช้ บริ การสารสนเทศ…………….…….……….……………..….. 43 1.1 แบบคําขอใช้ บริการค้ นหาสารสนเทศ……………………..…………...... 44 1.2 แบบคําขอใช้ บริการถ่ายสําเนาเอกสาร………..…………………..…….. 45 2. รายชื่อหน่วยงานและสถานที่ติดต่อในเครื อข่ายความร่วมมือ....................... 46 2.1 ศูนย์วิทยพัฒนา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช………..................... 46 2.2 ศูนย์วิทยบริการบัณฑิตศึกษา………………..…………………..…….. 50 2.3 ห้ องสมุดสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ..................................................... 51 2.4 ข่ายงานห้ องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาค (PULINET)...................... 54
บทที่ 1 สานักบรรณสารสนเทศ สํานักบรรณสารสนเทศทํา หน้ าที่เป็ นห้ องสมุดของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิ ราช จัดตัง้ และเปิ ดให้ บริ การพร้ อมกับการเปิ ดมหาวิทยาลัย เมื่อปี พ.ศ.2522 โดยมีวิสัยทัศน์และพันธกิจใน การดําเนินงาน ดังนี ้ วิสยั ทัศน์ : สํานักบรรณสารสนเทศเป็ นห้ องสมุดมหาวิทยาลัยในระบบการศึกษา ทางไกลที่พฒ ั นาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ บริการมีคณ ุ ภาพและทันสมัย ด้ วยความเอาใจใส่ พันธกิจ : จัดบริการห้ องสมุดและสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการผลิตและจัดทํา สื่อการศึกษาและสื่ออื่น ๆ ในระบบการศึกษาทางไกลของมหาวิทยาลัย อันเป็ นการสนับสนุนและ ส่งเสริมภารกิจทุกด้ านของมหาวิทยาลัย : จัดบริการห้ องสมุดและสารสนเทศและการส่งเสริมการค้ นคว้ าด้ วยตนเอง เพื่อการศึกษาค้ นคว้ าและวิจยั ของคณาจารย์ บุคลากร นักศึกษา ผู้เรี ยนในระบบการศึกษาทางไกล ของมหาวิทยาลัยและประชาชนทัว่ ไป : จัดบริการสารสนเทศที่เกี่ยวข้ องกับประวัติ พัฒนาการ และอัตลักษณ์ ของมหาวิทยาลัย สํา นักบรรณสารสนเทศทํา หน้ า ที่จ ดั หา รวบรวม วิเ คราะห์ห มวดหมู่ จัด ทํา เครื่ อ งมือ ช่วยค้ น จัดเก็บ และนําทรัพ ยากรสารสนเทศทุกประเภทออกให้ บริ การในรู ปของสื่อสิ่ง พิม พ์ สื่อ โสตทัศน์ และสื่ออิเล็กทรอนิ กส์ที่สอดคล้ องกับวัตถุประสงค์ นโยบาย และหลักสูตรการเรี ยนการ สอนของมหาวิทยาลัย เพื่อให้ สามารถจัดและให้ บริ การห้ องสมุดและสารสนเทศในรู ปแบบต่าง ๆ ได้ แก่ บริ การช่วยการค้ นคว้ าสารสนเทศจากทรัพยากรสารสนเทศทุกประเภท บริ การค้ นสารสนเทศ จากฐานข้ อมูลต่างๆ บริ การรวบรวมบรรณานุกรม บริ การการอ่านภายในห้ องสมุด บริ การยืม-คืน บริ การถ่ายสําเนาเอกสาร การจัดบริ การจะครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายทังในส่ ้ วนกลาง คือ ที่ทําการของ มหาวิทยาลัย จังหวัดนนทบุรี และส่วนภูมิภาค ได้ แก่ ศูนย์วิทยพัฒนาจํานวน 10 แห่งทัว่ ประเทศ ศูนย์วิทยบริ การบัณฑิตศึกษา จํานวน 2 แห่ง และศูนย์บริ การการศึกษาเฉพาะกิจมุม มสธ. จํานวน ประมาณ 90 แห่ง
2 นอกจากบริการห้ องสมุดและสารสนเทศทังส่ ้ วนกลางและส่วนภูมิภาคแล้ ว สํานักบรรณสาร สนเทศยังมีเครื อข่ายความร่ วมมือระหว่างห้ องสมุดสถาบันอุดมศึกษา จํานวน 28 แห่ง ทัว่ ประเทศ และเครื อข่ายความร่ วมมือระหว่างห้ องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภ าค (PULINET) จํานวน 20 แห่ง ซึ่งนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาสามารถเข้ าใช้ บริ การได้ อีก ด้ วย สํา นักบรรณสารสนเทศจัด ให้ บ ริ ก ารห้ อ งสมุดและสารสนเทศทั ้งในส่ว นกลางและส่ว น ภูมิภาค ดังนี ้
1. การบริ การในส่ วนกลาง จัดให้ บริ การ ณ ที่ทําการมหาวิทยาลัย ตําบลบางพูด อําเภอ ปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี การติดต่ อขอใช้ บริการในส่ วนกลาง ติดต่อได้ ที่ สํานักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ต.บางพูด อ.ปากเกร็ ด จ.นนทบุรี 11120 โทรศัพท์ : 0 2504 7464 - 5 โทรสาร : 0 2503 3604 E-mail : tippawan.oan@stou.ac.th dilibrary@hotmail.com เวลาเปิ ดบริการ ทัว่ ไป วันจันทร์ – วันศุกร์ เวลา 8.30 – 16.30 น. วันเสาร์ เวลา 8.30 – 19.30 น. วันหยุดนักขัตฤกษ์ ปิ ดบริการ ช่วงมี กิจกรรมสัมมนาเข้มวิ ทยานิ พนธ์ มีการขยายเวลาเพิ่มเติ ม ดังนี ้ วันอาทิตย์ เวลา 8.30 – 16.30 น. นักศึกษาสามารถตรวจสอบวัน/เวลาเปิ ดบริการที่เว็บไซต์ของห้ องสมุด http://library.stou.ac.th
3
2. การบริการในส่ วนภูมิภาค 2.1 ศู นย์ วิ ทยพั ฒนา เป็ นเครื อข่ายการให้ บริ การห้ องสมุดและสารสนเทศในระดับภาค กระจายอยู่ตามภูมิภาครวม 10 จังหวัด ได้ แก่ ศูนย์วิทยพัฒนา มสธ. นครศรี ธรรมราช, นครสวรรค์, อุบลราชธานี, เพชรบุรี, สุโขทัย, ลําปาง, อุดรธานี, จันทบุรี, ยะลา และนครนายก ศูนย์วิทยพัฒนาแต่ ละศูนย์ครอบคลุมพื ้นที่ให้ บริการ 5 - 10 จังหวัด นักศึกษาสามารถใช้ บริ การศูนย์วิทยพัฒนาใกล้ บ้าน ซึ่งเปิ ดให้ บริ การวันจันทร์ – วันเสาร์ ในเวลาราชการ และวันอาทิตย์ที่มีการจัดกิจกรรมการสัมมนา บัณฑิตศึกษา ณ ศูนย์ฯ นันๆ ้ นักศึกษาสามารถดูรายละเอียดสถานที่ตงของศู ั้ นย์แต่ละแห่งได้ จาก บทที่ 4 และศึกษารายละเอียดระเบียบการให้ บริ การห้ องสมุดศูนย์วิทยพัฒนาจากคู่มือนักศึกษา บัณฑิตศึกษา ปี การศึกษา 2554 นอกจากนี ้นักศึกษาสามารถเข้ าดูรายละเอียดของสํานักวิทยพัฒนา และศูน ย์ วิ ท ยพัฒ นาแต่ล ะศูน ย์ ไ ด้ จ ากเว็ บ ไซต์ ข องสํ า นัก วิ ท ยพัฒ นาที่ http://www.stou.ac.th/ Offices/rdec/headquater/home/ ซึง่ จะมีทางเลือกเชื่อมต่อไปยังศูนย์วิทยพัฒนาแต่ละแห่งด้ วย 2.2 ศูนย์ วิทยบริการบัณฑิตศึกษา เป็ นเครื อข่ายการให้ บริ การห้ องสมุดและสารสนเทศใน ระดับภาค ที่มหาวิทยาลัยจัดตังขึ ้ ้นโดยได้ รับความร่วมมือจากส่วนราชการอื่นให้ ใช้ สถานที่เป็ นที่ตงั ้ ของศูนย์ วิทยบริ การบัณ ฑิตศึกษา เพื่ อให้ บริ การแก่นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาและประชาชน ปั จจุบนั มีศนู ย์วิทยบริ การบัณฑิตศึกษา จํานวน 2 แห่ง ได้ แก่ หอสมุดรัชมังคลาภิเษก วังไกลกังวล อําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ และ หอสมุดติณสูลานนท์ โรงเรี ยนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา 2.3 ศูนย์ บริการการศึกษาเฉพาะกิจ มุม มสธ. เป็ นเครื อข่ายการให้ บริการห้ องสมุดและ สารสนเทศในระดับจังหวัด ที่มหาวิทยาลัยจัดตังขึ ้ ้นเพื่อบริการให้ แก่นกั ศึกษาของมหาวิทยาลัยและ ประชาชน ตังอยู ้ ใ่ นห้ องสมุดประชาชนประจําจังหวัดทุกจังหวัด และห้ องสมุดประชาชนใน กรุงเทพมหานครบางแห่ง
บทที่ 2 ทรั พยากรสารสนเทศและบริการห้ องสมุด 1. ทรั พยากรสารสนเทศ ทรัพยากรสารสนเทศ หมายถึง ข้ อมูล ข่าวสาร ข้ อเท็จจริ ง ความรู้ ความคิด ประสบการณ์ ที่ ได้ ผา่ นกระบวนการคัดสรร กลัน่ กรอง วิเคราะห์และบันทึกไว้ โดยใช้ ภาษา ภาพ สัญลักษณ์ รหัส และ อื่น ๆ ลงบนวัสดุ และนําออกเผยแพร่ สู่สาธารณะ โดยวัสดุที่ใช้ บนั ทึกมีหลายชนิด ได้ แก่ กระดาษ วัสดุประเภทสื่อแม่เหล็ก ทรัพยากรสารสนเทศแต่ละประเภทมีรายละเอียดที่น่าสนใจ ดังนี ้ 1.1 สื่อสิ่งพิมพ์ หมายถึง วัสดุตีพิมพ์ ได้ แก่ สื่อสิ่งพิมพ์ที่รวบรวมเป็ นเล่มจากการตีพิมพ์ เป็ นวัสดุเพื่อการอ่านและการศึกษาค้ นคว้ าต่าง ๆ ที่ห้องสมุดได้ รวบรวม จัดหา จัดเก็บ เพื่อให้ บริ การ ในห้ องสมุด เป็ นวัสดุที่พิมพ์ด้วยกระดาษ มีรูปลักษณะต่าง ๆ กัน ได้ แก่ หนังสือ วารสาร นิตยสาร และหนังสือพิมพ์ สื่อสิ่งพิมพ์ที่ให้ บริการในสํานักบรรณสารสนเทศ มีดงั นี ้ หนังสือทั่วไป เป็ นสิ่งพิมพ์ที่มีเนื ้อหาครอบคลุมเรื่ องราวและความรู้ในสาขาวิชาต่าง ๆ แบ่ง ออกเป็ นหนังสือวิชาการประเภทตําราที่ให้ ความรู้ เฉพาะ ความรู้ พื ้นฐานของสาขาวิชา หรื อความรู้ ทัว่ ไป ประเภทสารคดี และบันเทิงคดี ได้ แก่ นวนิยาย เรื่ องสัน้ การจัดเรี ยงหนังสื อบนชัน้ ใช้ ระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือแบบหอสมุดรัฐสภาอเมริ กัน หรื อที่เรี ยกโดยย่อว่า “ระบบ LC” (Library of Congress Classification Scheme) ที่มีการจัด หมวดหมู่โดยการแบ่งเนื ้อหาหลักออกเป็ นหมวดหมู่ A - Z และมีตวั เลขแทนเนื ้อหาย่อยลงไป มี การเรี ยงลําดับตามหมวด และภายในหมวดเดียวกันจะเรี ยงจากเลขน้ อยไปหาเลขมาก และถ้ าเป็ น หนังสือที่มีเลขหมูเ่ ดียวกันจะเรี ยงตามลําดับอักษรย่อและตัวเลขในบรรทัดถัดมา RT RT RT RT RT 41 48.5 84.5 84.5 86 F85 D5 จ63 M535 A46 2008 2009 2546 2009 2009 ตัวอย่างการจัดเรี ยงหนังสือบนชัน้ การจัดเก็บ หนังสือทัว่ ไป วิทยานิพนธ์ จัดเก็บในระบบชันเปิ ้ ด โดยเรี ย งรวมกันระหว่าง ภาษาไทยและภาษาอัง กฤษ ใช้ บริ ก ารได้ ทัง้ ภายในห้ องสมุด และให้ ยื ม ออก หนัง สื อ ทั่ว ไป
6 วิทยานิพนธ์ของ มสธ. และวิทยานิพนธ์ของสถาบันอื่นจัดเก็บและให้ บริ การที่ชนั ้ 3 และเอกสารการ สอนชุดวิชาของมหาวิทยาลัยทังในระดั ้ บปริญญาตรี และปริญญาโท จัดเก็บและให้ บริการที่ชนั ้ 4 หนั งสืออ้ างอิง เป็ นสิ่ง พิมพ์ สําหรับค้ นคว้ าประกอบความรู้ และความเข้ าใจพืน้ ฐาน มุ่งให้ ข้อเท็จจริ ง โดยเสนอความรู้ และเรื่ องราวต่าง ๆ อย่างกะทัดรัด มีการกําหนดขอบเขตและ ระยะเวลาที่ครอบคลุม เรี ยบเรี ยงเป็ นระบบเพื่อใช้ ได้ สะดวกและรวดเร็ ว โดยมี ระบบสารบาญและ ดรรชนีชว่ ยค้ น พร้ อมทังเพิ ้ ่มเติมหรื อเปลี่ยนแปลงเนื ้อหาให้ ทนั สมัยเสมอ หนังสืออ้ างอิงมีการจัดทํา เป็ นหนังสืออ้ างอิงทั่วไปที่รวบรวมความรู้ สาขาวิชาต่าง ๆ เข้ าด้ วยกัน และหนังสืออ้ างอิงเฉพาะ เนื ้อหาวิชาด้ านใดด้ านหนึง่ ในการกําหนดเลขหมู่ จะมีตวั อักษร R อยูเ่ หนือเลขหมู่ การจัดเก็บ หนังสืออ้ างอิงจัดเก็บในระบบชันเปิ ้ ด โดยเรี ยงรวมกันระหว่างภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษ ให้ ใช้ ได้ เฉพาะภายในห้ องสมุดเท่านัน้ จัดเก็บและให้ บริการที่ชนั ้ 1 วารสาร เป็ นสิ่งพิมพ์ที่มีกําหนดออกอย่างต่อเนื่องเป็ นรายต่างๆ เช่น รายสัปดาห์ ราย ปั กษ์ รายเดือน ราย 2 เดือน ราย 3 เดือน เป็ นต้ น โดยเนื ้อหาประกอบด้ วยบทความหลายบทความ ในแต่ละฉบับโดยมีผ้ เู ขียนหลายคน วารสารมีความสําคัญสําหรับการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา เพราะเป็ นสื่อที่ให้ สารสนเทศทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ ในปั จจุบนั มีทงั ้ วารสารภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษที่ผลิตในรูปของเอกสารฉบับพิมพ์ และฉบับอิเล็กทรอนิกส์ การจัดเก็บ วารสารฉบับปั จจุบนั และวารสารฉบับย้ อนหลังจัดเก็บและให้ บริ การที่ชนั ้ 1 โดย แยกเป็ นกลุม่ ต่าง ๆ ดังนี ้ - วารสารฉบับปั จจุบนั จัดเรี ยงตามลําดับรหัสที่กําหนดจากอักษรตัวแรกของ ชื่อวารสารและจัดเก็บบนชันวารสารใหม่ ้ (ชันแบบหมุ ้ น) - วารสารฉบับย้ อนหลัง 1-2 ปี จัดเก็บในระบบชันเปิ ้ ด โดยจัดเก็บในกล่องเรี ยง ตามชื่อวารสาร - วารสารฉบับย้ อนหลังตังแต่ ้ 3 ปี ขึ ้นไป มีทงฉบั ั ้ บเย็บเล่มและที่จดั เก็บในระบบ ชันปิ ้ ด สําหรับวารสารหลักในแต่ละสาขาวิชาจะนํามาเย็บเล่มรวมแต่ละปี และจัดเก็บในระบบ ชันเปิ ้ ด สําหรับศูนย์วิทยพัฒนา มสธ. มีให้ บริ การเฉพาะวารสารวิชาการภาษาไทย และบริ การ เวียนหน้ าสารบัญวิชาการภาษาอังกฤษทุกสาขาวิชา นักศึกษาสามารถขอใช้ บริ การสําเนาบทความ วารสารได้ ทัง้ จากส่ ว นกลางและศูน ย์ วิ ท ยพัฒ นา และสามารถค้ น หารายชื่ อ วารสารที่ สํ า นัก บรรณสารสนเทศมีให้ บริ การได้ ที่เว็บไซต์ http://library.stou.ac.th เลือกหัวข้ อ “Library Resource List” โดยคลิกดู “รายชื่อวารสาร” ซึ่งจะเชื่อมโยงไปยังหน้ าสารบัญฉบับล่าสุด และวารสารบางชื่อ สามารถเชื่อมโยงไปยังวารสารฉบับเต็มให้ ด้วย
7 1.2 สื่ อโสตทัศ น์ หมายถึง วัส ดุที่ ไ ม่ตี พิม พ์ ให้ สารสนเทศเป็ นภาพและเสี ยงที่ ช่วยใน การศึกษาเรื่ องราวต่าง ๆ ให้ เข้ าใจได้ อย่างรวดเร็ วและจดจําได้ นาน สื่อโสตทัศน์มีหลายรูปแบบ และ เปลี่ยนแปลงไปตามพัฒนาทางเทคโนโลยี แบ่งได้ เป็ น 3 ชนิด คือ 1.2.1 สื่อโสตทัศน์ประเภทภาพ ได้ แก่ วีซีดี ดีวีดี และวัสดุยอ่ ส่วน 1.2.2 สื่อโสตทัศน์ประเภทเสียง ได้ แก่ ซีดี 1.2.3 สื่อโสตทัศน์ประเภทวัสดุกราฟิ ก ได้ แก่ รูปภาพ และแผนที่ การจัดเก็บ สื่อโสตทัศน์จดั เก็บในระบบชันปิ ้ ด โดยเรี ยงแยกตามประเภทของสื่อโสตทัศน์ และรหัสนําค้ น จัดเก็บและให้ บริการที่ชนั ้ 4 1.3 สื่ออิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง ทรัพยากรสารสนเทศที่บนั ทึกและจัดเก็บในรูปดิจิทลั บน สื่อที่ต้องใช้ คอมพิวเตอร์ อา่ น โดยมีการจัดทําเป็ นฐานข้ อมูล ประกอบด้ วย ฐานข้ อมูลประเภทต่าง ๆ ได้ แก่ ฐานข้ อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์ ฐานข้ อมูลหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และฐานข้ อมูลวิทยานิพนธ์ อิเล็กทรอนิกส์ การจัดเก็บและให้บริ การ นักศึกษาสามารถเข้ าถึงและค้ นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ได้ จากหน้ า เว็บไซต์ของสํานักบรรณสารสนเทศ http://library.stou.ac.th กรณี ต้องการวารสารอิเล็กทรอนิกส์ และวิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ เลือกเมนู “Online Databases” หากต้ องการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เลือก “e-Books”
2. บริการห้ องสมุด สํานักบรรณสารสนเทศ และศูนย์วิทยพัฒนาทัง้ 10 แห่ง ได้ จัดบริ การประเภทต่าง ๆ เพื่อ รองรับการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ได้ แก่ 2.1 บริการใช้ ส่ ือการศึกษาภายในห้ องสมุด เป็ นบริ การที่จดั เตรี ยมสื่อการศึกษา มุมอ่าน และห้ องค้ นคว้ าเดี่ยว/กลุ่มเพื่อการอ่าน และการค้ นคว้ า รวมทั ้งบริ การเครื อข่ายไร้ สาย โดยนักศึกษาสามาถเลือกใช้ สื่อการศึกษาที่จดั ไว้ ในแต่ละชัน้ ดังนี ้ ชัน้ 1 หนังสืออ้ างอิง วารสารฉบับปั จจุบนั และฉบับย้ อนหลัง สิ่งพิมพ์ มสธ. ตํารา และหลักสูตร ชัน้ 3 หนังสือทัว่ ไป วิทยานิพนธ์ของ มสธ. และวิทยานิพนธ์ของสถาบันอื่น ชัน้ 4 สื่อโสตทัศน์ เอกสารการสอนชุดวิชา สิ่งพิมพ์ที่เกี่ยวกับการศึกษาทางไกล 2.2 บริการยืม – คืน การให้ บริ การยืม และคืนสื่อการศึกษาของห้ องสมุด นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาทุก สาขาวิชาสามารถใช้ บตั รประจําตัวนักศึกษาในการยืมสื่อการศึกษาได้ ทัง้ นีส้ ํานักบรรณสารสนเทศ
8 ได้ จดั ทําข้ อบังคับการยืม – คืนสื่อการศึกษาเพื่อเป็ นข้ อบังคับในการใช้ บริ การ ซึ่งนักศึกษาต้ องปฏิบตั ิ ตาม ภายในข้ อบังคับนี ้ได้ ระบุประเภท กําหนดเวลาการยืมของสื่อการศึกษาที่ให้ ยืม และสื่อการศึกษาที่ ไม่อนุญาตให้ ยืมออกไว้ ในระเบียบการใช้ บริ การห้ องสมุดมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิ ราช ปี 2544 (นักศึกษาสามารถเรี ยกดูได้ จากหน้ าเว็บไซต์ของสํานักบรรณสารสนเทศที่ “Library Services” เลือก “Announcements”) 2.3 บริการตอบคาถามและช่ วยการค้ นคว้ า บริ ก ารตอบคํ า ถามและช่ ว ยการค้ น คว้ า เป็ นบริ ก ารช่ว ยค้ น สารสนเทศจากแหล่ ง สารสนเทศต่าง ๆ ตามความต้ องการ นักศึกษาสามารถติดต่อขอใช้ บริ การช่วยการค้ นคว้ าได้ ด้วย ตนเอง ณ ที่ทําการส่วนกลางและศูน ย์วิท ยพัฒ นา หรื อ ติด ต่อ ทางโทรศัพ ท์ โทรสาร ไปรษณีย์ อิเล็กทรอนิกส์ หรื อที่หน้ าเว็บไซต์ของสํานักบรรณสารสนเทศ ทั ้งนี ้ในการขอใช้ บริ การแต่ละครัง้ นัก ศึกษาต้ องกรอกแบบคําขอใช้ บริ การค้ นสารสนเทศให้ ละเอียด โดยเฉพาะหากนักศึกษาไม่มี โอกาสติดต่อบรรณารักษ์ ด้วยตนเอง นักศึกษาจําเป็ นต้ องระบุข้อมูลและกรอกรายละเอียดในแบบ คํา ขอใช้ บ ริ ก ารค้ น หาสารสนเทศให้ ล ะเอีย ดมากที่ส ุด เพื่อ ให้ ก ารค้ น สารสนเทศดํา เนิน การได้ รวดเร็ วและได้ ผลการค้ นที่ตรงกับความต้ องการมากที่สุด (นักศึกษาสามารถขอใช้ บริ การตอบ คําถามและช่วยการค้ นคว้ าได้ จากหน้ าเว็บไซต์ของสํานักบรรณสารสนเทศที่ “Library Services” โดยคลิกที่ “e-Service Forms”) ข้ อมูลสาคัญที่นักศึกษาควรระบุให้ ชัดเจน ได้ แก่ - เรื่ องหรื อขอบเขตเนื ้อหาที่ต้องการค้ นอย่างละเอียด รวมทั ้งคําสําคัญ (Keyword) ทังภาษาไทยและอั ้ งกฤษ - ระบุประเภทของสารสนเทศ เช่น ต้ องการเฉพาะวิทยานิพนธ์ งานวิจยั บทความ วารสาร บทความวิจยั รายงานการประชุม หรื อหนังสือทัว่ ไป - ความทันสมัยของสารสนเทศที่ต้องการ เช่น เอกสารที่จดั พิม พ์ 10 ปี ย้ อนหลัง หรื อไม่เกิน 5 ปี ย้ อนหลังจากปั จ จุบนั เพื่อจํากัดขอบเขตสารสนเทศในกรณี ที่มี จํานวนมาก และ จะได้ เ ฉพาะสารสนเทศที่เ ป็ นปั จ จุบ นั มากที่ส ุด ยกเว้ น ในกรณี ไ ม่มีปี ปั จ จุบ นั จะค้ น หาข้ อ มูล ปี ย้ อนหลังที่เป็ นปี ล่าสุดให้ - ภาษาของสารสนเทศ ต้ องการเฉพาะภาษาไทย / อังกฤษ - ลักษณะของสารสนเทศที่ต้องการ เช่น ต้ องการเฉพาะเอกสารฉบับสมบูรณ์ หรื อ บรรณานุกรม หรื อบทคัดย่อ ทั ้งนี ้ ในการค้ นคว้ าหาข้ อมูลบรรณารั กษ์ จ ะค้ นหาสารสนเทศจากแหล่งสารสนเทศที่มี ให้ บ ริ ก ารในสํา นัก บรรณสารสนเทศและศูน ย์วิท ยพัฒ นา 10 แห่ง เป็ นลํา ดับ แรก หากไม่พ บ
9 สารสนเทศตามที่ต้องการ จึงจะเลือกค้ นจากแหล่งสารสนเทศอื่นโดยเฉพาะการค้ นผ่านเครื อข่าย อิน เทอร์ เ น็ต ซึ่ง เป็ นขั ้นตอนที่ต้ อ งใช้ เ วลา ดัง นั ้น นัก ศึก ษาควรแจ้ ง กํ า หนดเวลาที่ต้ อ งการใช้ เอกสารด้ วย ตัวอย่ างแบบคาขอใช้ บริการค้ นสารสนเทศ (เฉพาะส่ วนที่นักศึกษาต้ องดาเนินการ) แบบคาขอใช้ บริการค้ นหาสารสนเทศ สถานภาพ ปริ ญญาโท ปริ ญญาเอก ชื่อ- นามสกุล นายค้ นคว้ า เรี ยนรู้ รหัสนักศึกษา 252300874 สาขาวิชา ศึกษาศาสตร์ แขนงวิชา บริ หารการศึกษา ที่อยู่ท่ สี ามารถติดต่ อได้ โรงเรี ยนบ้ านหนองใหญ่ หมูท่ ี่ 14 ต.ทุง่ พระยา อ.สนามชัยเขต จ.ฉะเชิงเทรา รหัสไปรษณีย์ 24160 โทรศัพท์ 0819999999 E-mail konkwa.ria@mystou.net_______ เรื่องที่ต้องการสืบค้ น (โปรดระบุคาสาคัญ / หัวเรื่องที่ต้องการทัง้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) การขียนเชิงสร้ างสรรค์ หัวข้ อวิทยานิพนธ์ การพัฒนาความสามารถด้ านการเขียนเชิงสร้ างสรรค์โดยการใช้ สอื่ พื ้นบ้ าน ต้ องการคาตอบภายในวันที่ 4 พฤษภาคม 2554 ประเภทของสารสนเทศที่ต้องการ หนังสือ/ตํารา บทความวารสาร วิทยานิพนธ์/งานวิจยั อินเทอร์ เน็ต ฐานข้ อมูลอิเล็กทรอนิกส์ อื่นๆ (ระบุ) ______ ระยะเวลาของข้ อมูลที่ต้องการ
5 ปี ย้ อนหลัง 10 ปี ย้ อนหลัง อื่นๆ (ระบุ) __________
ภาษาของสารสนเทศ
ไทย
รูปแบบผลการค้ นที่ต้องการ
บรรณานุกรม บทคัดย่อ อื่นๆ (ระบุ) __________
การจัดส่ งเอกสาร
รับด้ วยตนเอง ไปรษณีย์ดว่ นพิเศษ ไปรษณีย์ลงทะเบียน
อังกฤษ เอกสารฉบับสมบูรณ์
ไปรษณีย์ธรรมดา ไปรษณีย์พสั ดุ E-mail
10 2.4 บริการถ่ ายสาเนาเอกสาร เป็ นบริ การต่อเนื่องจากบริ การค้ นหาสารสนเทศ ในกรณี ที่นักศึกษาได้ รับผลการค้ น สารสนเทศและต้ องการเอกสาร นักศึกษาสามารถใช้ บริ การถ่ ายสาเนาเอกสาร โดยใช้ แบบ คาขอใช้ บริ การถ่ ายสาเนาเอกสาร ซึ่งนักศึกษาควรระบุข้อมูลในแบบคําขอใช้ บริ การถ่ายสําเนา เอกสารให้ ชัดเจนเพื่อผู้ให้ บริ การจะได้ ดําเนินการได้ รวดเร็ ว (นักศึกษาสามารถขอใช้ บริ การถ่าย สําเนาเอกสารได้ จากหน้ าเว็บไซต์ของสํานักบรรณสารสนเทศที่ “Library Services” โดยคลิก ที่ “e-Service Forms”) ตัวอย่ างแบบคาขอใช้ บริการถ่ ายสาเนาเอกสาร (เฉพาะส่ วนที่นักศึกษาต้ องดาเนินการ) แบบคาขอใช้ บริการถ่ ายสาเนาเอกสาร สถานภาพ
ปริ ญญาโท
ปริ ญญาเอก
ชื่อ- นามสกุล ฟ้ าใส นกร้ อง รหัสนักศึกษา 251510888 สาขาวิชา พยาบาลศาสตร์ แขนงวิชา บริ หารพยาบาล ที่อยู่ท่ สี ามารถติดต่ อได้ โรงพยาบาลกรุงเทพ เลขที่ 2 ซอย ศูนย์วจิ ยั 7 ถนน เพชรบุรีตดั ใหม่ กรุงเทพฯ รหัสไปรษณีย์ 10310 โทรศัพท์ _022456787 _______E-mail -_______________________ เอกสารที่ต้องการถ่ ายสาเนา (โปรดระบุรายการบรรณานุ กรมให้ ครบถ้ วน หรือ มากที่สุด) วิทยานิพนธ์/งานวิจยั หนังสือ บทความวารสาร อื่นๆ (ระบุ) _________ สมจิตร ปั นทิยะ เรื่ อง การพัฒนารูปแบบการจัดการการจําหน่ายผู้ป่วยในหอผู้ป่วยกึ่งวิกฤตศัลยกรรม ประสาท โรงพยาบาลมหานครนครเชียงใหม่ ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปี 2553 _ _________________________________________________________ ลักษณะเอกสารที่ต้องการ ทังเล่ ้ ม เฉพาะบทคัดย่อ เฉพาะบรรณานุกรม เฉพาะบทที่ __________________ เฉพาะหน้ าที่____________ การจัดส่ งเอกสาร
รับด้ วยตนเอง (ว/ด/ป) ________ ไปรษณีย์ธรรมดา ไปรษณีย์ดว่ นพิเศษ ไปรษณีย์พสั ดุ ไปรษณีย์ลงทะเบียน E-mail
นักศึกษาควรศึกษาแบบคําขอใช้ บริ การถ่ายสําเนาเอกสารดังกล่าว และกรอกรายละเอียด ให้ ครบถ้ วน โดยเฉพาะข้ อมูลสําคัญที่ควรระบุ ได้ แก่
11 1) รายละเอียดบรรณานุกรมที่สมบูรณ์หรื อมากที่สุดเท่าที่หาได้ ข้ อมูลบรรณานุกรมที่ สําคัญ ได้ แก่ ชื่อผู้เขียน ชื่อหนังสือ /วิทยานิพนธ์ ปี ที่พิมพ์ และกรณีการขอสําเนาวิทยานิพนธ์ ควร ระบุว่าเป็ นวิทยานิพนธ์ ของมหาวิทยาลัยใด ข้ อมูลบรรณานุกรมที่สมบูรณ์และถูกต้ องจะส่ง ผลให้ ผู้ใช้ ได้ สําเนาเอกสารอย่างรวดเร็ ว และตรงกับความต้ องการ 2) จํานวนบทที่/หน้ าที่ต้องการสําเนา เช่น ถ่ายทังเล่ ้ ม หรื อถ่ายเฉพาะบางบท หากไม่ระบุ ให้ ชดั เจนจะไม่สามารถดําเนินการให้ ได้ 3) ข้ อมูลนักศึกษาและการจัดส่งเอกสาร นักศึกษาจะต้ องให้ ข้อมูลสถานภาพตนเอง ที่ อยู่/ หมายเลขโทรศัพท์/E-mail ที่ติดต่อได้ ให้ สมบูรณ์ชดั เจน เพื่อการจัดส่งที่ถกู ต้ อง รวมทังวิ ้ ธีการจัดส่ง เอกสารหากไม่ระบุวิธีการจัดส่ง สํานักฯ จะจัดส่งให้ โดยไปรษณีย์ธรรมดา กรณี เป็ นเอกสารที่ ไม่มี ให้ บริ การในสํ านักฯ จึง จะค้ น/ถ่ายเอกสารจากหน่วยงานอื่ น ต่อไป ซึง่ ต้ องใช้ เวลาในการดําเนินงาน 2.5 บริการนาส่ งเอกสาร เป็ นบริการที่ตอ่ เนื่องมาจากบริ การค้ นหาสารสนเทศ และบริ การถ่ายสําเนาเอกสาร ในการ จัดส่งเอกสารให้ กบั นักศึกษาจะจัดส่งทางไปรษณีย์ตามวิธีการที่นกั ศึกษาระบุในแบบคําขอซึ่งนักศึกษา จะต้ องเป็ นผู้ชําระค่าบริ การไปรษณี ย์เหล่านีเ้ พิ่มเติมจากค่าถ่ายสํ าเนาเอกสาร ในกรณี ที่สําเนา เอกสารที่มีให้ บริ การในสํานักฯ จะคิดอัตราค่าถ่ายเอกสารของสํานัก ฯ (แผ่นละ 50 สตางค์) แต่ใน กรณีที่เป็ นการถ่ายเอกสารจากหน่วยงานอื่นจะคิดอัตราค่าถ่ายเอกสารตามที่หน่วยงานนันกํ ้ าหนด ทังนี ้ ้สํานักฯ จะจัดทําบันทึกแจ้ งผลการค้ นและค่าใช้ จ่าย ได้ แก่ ค่าถ่ายสําเนาเอกสารหรื อค่าสําเนา ผลการค้ น และค่า จัด ส่ง โดยนักศึกษาจะต้ องชํ าระค่าบริ ก ารต่าง ๆ ดัง กล่า ว ทางธนาณัติห รื อ ตัว๋ แลกเงิน หรื อด้ วยตนเองเมื่อนักศึกษาเข้ าร่วมกิจกรรมสัมมนาที่มหาวิทยาลัย 2.6 บริการยืมทรัพยากรสารสนเทศจากห้ องสมุดสถาบันอุดมศึกษาอื่น ความร่วมมือระหว่างห้ องสมุด (Library Cooperation) เป็ นความร่วมมือของห้ องสมุด สถาบันอุดมศึกษาของรัฐทังในส่ ้ วนกลางและส่วนภูมิภาค เพื่อมุ่งประโยชน์ในการใช้ เทคโนโลยีและ ทรัพยากรสารสนเทศร่ วมกัน ได้ แก่ การใช้ ฐานข้ อมูล และการยืมทรั พยากรสารสนเทศระหว่าง ห้ องสมุด กรณีที่นกั ศึกษาต้ องการทรัพยากรสารสนเทศที่ไม่มีในสํานักบรรณสารสนเทศ นักศึกษา สามารถยืมเอกสารที่ต้องการได้ จากห้ องสมุดอื่น ๆ โดยใช้ วิธีการ ดังนี ้
12 2.6.1 การยืมทรัพยากรสารสนเทศระหว่างห้ องสมุดโดยใช้ แบบฟอร์ มยืมระหว่าง ห้ องสมุด เป็ นบริ การยืมทรัพยากรสารสนเทศระหว่างห้ องสมุด โดยสํานัก บรรณสารสนเทศ จะ มอบแบบกรอกรายการยื ม ระหว่ า งห้ อ งสมุด ให้ นัก ศึก ษา เพื่ อ นัก ศึก ษาสามารถนํ า ไปยื ม จาก หอสมุดกลาง และห้ องสมุดคณะที่มีข้อตกลงร่วมกัน จํานวน 28 แห่ง (รายชื่อและสถานที่ ติดต่อใน บทที่ 4) ในการขอรับแบบกรอกรายการยืมระหว่างห้ องสมุด นักศึกษาจะต้ องติดต่อกับสํานัก บรรณสารสนเทศด้ วยตนเอง ซึ่งนักศึกษาจะต้ องกรอกแบบขอรับ ใบยืม ระหว่า งห้ อ งสมุด สํา หรับ บัณฑิตศึกษาก่อน โดยใช้ บตั รประจําตัวนัก ศึกษา เป็ นหลักฐานแสดง ตัวอย่ างแบบขอรับใบยืมระหว่ างห้ องสมุด (แบบกรอกรายการยืมระหว่ างห้ องสมุด) แบบขอรับใบยืมระหว่ างห้ องสมุด สาหรับบัณฑิตศึกษา ฝ่ ายบริการสื่อการศึกษา สานักบรรณสารสนเทศ ชื่อ นายต้ นไม้ แหล่งนํ ้า รหัส 2518000447 สาขาวิชา รัฐศาสตร์ แขนงวิชา การเมืองการปกครอง สถานที่ติดต่อ 11/25 ซ.จรัญสนิทวงศ์ 70/3 เขตบางพลัด กรุ งเทพฯ . โทรศัพท์ ________ โทรสาร ขอรับใบยืมระหว่างห้ องสมุดฯ จํานวน 3 ชุด เลขที่ 54/011 ถึง 54/013 เพื่อยืมสื่อสิ่งพิมพ์จากห้ องสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ . สาขาวิชาของสิ่งพิมพ์ที่ต้องการยืม สาขาวิชารัฐศาสตร์ ลงชื่อผู้ขอรับ
ต้ นไม้ แหล่งนํ ้า 11 / 5 / 54 .
ผู้ปฏิบตั ิ
ทิพย์วลั ย์ . 11 / 5 / 54 .
จากนันสํ ้ านักบรรณสารสนเทศจะมอบแบบกรอกรายการยืมระหว่างห้ องสมุดให้ นกั ศึกษา ข้ อมูลที่นักศึกษาควรทราบและต้ องดาเนินการในเรื่ องต่ างๆ ที่เกี่ยวข้ องมี ดังนี ้ 1) แบบกรอกรายการยืมระหว่างห้ องสมุดจะมีอายุการใช้ งาน เป็ นระยะเวลา 1 สัปดาห์ นับ จากวันที่ออกแบบกรอกฯ ให้ 2) นักศึกษาสามารถยืมทรัพยากรสารสนเทศจากหอสมุดกลาง และห้ องสมุดคณะของ สถาบันอุดมศึกษา จํานวน 28 แห่ง เท่านัน้
13 3) นักศึกษามีสิทธิ์ยืมทรัพยากรสารสนเทศจากห้ องสมุดสถาบันอุดมศึกษาดังกล่าว คราว ละ 3 เล่ มต่ อ 1 ครั ง้ หรื อตามระเบียบที่ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาแต่ละแห่งกําหนดไว้ และเมื่อ คืนทรัพยากรสารสนเทศแล้ วจึงจะยืมใหม่ได้ อีก (ไม่ควรนําแบบกรอกฯ ไปครัง้ ละมาก ๆ เพราะการ ยืมทรัพยากรสารสนเทศมีระยะเวลาจํากัด และตามระเบียบฯ บรรณารักษ์ จะมอบแบบกรอกรายการ ยืมระหว่างห้ องสมุดให้ แก่ผ้ ใู ช้ บริ การของตนได้ คราวละ 3 ฉบับ เท่านัน) ้ ทังนี ้ ้ในการยืมแต่ละครัง้ นักศึกษาจะต้ องแสดงบัตรประจําตัวพร้ อมกับแบบกรอกฯ ที่ระบุชื่อผู้ยืมไว้ ให้ ตรงกัน 4) แบบกรอกรายการยืมระหว่างห้ องสมุด 1 ชุด (ประกอบด้ วยฉบับจริ ง 1 แผ่น และสําเนา 1 แผ่น) สามารถนําไปใช้ ยืมทรัพยากรสารสนเทศได้ 1 รายการ และสามารถใช้ ต่ออายุการยืมได้ อีก 1 ครัง้ แม้ ว่าแบบกรอกรายการยืมระหว่างห้ องสมุดจะหมดอายุแล้ วก็ตาม ห้ องสมุดผู้ให้ ยืมจะเก็บ ฉบับจริงไว้ เป็ นหลักฐานการยืม และจะคืนฉบับสําเนาที่ประทับวันกําหนดส่งให้ แก่นักศึกษา เพื่อใช้ แสดงแก่เจ้ าหน้ าที่ในการนํา ทรัพยากรสารสนเทศที่ยืมออกจากห้ องสมุด และให้ นกั ศึกษาใช้ เป็ น หลักฐานในการขอต่ออายุการยืมหรื อคืนตัวเล่มเมื่อครบกําหนดส่งทรัพยากรสารสนเทศ นักศึกษา จะต้ องนําฉบับสําเนามาประทับคืนที่ห้องสมุดผู้ให้ ยืมด้ วยทุกครัง้ 5) เมื่อนักศึกษาใช้ แบบกรอกรายการยืมระหว่างห้ องสมุดและส่งหนังสือคืนห้ องสมุดผู้ยืม แล้ ว นักศึกษาจะต้ องส่งฉบับสําเนาคืนทุกฉบับ หรื อส่งแบบกรอกรายการยืมระหว่างห้ องสมุดที่ยงั ไม่ได้ ใช้ โดยให้ ส่งคืนด้ วยตนเอง หรือส่ งไปรษณีย์ จ่ าหน้ าซองถึง หน่ วยบริการสื่อสิ่งพิมพ์ ฝ่ ายบริการสื่อการศึกษา สานักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ตาบลบางพูด อาเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 6) นักศึกษาสามารถขอรับแบบกรอกรายการยืมระหว่างห้ องสมุดได้ อีก ในกรณี ที่ส่งคืน สําเนาแบบกรอกรายการยืมระหว่างห้ องสมุดที่ใช้ แล้ วให้ สํานักบรรณสารสนเทศ 7) กรณีที่นกั ศึกษาไม่ ส่ง แบบกรอกรายการยืมระหว่างห้ องสมุดที่หมดอายุคืน หรื อมีคํา ร้ องเรี ยนจากห้ องสมุดสถาบันอุดมศึกษาแห่งต่าง ๆ จะถือว่ านักศึกษาไม่ ปฏิบัติตามระเบียบการ ยืมระหว่ างห้ องสมุดของสถาบันอุดมศึกษา นักศึกษาจะถูกตัดสิทธิ์ในการใช้ บริ การห้ องสมุด และ ถูกลงโทษตามข้ อบังคับของมหาวิทยาลัย 8) เมื่อนักศึกษาใช้ บริ การ ณ ห้ องสมุดสถาบันอุดมศึกษาแห่งใด จะต้ องปฏิบตั ิตามกฎ ระเบียบ หรื อข้ อบังคับของห้ องสมุดสถาบันอุดมศึกษานัน้ ๆ อย่างเคร่ งครัด กรณีที่มีการร้ องเรี ยน จากห้ องสมุดสถาบันอุดมศึกษาอื่น ๆ จะมีผลกระทบต่อการยื มระหว่างห้ องสมุดสถาบันอุดมศึกษา
14 ของนักศึกษาทุกท่าน เพราะห้ องสมุดสถาบันอุดมศึกษาแต่ละแห่งอาจตัดสิทธิ์ การยื มของสํ านัก บรรณสารสนเทศด้ วย ตัวอย่ างแบบกรอกรายการยืมระหว่ างห้ องสมุด เลขที่………… Number ห้ องสมุดผู้ให้ ยืม Lending library
แบบกรอกรายการยืมระหว่ างห้ องสมุด (Interlibrary loan request) ห้ องสมุดผู้ยืม Borrowing library
วันกําหนดส่ง Date due ยืมต่อถึงวันที่ Renewed to
ชื่อผู้แต่ง/ชื่อบทความ Author/Title of article ชื่อหนังสือ/ชื่อวารสาร พร้ อมรายละเอียดของบรรณานุกรมและเลยเรี ยกหนังสือ (ถ้ ามี) Title of book / of periodical including bibliographic details and call number (if any) [] ยืมฉบับจริง Borrow original ผู้ต้องการ Requester ภาควิชา Department หมายเหตุ Remarks
หมายเลข หมายเลข หมายเลข
[] ถ่ายเอกสาร Photocopy ตําแหน่ง Position คณะ Faculty
จํานวนหน้ า รวมเป็ นเงิน No. of pages Total ชันปี ้ ที่ Class
บรรณารักษ์ผ้ ยู ืม Borrower ผู้รับหนังสือ Picked up by ผู้รับคืน Receiver
ห้ องสมุดผู้ยืม กรอกข้ อมูล นักศึกษาบัณฑิตศึกษา ผู้ยืมกรอกข้ อมูล ห้ องสมุดผู้ให้ ยืม กรอกข้ อมูล
บาท Baht วันที่ Date วันที่ Date วันที่ Date
15 ส่ วนประกอบของแบบกรอกรายการยืมระหว่ างห้ องสมุด แบบกรอกรายการยืม ระหว่างห้ องสมุด ประกอบด้ วยข้ อมูลต่าง ๆ จําแนกตาม ผู้มีสว่ นเกี่ยวข้ อง ในส่วนที่นกั ศึกษาต้ องกรอก ได้ แก่ ห้ องสมุดผู้ให้ ยืม เขียนชื่อห้ องสมุดที่นักศึกษาต้ องการไปยืมสื่อการศึกษา ชื่อผู้แต่ง/ชื่อบทความ ระบุชื่อผู้แต่งหนังสือ หรื อชื่อบทความ (ในกรณีเป็ นการ ขอถ่ายสําเนาบทความจากวารสาร) ชื่อหนังสือ/ชื่อวารสาร กรณีหนังสือ ซึง่ ห้ องสมุดส่วนใหญ่ให้ ยืมออกได้ ให้ กรอก รายการบรรณานุกรมให้ ครบถ้ วน และทําเครื่ องหมาย ในช่อง [ ] เพื่อระบุว่าต้ องการฉบับจริ ง หรื อสําเนา ส่วนในกรณี เป็ นวารสาร ต้ องถ่ายสําเนาเท่านัน้ เนื่องจากห้ องสมุดไม่ให้ ยืมตัวเล่ม ให้ กรอกชื่อวารสาร ปี ที่ ฉบับที่ เดือน ปี และเลขหน้ าของวารสาร พร้ อมทังระบุ ้ จํานวนหน้ าในช่อง [ ] จํานวนหน้ าด้ วย ผู้ต้องการ ให้ กรอกชื่อนักศึก ษา โดยในส่ว นตําแหน่ง ให้ ร ะบุว่า “นัก ศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา” ชันปี ้ ที่ – ภาควิชาให้ ระบุแขนงที่เรี ยน และคณะให้ ระบุสาขาวิชาที่เรี ยน ผู้รับหนังสือ/วันที่ ลงนามชื่อนักศึกษาผู้ยืม พร้ อมวันที่ที่ยืม 2.6.2 การยืมทรัพยากรสารสนเทศระหว่างห้ องสมุดในข่ายงานห้ องสมุดมหาวิทยาลัยส่วน ภูมิภาค (Provincial University Library Network - PULINET) เป็ นบริ การยืมทรัพยากรสารสนเทศระหว่างห้ องสมุดในข่ายงานห้ องสมุดมหาวิทยาลัย ส่วนภูมิ ภาค (รายชื่อและสถานที่ ติด ต่อในบทที่ 4) แต่นักศึกษาต้ องสมัครเป็ นสมาชิก PULINET ก่ อ น โดยติ ด ต่อ ด้ ว ยตนเองกับ สํ า นัก บรรณสารสนเทศหรื อ ศูน ย์ วิ ท ยพัฒ นา มสธ. เพื่ อ กรอก รายละเอียดในแบบฟอร์ มใบสมัครสมาชิก สําหรับหลักฐานที่ใช้ ในการสมัคร ได้ แก่ รู ปถ่ายขนาด 1 x 1 นิ ้ว จํานวน 2 รูป พร้ อมสําเนาบัตรประจําตัวนักศึกษา และสําเนาบัตรประจําตัวประชาชนที่ยงั ไม่หมดอายุ จากนัน้ นักศึกษาจะได้ รับ บัตร PULINET ซึ่งนักศึกษาสามารถใช้ บตั รดังกล่าวยื ม สิ่งพิมพ์จากห้ องสมุดกลางของมหาวิทยาลัยที่อยู่ในข่ายงานได้ ทังนี ้ ้บัตรสมาชิกมีอายุการใช้ งาน 1 ปี เท่านัน้ นักศึกษาสามารถศึกษารายละเอียดได้ จากเว็บไซต์ของสํานักบรรณสารสนเทศที่ “Library Services” โดยเลือก “Interlibrary Loan Service”
16 ตัวอย่ างแบบกรอกใบสมัครสมาชิก PULINET CARD ใบสมัครเป็ นสมาชิก PULINET CARD สํานักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ----------------------------------------------------------ข้ าพเจ้ า (นาย,นาง,นางสาว)_ ปะราลี _____นามสกุล__ ปาละสุวรรณ____________________ ประเภท ข้ าราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สังกัด สํานัก/ สาขาวิชา สารสนเทศศาสตร์ ________แขนง_________________________________ โทรศัพท์__0 2820523_______ โทรสาร_____ ที่อยูป่ ั จจุบนั บ้ านเลขที่ 9/9 หมู่ 9___ ซอย ___ แขวง/ตําบล บางพูด เขต/อําเภอ ปากเกร็ ด รหัสไปรษณีย์ 11120__ โทรศัพท์ โทรสาร
____E-mail_ paralee.pal@mystou.net ถนน แจ้ งวัฒนะ_____________________ ________ จังหวัด นนทบุรี E-mail paralee.pal@mystou.net
หลักฐานที่นามาสมัคร บัตรประจําตัวนักศึกษา เลขที่ --- วันหมดอายุ____________________ บัตรประจําตัวประชาชน เลขที่ ---- วันหมดอายุ _____________ บัตรที่ออกโดยหน่วยงาน/นายจ้ าง เลขที่ วันหมดอายุ______________ รูปถ่ายหน้ าตรง ขนาด 1 นิ ้ว จํานวน 2 รูป ข้ าพเจ้ าได้ อา่ นและเข้ าใจในเรื่ องสิทธิและระเบียบของการเป็ นสมาชิก PULINET สํานักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชดีแล้ ว และยินดีปฏิบตั ิตามทุกประการ (ลงชื่อ)__________ปะราลี ____________ผู้สมัคร วันที่_7___เดือน_ เมษายน พ.ศ._2554___ สิทธิการยืม 1. สมาชิกสามารถยืมสิ่งพิมพ์ได้ จากห้ องสมุดกลางของสมาชิกข่ายงานห้ องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาค ได้ ไม่เกิน 3 เล่ม ต่อ 1 สัปดาห์ 2. สิ่งที่ให้ ยืม ได้ แก่ สิ่งพิมพ์ของห้ องสมุดที่จําเป็ นในการศึกษา ค้ นคว้ าวิจยั ทังนี ้ ้ให้ เป็ นไปตามระเบียบ ข้ อบังคับ หรื อประกาศของห้ องสมุดสมาชิกข่ายงานฯ แต่ละแห่ง
ส่ วนนีส้ าหรับเจ้ าหน้ าที่ หมายเลข PULIET _______________รหัส PULINET________________วันหมดอายุ____________________ ผู้รับเรื่ อง____________________________________วัน/เดือน/ปี ____________________________________ ผู้บนั ทึกลงฐานข้ อมูลสมาชิก _____________________________ วัน/เดือน/ปี __________________________ ผู้จดั ทําบัตรสมาชิก______________________________________วัน/เดือน/ปี __________________________ ใบเสร็ จรับเงินเล่มที_่ _______________________เลขที_่ ____________________________________________
17 ตัวอย่ างบัตรสมาชิก PULINET
ด้ านหน้ าบัตร
ด้ านหลังบัตร
2.7 บริการส่ งเสริมการใช้ ห้องสมุด เป็ นบริ การสอน/แนะนําการใช้ ห้องสมุด สอนการค้ นฐานข้ อมูลจากแหล่งสารสนเทศ ต่าง ๆ ประกอบด้ วย การสอนการค้ นฐานข้ อมูลทรัพยากรห้ องสมุด(โอแพ็ก) ฐานข้ อมูลวิทยานิพนธ์ ฐานข้ อมูลวารสารและเอกสาร ตามที่นกั ศึกษาสนใจ รวมทังการสอนการยื ้ มหนังสือต่อด้ วยตนเอง โดยนักศึกษาสามารถติดต่อขอรับบริ การสอนการใช้ ห้องสมุดตามความสนใจ ทังเป็ ้ นรายบุคคล และ รายกลุม่ ได้ ที่งานบริการตอบคําถามและช่วยการค้ นคว้ า
สรุ ป นักศึกษาสามารถติดต่อขอรับบริ การบริ การตอบคําถามและช่วยการค้ นคว้ า บริ การถ่าย สําเนาเอกสาร และบริ การอื่นๆ ด้ วยตนเอง ณ สํานักบรรณสารสนเทศ และศูนย์วิทยพัฒนา หรื อ ผ่ า นช่ อ งทางการสื่ อ สารต่ า ง ๆ เช่ น จดหมายอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (tippawan.oan@stou.ac.th; dilibrary@hotmail.com) โทรศัพท์ โทรสาร หรื อใช้ แบบฟอร์ มต่าง ๆ จากแบบฟอร์ มบริ การต่าง ๆ ใน ภาคผนวก หรื อดาวน์โหลดจากหน้ าเว็บไซต์ของสํานักบรรณสารสนเทศที่ “Library Services” เลือก “e-Service Forms”
บทที่ 3 การค้ นฐานข้ อมูล ปั จจุบนั สารสนเทศจะจัดเก็บในรู ปแบบต่าง ๆ ที่เป็ นระบบเพื่อสามารถค้ นและนําไปใช้ ได้ ตามความต้ องการ โดยส่วนใหญ่จะจัดเก็บในรู ปของฐานข้ อมูลที่อ่านได้ ด้วยเครื่ องคอมพิวเตอร์ การค้ นฐานข้ อมูล เหล่านี ้ จะเป็ นการค้ น ด้ วยชุด คําสัง่ สํา เร็ จ ที่ผ้ ูจ ดั ทํา ฐานข้ อ มูลพยายามสร้ าง ชุดคําสัง่ การค้ นที่ไม่ซบั ซ้ อนและเอื ้อประโยชน์ต่อการใช้ ข้อมูลในฐานเพื่อการศึกษาค้ นคว้ า รายละเอียดที่ได้ จากการค้ นฐานข้ อมูลแต่ละฐานนัน้ ส่วนใหญ่ประกอบด้ วยบรรณานุกรม และสาระสังเขป แต่มีบางฐานข้ อมูลที่ให้ เอกสารฉบับเต็มเพิ่มด้ วย เพื่อเป็ นการอํานวยความสะดวก ให้ กับผู้ใช้ มากที่สุด โดยไม่ต้องเสียเวลาค้ นหาเอกสารฉบับเต็มจากระเบียนข้ อมูลที่ค้นได้ สํา นัก บรรณสารสนเทศได้ จดั ทําฐานข้ อมูลขึ ้นเองรวมทังจั ้ ดหาฐานข้ อมูลสําเร็ จไว้ ให้ บริ การในห้ องสมุดที่ ครอบคลุมสาขาวิชาต่าง ๆ เพื่อประกอบการศึกษา การทํารายงานหรื อการทําวิทยานิพนธ์ ฐานข้ อมูลแต่ละฐานอาจมีวิธีการค้ นและหน้ าจอการแสดงผลที่แตกต่างกันตามลักษณะของ ซอฟต์แวร์ แต่โดยส่วนใหญ่ทุกฐานล้ วนมีแนวคิดและกระบวนการค้ นที่เหมือนกัน นักศึกษาเมื่อ ประสงค์ จะค้ นข้ อมูลจากฐานข้ อมูลประเภทต่าง ๆ ควรศึกษากระบวนการค้ นโดยมีรายละเอียดที่ ควรทราบดังนี ้
1. กระบวนการค้ นสารสนเทศ ในการค้ นสารสนเทศจากฐานข้ อมูลประเภทต่าง ๆ มีขนตอนและเทคนิ ั้ คสําหรับการเข้ าถึง สารสนเทศที่ต้องการ นักศึกษาสามารถขอคําแนะนําและความช่วยเหลือในการค้ นจากบรรณารักษ์ และ/หรื อลงมือปฏิบตั ิด้วยตนเอง แต่อย่างไรก็ตาม นักศึกษาควรได้ ทําความเข้ าใจเบื ้องต้ นเกี่ยวกับ กระบวนการค้ น เพื่อช่วยให้ นกั ศึกษาสามารถอธิบายความต้ องการและจุดมุ่งหมายของการค้ น เพื่อ สื่อสารกับบรรณารักษ์ ได้ อย่างถูกต้ อง ซึ่งจะทําให้ ได้ รับผลการค้ นที่ตรงกับความต้ องการได้ อย่าง รวดเร็ว กระบวนการค้ นเป็ นการวางแผนการค้ นสารสนเทศอย่างเป็ นขันตอน ้ เพื่อให้ ได้ คําศัพท์ที่แทน ความต้ องการสารสนเทศ การกําหนดกลยุทธ์การค้ นอย่างถูกต้ องและเหมาะสม ช่วยให้ ได้ รับผลการ ค้ น ที่ ต รงกั บ ความต้ อ งการ และผลการค้ น มี จํ า นวนไม่ ม ากหรื อ น้ อ ยเกิ น ไป กระบวนการค้ น สารสนเทศมีขนตอน ั้ ดังนี ้
20 1.1 การทําความเข้ าใจกับความต้ องการสารสนเทศของผู้ใช้ เป็ นการพิจารณาความต้ องการ สารสนเทศของผู้ใช้ โดยเป็ นการสัมภาษณ์ผ้ ใู ช้ ก่อนการค้ นหา ซึง่ ช่วยให้ ผ้ คู ้ นเข้ าใจความต้ องการของ ผู้ใช้ 1.2 การคัดเลือกฐานข้ อมูลที่เหมาะสม ได้ แก่ ขอบเขต ความทันสมัยของฐานข้ อมูล ระยะเวลาที่ครอบคลุมสารสนเทศทังหมดในฐานข้ ้ อมูล เนื ้อหาสาระของระเบียนข้ อมูล วิธีการจัดทํา ศัพท์ดรรชนี เป็ นต้ น 1.3 การกําหนดคําค้ นแทนความต้ องการสารสนเทศ เมื่อได้ ประเด็นเนื ้อหาของความต้ องการ แล้ ว นักศึกษาต้ องเลือกคําศัพท์มาแทนความต้ องการสารสนเทศ ซึ่งคําศัพท์ดงั กล่าวอาจเรี ยกว่า คําค้ น (keyword) เพื่อใช้ ในการค้ นสารสนเทศ 1.4 การกําหนดกลยุทธ์การค้ น มักอยูใ่ นรูปข้ อคําถามที่ประกอบด้ วยคําค้ น โดยกลยุทธ์การ ค้ นมักจะขึ ้นอยูก่ บั วิธีการทํางานของระบบที่ใช้ ในการบันทึกข้ อมูลสารสนเทศนัน้ 1.5 การดําเนินการค้ นและทบทวนผลการค้ น การดําเนินการค้ นจะเป็ นลักษณะโต้ ตอบ ระหว่างผู้ค้นและระบบคอมพิวเตอร์ ดังนันผู ้ ้ ค้นจึงควรทบทวนผลการค้ นที่ได้ รับทันทีว่าตรงกับความ ต้ องการหรื อไม่ ถ้ าไม่ตรงกับความต้ องการควรปรับปรุงวิธีการค้ นใหม่เพื่อให้ ได้ ผลการค้ นที่พอใจมาก ที่สดุ
2. วิธีการค้ นสารสนเทศจากฐานข้ อมูล ปั จจุบนั สํานักบรรณสารสนเทศได้ จดั หาฐานข้ อมูลประเภทต่าง ๆ ทังฐานข้ ้ อมูล เฉพาะวิชา และสหสาขาวิชา รวมทังเป็ ้ นฐานข้ อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์ ฐานข้ อมูลวิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ และฐานข้ อมู ล หนัง สื อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ฐานข้ อมู ล ประเภทต่า ง ๆ นี ใ้ ห้ บริ ก ารอยู่บ นเครื อ ข่ า ย มหาวิทยาลัย โดยนักศึกษาสามารถเข้ าสืบค้ นได้ ที่เว็บไซต์ http://library.stou.ac.th การสืบค้ นสารสนเทศจากฐานข้ อมูลประเภทต่าง ๆ มีขนตอนและเทคนิ ั้ คสําคัญในการเข้ าถึง สารสนเทศที่ต้องการ ซึ่งนักศึกษาต้ องศึกษาขอบเขต และวิธีการค้ นของแต่ละฐานข้ อมูลไว้ บ้าง เพื่อ การใช้ ประโยชน์อย่างเต็มที่ โดยทัว่ ไปแล้ ววิธีการค้ นของแต่ละฐานข้ อมูลจะไม่แตกต่างกั นมากนัก ซึง่ ประกอบด้ วยวิธีการค้ นหลัก ๆ ดังนี ้ 2.1 เลือกวิธีการค้ น โดยทัว่ ไปการค้ นจะประกอบด้ วยวิธีการต่าง ๆ ได้ แก่ 2.1.1 การค้ นแบบง่าย (Basic search) เป็ นการค้ นจากเขตข้ อมูลใดเขตข้ อมูลหนึ่ง โดยตรง เช่น ชื่อผู้แต่ง (author) ชื่อเรื่ อง (title) หรื อหัวเรื่ อง (subject) เป็ นต้ น 2.1.2 การค้ นแบบลึก (Advanced search) เป็ นการค้ นที่สามารถกําหนดเขตข้ อมูล/ ทางเลือกเพิ่มเติมได้ เช่น การกําหนดเขตข้ อมูล ได้ แก่ การระบุภาษา หรื อการระบุปีพิมพ์ของเอกสาร
21 และการใช้ คําเชื่อม and, or และ not หรื อการใช้ เครื่ องหมาย * หรื อเครื่ องหมาย ! เพื่อการตัดคํา เพื่อให้ ได้ ผลการค้ นที่ตรงกับความต้ องการมากขึ ้น 2.2 ป้อนคําค้ นในช่องคําค้ น (search box) โดยสามารถใส่คําเดียวโดด ๆ วลี หรื อ คําหลาย คําที่เชื่อมต่อกันตามคําเชื่อมที่ใช้ ทังนี ้ ้ขึ ้นอยูก่ บั ระบบการค้ นของแต่ละฐานข้ อมูล 2.3 ทบทวนกลยุทธ์ การค้ นเบื ้องต้ น โดยปกติระบบจะแสดงผลการค้ นเป็ นตัวเลขจํานวน ระเบียนที่พบ ซึง่ อาจมีตงแต่ ั ้ ศนู ย์ หลักสิบ หรื อหลักร้ อย ในกรณีผลการค้ นที่ได้ มีน้อย หรื อมากเกินไป นักศึกษาควรทบทวนกลยุทธ์การค้ นใหม่ โดยเริ่ มตังแต่ ้ การเลือกฐานข้ อมูล การเลือกประเภทการค้ น การป้อนคําค้ นใหม่ และการกําหนดเขตข้ อมูล 2.4 สํารวจเลือกดูผลการค้ น เมื่อได้ ผลการค้ นอยู่ในระดับที่พอใจแล้ ว ให้ คลิกเลือกรายการที่ ค้ นได้ โดยสามารถกําหนดให้ ระบบแสดงรายละเอียดผลการค้ นในระดับที่แตกต่างกัน เช่น เฉพาะ รายการบรรณานุกรม บรรณานุกรมพร้ อมสาระสังเขป หรื อเอกสารฉบับเต็ม ทัง้ นี ้แล้ วแต่ประเภทของ ฐานข้ อมูล 2.5 ตรวจดูรายการที่ค้นได้ ว่าตรงกับความต้ องการหรื อไม่ เป็ นการอ่านเนื ้อหาคร่าว ๆ ของ รายการที่ค้นได้ ว่าตรงกับความต้ องการหรื อไม่ ในบางกรณี ระบบจะระบุว่ารายการลําดับต้ น ๆ ที่ แสดงผลให้ ทราบเป็ นรายการที่ใกล้ เคียงกับเรื่ องที่ค้นมากที่สดุ 2.6 แสดงผลการค้ น เป็ นการสัง่ ให้ ระบบแสดงผลการค้ น ซึ่งอาจเป็ นการสัง่ ให้ แสดงผลบน หน้ าจอ พิมพ์ลงกระดาษ ส่งทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ หรื อบันทึกเป็ นแฟ้มข้ อมูล
3. ฐานข้ อมูลและการค้ น ฐานข้ อมูลที่นกั ศึกษาควรให้ ความสนใจ เพราะมีความสําคัญต่อการเรี ยนในระดับบัณฑิต ศึกษา ได้ แก่ ฐานข้ อมูลบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศห้ องสมุด ฐานข้ อมูล ที่ห้องสมุดพัฒนา ขึ ้นเอง ฐานข้ อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ซึง่ ปั จจุบนั สามารถค้ นสารสนเทศผ่านระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต รายละเอียดของแต่ละฐานข้ อมูลและการค้ น มีรายละเอียด ดังนี ้ 3.1 ฐานข้ อมูลบรรณานุกรมทรั พยากรห้ องสมุด ฐานข้ อมูล บรรณานุก รมทรั พ ยากรห้ องสมุด เป็ นรายการทรั พ ยากรสารสนเทศทุก ประเภทที่จดั ให้ บริการในห้ องสมุด ซึง่ ห้ องสมุดแต่ละสถาบันจะใช้ ระบบห้ องสมุดอัตโนมัติที่แตกต่าง กัน แต่ช่องทางการค้ นฐานข้ อมูลจะใช้ การค้ นออนไลน์หรื ออาจเรี ยกโดยย่อว่า “โอแพ็ก” (Online Public Access Catalog - OPAC) ซึ่งหมายถึง การนําคอมพิวเตอร์ มาใช้ ในการค้ นหารายการ ทรัพยากรสารสนเทศที่มีให้ บริ การในห้ องสมุดแทนการค้ นจากบัตรรายการแบบเดิม แต่ละระบบจะ
22 มีหลักการค้ นที่ไม่แตกต่างกัน สิ่งจําเป็ นที่นกั ศึกษาควรรู้จกั ได้ แก่ เว็บไซต์ของห้ องสมุดสถาบันที่ จะเข้ าไปค้ นและการเข้ าสูท่ างเลือกการค้ นโอแพ็ก ส่วนรายละเอียดของข้ อมูลที่นกั ศึกษาจะนํามาใช้ ประโยชน์เพื่อการค้ นหาตัวเล่ม ได้ แก่ รายละเอียดของข้ อมูลรายเล่มที่ประกอบด้ วย CALL NO : หมายถึง เลขเรี ยกหนังสือ AUTHOR : หมายถึง ชื่อผู้แต่ง TITLE : หมายถึง ชื่อหนังสือ PUBLICATION : หมายถึง สถานที่พิมพ์ สํานักพิมพ์ และปี ที่พิมพ์ LOCATION : หมายถึง สถานที่จดั เก็บหนังสือ STATUS : หมายถึง สถานะของหนังสือ AVAILABLE : หมายถึง การยื ม หนัง สื อ ในที่ นีห้ มายถึง ไม่มี ผ้ ูยื ม หากมี การยืม จะมีรายละเอียดว่า Due ….. หมายถึง หนังสือเล่มนัน้ ถูกยืม ออกโดยระบุวันกํ าหนดส่ง 3.1.1 ฐานข้ อมูลบรรณานุกรมทรั พยากรของสานักบรรณสารสนเทศ มีขอบข่ายและวิธีการค้ น ดังนี ้ (1) ขอบข่าย ฐานข้ อมูลบรรณานุกรมทรัพยากรสํานักบรรณสารสนเทศ หมายถึง ฐานข้ อมูลที่จดั ทําและพัฒนาขึ ้นเองโดยสํานัก ฯในระบบห้ องสมุดอัตโนมัติ VTLS VIRTUA เป็ น รายการทรัพยากรสารสนเทศทุกประเภทที่จดั ให้ บริ การในสํานัก ฯเท่านัน้ ประกอบด้ วย 2 ฐานข้ อมูล ได้ แก่ ฐานข้ อมูลรายการทรัพยากรสารสนเทศ (Books & Serials) และฐานข้ อมูลดรรชนีวารสาร และเอกสาร (Journal Indexing) ทัง้ 2 ฐานนี ้ จะมีวิธีการค้ นที่ไม่แตกต่างกัน ทังนี ้ ้นักศึกษาควร รู้จกั วิธีการค้ นไว้ เพื่อประโยชน์ในการค้ นหาสารสนเทศที่ต้องการด้ วยตนเอง (2) วิธีการค้ น นักศึกษาสามารถค้ นโอแพ็กได้ จากเครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่ให้ บริ การใน สํ านัก บรรณสารสนเทศ หรื อค้ นจากภายนอกสํ านัก ฯ ผ่านระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ ต โดยเข้ า ที่ เว็บไซต์ของสํานักบรรณสารสนเทศที่ http://library.stou.ac.th/
23
หน้ าจอโฮมเพจของสํานักบรรณสารสนเทศ หรื อผ่านเว็บไซต์ ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชที่ http://www.stou.ac.th โดยคลิกเลือก”สํานัก/ หน่วยงาน” จากนันคลิ ้ กที่ “สํานักบรรณสารสนเทศ” หรื อ คลิกที่ เมนู STOU e-Library โปรแกรมจะ แสดงเว็บไซต์ของสํานักบรรณสารสนเทศและมีเมนูให้ เลือกค้ นตามความสนใจ
หน้ าจอโฮมเพจของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ในการค้ นโอแพ็ก นอกจากการค้ นจากหน้ าแรกของห้ องสมุดแล้ ว นักศึกษาสามารถค้ นโดยเลือก เมนู “Library Databases” แล้ วเลือกเมนู “ค้ นทรัพยากรสารสนเทศห้ องสมุด (OPAC)” จะเข้ าสู่ หน้ าจอ “บริการสืบค้ นสารสนเทศออนไลน์” หากต้ องการค้ นหารายชื่อหนังสือและวารสาร ให้ เลือก
24 ฐานข้ อมูล “Books & Serials” หน้ าจอจะปรากฏรูปแบบการค้ น โดยสามารถเลือกทางเลือกการ ค้ นด้ วยวิธีการต่าง ๆ ดังนี ้ รายการ 1. ชื่อเรื่ อง 2. ชื่อผู้แต่ง 3. หัวเรื่ อง 4. สํานักพิมพ์ 5. เลขเรี ยกหนังสือ 6. ชื่อวารสาร
คาสั่งการค้ น Title Author Subject Publisher Call Number Journal Title
กรณีนกั ศึกษาทราบข้ อมูลเบื ้องต้ นในทางเลือกการค้ นใด ให้ ใช้ ทางเลือกนั ้นในการค้ น เช่น ทราบชื่อผู้แต่งหนังสือ ให้ ใช้ คําสัง่ Author ทราบชื่อเรื่ อง ให้ ใช้ คําสัง่ Title ตัวอย่าง ต้ องการค้ นจากหัวเรื่ อง และกําหนดคําค้ นเป็ น “การแพทย์แผนไทย”
หน้ าจอการค้ นโอแพ็ก เมื่ออยู่ที่หน้ าจอโอแพ็ก ให้ เลือกประเภทการค้ นภายใต้ เมนู สืบค้ น จากนันพิ ้ มพ์คําค้ น และสั่งประมวลผล ระบบจะแสดงผลรายชื่ อสื่อการศึกษา ซึ่งอาจจะให้ รายการเดียวหรื อหลาย รายการ ให้ เลือกรายการที่ต้องการดูรายละเอียดรายเล่ม
25
หน้ าจอผลการค้ นแสดงจํานวนรายการหนังสือที่ค้น จากนันคลิ ้ กเลือกรายการที่ต้องการ ระบบจะประมวลผลอีกครัง้ โดยจะแสดงรายละเอียดรายเล่ม
หน้ าจอแสดงรายละเอียดของข้ อมูลที่ค้นรายเล่ม หากนักศึกษาต้ องการค้ นบทความวารสาร สามารถค้ นได้ ที่ ฐานข้ อมูลดรรชนีวารสารและ เอกสาร (Journal Indexing) เป็ นฐานข้ อมูลดรรชนีบทความวารสารทางวิชาการ และสารสนเทศด้ าน การศึกษาทางไกล ปั จจุบนั สํานักบรรณสารสนเทศจัดทําดรรชนีบทความวารสารครอบคลุมสาขาวิชา ต่าง ๆ ที่เปิ ดสอนในระดับบัณฑิตศึกษา นักศึกษาสามารถเข้ าค้ นบทความวารสารได้ จากเว็บไซต์ของ
26 สํ า นั ก บรรณสารสนเทศ โดยเลื อ กเมนู “สารสนเทศในห้ องสมุ ด ” แล้ วเลื อ กเมนู “ฐานข้ อมู ล ทรัพยากรห้ องสมุด (OPAC)” และเลือกฐานข้ อมูล “Journal Indexing”
หน้ าจอดรรชนีบทความวารสารและเอกสาร สําหรับฐานข้ อมูลทรัพยากรสารสนเทศของสถาบันอื่น นักศึกษาสามารถเข้ าโดยผ่าน เว็บไซต์ของห้ องสมุดแต่ละสถาบัน และเลือกทางเลือกการค้ น ซึ่งอาจจะมีการใช้ คําเรี ยกการเข้ า ฐานข้ อมูลทรัพยากรสารสนเทศของห้ องสมุดที่แตกต่างกั น เช่น ฐานข้ อมูลห้ องสมุด ฐานข้ อมูล ทรัพยากรห้ องสมุด สืบค้ น WebOPAC, Library Catalog เป็ นต้ น 3.2 ฐานข้ อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์ ฐานข้ อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์ ให้ บริ การผ่านเครื อข่ายของมหาวิทยาลัย บางฐานข้ อมูล ให้ เฉพาะรายการบรรณานุกรมและสาระสังเขป แต่บางฐานข้ อมูลให้ เอกสารฉบับเต็ม ซึ่งส่วนใหญ่เป็ น วารสารภาษาอัง กฤษ ฐานข้ อ มูล วารสารอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ที่ ใ ห้ บ ริ ก ารในสํ า นัก บรรณสารสนเทศ ประกอบด้ วยฐานข้ อมูลต่าง ๆ ดังนี ้ 3.2.1 ฐานข้ อมูล ScienceDirect เป็ นฐานข้ อมูลหนังสือและบทความวารสารทุกสาขาวิชา ผลการค้ นให้ ข้อมูล รายการบรรณานุกรม สาระสังเขป และเอกสารฉบับเต็ม (บางรายการ) นักศึกษาสามารถเข้ าใช้ ฐาน ข้ อมูล ScienceDirect ได้ ที่เว็บไซต์สํานักบรรณสารสนเทศ โดยเลือกเมนู “Online Databases” แล้ ว เลือก “ScienceDirect”
27
หน้ าจอฐานข้ อมูล ScienceDirect 3.2.2 ฐานข้ อมูล H.W. Wilson เป็ นฐานข้ อมูล บทความวารสารครอบคลุม สารสนเทศทุกสาขาวิช า เช่น มนุษยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ บริ หารธุรกิจ กฎหมาย บรรณารักษศาสตร์ และสารสนเทศ ศาสตร์ เป็ นต้ น ผลการค้ นให้ ข้อมูลรายการบรรณานุกรม สาระสังเขป และเอกสารฉบับเต็ม (บาง รายการ) นักศึกษาสามารถเข้ าใช้ ฐานข้ อมูล H.W. Wilson ได้ ที่เว็บไซต์สํานักบรรณสารสนเทศ โดย เลือกเมนู “Online Databases” แล้ วเลือก “H.W. Wilson”
หน้ าจอฐานข้ อมูล H.W. Wilson
28 3.2.3 ฐานข้ อมูล ISI Web of Science เป็ นฐานข้ อมูล บรรณานุกรมและสาระสัง เขปพร้ อมการอ้ างอิงและอ้ างถึง ครอบคลุมสาขาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ นักศึกษาสามารถเข้ า ใช้ ฐานข้ อมูล ISI Web of Science ได้ ที่ เว็บไซต์สํานักบรรณสารสนเทศ โดยเลือกเมนู“Online Databases” แล้ วเลือก “ISI Web of Science”
หน้ าจอฐานข้ อมูล ISI Web of Science 3.2.4 ฐานข้ อมูล ACM Digital Library เป็ นฐานข้ อมูลด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ผลการค้ นให้ ข้ อมูลรายการบรรณานุกรม สาระสังเขป และเอกสารฉบับเต็ม นักศึกษาสามารถเข้ าใช้ ฐานข้ อมูล ACM Digital Library ได้ ที่เว็บไซต์สํานักบรรณสารสนเทศ โดยเลือกเมนู “Online Databases” และ เลือก “ACM Digital Library”
หน้ าจอฐานข้ อมูล ACM Digital Library
29 3.2.5 ฐานข้ อมูล ABI/INFORM เป็ นฐานข้ อมูลด้ านบริ หารจัดการ และสาขาอื่นที่เกี่ยวข้ อง จากวารสารและ เอกสารอื่นๆ ผลการค้ น ให้ ข้อมูลรายการบรรณานุกรม สาระสังเขป และเอกสารฉบับเต็ม นักศึกษา สามารถเข้ าใช้ ฐานข้ อมูล ABI/INFORM ได้ ที่เว็บไซต์สํานักบรรณสารสนเทศ โดยเลือกเมนู “Online Databases” และเลือก “ABI/INFORM”
หน้ าจอฐานข้ อมูล ABI/INFORM 3.2.6 ฐานข้ อมูล Emerald eJournal เป็ นฐานข้ อมู ล บทความวารสารอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ข องสํ า นัก พิ ม พ์ MCB University Press ครอบคลุมบทความวารสารด้ านการจัดการ ห้ องสมุดและบริ การสารสนเทศ รวมถึ ง ด้ านวิ ศ วกรรม เทคโนโลยี และวิ ท ยาศาสตร์ ป ระยุ ก ต์ ผลการค้ นให้ ข้ อมู ล รายการ บรรณานุกรม สาระสังเขป และเอกสารฉบับเต็ม นักศึกษาสามารถเข้ าใช้ ฐ านข้ อมู ล Emerald eJournal ได้ ที่เว็บไซต์สํานัก บรรณสารสนเทศ โดยเลือกเมนู “Online Databases” และเลือก “Emerald eJournal”
หน้ าจอฐานข้ อมูล Emerald eJournal
30 3.2.7 ฐานข้ อมูล Academic Search Premier เป็ นฐานข้ อมูล ครอบคลุมสหสาขาวิชา ทัง้ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ และ สังคมศาสตร์ ผลการค้ นให้ ข้อมูลรายการบรรณานุกรม สาระสังเขป และเอกสารฉบับเต็ม และมี สิ่งพิมพ์ประเภท Peer Review นักศึกษาสามารถเข้ าใช้ ฐานข้ อมูล Academic Search Elite ได้ ที่ เว็บไซต์สํานักบรรณสารสนเทศ โดยเลือกเมนู “Online Databases” และเลือก “Academic Search Premier”
หน้ าจอฐานข้ อมูล Academic Search Premier 3.2.8 ฐานข้ อมูล Education Research Complete เป็ นฐานข้ อมูลด้ านการศึกษา ครอบคลุมงานวิจยั ด้ านการศึกษาและสาขา ที่เกี่ยวข้ อง ผลการค้ นให้ ข้อมูลรายการบรรณานุกรม สาระสังเขป และเอกสารฉบับเต็ม นักศึกษา สามารถเข้ าใช้ ฐานข้ อมูล Education Research Complete ได้ ที่เว็บไซต์สํานักบรรณสารสนเทศ โดยเลือกเมนู “Online Databases” และเลือก “Education Research Complete”
หน้ าจอฐานข้ อมูล Education Research Complete
31 3.2.9 ฐานข้ อมูล Computer & Applied Sciences Complete เป็ นฐานข้ อมูลด้ านวิทยาการคอมพิวเตอร์ และวิทยาศาสตร์ ประยุกต์ ผลการ ค้ นให้ ข้อมูลรายการบรรณานุกรม สาระสังเขป และเอกสารฉบับเต็ม นักศึกษาสามารถเข้ าใช้ ฐานข้ อมูล Computer & Applied Sciences Complete ได้ ที่เว็บไซต์สํานักบรรณสารสนเทศ โดย เลือกเมนู “Online Databases” และเลือก “Computer & Applied Sciences Complete”
หน้ าจอฐานข้ อมูล Computer & Applied Sciences Complete 3.2.10 ฐานข้ อมูล Mosby’s Nursing Consult เป็ นฐานข้ อมูลด้ านการพยาบาล และวิทยาศาสตร์ สขุ ภาพ รวบรวมวารสาร และหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ข้ อมูลทางยา และคู่มือการปฏิบตั ิตนสําหรับผู้ป่วย ผลการค้ นให้ ข้อมูล รายการบรรณานุก รม สาระสัง เขป และเอกสารฉบับ เต็ม นัก ศึก ษาสามารถเข้ า ใช้ ฐ านข้ อ มูล Mosby’s Nursing Consult ได้ ที่เว็บไซต์สํ านัก บรรณสารสนเทศ โดยเลือกเมนู “Online Databases” และเลือก “Mosby’s Nursing Consult ”
หน้ าจอฐานข้ อมูล Mosby’s Nursing Consult
32 3.2.10 ฐานข้ อมูล American Chemical Society Journal (ACS) เป็ นฐานข้ อ มูล วารสารอิ เ ล็ก ทรอนิก ส์ จ ากสํ า นักพิ ม พ์ The American Chemical Society ครอบคลุมสาขาวิชาเคมีและสาขาอื่นที่เกี่ยวข้ อง ให้ ข้อมูลรายการบรรณานุกรม สาระสังเขป และเอกสารฉบับเต็ม นักศึกษาสามารถเข้ าใช้ ฐานข้ อมูล American Chemical Society Journal (ACS) ได้ ที่เว็บไซต์สํานักบรรณสารสนเทศ โดยเลือกเมนู “Online Databases” และเลือก “American Chemical Society Journal (ACS)”
หน้ าจอฐานข้ อมูล American Chemical Society Journal (ACS) 3.2.11 ฐานข้ อมูล IEEE/IET Electronic Library (IEL) เป็ นฐานข้ อมูลทางด้ านวิศวกรรมไฟฟ้ า วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาการ คอมพิวเตอร์ และสาขาอื่นที่เกี่ยวข้ อง จากสิ่งพิมพ์ตอ่ เนื่อง เอกสารการประชุมวิชาการ และเอกสาร มาตรฐาน ให้ ข้อมูลรายการบรรณานุกรม สาระสังเขป และเอกสารฉบับเต็ม นักศึกษาสามารถเข้ าใช้ ฐานข้ อมูล IEEE/IET Electronic Library (IEL)ได้ ที่เว็บไซต์สํานักบรรณสารสนเทศ โดยเลือกเมนู “Online Databases” และเลือก “IEEE/IET Electronic Library (IEL)”
หน้ าจอฐานข้ อมูล IEEE/IET Electronic Library (IEL)
33 3.2.12 ฐานข้ อมูล Kluwer Arbitration เป็ นฐานข้ อมูลเฉพาะด้ านอนุญาโตตุลาการ ข้ อมูลทางด้ านกฎหมายและ กรณีศกึ ษาใน ICC (International Court of Arbitration) ICCA (International Council For Commercial Arbitration) และ ASA Bulletin Asian International Arbitration ผลการค้ นให้ ข้อมูล รายการบรรณานุกรม สาระสังเขป และเอกสารฉบับเต็ม นักศึกษาสามารถเข้ าใช้ ฐานข้ อมูล Kluwer Arbitration ได้ ที่เว็บไซต์สํานักบรรณสารสนเทศ โดยเลือกเมนู “Online Databases” และเลือก “Kluwer Arbitration”
หน้ าจอฐานข้ อมูล Kluwer Arbitration 3.2.13 ฐานข้ อมูล SprinkgerLink เป็ นฐานข้ อมูลวารสารและหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สหสาขาวิชา ให้ ข้อมูล รายการบรรณานุกรม สาระสังเขป และเอกสารฉบับเต็ม (บางรายการ) นักศึกษาสามารถเข้ าใช้ ฐานข้ อมูล SprinkgerLink ได้ ที่ เว็บไซต์สํานักบรรณสารสนเทศ โดยเลือกเมนู “Online Databases” และเลือก “SprinkgerLink”
หน้ าจอฐานข้ อมูล SprinkgerLink
34 3.2.14 ฐานข้ อมูล Matichon e-library เป็ นฐานข้ อมูลข่าว บทสัมภาษณ์ บทความ บทวิเคราะห์ วิจารณ์ รายงาน ข้ อเขียนอื่นๆ จากหนังสือพิมพ์กว่า 30 ฉบับ สามารถค้ นข้ อมูลได้ ตงแต่ ั ้ ปี พ.ศ. 2539 จนถึงปั จจุบนั นักศึกษาสามารถเข้ าใช้ ฐานข้ อมูล Matichon e-library ได้ ที่เว็บไซต์สํานักบรรณสารสนเทศ โดย เลือกเมนู “Online Databases” และเลือก “Matichon e-library”
หน้ าจอฐานข้ อมูล Matichon e-library 3.3 ฐานข้ อมูลวิทยานิพนธ์ อิเล็กทรอนิกส์ เป็ นฐานข้ อมูลวิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ ให้ บริ การผ่านเครื อข่ายมหาวิทยาลัย ประกอบด้ วย ฐานข้ อมูลวิทยานิพนธ์ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศของสถาบันการศึกษาต่าง ๆ ผลการค้ นในแต่ละระเบียน ให้ รายละเอียด ได้ แก่ สถาบัน ปี ที่ จํานวนหน้ า ระดับปริ ญญา ชื่อนิสิต/ นักศึกษา ชื่อวิทยานิพนธ์ อาจารย์ที่ปรึกษา บทคัดย่อ และเอกสารฉบับเต็ม (บางรายการ) ฐานข้ อมูลวิทยานิพนธ์ที่สําคัญ ได้ แก่ 3.3.1 ฐานข้ อมูลวิทยานิพนธ์ สถาบันอุดมศึกษา (Thai Digital Collection) เป็ นฐานข้ อมูลวิทยานิพนธ์ งานวิจยั บทความวารสาร เอกสารจดหมายเหตุ และหนังสือหายากของไทยที่มีให้ บริการในห้ องสมุดมหาวิทยาลัยหรื อสถาบันต่างๆ ในประเทศไทยที่ เป็ นสมาชิกของเครื อข่ายห้ องสมุดสถาบันอุดมศึกษาไทย (ThaiLIS) ผลการค้ นให้ ข้อมูลรายการ บรรณานุกรม สาระสังเขป และเอกสารฉบับเต็ม (บางรายการ) นักศึกษาสามารถเข้ าใช้ ฐานข้ อมูล วิทยานิพนธ์ สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ ได้ ที่เว็บไซต์สํานักบรรณสารสนเทศ โดยเลือกเมนู “Online Databases” และเลือก “Thai Digital Collection (TDC)”
35
หน้ าจอฐานข้ อมูลวิทยานิพนธ์สถาบันอุดมศึกษา 3.3.2 ฐานข้ อมูล ProQuest Digital Dissertation เป็ นฐานข้ อมูลวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโทและปริญญาเอกของมหาวิทยาลัย ต่าง ๆ ทัว่ โลก ครอบคลุมทุกสาขาวิชา นักศึกษาสามารถเข้ าใช้ ฐานข้ อมูล ProQuest Digital Dissertation ได้ ที่ เว็บไซต์สํานักบรรณสารสนเทศ โดยเลือกเมนู “Online Databases” และเลือก “ProQuest Digital Dissertation”
หน้ าจอฐานข้ อมูล ProQuest Digital Dissertation 3.3.3 ฐานข้ อมูล Dissertation Full Text เป็ นฐานข้ อมูลวิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ระดับปริ ญญาเอก/โทของสหรัฐอเมริ กา แคนาดา ประเทศในยุโรป และที่ อื่นๆ ประมาณ 600 สถาบัน ครอบคลุม ทุกสาขาวิช า ให้ ข้อมูล วิทยานิพนธ์ฉบับเต็ม นักศึกษาสามารถเข้ าใช้ ฐานข้ อมูล Dissertation Full Text ได้ ที่เว็บไซต์สํานัก บรรณสารสนเทศ โดยเลือกเมนู “Online Databases” และเลือก “Dissertation Full Text ”
36
หน้ าจอฐานข้ อมูล Dissertation Full Text 3.4 หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ให้ บริ การผ่านเครื อข่ายมหาวิทยาลัย ครอบคลุมสาขาวิชาต่าง ๆ สามารถเข้ าถึงและดาวน์โหลดเพื่ออ่านได้ เป็ นเอกสารฉบับเต็ มเสมือนการอ่านหนังสือฉบับพิมพ์ แต่ จํากัดการพิมพ์ผลข้ อมูล สามารถยืมได้ ด้วยตนเอง ฐานข้ อมูลหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ที่ให้ บริ การใน สํานักบรรณสารสนเทศ ประกอบด้ วยฐานข้ อมูลต่าง ๆ ดังนี ้ 3.4.1 ebrary eBooks เป็ นฐานข้ อมูลหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ แสดงผลการสืบค้ นแบบ PDF และ สามารถใช้ งาน Interactive tools เพื่อช่วยในการจัดการ และเก็บบันทึกข้ อมูล นักศึกษาสามารถเข้ า ใช้ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ได้ ที่เว็บไซต์สํานักบรรณสารสนเทศ โดยเลือกเมนู ”e-Books” และเลือก “ebrary eBooks”
หน้ าจอรายชื่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของฐานข้ อมูล ebrary eBooks
37 3.4.2 F.A.DAVIS eBooks เป็ นฐานข้ อ มูล หนัง สื อ ออนไลน์ ท างด้ า นสาขาวิ ช าพยาบาลศาสตร์ และ วิทยาศาสตร์ สขุ ภาพ แสดงผลการสืบค้ นแบบ PDF นักศึกษาสามารถเข้ าใช้ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ได้ ที่เว็บไซต์สํานักบรรณสารสนเทศ โดยเลือกเมนู ”e-Books”และเลือก “F.A.DAVIS eBooks”
หน้ าจอรายชื่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของฐานข้ อมูล F.A.DAVIS eBooks 3.4.3 World Scientific eBooks เป็ นฐานข้ อมูลหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ แสดงผลการสืบค้ นแบบ PDF นักศึกษา สามารถเข้ าใช้ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ได้ ที่เว็บไซต์สํานักบรรณสารสนเทศ โดยเลือกเมนู ”e-Books” และเลือก “World Scientific eBooks”
หน้ าจอรายชื่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของฐานข้ อมูล World Scientific eBooks
38 3.4.4 Hart Publishing eBooks เป็ นฐานข้ อมูลหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ แสดงผลการสืบค้ นแบบ PDF นักศึกษา สามารถเข้ าใช้ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ได้ ที่เว็บไซต์สํานักบรรณสารสนเทศ โดยเลือกเมนู ”e-Books” และเลือก “Hart Publishing eBooks”
หน้ าจอรายชื่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของฐานข้ อมูล Hart Publishing eBooks 3.4.5 NetLibrary eBooks เป็ นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ครอบคลุมทุกสาขาวิชา มีหนังสือจํานวนประมาณ 8,874 ชื่อเรื่ อง นักศึกษาสามารถเข้ าใช้ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ได้ ที่เว็บไซต์สํานักบรรณสารสนเทศ โดยเลือกเมนู ”e-Books” และเลือก “NetLibrary eBooks”
หน้ าจอฐานข้ อมูล NetLibrary eBooks
39 3.4.6 Grolier Online เป็ นสารานุกรมและพจนานุกรมออนไลน์ ให้ ความหมายของคําศัพท์ และข้ อมูล สารสนเทศพื ้นฐาน และ นักศึกษาสามารถเข้ าใช้ Grolier Online ได้ ที่เว็บไซต์สํานักบรรณสารสนเทศ โดยเลือกเมนู ”e-Books” และเลือก ”Grolier Online” อีกครัง้ หนึง่
หน้ าจอฐานข้ อมูล Grolier Online 3.4.7 หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ภาษาไทย (Thai eBooks) เป็ นหนัง สื ออิเล็ กทรอนิกส์ ภาษาไทย ครอบคลุมเนื อ้ หาทุกสาขาวิช าทัง้ ทางด้ าน สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และธุรกิจ นักศึกษาสามารถเข้ าใช้ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ภาษาไทย ได้ ที่ เว็บไซต์สํานักบรรณสารสนเทศ โดยเลือกเมนู ”e-Books” และเลือก ”Thai eBooks”
หน้ าจอฐานข้ อมูลหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ภาษาไทย (Thai eBooks)
40 3.5 ฐานข้ อมูลที่สานักบรรณสารสนเทศจัดทาและพัฒนา ฐานข้ อมูลที่สํานักบรรณสารสนเทศจัดทําและพัฒนา ให้ บริ การทังภายในและภายนอก ้ เครื อข่ายมหาวิทยาลัย ประกอบด้ วยฐานข้ อมูลที่นา่ สนใจ ได้ แก่ 3.5.1 คลังปั ญญา ตารา มสธ. เป็ นฐานข้ อมูลหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สิ่งพิมพ์ มสธ. ประกอบด้ วย เอกสารการ สอนชุดวิชา แบบฝึ กปฏิบตั ชิ ดุ วิชา ประมวลสาระชุดวิชาและแนวการศึกษาชุดวิชา ฉบับพิมพ์ครัง้ แรก และได้ มีการปรับปรุงชุดวิชาต่างๆเหล่านี ้แล้ วมากกว่าหนึ่งครัง้ นักศึกษาสามารถเข้ าใช้ คลังปั ญญา ตํารา มสธ. ได้ ที่เว็บไซต์สํานักบรรณสารสนเทศ โดยเลือกเมนู ”Special Collections” และเลือก ”STOU Superseded Textbooks”
หน้ าจอฐานข้ อมูลคลังปั ญญา ตํารา มสธ. 3.5.2 ระบบเอกสารสารองอิเล็กทรอนิกส์ (e-Reseves) เป็ นฐานข้ อมูลจัดเก็บเอกสารสํารองในรูปของอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อใช้ ประกอบการเรี ยนการสอนตามความต้ องการของอาจารย์ผ้ สู อนประจําวิชา นักศึกษาสามารถเข้ าใช้ ระบบเอกสารสํารองอิเล็กทรอนิกส์ ได้ ที่เว็บไซต์สํานักบรรณสารสนเทศ โดยเลือกเมนู ”Special Collections” และเลือก ” e-Reserves”
หน้ าจอระบบเอกสารสํารองอิเล็กทรอนิกส์
41
4. การค้ นฐานข้ อมูลห้ องสมุดจากภายนอกมหาวิทยาลัย ฐานข้ อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่ให้ บริ การในห้ องสมุด ได้ แก่ ฐานข้ อมูล วารสารอิเล็กทรอนิกส์ ฐานข้ อมูลวิทยานิพนธ์ อิเล็กทรอนิกส์ และฐานข้ อมูลหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ มีการกําหนดสิทธิ การ เข้ าถึงเฉพาะภายในเครื อข่ายมหาวิทยาลัยเท่านัน้ หากนักศึกษาต้ องการค้ นฐานข้ อมูลของห้ องสมุด จากภายนอกมหาวิทยาลัย นักศึกษาจําเป็ นต้ องเข้ าใช้ ผ่านระบบ STOU SSL VPN เพื่อเข้ าสู่ เครื อข่ายของมหาวิทยาลัยก่อน การเข้ าสูร่ ะบบ STOU SSL VPN นัน้ นักศึกษาจําเป็ นต้ องมี Username และ Password ตัว เดียวกับระบบ Webmail ของมหาวิทยาลัย หากยังไม่มี สามารถทําการลงทะเบียน (เฉพาะครัง้ แรก เท่านัน) ้ ที่ http://student.mystou.net/
หน้ าจอโฮมเพจของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สําหรับการเข้ าใช้ ระบบ ให้ ใช้ ผา่ น Web Browser ที่ https://vpn.stou.ac.th เพียงกรอก Username และ Password ตัวเดียวกับระบบ Webmail นักศึกษาจะสามารถสืบค้ นฐานข้ อมูล อิเล็กทรอนิกส์ตา่ งๆของห้ องสมุดเสมือนอยูใ่ นมหาวิทยาลัย หากต้ องการคําแนะนําการใช้ ฐานข้ อมูลอิเล็กทรอนิกส์ของห้ องสมุด สามารถติดต่อสอบถาม ได้ ที่ งานบริ การตอบคําถามและช่วยการค้ นคว้ า สํานักบรรณสารสนเทศ โทรศัพท์ 0 2504 7464-5 แต่หากพบปั ญหาการใช้ งาน STOU SSL VPN สามารถติดต่อได้ ที่ สํานักคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ 0 2504 7427-8
บทที่ 4 เอกสารประกอบการใช้ บริการห้ องสมุด สํานักบรรณสารสนเทศ ได้ จดั ทํารายการเอกสารประกอบการใช้ บริการห้ องสมุดเพื่อ เอื ้ออํานวยความสะดวกในการใช้ บริการต่าง ๆ ประกอบด้ วย 1. แบบคําขอใช้ บริ การสารสนเทศ 2. รายชื่อและสถานที่ตดิ ต่อหน่วยงานในเครื อข่าย ในแต่ละบริ การ มีรายละเอียดที่นกั ศึกษาควรรู้ดงั นี ้
1. แบบคาขอใช้ บริการสารสนเทศ แบบคําขอใช้ บริการสารสนเทศ เป็ นแบบฟอร์ มให้ นกั ศึกษาสามารถถ่ายเอกสาร และจัดส่ง คําถามมายังสํานักบรรณสารสนเทศเพื่อดําเนินการ นอกจากนี ้นักศึกษาสามารถกรอกแบบฟอร์ ม อิเล็กทรอนิกส์จากเว็บไซต์ของสํานักบรรณสารสนเทศได้ อีกช่องทางหนึง่ ประกอบด้ วย 1.1 แบบคําขอใช้ บริ การค้ นหาสารสนเทศ 1.2 แบบคําขอใช้ บริ การถ่ายสําเนาเอกสาร
44 1.1 แบบคาขอใช้ บริการค้ นหาสารสนเทศ วันที่ขอใช้ บริ การ __________________
ผู้รับเรื่ อง __________________
แบบคาขอใช้ บริการค้ นหาสารสนเทศ สถานภาพ ปริ ญญาโท ปริ ญญาเอก ชื่อ- นามสกุล _______________________________________รหัสนักศึกษา ___________________________ สาขาวิชา___________________________________แขนงวิชา ______________________________________ ที่อยู่ท่ สี ามารถติดต่ อได้ __________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________________________________
รหัสไปรษณีย์ _______________โทรศัพท์ ____________________E-mail ______________________________ เรื่องที่ต้องการสืบค้ น (โปรดระบุคาสาคัญ / หัวเรื่องที่ต้องการทัง้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) ____________________________________________________________________________________________ ____________________________________________________________________________________________ ____________________________________________________________________________________________ ____________________________________________________________________________________________ ____________________________________________________________________________________________ ____________________________________________________________________________________________ หัวข้ อวิทยานิพนธ์ ____________________________________________________________________________________________ ____________________________________________________________________________________________ ต้ องการคาตอบภายในวันที่ ____________________________ ประเภทของสารสนเทศที่ต้องการ หนังสือ/ตํารา บทความวารสาร วิทยานิพนธ์/งานวิจยั อินเทอร์ เน็ต ฐานข้ อมูลอิเล็กทรอนิกส์ อื่นๆ (ระบุ)________ ระยะเวลาของข้ อมูลที่ต้องการ
5 ปี ย้ อนหลัง 10 ปี ย้ อนหลัง อื่นๆ (ระบุ) __________
ภาษาของสารสนเทศ
ไทย
อังกฤษ
รูปแบบผลการค้ นที่ต้องการ
บรรณานุกรม บทคัดย่อ เอกสารฉบับสมบูรณ์ อื่นๆ (ระบุ) __________
การจัดส่ งเอกสาร
รับด้ วยตนเอง ไปรษณีย์ดว่ นพิเศษ ไปรษณีย์ลงทะเบียน
ไปรษณีย์ธรรมดา ไปรษณีย์พสั ดุ E-mail
45 1.2 แบบคาขอใช้ บริการถ่ ายสาเนาเอกสาร ผู้รับเรื่ อง _______________________วันที_่ ______________________ค่ามัดจําล่วงหน้ า________________บาท สถานภาพ ปริ ญญาโท ปริ ญญาเอก ชื่อ- นามสกุล ______________________________________รหัสนักศึกษา ____________________________ สาขาวิชา__________________________________แขนงวิชา ________________________________________ ที่อยู่ท่ สี ามารถติดต่ อได้ ______________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________________________________
รหัสไปรษณีย์ _______________โทรศัพท์ _________________E-mail_________________________________ เอกสารที่ต้องการถ่ ายสาเนา (โปรดระบุรายการบรรณานุกรมให้ ครบถ้ วน หรือ มากที่สุด) วิทยานิพนธ์/งานวิจยั หนังสือ บทความวารสาร อื่นๆ (ระบุ) _______________ ___________________________________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________________________________
ลักษณะเอกสารที่ต้องการ ทังเล่ ้ ม เฉพาะบทคัดย่อ เฉพาะบรรณานุกรม เฉพาะบทที่ ____________________ เฉพาะหน้ าที่__________________ การจัดส่ งเอกสาร
รับด้ วยตนเอง (ว/ด/ป) ____________ ไปรษณีย์ธรรมดา ไปรษณีย์ดว่ นพิเศษ ไปรษณีย์พสั ดุ ไปรษณีย์ลงทะเบียน E-mail
46
2. รายชื่อหน่ วยงานและสถานที่ตดิ ต่ อในเครื อข่ ายความร่ วมมือ รายชื่อหน่วยงานและสถานที่ตดิ ต่อในเครื อข่ายความร่วมมือ ประกอบด้ วยชื่อหน่วยงานและ สถานที่ตดิ ต่อ ซึง่ เป็ นหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัยและหน่วยงานภายนอกที่อยูใ่ นเครื อข่ายความ ร่วมมือที่นกั ศึกษาสามารถใช้ บริ การได้ ได้ แก่ 2.1 ศูนย์วิทยพัฒนา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2.2 ศูนย์วิทยบริการบัณฑิตศึกษา 2.3 ห้ องสมุดสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ 2.4 ข่ายงานห้ องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาค (PULINET) 2.1 ศูนย์ วิทยพัฒนา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
47 ศูนย์ วิทยพัฒนา 1. ศูนย์ วิทยพัฒนา มสธ.นครศรีธรรมราช 169 หมู่ 3 ถ.นครศรี ฯ-ร่อนพิบลู ย์ ต.นาสาร อ.พระพรหม จ.นครศรี ธรรมราช 800000 โทรศัพท์ 0 7537 8680-8 โทรสาร 0 7537 8686 E-mail : nr.adoffice@stou.ac.th
พืน้ ที่ให้ บริการ นครศรี ธรรมราช, สุราษฎร์ ธานี, กระบี่, พังงา, ภูเก็ต, ระนอง, ชุมพร
2. ศูนย์ วิทยพัฒนา มสธ.นครสวรรค์ 105/35 หมูท่ ี่ 10 ถ.สายนครสวรรค์-พิษณุโลก ต.วัดไทร อ.เมือง จ.นครสวรรค์ 60000 โทรศัพท์ 0 5622 2450 โทรสาร 0 5622 3010 E-mail : nw.adoffice@stou.ac.th
นครสวรรค์, อุทยั ธานี, ชัยนาท, อ่างทอง, สิงห์บรุ ี , พิจิตร, ลพบุรี, เพชรบูรณ์
3. ศูนย์ วิทยพัฒนา มสธ.อุบลราชธานี 199 หมู่ 10 ถ.เลี่ยงเมือง ต.แจระแม อ.เมือง จ.อุบลราชธานี 34000 โทรศัพท์ 0 4528 1891-6 โทรสาร 0 4528 1890 E-mail : ub.adoffice@stou.ac.th
อุบลราชธานี, ศรี สะเกษ, สุรินทร์ , บุรีรัมย์, ยโสธร, ร้ อยเอ็ด, อํานาจเจริญ, มุกดาหาร, นครพนม
4. ศูนย์ วิทยพัฒนา มสธ.เพชรบุรี 90 หมู่ 9 ถ.เพชรเกษม ต.ไร่ส้ม อ.เมือง จ.เพชรบุรี 76000 โทรศัพท์ 0 3241 9248-50 โทรสาร 0 3241 9247 E-mail : pb.adoffice@stou.ac.th
เพชรบุรี, ประจวบคีรีขนั ธ์ , ราชบุรี, นครปฐม, สุพรรณบุรี, กาญจนบุรี, สมุทรสงคราม, สมุทรสาคร
48 ศูนย์ วิทยพัฒนา 5. ศูนย์ วิทยพัฒนา มสธ.สุโขทัย 4 หมู่ 7 ถ.สุโขทัย-กําแพงเพชร (101) กม.429 ข้ างวิทยาลัยพลศึกษา ต.บ้ านกล้ วย อ.เมือง จ.สุโขทัย 64000 โทรศัพท์ 0 5562 0654-8 โทรสาร 0 5565 1097, 0 5562 0655 E-mail : sk.adoffice@stou.ac.th
พืน้ ที่ให้ บริการ สุโขทัย, พิษณุโลก, อุตรดิตถ์, กําแพงเพชร, ตาก
6. ศูนย์ วิทยพัฒนา มสธ.ลาปาง หมู่ 2 ถ.ลําปาง-เชียงใหม่ ต.ปงยางคก อ.ห้ างฉัตร จ.ลําปาง 52190 โทรศัพท์ 0 5482 9811-4 โทรสาร 0 5482 9815 E-mail : lp.adoffice@stou.ac.th
ลําปาง, แพร่, น่าน, พะเยา, เชียงราย, ลําพูน, เชียงใหม่, แม่ฮอ่ งสอน
7. ศูนย์ วิทยพัฒนา มสธ.อุดรธานี หมู่ 10 บ้ านคํากลิ ้ง ต.บ้ านจัน่ อ.เมือง จ.อุดรธานี 41000 โทรศัพท์ 0 42292 500 โทรสาร 0 4229 2494 E-mail : ud.adoffice@stou.ac.th
อุดรธานี, หนองคาย, สกลนคร, หนองบัวลําภู, เลย, ขอนแก่น, ชัยภูมิ, นครราชสีมา, มหาสารคาม, กาฬสินธุ์
8. ศูนย์ วิทยพัฒนา มสธ.จันทบุรี หมู่ 1 ถ.จันทบุรี-สระแก้ ว อ.มะขาม จ.จันทบุรี 22150 โทรศัพท์ 0 3938 9430-3 โทรสาร 0 3938 9434 E-mail : cb.adoffice@stou.ac.th
จันทบุรี, ตราด, ระยอง, ชลบุรี, สระแก้ ว
49 ศูนย์ วิทยพัฒนา 9. ศูนย์ วิทยพัฒนา มสธ.ยะลา 116 หมู่ 4 ถ.หาดใหญ่-ยะลา ต.ท่าสาป อ.เมือง จ.ยะลา 95000 โทรศัพท์ 0 7322 2922-31 โทรสาร 0 7322 2923 E-mail : yl.adoffice@stou.ac.th
พืน้ ที่ให้ บริการ ยะลา, ปั ตตานี, นราธิวาส, สงขลา, สตูล, พัทลุง, ตรัง
10. ศูนย์ วิทยพัฒนา มสธ.นครนายก หมู่ 5 ต.ศรี กะอาง อ.บ้ านนา จ.นครนายก 26110 โทรศัพท์ 0 3730 6247-9 โทรสาร 0 3730 6244 ต่อ 113 E-mail : nk.adoffice@stou.ac.th
นครนายก, ปราจีนบุรี, พระนครศรี อยุธยา, ปทุมธานี, นนทบุรี, ฉะเชิงเทรา, สมุทรปราการ, สระบุรี, กรุงเทพมหานคร
50 2.2 ศูนย์ วิทยบริการบัณฑิตศึกษา ปั จจุบนั มหาวิทยาลัยจัดตังศู ้ นย์วิทยบริการบัณฑิตศึกษา จํานวน 2 แห่ง ได้ แก่ หอสมุด รัชมังคลาภิเษก วังไกลกังวัล และหอสมุดติณสูลานนท์ โรงเรี ยนมหาวชิราวุธ ซึง่ เป็ นหน่วยงาน ภายนอกของมหาวิทยาลัยที่ให้ ความร่วมมือกับมหาวิทยาลัย โดยมีรายชื่อและสถานที่ตดิ ต่อ ดังนี ้ 1. หอสมุดรัชมังคลาภิเษก วังไกลกังวล ถ.เพชรเกษม ต.หัวหิน อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขนั ธ์ 77110 โทรศัพท์ 0 3252 0171 โทรสาร 0 3252 0172 http://www.rmk-lib.ob.tc 2. หอสมุดติณสูลานนท์ โรงเรี ยนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา 19 ถ.ราชดําเนิน ต.บ่อยาง อ.เมือง จ.สงขลา 90000 โทรศัพท์ 0 7431 3402 โทรสาร 0 7431 3175 http://www.mvsklib.com
51 2.3 ห้ องสมุดสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ สํานักบรรณสารสนเทศ มีความร่วมมือระหว่างห้ องสมุดสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ จํานวน 28 แห่ง ซึง่ นักศึกษาสามารถใช้ บริการได้ ดังนี ้ 1. ศูนย์วิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (http://www.car.chula.ac.th) 2. สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (http://www.lib.ku.ac.th) 3. สํานักวิทยบริ การ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (http://www.library.kku.ac.th) 4. สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (http://library.cmu.ac.th) 5. สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าธนบุรี (http://www.lib.kmutt.ac.th) 6. สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยทักษิณ (http://www.lib.tsu.ac.th) 7. ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี (http://library.sut.ac.th) 8. สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (http://library.tu.ac.th) 9. สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร (http://www.lib.nu.ac.th) 10. สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา (http://www.lib.buu.ac.th)
52 11. สํานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (http://www.library.msu.ac.th) 12. หอสมุดและคลังความรู้ มหาวิทยาลัยมหิดล (http://www.li.mahidol.ac.th) 13. สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยแม่โจ้ (http://www.library.mju.ac.th) 14. ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง (http://www.mfu.ac.th/center/lib) 15. สํานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยรามคําแหง (http://www.lib.ru.ac.th) 16. ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ (http://clm.wu.ac.th) 17. สํานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศรี นครินทรวิโรฒ (http://lib.swu.ac.th) 18. หอสมุด มหาวิทยาลัยศรี นครินทรวิโรฒ องครักษ์ (http://oklib.swu.ac.th) 19. หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ สํานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร (http://www.snc.lib.su.ac.th) 20. หอสมุดสาขาวังท่าพระ สํานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร (http://www.thapra.lib.su.ac.th) 21. หอสมุดจอห์น เอฟ.เคนเนดี ้ สํานักวิทยบริ การ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตปั ตตานี (http://tanee.oas.psu.ac.th)
53 22. สํานักทรัพยากรการเรี ยนรู้ คุณหญิงหลง อรรถกระวีสนุ ทร มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ (http://www.clib.psu.ac.th) 23. สํานักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (http://library.stou.ac.th) 24. สํานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี (http://www.lib.ubu.ac.th) 25. สํานักหอสมุดกลาง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง (http://www.lib.kmitl.ac.th) 26. สํานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าพระนครเหนือ (http://library.kmutnb.ac.th) 27. สํานักบรรณสารการพัฒนา สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (http://library.nida.ac.th) 28. ห้ องสมุด ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) (http://lib.sac.or.th) หมายเหตุ : 1. ข้ อมูลล่าสุดตรวจสอบเมื่อเมษายน 2554 2. เว็บไซต์ห้องสมุดแต่ละสถาบันลิงก์ไว้ ที่หน้ าเว็บไซต์ของสํานักบรรณสารสนเทศ โดย เลือกเมนู ”Others” และเลือก ” Academic Libraries”
54 2.4 ข่ ายงานห้ องสมุดมหาวิทยาลัยส่ วนภูมิภาค (PULINET) สํานักบรรณสารสนเทศ มีความร่วมมือระหว่างห้ องสมุดกับสมาชิกข่ายงานห้ องสมุด มหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาค จํานวน 20 แห่ง ซึง่ นักศึกษาสามารถใช้ บริการได้ จากห้ องสมุดกลาง ดังนี ้ 1. สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (http://library.cmu.ac.th) 2. สํานักวิทยบริ การ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (http://www.library.kku.ac.th) 3. หอสมุดจอห์น เอฟ.เคนเนดี ้ สํานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตปั ตตานี (http://tanee.oas.psu.ac.th) 4. สํานักทรัพยากรการเรี ยนรู้ คุณหญิงหลง อรรถกระวีสนุ ทร มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ (http://www.clib.psu.ac.th) 5. สํานักวิทยบริ การ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (http://www.library.msu.ac.th) 6. สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยแม่โจ้ (http://www.library.mju.ac.th) 7. หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ สํานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร (http://www.snc.lib.su.ac.th) 8. สํานักวิทยบริ การ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี (http://www.lib.ubu.ac.th) 9. สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร (http://www.lib.nu.ac.th) 10. สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา (http://www.lib.buu.ac.th)
55
11. ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี (http://library.sut.ac.th) 12. สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยทักษิณ (http://www.lib.tsu.ac.th) 13. ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ (http://clm.wu.ac.th) 14. ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง (http://www.mfu.ac.th/center/lib) 15. สํานักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (http://library.stou.ac.th) 16. ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา (http://www.clm.up.ac.th) 17. สํานักหอสมุด กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกําแพงแสน (http://lib.kps.ku.ac.th) 18. สํานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยนครพนม (http://library.npu.ac.th) 19. ห้ องสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรี ราชา (http://lib.vit.src.ku.ac.th) 20. ห้ องสมุด มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ (http://lib1.pnu.ac.th) หมายเหตุ : 1. ข้ อมูลล่าสุดตรวจสอบเมื่อเมษายน 2554 2. เว็บไซต์ห้องสมุดแต่ละสถาบันลิงก์ไว้ ที่หน้ าเว็บไซต์ของสํานักบรรณสารสนเทศ โดย เลือกเมนู ”Others” และเลือก ” Academic Libraries”