SUBSCRIPTIONS art4d subscriptions Corporation4d Limited P.O. Box 57 Santisuk Post office Bangkok 10113 mail@art4d.com T +662 260 2606-8 F +662 260 2609
NO.234 MARCH 2016 art4d is published 11 times a year by Corporation 4d Ltd. 81 Sukhumvit 26 Bangkok 10110 T +662 260 2606-8 F +662 260 2609 art4d.com mail@art4d.com ISSN 0859 -161X
Editor in Chief
Pratarn Teeratada
Editors
Narong Othavorn Piyapong Bhumichitra Tunyaporn Hongtong
English Editor
Rebecca Vickers
Editorial Manager
Sudaporn Jiranukornsakul
Contributing Editors Worarat Patumnakul Napat Charitbutra Paphop Kerdsup
Photographer
Ketsiree Wongwan
Graphic Designers
Wilapa Kasviset Wasawat Dechapirom Vanicha Srathongoil
Advertising Manager Areewan Suwanmanee
Advertising Executives Paveena Traikomon Jetarin Puttharaksa Napharat Petchnoi
Production Coordinator Poorinun Peerasunun Photography by
Tan Yew Leong
Contributors
Aroon Puritat Dian Ina Mahendra Kanokwan Trakulyingcharoen Karjvit Rirermvanich Kong Rithdee Nanthana Boonla-Or Pacharee Klinchoo Pirak Anurakyawachon Rachaporn Choochuey Supitcha Tovivich Surachead Sinlapabunlang Tanakanya Changchaitum thingsmatter Wee Viraporn
Special Thanks:
ABC ‘Essence in Eatery’ Anan Tantasanee Anghin Architecture Anuthin Wongsunkakon Apichart Srirojanapinyo Architectkidd BUKRUK Cadson Demak Chris Wong David Lok Department of ARCHITECTURE Dhammagiri Children Home Eko Nugroho FAI-FAH Ignatius Hermawan Tanzil Iwan Baan Jim Thomson Art Center Joseph Foo Kawit Ko-udomvit Komunitas Salihara LOG/OUT magazine Navin Rawanchaikul / Navin Production
Ng Sek San Nhapha Khao Yai Resort Onion openspace P.W. INTER Chaichoompol Vathakanon Patpong Rattanamanee Secondfloor Architects Stu /D/O Architects Studio Bikin Supanniga Eating Room Tan Yew Leong TCDC Thanes Wongyannava Thavorn Ko-udomvit The Commons tidtangstudio TNOP DESIGN Yellow Submarine Coffee Tank Yodsiam Hostel
Publishing
Print / Plate SUPERPIXEL
Distribution
Ngandee Co., Ltd. (Matichon Group) T (662) 2580 0020 F (662) 2579 7183
Published by
Corporation4d Limited. Copyright 2015 No responsibility can be accepted for unsolicited manuscripts or photographs.
ARCHITECTURE
46
TEXT: KARJVIT RIRERMVANICH
ARCHITECTURE
PHOTO: KETSIREE WONGWAN
INTRODUCING THE NEW NORMCORE
THE NEW ROOKIE ON THONGLOR OFFERS A BOLD AND SOLID PUBLIC SPACE, ENOUGH TO GET DRESSED AND GO OUT FOR “พื้นที่ส่วนกลาง - กรุณารักษาความสะอาดและทิ้งหรือคืนภาชนะ เมือ่ ท่านทานเสร็จแล้ว” ป้ายเล็กๆ บนเคาน์เตอร์บาร์ชน้ั ล่างสุดของ The Commons ผลงานออกแบบของ Department of ARCHITECTURE ขอความร่วมมือกับผู้ ใช้อาคารเอาไว้อย่างนั้น
“Communal area- please keep clean and leave or return the utensils when you’re done with your meal.” A little sign on the counter bar on the ground floor of The Commons by Department of ARCHITECTURE asks everyone for their cooperation.
ฟังเผินๆ ข้อความดังกล่าวดูเหมือนจะขัดแย้งกับทำาเลที่ตั้ง - ย่าน คนมีตังค์ ใจกลางทองหล่อ ที่ต้องมาเก็บเอง ทิ้งเอง แต่แม้ไม่ต้อง ขอความร่วมมือกันชัดๆ ขนาดนี้ ก็คงยากที่ใครจะกินแล้วทิ้งขว้าง ตามอำาเภอใจ สาเหตุหลักนัน้ น่าจะเป็นเพราะ ‘พืน้ ทีส่ ว่ นกลาง’ ของ The Commons ได้รับการออกแบบให้แสดงตัวออกมาอย่างชัดเจน บนพืน้ ฐานของคำาว่า Community มากกว่าคำาว่า Mall โดยพยายาม สร้างพื้นที่ส่วนกลางมากกว่ายัดพื้นที่ขายด้วยการต้อนรับผู้คนผ่าน พืน้ ที่โถงขนาดใหญ่ซง่ึ เป็นหัวใจของโครงการ ผ่านบันไดขนาดยักษ์ ซึ่งเกิดจากการยกและกดพื้นขึ้น-ลงให้เกิดเป็นพื้นที่ย่อยๆ ให้เป็น ลานบ้าง ทีน่ ง่ั บ้าง ชานพักบ้าง เชือ้ เชิญและนำาพาผูค้ นให้เดินขึน้ -ลง เข้าสู่พื้นที่ต่างๆ ของโครงการด้วยความต่อเนื่องของพื้นที่ที่ค่อยๆ ยกขึ้นเป็นขั้นๆ จากชั้น 1 ไปจนถึงชั้น 3 นอกจากนี้ความสำาเร็จ ของการพยายามสร้างพื้นที่ส่วนกลางยังเกิดจากการที่ mass ของ
The message, at first, seems rather contradictory to the location it is placed in - an upscale neighborhood for the rich in the middle of the Thonglor district where people are asked to put away their own plates. But even without the sign, it’s very unbecoming here for someone to eat and throw away whatever they have left without any consideration for others. The main reason is probably that the ‘common ground’ of The Commons is designed to give off the impression of a place where ‘Community’ is prioritized over ‘Mall’ through its attempt to create a communal area rather than jamming the program with commercial spaces, which are replaced with a massive set of stairs, welcoming people into a large communal
47
อาคารชั้น 4 และ 5 ซึ่งมีลักษณะเป็นกล่องสูง 2 ชั้น ถูกยกลอย ขึ้นเพื่อทำาหน้าที่เป็นหลังคากันแดดและฝนให้กบั ลานและโถงด้าน ล่างนอกจากนัน้ พืน้ ทีบ่ างส่วนเช่นครึง่ หนึง่ ของชัน้ 5 ยังถูกจัดให้เป็น ส่วน Show Kitchen และที่นั่งสำาหรับทำาเวิร์กช็อปของร้านผูเ้ ช่า หรือผูส้ นใจในเวลากลางวัน และปรับเปลีย่ นเป็น event bar ได้ ใน เวลากลางคืน ประกอบกับการเจาะพื้นชั้น 4 และ 5 เป็นช่องเปิดที่ ขนาดและตำาแหน่งต่าง ๆ กันนัน้ ยังก่อให้เกิดความต่อเนือ่ ง ทั้งในเชิง การใช้งานและมุมมองของพื้นที่ส่วนกลางตั้งแต่ชั้นล่างสุดไปจนถึง ชั้นบนสุดอีกด้วย ซึ่งเป็นการออกแบบที่ตั้งใจแก้ปัญหาการไม่คอ่ ย มีคนขึน้ ไปใช้พน้ื ทีช่ น้ั บนๆ ของ Community Mall ได้ องค์ประกอบต่างๆ ของอาคารได้รับการออกแบบให้สอดคล้องกับ การสร้างพืน้ ทีส่ ว่ นกลาง เช่นตำาแหน่งเสาจากฝ้าเพดานชัน้ 3 ลงมายัง บันไดยักษ์นน้ั ถูกจัดวางแบบไม่เป็น Grid ทำาให้พน้ื ทีน่ ไ้ี ม่ถกู แบ่งออก เป็นส่วนๆ อย่างชัดเจน แต่กลับเคลื่อนไหลไปตามการจัดวางพื้นที่ ย่อยๆ รวมทัง้ ความพยายามในการแก้ปัญหาความไม่เรียบร้อยของ รูปด้านภายนอกของ Community Mall ทั่วๆ ไปที่มักจะเกิดจาก หน้าร้านของผูเ้ ช่าทีห่ ลากหลายด้วยการออกแบบให้มี second skin ทีเ่ ป็นตะแกรงเหล็กฉีก โปร่งแสง และเปิดรับลมได้อย่างเต็มที่ หุม้ รอบ อาคารชั้น 4 และ 5 อีกทีหนึ่ง โดยตะแกรงเหล็กฉีกถูกออกแบบให้ มี pattern และแสงสว่างในโทน cool white ทีแ่ ตกต่างกันอย่างชัดเจน กับแสงสว่างโทน warm white ภายในร้านส่งผลให้เกิดความสนุกสนาน จากการที่ร้านต่างๆ มีหน้าร้านที่แตกต่างกันไปยังคงอยู่ แต่ได้รับ การจัดการให้เรียบร้อยอยู่ในกรอบเดียวกันเมื่อมองจากภายนอก โครงการ นอกจากนี้ การเปลือยผิวคอนกรีตขององค์ประกอบพื้น
ขวา บริเวณภายในร้านกาแฟชั้น 1 หน้าทางเข้าอาคาร RIGHT INTERIOR SPACE OF THE CAFÉ LOCATED ON THE GROUND FLOOR
ล่าง บนฝ้าเพดานชั้น 5 เป็น ตัวอย่างการติดตั้งพัดลม หลากหลายรูปแบบเป็นส่วน หนึ่งขององค์ประกอบอาคาร เพื่อให้ความเย็นสบายกับ พื้นที่ส่วนกลาง BOTTOM THE FIFTH FLOOR’S CEILING IS AN EXAMPLE OF THE VARIOUS TYPES OF FAN INSTALLATIONS THAT CAN CREATE A RELEXING ATMOSPHERE IN THE COMMON AREA
area. At the heart of the project, the space is created from elevation and descent of the ground. Rhythmically, the landscape is subdivided into courtyards, seats and terraces, inviting people to walk up and down as they are led to different spaces of the program. In a continual flow, the space gradually ascents from the first to the third floor with the communal ground as the starting point. Another attempt to create a communal space is complemented by the elevated box-shaped mass of the 4th and 5th floors. Such mass also functions as the canopy protecting the area from sunlight and rain. More communal spaces such as half the space of the 5th floor that hosts the Show Kitchen and seats for tenants or interested vendors to organize workshops during the day with the ability to be adapted into an event bar for nighttime social events. The voids on the 4th and 5th floors are in different sizes and locations, bringing about a functional and visual flow to the communal space from the ground to the top floor. Such design solution intends to solve the problem found in most community mall projects where considerably less crowds visit the top floors. Some of the most prominent features are the position of the columns from the 3rd floor’s ceiling that shies away from the grid convention, resulting in the flexibly divided space that flows along the spatial program. The unorganized finish of the exterior elevation commonly found in this type of building is reconciled by the second skin made of stainless steel wire mesh whose fully ventilated and translucent finish wraps around the mass of the 4th and 5th floors. This particular second skin is designed to possess a unique pattern and cool white tone lighting, which is different from the warm white tone used with the shops’ interior. This way, the design of each retail space and display window can show off its individuality while still being in the same visual frame with others. In addition, the exposure of the concrete structure and surface become a humble background for the window displays to stand out, ultimately boosting up the energy of the communal space.
48
และผนังอาคาร ยังทำาหน้าที่เป็นพื้นหลังเรียบๆ ให้รูปร่างและสีสัน ของหน้าร้านต่างๆ เผยตัวออกสู่พื้นที่ส่วนกลางไปด้วยในเวลา เดียวกัน ระหว่างการใช้เวลาใน The Commons อาจมีอยู่บ้างที่จะสะดุดกับ รายละเอียดในการออกแบบอย่างการที่บันไดยักษ์ ในบางจุดนั้นให้ ความรูส้ กึ หวาดเสียว ซึง่ อาจเป็นเพราะสัดส่วนทีอ่ ยู่ในสเปซโล่งและ สูง หรือการทีบ่ นั ไดทางลงไปส่วนทีจ่ อดรถพาเราลงไปยังทางวิง่ รถ โดยตรง ฯลฯ แต่โดยรวมแล้วเราก็เพลิดเพลินไปกับการได้ฟังสาว ต่างชาตินั่งเล่นอูคูเลเล่อยู่คนเดียวที่ลานชั้น 1 ได้มองดูนักศึกษา หลายกลุ่มเดินอยู่บนบันไดยักษ์ หนุ่มสาววัยรุ่นสวีทกันอยู่บนเก้าอี้ ใต้บันไดชั้น 3 เซลส์แมนนัดพบลูกค้าที่โต๊ะกลมชั้น 2 ถัดขึ้นไปมี สาวสวยสองคนกำาลังถ่ายรูปเซลฟีกันอย่างเอาเป็นเอาตาย ปกติแล้ว กิจกรรมที่ไม่ได้พิเศษพิสดารเหล่านี้มักเกิดขึ้นภายในพื้นที่ส่วนตัว ในร้านหรือบนโต๊ะอาหารในห้างหรือ Community Mall ทั่ว ๆ ไป แต่ท่ี The Commons มันกลับถูกย้ายมาอยูบ่ นพืน้ ทีส่ ว่ นกลางขนาดใหญ่ เดียวกัน ในมุมต่างๆ กัน และทีส่ าำ คัญคือ ในขณะเดียวกันนัน้ เราก็มี พื้นที่ส่วนตัวหลวมๆ ของเราที่มุมต่างๆ ไว้คอยดูและชื่นชมผู้คน อันหลากหลายไปด้วย แต่สง่ิ ทีน่ า่ คิดทีส่ ดุ จาก The Commons ก็คอื ในบ้านนี้เมืองนี้ เรายังคงต้องรอเงินทุนและวิสัยทัศน์จากเจ้าของ โครงการและสถาปนิกที่เข้าใจความหมายและมุ่งมั่นที่จะสร้างพื้นที่ สาธารณะดีๆ ขึ้นแทนที่มันจะเกิดขึ้นจากเงินภาษีและคนของรัฐที่ รับเงินเดือนจากพวกเราเอง
AT THE HEART OF THE PROJECT, THE SPACE IS CREATED FROM ELEVATION AND DESCENT OF THE GROUND. RHYTHMICALLY, THE LANDSCAPE IS SUBDIVIDED INTO COURTYARDS
บน พืน้ ทีบ่ ริเวณคอร์ทกลาง ชัน้ 1 ซึง่ อยูใ่ จกลางโซน The Market เป็นโซนร้านอาหารที่แชร์ พื้นที่นั่งรับประทานบางส่วน ร่วมกัน TOP THE COURTYARD LOCATED AT THE FIRST FLOOR’S MARKET ZONE WHICH PROVIDES SOME SHARING SPACE FOR DINING
As we walk around the mall, we sense certain disruptions from some of the details of the design, from the super high and spacious staircase that can be a bit nerve wracking or the way another staircase leads us directly to a vehicle lane in the parking lot, and so on. But all and all, we have a pretty delightful time listening to the sound of the Ukulele being played by a Eurasian girl on the ground floor. A bunch of students walk up and down the gigantic staircase while a couple of lovebirds spend their quality time on the bench underneath the stairs of the third floor. A floor down, a salesman is making his pitch to a customer. Moving up, our eyes meet two beautiful girls who attempt to capture the perfect selfie. These behaviors often take place in a nice café or restaurant in a community mall, but here at The Commons, they’re all happening on different corners of the same public ground. On this common ground, we have our own spot where we can sit back and observe dynamic interactions between people. Nevertheless, what we have learnt from projects such as The Commons is that the birth of a decent public space is rare and often comes from the intention of a private investor and an architect’s vision, not from the Government that should be using taxpayers’ money to provide the things we deserve.
thecommonsbkk.com departmentofarchitecture.co.th
49
TEXT: PAPHOP KERDSUP
ARCHITECTURE
PHOTO: KETSIREE WONGWAN
WHEN BLACK SPEAKS THE LANGUAGE
THIS CAFÉ’S NAME HAS NOTHING TO DO WITH ITS SPACE OR COFFEE, BUT ITS SPACE HAS A LOT TO DO WITH COFFEE AND CONTEXT 50
ARCHITECTURE
ในขณะที่การเกิดขึ้นของธุรกิจร้านกาแฟในบ้านเรากลายเป็นของยอดฮิตที่ บรรดาคนรุน่ ใหม่ (ซึง่ กำาลังเห่อคำาว่า slow life แบบเข้าใจถูกบ้างเข้าใจผิดบ้าง) ต่างพากันเทคะแนนให้ ภาพของร้านกาแฟที่เราพบเห็นได้ทั่วไป โดยเฉพาะ ที่ตั้งอยู่กลางธรรมชาตินั้น กลับหนีไม่พ้นที่จะใช้แต่วิธีการซ้ำาๆ กันในการ สร้างบรรยากาศและประสบการณ์ ให้กับลูกค้า ทว่าท่ามกลางความอิหลักอิเหลื่อกลางธรรมชาติ ที่องค์ประกอบต่างวัฒนธรรมถูกนำามาใช้อย่าง ฟุ่มเฟือย กลุ่มสถาปนิกจาก Secondfloor Architects กลับเลือกนำาเสนอ ทางเลือกที่ต่างออกไปผ่านการออกแบบ Yellow Submarine Coffee Tank ร้านกาแฟสีดาำ ทะมึนที่เลือกซ่อนตัวอย่างสงบเสงี่ยมอยู่กลางธรรมชาติของ เขาใหญ่
As one of the dream career paths of the current generation of young adults (whose interpretations of the so-called ‘Slow Life’ are still very doubtful), the café business has brought us repetitions of styles that hope to hit the jackpot with the right vibe and user experience. As a result of that, we end up seeing many unbecoming attempts to converge built structures with nature, as well as the excessive use of cultural elements. Secondfloor Architects, however, takes a different approach toward their architectural presentation with Yellow Submarine Coffee Tank. This dark architectural mass rests humbly, embraced by the majestic surroundings of Khao Yai.
51
ด้วยความประทับใจของสถาปนิกที่มีต่อที่ตั้งของโครงการซึ่ง กว่า 80 เปอร์เซ็นต์ ถูกปกคลุมไปด้วยป่ายมหอม ทำาให้การ ออกแบบสถาปัตยกรรมของ Yellow Submarine เลือกที่จะลด ความหวือหวาของรูปทรงและใช้ความเรียบง่ายช่วยขับเน้น และให้ความสำาคัญกับธรรมชาติทร่ี ายล้อมอยู่ให้เด่นชัดออกมา (จะเรียกว่า ‘ธรรมชาติ’ ในที่นี้ก็อาจจะฟังดูขัดแย้งไปสักนิด เพราะธรรมชาติที่ว่านั้นถูกปลูกขึ้นมาโดยความตั้งใจของ มนุษย์เอง) ด้วยขนาดของพื้นที่ใช้สอยที่มีอยู่เพียง 100 ตารางเมตรนั้น ทำาให้รายละเอียดต่างๆ ทางสถาปัตยกรรมทั้ง ในเชิงรูปธรรมและนามธรรมกลายมาเป็นหัวใจหลักสำาคัญของ โครงการไปโดยทันที สถาปนิกเลือกวางอาคารเป็นแนวยาวขนานกับทีด่ นิ ตรงบริเวณ ที่มีความลาดชันมากที่สุด มีการใช้ทางลาดเชื่อมต่อระหว่าง พื้นที่จอดรถที่ด้านท้ายของอาคารกับทางเข้า การสร้างให้เกิด transition space ในลักษณะนี้ ช่วยให้เราได้มีเวลาพิจารณา ธรรมชาติที่รายล้อมสถาปัตยกรรมได้มากขึ้น อีกทั้งการยืด ระยะเวลาในการเข้าถึงอาคารแทนการเข้าไปยังสเปซใดสเปซ หนึ่งโดยตรงในทันที ยังถือเป็นอีกหนึ่งชั้นเชิงที่ช่วยให้เรา คาดหวังถึงสิ่งที่ซ่อนอยู่เบื้องหลังกำาแพงสูงสีดาำ นี้ด้วยเช่นกัน
บน ทางลาดถูกใช้สร้างให้เกิด เป็น transition space เพื่อยืดเวลาให้เราพิจารณา ธรรมชาติได้มากขึ้น ABOVE RAMP CREATES THE TRANSITION SPACE THAT OFFERS MORE TIME TO CONTEMPLATE SURROUNDING NATURE
ขวา ภาพสะท้อนที่เกิดขึ้น แสดง ให้เห็นถึงความย้อนแย้ง ระหว่างสเปซภายในและ บริบทโดยรอบ RIGHT THE REFLECTION EXPRESSES THE PARADOX BETWEEN INNER SPACE AND CONTEXT
52
Impressed by the site’s natural backdrop, where 80% of the land is occupied by the Indian Mahogany forest, the architect’s execution of the design for Yellow Submarine intentionally simplifies any possible dramatic forms and utilizes such simplicity to accentuate the presence of nature (calling it nature is somewhat a bit unseemly considering that those trees are grown by humans). With only 100-square-meters of functional space, both concrete and abstract architectural details immediately become the essence of the project. The lengthwise orientation of the building follows the shape of the land. It stands on the steepest part of the property with a series of ramps used to link the parking space at the rear of the building to the entrance. Creating such a transitional space offers visitors time to contemplate the surrounding nature while the period before users’ direct access with the architecture is expanded. Our expectations as to what’s hidden behind the tall, black wall are imaginatively kindled.
สเปซภายในของ Yellow Submarine ถูกแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ในแต่ละส่วนแสดงถึงสเกลการรับรู้พื้นที่ที่แตกต่างกันไป ใน ส่วนแรกนั้น สถาปนิกเลือกตัดต้นไม้เดิมที่มีอยู่ออกไปทั้งหมด ก่อนจะเปิดสเปซด้านหนึ่งออกให้สามารถมองเห็นภาพทิวทัศน์ ของอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ซึ่งถูกกรอบไว้ด้วยกำาแพงสูงสีดาำ ทั้งสองข้าง สเปซในบริเวณนี้นอกจากจะแสดงให้เราได้เห็นว่า ธรรมชาติข้างนอกนั้นมีความยิ่งใหญ่เพียงใดแล้ว ยังตั้งคำาถาม ย้อนกลับมาให้เราคิดถึงความแตกต่างระหว่างธรรมชาติภายนอกกับสเปซอันว่างเปล่าที่ถูกสร้างขึ้นมาโดยมนุษย์อีกด้วย จากความตั้งใจของสถาปนิกที่ต้องการแสดงให้เห็นถึงสีดำา ที่ต่างระดับกันภายในอาคาร บริเวณใจกลางร้านจึงกลายเป็น ส่วนที่มีความหลากหลายของวัสดุและดีเทลทางสถาปัตยกรรมมากที่สุด ตั้งแต่กำาแพงทรายล้างที่ถูกเพิ่มความพิเศษ ด้วยการผสมหมึกจีนลงไปในเนื้อสี ซึ่งมีคุณสมบัติช่วยให้สีดำา โปร่งขึ้น วัสดุพื้นอย่างทรายล้างและหินกรวดถูกนำามาใช้เพื่อ สร้างความต่างในการรับรู้พื้นที่ ไปจนถึงโครงสร้างหลักของ อาคารที่สถาปนิกเลือกใช้เหล็กมาสร้างให้เกิดเป็นสเปซของ ร้านที่มีความสูงถึง 2 ชั้น (ราว 6 เมตร) ก็ได้ช่วยลดความ อึดอัดของพื้นที่ภายในลง บริเวณด้านบนของอาคารถูกก่อ ด้วยอิฐที่มีการเลือกเจาะช่องออกเป็นบางส่วน นัยหนึ่งเพื่อลด แรงลมที่กระทำาต่ออาคาร อีกนัยหนึ่งก็เพื่อให้แสงที่ตกกระทบ กับต้นไม้ โดยรอบสามารถผ่านเข้ามาได้ เหมือนเป็นการบอก ให้เรารู้ว่า ถึงแม้ภายในสเปซนี้จะไม่มีธรรมชาติอยู่ เราก็ยังคง รับรู้ถึงมันได้ผ่านแสงและเสียงที่ลอดผ่านเข้ามา
The interior space of Yellow Submarine is divided into three different sections, each with its own scale of spatial experience. The architect team cuts down the existing trees to open one perspective to the scenic spectacle of Khao Yai National Park before visually framing it with two adjacent black walls. Not only is the space a manifestation of nature’s grand presence, but it also causes us to consider and question the differences between nature and this built environment.
OUR EXPECTATIONS AS TO WHAT’S HIDDEN BEHIND THE TALL, BLACK WALL ARE IMAGINATIVELY KINDLED
53
The architect’s intention to display varying levels of black color tones within the interior comes into form at the center of the shop, where materials and architectural details are intensely diversified. With the combination of Chinese ink, the sand washed walls look and feel more unique and less dense. Flooring materials such as sandwashed slabs and loose stones are used to distinguish the perception of the space and the building’s 2-storey-high (6 meter) steel structure, which helps to lessen the compactness of the interior space. The upper part of the building is constructed with bricks where voids are partially created to relieve the wind loads on the building. These openings also welcome in the reflected light from the trees outside, subtly yet tangibly conveying a sense of nature through the attendance of light and sound within the space.
THE OBSTRUCTION OF THE SURROUNDING VIEW IS INTENTIONAL, AS THIS SIGNIFICANT IMPLICATION ALLOWS US TO PLACE OUR FOCUS ON OURSELVES ขวา ระดับของสีดำาที่ต่างกัน ถูกแสดงผ่านการผสมผสาน ของวัสดุที่หลากหลาย RIGHT THE VARYING LEVELS OF BLACK COLOR TONES ARE DISPLAYED THROUGH THE COMBINATION OF DIVERSIFIED MATERIALS
The deepest end of the coffee tank is in complete enclosure; nevertheless, the openness of the overhead plane and the use of black tiles on the walls are the key components the design team employs to transpire the paradoxical element of the space. Interestingly discernible are abstract details within the inner court rendered through reflection of a simulated forest created by human intent, which exists in comparative presence to the surroundings of what seems to be manmade nature.
ที่บริเวณด้านในสุดของร้าน แม้จะถูกปิดล้อมโดยสมบูรณ์ แต่ ก็ถูกทดแทนด้วยการเปิดโล่งของระนาบเหนือศีรษะ การเลือก ใช้วัสดุอย่างกระเบื้องสีดำาที่บริเวณกำาแพงเป็นองค์ประกอบ สำาคัญที่สถาปนิกใช้ ในการสื่อสารให้เห็นถึงความย้อนแย้งของ พื้นที่แห่งนี้ ภาพสะท้อนของป่าจำาลองที่เกิดขึ้นจากความตั้งใจ ของมนุษย์นี้ ถูกนำาไปเปรียบเทียบกับธรรมชาติโดยรอบที่ใน ขณะเดียวกันก็ถูกปลูกขึ้นมาจากความตั้งใจของมนุษย์ด้วย เช่นกัน ด้วยเหตุนี้สเปซภายในคอร์ทของร้านกาแฟแห่งนี้จึง ถือได้ว่าเป็นส่วนที่มีการใส่รายละเอียดในเชิงนามธรรมไว้ได้ น่าสนใจที่สุด
As a coffee house, Yellow Submarine bears great distinction from other coffee fixers in the Khao Yai perimeter, particularly for the successful collaboration between architecture and its site that gives birth to an entirely new space. The coffee tank shies away from the convention of a thematic design and succeeds to attract users’ interests with its perfectly enclosed space. The obstruction of the surrounding view is intentional, as this significant implication allows us to place our focus on ourselves, the cup of coffee in front of us and the people that we are sharing this space with. While in an ordinary coffee house, we wouldn’t have that many chances to interact with strangers, but the space of Yellow Submarine Coffee Tank makes a conversation held between human beings to be an effortless one.
หากจะพูดถึงความเป็นร้านกาแฟ ก็นับว่า Yellow Submarine มีภาพที่ค่อนข้างขัดแย้งไปจากภาพของร้านกาแฟอื่นๆ ใน บริเวณโดยรอบอยู่พอสมควร โดยเฉพาะการให้สถาปัตยกรรม และที่ตั้งทำางานร่วมกันในการสร้างให้เกิดเป็นพื้นที่ใหม่ แทน การใช้วิธีการเดิมๆ อย่างการสร้างธีมสเปซบางอย่างขึ้นมาใน พื้นที่ รวมไปถึงวิธีการที่ถือได้ว่าสร้างความสนใจให้กับผู้คนได้ มากอย่างการเลือกใช้การปิดล้อมโดยสมบูรณ์ นัยสำาคัญของ การปิดล้อมภาพทิวทัศน์ โดยรอบในลักษณะนี้ ก็เพื่อให้เราได้ กลับไปโฟกัสที่ตัวของเราเอง กาแฟที่อยู่ตรงหน้า และผู้คนที่ อยู่ภายในพื้นที่แห่งนี้ได้มากขึ้น เวลาที่เราไปร้านกาแฟอื่นๆ ทั่วไป เราอาจจะไม่ได้มีโอกาสพูดคุยกับคนที่อยู่ภายในร้านสัก เท่าไหร่ แต่การมายังร้านกาแฟแห่งนี้ สเปซที่นี่จะเปิดโอกาส ให้เราได้คุยกับผู้อื่นมากขึ้น
2ndfl.in.th facebook.com/yellowsubmarinecoffee
4
1
2
3
5
6
1 COFFEE HALL 2 KITCHEN 3 COFFEE OUTDOOR 4 COFFEE ROOM 5 WALKWAY 6 PARKING
54
2.5 M
55
TEXT: KANOKWAN TRAKULYINGCHAROEN
ARCHITECTURE
PHOTO: KETSIREE WONGWAN
CAN YOU LOOK THROUGH THE WINDOWS?
BEHIND THESE WALLS AND TINY VOIDS LIE A FEW LIVES LIVING AS THEY WOULD IF SEPARATED FROM THE SPEED OF THIS EVER-CHANGING WORLD 56
ARCHITECTURE
57
หลังจากการเติบโตแบบไร้ทิศทางมาเป็นเวลาหลายปี โครงข่าย ความสัมพันธ์ทางสังคมของกรุงเทพฯ ก็ดจู ะเลือนหายไป นับแต่นน้ั การสร้างบ้านสักหลังในเมืองใหญ่แห่งนี้ ก็เบนเข็มไปสูก่ ารสร้างโลก ใบจิ๋วขึ้นมา อย่างบ้านหลังนี้ที่ตั้งอยู่บนที่ดินขนาด 50 ตารางวา บนถนนประชาราษฎร์บาำ เพ็ญที่ทอดยาวคดเคี้ยวท่ามกลางย่าน ที่พักอาศัยที่หนาแน่น ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของกรุงเทพฯ การใช้ชีวิตในเมืองที่อีเวนต์มากมายผุดขึ้นที่โน่นที ที่นี่ที พร้อมกัน บ้าง เหลือ่ มกันบ้าง ไม่หยุดหย่อน ไม่ตา่ งอะไรกับตอนทีเ่ ราท่องไป ในโลกอินเตอร์เน็ต บ้านในใจของบางคนจึงกลายเป็นสถานทีส่ ว่ นตัว ทีป่ ล่อยให้เขาหรือเธอได้มีโอกาสหลบออกจากความวุน่ วายของเมือง ที่มุ่งหน้าสู่ความทันสมัยอย่างรวดเร็ว เหลือบ้านเอาไว้เป็นที่ว่าง เพื่อให้เรามีเวลาอยู่กับตัวเองบ้าง เพราะทุกวันนี้ การเชื่อมต่อหรือ ตัดขาดตัวเองจากโลกภายนอกไม่ใช่เรือ่ งใหญ่อกี ต่อไป ตราบทีค่ ณ ุ ยังสามารถเอือ้ มมือไปหยิบอุปกรณ์สอ่ื สารสักชิน้ ขึน้ มา กดคลิกเดียว การนัดปาร์ตี้กินข้าวสักมื้อก็เรียบร้อย เจ้าของบ้านหลังนี้ คุณไชยชุมพล วัฑฒกานนท์ บอกกับเราว่า บ้านของเขาไม่ได้เตรียมไว้สาำ หรับจัดงานเลี้ยงสังสรรค์แบบจริงจัง เพราะเขาคิดว่าถ้าจะจัดงานอะไรแบบนัน้ สถานทีค่ วรจะเป็นนอกบ้าน ช่างดูเป็นคำาพูดทีช่ ดั เจนตรงใจดีจริงๆ ใช่ไหม? จากนัน้ เราก็ได้รู้ เรือ่ งราวของความสัมพันธ์ทน่ี านๆ จะได้เห็นกันสักที ระหว่างเจ้าของ บ้านกับสถาปนิก - อภิชาติ ศรีโรจนภิญโญ หนึ่งในสองผู้ก่อตั้ง Stu/D/O Architects ทั้ง 2 คนเป็นเพื่อนกันมาตั้งแต่สมัยเรียน มหาวิทยาลัย คนแรกปัจจุบันกลายเป็นภูมิสถาปนิก ส่วนคนหลัง เป็นสถาปนิก จะว่าไปแล้ว บ้านหลังนี้ก็ถือเป็นผลพวงของความ คุ้นเคยรู้ ใจกันของเพื่อน 2 คน
THE HOUSE SPRINGS OUT OF THE GROUND FROM A SINGLE POINT OF GRAVITY, A JACARANDA TREE IN A TINY COURTYARD ล่าง ชีวิตประจำ�วันวนอยู่รอบ คอร์ทต้นศรีตรัง บันไดท�ง ขึ้นบ้�นท�งซ้�ย กับส่วน รับแขกและนั่งเล่นท�งขว� BOTTOM EVERYDAY LIFE HAPPENS AROUND THE COURT WITH THE JACARANDA TREE, THE ENTRANCE STAIRCASE ON THE LEFT AND THE LIVING SPACES ON THE RIGHT
Following years of urban sprawl, the social fabric of Bangkok has disappeared so that the construction of a single house in such a metropolis has moved toward the creation of a singular micro cosmos. The house is situated on Pracharat Bamphen road, a tortuous road in a high-density neighborhood of the northeastern zone of Bangkok. Living in the city where a number of events happen here and there simultaneously and continuously as if one is surfing the Internet, the house becomes an intimate place in which its inhabitants feel free to withdraw themselves from the chaotic movement of the rapidly modernized metropolis. Today, being connected or disconnected to the world is no longer a big deal as long as your device remains somewhere within arm’s reach. A dinner meeting can be done in one click! Let alone a house finding function as a space where one can stay at ease with oneself. The owner of the house, Chaichoompol Vathakanon, revealed that his house does not mean to support any serious socialized activities. If there will be any event, it will be held beyond his fence. A clear statement, isn’t it? Then the unusual story of the reciprocal relationship between the client and architect, Apichart Srirojanapinyo one of two principals of Stu/D/O Architects, came out for they have been friends since they were university students. The former became a landscape architect while the latter an architect. The house, thus, is a final product of these particular sympathies.
58
บ้านหลังนีส้ ร้างขึน้ มาโดยขมวดจุดรวมศูนย์ของตัวบ้านไว้ตรงคอร์ท ขนาดย่อม ทีม่ ตี น้ ศรีตรังยืนนิง่ เฝ้ามองกิจวัตรประจำาวันต่างๆ ของ คนในบ้านทีห่ มุนเวียนอยูร่ อบตัวมัน ทีว่ า่ งใช้สอยทัง้ หมดถูกวางซ้อน ชั้นขึ้นไปเป็นแนวตั้ง เพื่อให้การจัดวางคอร์ทและการสร้างพื้นที่ เปิดโล่งในตัวบ้านเกิดขึ้นได้ ในที่ดินขนาดกะทัดรัดแบบนี้ การเดิน ขึน้ ลงไปมาอยู่ในบ้าน ไม่ได้ทาำ ให้เรารูส้ กึ ถึงการอยู่ในกล่องสีเ่ หลีย่ ม ทีน่ า่ อึดอัด ซึง่ ส่วนนีต้ อ้ งยกประโยชน์ ให้กบั การผสานทีว่ า่ งด้านนอก และด้านในเข้าหากัน โดยจัดจังหวะการวางตำาแหน่งกระจกผืนใหญ่ หลายแห่ง ให้สอดคล้องกับตัวคอร์ทและโถงเปิดโล่งในบ้าน ถึงแม้วา่ แนวคิดการออกแบบคือมวลของอาคารที่สูงและมีความทึบตัน ประมาณหนึง่ ทำาให้หน้าตาบ้านทีเ่ ราเห็นจากด้านนอก กับการใช้ชวี ติ อยูภ่ ายในบ้านแสดงออกถึงความเป็นคูข่ ดั แย้งต่อกัน แต่ทว่ี า่ งภายใน กับภายนอกกลับจูนเข้าหากัน โดยจัดจังหวะของระเบียงบ้านอย่าง มีลูกเล่น บ้างเล็ก บ้างกว้างขวาง โอ่โถง แต่ยังคงสัมพันธ์กับคอร์ท ของบ้านหรือพื้นที่สีเขียวข้างบ้าน เรื่องราวเหล่านี้เองที่ทำาให้ที่ว่าง ในบ้านดูผอ่ นคลายมีชวี ติ ในอีกหลายปีข้างหน้า บ้านหลังนีค้ งจะน่ามอง ขึน้ อีก เพราะต้นมะขามทีจ่ ะเอามาปลูกบริเวณหน้าบ้านจะแผ่กง่ิ สีเข้ม แตกใบเขียวเล็กละเอียด ทาบตัวลงไปบนมวลอาคารคอนกรีตที่มี รูปทรงเฉียบคมสีขาว ความละเอียดของใบและรูปทรงของต้นไม้ทั้ง 2 ต้นทีเ่ จ้าของบ้านเลือกเอง ต่างมีสว่ นทำาให้ภาพรวมของตัวอาคาร ดูอ่อนลงและน่าเพลิดเพลินใจยิ่งขึ้น จากด้านนอก ตัวบ้านหน้าตาไม่ต่างอะไรกับ camera obscura ที่มีชีวิต ชวนให้นึกถึงข้อเขียนของ Michel Serres ที่ว่า “บ้าน กึ่งกะโหลกแห่งนี้ เฝ้าเพ่งพินิจต้นไม้ต้นนั้นผ่านตากึ่งรูหน้าต่าง ข้างนั้น” จากหนังสือ Five Senses: A Philosophy of Mingled Bodies (2008:146-48) แต่ระหว่างการมองผ่านหน้าต่างหนึ่ง บาน ดวงตาจับภาพแต่ละช็อตของโลกภายนอกกับการใช้ชีวิต The house springs out of the ground from a single point of gravity, a Jacaranda tree in a tiny courtyard around which all everyday life activities happen. The spaces are stacked vertically so that the small but lively court and an elegant open space are possible. Walking up and down in the house does not give us any strong feeling of being in a box, as the inside and outside blend together through several huge glass panes in relation to the spatial articulation of the two main elements of the central gravity. Even though the design scheme is a tall and fairly solid mass, the house elicits a strong contrast between perceiving it from the outside and living in it, thanks to the playful balconies. Some are small and some so spacious, both of which relate to the courtyard or the green space nearby the site. They actually draw breath to all spaces inside. The entire house will become even more charming in the years to come, as Tamarind trees will be planted in front of the house, scattering delicate and fine green leaves over the sharp white concrete mass. The textures of the two trees selected by the owner soften the overall impression of the house and render it more enjoyable.
บน ที่ว่�งเปิดโล่งภ�ยใน ล้อรับกับคอร์ทต้นศรีตรัง ท�งขว�มือ TOP OPEN SPACE IN THE HOUSE IS IN TUNE WITH THE COURT AND JACARANDA TREE ON THE RIGHT SOFTENING THE OVERALL IMPRESSION
From the outside, the house looks like a living camera obscura, as if “the house-skull quietly contemplates the tree through the porthole-eye,” like Michel Serres wrote in his book ‘Five Senses: A Philosophy of Mingled Bodies’ (2008:146-48). But living in a place is very different from seeing each image of the outside world through a single window. Caring too much about visual perspective can bring about photogenic spaces, but that is not the only
59
1 PARKING 2 OFFICE 3 KITCHEN AND SERVICE ZONE 4 LIVING AND DINING SPACE 5 BEDROOM 6 PHOTO ROOM 7 ROOF GARDEN
6
7
5
4
2
3
1
SECTION
ในสถานที่สักแห่ง มันช่างแตกต่างกันมาก การใส่ใจมากเกินไป กับการจัดวางมุมมองที่ตาเราเห็น สามารถนำาไปสู่ที่ว่างที่มีองค์ประกอบที่สวยงามเหมาะกับการถ่ายรูป แต่มันก็ไม่ใช่เรื่องเดียวที่ เราควรใส่ใจในการสร้างที่ว่างที่เหมาะเจาะกับโลกส่วนตัวของเรา ความรืน่ รมย์ท่ไี ด้ใช้เวลาอยู่ ณ ตรงนัน้ จนกว่าชัว่ ขณะถัดไปจะมาถึง จังหวะก่อนที่คุณจะโดนผลักให้ ไปทำาอย่างอื่น นี่สิที่เป็นประเด็น หลังจากทีเ่ ราเดินไปมาในบ้าน หน้าตาภายนอกทีเ่ ราเห็นจากข้างนอก กลายเป็นการเล่นแบบเรียบนิ่งระหว่างดีเทลงานสถาปัตยกรรม แบบเรียบง่าย สะอาดตา ทีว่ า่ งใช้สอยทีม่ ลี กั ษณะกะทัดรัด สอดคล้อง กับการใช้งาน ทีว่ า่ งเปิดโล่งทีด่ โู อ่โถง และการเลือกใช้โครงสร้างได้ ลงตัว ในขณะทีบ่ า้ นทัง้ หลังใช้โครงสร้างเสา-คานคอนกรีตเสริมเหล็ก ตรงข้างๆ ต้นศรีตรัง เสาเหล็กทรงเพรียวต้นเดียวของบ้านยืนอยู่
1 M1m
ล่าง มองลอดผ่�นช่องเปิด บนด�ดฟ้�หน้�ห้องล้�งรูป BOTTOM LOOKING THROUGH THE OPENING ON THE ROOF TERRACE BESIDE THE DARK ROOM
matter that should receive our attention when building an intimate space. The pleasure of lingering in a space until the next moment arrives and pushes you to do something else does really matter. After we move inside the house, its appearance turns to offer a subtle play amongst simple and clean architectural details, compact and functional spaces, generous open space and an apt structural solution. While the rest of the house uses simple post and beam in reinforced concrete, beside the Jacaranda tree stands the only fine steel column in the house. Nowadays, contemporary Thai architects are still searching for their own way to express themselves and try to bring new meaning to the ever-changing world. The broken social and urban fabric may make us long for the pleasant past, but it also allows for us to create and explore the new possibilities and, sometimes, to transform ourselves to be even more chaotic. Just be positive and seize the right moment when it arrives, it sounds optimistic, doesn’t it? Why not? As we are at somewhere, in the beginning period, the adventurous road lies ahead, and the search continues, please stay tuned.
ในวันนี้ สถาปนิกไทยยังคงค้นหาแนวทางในการแสดงออกของตัวเอง และพยายามสร้างความหมายใหม่ๆ ให้กับโลกที่เปลี่ยนแปลงอยู่ ตลอดเวลา โครงข่ายความสัมพันธ์ของสังคมและเมืองที่ขาดจาก กันบ้าง แยกย่อยบ้างนัน้ อาจจะทำาให้เราโหยหาถึงอดีตทีห่ อมหวาน ในขณะเดียวกันมันก็ให้โอกาสเราสร้าง และสำารวจความเป็นไปได้ ใหม่ๆ และในบางครั้ง เราก็ยังสามารถแปลงรูปเปลี่ยนร่างตัวเรา เองให้มันดูวุ่นวายโกลาหลเข้าไปอีก แค่เรายังมองให้เห็นด้านที่ เป็นประโยชน์ และฉวยชั่วขณะที่ใช่ในวันที่มันมาถึงตรงหน้า ฟังดู แล้ว มันช่างเป็นวิธีของคนมองโลกในแง่ดีเหลือเกินใช่ไหม ก็แล้ว ทำาไมมันจะไม่ได้ล่ะ ในขณะที่เราเองก็ยังอยู่ตรงไหนสักแห่งของ การเริ่มต้นบทใหม่ ทางที่ชวนหัวหกก้นขวิดพาดลงอยู่ตรงหน้า และการค้นหายังไม่หยุด ฉะนั้นโปรดรอตามฟังข่าวกันให้ดีๆ
stu-d-o.com
60
61
TEXT: NANTHANA BOONLA-OR
DESIGN
THAI EATS THAI
A SIMPLE THAI RESTAURANT DOESN’T NECESSARILY MEAN A SIMPLE DESIGN 70
PHOTO: KETSIREE WONGWAN
DESIGN
ภาพของดอกไม้สีเหลืองสดสไตล์ pixel art ขนาดเกือบเท่ากำาแพง กล่าวคำาทักทายขึ้นทันทีที่เราผลักบานประตูกระจกเข้ามาในร้าน อาหารไทย Supanniga Eating Room ตึกแถวขนาดหนึง่ คูหาแห่งนี้ แทรกตัวอยู่กลางบริเวณที่ค่อนข้างสงบเงียบในซอยสาทร 10 โดย นักออกแบบจาก Onion อธิบายแนวคิดในการออกแบบพื้นที่แห่งนี้ ให้เราฟังว่า พวกเขาต้องการพรางพืน้ ทีแ่ บบกล่องของห้องแถวทัว่ ไป เพื่อสร้างประสบการณ์ ใหม่ให้ผทู้ ี่เข้ามาใช้งานด้วยกลวิธีที่แตกต่าง กันไปในแต่ละชัน้ อย่างไรก็ตาม สิง่ หนึง่ ทีเ่ หมือนกันในทุกๆ ชัน้ ก็คอื การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างพืน้ ทีภ่ ายในและพืน้ ทีภ่ ายนอกอาคาร ผ่านการมองเห็นบรรยากาศด้านนอกและการรับรูถ้ งึ เเสงธรรมชาติ ที่ส่องเข้ามาสู่ด้านใน
ซ้าย หลอดด้ายจำานวนมากถูก เรียงร้อยบนผนังเพื่อสร้าง ให้เกิดภาพสไตล์พิกเซลอัน กลายมาเป็นภาพจำาของร้าน LEFT COUNTLESS A SPOOLS ARE GROUPED INTO A PIXEL PICTURE WHICH BECOMES THE SHOP’S IDENTITY
เริ่มจากพื้นที่ชั้นล่างที่ให้ความรู้สึกเหมือนนั่งอยู่ใต้ถุนบ้านไทยโดย มีรายละเอียดงานออกแบบและเครือ่ งใช้ไม้สอยทีพ่ อจะแสดงให้รวู้ า่ นีค่ อื บ้าน รวมทัง้ ก่อให้เกิดความรูส้ กึ ผ่อนคลายและเป็นกันเอง สำาหรับ พื้นที่ชั้นที่สองนั้นเป็นที่ตั้งของครัว ซึ่งมีพื้นที่เหลือให้รองรับลูกค้า ไม่มากนัก นักออกแบบจึงออกแบบให้ส่วนนี้เชื่อมต่อกับภายนอก โดยออกแบบให้เป็นพื้นที่กึ่งเปิด มีลักษณะเป็นระเบียงขนาดกว้าง ทีล่ กู ค้าสามารถมาสูบบุหรี่ ดืม่ หรือสนทนากันอย่างสบายๆ พร้อมกับ เลือกชมวิวของซอยสาทร 10 หรือเสพงานศิลปะจากมุมนิทรรศการ ทีจ่ ดั แสดงอยู่ในพืน้ ที่ ส่วนชัน้ บนสุดให้ความรูส้ กึ แบบห้องใต้หลังคา ที่มีแสงธรรมชาติส่องถึง บรรยากาศภายในห้องที่แปรเปลี่ยนไป ตามลักษณะของแสงทีส่ อ่ งเข้ามาในแต่ละช่วงเวลาของวัน ถูกขับเน้นด้วย วัสดุกรุใต้หลังคาอย่างสังกะสีซึ่งมีคุณสมบัติสะท้อนแสง มุมที่ซับซ้อนหักเหของโครงหลังคาทำาให้แสงสะท้อนที่ฉาบอยู่ยิ่งดูน่าสนใจ การออกแบบพื้นที่และการตกแต่งของ Supanniga สะท้อนบุคลิก
An image of colorful yellow flowers on the pixel art wall says a big hello as soon as we push open the glass door and walk into Supanniga Eating Room, a Thai restaurant located in a quiet neighborhood of Sathorn Soi 10. This shophouse turned restaurant has a team of designers from Onion taking care of its design. They explain the concept of the project as an attempt to camouflage the box-like space commonly found in most shophouses and recreate new experiences for users with different methods and aesthetic approaches for each floor of the building. Nevertheless, on every floor, what one can find is the fabrication of interior and exterior connections through the visibility of the outdoor ambience and presence of natural light in the interior space. The ground floor creates a sense of space similar to those under the elevated floor of a traditional Thai house. The details of the design and utensils give off a home-like vibe while creating a sense of relaxation and friendliness. The kitchen is situated on the second floor, which automatically lessens the space to accommodate customers. The design team works out this dilemma by linking the area with the porch, creating a semi-open/outdoor space for smoking tables as well as an area for those who wish to enjoy their drinks and small talk outside. The area overlooks the view of the neighborhood and is visually linked to a nearby exhibition corner where artworks are displayed. The top floor is reconciled into a space reminiscent of a sunlit attic with the overall ambience
71
ของอาหารไทยสไตล์ โฮมเมดจากขอนแก่นได้อย่างมีชีวิตชีวา นักออกแบบหยิบเอารายละเอียดทางวัฒนธรรมร่วมสมัยในชีวิต ประจำาวันมาสร้างสีสันให้กับพื้นที่ภายใน เช่น ความเป็นชาวบ้าน ที่สนุกกับการพลิกแพลงสิ่งรอบตัว นิยมสร้างประโยชน์ ใช้สอยใหม่ และความงามแปลกตาให้กบั วัสดุทค่ี นุ้ เคย อย่างเช่น สังกะสีทน่ี าำ มาพับ ให้เกิดเป็นจังหวะและเส้นสายทีต่ อ่ เนือ่ งกันไปบนผนัง รวมทัง้ การนำา หลอดด้ายจำานวนเป็นร้อยๆ มาเรียงต่อกันจนเกิดเป็นผนังภาพดอก สุพรรณิการ์ นักออกแบบยังโปรยสัญลักษณ์หรือการสือ่ ความบางอย่าง เป็นลูกเล่นไว้ ในสเปซ สร้างความรู้สึกเพลิดเพลินในการค้นหา ไม่ ว่าจะเป็นสีเหลืองของดอกไม้อันเป็นชื่อร้าน หรือเรื่องราวของการ ทอผ้า ทัง้ วัสดุ (เส้นใย) เครือ่ งมือ (หูกหรือกีท่ อผ้า) กรรมวิธี (การขึง ขัด ร้อย ผูก) และเทคนิคการเกิดลายผ้า (pixels) นอกจากนี้ เรายังได้พบการผสมผสานความเป็นสมัยใหม่และการ ฝากร่องรอยของความเป็นงานหัตถกรรมพืน้ บ้านไว้ ในเฟอร์นเิ จอร์ แทบทุกชิน้ ทีไ่ ด้รบั การออกแบบมาโดยเฉพาะ ทัง้ แพทเทิรน์ บนพืน้ โต๊ะ ที่ได้รบั แรงบันดาลใจจากฟืม (ชิน้ ส่วนสำาคัญในกีท่ อผ้า) ดีเทลของ ผนังทีเ่ ลียนแบบงานเข้าผนังไม้แบบพืน้ บ้าน และโต๊ะท็อปหินอ่อนที่ รูปทรงและสัดส่วนทำาให้นกึ ถึงโต๊ะบ้านๆ ทีพ่ บเห็นได้ตามต่างจังหวัด
THE DESIGN OF SPACE AND OVERALL DECORATION REFLECTS THE PERSONALITY OF THE HOMEMADE FOOD FROM KHON KAEN ล่าง บริเวณชั้นล่างของร้าน โครงสร้างและเสาไม้ จำาลอง บรรยายกาศโปร่งๆ ของใต้ถนุ บ้านไทย เชื่อเชิญและสร้าง ความต่อเนื่องระหว่างพื้นที่ ภายนอกกับภายในร้าน BOTTOM THE STRUCTURE AND WOOD COLUMN SIMULATE THE AIRY ATMOSPHERE WHICH RESEMBLES THE UNDERNEATH SPACE OF A THAI TRADITIONAL HOUSE WHILE ALSO CONNECTING THE INDOOR AND OUTDOOR SPACES
โดยสรุปแล้ว งานออกแบบสไตล์ ‘ไทยดิจิตอลแบบบ้านๆ’ ของ Supanniga ที่ Onion นิยามให้เราฟังนัน้ เสนอเรือ่ งราวของความเป็น พืน้ บ้านแบบไทยๆ ทีม่ แี นวคิดของการสร้างสรรค์และการแสดงออก อย่างตรงไปตรงมา เรียบง่าย ไม่คิดมาก โดยเรื่องราวเหล่านี้ถูก เล่าผ่านวัสดุสมัยใหม่ในลีลาภาษาทางการออกแบบที่เป็นสากล ผูอ้ อกแบบเลือกสร้างความกลมกลืน ความแตกต่าง และการขับเน้น ในแต่ละพื้นที่อย่างตั้งใจ ข้อความเนื้อหาที่องค์ประกอบต่างๆ ใน สเปซสื่อสารออกมาช่วยปลุกประสาทสัมผัสทางการมองให้กับเรา ซึ่งก็ไม่ใช่เฉพาะความหลากหลายของวัสดุที่เราสังเกตเห็นเท่านั้น แต่ยงั รวมไปถึงรูปแบบกลไก การติดตัง้ และรายละเอียดการเข้างาน ขององค์ประกอบต่างๆ ในพืน้ ทีอ่ กี ด้วย ในภาพรวม นับว่าสิง่ เหล่านี้ ช่วยกระตุ้นประสาทสัมผัสและส่งเสริมประสบการณ์ ในเรื่องของ อาหารทีเ่ ราได้รบั จากอาหารไทยรสมือคุณยายแห่งนี้ได้อย่างลงตัว
of the room gradually changing in turn with the altering effects of light during the day. Corrugated, galvanized iron sheets are used for the ceiling for their ability to reflect and create an eccentric refraction of light and shadow due to the complicated surface and corners of the roof structure. The design of space and overall decoration reflects the personality of the homemade food from Khon Kaen being served at the restaurant in the liveliest manner. The team picks up on contemporary everyday-life cultural details and uses them with the interior space such as the locals’ ability to redefine the beauty and functionality of ordinary objects. Among the few are the use of corrugated, galvanized iron sheets where the details of the folded materials are harmonized into rhythmic and flowing visuals, or hundreds of spools that are arranged into a pattern of yellow silk cotton flowers on the walls. The designers intentionally left several other symbols and gimmicks within the space, enhancing a sense of discovery as each trace is unfolded, whether it be the way yellow is used to represent the color of the Supanniga flower (yellow silk cotton) or how the story of weaving is told through the presence of different materials (threads), apparatus (loom), methods (pulling, weft, interlocking, tying) and the formation of textile patterns (pixel). In addition, we are able to see a stylish combination of modernity and traces of local craftsmanship in almost every piece of the furniture specifically designed for the project. The pattern on the tables’ surfaces is inspired by the ‘reed’ (an important component of a loom), while the detail of the wall mimics the details of local carpentry. Other details are such as the stone tabletops fashioned in a shape and form that reminds us of those commonly used in rural homes. Long story short, the ‘Thai digital locality’ style that the design team of Onion tries to define is essentially the story of ordinary rustic characteristics where creative design concepts are straightforwardly expressed. It is simple, uncomplicated and easy-going stories, told using modern materials and an international design language. Attentively harmonizing the different points of focus, these stories and compositions set in the different spaces of the building communicate with and awaken our visual perception. This is achieved not only by the diversity of materials, but also the details of mechanisms, installation and fabrication. Generally speaking, these aesthetic elements become the sensory stimulation, complementing our delectable experience of grandma’s recipes for authentic Thai food.
supannigaeatingroom.com onion.co.th
72
73
TEXT: WEE VIRAPORN
ซ้ายบน ‘เดินเส้น เป็นทาง’ รวบรวม ตัวอย่างผลงานออกแบบ ตัวอักษรของคัดสรร ดีมาก จากปี 2543-2557 ขวาบน ‘จากรหัสวิชาพื้นฐานสู่รหัส ดิจิตอลอักษรศิลป์และอักขร ศิลป์ฉบับย่อ’ ล่าง บันทึกบรรยายและรวม บทความ จากเว็บไซต์ anuthin.org
DESIGN
TOP LEFT ‘OUTLINE OF THE ERA’ 2000-2014, THE COMPLETE TYPE SPECIMENS OF CADSON DEMAK TOP RIGHT FROM BASIC TYPOGRAPHY TO DIGITAL FONT. BRIEF LEARNING ON HOW TYPE WORKS BOTTOM A SERIES FROM ANUTHIN.ORG
74
DESIGN
PHOTO: WORARAT PATUMNAKUL
GAME CHANGE
WHEN A TYPEFACE DESIGN STUDIO TURNS PUBLISHER, THAIS SEEM TO HAVE MORE VARIETY OF TYPE AND GRAPHIC DESIGN BOOKS TO CHOOSE FROM
เมื่อเอ่ยชื่อของ คัดสรร ดีมาก สิ่งแรกที่ทุกคนนึกถึงคือบริษัท ออกแบบตัวอักษร แต่ในเกือบหนึ่งปีที่ผ่านมา เราเริ่มเห็นชื่อของ คัดสรร ดีมาก ในฐานะส�านักพิมพ์ที่จัดท�าหนังสือออกมาหลายเล่ม ทั้งที่เป็นต�ารา (ฉบับแปล) ด้านการออกแบบตัวอักษร รวมผลงาน ออกแบบและเนื้อหาจากการท�างานของบริษัท รวมบทความจาก เว็บไซต์ของคัดสรร ดีมาก จนถึงหนังสือแสดงแนวคิดของ นักออกแบบไทยที่มีชื่อเสียง
We’re sure that most people remember Cadson Demak as a typeface design studio. But over the past year, we have begun to see the name given as publisher for a good number of publications ranging from a font design textbook (translated version) that brings together the company’s retrospective and a selection of essays from Cadson Demak’s website to a book that presents a collection of visions of reputable Thai designers.
แต่ อนุทิน วงศ์สรรคกร จาก คัดสรร ดีมาก ก็บอกว่าไม่ใช่เรื่อง แปลกอะไรที่สถานะของผู้ออกแบบตัวอักษรและผู้จัดพิมพ์หนังสือ จะมาอยูร่ วมกัน เพราะก่อนทีจ่ ะมีการพิมพ์ระบบดิจติ อล ส�านักพิมพ์ หรือโรงพิมพ์กต็ อ้ งมีบคุ ลากรในการเรียงพิมพ์ จนถึงมีความสามารถ ในการออกแบบตัวอักษรของตัวเอง หรือไม่กเ็ ป็นผูว้ า่ จ้างให้เกิดการ พัฒนาแบบตัวพิมพ์ขึ้นมารองรับการผลิตสื่อ เพียงแต่นั่นก็ไม่ใช่ สาเหตุของการขยับมาท�าส�านักพิมพ์ ในครั้งนี้อีกนั่นแหละ เพราะ ตามโครงสร้างองค์กรของ คัดสรร ดีมาก งานของส�านักพิมพ์อยู่ ภายใต้แผนก Content Management ซึ่งมีหน้าที่ตามชื่อคือบริหาร จัดการองค์ความรู้ ทั้งในแง่วิชาการด้านการออกแบบ และมิติอื่นๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อนักออกแบบ ออกมาในรูปแบบที่ไม่ได้จ�ากัดแค่ เป็นสิ่งพิมพ์ แต่ยังรวมถึงกิจกรรม เช่น การบรรยายและเวิร์คช็อป ที่ขับเคลื่อนโดย คัดสรร ดีมาก
Nevertheless, Cadson Demak’s Anuthin Wongsunkakon says that it is really not that surprising for the status of font designer and publisher to collide, considering the fact that during the time prior to digital printing, a publisher or printing house hired staff with typesetting expertise and abilities to actually design fonts. In many cases, publishers become the initiators of new developments of fonts to serve the growing production of media. But that is still not the main reason behind the studio’s new role as a publisher. The organizational structure of Cadson Demak has a Content Management unit overseeing the studio’s creative output, which basically revolves around the administration of a body of knowledge in academic, design and other dimensions that can be beneficial for designers and the general public. Apart from printed publications, the works come in different forms of media, encompassing a wide range of activities such as lectures and workshops.
ตลอดเวลาประมาณ 15 ปีทผี่ า่ นมา คัดสรร ดีมาก ได้ผลิตองค์ความรู้ จ�านวนมากขึน้ มาอย่างต่อเนือ่ ง และสือ่ สารออกมาในหลายช่องทาง อย่างบทความในเว็บไซต์ anuthin.org โดยทีเ่ ก่าทีส่ ดุ ก็มาจากเดือน กุมภาพันธ์ 1999 และบทความทีม่ อี ายุใกล้กนั บางส่วนก็ถกู จัดพิมพ์ เป็นหนังสือ บันทึกบรรยาย 10 บทความเลขนศิลป์ศกึ ษาเชิงไปรเวท จากบันทึกการสอนของ อนุทิน วงศ์สรรคกร (จัดพิมพ์ โดย Corporation 4d) ตั้งแต่ปี 2000 หากมองย้อนกลับไปจากปัจจุบัน เราจะได้เห็นความเปลีย่ นแปลงหลายอย่างของวงการออกแบบกราฟิก ในประเทศไทย แต่สงิ่ ทีย่ งั เหมือนเดิมจนน่าตกใจ คือ ในวงการศึกษา ยังขาดแคลนต�าราภาษาไทย และแทบไม่มีการแปลต�าราที่ใช้กัน กว้างขวางในระดับนานาชาติเป็นภาษาไทยเลย ดังนัน้ การที่ คัดสรร ดีมาก หยิบเอาต�ารา typography ยอดนิยมอย่าง “Stop Stealing Sheep & find out how type works” ของ Erik Spiekermann มา แปลเป็นภาษาไทย โดยเลือกคงการวางเลย์เอาท์แบบเคารพ ต้นฉบับชนิดพลิกเทียบกันได้หน้าต่อหน้า ออกมาเป็นหนังสือ ปกแรกของส�านักพิมพ์ จึงเป็นการประกาศเจตนารมณ์ที่ชัดเจนว่า จะเข้ามาแก้ไขปัญหาตรงนี้
Throughout its 15 years, Cadson Demak’s production of knowledge has been considerable and continual, utilizing different platforms of communication. The oldest article published on the website anuthin.org dates back to February 1999, whereas essays with relatively close publication dates are brought together in the book, Documented Lectures of Anuthin Wongsunkakon: 10 articles of private studies on graphic design (published by Corporation 4d back in 2000). In retrospect, we have witnessed many changes in Thailand’s graphic design industry. But one thing that is shockingly the same is the lack of textbooks and translated versions of internationally recognized publications in Thai language within the academic arena. The fact that Cadson Demak, as a publisher, chooses to publish a translation of the prominent typography textbook, Stop Stealing Sheep & find out how type works by Erik Spiekermann while making its
75
แม้วา่ ทุกวันนีจ้ ะเป็นยุคถดถอยของสือ่ สิง่ พิมพ์ แต่คงปฏิเสธไม่ได้วา่ หนังสือในรูปแบบ textbook ยังเป็นสิ่งที่มีความถาวรและมีความ เป็นทางการที่สุดในการน�าเสนอความรู้เชิงวิชาการ บางทีการเริ่มมี textbook ด้านการออกแบบกราฟิกทีเ่ ป็นภาษาไทยอาจเป็นการเปิด ประตูให้มกี ารท�าความเข้าใจเนือ้ หาของศาสตร์นจี้ ากบุคคลภายนอก มากขึ้น รวมถึงความเข้าใจในบทบาทและความสัมพันธ์ระหว่าง การออกแบบกราฟิกกับศาสตร์อื่น เช่น การตลาด ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ และสังคมศาสตร์อกี ด้วย และอีกด้านหนึง่ ของประตูนี้ อาจเป็นโลกที่ลูกค้าคุยกับนักออกแบบรู้เรื่องขึ้น ในทางกลับกันนัก ออกแบบที่ได้พัฒนาทักษะทางการสื่อสารผ่านการอ่านและเขียนก็ จะคุยกับสังคมในภาษาที่ฟังรู้เรื่องขึ้นด้วย
business to keep the original layout page by page, is, in a way, a manifestation of their intent to improve the way things have been done. Make no mistake, this is a deteriorating time for print media, but it is undeniable that textbooks are still very much needed and validated as an official form of academic knowledge. Perhaps, having more graphic design textbooks in Thai language could open the door for outsiders to gain a better understanding of the discipline. It will also allow for everyone to comprehend the role and connection between graphic design and other fields of study be it marketing, history, economics or social science. Waiting behind that door may be the world where clients and designers reach a new level of mutual understanding and respect while designers are able to develop their communication skills through reading and writing, hence, the possibility for their communication with the general public becoming more accessible and efficient.
ในอีกประเด็นหนึ่งที่น่าสนใจ ก็คือความคุ้มค่าในทางธุรกิจของการ ท�าส�านักพิมพ์ รวมถึงราคาหนังสือของ คัดสรร ดีมาก ที่หลายคน อาจมองว่าแพงเกินไป จนอาจขัดแย้งกับวัตถุประสงค์ ในการส่งเสริม ความเข้าใจด้านการออกแบบตัวอักษรต่อคนหมู่มากก็เป็นได้ แต่ ทางทีมงานของส�านักพิมพ์ยืนยันหนักแน่นว่าพวกเขาได้วิเคราะห์
ขวา ‘เปลี่ยนเลียนแบบเป็นแบบ เรียน’ เป็นฉบับแปลภาษาไทย ของ ‘Stop Stealing Sheep & find out how type works’ โดย Erik Spiekermann RIGHT ‘STOP STEALING SHEEP & FIND OUT HOW TYPE WORKS’ BY ERIK SPIEKERMANN, THAI EDITION
ขวาบน, บน โปสเตอร์กิจกรรมที่จัดโดย คัดสรร ดีมาก TOP RIGHT, TOP EVENT POSTERS PRODUCED BY CADSON DEMAK
76
ทุกอย่างมาจน “อ่านตัวเองขาดแล้ว” การตั้งราคาที่เห็นกันว่าแพง นัน้ เป็นตัวสะท้อนต้นทุนทีแ่ ท้จริงของการผลิตจ�านวนไม่มาก รวมถึง การบริหารสต็อก อีกทั้งพวกเขายังไม่เชื่อว่าการลดคุณภาพในการ ผลิตเพือ่ ให้ตงั้ ราคาได้ถกู ลงจะท�าให้ยอดขายเพิม่ ขึน้ อย่างมีนยั ส�าคัญ ดีไม่ดีจะท�าให้นักออกแบบไม่อยากซื้อหนังสือที่สวยน้อยลงด้วยซ�้า โดยสรุป คัดสรร ดีมาก คาดหวังว่าเนื้อหาที่น�าเสนอเหล่านี้จะมี ประโยชน์ทางอ้อมในการสร้างความเข้าใจเรือ่ งการออกแบบแก่สงั คม และน�าประโยชน์กลับมายังธุรกิจหลัก ส่วนผูบ้ ริโภคก็ตอ้ งมองให้เห็น ถึงต้นทุนที่แท้จริงและราคาของการหาความรู้จากการซื้อหนังสือ เช่นกัน ในยุคที่เราก�าลังจมอยู่กับกระแสข้อมูลข่าวสารที่สามารถไหลข้าม ระหว่างสือ่ อันหลากหลาย การจัดการองค์ความรูก้ ลายเป็นเรือ่ งส�าคัญ กว่าที่เคย การเกิดขึ้นของส�านักพิมพ์ คัดสรร ดีมาก ท�าให้เราได้ เห็นว่า การจัดการที่ดูเป็นภาระ เมื่อผ่านการออกแบบกระบวนการ และรูปแบบการน�าเสนอที่ดี ก็สามารถท�าให้กลายเป็นธุรกิจใหม่ที่ สนับสนุนธุรกิจหลักได้ และ know-how ของการน�า content ข้าม จากสือ่ หนึง่ ไปยังอีกสือ่ หนึง่ จะเป็นองค์ประกอบส�าคัญของการจัดการ องค์ความรู้ในอนาคต น่าจับตามองว่าถัดจากส�านักพิมพ์แล้ว แผนก Content Management ของคัดสรร ดีมาก จะขยายขอบเขตไปท�า อะไรต่อไปอีก Another interesting issue is the commercial success of the publishing business. With its books being viewed as too expensive, which contradicts their objective to promote design awareness among the general public, Cadson Demak’s team still strongly affirms that everything has been critically analyzed to the point where the studio is able to figure itself all out. The expensive price is essentially a reflection of the actual capital and related to factors such as minimum order and stock management. The team does not believe in the reduction of production quality in order to obtain a cheaper selling price or significant increase of sales, as taking such position could potentially jeopardize support gained from the design-conscious readers who will shy away from less beautiful books. In conclusion, Cadson Demak expects the content to indirectly influence people’s understanding of design while generating greater benefits for the main business. As for the consumers, acknowledging and understanding the actual capital and intellectual values of a book they buy are also crucial.
TEXTBOOKS ARE STILL VERY MUCH NEEDED AND VALIDATED AS AN OFFICIAL FORM OF ACADEMIC KNOWLEDGE บน ‘สันติ วิธีที่ ๑’ รวบรวม บทความและความคิดเห็น ของ สันติ ลอรัชวี นักออกแบบ กราฟิก
In a time when we are subsumed by the influx of information obtained through different media platforms, knowledge management has become more important than ever. The birth of Cadson Demak Publishing is testament to how burdensome management can be executed with the right process and presentation method. By achieving that, a new business can be the perfect complement to a main business. The know-how in transporting and exchanging content from one media to another will become the key element of future knowledge management. The next move by Cadson Demak’s Content Management is, therefore, worth every following.
cadsondemak.com/content
TOP SANTIVITHEE 1, SANTI LAWRACHAWEE’S BOOK
77
TEXT: NAPAT CHARITBUTRA
DESIGN
PHOTO: WORARAT PATUMNAKUL
TRIUMPH OF THE LEFTOVERS
THE FOUND-WOOD WORKING PROJECT INVITED 20 LEADING CREATORS TO JOIN A FIELD WORKSHOP THAT EXPLORED DISCARDED WOOD FOUND IN BURIRUM PROVINCE Jorge Pensi นักออกแบบจากบาร์เซโลน่า ให้สัมภาษณ์ ในงาน BODW 2015 ทีฮ่ อ่ งกงว่า “อุปสรรคจะน�าไปสูง่ านออกแบบทีด่ ี และ ตรงขัน้ ตอนการแก้ปญ ั หานีแ่ หละ ทีร่ ปู ทรงของงานจะเริม่ ก่อตัวขึน้ ” ประโยคนีด้ จู ะเข้าได้ดกี บั นิทรรศการ “เก็บไม้ใช้” เพราะการน�าวัสดุ เหลือใช้ที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจอย่างไม้เหลือใช้ที่หามาได้จาก บริเวณโดยรอบอ�าเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ กลับมาใช้ ใหม่ซึ่ง เป็นโจทย์ของนิทรรศการ ได้สร้างข้อจ�ากัด เงือ่ นไข อุปสรรค ทีก่ ระตุน้ ให้เกิดการประยุกต์ หาวิธีพลิกปัญหาให้เป็นวิธีคิดแบบ ใหม่ที่น�าไปสู่การสร้างงานที่ต่างออกไปได้ หนึง่ ในปัญหาทีว่ า่ คือความชืน้ ของไม้สดทีย่ งั ไม่ผา่ นการแปรรูป และ ขนาดของไม้ที่ไม่ได้สา� เร็จรูปพร้อมใช้ ความไม่ส�าเร็จรูปของไม้ ท�าให้ภายในตัวไม้เหล่านี้ยังมีองค์ประกอบบางอย่าง (ที่อาจหาย ไปในไม้แปรรูป) ให้นกั ออกแบบน�ามาใช้ในการทดลองท�างานใหม่ๆ อย่างในผลงาน “Overgrown” ที่ สาริน ทัศนเทพกมล น�าเปลือกไม้ หลายชนิดมาต้มและสกัดสีออกมาเป็นแพนโทนสีนา�้ ตาล ก่อนจะน�า สีที่ได้มาเทลงบนผ้าลินนิ เนือ้ หนา กลายเป็นอีกวัสดุทเี่ หมาะกับงาน ออกแบบภายใน ในทิศทางเดียวกันกับการทดลองทอผ้าจากไม้ เหลือใช้ของ อดา จิระกรานนท์ ซึ่งถือว่าเป็นวิธีการและมุมมอง ที่แตกต่างออกไปจากช่างไม้และการท�างานไม้ทั่วไป
Jorge Pensi, a Barcelona-based designer, mentioned in an interview at BODW 2015 in Hong Kong that, “Obstacles lead to good designs, and the problem solving process is where a work is formulated and becomes tangible.” This particular quote goes perfectly well with ‘Found-Wood Working Project,’ an exhibition that showcases different approaches to the recycling of wood found in the area around Nangrong district in Buriram. Limitations, conditions and obstacles are all effective stimulators that ultimately bring about new applications and solutions including new ways of thinking behind the conceptions of much more diverse and creative end results. Some of the main problems are the humidity of unprocessed wood, including the size of green wood that prevents the material from being ready-to-use. Nevertheless, such unprocessed qualities come with certain elements (which may be absent from the processed material). These special characteristics allow for designers to explore and experiment with new possibilities. ‘Overgrown’ by Sarin Tgamol uses
78
DESIGN bark from several types of wood by boiling the material before extracting the colors into a spectrum of brown pantone. The colors are poured onto a thick piece of linen cloth creating a new, naturally derived interior decoration material. The method is somewhat a part of an ongoing experimental process of wood scrap weaving created by Ada Chirakranont, which offers a different take on and perception of the material when compared to common carpentry and woodwork.
ดูเหมือนว่าความสนใจของนักออกแบบเป็นตัวแปรในการเลือกทีจ่ ะ “ใช้” ข้อจ�ากัดข้อใดข้อหนึ่งเป็นโจทย์ ในการออกแบบ หรือเลือกที่ จะ “ข้าม” อุปสรรคนัน้ ไป และใช้ไม้เหลือใช้ในแง่วสั ดุการสร้างงาน เพียงอย่างเดียว เห็นได้จากกระบวนการท�างานของประติมากรรม “ทีท่ บั กระดาษ” ของศิลปินงานไม้ ภาคภูมิ วิทยวรการ ผลงานชิน้ นี้ ศิลปินตัง้ ใจให้รปู ทรงทีก่ ลมกลึงช่วยให้ผู้ใช้รสู้ กึ ผ่อนคลายตามทีต่ น รูส้ กึ ว่าถูกกล่อมเกลาจิตใจระหว่างการสร้างงาน และให้ความหมาย แก่กอ้ นไม้วา่ คือ “ตัวแทนของความรูส้ กึ ภายใน หรือเป็นบทสนทนา ระหว่างคนกับไม้” ส่วนนาฬิกาข้อมือ “Nakari-Branch Watch” โดยอภิรักษ์ บูรณะเจตน์ นั้น นักออกแบบน�ากิ่งไม้ซึ่งมีเส้นผ่านศูนย์กลางแคบและแทบจะท�าอะไรไม่ได้ถ้าถูกน�าไปแปรรูป มาท�า เป็นนาฬิกาที่ขนาดของมันจะปรับเปลี่ยนไปตามขนาดของกิ่งไม้ที่ เก็บได้ นับเป็นการชีใ้ ห้เห็นถึงมูลค่าบางอย่างทีเ่ กิดขึน้ จากกระบวนการ ออกแบบ มีความเรียบง่าย และพิเศษโดยไม่ต้องพึ่งความหมาย เชิงนามธรรมใดๆ ม้านั่ง “แก่นของโนบิ” โดย รัฐธีร์ ไพศาลโชติสิริ ดูจะเป็นตัวอย่าง ของงานที่สมดุล และสื่อสารความหมายนามธรรมผ่านการดีไซน์ ได้ลงตัว นักออกแบบอุตสาหกรรมบรรยายความหมายที่ตน ต้องการสื่อว่า “เหรียญสองด้านระหว่างระบบทุนนิยมที่เราคิด ว่ามันสวยงาม และมองไม่เห็นเนื้อจริงที่ถูกบดบัง กับธรรมชาติ ที่เราเห็นแต่ความสวยงามจากความไม่สมบูรณ์แบบของมัน แต่ เรามักมองข้ามคุณค่าของมันไป” ทั้งหมดรวมอยู่บนม้านั่งกึ่งไม้ กึ่งอะคริลิค ที่สะท้อนคู่ตรงข้ามระหว่างความเป็นธรรมชาติ และ อุตสาหกรรมได้อย่างชัดเจน
ซ้าย ธีรวัฒน์ เฑียรฆประสิทธิ์ illustrator ถอดฟอร์มที่ ซับซ้อนของลายไม้ มาประดิษฐ์ เป็นเกมเขาวงกตในผลงาน ตรายาง ‘Maze’ LEFT ILLUSTRATOR, TERAWAT TEANKAPRASITH SIMPLIFIES THE COMPLEX FORM OF WOOD GRAIN INTO THE GRAPHIC FORM OF A ‘MAZE’
บน การทดลองนำาไม้เหลือใช้มา เป็นตัวพิมพ์ไม้แทนตะกัว่ ของ ‘ตัวพิมพ์ไม้ทองหล่อ’ ที่ สามารถลดปัญหาด้านน้าำ หนัก และสามารถผลิตตัวอักษร ขนาดใหญ่เป็นพิเศษได้ TOP ‘THONGLOR WOODEN PRINTING SORTS’ IS APPROACHED THROUGH THE USE OF FOUND WOOD RATHER THAN LEAD, AS IT CAN REDUCE WEIGHT AND PRODUCE A LARGER-SIZED TYPEFACE
It seems that while designers’ personal interests are the influencing factors, some individually choose and utilize one of the limitations as the subject of their designs whereas some decide to ‘overlook’ the obstacles and use recycled wood simply as a material. This particular approach can be seen in the process by which the ‘Paperweight’ sculpture by wood artist, Pakpoom Wittayaworakan is made. The artist intends for the round shape of the sculpture to create a sense of relaxation for users while the experience of the making of the piece helps to shape his own mind and spirit. For Wittayaworakan, that piece of wood is “representative of inner feelings or the conversation between humans and wood.” For ‘Nakar-Branch Watch,’ Apirak Buranajade turns barely usable wood branches into a collection of watches where the size of each watch varies according to the size of each found branch. The piece indicates certain values conceived from the design process where simplicity and uniqueness are present without reliance on any abstract implications. The ‘Nobi’s Axis’ bench by Ratthee Phaisanchotsiri is an exemplification of equilibrium and the conveyance of abstract messages achieved through design. The industrial designer elaborates upon the message he wishes to send out as “two sides of the coin between the superficial glory of Capitalism and the imperfect and, often times, overlooked, beauty of nature.” The idea is materialized into a wood/acrylic bench that reflects the binary of oppositions between nature and industrialism. There are several other interesting designs that are not mentioned in this article. Generally speaking, having designers from different fields of design working under one subject matter can result in wonderful reflections of their different ways of thinking, perceptions towards materials and working processes. Individually, these elements are varied by each designer’s personality as we notice the strengths and weak points of design practitioners from different disciplines. Nevertheless, a flaw does not necessarily need to be fixed and a stain does not always have to be polished because it is, in a sense, a designer’s inherent identity and signature hidden in the work he creates.
ยังมีงานดีไซน์น่าสนใจอีกหลายชิ้นที่ไม่ได้กล่าวถึงในที่นี้ แต่โดย รวมแล้ว การรวบรวมนักออกแบบหลายๆ สาขามาสร้างผลงาน ด้วยโจทย์เพียงโจทย์เดียวของนิทรรศการ ได้สะท้อนถึงวิธคี ดิ มุมมอง ต่อวัสดุ และกระบวนการทีแ่ ตกต่างกันไปตามบุคลิกของนักออกแบบ แต่ละคน ซึ่งท�าให้เห็นทั้งจุดแข็งและจุดอ่อนของนักออกแบบสาขา ต่างๆ อย่างไรก็ตาม จุดอ่อนที่ว่านี้ไม่ได้หมายถึงสิ่งที่ต้องแก้ไข หรือรอยด่างที่จา� เป็นต้องขัดออกให้กลืนเป็นเนื้อเดียวแต่อย่างใด เพราะในมุมหนึ่งมันคือ “เอกลักษณ์” และลายมือชื่อที่นักออกแบบ เซ็นแฝงไว้ ในชิ้นงาน นิทรรศการ ‘เก็บไม้ ใช้’ จัดแสดงจนถึงวันที่ 20 มีนาคม 2559 บริเวณโถงด้านหน้า TCDC
Found Wood Working Project will be exhibited at TCDC through 20 March 2016.
tcdc.com
79
TEXT: DIAN INA MAHENDRA
ART
86
PHOTO: WITJAK WIDI CAHYA / KOMUNITAS SALIHARA & BONA SOETIRTO / MAJORMINOR
ART
JOGJA BOY SPEAKS OUT WORKING WITH DIVERSE MEDIA, EKO NUGROHO HAS DESCRIBED SOCIAL ISSUES, POLITICAL TURMOILS AND ECONOMIC PROBLEMS BOTH IN INDONESIA AND AROUND THE WORLD. IN “LANDSCAPE ANOMALY”, HE ALSO HAD THE CHANCE TO EXPAND HIS ARTISTIC REACH THROUGH A FASHION COLLABORATION การจะทำาให้ไอเดียทีย่ งั อยู่ในขัน้ ทดลองกลายเป็นจริงได้ ไม่งา่ ยดาย อย่างที่คิด บางทีนี่อาจจะเป็นเหตุผลว่าทำาไม Eko Nugroho ศิลปิน ชาวอินโดนีเซียทีเ่ ป็นทีร่ จู้ กั จากผลงานและการทำางานกับสือ่ หลากหลาย ชนิด ตัง้ แต่ จิตรกรรมบนฝาผนัง งานปัก จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพเขียน งานศิลปะจัดวาง ไปจนถึงสิ่งทอ และ Galeri Salihara แกลเลอรี่ในจาการ์ตา ถึงต้องใช้เวลาเกือบ 2 ปีในการก่อร่างสร้าง “Landscape Anomaly” นิทรรศการเดีย่ วครัง้ แรกในอินโดนีเซีย ของ Nugroho ภายในเวลา 4 ปีทีผ่ า่ นมา
Having a laboratory to turn ideas into reality is not as easy as it seems. Perhaps this is why it took Eko Nugroho and Galeri Salihara almost two years to put together “Landscape Anomaly,” his first solo exhibition in Indonesia in four years. The gallery’s seamless oval-shaped space seemed to have presented its own challenge to the artist, known for his work with and on diverse media such as murals, embroideries, paintings, sculptures, drawings, installations, and tapestries.
พื้นที่รูปทรงวงรีไร้รอยต่อภายใน Galeri Salihara ดูจะเป็นความ ท้าทายอย่างหนึ่งของการจัดนิทรรศการครั้งนี้ และ Nugroho ก็ โอบรับความท้าทายที่ว่าด้วยสองแขนที่เปิดกว้าง ผลงานมากกว่า 20 ชิ้นที่เขาสร้างสรรค์นำาเสนออย่างกล้าหาญและมุ่งมั่น เป็นการ ประกอบร่างของความคิด ตัง้ คำาถามขัดแย้ง และแสดงถึงอารมรณ์ขนั สี รูปทรง และสื่ออันล้วนเกี่ยวพันเชื่อมโยงกัน ภัณฑารักษ์ Nirwan Dewanto เข้ามาช่วยสร้างบรรยากาศอันเต็มไปด้วยพลังทางธรรมชาติ ที่มีชีวิตชีวา อัดแน่นไปด้วยองค์ประกอบที่กลมกลืนหากแต่หลาก หลาย ราวกับงานคาร์นิวัลหรืองานเลี้ยงครื้นเครง Eko Nugroho เป็นศิลปินชาวอินโดนีเซียทีเ่ ริม่ ทำางานศิลปะ เติบโต และผลิบานขึน้ ในยุคหลังการปฏิรปู (ยุคหลังประธานาธิปดีซฮู าร์โต ที่อินโดนีเซียเปลีย่ นผ่านจากเผด็จการเข้าสูป่ ระชาธิปไตย) เขาให้ กำาเนิดแนวคิดใหม่ๆ ได้อย่างไม่รจู้ บ ครอบคลุมไปจนถึงการเลือกใช้ สือ่ แหวกขนบ รวมไปถึงการประยุกต์ ใช้ “หมอนอิง” หน้าตาชวนขัน ให้เข้ากับการประท้วงทีม่ จี ดุ มุง่ หมายชัดเจน ทุกอย่างล้วนส่งผลต่อ ความสำาเร็จในระดับสากลที่แข็งแกร่งขึ้นเรื่อยๆ ของเขาผลงาน ส่วนมากของ Nugroho ได้รบั อิทธิพลมาจากวัฒนธรรมต่างๆ และ ชีวติ ของชุมชนทีอ่ ยูร่ ายรอบตัวเขา เช่นเดียวกับการ์ตนู ทีเ่ ขาเลือกใช้ ก็เป็นอีกสือ่ ในการแสดงออกทางความคิด ใน “Landscape Anomaly” เราสามารถมองเห็นร่องรอยของความเห็นอกเห็นใจและความเข้าใจ ของเขาต่อประเด็นทางสังคม ความยุ่งเหยิงทางการเมือง รวมไป ถึงปัญหาเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ปัจจุบันที่เกิดขึ้น ในอินโดนีเซียและทั่วโลก หนึง่ ในงานศิลปะทีว่ พิ ากษ์วจิ ารณ์ถงึ พฤติกรรมร่วมสมัยของมนุษย์ ได้อย่างตรงเป้า คือ “Ancient Series” ทีป่ ระกอบไปด้วยแขนมนุษย์ 4 แขนที่ถูกจัดวางเป็นแนวเรียงบนกำาแพงราวกับถ้วยรางวัลจาก การล่าสัตว์ หนึ่งในสี่แขนถือดาบ ในขณะอีกมือชี้นิ้วทำาท่าทาง สั่งสอน นับเป็นการบรรยายถึง “จิตวิญญาณแห่งยุคสมัย” จาก
He welcomed the challenge with open arms, creating over twenty new works presented boldly and decisively as an array of interconnected ideas, protests, humor, colors, shapes, and mediums. The exhibition curator, Nirwan Dewanto hailed the effervescent nature of the ambiance that is simultaneously harmonious and discordant, as a carnival or a celebration. Eko Nugroho is an Indonesian artist whose artistic history grew and flourished Post-Reformation. His ability to come up with endless outstanding concepts, to his daring use of mediums and ability to apply humorous ‘cushions’ to his sharply-aimed protests has cemented his international career. His works are very much influenced by the cultures and life of the communities around him, as well as comics as a means of expression. In “Landscape Anomaly,” we can trace his sympathetic understanding of the social issues, political turmoil, and economic problems that are relevant to the situation in Indonesia and around the world. One of the artworks that made a clear jab at contemporary behavior is ‘Ancient Series’, comprised of four flexed arms arranged in a row on the wall as though precious hunting trophies. With one of them holding a drawn sword and another one passing judgment, he has described the ‘spirit’ of the era. However, the selfie stick that also appears in this work serves to mirror back our own daily conduct, even when we are online. Other works discuss the issue of change and loss due to power or authority. How an agrarian culture has been eroded by modernization, where farmers can only stare at the empty promises of prosperity on a land they no longer own. Or the pyramid of forty gas cylinders, each
87
Nugroho นอกจากนัน้ ไม้ถา่ ยรูป selfie ทีป่ รากฏให้เห็นในชิน้ งานนี้ ได้ทาำ หน้าทีเ่ ป็นกระจกสะท้อนการปฏิบตั ติ วั ในชีวติ ประจำาวันของเรา แม้ ในยามที่เราอยู่ในโลกออนไลน์ก็ตามงานอื่นๆ ในนิทรรศการ ครัง้ นี้ พูดถึงประเด็นของความเปลีย่ นแปลงและสูญเสียอันเป็นผลพวง มาจากอำานาจหรือผู้ใช้อาำ นาจ ไม่วา่ จะเป็นการเสือ่ มถอยของวัฒนธรรม เกษตรกรรมจากกระแสโลกาภิวัตน์ ทีซ่ ง่ึ ชาวนาทำาได้เพียงจ้องมอง ไปยังคำาสัญญาอันว่างเปล่าของความอุดมสมบูรณ์บนพื้นแผ่นดิน ที่พวกเขาไม่ได้เป็นเจ้าของอีกต่อไป หรืออีกผลงานทีเ่ ป็นถังแก๊ส เรียงรายสูงตระหง่านเป็นพีระมิดทีแ่ ต่ละถังห่อหุ้มเอาไว้ด้วยดวงตา หนึ่งคู่ ก็เป็นตัวแทนแสดงถึงผู้คนจากหลากหลายกลุ่มชาติพันธุ์ ในอินโดนีเซีย โดยทำาหน้าที่เป็นดั่งภาพวาดบุคคลของการผูกขาด พลังงานที่แบ่งชาติพันธุ์อันแตกต่างออกเป็นหลากหลายระดับชัน้ โดยมีพื้นฐานอยู่ที่จาำ นวนเงินในบัญชีธนาคารของแต่ละคน
OTHER WORKS DISCUSS THE ISSUE OF CHANGE AND LOSS DUE TO POWER OR AUTHORITY. HOW AN AGRARIAN CULTURE HAS BEEN ERODED BY MODERNIZATION
donning a pair of eyes representing persons of various ethnic groups in Indonesia, serves as a portrait of the monopoly of energy that has divided ethnicities into different levels, based on the amount of cash in their bank accounts. Not just context, the mural that he made over a fortnight on one part of the gallery’s walls, demonstrates Eko Nugroho’s sensitivity to colors and forms. Hybrid beings—each form brilliantly executed—present the absurd combination of deep sea and outerspace, elaborated with Javanese ‘batik kawung’ or scale-motifs. This landscape completes the “land-bound landscape” that dominates the rest of the exhibition space. In its role as initiator, Salihara did not only provide its gallery space to be transformed but also facilitated the expansion of his artistic reach, through a fashion collaboration. This collaborative project, running alongside the exhibition, is perhaps the first of its extent in Indonesia. Unlike when his painting ‘Republik Tropis’ (2013) was adapted into Louis Vuitton limited edition scarves, this time Eko Nugroho was involved in every stage of the collaboration. His very unique visuals were responded to and further developed by the designer duo, Ari Seputra and Inneke Margarethe from one of Indonesia’s foremost fashion brands, MajorMinor. The collaboration resulted in two fashion collections that are sophisticated, spontaneous, and dynamic, with feminine colors and impressive details.
ไม่เพียงแต่บริบทเท่านัน้ งานจิตรกรรมบนฝาผนังด้านหนึง่ ของแกลเลอรี่ ที่เขาใช้เวลาวาดอยู่ 2 สัปดาห์ ยังได้แสดงถึงความอ่อนไหวของ Nugroho ที่มีต่อสีและรูปทรงได้เป็นอย่างดี ภาพของสิ่งมีชีวิต กลายพันธุ์ถูกรังสรรค์ขึ้นอย่างงดงาม นำาเสนอการผสมผสานอัน น่าขันของกายภาพใต้ทอ้ งทะเลลึกและจักรวาลอันไกลโพ้น เขาเติมแต่ง รายละเอียดอันวิจิตรด้วยเทคนิคแบบชวาที่เรียกว่า batik kawung ให้ผลลัพธ์เป็นลวดลายเกล็ดปลา ผลงานชิน้ ดังกล่าวทำาให้ “ภูมทิ ศั น์ ไร้ทางออกทะเล” ที่กินพื้นที่ส่วนที่เหลือทั้งหมดของตัวนิทรรศการ ครบถ้วนสมบูรณ์ ในที่สุด ในฐานะของผู้ริเริ่มนิทรรศการครั้งนี้ Salihara ไม่เพียงแต่จัดหา พื้นที่ให้ศิลปินเข้ามาแปลงรูปเท่านั้น แต่ยังส่งเสริมการขยายการ ทำางานศิลปะของ Nugroho ไปยังงานทางด้านแฟชั่นอีกด้วย การ 88
EKO NUGROHO IS AN INDONESIAN ARTIST WHOSE ARTISTIC HISTORY GREW AND FLOURISHED POSTREFORMATION
บน ภาพวาดบนฝาผนังในหัวข้อ “LANDSCAPE ANOMALY” ที่ Komunitas Salihara ใน จาการ์ตา TOP MURAL FROM “LANDSCAPE ANOMALY” EKO NUGROHO SOLO EXHIBITION IN KOMUNITAS SALIHARA, JAKARTA
ขวา อินสตอเลชั่นในนิทรรศการ “LANDSCAPE ANOMALY”
ทำางานร่วมกันครั้งนี้ดำาเนินเคียงคู่ไปกับตัวนิทรรศการ และอาจนับ ว่าเป็นการทำางานร่วมกันระหว่างศิลปะและแฟชั่นครั้งแรกของ อินโดนีเซียอีกด้วย แต่ตา่ งจากเมือ่ ตอนทีภ่ าพวาด “Republik Tropis” (2013) ของ Nugroho ถูกนำามาดัดแปลงเป็นผ้าพันคอลาย Limited Edition ของ Louis Vuitton ครั้งนี้ Eko Nughoro ได้เข้าไปมีส่วน ร่วมในทุกขั้นตอนของการทำางาน การสร้างสรรค์ทางทัศนศิลป์อัน เป็นเอกลักษณ์ของเขาได้รับการตอบรับและต่อยอดด้วยฝีมือของ คู่หูนักออกแบบ Ari Seputra และ Inneke Margarethe จาก Major Minor แบรนด์แฟชั่นระดับแนวหน้าของอินโดนีเซีย การร่วมงาน ดังกล่าวให้ผลลัพธ์เป็นแฟชัน่ 2 คอลเล็คชัน่ ทีซ่ บั ซ้อน มีระดับ และ เต็มไปด้วยพลัง ด้วยการใช้สีที่มีความเป็นเฟมินีนและรายละเอียด เชิงช่างอันงดงาม Nugroho เติบโตขึ้นในหมู่บ้านแออัด ติดกับแม่นา้ำ Kali Code ใน Yogyakarta ปัจจุบัน เขายังคงใช้ชีวิตอยู่ในเมือง เพียงแต่ได้หลีก หนีความวุ่นวายในหมู่บ้านออกไปอยู่ในสตูดิโอของเขาที่ตั้งอยู่ริม นาข้าวนอกเมือง Yogyakarta Nugroho ทุ่มเทการทำางานด้วยการ หมกตัวเองอยู่ในกระแสศิลปะโลก เขาจัดงานแสดงนิทรรศการ เดี่ยวในพื้นที่ชั้นนำามาแล้วมากมาย อย่าง Musée d’Art Moderne de la Ville de Paris (2012) และ Singapore Tyler Print Institute (2013) เขายังเป็นหนึ่งในศิลปินที่ได้รับความสนใจมากที่สุดของ Indonesian Pavilion ที่ Venice Biennale ครั้งที่ 55 และเมื่อไม่ นานมานี้ เขาก็เพิ่งจะทำางานจิตรกรรมฝาผนังให้กับ Kunstverein ที่ Frankfurt เพื่อสนับสนุนการเข้าร่วมของอินโดนีเซียในฐานะแขก กิตติมศักดิ์ของงาน Frankfurt Book Fair 2015
Eko Nugroho was raised in a crowded urban village (kampong) along the banks of Kali Code in Yogyakarta. He lives in the city still, though his daily experiences are now far removed from the din and chaos of his kampong. From his studio by a paddy field on the outskirts of Yogyakarta, he has immersed himself in the stream of global art, presenting solo exhibitions at, among others— Musée d’Art Moderne de la Ville de Paris (2012) and Singapore’s Tyler Print Institute (2013). He was one of the highlighted artists at the Indonesian Pavilion of the 55th International Art Exhibition at the Venice Biennale. Recently, he created a mural at Frankfurt’s Kunstverein to support Indonesia’s participation as Guest of Honor at Frankfurt Book Fair 2015.
ekonugroho.or.id
RIGHT INSTALLATION VIEW OF “LANDSCAPE ANOMALY”
89
MEDIA
90
MEDIA
TEXT: REBECCA VICKERS
PHOTO COURTESY OF IWAN BAAN
A FLY ON THE WALL
IWAN BAAN’S PHOTOGRAPHY SAYS NOTHING ABOUT PHOTOGRAPHY TECHNIQUES OR CLICHÉ ARCHITECTURAL COMPOSITIONS, BUT RATHER WHAT HAPPENS IN AND AROUND A SPACE
ภาพถ่ายของช่างภาพชาวดัตช์ Iwan Baan เป็นการใช้สภาวะแวดล้อม ทีถ่ กู สร้างขึน้ รอบตัวเรา บรรยายถึงสถาปัตยกรรมทีด่ มู ชี วี ติ เพราะ เขาตัง้ ใจถ่ายทอดว่าตัวอาคารและเมืองนัน้ ๆ ถูกใช้ประโยชน์อย่างไร มีการเปลีย่ นแปลงไปในทิศทางไหน และถูกท�าให้มีชีวิตขึ้นมาด้วย ผู้คนที่อาศัยในเมืองนั้นผ่านการเล่าเรื่องราวของพวกเขา “ผมมี ประสบการณ์จากการถ่ายภาพสารคดีเป็นส่วนใหญ่ ผมจึงมักเลือก ที่จะน�าเสนอเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสถานที่เหล่านั้น หรือผลกระทบ ทีเ่ กิดขึน้ เมือ่ ตึกหนึง่ ถูกสร้างขึน้ บนพืน้ ทีห่ นึง่ ไม่ใช่แค่เพียงภาพสวยๆ ของตึกทีจ่ ะถูกจับไปวางตรงไหนก็ได้ ผมสนใจเรือ่ งราวของเมืองนัน้ ผูค้ นในเมืองนัน้ ท�าอะไร และเมืองต่างๆ พัฒนาไปยังไง”
I SPENT ABOUT TEN DAYS IN THE CITY, PHOTOGRAPHING WHAT CHICAGO IS THESE DAYS
PHOTO COURTESY OF JONAS ERIKSSON
หนึ่งในเรื่องราวล่าสุดที่ Baan ยกมาเล่านั้นเกิดขึ้นที่เมืองเยคาเทอรินเบิร์ก ประเทศรัสเซีย เมืองที่มีคาแร็คเตอร์เฉพาะตัวด้วย ทิวทัศน์ที่ถูกโอบล้อมด้วยงานสถาปัตยกรรมโบราณที่ดูเหมือนจะ ไม่เปลีย่ นแปลงไปจากยุค 20s และ 30s ทีม่ นั ถูกสร้างขึน้ มาเท่าไรนัก แต่มันกลับถูกมองในมุมใหม่ด้วยรูปแบบและฟังก์ชั่นการใช้งานที่ เปลี่ยนไป ตัวอย่างเช่น อาคารขนาดใหญ่ใจกลางชุมชนที่เคยเป็น อนุสาวรียแ์ ห่งสถาปัตยกรรมส�าคัญแห่งหนึง่ นัน้ Baan ถ่ายทอดมัน ออกมาในฐานะฉากหลังให้กบั ชัน้ เรียนเต้นร�าของเหล่าผูส้ งู อายุ หรือ อาคารกักเก็บน�า้ หลังเก่าซึ่งปัจจุบันถูกทิ้งร้างไปแล้วก็กลายมาเป็น ผืนผ้าใบส�าหรับละเลงงานกราฟิตี้ รวมทั้งเป็นสนามเด็กเล่นให้กับ เด็กๆ “ทุกอย่างยังคงสภาพเดิมเหมือนกับทีม่ นั เคยเป็นมานัน่ แหละ แต่กิจกรรมต่างๆ ที่เกิดขึ้นในยุคสมัยนี้มันแตกต่างไปโดยสิ้นเชิง สถานที่ต่างๆ เหล่านี้มันปรับตัวเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา และ บ่อยครั้งที่ทุกอย่างเปลี่ยนไป และบอกเล่าเรื่องราวใหม่ๆ แต่สถาน ที่หลายต่อหลายแห่งนั้นก็ยังคงมีเรื่องราวด�าเนินต่อเนื่องมาจนถึง ยุคปัจจุบัน”
Dutch photographer Iwan Baan’s images of our built environment picture architecture as far from inanimate entities – calling upon the ways in which buildings and cities are utilized, transformed and ultimately brought to life by inhabitants to allow for their stories to be told. “My background has always been in more documentary photography, so for me it is very important to show what happens in these places, what the consequences of a building being in a specific place are and not just an iconic image of an isolated building that could be anywhere. I am interested in the story of the city, what people do there and how the city around the project evolves.”
แม้ว่ามุมมองของ Baan ต่อผู้คนและสภาพแวดล้อมจะมีน�้าหนัก เทียมเคียงกัน แต่โปรเจ็คต์ล่าสุดของเขา ‘Anonymous Histories’ ที่แสดงในงาน Chicago Architecture Biennial นั้น เขาได้น�าเสนอ ภาพลักษณ์ของเมืองในฐานะผู้เกื้อหนุนชาวเมืองผู้อาศัย “ผมใช้ เวลาประมาณสิบวันในชิคาโกเพือ่ ถ่ายภาพสภาพของเมืองในปัจจุบนั มันมีเขตอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ทางตอนใต้ทมี่ ีโรงกลัน่ ของ British 91
One of Baan’s recent stories told finds setting in Yekaterinburg, Russia a city characterized by its scenery rendered by constructivist heritage, seemingly unchanged in form since the 1920s and 30s but completely reenvisioned in terms of the plots and functions that unfold within. Example being a large community building that was once an important constructivist monument which Baan captures as backdrop to a dance class for senior citizens, or the former water tower which, now completely derelict, serves as a utopian canvas for graffiti and a playground for children. “Everything was just as it was at that time, but the activities happening there are completely different these days. These places evolve over time and, often, things change and are re-enacted. Many of these places still make very much sense in today’s society.” Through Baan’s way of looking that places people and setting on par, his recent ‘Anonymous Histories’ project for the inaugural Chicago Architecture Biennial depicts the city itself as supporting character amongst the living personalities it is inhabited by. “I spent about ten days in the city, photographing what Chicago is these days. There is a large industrial area in the south where British
Petroleum (BP) และโรงงานเหล็กก็ตั้งอยู่ไปทั่ว ในช่วงยุค 20s มี การก่อสร้างหมูบ่ า้ นคนงานขึน้ ตรงนัน้ และก็มผี คู้ นอาศัยอยู่ใจกลาง เขตอุตสาหกรรมเลย ทุกคนต่างก็มสี วนเล็กๆ เป็นของตัวเอง ใช้ชวี ติ ทีแ่ ตกต่างไปจากปัจจุบนั โดยสิน้ เชิง แต่ตอนนี้ อุตสาหกรรมก็ยงั คงอยู่ และเป็นส่วนหนึ่งของทุกเมือง กลมกลืนเป็นฉากหลังของวิถีชีวิต ในเมือง โดยเราจะเห็นผู้คนเดินไปมาระหว่างอนุสรณ์สถานแห่ง อุตสาหกรรมเหล่านี้ “สิง่ ทีผ่ มสนใจจริงจังในโมเดลการน�าเสนอแบบนีก้ ค็ อื คุณไม่สามารถ วางแผนอะไรได้เลย คุณเพียงแค่ทา� หน้าทีจ่ บั ช่วงเวลาต่างๆ เหล่านัน้ รวมไปถึงวิธีการที่ทุกคนพยายามที่จะท�าให้สภาพแวดล้อมรอบตัว ดีขึ้น หรือพยายามสร้างอะไรพิเศษๆ ขึ้นมา โดยคุณจะเห็นได้จาก การที่ผู้คนพยายามสร้างตึกเพราะความจ�าเป็น การเข้าใจภาพรวม และเข้าใจสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นบนโลกในยุคปัจจุบันถือเป็นส่วนส�าคัญ ในงานของผม และมันช่วยน�าเรากลับไปสูโ่ ลกของความเป็นจริงหลัง จากที่เรามักจะมองอะไรแบบฉาบฉวยมาโดยตลอด คุณจะสามารถ ท�าอะไรต่อมิอะไรทีย่ งิ่ ใหญ่ได้จากมุมมองเล็กๆ เท่านัน้ ผมพยายาม ท�าตัวเหมือนแมลงวันบนก�าแพง เกาะอยูน่ งิ่ ๆ สักสองสามวัน เฝ้ามอง ว่าจะเกิดอะไรขึน้ เมือ่ ทุกคนลืมไปแล้วว่าผมเกาะอยูต่ รงนัน้ มันเป็น ช่วงเวลาที่เกิดอะไรต่อมิอะไรขึ้น และคุณก็จะสามารถบันทึกถึง สิ่งที่เกิดขึ้นจริงๆ ณ ตรงนั้นได้”
บน ชั้นเรียนเต้นรำ�ของเหล่�ผู้สูง อ�ยุที่เมืองเยค�เทอรินเบิร์ก ประเทศรัสเซีย TOP A SENIORS’ DANCE CLASS BEING HELD IN A COMMUNITY BUILDING IN YEKATERINBURG, RUSSIA
ขวา Baan ถ่�ยทอดอ�ค�รบ้�น เรือนแนว Constructivist ออกม�ในคว�มหม�ยใหม่ ต�มหน้�ที่ก�รใช้ง�นของ มันในปัจจุบัน RIGHT BAAN CAPTURES YEKATERINBURG RUSSIA’S CONSTRUCTIVIST HERITAGE AS IT IS RE-ENVISIONED BY THE EVOLUTION OF ITS STRUCTURE’S FUNCTIONS
Petroleum (BP) has refineries and all the steel mills are around. In the 1920’s, a workers’ village was established there where people live in the midst of this incredible industrial area. People have their small gardens and a whole different life, but industry is still connected there and going through every part of the city as a kind of everyday background for city life, people having their morning walks between these industrial monuments.” These moments caught within and between functioning as the source of dialogue upon which the story of a place relies. “What interests me really is all these models that you can’t really plan for, capturing these moments and how people basically try to improve their living environment and make something special; you see that from the starchitects to people who are building things out of pure necessity. To see that whole scope and what is happening in the world today is a big part of my work and it also brings us back to reality after often seeing all the sort of star-struck things, how you can do things with totally minimal things. I try to be really a fly on a wall, just being present there for a couple of days and seeing what happens when people sort of don’t see you anymore - that is when things start to happen and you can really document what is happening in a place.”
iwan.com
92
93
TEXT: PIYAPONG BHUMICHITRA PAPHOP KERDSUP
PHOTO COURTESY OF THE PUBLISHERS
LOG/OUT MAGAZINE VER.1.0 Mitsuhiro Sakakibara / RAD RAD (Research for Architectural Domain), 2015 Booklets, 61 Pages, Dimensions Variables ISBN 978-4-90827-901-0
HOW TO
Thames and Hudson Ltd Hardcover, 320 Pages 26.4x3.5x25.9 cm ISBN 978-0-50051-826-7
Michael Bierut เขียนค�าอุทศิ หนังสือเล่มนี้ให้กบั Massimo Vignelli (1931-2014) และ William Drenttel (1953-2013) คนแรกคือเจ้านายทีส่ อนให้เขาเป็นนักออกแบบเต็มตัว ส่วน คนทีส่ องคือเพือ่ นร่วมอาชีพที่ สอนให้เขารูว้ า่ อาชีพนักออกแบบท�าให้โลกนีด้ ขี น้ึ ได้อย่างไร้ขอ้ จ�ากัด How to เป็นหนังสือเล่มทีส่ องต่อจาก Seventy-nine Short Essays on Design (2007) และถือเป็นโมโนกราฟ เล่มแรกของ Bierut เอง ผูเ้ ป็นพาร์ทเนอร์ของส�านักงานออกแบบ Pentagram สาขานิวยอร์ก นักออกแบบ กราฟิก อาจารย์ นักเขียนและบรรณาธิการทีม่ ผี ลงานต่อเนือ่ งมานานกว่า 35 ปี เนือ้ หาในเล่มน�าเสนอผลงาน ทีผ่ า่ นมาทัง้ หมดของเขา 35 โปรเจ็คต์ ในชือ่ เรือ่ งทีต่ ง้ั ขึน้ มาเป็นหัวข้อฮาวทูทต่ี า่ งกัน แต่สอดคล้องกับลักษณะ เฉพาะของลูกค้าหรือลักษณะเฉพาะของการท�างานในแต่ละโปรเจ็คต์ เช่น วิธกี ารเป็นกราฟิกดีไซเนอร์ทเ่ี ริม่ จากไหนก็ไม่รู้ (บทน�า) วิธีการคิดด้วยมือ (สเก็ตช์งานบนสมุดมา 40 ปี) วิธีสร้างอัตลักษณ์ โดยไม่ต้องใช้ โลโก้ (Brooklyn Academy of Music) วิธอี อกแบบโลโก้ 24 ชิน้ ในครัง้ เดียว (MIT Media Lab) วิธจี ดั กระเป๋า เวลาต้องนัง่ เครือ่ งบินนานๆ (United Airlines) วิธหี บุ ปากและฟัง (New World Symphony) ฮาวทูแต่ละเรื่องบรรยายถึงเรื่องที่เกี่ยวข้องกับโปรเจ็คต์นั้นๆ ตั้งแต่เริ่มต้นรับบรีฟ ความสัมพันธ์กับลูกค้า วิธีคิดงาน การน�าเสนองานจนออกมาเป็นงานสุดท้ายที่ออกสู่สาธารณะ มีทั้งข้อเขียน ภาพสเก็ตช์ลายเส้น ภาพถ่ายขั้นตอนการน�าเสนอผลงาน จนถึงภาพงานที่เสร็จสมบูรณ์แล้วในน้�าเสียงแบบ Bierut ทั้งงานโลโก้ โปสเตอร์ หนังสือ สิง่ พิมพ์ บรรจุภณั ฑ์ ระบบป้ายน�าทาง หรืออาจเรียกว่าแทบจะทุกแขนงของสิง่ ทีเ่ รียกว่า งานออกแบบกราฟิกอย่างทีเ่ ขียนอยูบ่ นหน้าปกนัน้ เลย Michael Bierut wrote the acknowledgement of this book for Massimo Vignelli (19312014) and William Drenttel (1953-2013). The first was Bierut’s boss and mentor who taught him to be a true designer; the latter was a fellow designer who taught him the unbounded ability of design that could change the world. How to is the continuum of Seventy-nine Short Essays on Design (2007) and the first official monograph of Bierut himself. With his roles as a partner of Pentagram New York, a graphic designer, a professor, a writer and an editor, the 35 years of his career are represented through 35 of Bierut’s most notable projects. Named in different how to methods, each project illustrates the specific nature of the client and the work itself. The chapters range from how to be a graphic designer in the middle of nowhere (Introduction) and how to think with your hands (40 years of hand drawing on notebooks), how to create identity without a logo (Brooklyn Academy of Music), how to design 24 logos all at once (MIT Media Lab), how to pack for a long flight (United Airlines) and how to shut up and listen (New World Symphony). Each how to provides a description and process of that particular project from briefing and maintaining relationships with the customer to the creative and design process, presentation and ultimately the finished work that later becomes widely recognized. The book features essays, sketches, photographs of the presentation and the final works in Bierut’s mood and tone, encompassing projects in almost every form of graphic design be they logo, poster, book, publication, packaging, signage, and so on. It’s literally everything you see written on the cover. We’re guessing that in this case, we CAN judge the book by its cover.
thamesandhudson.com
ในขณะทีแ่ วดวงนิตยสารและสือ่ สิง่ พิมพ์ในปัจจุบนั ต่างได้รบั ผลกระทบจากความเฟื่องฟูสง่ิ พิมพ์ดจิ ติ อล จนต้อง ปรับเปลีย่ นแนวทางและกลยุทธ์กนั ยกใหญ่ กลุม่ สถาปนิกจากเกียวโตในนาม RAD (Research for Architectural Domain) กลับเลือกทีจ่ ะสวนกระแสด้วยการจัดตัง้ แพลตฟอร์มทางสถาปัตยกรรมของตัวเองขึน้ มา พร้อมกับ ปล่อย LOG/OUT นิตยสารชุดแรกทีม่ งุ่ หวังจะสร้างพืน้ ที่ในการเผยแพร่องค์ความรูท้ างสถาปัตยกรรมทีห่ ลุดออก ไปจากกรอบและระบบ อย่างทีส่ อ่ื เดิมๆ ของญีป่ นุ่ เคยท�ามา งานนี้ RAD เลือกเปิดด้วยการน�าเนือ้ หาจากนิตยสาร ซึง่ มักจะน�าเสนอประเด็นแปลกๆ น่าสนใจทางสถาปัตยกรรมอย่าง Volume 10 ฉบับแรก มาแปลและเรียบเรียง ใหม่เป็นภาษาญีป่ นุ่ พร้อมกับแอบใส่ความคิดเห็นทีม่ ตี อ่ เนือ้ หานัน้ ๆ ไว้ในส่วนของ translator’s comments สิง่ ที่ LOG/OUT ท�าได้ดีในการน�าเสนอ นอกเหนือจากการจัดวางกราฟิกและรูปแบบของเนือ้ หาใหม่ให้ออกมา ในรูปแบบของ zine ซึง่ มีความแตกต่างกันทัง้ ในเชิงโครงสร้างของเลย์เอาท์และวัสดุท่ใี ช้พมิ พ์แล้ว คือความน่าสนใจ ของเนือ้ หาทีถ่ กู คัดเลือกมาจากนิตยสารต้นทาง ซึง่ ประเด็นหลักๆ จะมุง่ ไปทีก่ ารวิพากษ์สงั คม การเมือง และ ตัวสถาปัตยกรรมเอง ตัง้ แต่จดุ ยืนของ Volume ในฉบับที่ 1 (Beyond) ทีต่ อ้ งการบอกเป็นนัยว่า สถาปัตยกรรม ไม่ได้เป็นเพียงแค่ตกึ รามบ้านช่อง การพูดถึงอิทธิพลของพลังทางสถาปัตยกรรมทีม่ ตี อ่ สังคมในฉบับที่ 5-7 (The Architecture of Power) ไปจนถึงผลกระทบของการแทรกแซงในมิตติ า่ งๆ ทางการเมืองและสังคม ซึง่ ส่งผลต่อสถาปัตยกรรมในฉบับที่ 10 (Agitation) พร้อมกันนัน้ LOG/OUT ยังย้อนกลับมาถามเราให้ได้ คิดต่อเกีย่ วกับพืน้ ทีท่ างสถาปัตยกรรมอีกด้วยว่า ‘สถาปนิกและสถาปัตยกรรม ควรจะเป็นอย่างไรภายใต้ สถานการณ์ทางสังคม การเมือง เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมในปัจจุบนั ’ As magazines and printed media struggle to survive the Digital Revolution with new business directions and strategies, a group of Tokyo-based architects under the name of RAD (Research for Architectural Domain) goes the opposite way with their own architectural platform and the release of LOG/OUT. The first series of the magazine strives to expand the landscape of architectural academia in an unconventional approach and manner. RAD makes its debut with the content from the first ten issues of Volume where they translate interesting, cutting-edge subject matter into Japanese language with their own points of view featured in the translator’s comments. What LOG/OUT does pretty well, presentation-wise, is the way it executes the layout of the graphic work and the content in the zine format. Not only is LOG/OUT able to differentiate itself structurally with the layout and printing material, its content (selected from the original magazines) also excels in terms of its attempt to critique social and political issues along with the existence of architecture. RAD’s picks range from the philosophy professed in the first issue of Volume (Beyond), which implicates the role of architecture in a larger sense than being just a building or a house, or the discussion on the power of architecture on society in the 5th-7th issues (The Architecture of Power), to the influences of political and social interventions in different dimensions on architecture in the 10th issue (Agitation). At the very same time, LOG/OUT challenges readers by asking them to contemplate the role of the “architect and architecture under the current social, political, economic and cultural environment.”
logoutproject.tumblr.com
TEXT & PHOTO: WEE VIRAPORN
BLACKSTAR (Blackstar) คืออัลบัม้ สุดท้ายของ David Bowie ศิลปินผูเ้ ปลีย่ นแปลงภาพลักษณ์และแนวดนตรีอย่าง ต่อเนือ่ งมาเกือบตลอด 50 ปี ก่อนทีเ่ ขาจะเสียชีวติ หลังจากออกอัลบ้มั นีเ้ พียง 2 วัน ในวันที่ 10 มกราคม ทีผ่ า่ นมา ส�าหรับศิลปินเพลงทีม่ เี ส้นทางอาชีพยาวนานและหลากหลายขนาดนี้ ไม่ใช่เรือ่ งแปลกทีเ่ ขาจะเปลีย่ นตัวนักดนตรี และเปลีย่ นนักออกแบบในการท�าปกอัลบัม้ แต่ละครัง้ แต่ Bowie กลับเลือกทีจ่ ะร่วมงานกับ Jonathan Barnbrook กราฟิกดีไซเนอร์ชาวอังกฤษผูม้ ชี อ่ื เสียงในการสร้างงานออกแบบสือ่ สารทีก่ ล่าวถึงประเด็นทางสังคมได้อย่าง ลึกซึง้ ต่อเนือ่ งมาถึง 4 อัลบัม้ (กับอีก 1 รวมฮิต) ถ้าไม่รวมอัลบัม้ รวมเพลง Nothing Has Changed ทีอ่ อกมาในปี 2014 งานออกแบบปกอัลบัม้ ของ Bowie โดย Barnbrook ตัง้ แต่ปี 2002 จนถึง 2016 มีความต่อเนือ่ งกันอย่างหนึง่ คือ การลดความส�าคัญของ David Bowie ลงเรือ่ ยๆ เริม่ ตัง้ แต่ภาพปกของ Heathen (2002) ทีเ่ ป็นใบหน้าของ Bowie ถูกพาดทับด้วยตัวอักษรกลับหัว ส่วนภาพประกอบที่ใช้ใน sleeve เต็มไปด้วยการท�าลาย/ล่วงละเมิดคุณค่าและความศักดิส์ ทิ ธิข์ องงานศิลปะ สอดคล้องกับชือ่ อัลบัม้ ทีห่ มายถึงคนไม่นบั ถือศาสนา ส่วนบนหน้าปกของ Reality (2003) มีภาพวาดของ Bowie โดยศิลปิน Rex Ray ในรูปแบบทีบ่ างคนอาจไม่รวู้ า่ เป็นเขา อยูร่ ว่ มกับตัวอักษรและองค์ประกอบอารมณ์ดบิ ๆ สอดคล้องกับแนวเพลง ในขณะทีภ่ าพถ่ายของ Bowie ในชุดเดียวกัน ท่ายืนเดียวกัน ถูกซ่อนอยูด่ า้ นใน ปกของอัลบัม้ The Next Day (2013) เป็นการวางกรอบสีเ่ หลีย่ มสีขาวทับปกอัลบัม้ “Heroes” (1977) ซึง่ เป็น หนึง่ ในอัลบัม้ ทีด่ ที ส่ี ดุ และเป็นหนึง่ ในภาพปกทีถ่ กู จดจ�าได้มากทีส่ ดุ ของ Bowie เหมือนเป็นการประกาศตนว่า จะละทิง้ อดีตอย่างไม่ใยดีเพือ่ ก้าวไปข้างหน้ากับความเป็นไปได้ใหม่ๆ และก็มาถึงอัลบัม้ สุดท้ายของเขา หน้าปก ของ Blackstar (2016) มีเพียงสัญลักษณ์ดาวสีดา� บนพืน้ สีขาวส�าหรับ CD ส่วนปกไวนิลเป็นพืน้ สีดา� ที่ไดคัท เป็นรูปดาวให้เห็นตัวแผ่นเสียง ด้านล่างมีกลุม่ รูปร่างเรขาคณิตทีเ่ มือ่ ตัง้ ใจมองสักพักจะเข้าใจว่ามันคือ logotype ค�าว่า BOWIE ความนิง่ และน้อยเหล่านีส้ อดคล้องกับเนือ้ หาของเพลงทีเ่ กีย่ วข้องกับการเผชิญหน้ากับความตาย ความสัมพันธ์ระหว่างกราฟิกดีไซเนอร์กบั ศิลปินเพลงทีท่ า� งานร่วมกันอย่างต่อเนือ่ งมีให้เห็นอยูห่ ลายคู่ เช่น New Order กับ Peter Saville, Pet Shop Boys กับ Mark Farrow หรือแม้แต่ Storm Thorgerson กับ Pink Floyd แต่ปกติแล้วนักออกแบบเหล่านัน้ จะมีชอ่ื เสียงจากการท�างานให้ศลิ ปินรายอืน่ ด้วย ความพิเศษของการจับคู่ ระหว่าง Bowie กับ Barnbrook คือ ฝั่งนักออกแบบไม่ใช่คนทีป่ กติจะท�างานให้วงการเพลง ทัง้ สองคนได้รว่ ม งานกันเพราะงานออกแบบหนังสือที่ Barnbrook ท�าให้ Damien Hirst ไปเข้าตา Bowie และ Iman ภรรยาของเขา หลังจากได้ออกแบบหนังสือให้ Iman แล้วจึงมาออกแบบปกอัลบัมให้ Bowie อาจเพราะจุดเริม่ ต้นของการ ร่วมงานกันจากหนังสือทีท่ า� ให้ในแต่ละอัลบัม้ มีการให้ความส�าคัญกับตัวอักษรมากเป็นพิเศษ ในทุกอัลบัม้ Barnbrook จะใช้ฟอนท์ของเขาเอง บางครัง้ เป็นฟอนท์ ใหม่ทย่ี งั ไม่เคยใช้มาก่อนด้วย เมือ่ คุณต้องออกแบบปกอัลบัม้ ให้กบั ศิลปินทีม่ บี คุ ลิกเป็นเอกลักษณ์ และมีภาพลักษณ์ทน่ี า่ สนใจทีส่ ดุ คนหนึง่ วิธที า� งานทีง่ า่ ยทีส่ ดุ และขายของมากทีส่ ดุ คือการลงภาพศิลปินให้ใหญ่เข้าไว้ แต่ Barnbrook และ Bowie เลือกทางทีท่ า้ ทายกว่า โดยลดความส�าคัญของตัวบุคคลมาใช้การแสดงออกด้วยภาพ ตัวอักษร และสัญลักษณ์ ให้สอดคล้องกับแนวความคิดหลักในแต่ละอัลบัม้ ไม่วา่ ความต่อเนือ่ งทีเ่ ราสังเกตเห็นนีจ้ ะเกิดขึน้ โดยเจตนาหรือไม่ เรายังเชือ่ ว่าสิง่ ที่ได้เรียนรูจ้ ากผลงานเหล่านี้ คือ แนวความคิดของการเป็นอะไรก็ได้ทอ่ี ยากเป็นและการทดลองน�าเสนอสิง่ ใหม่ๆ อยูเ่ สมอ ส�าคัญกว่าตัวบุคคล แม้วา่ ตัวบุคคลนัน้ จะเป็นคนส�าคัญอย่าง David Bowie
(Blackstar) is the name of the last album by the recently passed David Bowie. The legendary artist went through such a continual and artistically inspiring transformation in terms of both his image and music throughout the 50 years of his career before leaving the world only two days after the album was released on 10 January 2016. For an artist whose career was as long and creatively diverse as his, selecting a new designer to design every new album’s cover could be the way to go. Instead, Bowie chose Jonathan Barnbrook to serve as his collaborator over the last 15 years. The prominent graphic designer is reputable for his repertoire of communication design works and their profound social references. The two worked together on four of Bowie’s albums (plus one compilation album). With the exception of Nothing Has Changed, the compilation album released in 2014, the Barnbrook’ designs of cover art for Bowie’s albums from 2002 to 2016 seem to share a certain continuity, and that is the minimization of Bowie’s own presence. Such tendency begins with Heathen (2002) where the cover features Bowie’s face and the word ‘heathen’ written upside down. The illustration for the sleeve is full of the destruction/ violation of sacredness and the value of art, which seems to be unanimous with the album’s name. For Reality (2003), the cover features Bowie’s unfamiliar visual depiction as envisioned by artist Rex Ray. The illustration is accompanied by a typeface and other compositions, collectively expressing a sense of rawness just like one can find in his music with a photograph of Bowie in the same attire and posture hidden inside. For ‘The Next Day’ (2013), Barnbrook puts a white frame on the cover of ‘Hero’ (1977), one of Bowie’s greatest albums with one of the most memorable works of cover art. It’s the manifestation of Bowie leaving his past behind and moving on to the future and new possibilities. With his last album, ‘Blackstar’ (2016), we see only a black star with white background for the CD cover. As for the vinyl edition, the design cuts a star out of the black sleeve so that the record inside is visible. At the bottom, a cluster of geometric forms was placed and, after an attentive stare, we become more aware that it is actually the logotype of the name BOWIE. The tranquility and simplicity perfectly encapsulate the album’s lyrical narrative about the confrontation with death. We’ve seen some amazing relationships and collaborations between graphic designers and musicians, be they New Order and Peter Saville, the Pet Shop Boys and Mark Farrow or Storm Thorgerson and Pink Floyd. However, while these designers are known for their works with several other artists, Barnbrook’s creative contribution to the music industry is much less often. Maybe that is one of the reasons why Bowie and Barnbrook’s collaborations are so special. The two were introduced after the design Barnbrook did for Damien Hirst’s book caught the eye of Iman, Bowie’s wife. Barnbrook was later asked to design Iman’s book before he began working with Bowie on their first collaboration. Perhaps the fact that the singer knew of the designer’s works from the books he designed is explanation for the specially significant presence of typefaces in every work of cover art they realized together, where Barnbrook would use his own fonts, and sometimes a brand new one that hadn’t been used anywhere previously, for Bowie’s album covers. To design album covers for the artist with one of the most unique and original styles and images in the history of music, the easiest and most marketable approach would be to make the best use out of his mesmerizing persona. But Barnbrook and Bowie chose to walk upon a more challenging path. They intentionally lessened the presence of the singer while incorporating the use of visuals, typefaces and symbols to connote the lyrical essence of each album. Whether such continuity is intentional or not, what we are able to learn from these great works is that being whatever you want to be and having the courage to restlessly experiment and contribute something new is more important than the presentation of one’s individuality. Even if that individual is David Bowie…
davidbowie.com
95