No.236 50 BAHT www.art4d.com
SUBSCRIPTIONS art4d subscriptions Corporation4d Limited 81 Sukhumvit 26 Bangkok 10110 Thailand mail@art4d.com T +662 260 2606-8 F +662 260 2609
NO.236 MAY 2016
art4d is published 11 times a year by Corporation 4d Ltd. 81 Sukhumvit 26 Bangkok 10110 T +662 260 2606-8 F +662 260 2609 art4d.com mail@art4d.com ISSN 0859 -161X
Editor in Chief
Pratarn Teeratada
Editors
Narong Othavorn Piyapong Bhumichitra Tunyaporn Hongtong
English Editor
Rebecca Vickers
Editorial Manager
Sudaporn Jiranukornsakul
Contributing Editors Worarat Patumnakul Napat Charitbutra Paphop Kerdsup
Photographer
Ketsiree Wongwan
Graphic Designers art4d 236_cover_final.pdf
1
5/3/16
10:46 AM
No.236 50 BAHT
Wilapa Kasviset Wasawat Dechapirom Vanicha Srathongoil
www.art4d.com
Advertising Manager Areewan Suwanmanee
Advertising Executives Paveena Traikomon Jetarin Puttharaksa Napharat Petchnoi
Production Coordinator Poorinun Peerasunun
Contributors
Photography by
Rafael Gamo
Kanokwan Trakulyingcharoen Kawin Rongkunpirom Li-Chuan Chiang Nanthana Boonla-Or Pakpoom Lamoonpan Pracha Suveeranont Tanakanya Changchaitum Wee Viraporn
Special Thanks:
Akaradej Pantisoontorn ALLSENSE SCENT LAB Antalis Arthur Chin BANGKOK CITYCITY GALLERY BOY Bubble Baby Bed CG: CDO Decha Archjananun Delft University of Technology DM HOME Ekaphop Duangkaew (EKAR) Foreign Policy Design Group Herzog & de Meuron Imabari Towel Branding ING Group JA (The Japan Architects) Jamy Yang JARUMAS Jasper Morrison Jessica Walsh Jim Thomson Art Center JONATHAN ADLER THAILAND Katamama Hotel Kenneth Cobonpue Kinokuniya Thailand Korakrit Arunanondchai Kun Decorate Lars M端ller Publishers Libreria Magno Maison&Objet Asia (M&O ASIA) Microsoft Modernform Nor Aini Shariff NUNO PARCO ART MUSEUM Piyaluk Benjadol Reiko Sudo Rembrandt House Museum SCG POWER HOUSE CENTER Seenspace Hua-Hin SelgasCano SHERA Singgih S. Kartono Speed Art Museum
Stu /D /O Architects Supermama Teera-mongkol Industry CO.,LTD. The Mauritshuis The Uni_form Studio THINGG THINKK Studio Timothy Goodman TNOP DESIGN Uttaporn Nimmalaikaew Vitra Design Museum wHY Architecture Yah-Leng Yu Yang House ystudio Zaha Hadid Architects
Publishing
Print / Plate SUPERPIXEL
Distribution
Ngandee Co., Ltd. (Matichon Group) T (662) 2580 0020 F (662) 2579 7183
Published by
Corporation4d Limited. Copyright 2016 No responsibility can be accepted for unsolicited manuscripts or photographs.
TEXT: KANOKWAN TRAKULYINGCHAROEN
ARCHITECTURE
WHEN IS ART (MUSEUM)?
THE ECONOMICS OF FREE TIME HAS CREATED A PLACE FOR ART MUSEUMGOERS, AND THERE ARE MANY WAYS FOR AN ART MUSEUM TO SPEAK WITH PEOPLE
44
ARCHITECTURE สำ�หรับพิพิธภัณฑ์ทุกรูปแบบ ยุคนี้คือ “ยุคเศรษฐศ�สตร์ของเวล�ว่�ง” ที่ ธุรกิจแต่ละกลุ่มต่�งพย�ย�มแย่งชิงเวล�อันแสนมีค�่ ของเร�ในวันหยุด สุดสัปด�ห์ โดยทั่วไปแล้ว คนวัยทำ�ง�นมีวันหยุดสุดสัปด�ห์ประม�ณหนึ่ง วันครึ่งถึงสองวันต่อสัปด�ห์ และพวกเข�ก็มักมีสิทธิ์เลือกทำ�อะไรก็ได้ที่ เข�อย�กทำ� แต่เข�มีท�งเลือกอะไรจริงๆ หลงเหลืออยู่บ้�งสำ�หรับเส�ร์ อ�ทิตย์กัน? ... ง�นบ้�น จ่�ยตล�ด ช้อปปิ้ง กินข้�ว ดูหนัง เดินเล่นในสวน ส�ธ�รณะ ฯลฯ เมื่อกลุ่มเป้�หม�ยคือฝูงชน ข้อเสนอที่ผลิตเพื่อคนหมู่ม�ก จึงเกิดขึ้น และเบื้องหลังตัวเลือกแต่ละตัวต่�งก็มีทั้งกลไกอุตส�หกรรมที่มี
PHOTO: RAFAEL GAMO COURTESY OF WHY/SPEED ART MUSEUM
For museums of all shapes and forms, this is the time of the ‘economy of time killing.’ Each industry and business fights for the valuable free time that we spend on our weekends. In general, everyone is entitled to do whatever they want and our choices for how to spend that time may range from running errands and cleaning the house to grocery shopping, going to a mall, dining out, going to a movie, walking in a park and so on. With the mass as the target group, different objectives are made to attract the interest of the collective crowd. Behind the variety of choices
45
มูลค่�ท�งเศรษฐกิจทำ�ง�นอย่�งไม่หยุดซ่อนอยู่ และหนึ่งในส�รพัด คว�มเป็นไปได้ของคนเร�ในก�ร “ใช้เวล�ว่�ง” ก็คือก�รเดินดูง�น จัดแสดงในพิพิธภัณฑ์ Speed Art Museum ใน Louisville ผลง�นล่�สุดของ กุลภัทร ยันตรศ�สตร์ จ�ก wHY Architecture และ KNBA บอกเร�ได้ดีถึง ก�รดิ้นรน ก�รสร้�งคว�มเปลีย่ นแปลง และกลวิธใี นก�รสร้�งคว�ม ลืน่ ไหลของกิจกรรมและก�รสัญจรของผูค้ นในท้องถิน่ ของพิพธิ ภัณฑ์ ภ�ยในกรอบของ “เศรษฐศ�สตร์ของเวล�ว่�ง” หลังจ�กชนะก�ร ประกวดแบบในรอบสุดท้�ยที่มี Bernard Tschumi, Bjarke Ingels Group (BIG), Gluckman Mayner, Henning Larsen, SANAA, Snøhetta และ Studio Gang แล้ว กุลภัทรใช้เวล�อีกกว่� 7 ปีท�ำ ให้ โปรเจ็คต์นี้เป็นจริงขึ้นม� โดยล้อรับกันกับวิสัยทัศน์ก�รบริห�ร พิพธิ ภัณฑ์แบบสวนกระแสของ CEO ของ Speed Art Museum อย่�ง Ghislain d’Humières กุลภัทรเคยให้สัมภ�ษณ์ใน AD Interview ไว้ครั้งหนึ่ง ถึงแนวคิด เกีย่ วกับ ‘architecture as an interface of communication’ ใน ครัง้ นัน้ เข�พูดถึงเรือ่ งบทบ�ทของสถ�ปัตยกรรม ทีเ่ ป็นเหมือนก�ร สร้�งสถ�นทีใ่ ห้คนได้ม�พบปะสังสรรค์กนั ฟังดูผ�่ นๆ ไปแบบเร็วๆ ต�มจังหวะชีวติ ของคนรุน่ YouTuber มันก็อ�จเหมือนว่�ไม่มอี ะไรใหม่ แต่โครงก�รนีท้ �ำ ให้เห็นถึงกระบวนก�รของก�รใช้ภ�ษ�ท�งสถ�ปัตยกรรมแบบเรียบๆ ม�เป็นเครือ่ งมือในก�รสร้�งอุปกรณ์ (device) ซึง่ เป็นกลไกที่จะม�ช่วยให้แนวคิดเชิงน�มธรรมอย่�ง ‘Acupuncture Architecture’ ได้รบั ก�รถ่�ยทอดออกม�อย่�งเป็นรูปธรรม
THE CONCEPT OF ARCHITECTURE IS SEEN AS AN INTERFACE OF COMMUNICATION ล่าง แผ่นเหล็กรีดลอนถูกใช้เป็น วัสดุหลักที่บริเวณส่วนบน ของอ�ค�ร BELOW THE CORRUGATED METAL PANELS ARE USED AS THE MAIN MATERIAL FOR THE UPPER PART OF THE BUILDING
ขวา สถ�ปนิกเลือกใช้กระจก พิมพ์ล�ย (fritted glass) เพื่อสร้�งให้เกิดมุมมองที่ น่�สนใจเมื่อเคลื่อนที่ RIGHT THE ARCHITECT USES FRITTED GLASS IN ORDER TO CREATE INTERESTING, DYNAMIC SCENERY WHEN MOVING
46
lies the industry’s mechanism of high economic value that never ceases to operate and one of the many possibilities for how people spend their ‘free time’ is visiting museums. The Speed Art Museum in Louisville, Kulapat Yantrasast’s latest project, is an interesting depiction of struggle and an attempt to create change and utilize methods to facilitate the flow of activities and circulation in a museum within the frame of the ‘economy of free time.’ After being shortlisted amongst competitors of the design competition with big names such as Bernard Tschumi, Bjarke Ingels Group (BIG), Gluckman Mayner, Henning Larsen, SANAA, Snøhetta and Studio Gang being amongst the crowd, Yantrasast from wHY Architecture and KNBA spent over seven years materializing the project whose program and design mimic the vision of Speed Art Museum’s CEO, Ghislain d’Humières and his unorthodox management. Yantrasast once described in AD Interview that the concept of architecture is seen as an interface of communication. He discussed the role of architecture as a facilitation of space where people meet and interact. This may seem to be nothing new, but this project unfolds how the process in which simple architectural language is used to create a device does help transform the abstract concept of ‘Acupuncture Architecture’ TM into a concrete end result.
47
48
EVERY ELEMENT CONTRIBUTES TO THE PROGRAM’S EXPANSIVE NETWORK THAT OPENS ITSELF UP TO THE OUTSIDE WORLD ซ้าย ห้องโถงซึ่งมีคว�มโปร่งโล่ง ของสเปซเป็นพื้นที่จัดแสดง ผลง�น ‘Kentucky Sunlight’ ของ Spencer Finch LEFT THE SPACIOUS ATRIUM FEATURES SPENCER FINCH’S ‘KENTUCKY SUNLIGHT’
ล่าง พื้นที่ส่วนจัดแสดงศิลปะร่วม สมัยภ�ยในพิพิธภัณฑ์ BELOW THE NEW CONTEMPORARY ART SPACE IN THE MUSEUM
จริงๆ แล้ว เร�ต่�งก็มีท�งเลือกอีกม�กม�ยหล�ยท�งในก�รเลือก ใช้รูปแบบภ�ษ�ท�งสถ�ปัตยกรรม เพื่อสร้�ง interface of communication สำ�หรับพืน้ ทีก่ จิ กรรมท�งด้�นศิลปวัฒนธรรมในลักษณะนี้ แต่นั่นก็เป็นเรื่องที่คงถกกันไปได้ไม่สิ้นสุด ซึ่งก็หวังว่� วันหนึ่งเร� อ�จจะได้มโี อก�สหยุดอภิปร�ยเรือ่ งนีก้ นั จริงๆ จังๆ กันสักครัง้ หนึง่ ในรอบนี้ สิง่ ทีเ่ ร�อย�กจะหยิบม�คุยกันเสียหน่อยก็คอื ก�รออกแบบ กลวิธีของสถ�ปนิก เพื่อสร้�งจุดร่วม (common ground) ที่จะก่อ ให้เกิดบทสนทน�ระหว่�ง ผู้ใช้อ�ค�รกับผู้ใช้อ�ค�ร และผู้ใช้อ�ค�ร กับที่ว่�ง อย่�งเป็นรูปธรรม ภ�ยใต้กรอบก�รใช้ภ�ษ�สถ�ปัตยกรรมรูปแบบหนึ่งๆ ต่�งห�ก คีย์เวิร์ดในก�รออกแบบอย่�ง ก�รกระจ�ยพื้นที่บริก�ร (decentralization of service spaces) เช่นทีป่ ร�กฏออกม�เป็นร้�นก�แฟ ส�ม�รถดึงคนทีไ่ ม่คดิ จะเข้�พิพธิ ภัณฑ์ให้เข้�ม�ใช้บริก�รได้ คว�ม ต่อเนือ่ งลืน่ ไหลของทีว่ �่ งและกิจกรรมต่�งๆ ในพืน้ ทีโ่ ครงก�ร ระหว่�ง อ�ค�รเก่�ทีก่ อ่ สร้�งในปี 1927 กับส่วนที่ North Pavilion ทีม่ พี น้ื ที่ ขน�ด 5,574 ต�ร�งเมตร (continuity of space) และคว�มสัมพันธ์ ในท�งก�ยภ�พและส�ยต� (physical and visual connecting) ที่ เกิดจ�กก�รออกแบบผิวของอ�ค�รให้มีก�รรับแสงธรรมช�ติที่ พอเหม�ะโดยก�รใช้ fretted glass ที่สร้�งคว�มต่อเนื่องระหว่�งที่ ว่�งในตัวพิพธิ ภัณฑ์กบั ชุมชนรอบข้�ง (โดยเฉพ�ะชัน้ 1) ส�ม�รถ เป็นเหมือนเวทีรองรับเหตุก�รณ์ และคนทีผ่ �่ นไปม�อยูด่ �้ นนอกก็มี โอก�สเห็นมันพอๆ กับคนทีอ่ ยูด่ �้ นใน ทำ�ให้เวทีทว่ี �่ นีเ้ ป็น common ground ของบทสนทน�ทีย่ �้ ยไปม�ในตัวอ�ค�ร ต�มแต่เวล� สถ�นที่ และจุดที่ผู้ชมยืนมองอยู่ ทั้งหมดนี้ เกิดเป็นภ�พของโครงข่�ยที่ แตกแขนงออกไปเชือ่ มต่อกับโลกภ�ยนอกรอบข้�ง ไม่ปิดตัวเองอยู่ อย่�งโดดเดีย่ ว
49
There are several other options of architectural styles one can adopt to create an interface of communication for a particular type of art and cultural space. But the debate can go on forever and one can only hope for a substantial conclusion to be made. In this case, what can also be discussed is the architect’s facilitation of the method that is utilized to create a common ground where the conversation among and between users themselves and the space is substantially ignited within the framework of a specific architectural language. The keyword ‘decentralization of service spaces,’ such as cafés that attract an unfamiliar crowd to the museum, may take a longer time to maneuver. The continuity of the flow of spaces and activities inside the program between the old building constructed in 1927 and the 5,574-square-meter North Pavilion is designed to possess a continuity of space allowing for both physical and visual connection. It is brought about by the details of the building’s shell, which embraces the right amount of natural light through the use of fretted glass while maintaining a sense of connectivity between the space and surrounding community. Every section of the museum’s space (especially the ones on the first floor) can be used as a stage that accommodates an event while the passers by outside of the museum are given the same visual access to what’s going on inside. Such manipulation of the program turns the stage into a ‘common ground’ where conversations flow between buildings and are
THE PRESENCE OF THE ARCHITECTURE TRIGGERS THE PULSE OF THE COMMUNITY บน พื้นที่ส�ธ�รณะภ�ยนอก อ�ค�รอย่�ง piazza และ ล�นน้ำ�พุ เอื้อให้ผู้คนเกิด ก�รเกิดปฏิสัมพันธ์ซึ่งกัน และกัน ABOVE OUTDOOR PUBLIC SPACES LIKE THE PIAZZA AND WATER FEATURES ALLOW FOR PEOPLE TO SOCIALIZE
บทบ�ทของสถ�ปนิกในง�นนี้ จึงอยู่ที่ก�รสร้�งองค์ประกอบของ กลไกชุดหนึง่ ขึน้ ในตัวสถ�ปัตยกรรม โดยกำ�หนดให้มนั เป็นเหมือน อุปกรณ์อย่�งหนึ่ง (device) ที่กระตุ้นให้เกิดคว�มเคลื่อนไหวที่มี พลวัต (dynamic movement) ที่ไม่ได้เกิดอยู่แค่เพียงในเขตรั้ว ของโปรเจ็คต์ ซึ่งจะว่�ไปแล้ว มันก็คงจะไม่ต่�งอะไรม�กนักกับ pacemaker ของผู้ป่วยโรคหัวใจ ที่คอยกระตุ้นชีพจรของชุมชน ให้มีชีวิตชีว� เปิดกว้�งต่อก�รสนทน� และแลกเปลี่ยนม�กขึ้น บทบ�ทของตัวสถ�ปัตยกรรมในทีน่ ้ี คือก�รทำ�ให้ชพี จรของโปรเจ็คต์ และชุมชนรอบข้�งไหลเวียนได้ดีขึ้น ผ่�นก�รกำ�หนดองค์ประกอบ ท�งสถ�ปัตยกรรมชุดหนึ่ง ที่สร้�งเค้�โครงบ�งๆ เอ�ไว้ ไม่ใช่เพื่อ นำ� และหวังให้มีคนต�ม แต่เป็นก�รสร้�งโครงที่มีคว�มยืดหยุ่นสูง ซึ่งตอบโจทย์พื้นฐ�นคือก�รเป็นพิพิธภัณฑ์ และเปิดบทสนทน� ระหว่�งคนกับคนในโลกของคว�มเป็นจริง สถ�ปัตยกรรมไม่ส�ม�รถแก้ปัญห�ทุกอย่�งในโลกได้ แต่มันช่วย ให้คนเร�รับมือได้ดีขึ้นกับคว�มสับสนยอกย้อนขัดแย้งของโลก สมัยใหม่ได้ โดยเฉพ�ะในวันที่จอภ�พที่ต่อเชื่อมกับอินเตอร์เน็ต เข้�ม�เป็นอวัยวะหนึ่งของร่�งก�ยเร� และคว�มสัมพันธ์เกือบ ทุกอย่�งเกิดขึ้น “ผ่�น” หน้�จอแบบทุกวันนี้
physically defined by time, place and the audience’s points of presence. Collectively, every element contributes to the program’s expansive network that opens itself up to the outside world, far from any seclusion and inaccessibility. The role of the architect in this project, therefore, revolves around the creation of a series of mechanisms. The architect determines the mechanism as a device that stimulates dynamic movements that take place outside of the project’s physical territory. It works similarly to a pacemaker of a heart disease patient. The presence of the architecture triggers the pulse of the community, keeping it alive and open to new conversations and exchanges. In this case, the role of architecture is improving the heartbeat of the project and its surrounding community, keeping the blood pumping and the vital signs invigorated. The attempt is achieved through the specification of a series of architectural compositions where a structure is loosely built, not to lead but to render high flexibility. It serves the fundamental requirements as a museum and initiates conversations between people. In the real world, architecture is not the solution to every dilemma but it does help us handle the complexity and conflict of the modern world, particularly in the time when an Internet-connected screen becomes our new organ and it is ‘through’ this screen that almost all our relationships take place.
why-site.com
50
51
68
TEXT: NAPAT CHARITBUTRA
PEOPLE
PORTRAIT: KETSIREE WONGWAN PHOTO: THE UNI_FORM DESIGN STUDIO
THE UNI_FORM DESIGN STUDIO TWO DESIGNERS SHARE THEIR INTEREST IN COLLAGE ART THE OUTCOME IS THE MAXIMALIST CHARACTER OF THE STUDIO
ในอุตสาหกรรมออกแบบกราฟิกทุกวันนี้ one man studio หรือ การทำางานแบบฉายเดีย่ ว อาจจะไม่จีด๊ จ๊าดเท่ากับเมือ่ 3-4 ปี ก่อนหน้า เท่าไรนัก ข้อดีของการตัดสินใจมีพาร์ทเนอร์นอกจากจะได้แบกรับ ความเสี่ยงร่วมกันแล้ว ก็ยังเป็นการนำาเอาจุดแข็งของพาร์ทเนอร์ มาร่วมด้วยช่วยกันประกอบธุรกิจ อย่างเช่นที่เราเห็นในสตูดิโอ ออกแบบกราฟิกแห่งนี้ที่เกิดจากการทีมอัพกันระหว่าง วุฒิภัทร สมจิตต์ และ ปริวฒ ั น์ อนันตชินะ สองศิษย์เก่าจากคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ และอดีตทีมนักออกแบบจาก Practical Design Studio โดยในคราวนี้พวกเขาตัดสินใจกลับมาใส่ uniform เดียวกันอีกครั้งภายใต้ชื่อ The Uni_form Studio คาแร็คเตอร์งานทีอ่ อกแนว maximalist ของ The Uni_form Studio มาจากความชอบที่เหมือนกันของทั้งคู่ “มันเริ่มมาตั้งแต่ตอนเรียน ผมเป็นคนวาดรูปไม่เก่งก็เลยพยายามหาเทคนิคทีถ่ นัด เราชอบสแน็ป รูปเก็บไว้ แล้วรูปมันเยอะมาก ก็อยากจะรวมหลายๆ เรื่องราวให้ อยู่ในภาพเดียวกันก็เลยมาจบที่งานคอลลาจ” ปริวัฒน์บอกกับเรา และวุฒิภัทรเสริมว่า “ทำาไปทำามาก็เลยเป็นอย่างที่เห็น กลายเป็น คาแร็คเตอร์ของสตูดิโอในที่สุด”
In today’s graphic design industry, the one-man studio may not be as hot as it was 3-4 years ago. The upside of having a partner is not only that they can help to share the business risks, but also the contribution of the partner’s strong points leading to the success of the business. This is the case of the graphic design studio we’re about to introduce you to. Conceived through the teamup of Wutthipat Somjit and Pariwat Anantachina, two graduates from the School of Fine and Applied Arts, Bangkok University and former designers for Practical Design Studio, the duo reunited in a common uniform with The Uni_form Design Studio being called upon as their new moniker. The maximalist character of the studio’s works stems from the shared interests of its two designers. “It all started when we were students. I wasn’t really good at drawing so I tried to find out what could be the right technique for me. I’ve always liked to take snapshots
69
and I had this large collection of photographs that then led to collage making because it allowed for me to put together all the stories into one piece of work,” said Anantachina as Somjit added, “One thing led to another and eventually it became the character of our studio.” The diversity of subjects in their collages come from the two’s interests in different topics. “I like street photography, people’s ways of life and everyday objects.” Anantachina is also a keen collector of old books, magazines and catalogues and the charm that existed before the dominance of Photoshop. Somjit loves to travel and snap images of natural landscapes. “You can say that it’s the concept of our work, collage with some additions being made to the original photographs, the unknown elements in nature. You can see that more and more these days.”
ส่วนความหลากหลายของ subject ทีเ่ ห็นในภาพคอลลาจ ก็มาจาก ความสนใจในประเด็นที่แตกต่างกันของนักออกแบบทั้งสองคน “ผมชอบถ่ายภาพสตรีท ภาพชีวิตคนหรือสิ่งของตามท้องถนน” ปริวัฒน์กล่าว ประกอบกับชอบเก็บสะสมหนังสือนิตยสารหรือ แคตตาล็อคเก่าๆ ที่มีเสน่ห์แบบเทคนิคการแต่งภาพที่ยังไม่ใช้ โฟโต้ช็อป ในขณะที่ วุฒิภัทรชื่นชอบการท่องเที่ยว และถ่ายภาพ แลนด์สเคปธรรมชาติ “มันก็เลยมองได้เช่นกันว่าเป็นคอนเซ็ปต์ งานศิลปะของเรา เทคนิคคอลลาจทีม่ กี ารเติมอะไรลงไปในภาพเดิม มันก็คือการใส่อะไรที่แปลกปลอมลงไปในธรรมชาติ ซึ่งปัจจุบัน เรื่องแบบนี้มันเห็นเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ แล้ว” พวกเขาแบ่งโปรเจ็คต์ที่ทำาในสตูดิโอเป็น 3 ประเภท คือ ดีไซน์ เซอร์วิส งานศิลปะ และงานเพื่อสังคม “ถ้าให้เรารับแต่งานดีไซน์ เซอร์วิสอย่างเดียวก็คงไม่ไหว เพราะเหมือนกับเราขาดน้ำามันหล่อ ลื่นอะไรบางอย่าง เราไม่อยากเลือกว่าจะทำางานเฉพาะแบบใดแบบ หนึ่ง งานของเรามันเชื่อมโยงกันไปมามากกว่า”
บน ปกอัลบั้มที่ออกแบบให้กับ SanQ Band ABOVE ALBUM COVER FOR SANQ BAND
ล่าง งานคอลลาจบนหน้าปก พ็อคเก็ตบุ๊ค ‘พิกุล กัญชา’ (My Lady’s Bullet Wood) และ ‘ว่างยังวุ่น’ BELOW COLLAGE ARTWORK ON THE POCKET BOOK’S COVER ‘MY LADY’S BULLET WOOD’ AND ‘WANG YANG WOON’
การเชือ่ มโยงกันระหว่างงานประเภทต่างๆ ทีพ่ วกเขาว่านัน้ นอกจาก จะเป็นการจุดประกายไอเดียให้กนั และกันแล้ว ก็ยงั เป็นการทีม่ ลี กู ค้า เห็นผลงานศิลปะคอลลาจของปริวัฒน์ที่วางขายอยู่ใน Pariwat Studio ร้านของเขาที่สวนจตุจักร ได้เรียนรู้อัตลักษณ์ของสตูดิโอ จนเมือ่ เกิดความสนใจจึงเดินเข้ามาหาพวกเขาเพือ่ ให้ทาำ งานออกแบบให้ อย่างโปรเจ็คต์ทพ่ี วกเขาเข้าไปปรับภาพลักษณ์องค์กรให้กบั บริษทั เบียร์อังกอของกัมพูชาซึ่งก็มีที่มาจากการที่สถาปนิกชาวมาเลเซีย ได้มาเห็นผลงานคอลลาจที่ร้านของปริวัฒน์เมื่อหลายปีก่อนหน้า “พอเรามีงานคอลลาจออกไปมากขึ้นๆ ลูกค้าหลายคนที่สนใจก็จะ ติดต่อเข้ามาและให้เราทำาเป็นงานคอลลาจตามทีเ่ รามองว่าเหมาะกับ พวกเขาได้เลย เพราะพวกเขาค่อนข้างไว้ใจแล้ว” วุฒิภัทรกล่าว โดยยกตัวอย่างงานออกแบบปกอัลบั้มของ SanQ และ วงดนตรี ญี่ปุ่น BLUE-SWING และ ALBNOTE รวมทั้งงานออกแบบปก หนังสือหลายๆ เล่ม เช่น ‘ว่างยังวุน่ ’ และ ‘อ่านทีว’ี (สมสุข หินวิมาน เขียน) และ ‘พิกุล กัญชา’ (’มันดา เอช เขียน) นอกจากงานดีไซน์ เซอร์วสิ และงานศิลปะ ทัง้ คูย่ งั มองว่างานดีไซน์สามารถเป็นประโยชน์ ต่อสังคมได้มากกว่านัน้ “เราชอบมากเวลามีเพือ่ นๆ พีๆ่ นักออกแบบ 70
They divide the studio’s works into three different sections, design services, art and social projects. “We can’t really focus on design services only because then the whole mechanism won’t work. It’s like the lubricant is missing. We don’t want to do just only one thing and that’s it, because our works are somewhat connected.” The connection they’re talking about is not just the way that they inspire one another but also the interactions from their clients who see their collage art at Pariwat Studio, a shop at Jatjujak Weekend market. There, viewers get to learn more about the studio’s identity and many become interested and ask them to work on different projects. For example, the redesign project for Angkor Beer’s corporate identity happened because a Malaysian architect saw their collage work several years back. “Once the collection of collage works grows, more clients contact us and in many cases they give us the creative control to create what we think is the most suitable collage for the project because they already have their trust in us.” Somjit continued the story by showing us the designs of
มาชวนเราไปทำาอะไรที่มีประโยชน์ขึ้นนิดนึง เราชอบทำากิจกรรม แบบนี้อยู่แล้ว บางทีถ้าไม่มีใครชวนเราก็เป็นฝ่ายชวนเองซะเลย (หัวเราะ)” มีหลายกิจกรรม ทีพ่ วกเขากระโดดเข้ามาเป็นผู้ดาำ เนิน งานเพื่อระดมทุนช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากเหตุการณ์ภยั ธรรมชาติ เช่น STICK IT & SAVE ALL โครงการออกแบบและขายสติ๊กเกอร์ เพื่อช่วยผู้ประสบภัยจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่จังหวัดเชียงราย ในปี พ.ศ. 2557 หรือในโครงการทีท่ าำ ร่วมกับ D4D (Design for Disaster) เช่น แผ่นพับอินโฟกราฟิกโครงการ ‘บ้านพอดี พอดี’ และ ‘รู้แล้วรอด’ ซึ่งเป็นคู่มือการเอาตัวรอดเมื่อเกิดภัยพิบัติ “เราไม่เคยสำารวจตัวเองเหมือนกันว่าอะไรคือจุดแข็งของเรา แต่เราค่อนข้างยืดหยุ่น เราอยากให้ uniform ของเราระบายอากาศ ได้ดี ใส่สบาย และยืดหยุ่นได้ เราจะไม่ไปกำาหนดว่า คุณต้องทำา ตามผมนะ” ความยืดหยุ่นนี่เองคือจุดเด่นของพวกเขาทั้งสองคน รวมไปถึงคำาพูดทีว่ า่ “ถ้าเขาคอมเมนต์มา เราก็จะฟัง เพราะมันเป็น ประโยชน์” ก็ถือว่าเป็นบุคลิก และจุดแข็งของที่นี่ ประมาณว่า พูดน้อย ฟังเยอะ ลงมือทำาแล้วมาวัดกันด้วยผลงานจริงดีกว่า
WE’RE QUITE FLEXIBLE SO OUR UNIFORM IS COMFORTABLE TO WEAR, COOL AND VERY WELL-VENTILATED AND VERSATILE. บน ตัวอย่างผลงานของ The Uni_form Design Studio เช่น โปรเจ็คต์การกุศล NEPAL NEVER ENDING PEACE AND LOVE งาน ดีไซน์เซอร์วิสโปรเจ็คต์ Aaleyah by Chomkwan และ IceLand งานศิลปะ สไตล์คอลลาจ ทีเ่ ป็นคาแร็คเตอร์ของสตูดดิโอ ABOVE SOME EXAMPLES OF THE UNI_FORM DESIGN STUDIO’S PROJECTS INCLUDE A CHARITY PROJECT ‘NEPAL NEVER ENDING PEACE AND LOVE,’ A DESIGN SERVICE PROJECT ‘AELEYAH BY CHOMKWAN’ AND A COLLAGE THAT FEATURES STUDIO’S UNIQUE CHARACTER ‘ICELAND’
album covers that they created for SanQ and Japanese bands, BLUE-SWING and ALBNOTE, not to mention a good number of book covers such as’ Wang Yung Woon’ and ‘Read TV’ (author: Somsuk Hinviman) and ‘My Lady’s Bulletwood’ (author: Manda H). Apart from design services and art, the duo believes in the capability of design to contribute something worthwhile to the society. “We really like it when friends and fellow designers invite us to be a part of social projects. We love this type of activity and there are times when we take the role of an initiator and ask people to join us (laugh).” Among the many projects that they have organized is STICK IT & SAVE ALL where they designed and sold stickers to raise funds for Chiangrai earthquake victims in 2014. The studio also collaborated with D4D (Design for Disaster) with the info graphic design of a pamphlet for ‘Baan Por Dee Por Dee’ and ‘Know to Survive,’ a disaster survival guide. “We’ve never actually explored what our strengths really are but we’re quite flexible so our uniform is comfortable to wear, cool and very well-ventilated and versatile. We don’t like to tell people what to do.” Perhaps that’s what makes them so outstanding, the flexibility. “If there are comments, we’re all ears because they can be useful.” Talk less, listen more, get to work and judge from the results. Now that’s the character.
facebook.com/TheUniFormDesignStudio
71