preview art4d 205 ai wei wei

Page 1


Alison Klayman

art4d: Can you start by telling us about your background and why you decided to go to China? Alison Klayman: I studied history as a college student and was really interested in journalism. I did college radio all four years in the summer, and worked on small documentary projects. My dream when I graduated was to become a journalist, and to become a documentary filmmaker. For whatever reasons, I felt that the way I was going to start that journey was by going abroad. So, it wasn’t that I had a background in China or Chinese actually, but my friend from college who I did a student film with, she had family in Shanghai. When we graduated, I tagged along on a trip with her to go to China for 5 months. For me personally, that 5-month trip turned into 4 years, so I guess it was just a place that seems like a good fit and I wanted to keep learning Mandarin once I started. I felt like I could have some good adventures there and maybe do some good work, but it really was total chance and a case of someone taking a risk and following their guts. I just felt like I was meant to stay.

art4d: Are there a lot of differences working in radio, in film, and in print? How do the different media differ? AK: Yeah. I think, first of all, the similarity between radio and film is that you need it on tape. For print, if you experience it, if you overhear it, you can write about it. But for radio, you need the sound bite, you need the sound if you’re doing a really good, rich piece, you have to have captured it, just like films, I mean it’s great that you can find out lots of things, but if you don’t have the shot you can’t tell the story with your footage. But, I think radio has an advantage, it’s a lot less obtrusive, I think radio does a great job of teaching you storytelling. It’s also very plain about the language, something different than print, especially because you listen, you want to be as clear as possible: short sentences, short words and be really evocative in terms of your imagery. I think all kinds of storytelling mediums can inform your experience, but for me, films just always seemed like the ultimate challenge. I wasn’t really formally trained in any way, but I always tried to find opportunities to learn from people who had experience; from other camera people, story editors, anywhere I could get advice. I think that for film, it so captures viewer’s attention in the whole way; with radio, you listen as you’re doing something else, but for film, people are going to sit and watch, and I thought it was a challenge because it involves so much more work. So, I was really eager to do a film project, which I didn’t really know what I wanted to do until I met Ai Weiwei and I felt like that was the movie that I wanted to do. art4d: You didn’t have any formal training in filmmaking? AK: No, no formal training. I took photography

Bangkok

art4d July 2013

The debut filmmaker Alison Klayman shares the challenges she faced while making her documentary Ai Weiwei: Never Sorry.

art4d: Did you ever traveled around Asia before you went to China? AK: No, my first time in China was going to Shanghai with my friend. I had studied abroad in London and during that time I traveled as much as I could in Europe and also Eastern Europe. In the summer, I traveled around the Balkans right before I came to China, which was my first time in Asia. art4d: Did you work as a journalist before you went to China? AK: I worked as a journalist in college and interning in the summers, primarily in radio actually. I worked at two different radio stations at my university and did news anchoring and feature stories and I spent a summer working for public radio in Washington DC. So actually, the one thing I did feel qualified to do in the world, you know, you’re just a college graduate and you’re not really qualified to do that much, but the one thing I’ve got confidence in was I knew how to do radio. When I first got my journalist visa in China, this was two years into my time there, so in 2008 when I started working as a journalist, it was primarily in radio, but I felt like I was qualified to do that.

Interview

Ketsiree Wongwan

72

Interview Natre Wannathepsakul Photos courtesy of Alison Klayman except as noted 01

01 ในงานเทศกาลออกแบบ บางกอก (BDF) 02 โปสเตอร์ภาพยนตร์สารคดี Ai Weiwei: Never Sorry 03 ภาพเบื้องหลังการทำางาน ของ Klayman ในการถ่ายทำา ภาพยนตร์สารคดี Ai Weiwei: Never Sorry

class in high school and I did student film in college. I think it’s instinct, hard work, and practice, so although I don’t have formal training I try to learn, it’s about making the world your teacher; whether you watch films you like and kind of map it out, and think about how they did things, whether you find people who shoot or people who edit, people who direct, and get advice from them. I feel like I tried to make as many people my teachers as I could, but I never went to film school and I didn’t take any film classes in college. Yeah, so many. There’s a lot of great documentaries about China that I watched while I was making this film. I really liked 'Please Vote for Me', I really liked 'Last Train Home'. There’s one movie that I happened to watch a lot; one of my co-producers and I would spend time mapping it out and seeing how it is structured. It’s a movie about the rapper Lil Wayne. He’s from New Orleans

art4d: คุณช่วยเล่าถึงภูมหิ ลังของคุณและเหตุผลว่าทำาไม คุณจึงเดินทางไปทีป่ ระเทศจีนให้เราฟังหน่อยได้ไหม? Alison Klayman: ฉันเรียนด้านประวัตศิ าสตร์ตอนเรียนมหาวิทยาลัยแล้วก็สนใจงานด้านสือ่ สารมวลชนเอามากๆ ฉัน ทำางานให้กบั รายการวิทยุของมหาวิทยาลัยในช่วงซัมเมอร ์ ตลอดช่วง 4 ปี แล้วก็เคยทำาสารคดีซง่ ึ เป็นโปรเจ็คต์เล็กๆ อยู่ หลายชิน้ ความฝันตอนทีเ่ พิง่ เรียนจบคือการเป็นนักข่าวและ คนทำาหนังสารคดี ในตอนนัน้ ฉันคิดว่าหนทางทีฉ่ นั จะเริม่ ต้นไปสูส่ ง่ิ เหล่านัน้ คือการเดินทางไปต่างประเทศ มันไม่ใช่วา่ ฉันมีภมู หิ ลังอะไรทีเ่ กีย่ วกับเมืองจีนหรือคนจีนหรอกนะ เพียงแต่ครอบครัวของเพือ่ นฉัน คนทีท่ าำ หนังสารคดีดว้ ยกัน อยูใ่ นเซีย่ งไฮ้พอดี พอเราเรียนจบ ฉันก็ตามเธอกลับไปทีจ่ นี และอยูท่ น่ี น่ั 5 เดือน แต่จากทริป 5 เดือนมันดันกลายไป เป็น 4 ปี ซึง่ ฉันคิดว่าจีนเป็นทีท่ เ่ี หมาะกับฉันและฉันก็อยาก จะเรียนภาษาจีนกลางต่อด้วย ฉันรูส้ กึ ว่าฉันอาจจะได้เจอกับ การผจญภัยเจ๋งๆ ทีน่ น่ั และบางทีกอ็ าจจะได้ทาำ งานดีๆ มัน เป็นเรือ่ งความบังเอิญ การกล้าเสีย่ ง และการทำาตามทีใ่ จ ของเราเรียกร้อง ฉันแค่มคี วามรูส้ กึ ว่าฉันควรจะอยูท่ น่ี ต่ี อ่ art4d: คุณเคยไปทีไ่ หนในเอเชียมาก่อนทีค่ ณุ จะเดินทางไป ยังประเทศจีนไหม? AK: ไม่เคยเลยค่ะ ครัง้ แรกทีฉ่ นั ไปจีนก็ตอนทีไ่ ปเซ่ย่ี งไฮ้กบั เพือ่ นฉันนัน่ แหละค่ะ ฉันเคยไปเรียนทีล่ อนดอน ตอนนัน้ ฉันพยายามไปเทีย่ วให้ทว่ั ยุโรปและยุโรปตะวันออกให้มาก เท่าทีจ่ ะทำาได้ แล้วตอนซัมเมอร์ฉนั ได้ไปเทีย่ วแถบคาบ สมุทรบอลข่าน ก่อนทีจ่ ะไปจีนซึง่ เป็นครัง้ แรกทีฉ่ นั ได้มา เทีย่ วในเอเชีย

02

art4d: คุณเคยทำางานเป็นนักข่าวก่อนทีค่ ณุ จะเดินทางไป ประเทศจีนรึเปล่า? AK: ฉันเคยทำางานเป็นนักข่าวตอนทีอ่ ยูใ่ นมหาวิทยาลัย และก็ชว่ งฝึกงานทุกๆ ซัมเมอร์เลย ฉันเริม่ จากการทำางาน ในสถานีวทิ ยุของมหาวิทยาลัยก่อน ฉันทำางานอยู่ 2 สถานี ทำาหน้าทีป่ ระกาศข่าว รวมถึง feature stories นอกจากนี้ ฉันใช้เวลาช่วงซัมเมอร์ทาำ งานให้กบั วิทยุสาธารณะ ในวอชิงตัน ดีซี เพราะฉะนัน้ นีค่ อื หนึง่ อย่างในโลกนีท้ ฉ่ี นั คิดว่าฉันมี คุณสมบัตมิ ากพอทีจ่ ะทำางานนีไ้ ด้ คุณนึกออกไหม คือคุณ เป็นแค่เด็กจบใหม่และคุณก็ยงั ไม่มคี ณุ สมบัตมิ ากพอทีจ่ ะ ทำาได้ขนาดนัน้ แต่สง่ ิ หนึง่ ทีฉ่ นั มัน่ ใจก็คอื การทำารายการวิทยุ ครัง้ แรกทีฉ่ นั ได้วซี า่ นักข่าวในจีน ฉันใช้เวลา 2 ปีอยูท่ น่ี น่ั พอปี 2008 ตอนทีฉ่ นั เริม่ ต้นทำางาน เป็นนักข่าว ฉันเริม่ ทำา ในสถานีวทิ ยุกอ่ น ฉันมีคณุ สมบัตมิ ากพอทีจ่ ะทำางานนีไ้ ด้

art4d: ดูเหมือนว่ามันมีความแตกต่างกันระหว่างการ ทำางานวิทยุ ภาพยนตร์ และงานสิง่ พิมพ์อยูพ่ อสมควร แต่ละอย่างมันแตกต่างกันอย่างไร? AK: ใช่คะ่ ต่างกัน ฉันขอเริม่ จากความเหมือนกันของ การทำางานวิทยุกบั การทำาหนังก่อนก็แล้วกัน คือ คุณรูว้ า่ คุณต้องบันทึกเทป สำาหรับสิง่ พิมพ์ ถ้าคุณได้เจอหรือ ได้ยนิ สิง่ ต่างๆ คุณก็สามารถเขียนมันออกมาได้ แต่สาำ หรับ งานวิทยุ คุณต้องมี sound bite หรือการสรุปประเด็นใน การสือ่ สารซึง่ เป็นประโยคเด็ด วลีทองทีช่ ดั เจนและตรง ประเด็นถ้าคุณอยากทำาออกมาให้ดแี ละมีคณุ ภาพจริงๆ ก็ เหมือนกับการทำาหนัง ฉันหมายถึงว่ามันเป็นเรือ่ งทีด่ ที ่ี จะค้นพบอะไรหลายๆ อย่าง แต่ถา้ คุณไม่มชี อ็ ตในหนัง คุณก็ไม่สามารถจะเล่าเรือ่ งในงานของคุณได้ แต่ฉนั คิดว่า วิทยุมขี อ้ ได้เปรียบกว่าตรงทีม่ นั ไม่ร่ สู้ กึ ว่าเป็นการทำาเกินเลยความเป็นส่วนตัวของใครเท่าไหร่ เป็นงานทีส่ อนให้ เรารูจ้ กั การเล่าเรือ่ ง แล้วก็เป็นงานทีใ่ ช้ภาษาง่ายๆ แต่ก็ จะมีบางอย่างทีต่ า่ งจากงานสิง่ พิมพ์ เพราะว่างานวิทยุ มันเป็นเรือ่ งของการฟังเป็นหลัก ดังนัน้ คุณต้องทำาให้มนั ชัดเจนทีส่ ดุ เท่าทีจ่ ะทำาได้ ใช้ประโยคสัน้ ๆ คำาสัน้ ๆ และ เป็นอะไรทีต่ อ้ งทำาให้นกึ ภาพตามได้แบบทีค่ ณุ คิดเอาไว้ ในหัว ฉันคิดว่าทุกๆ สือ่ ทีถ่ กู ใช้ในการเล่าเรือ่ งสามารถ ให้ประสบการณ์คณุ ได้ แต่สาำ หรับฉันการทำาหนังเป็นสิง่ ทีท่ า้ ทายมากทีส่ ดุ ฉันไม่เคยเรียนทำาหนังแบบจริงๆ จังๆ มาก่อนไม่วา่ จะจากไหนก็ตาม แต่ฉนั หาโอกาสทีจ่ ะ เข้าไปเรียนรูจ้ ากคนทีม่ ปี ระสบการณ์ดา้ นนีอ้ ยูเ่ สมอ ทัง้ จากช่างกล้องบ้าง จากคนตัดต่อบ้าง คือทุกๆ ทีท่ ฉ่ี นั คิด ว่าจะได้คาำ แนะนำาเรือ่ งหนัง ฉันคิดว่าสำาหรับงานหนัง มันคือการดึงความสนใจจากคนดูให้ได้ในทุกๆ ทาง ส่วน วิทยุ คุณจะฟังขณะทีค่ ณุ เองก็ทาำ อย่างอืน่ ไปด้วยได้ แต่ หนังเนีย่ คนต้องตัง้ ใจมานัง่ ดูเลย ฉันคิดว่ามันท้าทายก็ เพราะมันเป็นงานทีต่ อ้ งทำาอะไรเยอะมากๆ ดังนัน้ ฉันรูส้ กึ กระตือรือร้นในการทำาหนังมากจริงๆ ซึง่ ฉันเองก็ไม่รวู้ า่ ฉันอยากทำาหนังอะไรจนกระทัง่ ฉันได้เจอกับ Ai Weiwei ฉันรูส้ กึ ว่ามันคือหนังทีฉ่ นั อยากทำาล่ะ art4d: คุณไม่เคยเรียนการผลิตภาพยนตร์แบบจริงๆ จังๆ เลยเหรอ? AK: ใช่คะ่ ไม่เคยแบบจริงๆ จังๆ เลย ฉันเรียนถ่ายรูป ตอนอยู่ ม. ปลาย แล้วก็เคยทำาหนังตอนอยูม่ หาวิทยาลัย ฉันคิดว่ามันเป็นเรือ่ งสัญชาตญาณ การทำางานหนัก และ การฝึกฝน เพราะฉะนัน้ แม้วา่ ฉันไม่ได้ฝกึ ด้านนีม้ าโดยตรง แต่ฉนั ก็พยายามทีจ่ ะเรียนรูม้ นั อยูต่ ลอด มันเหมือนกับ

and his name is Lil Wayne, it’s a documentary called 'The Carter'. What I really liked about it was that it was a movie about a very famous big personality; someone who is an artist himself. It was very casual, it didn't feel the need to give you the whole official life story. It was really about feeling like you were spending time with him. Since he’s a rapper, his lyrics were featured and through his work, you also learn something about him as well. That was a movie that I just happened to watch while I was still filming or towards the end of filming. I went through it a lot to think about what I love about it, what I didn’t like about it, and if there was anything about the structure that helped. Because sometimes you watch lots of documentary films and let's say it’s one about a journey or one about a competition, there are certain kinds of stock typical documentaries that have their own structure that's so neat and you’re like “Ah! If only I was making a movie about a journey or about a competition”, because then you’d know what the story is supposed to be. My project with Ai Weiwei, my approach was to try to be a fly on the wall, to try to capture his life as it was happening, as much of it as I could, from all different angles and areas of his life and his work. So, I didn’t know what the structure was going to be until I had been shooting for a couple of years. art4d: What inspired you to want to make documentaries?

AK: I guess, in a way, I had always looked at documentaries, and I still do, as the ultimate form of journalism. I now see them also as two distinct things, but there is a part of me that viewed it as a continuum, like documentary is this awesome opportunity, first of all, about the time that you have because a lot of the limitations of journalism are not necessarily about the reporter's, but it’s about the medium's. It’s about how much space you have, how many words, how many minutes, and when you want to convey a really complex story or make people care about the person, you have to use certain conventions that cut to the chase and make things quick. So, I thought documentary: wow, what a great opportunity, you get 90 minutes. There was one time I thought 90 minutes, that’s so long, of course, now I think oh it’s so short. It’s there in the opportunity to feel like you’re really truly getting to know a story and a subject, I think I was really drawn to that and I just saw it as a challenge. To be honest, while I was doing it, I just wondered, maybe, I’ll do this first film and I'll say documentary is not for me, I prefer the timespan in journalism or I want to try something new afterwards. I wasn’t really sure how it was going to work out. Now that it’s done, I’m incredibly proud of the film and it has such a large impact all over the world. I’m definitely hooked, I want to keep doing film for sure, it’s sort of a happy ending story. But I still do see it as, in a way, on the continuum of journalism, but you get to make certain

03


74

art4d July 2013

ว่าให้ทง้ั โลกเป็นครูของคุณ ไม่วา่ จะเป็นการดูหนังทีช่ อบ การวิเคราะห์แต่ละตอน หรือการคิดเรือ่ งทีว่ า่ เขาทำาหนัง กันอย่างไร หรือไปคุยกับช่างกล้อง คนตัดต่อ ผูก้ าำ กับ แล้วก็ขอคำาแนะนำาจากพวกเขา ฉันพยายามไปหาความรู้ จากคนหลายๆ คนมากเท่าทีจ่ ะทำาได้ แต่ฉนั ไม่เคยเข้าเรียน ในโรงเรียนสอนด้านภาพยนตร์โดยตรงและไม่เคยลงวิชา ทีเ่ กีย่ วกับหนังตอนเรียนอยูท่ ม่ี หาวิทยาลัย

art4d: อะไรคือแรงบันดาลใจทีท่ าำ ให้คณุ อยากทำา ภาพยนตร์สารคดี? AK: ฉันคิดว่ามันอาจจะเป็นเพราะฉันมองสารคดีวา่ เป็น รูปแบบทีส่ ดุ ยอดทีส่ ดุ แล้วของงานด้านสือ่ สารมวลชนนะ ตอนนีฉ้ นั มองว่ามันเป็น 2 สิง่ ทีแ่ ยกจากกัน แต่บางมุม ฉันก็มองว่ามันเป็นสิง่ ทีต่ อ่ เนือ่ งเชือ่ มโยงกันอยูน่ ะ อย่าง สารคดีมนั เป็นโอกาสทีด่ ี อย่างแรกเลยคือเรือ่ งของเวลา ทีค่ ณุ จะมีได้ เพราะข้อจำากัดทัง้ หลายทัง้ ปวงของงาน art4d: มีผกู้ าำ กับคนไหนหรือหนังสารคดีเรือ่ งไหนทีค่ ณุ สือ่ สารมวลชนไม่ได้เกีย่ วกับข้อจำากัดของนักข่าวอย่างเดียว ชอบเป็นพิเศษบ้างไหม? แต่เป็นข้อจำากัดของสือ่ กลางด้วย มันเป็นเรือ่ งทีว่ า่ คุณมี AK: มีเยอะเลยค่ะ มีหนังสารคดีดๆี เกีย่ วกับประเทศจีน พืน้ ทีแ่ ค่ไหน มีจาำ นวนคำากีค่ าำ มีเวลากีน่ าที หรือเมือ่ คุณ เยอะมากทีฉ่ นั มีโอกาสได้ดตู อนทีฉ่ นั ทำาหนังเรือ่ งนี้ ต้องการจะถ่ายทอดเรือ่ งราวทีซ่ บั ซ้อน หรือทำาให้ผคู้ น ฉันชอบเรือ่ ง Please Vote for Me แล้วก็เรือ่ ง Last รูส้ กึ เข้าถึงใครคนหนึง่ ด้วยเวลาทีม่ ไี ม่เยอะ คุณอาจต้อง Train Home อีกเรือ่ งทีไ่ ด้ดโู ดยบังเอิญก็คอื The Carter ใช้เทคนิคทีเ่ ป็นสูตรสำาเร็จเพือ่ ทีจ่ ะบอกเรือ่ งราวให้ตรง ฉันกับโคโปรดิวเซอร์ใช้เวลากับการวิเคราะห์แต่ละตอน และเร็วขึน้ ดังนัน้ ฉันคิดว่าสารคดีเป็นโอกาสทีด่ มี ากๆ ของหนัง ไปจนถึงว่าหนังเรือ่ งนีม้ นั ถูกวางโครงสร้างมา เพราะคุณมีเวลา 90 นาที เมือ่ ก่อนฉันเคยคิดว่า 90 นาที อย่างไร มันเป็นเรือ่ งเกีย่ วกับแร็พเปอร์ชอ่ื Lil Wayne เป็นระยะเวลาทีย่ าวมาก แต่ตอนนีก้ ลายเป็นรูส้ กึ ว่ามัน เขามาจากนิวโอลีนส์ สิง่ ทีฉ่ นั ชอบในหนังเรือ่ งนีก้ ค็ อื สัน้ มาก แต่มนั มีเวลามากพอทีจ่ ะทำาให้คนดูสามารถ มันเป็นหนังเกีย่ วกับคนทีด่ งั มากๆ เป็นคนทีเ่ ป็นศิลปิน เข้าใจเรือ่ งราวหรือตัวคนทีเ่ รานำาเสนอได้ ฉันคิดว่านัน่ คือ จริงๆ มันเป็นหนังทีด่ งู า่ ย สบายๆ มันไม่ใช่หนังทีน่ าำ เสนอ สิง่ ทีด่ งึ ดูด และฉันก็มองว่ามันคือความท้าทาย พูดจริงๆ ชีวติ ของเขาแบบเป็นทางการอะไรขนาดนัน้ แต่เวลาคุณ เลยนะ ตอนทีฉ่ นั ทำาหนังเรือ่ งนีอ้ ยู่ ฉันก็สงสัยนะว่าหรือ ดูมนั จะอารมณ์ประมาณว่าเหมือนคุณกำาลังใช้เวลาอยู่ นีจ่ ะเป็นการทำาหนังครัง้ แรกของฉันทีอ่ าจจะทำาให้ฉนั กับเขาตรงนัน้ มากกว่า ด้วยความทีเ่ ขาเป็นแร็พเปอร์ รูส้ กึ ว่าสารคดีไม่เหมาะกับฉันเลยก็ได้ ฉันอาจจะอยากไป ดังนัน้ เพลงของเขาก็ถกู ใส่เข้ามาด้วยซึง่ มันก็ทาำ ให้คณุ ในแนวงานด้านสือ่ สารมวลชนมากกว่า หรือไม่กอ็ าจจะ ได้เรียนรูอ้ ะไรเกีย่ วกับตัวเขาไปในตัว นัน่ เป็นหนังทีฉ่ นั อยากจะทำาอะไรใหม่ๆ หลังจากนัน้ ฉันเองก็ไม่แน่ใจว่า บังเอิญได้ดตู อนทีฉ่ นั ถ่ายหนังเรือ่ งนีใ้ กล้จะเสร็จ ฉันก็นง่ั มันจะออกมาเป็นอย่างไร แต่ตอนนีม้ นั เสร็จเรียบร้อย คิดอยูห่ ลายตลบว่าอะไรทีฉ่ นั ชอบและอะไรทีฉ่ นั ไม่ชอบ แล้ว แล้วฉันก็ภมู ใิ นใจหนังเรือ่ งนีม้ ากทีเดียวซึง่ มันสร้าง ในหนังเรือ่ งนี้ การวางโครงเรือ่ งมันมีอะไรบ้างทีช่ ว่ ยใน แรงกระเพือ่ มไปทัว่ โลก ตอนนีฉ้ นั ติดใจและก็คงจะทำา การถ่ายทอดเนือ้ หา เพราะบางครัง้ เวลาทีค่ ณุ ดูหนังสาร- หนังต่อไป มันจบแบบ happy ending แต่อย่างไรเสีย ฉัน คดีเยอะๆ สมมุตวิ า่ เป็นหนังทีเ่ กีย่ วกับการเดินทางหรือ ก็ยงั มองว่ามันเป็นอะไรทีเ่ ชือ่ มโยงกับงานสือ่ สารมวลชน การแข่งขัน มันจะมีสตู รสำาเร็จของมันทีต่ อ้ งเป็นแบบนี้ อยูด่ ี เพียงแต่คณุ จะมีตวั เลือกในเชิงศิลปะทีอ่ าจจะไม่ได้ เพราะฉะนัน้ ถ้าฉันทำาหนังทีเ่ กีย่ วกับการเดินทางหรือ อยูใ่ นการทำางานของนักข่าวทัว่ ไป ฉันคิดว่า การนำาเอา การแข่งขันมันก็คงง่ายน่าดู อะไรทำานองนัน้ เพราะคุณ มาตรฐานของงานด้านสือ่ สารมวลชนมาใช้ในงานสารคดี ก็จะรูว้ า่ จริงๆ แล้วหนังควรจะออกมาเป็นอย่างไร ส่วนหนัง เป็นเรือ่ งสำาคัญอยูน่ ะ เพราะมันจะช่วยให้งานของคุณดูมี ของฉันกับ Ai Weiwei สิง่ ทีฉ่ นั ทำาก็คอื การถ่ายแบบแนว หลักการและเชือ่ ถือได้มากขึน้ เพือ่ ให้คนดูได้คดิ และ แคนดิดแบบทีเผลอ แล้วก็พยายามจับภาพชีวติ ของเขา ประเมินค่ามันได้ ทีเ่ กิดขึน้ ตอนนัน้ เลย คือจะทำาแบบนีเ้ ป็นหลักเลยล่ะ ฉัน จะถ่ายจากหลายมุมหลายด้านทัง้ ในแง่ชวี ติ และการ art4d: มันเป็นธรรมชาติของหนังสารคดีรเึ ปล่า โดยเฉพาะ ทำางานของเขา ดังนัน้ ฉันไม่รวู้ า่ โครงหนังมันจะเป็นไป อย่างยิง่ ทีเ่ กีย่ วกับนักออกแบบและศิลปิน คือถ้าพวกเขา ในแบบไหนจนกระทัง่ ฉันถ่ายมันได้ 2-3 ปีไปแล้ว ยังมีชวี ติ อยูก่ ม็ กั จะถูกยกย่องสรรเสริญหรือไม่มกี าร

04

artistic choices that aren’t necessarily part of the journalist’s normal toolkit. I think bringing journalistic standards to documentary work is incredibly important because that helps make your work more ethical and more reliable for people to take in and evaluate. art4d: Is it in the nature of documentaries, particularly of designers and artists, and especially if they're still alive, to be quite laudatory, or that we still don't get as much critical analysis compared to if that figure was historical, or if the portrayal was fictional? AK: Do you mean in general or in the case of this film? art4d: In general. Would you disagree? AK: I think it depends on the filmmaker’s process and who they looked to talk to. In my experience, I decided that the people I was going to interview about Ai Weiwei, I had a criteria, which is that they had to actually be qualified to talk about Ai Weiwei. I feel like there are plenty of people who look to either criticize, or on the opposite side, to make him into a hero, but who don’t really know him at all, so I didn’t feel like I needed to talk to those people. I wanted to talk to people who actually had experience, knowing him as a person or working with him. The truth is that you might be right in the sense that if someone was still alive, maybe it’s sometimes hard to find people who want to give a critical or even negative kind of a portrait, because I didn’t normally look for people who I thought would say good things about Ai Weiwei, quite the opposite, and I do think there are interviews in the film where people offer a critical take that doesn’t necessarily have to be negative, but a critical discussion about Ai Weiwei. I think Chen Danqing, Gu Changwei, and Hsieh Tehching all have really intellectual points of view about Ai Weiwei on what he’s doing and what his position is in society. But to be honest, I could not get anyone who I thought would have a more critical, in terms of negative, kind of perspective on Ai Weiwei to agree to do an interview, including the Chinese government themselves. I mean I put in a request for an interview, I didn’t say it was to talk about Ai Weiwei, I said it was to talk about the internet policy in China, but nobody responded. So, in the end, they appear in the film at the foreign ministry briefing where the spokeswoman talks about Liu Xiaobo, that’s sort of their face time in the movie. But, the truth is I think if there’s a point of view that you know is out there, but you can’t find anyone who is a credible spokesperson to talk about it, I think that says something about that point of view. If people are too cowardly to be willing to go on camera and say what they think, I think that says something about the point of view that they have.

05

art4d: You got to filming Ai Weiwei, one could say almost accidentally, was there any point where you thought, well he’s a really media savvy artist, he already gets quite a lot of exposure and knows how to put himself out there and always filming everything. So was there a time where you thought that there might be other figures who should get your attention instead? AK: Yes, definitely. There are people who I am so impressed by, a lot of the rights lawyers that he

06

works with. If you watch any of Ai Weiwei’s own documentaries; Pu Zhiqiang is a big rights lawyer who is featured really prominently in Weiwei’s film, Lao Ma Ti Hua [titled in English as 'Disturbing the Peace']. He’s a movie star, for sure. If you look at him, it’s that same feeling, there are certain personalities, where we’re liked “Oh! I would definitely watch a movie about them”. Pu Zhiqiang is one and some of the other lawyers like Li Fangping. The work they do and the struggles that they are totally willing to take head on, to do the work that they do, I think that’s a really compelling question to draw you ahead in the story, to follow them and say “Why do you do what you do?” I think there are other artists too, whose life story and experiences, or the work that they are doing right now is really worthy of it. I have been asked this before where someone says “How come you didn’t do a movie that was only about Ai Weiwei?”, there’s so much more about Ai Weiwei that couldn’t even fit into this 90 minutes. In the end, you pick what your movie is about, but I absolutely think that there are so many people who you either just see in the film, or maybe who I interviewed, and just have a few lines, that you could do a whole movie about them too. But, one at a time. art4d: Were you ever harassed by the authority during filming? What was the scariest moment? AK: The truly scariest moment was finding out that he was detained. I was actually in New York at the time, I was editing the film. But in terms of what was scary while I was filming, the trips to Chengdu were the main opportunities that I had to be with Ai Weiwei while he was directly interfacing with authorities and challenging authorities, going to the police stations, going to the courthouses. On those trips, I think all of us were a little bit nervous because of what had happened to him on the first time, and then knowing “Okay, are we going to get stopped in the middle of the night in our hotel rooms? Are we going to be able to succeed when we film?” But if you remember, I was also working as a freelance journalist at that point at the same time, so I ran into interference from authorities when I was on other reporting trips as well, covering the riots in Ürümqi in 2009. There were all kinds of times where I might be out doing less ambitious stories, but where I get stopped because I’m out with a camera, even if I said “Look, I’m a reporter”, they still stop you. So, I feel like I was also getting trained on how to work like that. Being with Ai Weiwei, the whole thing was

วิเคราะห์ในเชิงการวิพากษ์มาก เท่ากับว่าคนทีน่ าำ เสนอ เป็นคนในประวัตศิ าสตร์ไปแล้ว หรือคนทีน่ าำ เสนอเป็นคน ทีเ่ ป็นตัวละครสมมุติ AK: คุณหมายถึงทัว่ ๆ ไป หรือว่าเฉพาะหนังเรือ่ งนี้ art4d: โดยทัว่ ๆ ไปค่ะ คุณเห็นด้วยหรือไม่กบั ประเด็น ดังกล่าว? AK: ฉันคิดว่ามันขึน้ อยูก่ บั วิธกี ารของคนทำาหนังและ กลุม่ ทีพ่ วกเขาเลือกทีจ่ ะเข้าไปคุยด้วย ในกรณีของฉัน คนทีฉ่ นั จะเข้าไปสัมภาษณ์เกีย่ วกับ Ai Weiwei ฉันจะมี เกณฑ์ของฉันเลยว่าเขาต้องมีคณุ สมบัตอิ ย่างไรทีจ่ ะ สามารถพูดถึง Ai ได้ ฉันรูส้ กึ ว่ามีคนจำานวนมากทีอ่ ยาก จะวิพากษ์วจิ ารณ์ หรือไม่กอ็ ยูใ่ นขัว้ ตรงกันข้ามเลยคือ ทำาให้เขาเป็นฮีโร่ แต่คนเหล่านีก้ ลับไม่ได้รจู้ กั เขาจริงๆ เพราะฉะนัน้ ฉันคิดว่าฉันมันไม่จาำ เป็นทีต่ อ้ งเข้าไปคุย กับพวกเขาเหล่านัน้ ฉันต้องการคุยแต่กบั คนทีม่ ปี ระสบการณ์รว่ มกับเขา รูจ้ กั เขาเป็นการส่วนตัว หรือคนทีเ่ คย ทำางานกับเขามาก่อน ความจริงก็คอื คุณอาจจะถูกในแง่ นัน้ นะ ถ้าใครคนหนึง่ ยังมีชวี ติ อยูบ่ างครัง้ มันก็ยากทีจ่ ะ หาใครสักคนทีจ่ ะวิจารณ์เขาได้ หรือพูดถึงด้านลบของเขา เพราะฉันเองก็ไม่ได้มองหาทีพ่ ดู ถึงแต่เรือ่ งดีๆ เกีย่ วกับ Ai แทบจะตรงกันข้ามเลยด้วยซ้าำ และฉันก็คดิ ว่าในหนังมี บทสัมภาษณ์ของคนทีพ่ ดู ในเชิงวิเคราะห์ซง่ึ ไม่จาำ เป็นต้อง เป็นแง่ลบ แต่เป็นการถกเถียงเกีย่ วกับ Ai Weiwei แบบ มีเหตุมผี ลมีหลักการ ฉันคิดว่ามุมมองของ Chen Danqing, Gu Changwei และ Hsieh Tehching ทีม่ ตี อ่ สิง่ ที่ Ai ทำาและสถานภาพทางสังคมของเขาเป็นอะไรทีม่ ี ความล้าำ ลึกอยู่ ความจริงก็คอื ว่าไม่มคี นไหนทีว่ จิ ารณ์ Ai Weiwei ในแง่ลบตกลงจะมาให้สมั ภาษณ์กบั ฉันสักคน รวมทัง้ คนจากฝัง่ รัฐบาลจีนด้วย ฉันหมายถึงว่า ฉันระบุ ลงไปในการขอสัมภาษณ์แล้วนะว่าฉันไม่ได้จะพูดถึง Ai Weiwei แต่ฉนั ถามเกีย่ วกับนโยบายภายในประเทศจีน แต่กไ็ ม่มใี ครตอบรับสักคน ท้ายทีส่ ดุ พวกเขาไปปรากฏ ตัวในหนังของฉันตอนทีเ่ ราไปถ่ายทีก่ ระทรวงต่างประเทศ ช่วงทีโ่ ฆษกหญิงพูดเกีย่ วกับ Liu Xiaobo คุณจะได้เห็น หน้าพวกเขาในหนังตอนนัน้ แหละ ฉันคิดว่าถ้ามันมีมมุ มองทีค่ ณุ รูว้ า่ มีคนแบบนัน้ อยูแ่ ต่คุณกลับไม่สามารถหา ใครทีจ่ ะเป็นคนมาพูดเรือ่ งนีไ้ ด้ คือถ้าไม่มใี ครกล้าทีจ่ ะ ออกมาพูดสิง่ พวกเขาคิดอยูแ่ ล้วละก็มนั ก็นา่ จะเป็นการ บอกอะไรบางอย่างเกีย่ วกับความคิดนัน้ ๆ art4d: ตอนทีค่ ณุ บันทึกเทป Ai Weiwei อาจพูดได้วา่

04-05 ภาพตัวอย่างจาก ภาพยนตร์สารคดี Ai Weiwei: Never Sorry 06 Klayman และ Ai Weiwei ในระหว่างการถ่ายทำาสารคดี

unique because nobody does things the way Ai Weiwei does them, and I was showing up with him with five other people with cameras. But it was questionable whether we were going to succeed and what was going to happen, we didn’t know whether it was going to be a friendly or not friendly encounter, but I was mostly scared for Weiwei and for the other Chinese citizens who were part of this whole trip because I feel the risks that they were taking were very, very great compared to mine. The risk to me wasn’t as high as to the Chinese citizens. art4d: As a journalist and a filmmaker working in a foreign country, what were the challenges and difficulties? AK: I think that it was really good that I didn’t start doing journalism full time until two years into my time in China. I had a lot of different jobs before I started and I got to know China in different ways; I worked on movie sets, I worked for the Olympics website and I got to work on a Jackie Chan / Jet Li movie. So, I met celebrities, I met educated collegegraduate Chinese, I met regular working people. I feel like I got to know China. More importantly, I got to speak Chinese well enough to do my work without a translator and interpreter, I think that really helped what I was doing. Now, I wished my language skills were better, I probably got too lazy and should have kept improving. Being a foreigner meant both advantages and disadvantages, given that I could understand what was going on around me most of the time and I knew a bit about China just from life and from how to talk to people. Sometimes just being visibly a foreigner means people don’t want to talk to you, but sometimes, it means people talk to you in a very different way than they would talk to a local person, and they might explain something more, they might be proud to show you something. I am always aware that I am a foreigner, but I didn’t always see it as a downside. art4d: Or they might say things, which they think you don't understand but you do. AK: Yeah, exactly, which is always helpful. I also think, not that it’s a big part, but for a foreigner, I am also kind of unassuming, I am a young woman and I think all that stuff and how I carry myself when I talk to people, it all comes into play. If someone was an older Chinese man, they will have certain advantages and they might have disadvantages, it really depends


76 Ketsiree Wongwan

art4d July 2013

07

on the situation, and what you have to work with. art4d: How did you go about funding this project? AK: Man, funding was like in a million every way possible. Obviously, it started, I met Ai Weiwei and did a short project about him just for fun, for free. Then, I continued to film with him and I subsidized a lot of my life, my work, by also doing some stories about him, so sometimes I could come around just saying I want to film, sometimes I could do a piece about his earthquake project or about his blog getting shut down, or whatever, for radio, for television. Once it became a bigger project, the earliest funding was actually from the New York art world scene and also from the Henry Luce Foundation, which does projects about Asia, but doesn’t typically fund films. So, we were pretty lucky that there was a program officer there who looked at the application and thought there should be a movie about Ai Weiwei, and gave us some early money. So really, shooting the film was the easiest part, if you can imagine, I was already living there and I was shooting it myself, I didn’t have to hire a camera person. Then when I brought all the footage back to New York and started working with an editor, that’s when you need to find more funding. It ended up being really a mix of film world grants like the Sundance Documentary Fund and other foundations like that; private money and also crowdfunding, Kickstarter campaign that we did where we raised a little over fifty thousand dollars from eight hundred people, which is amazing. It’s a lot of work actually doing a crowdfunding campaign as well. We’re just finishing, delivering, and making the final prizes and awards that people get, we'll be sending out all the DVDs and bonus DVDs. We worked for that stuff too, it ended up being funding from all over. And then, the beautiful thing was that the movie was really getting shown all over the world. So, it’s a lot of hard work, but also pretty lucky; it was a great success story, it really feels like thelittle-film-that-could. We had no idea that it would get to be such a big project. art4d: Your point about the need to capture everything on film, were there any particular memorable moments that you missed for this film? AK: There were so many moments I missed. Because my relationship with Ai Weiwei or the way that we worked was that by like a year into it, I

07 Alison Klayman ในงาน เสวนา 08 ภาพตัวอย่างจากภาพยนตร์ Ai Weiwei : Never Sorry 09-10 ในระหว่างการถ่ายทำา

โปรเจ็คต์นเ่ี กิดขึน้ โดยบังเอิญ มันมีชว่ งไหนบ้างไหมที่ คุณนึกถึงว่า Ai Weiwei เป็นศิลปินทีฉ่ ลาดทีจ่ ะใช้สอ่ื และเขาก็ได้รบั ความสนใจมากพอสมควรแล้ว รวมทัง้ เขาเองก็รวู้ า่ จะต้องทำาอย่างไรทีจ่ ะให้ตวั เองไปอยูใ่ น สายตาสาธารณะแล้วเขาก็บนั ทึกทุกอย่างเอาไว้ เพราะ ฉะนัน้ มันมีตอนไหนบ้างไหมทีค่ ณุ คิดว่ามันจะมีคนอืน่ ที่ คุณควรจะทำาหนังเกีย่ วกับพวกเขามากกว่า? AK: แน่นอน มีทนายด้านสิทธิท่ี Ai ทำางานด้วยหลายคน ทีฉ่ นั ประทับใจ ถ้าคุณได้ดสู ารคดีหลายๆ เรือ่ งที่ Ai ถ่าย เอาไว้อย่างเรือ่ ง Lao Ma Ti Hua หรือชือ่ อังกฤษว่า Disturbing the Peace คุณจะเห็นทนายด้านสิทธิทช่ี อ่ื Pu Zhiqiang ทีโ่ ดดเด่นมาก เขามีอารมณ์เหมือนเป็น ดาราหนังอยู่ บางคนก็เป็นคนทีม่ บี คุ ลิกเฉพาะตัวแบบที่ ถ้ามีหนังเกีย่ วกันคนๆ นีเ้ ราก็จะดูละ่ Pu Zhiqiang เป็น ทนายความทีค่ ล้ายๆ กับ Li Fangping งานทีพ่ วกเขาทำา รวมถึงการต่อสูท้ พ่ี วกเขายินดีทาำ แบบถวายหัว ฉันคิดว่า มันเป็นสิง่ ทีก่ ระชากความสนใจจากคนดูเอามากๆ คุณจะ อยากติดตามและถามพวกเขาว่า “ทำาไมคุณถึงทำาสิง่ ที่ คุณกำาลังทำาอยูน่ ล่ี ะ่ ?” ฉันคิดว่ามีศลิ ปินคนอืน่ ๆ ด้วยทีม่ ี เรือ่ งราวชีวติ และประสบการณ์ หรือว่างานทีพ่ วกเขา สร้างสรรค์นน้ั มีคา่ มากพอทีจ่ ะทำาเป็นสารคดี ฉันเคยถูก ถามเกีย่ วกับเรือ่ งนีม้ าก่อนหน้านีซ้ ง่ึ บางคนก็ถามฉันว่า

“ทำาไมคุณถึงไม่ทาำ หนังทีเ่ กีย่ วกับ Ai Weiwei แบบ เพียวๆ เลยล่ะ?” มันมีหลายๆ อย่างเกีย่ วกับ Ai Weiwei ทีม่ นั ไม่สามารถทีจ่ ะรวมอยูใ่ น 90 นาทีของหนังเรือ่ งนี้ ในท้ายทีส่ ดุ มันมีหลายอย่างทีค่ ณุ ต้องตัดออก และคุณก็ ต้องเลือกว่าหนังของคุณมันจะนำาเสนอเกีย่ วกับอะไร แน่นอน ฉันคิดว่ามันมีคนอีกเยอะทีค่ ณุ เห็นอยูใ่ นหนัง หรืออาจจะเป็นใครทีฉ่ นั สัมภาษณ์และออกกล้องแค่นดิ หน่อยซึง่ คุณอาจจะทำาหนังเกีย่ วกับเขาได้ทง้ั เรือ่ ง แต่คง ต้องทีละคนล่ะค่ะ art4d: คุณเคยถูกคุกคามจากผูม้ อี ทิ ธิพลระหว่างการ ถ่ายทำาบ้างไหม และตอนไหนสยองทีส่ ดุ ? AK: ช่วงทีน่ า่ กลัวทีส่ ดุ ก็คอื ตอนทีฉ่ นั รูว้ า่ Ai ถูกขัง ตอนนัน้ ฉันอยูท่ น่ี วิ ยอร์ก กำาลังตัดต่อหนังเรือ่ งนีอ้ ยู่ ส่วน ตอนทีน่ า่ กลัวในช่วงเราถ่ายทำาคือตอนทีเ่ ราไปเฉิงตูกนั เป็นช่วงเวลาส่วนใหญ่ทฉ่ี นั มีโอกาสได้อยูก่ บั Ai ซึง่ เป็น ตอนทีเ่ ขากำาลังปะทะและท้าทายกับผูม้ อี าำ นาจ ไปทีส่ ถานีตำารวจ ไปทีศ่ าล ในทริปนัน้ ฉันคิดว่าเราทุกคนรูส้ กึ ประสาทเสียกันนิดหน่อยเพราะสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ กับเขาครัง้ แรก มันทำาให้เราคิดกันว่า “เอ๊ะ เราจะ โดนตำารวจบุกเข้ามาจับ เราในห้องนอนทีโ่ รงแรมกลางดึกไหม? แล้วเราจะได้ถา่ ย ต่อไหม?” ถ้าคุณจำาได้ ฉันเป็นนักข่าวอิสระด้วยในตอน นัน้ ดังนัน้ ฉันก็เจอกับการเข้ามาแทรกแซงจากคนของ รัฐอยูต่ ลอดเวลาอยูแ่ ล้วระหว่างทีฉ่ นั ทำางาน อย่างตอนที่ ฉันทำาข่าวการจลาจลทีอ่ หู ลูม่ ฉู่ ใี นปี 2009 มันมีหลาย ครัง้ ทีฉ่ นั เขียนเรือ่ งทีท่ าำ ให้รฐั บาลจีนไม่ชอบใจแล้วก็ถกู ให้หยุดตรงนัน้ เพราะฉันออกไปพร้อมกับกล้องถ่ายรูป ถึงแม้วา่ ฉันจะบอกว่า “นี่ ฉันเป็นนักข่าวนะ” พวกเขาก็ ห้ามอยูด่ ี ดังนัน้ ฉันรูส้ กึ ว่าฉันกำาลังถูกฝึกให้ทาำ งานใน สถานการณ์แบบนัน้ อยู่ การมีโอกาสได้คลุกคลีกบั Ai ทุกอย่างมันพิเศษไปหมด เพราะไม่มใี ครทำาแบบที่ Ai ทำา ฉันและอีก 5 คนทีม่ าพร้อมกับกล้องถ่ายรูปก็ไปปรากฏ ตัวพร้อมกับ Ai ด้วย แต่มนั ก็เป็นเรือ่ งไม่แน่นอนว่าเรา จะทำาสำาเร็จหรือไม่ และมันจะเกิดอะไรขึน้ เราไม่มที างรู-้ เลยไม่วา่ มันเป็นการเผชิญหน้าแบบเป็นมิตรหรือไม่เป็นมิตร แต่ฉนั ก็รสู้ กึ กลัวแทน Ai รวมไปถึงคนจีนคนอืน่ ๆ ที่ ไปกับเราด้วย เพราะฉันรูส้ กึ ว่าพวกเขาเสีย่ งมาก เสีย่ ง กว่าฉันมาก ฉันไม่เสีย่ งมากเท่ากับพวกเขาซึง่ เป็น ประชาชนจีนหรอกค่ะ art4d: ในฐานะนักข่าวและคนทำาหนังทีท่ าำ งานในต่างประเทศ ความท้าทายและอุปสรรคในการทำางานของคุณ คืออะไร? AK: ฉันคิดว่ามันดีทฉ่ี นั ไม่ได้เริม่ ต้นชีวติ ด้วยการทำางาน ด้านสือ่ มวลชนแบบเต็มตัวจนมาในช่วง 2 ปีทฉ่ี นั อยูท่ ่ี จีน ฉันได้ทาำ งานทีห่ ลากหลายมากๆ ก่อนทีจ่ ะเริม่ ทำางาน เป็นสือ่ และได้รจู้ กั กับเมืองจีนในหลายๆ ด้าน ฉันได้ ทำางานอยูใ่ นกองถ่ายหนัง ทำางานให้กบั เว็บไซต์ของ โอลิมปิกส์ ทำาหนังของเฉินหลงและเจ็ท ลี ดังนัน้ ฉันมี โอกาสได้เจอกับคนดัง ได้เจอกับคนจีนทีม่ กี ารศึกษา

08

รวมถึงคนทำางานทัว่ ๆ ไป ฉันรูส้ กึ ว่าฉันได้รจู้ กั ประเทศ จีน ทีส่ าำ คัญ มันทำาให้ฉนั พูดภาษาจีนได้ดพี อโดยไม่ตอ้ ง พึง่ ล่าม ซึง่ มันช่วยได้มากกับสิง่ ทีฉ่ นั ต้องทำาตอนนีฉ้ นั อยากให้ทกั ษะด้านภาษาของฉันดีขน้ึ ฉันอาจจะขีเ้ กียจ ไปสักหน่อย และก็ควรจะพัฒนาต่อไป การเป็นคนต่าง ชาติมนั ก็มที ง้ั ข้อดีและไม่ดี มันทำาให้ฉนั สามารถเข้าใจ ได้วา่ อะไรเกิดขึน้ รอบๆ ตัวฉัน และทำาให้ฉนั ได้รเู้ กีย่ วกับ ประเทศจีนก็จากการใช้ชวี ติ และการคุยกับผูค้ น บางครัง้ การเป็นชาวต่างชาติทาำ ให้คนไม่คอ่ ยอยากจะเข้ามาคุย ด้วยสักเท่าไหร่ และบางครัง้ เขาก็จะคุยกับคุณในแบบที่ ต่างจากทีเ่ ขาคุยกับคนจีนด้วยกันเอง เขาจะอธิบายอะไร ต่างๆ มากขึน้ และพวกเขาก็อาจจะโชว์สง่ิ ทีเ่ ขารูส้ กึ ภูมใิ จ ให้คณุ ดู ฉันรูส้ กึ อยูเ่ สมอว่าฉันเป็นคนต่างชาติ แต่ฉนั ไม่ คิดว่ามันเป็นอะไรทีไ่ ม่ดเี สมอไปนะ 09

could leave my equipment at his house, and I could show up whenever I wanted, and start filming, and he’d be in the middle of doing something, and I’d just start filming. But, he never once, in our entire time together, did he ever call me or text me and say “Alison, I’m doing this thing, you should come down. It would be really good for the movie”. That never happened. I really appreciated the independence and the freedom from him in that sense, but I also sometimes really wished that he would do that, because there were times when [for example] the New Yorker reporter who is in the film, Evan Osnos, while he was reporting for his profile that he wrote about him, he spent like a month or two with Ai Weiwei to write the story that happened to be right while I was filming. In his story, Weiwei goes to the Beijing police one day, he goes into the station and I forget the details of what he did, but basically it was a great story, and I wasn’t there because I didn’t know it was happening, and I was in Beijing. There was another time when he marched on Tiananmen. There was another time when he had been helping a group of artists, this is a story that I followed for the film that ultimately didn’t make it into the film just because there wasn’t time, but he was helping a group of artists that were fighting a demolition conviction in their artist community. They would come to him for advice often, essentially about activism. It was sort of an

art4d: หรือพวกเขาอาจจะพูดบางอย่างทีพ่ วกเขาคิดว่า คุณไม่เข้าใจแต่จริงๆ คุณฟังออก AK: ใช่ ใช่เลย ซึง่ มันมักจะเป็นประโยชน์เสมอเลยล่ะ ฉันคิดว่ามันไม่ใช่สว่ นสำาคัญขนาดนัน้ ทีจ่ ะทำาให้ฉนั ไม่ ต้องเจอกับปัญหา ฉันคิดว่าสำาหรับคนต่างชาติทไ่ี ม่ได้ เตะตาอะไรอย่างฉัน เป็นแค่คนเด็กสาวคนหนึง่ อย่าง อืน่ ๆ ก็คอื การทีฉ่ นั ปฏิบตั ติ วั เวลาคุยกับคนอืน่ ทัง้ หมดมี ส่วนสำาคัญทีท่ าำ ให้ฉนั ไม่คอ่ ยเจออุปสรรคสักเท่าไหร่ ถ้า เป็นผูช้ ายจีนทีอ่ าวุโส ก็จะมีทง้ั ข้อได้เปรียบและข้อเสียเปรียบซึง่ จริงๆ แล้วมันก็ขน้ึ อยูก่ บั สถานการณ์และ ขึน้ อยูก่ บั ว่าคุณทำางานอยูก่ บั อะไร

ควรจะมีหนังเกีย่ วกับ Ai Weiwei แล้วเขาให้เงินกับเรา จริงๆ แล้ว การถ่ายหนังเป็นงานส่วนทีง่ า่ ยทีส่ ดุ เลย ถ้าคุณพอจะนึกออก ฉันอยูท่ น่ี น่ั อยูแ่ ล้วและก็ถา่ ยทำางาน นีด้ ว้ ยตัวเอง ฉันไม่จา้ งตากล้อง หลังจากนัน้ ฉันก็เอาฟิลม์ กลับมาทีน่ วิ ยอร์กและเริม่ ทำางานกับคนตัดต่อ ตอนนัน้ แหละ ทีค่ ณุ ต้องการใช้เงินทุนเพิม่ แล้วมันก็จบลงตรงทีก่ ารได้ เงินทุนจากองค์กรเกีย่ วกับภาพยนตร์ เช่น Sundance Documentary Fund และมูลนิธอิ น่ื ๆ แนวๆ เดียวกัน รวมถึงเงินทุนส่วนตัวทีบ่ ริจาคให้กบั เราและการระดมทุน จากมวลชนจากแคมเปญ Kickstarter ซึง่ เราได้มาประมาณ 50,000 เหรียญ จาก คน 800 คน มันเป็นอะไรทีอ่ ศั จรรย์ มากๆ เราต้องทำาอะไรเยอะเลยในการระดมทุนจากมวลชน เพราะมันต้องมีการส่งของไปให้ทกุ คนทีใ่ ห้เงินกับเคมเปญนี้ รวมถึงรางวัลต่างๆ ทีพ่ วกเขาจะได้ทง้ั ดีวดี แี ละโบนัสดีวดี ี เราทำาอะไรอย่างนัน้ ด้วย มันมีการระดมทุนมาจากทุกสารทิศ ซึง่ สิง่ ทีย่ อดเยีย่ มก็คอื หนังเรือ่ งนีถ้ กู เอาไปฉายทัว่ โลก มันมีงานหินๆ เยอะเลยทีเ่ ราต้องทำา แต่เราก็โชคดีดว้ ย มันเป็นเรือ่ งทีป่ ระสบความสำาเร็จมันเป็นโปรเจ็คต์เล็กๆ ทีไ่ ปได้ไกลเกินคาด เราไม่รเู้ ลยว่ามันจะกลายเป็นโปรเจ็คต์ ใหญ่ขนาดนี้

art4d: คุณพูดถึงการทีต่ อ้ งเก็บภาพให้ได้ มีตอนไหนที่ คุณพลาดไปบ้างไหมสำาหรับหนังเรือ่ งนี?้ AK: มันมีหลายช่วงหลายตอนมากทีฉ่ นั พลาดไป เพราะ ความสัมพันธ์ระหว่างฉันกับ Ai รวมถึงวิธที เ่ี ราทำางาน ด้วยกัน สักประมาณ 1 ปีหลังจากการถ่ายทำาหนังเรือ่ งนี้ ทำาให้ฉนั สามารถทิง้ อุปกรณ์ตา่ งๆ ไว้ทบ่ี า้ นของเขาได้ art4d: คุณหาเงินทุนทีจ่ ะทำาโปรเจ็คต์นจ้ี ากทีไ่ หน? ไปอยูห่ น้าบ้านเขาตอนไหนก็ได้ทต่ี อ้ งการ และก็บนั ทึก AK: เราหาจากทุกทางเลยค่ะ จริงๆ แล้ว มันเริม่ จากที่ ภาพเขา ซึง่ บางครัง้ เขาเองก็กาำ ลังทำากิจกรรมบางอย่าง ฉันไปพบกับ Ai และทำาเป็นโปรเจ็คต์เล็กๆ แบบเอามัน อยูต่ อนนัน้ แล้วฉันก็แค่เริม่ บันทึกเทป แต่ในช่วงทีเ่ ราใช้ และก็ทาำ ไปโดยไม่ได้หวังอะไร แต่พอเริม่ ถ่ายหนังของ เวลาอยูร่ ว่ มกัน เขาไม่เคยเลยนะ แม้แต่ครัง้ เดียวทีจ่ ะ เขาฉันก็ใช้เงินทีไ่ ด้จากส่วนอืน่ ๆ มาเลีย้ งตัวเอง บางที โทรหาฉันหรือส่งข้อความมาว่า “Alison ผมกำาลังทำาสิง่ นี้ ฉันก็มาหาเขาเพือ่ ถ่ายหนังของฉัน หรือบางทีกม็ าทำา อยู่ คุณควรมาดูนะ เพราะมันน่าจะดีกบั หนังเรือ่ งนี”้ ข่าวเกีย่ วกับโปรเจ็คต์ของ Ai หรือบล็อคทีโ่ ดนปิดให้กบั เรือ่ งแบบนีไ้ ม่เคยเกิดขึน้ เลย ฉันรูส้ กึ ดีมากๆ ทีม่ อี สิ ระ วิทยุและโทรทัศน์แล้วก็เอาเงินพวกนีแ้ หละมาเลีย้ งชีพ จากตัวเขา แต่ฉนั ก็หวังลึกๆ นะว่าเขาจะทำาแบบนัน้ บ้าง แต่พอมันเป็นโปรเจ็คต์ทใ่ี หญ่ขน้ึ ช่วงแรกๆ เงินทุนจะมา เพราะมันมีครัง้ หนึง่ ตอนที่ Evan Osnos นักข่าวในนิวยอร์ก จากแวดวงการศิลปะในนิวยอร์กและมูลนิธิ Henry Luce ทีอ่ ยูใ่ นหนังเรือ่ งนีด้ ว้ ย ตอนทีเ่ ขาทำาข่าวเกีย่ วกับประวัติ ซึง่ จะให้ทนุ ทำาโปรเจ็คต์เกีย่ วกับเอเชีย แต่ปกติเขาไม่ได้ให้ ของ Ai Weiwei ทีเ่ ขาเขียนขึน้ เขาใช้เวลาประมาณเดือน ทุนกับการทำาหนังหรอกนะ ดังนัน้ เราโชคดีมากทีม่ คี นใน สองเดือนกับ Ai ซึง่ เป็นช่วงเวลาเดียวกับทีฉ่ นั ถ่ายหนัง นัน้ เห็นเอกสารการขอทุนสนับสนุนของเราและคิดว่า เรือ่ งนี้ Evan เขียนเรือ่ งของ Ai ตอนทีเ่ ขาไปหาตำารวจใน

10


78

11

activist meeting, Weiwei was suggesting what kinds of tactics are good and bad; document everything, and he said if you are going to protest, if you protest in your own home, nobody is going to know, you got to go out. And they actually did march for about seven seconds on Tiananmen until they were stopped on the big road at Tiananmen, which is unheard of. I’ve seen photos, but I wasn’t in town that day, I didn’t know it was going to happen, so I read about it, the beauty is because of Twitter, I can find out everything he does. Sometimes, I see it while it’s happening and there’s not enough time for me to join in. In the movie, when he shows the magazine, the photo shoot with the lawyers who were disbarred, who lost their licenses. I saw on Twitter while he was doing that photo shoot, I didn’t know what it was for, I just saw pictures of him in the park with a bunch of dudes with their shirts off, and I was wondering what it was. I was thinking “Do I have enough time to get out there?” So, there were lots of things, I killed myself, I beat myself up about it that I was missing it. But in the end, when you film for over two years and you have hundreds of hours of footage, you suddenly realize that you have enough stuff that it’s ok that you missed it. But, I was still always very disappointed when I thought that could have been good, that could have been good, and I missed it. art4d: Can you tell us about upcoming projects? AK: Sure. This film took three years to make and I really want to include last year as the fourth year because I’ve spent all of my time talking about the movie, seeing how audiences react to it, bringing it all around the world, which is so amazing and such a gift. It adds more meaning to the last three years of what I did, to see how I think about people’s questions and to see what questions people have, but obviously my mind is also on what I am going to do next. I haven’t had any time though, I can’t say “Oh, I have begun this other project...”, but I am developing a couple and they all have to do with other artists within the world of art or journalism, freedom of expression. I was very inspired by the idea of individual courage, I think it's still a big question to me, like what makes people take on a big system, so one project I’m interested in is about a journalist who investigated the mafia in different countries, some other projects too that I’m hoping will work out and I’m hoping I can still do more work in China as well.

ปักกิง่ แล้วก็ขน้ึ ไปบนสถานีตาำ รวจ ฉันจำารายละเอียด ไม่คอ่ ยได้วา่ เขาทำาอะไรนะ แต่มนั เป็นเรือ่ งทีเ่ ยีย่ มเอา 11 Klayman และ Ai ใน นิทรรศการ 'Sunflower Seed' มากๆ แต่ฉนั ไม่ได้อยูต่ รงนัน้ เพราะฉันไม่รวู้ า่ มันจะเกิด เรือ่ งแบบนีข้ น้ึ ตอนนัน้ ฉันอยูท่ ป่ี กั กิง่ แล้วก็มอี กี ครัง้ ที่ Tate Modern 12 Ai Weiwei ทีด่ รู ายล้อมและ หนึง่ ตอนทีเ่ ขาไปเดินขบวนทีจ่ ตุรสั เทียนอันเหมิน แล้วก็ ได้รบั ความสนใจจากสิง่ ต่างๆ ตอนทีเ่ ขาช่วยกลุม่ ศิลปินกลุม่ หนึง่ มันเป็นเรือ่ งทีฉ่ นั ในงานแสดงผลงานชุด 'Sun- ตามติดสำาหรับเอาไปใส่ไว้ในหนัง แต่ทา้ ยทีส่ ดุ แล้วก็ไม่ flower Seed' ได้ใส่ลงไปเพราะเวลาไม่พอ Ai ช่วยกลุม่ ศิลปินกลุม่ นีท้ ่ี กำาลังต่อสูจ้ ากการโดนไล่ออกจากพืน้ ทีท่ พ่ี วกเขาอาศัย พวกเขามาหา Ai เพือ่ ขอคำาแนะนำาอยูบ่ อ่ ยๆ โดยเฉพาะ อย่างยิง่ เกีย่ วกับการเคลือ่ นไหวทางสังคม ประมาณว่า เป็นการประชุมของนักเคลือ่ นไหวซึง่ Ai ก็แนะนำาพวกเขาว่าวิธไี หนทีด่ แี ละวิธไี หนทีแ่ ย่ ให้บนั ทึกทุกอย่างไว้ แล้วก็ทาำ ทุกๆ อย่าง แล้วเขาก็บอกว่าถ้าคุณจะประท้วง แต่ประท้วงในบ้านตัวเองก็ไม่มใี ครมารูก้ บั คุณหรอก เพราะฉะนัน้ คุณต้องออกไปข้างนอก แล้วพวกเขาก็ได้เดิน ขบวนประท้วงทีจ่ ตั รุ สั เทียนอันเหมินแค่ 7 วินาทีกอ่ นที่ จะโดนตำารวจเข้ามาห้ามตรงถนนใหญ่ของจัตรุ สั นัน่ ซึง่ เป็นอะไรทีไ่ ม่เคยเกิดขึน้ มาก่อน ฉันได้เห็นภาพถ่าย แต่ ไม่ได้อยูใ่ นเมืองในวันนัน้ เพราะฉะนัน้ ฉันเลยไม่รวู้ า่ มัน เกิดอะไรขึน้ บ้าง ฉันเลยไปหาอ่านเอา มันเจ๋งตรงฉัน สามารถหาทุกอย่างทีเ่ ขาทำาได้ใน Twitter บางครัง้ ฉันก็ ได้เห็นตอนทีม่ นั กำาลังเกิดขึน้ อยูเ่ ลย แต่ฉนั ก็ไม่มเี วลา มากพอทีจ่ ะไปร่วมแจม ในหนังเขาโชว์นติ ยสารและภาพ ทีเ่ ขาถ่ายร่วมกับทนายความทีถ่ กู เพิกถอนใบอนุญาต ฉัน ดูใน Twitter ในขณะทีเ่ ขากำาลังถ่ายภาพนัน้ ฉันไม่รวู้ า่ ภาพนัน้ ถ่ายไปเพือ่ อะไร ฉันแค่เห็นภาพเขาในสวนกับ เพือ่ นๆ ของเขาโดยทีไ่ ม่ใส่เสือ้ และก็สงสัยอยูว่ า่ มันคือ อะไรกัน ฉันก็คดิ อยูน่ ะว่า “ฉันมีเวลาพอทีจ่ ะออกไปอยู่ ตรงนัน้ ไหม?” ดังนัน้ มันมีอะไรมากมายซึง่ บางทีฉนั ก็ รูส้ กึ อยากตบตัวเองว่าทำาไมฉันถึงพลาดช็อตเด็ดตรงนัน้

ไปได้นะ แต่ในท้ายทีส่ ดุ พอคุณบันทึกภาพเหตุการณ์ ต่างๆ มามากกว่า 2 ปี แล้วคุณก็มฟี ลิ ม์ ทีบ่ นั ทึกไปแล้ว เป็นร้อยๆ ชัว่ โมง คุณก็จะเริม่ ฉุกคิดขึน้ มาได้วา่ คุณมี ของอยูใ่ นมือมากพอแล้วซึง่ มันก็โอเคทีค่ ณุ จะพลาดบาง ช่วงบางตอนไปบ้าง แต่ฉนั ก็ยงั คงรูส้ กึ ผิดหวังเวลาทีฉ่ นั นึกถึงช่วงนัน้ ช่วงนีว้ า่ มันดีนะแต่ดนั พลาดมันไปได้ art4d: ช่วยเล่าให้เราฟังถึงงานโปรเจ็คต์ตอ่ ไปของคุณ ได้ไหม? AK: แน่นอน หนังเรือ่ งนีใ้ ช้เวลา 3 ปี ในการถ่ายทำาและ ฉันก็อยากจะนับปีทแ่ี ล้วเข้าไปอีกปีดว้ ย เพราะฉันใช้เวลา ทัง้ หมดของฉันไปกับการพูดเกีย่ วกับหนังเรือ่ งนี้ นัง่ ดูวา่ ผูช้ มจะมีปฏิกริ ยิ ากับมันอย่างไรและนำาหนังเรือ่ งนีไ้ ป ทัว่ โลก ซึง่ มันเยีย่ มมาก เหมือนเป็นของขวัญเลยล่ะ มันเพิม่ ความหมายให้กบั ช่วงเวลา 3 ปีทใ่ี ช้ในการทำา หนังเรือ่ งนี้ การได้เห็นว่าฉันคิดอย่างไรกับความสงสัย และคำาถามของผูค้ นและได้เห็นว่าคนส่วนมากเขาสงสัย และอยากรูเ้ รือ่ งอะไรกัน แต่ทแ่ี น่ๆ เลยก็คอื ใจของฉันมุง่ ไปทีส่ ง่ิ ทีฉ่ นั อยากจะทำาต่อไป ถึงแม้วา่ ฉันจะยังไม่มเี วลา ฉันบอกไม่ได้วา่ “ฉันเริม่ ทำาโปรเจ็คต์นอ้ี ยูน่ ะ” แต่ฉนั กำาลัง พัฒนางานอยู่ 2-3 ชิน้ อยู่ เป็นเรือ่ งเกีย่ วกับศิลปินทีอ่ ยูใ่ น แวดวงศิลปะหรือไม่กส็ อ่ื สารมวลชน เป็นเรือ่ งสิทธิใน การพูดในทีส่ าธารณะ มันเป็นอะไรทีส่ ร้างแรงบันดาลใจมากๆ กับความกล้าหาญของคน ฉันคิดว่ามันยังเป็น คำาถามใหญ่สาำ หรับฉัน ประมาณว่าอะไรเป็นแรงผลักดัน ให้ผคู้ นลุกขึน้ มาต่อสูก้ บั องค์กรใหญ่ๆ หรือรัฐได้ โปรเจ็คต์ หนึง่ ทีฉ่ นั สนใจตอนนีเ้ ป็นเรือ่ งของนักข่าวทีเ่ ข้าไปสืบเสาะ เรือ่ งของมาเฟียในประเทศต่างๆ ซึง่ ฉันก็หวังว่ามันจะ เวิรก์ นะ และก็หวังว่าจะได้ทาำ งานอืน่ ๆ ในจีนอีกในอนาคต Alison Klayman alisonklayman.com

12


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.