72
73
INTERVIEW Interview Piyapong Bhumichitra and Pipatra Banpabutr Portrait Ketsiree Wongwan Photos courtesy of Patrick Waterhouse / COLORS Magazine / Steidl
art4d: For our readers that are new to COLORS, it would be good to explain what the importance of diversity is for you? Patrick Waterhouse: COLORS began 23 years ago and was based on this very simple powerful equation of looking at globalization. It was a celebration of diversity and it was called at the time the ‘MTV of global culture.’ The question that I had when I began was the fact that the central premise that it is based on is more true than it was 23 years ago, the world is even more globalized and interconnected and I suppose the question I had was is diversity and globalization just a good thing? I don’t think that it is necessarily because we have lots of unforeseen consequences, whether that is social and political, how the market works or issues on the disparity of income. The issues that I have been making were based around the idea of Survival Guides. By taking that vernacular, both in terms of a visual reference and the deconstruction of issues, it allows us to put the audience in the center of the story. We are not just showing people things but actually telling them how to do things and that has been the underlying approach to give the magazine some continuity, which is what I felt COLORS needed. It is an in-depth engagement with different issues where each one has a different idea behind it, so it is that balance between something with continuity and something which changes depending on the concept.
1 COLORS The Survival Guides
ซีรีส์คู่มือเอาตัวรอดของนิตยสาร COLORS ตั้งแต่ฉบับ Transport (#81) เป็นต้นมา นอกจากผลิต ออกมาในรูปแบบนิตยสารแล้วยัง จัดเป็นนิทรรศการ Happiness and Other Survival Technique ที่ Design Museum ลอนดอน เมื่อปี 2012
ภาพประกอบจากปกของ Colors ฉบับ Looking At Art (#87)
art4d: The angles from which you are looking at these different topics are different to what we are seeing in the mass, in terms of how you document the human condition, people’s behaviors and emotions in a social and political context? PW: Yes, it is an engagement with social issues but it is very visually driven. It comes from serious research, the ideas that it engages with, but it ends up being something which is as important in a visual medium as it is in the written, so it is that marriage between both of those things. art4d: I find that when I read the new issues, the spirit of the old ones are still present. There is also more information in the new issues too? PW: Yes, the word counts are bigger and there are more bits. There are footnotes and longer articles and that was a very conscious decision. In a way COLORS has got a very big history, so I can’t put that out of my mind. Tibor Kalman has defined it in the past and so I just imagine that we are where we are today, but then when you look back at what you’ve done you realize that the past has influenced you. There is a DNA that links those to now but it is quite subconscious.
A celebration of
global culture Patrick Waterhouse, editor-in-chief of COLORS magazine discusses the thought and process behind the making when it comes to documenting culture, society - world.
2 Tibor Kalman
Tibor Kalman (1949-1999) ไอคอนของวงการกราฟิกของโลก ในช่วงปี 80s-90s กราฟิกดีไซเนอร์ ชาวอเมริกันเชื้อสายฮังกาเรียน ผู้ก่อตั้งสตูดิโอออกแบบ M&Co. ทีม่ ชี อื่ เสียงในช่วงทีม่ ชี วี ติ รับหน้าที่ บรรณาธิการบริหารให้ COLORS ตั้งแต่ฉบับที่ 1-13 ท�าหน้าที่ทั้งคิด เขียนและออกแบบเป็นเวลา 6 ปี
art4d: So who is the creative director of COLORS? PW: I am. Well, the honest answer is that I changed the title because people kept asking me who the editor-in-chief was but there is none, and that’s the truth because I don’t come from a magazine background. You’re given a huge amount of freedom and the only thing that has to be is a masthead and it existing as a printed magazine. The way that I look at it, it is built on a trust relationship based on a set of humanistic values. People imagine that there is this fixed editorial structure but there isn’t. It is editorially as free as it can be. I work with a team of people, which I’ve built, some of which are very good friends of mine I’ve worked with in the past as well. I see it more like making a book than a magazine or an in-depth project about something. art4d: How do you develop each theme for each issue? Do they stem from personal interest? PW: I have a long list of themes. The theme is where I see it as being a relationship between looking at larger global trends, issues which are relevant, but not part of the daily news cycle, so looking at things that in some ways almost capture the zeitgeist. For example, one issue was on the market but really it is looking at economic principles or how free market dominance may have led to ethical questions. But it’s not a story about the financial crisis, it’s looking at it from a wider perspective so I think there is that more highminded aspect to it which is more conceptual and then there is something which is very practical which is in knowing that you can get a certain kind of imagery from the particular subjects. It is the marriage of those two, which often can turn very superficial to say that you need to get a certain
art4d: ส�ำหรับคนอ่ำนของเรำทีอ่ ำจจะยังไม่รจู้ กั นิตยสำร COLORS
เลยอยำกให้คณ ุ ช่วยอธิบำยถึงควำมส�ำคัญของควำมหลำกหลำยและ สิง่ ที่ COLORS ต้องกำรน�ำเสนอ? Patrick Waterhouse: COLORS เริม ่ ต้นเมือ่ 23 ปีทแี่ ล้ว ด้วย ไอเดียทีเ่ รียบง่ายเลยก็คอื ความเป็นโลกาภิวตั น์ทเี่ ต็มไปด้วยความ หลากหลาย ตอนนัน้ เรายังเคยถูกเรียกว่า ‘MTV แห่งวัฒนธรรม โลกาภิวตั น์’ อย่างแรกทีผ่ มรูส้ กึ ตอนได้รว่ มงานกับ COLORS ใหม่ๆ ก็คอื ตอนนีโ้ ลกเรามีความเป็นโลกาภิวตั น์เพิม่ มากขึน้ กว่าเมือ่ 23 ปี ทีแ่ ล้ว เราเชือ่ มโยงและเข้าถึงกันมากกว่าเดิม เราไปไกลกว่าอดีต ค�าถามของผมคือ ไอ้ความหลากหลายและโลกาภิวตั น์นมี่ นั เป็นสิง่ ทีด่ ี จริงหรือเปล่า ซึ่งผมคิดต่อว่ามันไม่ใช่เรื่องส�าคัญ เพราะทุกวันนี้ โลกเราต้องเผชิญความผันผวนแบบคาดไม่ถงึ ทัง้ เรือ่ งทางสังคมและ การเมือง เรามีปญั หาทีย่ งั แก้ไม่ตก เช่น รายได้ทเี่ หลือ่ มล�า้ ระหว่าง คนรวยกับคนจน สภาพตลาดทีม่ ไี ม่เท่าเทียม ผมต้องการน�าเสนอประเด็นต่างๆ พวกนีอ้ อกมาในรูปแบบของคูม่ อื เอาตัวรอด (Survival Guide) โดยการพาคนอ่านให้มาเป็นศูนย์กลาง ของแต่ละเรือ่ งทีน่ า� เสนอ เราไม่ได้แค่จะโชว์ให้เห็นว่าเรามีอะไรบ้าง แต่เราน�าเสนอวิธกี ารท�าข้าวของพวกนัน้ ให้ผอู้ า่ นอีกด้วยเพือ่ ความ ต่อเนือ่ งของการท�าแม็กกาซีนในแต่ละเล่ม ซึง่ ผมว่านีแ่ หละคือสิง่ ที่ COLORS ยังขาดอยู่ ถึงแต่ละเล่มจะหน้าตาออกมาเป็น Survival Guide เหมือนๆ กัน แต่ไอเดียและเนือ้ หาในแต่ละเล่มก็ไม่เหมือนกัน ขึน้ อยูก่ บั คอนเซ็ปต์ของแต่ละเล่ม art4d: มุมมองทีค่ ณ ุ มีในเรือ่ งต่ำงๆ
นีด้ แู ตกต่ำงจำกสิง่ ทีเ่ รำเห็น ตำมสือ่ กระแสหลัก ทัง้ เรือ่ งสภำพผูค้ น กำรใช้ชวี ติ พฤติกรรมและ อำรมณ์ของคนทีม่ ตี อ่ สังคมและกำรเมือง PW: ใช่ครับ สิง่ ทีเ่ ราท�าก็คอื การพูดถึงปัญหาสังคมทีใ่ ช้ภาพเป็น พระเอกในการเล่าเรือ่ งทีไ่ ด้มาจากการค้นคว้าข้อมูลอย่างหนัก สุดท้าย ก็ออกมาเป็นงานทีภ่ าพและข้อเขียนมีความส�าคัญไม่แพ้กนั art4d: ตอนได้อำ่ นเล่มล่ำสุด
ควำมรูส้ กึ แบบ COLORS เล่มเก่ำๆ ยังอยู่ แต่มนั มีขอ้ มูลมำกขึน้ มำกเลยใช่ไหม? PW: ใช่ครับ เนือ้ หามากขึน ้ บทความยาวขึน้ รวมทัง้ เชิงอรรถก็ เพิม่ มากขึน้ ถือเป็นการตัดสินใจทีส่ า� คัญเหมือนกันนะ เพราะผม ไม่สามารถตัดภาพของ COLORS ที่ Tibor Kalman ท�าไว้ ในอดีต ออกได้งา่ ยๆ ผมก็แค่คดิ ว่าตอนนีเ้ ราอยูต่ รงทีเ่ ราอยูน่ ี่ พอมองย้อน กลับไปว่าได้ทา� อะไรออกมา คุณก็จะเห็นว่าอดีตมันส่งผลมาถึงสิง่ ที่ คุณท�า ผมว่ามันคือ DNA ทีต่ กทอดมาแบบไม่รตู้ วั นัน่ แหละ art4d: แล้วตอนนีใ้ ครคือครีเอทีฟ ไดเร็กเตอร์ของ COLORS? PW: ผมเอง เอาจริงๆ เลยนะ ความจริงแล้วผมเปลีย่ นชือ่ ต�าแหน่ง
3 Going to Market
ฉบับว่าด้วยเรื่องของตลาดและ การซื้อขาย (#85)
นิดหน่อย เพราะคนชอบมาถามผมว่าใครเป็นหัวหน้าบรรณาธิการ ซึง่ มันไม่มแี ละมันไม่มจี ริงๆ เพราะตัวผมไม่ได้มแี บ็คกราวน์มาจาก คนท�าแม็กกาซีน ซึง่ ผมถือว่ามีอสิ ระในการท�างานมาก อย่างเดียว ทีเ่ ป็นข้อบังคับเลยก็คอื มันชือ่ ว่า COLORS และเป็นนิตยสารทีต่ อ้ ง พิมพ์ออกมา ที่นี่ไม่ได้มีโครงสร้างอะไรที่ตายตัว คุณสามารถท�าอะไรก็ได้ ทีค่ ณ ุ อยากท�า สิง่ ทีเ่ ห็นชัดๆ เราสร้างทีมขึน้ มาด้วยความไว้วางใจ ระหว่างกัน ผมได้ทา� งานกับทีมทีผ่ มสร้างขึน้ เอง บางคนก็เป็นเพือ่ นรัก ของผมทีเ่ คยท�างานด้วยกันมาก่อน และผมคิดว่ามันเหมือนกับการ ท�าหนังสือมากกว่าการท�านิตยสาร
74
75 art4d: I have read an article in Creative Review in 2011 where there was a piece about COLORS that said it was time to say goodbye. PW: I saw that too. That was before I was there. art4d: Did you agree with that article? PW: You are really putting me on the spot here! Well, I think there were elements that were true about it, but I think that there is much more variety of ups and downs, which meant that it was quite schizophrenic and it lost its continuity. That is not to say that it didn’t have elements that weren’t brilliant along the way. I think what we have tried to do now is make something that is a body of work with a clear editorial light, so having a stronger vision of what the thing should be, hopefully you feel that and know that while they are all very different it still holds an identity.
5 United Colors of Benetton
แบรนด์แฟชั่นระดับโลกจากอิตาลี ก่อตั้งเมื่อปี 1965 มีสาขาอยู่กว่า 6,000 ร้านทั่วโลก
ตัวอย่างหน้าในจาก Colors ฉบับ Transport (#81)
kind of imagery, but actually you need both. You need to know that there is a visually interesting aspect to the subject as well as it being something that is important and worth talking about. art4d: How do you approach an issue? PW: We’ve tried to make something that has some continuity, but also is conceptually coherent for the issue, so you feel like it is asking some fundamental questions, but also when you step back you can see it as being part of a larger body of work. I spend a lot of time trying to get the big picture right and also think about the different angles from which you can approach an issue. There is usually a more conceptual element to it, but then maybe if someone like Cosimo and Luiz interviews someone and the interview is great and says it all, we then drop what was planned and we just go with the interview because it is already inherently interesting, so it changes all the time.
4
art4d: We recognize that aesthetics is very important to COLORS, how do you create and maintain this vision? PW: I mean in all of COLORS we’ve tried to make sure that it has a method-based approach that ensures continuity in our voice. So even the photography tries to have a very consistent lens that the photographer uses and the way in which the picture is taken so that it feels like it has a COLORS style. All the writings as well, you know it goes through a big process to feel coherent like one thing, so in some ways you lose the flair of the individual to making something which I believe makes it more powerful. It is something that is very coherent as a body of work and that even goes down to the questions and the way in which the questions are asked. There is a core team of people and the contributors usually will find a story and then there is someone within the informal networks of COLORS and Fabrica who will go to the location or get someone locally to do it.
Fabrica
คือศูนย์วจิ ยั ทางด้านการสือ่ สารของ แบรนด์ Benetton ตัง้ อยูท่ ่ี Trevizo อิตาลี ให้ทนุ นักวิจยั และศิลปินรุน่ ใหม่ ทั้งในเรื่องศิลปะ ออกแบบ ดนตรี และฟิลม์
art4d: Any particular story or project in the past that you feel is still relevant for you today? PW: There are periods in the past where I think that some really interesting things have happened because there is so much freedom; you are always going to have a bit of a rollercoaster kind of up and down thing. But I think when they were done, the Tibor Kalman issues were amazing because they were doing something new. I think that there were these two editors Adam Broomberg and Oliver Chanarin, who did a series on community, which I think still hold up as being an amazing body of work. I think that the good periods for me have been thought about with a larger idea, something that has got a slightly bigger picture than just dealing with one specific issue.
ี ฒ ั นำหัวข้อในแต่ละฉบับอย่ำงไร art4d: คุณมีวธิ พ
มันมำจำกควำม
สนใจส่วนตัวของคุณหรือเปล่ำ? PW: ผมมีทจี่ ดบันทึกไว้เยอะ การสร้างหัวข้อส�าหรับผมมาจากการ มองหาเทรนด์ต่างๆ ในสเกลระดับโลก หาเรื่องที่มันเกี่ยวข้องกับ เทรนด์ทวี่ า่ และไม่ใช่พวกข่าวทีม่ อี ายุสนั้ ๆ มองหาเรือ่ งทีม่ ลี กั ษณะ เฉพาะ ยกตัวอย่างเช่น COLORS ทีผ่ มท�าฉบับหนึง่ ทีเ่ ราพูดถึงเรือ่ ง Market แน่นอนว่าสิง่ ทีเ่ ราพูดถึงคือหลักเศรษฐศาสตร์ ผลกระทบ ของการเปิดตลาดเสรีที่มีผลต่อค�าถามทางจริยธรรม แต่มันไม่ใช่ เรื่องของวิกฤติการณ์ทางการเงิน เรามองจากมุมที่กว้างกว่านั้น เป็นมุมมองทีม่ คี วามคอนเซ็ปช่วลแต่กน็ า� ไปใช้ได้จริง คนอ่านสามารถ เข้าใจได้มากกว่าและมันมีคา่ พอทีจ่ ะพูดถึง art4d: คุณท�ำให้มป ี ระเด็นได้อย่ำงไร? PW: เราท�าออกมาให้มคี วามต่อเนือ่ ง แต่มคี วามแตกต่างกันขึน ้ อยู่
art4d: COLORS is still funded by Benetton and related to Fabrica? PW: Yes, we are still funded by Benetton. I mean COLORS existed before Fabrica. It existed and it moved around, it was in Rome, I think it was in Paris, it was in New York. And I think it came to Fabrica, even left Fabrica and went back to New York and then came back again. art4d: But it was always owned by Benetton? PW: Benetton has always owned both of them. I began being in Fabrica so in a way there is an obvious relationship. Had I not gone to Fabrica I would probably never be doing this so you are in the environment that it is being made but it is its own thing and it is about getting an idea which pulls you down a path and feeds the research because all the big themes can be approached from a thousand different ways and it is about getting something that unlocks the subject that you are looking into – like Transport. You could have approached it in many different ways. You could have done it about the transport infrastructure or traffic systems of Bangkok for example. It is the idea of looking at issues around people and people who are making their own forms of transport that gives you a very specific lens to look through, which pulls you down a line of research and thinking.
art4d: ผมได้อำ่ นบทควำมหนึง่ ในนิตยสำร
Creative Review เมือ่ ปี 2011 ทีช่ อื่ เรือ่ ง ถึงครำวทีต่ อ้ งโบกมือลำ COLORS แล้ว PW: ผมก็เห็นบทความนัน ้ เหมือนกัน นัน่ เป็นช่วงก่อนทีผ่ มจะมา ท�างานทีน่ ี่ art4d: คุณเห็นด้วยกับบทควำมนัน ้ ไหม? PW: คุณอยากให้ผมตอบค�าถามนีจ้ ริงๆ มันตอบยากอยูพ ่ อสมควรนะ
ผมมองว่ามีบางส่วนที่เขาก็พูดถูกอยู่เหมือนกัน แต่ผมว่ามันไม่ใช่ การตกต�า่ แบบถาวรอะไร เพราะมันก็มชี ว่ งขาขึน้ อยูเ่ หมือนกัน ท�าให้ เราไม่สามารถพูดได้วา่ ตลอดเวลาทีผ่ า่ นมาไม่มชี ว่ งทีด่ สี า� หรับ COLORS ผมก็คดิ นะว่าเราต้องพยายามท�าอะไรบางอย่าง โดยเฉพาะส่วนเนือ้ หา ทีต่ อ้ งมีแนวทางทีช่ ดั เจนจากคอนเซ็ปต์ของกองบรรณาธิการ รวมทัง้ ต้องมีวสิ ยั ทัศน์ทชี่ ดั เจนว่าจะเดินไปทางไหนเพือ่ สร้างความเปลีย่ นแปลง ไปพร้อมๆ กับทีย่ งั ต้องคงเอกลักษณ์ของตัวเองไว้
art4d: Benetton ยังคงให้กำรสนับสนุน COLORS และ COLORS
เองก็ยงั สัมพันธ์กบั Fabrica ใช่ไหม? ได้รบั กำรสนับสนุนจำก Benetton ใช่ไหม? PW: ใช่ ครับ เรายังได้รับการสนับสนุนจาก Benetton มาตลอด นิตยสาร COLORS มีมาก่อน Fabrica ตอนแรกหนังสือเราท�ากัน ที่โรม เสร็จแล้วก็ไปที่ปารีส จากนั้นก็นิวยอร์ก แล้วค่อยมาอยู่ที่ Fabrica แล้วก็ออกจาก Fabrica ไปนิวยอร์กอีกที แล้วค่อยกลับมา ที่ Fabrica อีกที art4d: Benetton เป็นเจ้ำของมำโดยตลอด? PW: ใช่ ทัง้ COLORS และ Fabrica เป็นของ
Benetton มาตลอด ผมเคยท�างานกับ Fabrica มาก่อน มันค่อนข้างจะเป็นความสัมพันธ์ ทีช่ ดั เจนอยูแ่ ล้ว ถ้าผมไม่ได้ทา� งานกับ Fabrica ผมก็คงไม่ได้ทา� งานกับ COLORS ในสภาพแวดล้อมทีม่ อี ยูน่ นั้ สิง่ ทีค่ ณุ ต้องท�าก็คอื หาไอเดีย ทีจ่ ะเป็นหนทางทีจ่ ะน�าไปสูก่ ารท�ารีเสิรช์ เพราะว่าคุณมีวธิ ที จี่ ะเข้าหา พวกธีมใหญ่ๆ ได้หลากหลายวิธีการมาก มันเหมือนกับการหาวิธี ปลดล็อคและเข้าไปสูเ่ นือ้ หาทีค่ ณุ ต้องการ อย่างเช่นเล่ม ‘การขนส่ง’ คุณสามารถพูดถึงได้ตงั้ หลายอย่าง เช่น เรือ่ งของโครงสร้างพืน้ ฐาน ในการขนส่ง หรือพูดถึงระบบการจราจรของกรุงเทพฯ เราจะพูดถึงผูค้ น ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องการขนส่ง พูดถึงผู้คนที่หาวิธีหรือว่าสร้างสรรค์ วิธกี ารขนส่งในแบบต่างๆ ในแบบเฉพาะด้วยตัวพวกเขาเอง ซึง่ มัน ท�าให้คณุ สามารถหยุดคิดและค้นคว้าข้อมูล
กับคอนเซ็ปต์ของแต่ละเล่ม คุณอาจจะรูส้ กึ ว่าก�าลังถามค�าถามเบสิก แต่ถา้ คุณลองถอยออกมาหน่อย คุณจะเห็นภาพทัง้ หมดของสิง่ ทีต่ วั เอง ก�าลังท�าอยู่ และถ้าคุณลองใช้วธิ กี ารมองจากมุมทีแ่ ตกต่าง นัน่ แหละ คุณก�าลังสร้างประเด็น มันอาจฟังดูนามธรรมหรือคอนเซ็ปช่วลมากๆ ยกตัวอย่างเช่น คนอย่าง Cosimo หรือว่า Luiz ออกไปสัมภาษณ์แล้ว ปรากฏว่ามันเป็นการสัมภาษณ์ทยี่ อดเยีย่ มมาก พวกเราอาจจะยกเลิก นัดทีม่ เี พือ่ ไปสัมภาษณ์ดว้ ย เพราะอะไรน่ะเหรอ ก็เพราะมันน่าสนใจ มากๆ ไง เราเปลีย่ นได้ตลอดเวลา art4d: เรำสังเกตว่ำ
COLORS ให้ควำมส�ำคัญมำกๆ กับควำม สวยงำม คุณมีวธิ ที ำ� อย่ำงไรให้ยงั คงรักษำควำมส�ำคัญนีไ้ ว้? PW: เรามีวธิ คี ดิ ในแบบของเรา มีเอกลักษณ์เฉพาะทีเ่ ป็นน�า้ เสียง แบบของเราเอง แม้แต่เลนส์ที่ช่างภาพใช้ในการถ่าย องค์ประกอบ บางอย่างในภาพ มุมมองในการถ่ายทอด มันเหมือนกับมีสไตล์ใน แบบของ COLORS แม้แต่นักเขียนก็เช่นกัน มันเป็นขั้นตอนการ ท�างานที่ยิ่งใหญ่ บางครั้งคุณก็ต้องยอมละทิ้งความเป็นตัวเองเพื่อ สร้างงานทีอ่ อกมาทรงพลังกว่า มันสอดคล้องกันทุกอย่าง ทัง้ เนือ้ หา ตลอดจนค�าถาม และลักษณะของค�าถามที่ถูกถาม เรามีทีมหลัก และนักเขียนทีจ่ ะคอยเสาะหาเรือ่ งราวต่างๆ ทีน่ า่ สนใจ และเราก็จะ มีเครือข่ายของเราและ Fabrica ตามทีต่ า่ งๆ ของโลก หรือบางทีก็ ใช้คนในพืน้ ทีน่ นั้ ๆ เลยก็ได้ art4d: มีอะไรที่เฉพำะเจำะจงเป็นพิเศษในอดีตที่เกี่ยวข้องหรือ
ส่งผลมำถึงคุณในตอนนีบ้ ำ้ งหรือไม่?
PW: มันมีชว่ งเวลาหนึง่ ทีผ ่ มคิดว่าน่าสนใจ
สิง่ ทีเ่ กิดขึน้ เต็มไปด้วย ความอิสระ คุณสามารถไปได้เต็มทีไ่ ม่ตา่ งอะไรกับการเล่นรถไฟเหาะ เลยล่ะ แต่ผมคิดว่า COLORS 13 เล่มแรกที่ Tibor Kalman ท�า ออกมานีม่ นั สุดยอดมาก เพราะมันคือสิง่ ทีส่ มัยนัน้ ยังไม่มใี ครเคยท�า ออกมา รวมทั้งช่วงที่ Adam Broomberg และ Oliver Chanarin เป็นบรรณาธิการ พวกเขาท�าซีรสี เ์ กีย่ วกับชุมชนและท�าเนือ้ หาออกมา ได้นา่ สนใจมาก ช่วงเวลาทีด่ สี า� หรับผมคือช่วงเวลาทีไ่ ด้คดิ ไอเดียที่ กว้างขึน้ และไม่ได้เฉพาะเจาะจงไปทีเ่ รือ่ งใดเรือ่ งหนึง่ เท่านัน้
The great thing about the notebook was that it was absolutely anything, which made it very simple and beautiful as an idea.
6
Transport
ฉบับว่าด้วยเรือ่ งของวิธกี ารเดินทาง ไปไหนมาไหนในรูปแบบต่างๆ (#81)
76 Or Making the News, which is very much about looking at the dissemination of information and kind of taking a step back where that leads you down a series of ideas. We also approach this even in the design of the magazine where these internal pages lead you to see behind the story in a very literal way that makes sense conceptually in that issue, but wouldn’t make sense in other issues.
77
หรืออย่างเล่ม Making the News ทีจ่ า� เป็นต้องรวบรวมข้อมูล จ�านวนมากทีม่ นั ท�าให้เกิดเป็นประเด็นและโต้แย้งกันอย่างกว้างขวาง ขึ้นมา ซึ่งเราต้องถอยออกมาเพื่อมองภาพรวมของเรื่องนี้ให้ออก เราน�าเสนอเรือ่ งการท�าข่าวในรูปแบบของการออกแบบแต่ละหน้าของ COLORS อย่างพิถพี ถิ นั แต่ละหน้าจะค่อยๆ พาคุณไปหาประเด็น ต่างๆ ทีเ่ ราอยากพูดถึง แต่ละหน้าจะมีบางอย่างซ่อนอยู่ให้คณุ ค่อยๆ ค้นหา วิธนี ที้ า� ให้มนั ออกมาเข้ากันและดูสมเหตุสมผลทีจ่ ะท�าออกมา ในรูปแบบทีว่ า่
7 Making the News
ฉบับว่าด้วยเรือ่ งของวารสารศาสตร์ หรือการสื่อสารมวลชนในปัจจุบัน (#86)
art4d: There is no advertising? PW: No. Benetton is the sponsor of the magazine and I wanted to make it as much like a book as possible and value COLORS as being something different and not try and just make it look like a magazine for the sake of making it look like a magazine.
art4d: ไม่มโี ฆษณำในเล่ม? PW: ไม่มคี รับ เพราะเรามี Benetton
เป็นสปอนเซอร์ ผมถึงอยาก ท�าให้มนั ออกมาอยูใ่ นรูปแบบของหนังสือมากกว่า เพราะมันมีคณุ ค่า มากกว่าจะเป็นแค่นติ ยสาร
art4d: And is it the same price? PW: No, it’s more expensive. It has gone up a lot. Before it was 5 Euros now it is 13 Euros.
art4d: รำคำยังเท่ำเดิมหรือเปล่ำ? PW: เปล่าครับ ราคาเพิม ่ ขึน้ จาก 5
art4d: How many languages do you translate to? PW: Every issue is translated from English into French, Italian, Spanish, Chinese, and Korean. All of them have to be laid out and typeset and laying out all of the languages is a huge logistical job. The Chinese and the Korean editions are printed and distributed in China by IdN. We do editions of all of those languages. Distribution has although been slightly difficult recently in many other countries but it is improving.
art4d: แล้วถูกแปลไปกีภ ่ ำษำ? PW: COLORS ทุกฉบับจะถูกแปลรวมกันแล้ว 6 ภาษา คือ อังกฤษ
อิตาเลียน ฝรัง่ เศส สแปนนิช จีน และเกาหลี ซึง่ การแปลเป็นภาษา อืน่ ถือเป็นงาน logistics ทีห่ นักเอาเรือ่ ง ฉบับภาษาจีนและเกาหลี จะพิมพ์ที่จีนและจัดจ�าหน่ายโดยบริษัท IdN การจัดจ�าหน่ายเป็น เรือ่ งทีย่ าก แต่ทกุ วันนีก้ ต็ อ้ งถือว่าดีขนึ้ มากแล้ว
art4d: I think it is a bit unfair to talk about just COLORS, you do more than just that, what are you working on at the moment? PW: I’ve just published a book, which is the end of a six year project about a building in Johannesburg.
art4d: Just illustrations then? PW: Yes, it was just illustrations but it was more about spending a year working slowly with a friend of mine, Walter Hutton, who wrote the notation, read the book aloud and I would sit and draw. I’ve also been doing workshops based on the Survival Guides and doing Survival Guide Notebooks but it is much more workshops where I have done them in various different places around the world. I did one in Brazil with street kids and it is, I suppose, making them the authors of the Survival Guides. The great thing about the notebook was that it was absolutely anything, which made it very simple and beautiful as an idea. art4d: Will this be put into an exhibition at all? PW: Yes, and that is also where Fabrica can get more involved if there is an exhibition or other things which relate to the theme. We had an exhibition at the Design Museum on the Survival Guides in London and the news cover as well as doing a talk at the journalism festival in Germany. In Germany we actually built the machine on the cover into a real machine that took live feeds. This is where the programmers from Fabrica got involved in building that physical machine.
Importantly, I still believe in printing but that is not to say that you don’t need to build a world around what you do.
art4d: คงจะไม่แฟร์ถำ้ เรำจะถำมแค่เรือ่ ง
COLORS คุณท�ำอย่ำง อืน่ อีกนี่ ตอนนีค้ ณ ุ ท�ำอะไรอยูบ่ ำ้ ง? PW: ผมเพิง่ ท�าหนังสือออกมาเล่มหนึง่ เป็นโปรเจ็คต์ทท ี่ า� มา 6 ปี เกีย่ วกับเรือ่ งอาคารหลังหนึง่ ทีโ่ ยฮันเนสเบิรก์ art4d: นัน ่ ใช่โปรเจ็คต์ Ponte City หรือเปล่ำ? PW: ใช่แล้วครับ Steidl เพิง่ ตีพม ิ พ์ไปเมือ่ ต้นปี 2014
ช่วงนัน้ ผม จัดนิทรรศการชัว่ คราวและจัดงานเปิดตัวหนังสือทีต่ กึ นัน้ ตอนอยูท่ ี่ โยฮันเนสเบิรก์ รวมทัง้ ได้ทา� นิทรรศการหลายๆ งานในตอนนัน้ มัน อาจจะดูแตกต่าง แต่มนั ก็มอี ทิ ธิพลต่อการท�างานที่ COLORS ผม ถ่ายรูปอยูห่ ลายปี ท�ากับ Mikhael Subotzky ศิลปินเเละช่างภาพค่าย Magnum ชาวแอฟริกาใต้ เราใช้เวลาท�างานอยู่ด้วยกันที่ Ponte City อยูน่ าน ทัง้ พูดคุยกันเองและช่วยกันสัมภาษณ์คนอืน่ art4d: ก็หมำยควำมว่ำในหนังสือใช้ภำพถ่ำยของพวกคุณทัง้ คู?่ PW: ใช่ครับ รวมทั้งบทสัมภาษณ์ด้วย มันเป็นหนังสือที่ประกอบ
ไปด้วยหนังสืออืน่ อีก 17 เล่ม มีบทความและเรือ่ งเล่าหลายๆ อย่าง ทีเ่ กิดขึน้ ใน Ponte City ทีส่ ร้างขึน้ ตัง้ แต่ปี 1976 ถือเป็นอาคารทีม่ ี ประวัติและเรื่องเล่าที่กลายมาเป็นสัญลักษณ์สา� คัญของแอฟริกาใต้ อยูห่ ลายอย่าง โดยเฉพาะปีทตี่ กึ นีส้ ร้างขึน้ ถือเป็นหมุดหมายส�าคัญ ทางประวัตศิ าสตร์แอฟริกาใต้ เพราะมันคือช่วงเวลาของสถานการณ์ การแบ่งแยกสีผิว การใช้ชีวิตและอาศัยอยู่ในอาคารสูงของโลก ยุคสมัยใหม่ นอกจากนี้ ผมก็ยงั วาดรูป ท�านูน่ ท�านี่ ท�าอะไรหลายๆ อย่าง และอีกอย่างคือผมท�างานให้กบั Mondadori ส�านักพิมพ์จาก อิตาลี พวกเขาจ้างผมวาดภาพประกอบให้กบั หนังสือ Dante’s Inferno art4d: แค่วำดภำพประกอบให้เท่ำนัน ้ หรือครับ? PW: ใช่ แค่วาดภาพประกอบ แต่มน ั ก็ใช้เวลานานเกือบทัง้ ปี ผมท�างาน
art4d: Is that the Ponte City project? PW: Yes, it was printed by Steidl earlier in 2014. I was in Johannesburg doing a pop-up exhibition and a book launch in the building and I am also in an exhibition that is touring at the moment. I suppose it is different in many ways but informs a lot of the ways in which I approach COLORS. I’ve been taking pictures for years, collaborating with a South African artist and Magnum photographer called Mikhael Subotzky. We both take pictures and we spend a lot of time in Ponte City talking and interviewing people. art4d: So the book shares both of your photographs? PW: Yes, and also lots of interviews. It is a book with 17 other books, which have lots of different essays and even bits of fiction around Ponte City, which is this building that has got a huge amount of myth around it and has been a symbol for the rise and fall of South Africa’s commercial capital. It was built in 1976, which was a very significant year in South African history because it was in the middle of apartheid and there is also a more universal story about living in high-rise buildings and of modern living. Whether I am drawing, doing this or doing that, it is all in some ways related. Another thing, which I was doing, was a commission for an Italian publishing house, Mondadori, where I did some drawings for a version of Dante’s Inferno.
ยูโรเป็น 13 ยูโร
art4d: Lastly, are there any areas that you want to maintain and push for COLORS in the future? PW: I think COLORS just exists in a very different world out of a lot of market pressures because Benetton funds it. I hope that it is more in depth and in a way I don’t want to just push boundaries for the sake of pushing boundaries. In the past, COLORS has been something of a sensationalist where they were intentionally quite provocative. I think it is ok to do that if it is the byproduct of actually doing something that you can back up, but I don’t just want to do it for the sake of it. If you do a stunt then there should at least be some depth that is behind it. Importantly, I still believe in printing but that is not to say that you don’t need to build a world around what you do. A milk carton now has a website and probably a YouTube channel and everything else, so you have to have all of those other channels of communication but you also have to have a core. So I would think building that world around the core is important to get it right.
8 Steidl
ส�านักพิมพ์ Steidl จากเยอรมนี ก่อตั้งโดย Gerhard Steidl นัก ออกแบบชาวเยอรมัน เชี่ยวชาญ การพิมพ์หนังสือให้กับศิลปินและ ช่างภาพ
9 Ponte City Book
หนังสือที่ Waterhouse จับคูท่ า� กับ Mikhael Subotzky ว่าด้วยเรือ่ งของ อพาร์ทเมนต์ความสูง 54 ชั้น ที่ สร้างขึ้นในโยฮันเนสเบิร์กเมื่อปี 1976 หนังสือเล่มนี้พึ่งได้รางวัล Deutsche Börse Photography ประจ�าปี 2015
10
Dante’s Inferno Book
หนังสือ Dante’s Inferno โดยส�านักพิมพ์ Mondadori ภาพประกอบ ทั้งหมดกว่า 300 ภาพ ในเล่มคือ การตีความเนื้อหาของวรรณกรรม อมตะเรือ่ งนีข้ น้ึ มาใหม่โดย Patrick Waterhouse
กับเพือ่ นผม Walter Hutton ทีเ่ ป็นคนจัดการเนือ้ หา โดยทีเ่ ขาจะเป็น คนอ่านมันออกมาดังๆ และผมก็คอ่ ยๆ วาดภาพตามทีเ่ ขาอ่านออกมา เราเลยใช้เวลาท�างานกันนานมาก และผมก็เคยท�าเวิรก์ ช็อป Survival Guide และท�า Survial Guide Notebook หลายๆ เวิรก์ ช็อปทีผ่ ม เคยท�าหลายๆ ทีใ่ นโลก มีอยูค่ รัง้ หนึง่ ผมเคยท�ากับเด็กๆ ทีอ่ าศัยอยู่ ตามถนนในบราซิล และผมหวังว่านัน่ จะท�าให้ผมสร้างคนเขียน Survival Guide ขึน้ ได้นะ ส่วนโปรเจ็คต์ Notebook มันก็เป็นโปรเจ็คต์ทเี่ ป็น อะไรก็ได้ มันเรียบง่ายแต่เต็มไปด้วยไอเดียดีๆ มากมาย
art4d: ทีค่ ณ ุ พูดมำนีจ่ ะถูกน�ำไปจัดเป็นนิทรรศกำรใช่ไหม? PW: ใช่ครับ ตรงนีแ้ หละที่ Fabrica เข้ามามีสว่ นเกีย่ วข้องมากขึน ้
เราจัดงานเปิดตัว Survival Guides ที่ Design Museum ทีล่ อนดอน แล้วก็ออกข่าวตามหน้าหนังสือพิมพ์ ผมได้รับเชิญไปพูดในงาน Journalism Festival ทีเ่ ยอรมัน เราลงมือสร้างเครือ่ งจักรทีส่ ามารถ ผลิตหนังสือพิมพ์ออกมาได้จริงๆ แบบเรียลไทม์ ซึง่ เราได้รบั ความ ช่วยเหลือจากโปรแกรมเมอร์ของ Fabrica ตอนทีต่ อ้ งท�าเครือ่ งจักร ทีว่ า่ นี่ art4d: ค�ำถำมสุดท้ำย
คุณอยำกเห็นอนำคตของ COLORS เป็น อย่ำงไร? PW: ผมคิดว่า COLORS คือนิตยสารทีถ่ อื ก�าเนิดขึน ้ มาอย่างแตกต่าง จากนิตยสารหัวอืน่ เราไม่มคี วามกดดันเรือ่ งการตลาดเพราะไม่ตอ้ ง กังวลเรือ่ งยอดขาย เพราะอย่างทีค่ ณุ ทราบดีวา่ Benetton เป็นเจ้าของ ส่วนตัวคือผมอยากท�าให้ COLORS มีเนือ้ หาทีล่ กึ ขึน้ ไม่ตอ้ งพยายาม ตัง้ ใจจะออกนอกกรอบ ถึงแม้ในอดีต COLORS มักจะท�าในสิง่ ทีช่ อ็ ค คนอ่านมาจนกลายเป็นลักษณะเฉพาะ ผมคิดว่ามันก็โอเคถ้าคิดจะ ท�าแบบนัน้ อีก แต่สงิ่ ส�าคัญก็คอื ไม่ใช่วา่ คุณอยากจะสร้างความตืน่ เต้นให้คนอ่านโดยไม่มเี หตุผลอะไรรองรับเลย ผมไม่อยากท�าเพราะ ความรูส้ กึ ว่าต้องท�า และการทีจ่ ะท�าแบบนัน้ มันต้องมีเหตุผลรองรับ อีกอย่างหนึง่ คือผมยังคงเชือ่ ในสิง่ พิมพ์ แต่เรามาถึงจุดทีค่ ณุ ไม่สามารถจะแค่พมิ พ์อะไรออกมาอย่างเดียวอีกต่อไปแล้ว คุณเห็น บนกล่องนมมัย้ บนนัน้ มีทงั้ เว็บไซต์ แชนแนล YouTube และอีก มากมายทีเ่ ป็นช่องทางการสือ่ สารถึงคนทีซ่ อื้ นมไปดืม่ เราเองก็ตอ้ ง ท�าแบบนัน้ แหละ แต่สดุ ท้ายแล้วสิง่ ส�าคัญทีส่ ดุ เลยก็คอื คุณจ�าเป็น ต้องมีแก่นความคิดของเรือ่ งทีค่ ณุ อยากจะพูดถึง
ภาพจากหนังสือ Ponte City (Walther Collection) โดย Patrick Waterhouse and Mikhael Subotzky | ISBN: 978-3-86930-750-3 | published by Steidl http://www.steidl.de/