วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 33 เล่ม 1

Page 1

นเรนทรสูรปนภพยักษา ยกพลโยธาพลากร ยังเนินจักรวาลสิงขร ตามไปราญรอนถึงบรรพต ทําลายพิธีเสียไดหมด ทั้งทศโยธาก็วายปราณ สุดปญญาจะตอกําลังหาญ ปมเสียชนมานแกไพรี พระบิตุรงคธิราชเรืองศรี ใชที่จะไรอนงคใน ผัวเขามาตามจงสงให ลูกเราจะไมมรณา ฯ

วารสารมหาว�ทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย สาขาสังคมศาสตร มนุษยศาสตร และศิลปะ

๏ ครั้นถึงนอมเศียรบังคมทูล วาอินทรชิตอสุรา ออกไปตั้งกิจพิธีการ พระลักษมณกับพวกวานร ยกเขาหักโหมโจมตี สิ้นทั้งคชามารถ แตลูกรักผูเดียวเคี่ยวฆา สิ้นสุดอาวุธจะรอนราญ จึ่งกลับเขามาบังคมบาท พระองคผูทรงธรณี อยาพะวงดวยสีดาโฉมงาม สงครามก็จะระงับไป

ÇÒÃÊÒÃÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÈÔŻҡà ©ºÑºÀÒÉÒä·Â ÊÒ¢ÒÊѧ¤ÁÈÒʵà Á¹ØÉÂÈÒʵà áÅÐÈÔŻР»‚·Õè 33 ©ºÑº·Õè 1 (Á¡ÃÒ¤Á-ÁԶعÒ¹) ¾.È. 2556

การขุดคนทางโบราณคดีบริเวณพื้นที่สถานีรถไฟธนบุรี (เดิม) : พื้นใชงานเดิมของคนธนบุรี กรรณิการ สุธีรัตนาภิรมย วรรณกรรมคําสอนภาคใต “ฉบับพิมพเลมเล็ก” : การสืบทอดและสรางสรรคดานเนื้อหาคําสอน พัชลินจ จีนนุน วรรณศิลปลานนาจากมหาชาติภาคพายัพ สํานวนสรอยสังกร วาทิต ธรรมเชื้อ การประมาณคาความผันผวนและการพยากรณมูลคากองทุนรวมหุนระยะยาว สุรชัย จันทรจรัส, ลัดดาวรรณ อาจพรม

(เลมที่ 2 : 616)

ปที่ 33 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน) พ.ศ. 2556

วัจนกรรมเกี่ยวกับความสุภาพและแนวคิดเรื่องหนากับการคุกคามหนา ของตัวละครในรามเกียรติ์ ศิวดล วราเอกศิริ

การศึกษาอัตลักษณทองถิ่นประจําภาคเหนือตอนลาง เพื่อการออกแบบเรขศิลปบน บรรจุภัณฑของที่ระลึก ทินวงษ รักอิสสระกุล และธัญญธร อินทรทาฉาง การศึกษาของนักเรียนตางดาวในโรงเรียนรัฐไทย ฐิติมดี อาพัทธนานนท การพัฒนาจริยธรรมในองคการผานกระบวนการบริหาร ทรัพยากรมนุษย สานิตย หนูนิล การแปรการใชศัพทของคนสามระดับอายุในภาษาไทดํา อําเภอเขายอย จังหวัดเพชรบุรี สุวัฒนา เลี่ยมประวัติ ความหมายและอัตลักษณของจีนฮากกา ศิริเพ็ญ อึ้งสิทธิพูนพร วัจนกรรมเกี่ยวกับความสุภาพและแนวคิดเรื่องหนากับการคุกคามหนาของตัวละครในรามเกียรติ์ ศิวดล วราเอกศิริ

ISSN 0857-5428

www.surdi.su.ac.th, www.journal.su.ac.th, www.tci-thaijo.org/index.php/sujthai


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร

ฉบับภาษาไทย สาขาสังคมศาสตร มนุษยศาสตร และศิลปะ ปที่ 33 ฉบับที่ 1 (มกราคม​-มิถุนายน) พ.ศ. 2556

Silpakorn University Journal Volume 33 Number 1 (January-June) 2013

ISSN 0857-5428

หนวยงานที่รับผิดชอบ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร อ.เมือง จ.นครปฐม 73000 วัตถุประสงค 1. เพื่อเผยแพรผลงานทางวิชาการสาขาสังคมศาสตร มนุษยศาสตร และศิลปะ ของ นักวิชาการทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย 2. เปนสือ่ กลางการแลกเปลีย่ นเรียนรูท างวิชาการในสาขาสังคมศาสตร มนุษยศาสตร และศิลปะ 3. สงเสริมใหนกั วิชาการและผูส นใจไดนำ�เสนอผลงานวิชาการในรูปบทความวารสาร ที่ปรึกษา ศาสตราจารยเกียรติคุณ ดร. เจตนา นาควัชระ ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร ศาสตราจารย ดร. สันติ เล็กสุขุม ภาควิชาประวัติศาสตรศิลปะ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ศาสตราจารย ดร. กุสุมา รักษมณี ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ผูชวยศาสตราจารย ดร. อริศร เทียนประเสริฐ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร บรรณาธิการ รองศาสตราจารยระเบียบ สุภวิรี ภาควิชาบรรณารักษศาสตร คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ทุกบทความ​ไดรับการตรวจความถูกตองทางวิชาการโดยผูทรงคุณวุฒิ​ วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย สาขาสังคมศาสตร มนุษยศาสตร และศิลปะ ผานการรับรองคุณภาพของศูนยดัชนีการอางอิงวารสารไทย (TCI) และอยูในฐานขอมูล TCI และจะถูกคัดเลือกเขาสูฐานขอมูล ASEAN Citation Index (ACI)


กองบรรณาธิการ ศาสตราจารยปรีชา เถาทอง ภาควิชาศิลปไทย คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร ศาสตราจารย ดร. สุวิไล เปรมศรีรัตน สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเซีย มหาวิทยาลัยมหิดล รองศาสตราจารยพิษณุ ศุภนิมิตร ภาควิชาภาพพิมพ คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร รองศาสตราจารย สุวัฒนา เลี่ยมประวัติ ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ผูชวยศาสตราจารย ดร. มาเรียม นิลพันธุ ภาควิชาหลักสูตรและวิธีการสอน คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ผูชวยศาสตราจารย ดร. บูลยจีรา ชิรเวทย ภาควิชาภาษาอังกฤษ คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร อาจารย จิรพนธ ธนศานติ ภาควิชาบรรณารักษศาสตร คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร บรรณาธิการบริหารวารสาร นางปรานี วิชานศวกุล กำ�หนดออก ปละ 2 ฉบับ (มกราคม-มิถุนายน และ กรกฎาคม-ธันวาคม) จำ�นวนพิมพ 300 เลม สอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ รองศาสตราจารยระเบียบ สุภวิรี บรรณาธิการวารสาร คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร อ.เมือง จ.นครปฐม 73000 E-mail: dawgrabiab107@gmail.com หรือ คุณปรานี วิชานศวกุล บรรณาธิการบริหารวารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร โทร. 080-5996680 E-mail: pranee_aon1@hotmail.com ผูเขียนบทความสามารถดาวนโหลดแบบฟอรมขอสงบทความเพื่อตีพิมพ ไดที่ Website: http://www.surdi.su.ac.th, http://www.journal.su.ac.th หรือ http://www.tci-thaijo. org/index.php/sujthai พิมพที่ โรงพิมพมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร อ.เมือง จ.นครปฐม 73000 โทรศัพท 034 – 255814


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร

ฉบับภาษาไทย สาขาสังคมศาสตร มนุษยศาสตร และศิลปะ ปที่ 33 ฉบับที่ 1 (มกราคม​-มิถุนายน) พ.ศ. 2556

สารบัญ บทบรรณาธิการ บทความประจำ�ฉบับ

5

การขุดคนทางโบราณคดีบริเวณพื้นที่สถานีรถไฟธนบุรี (เดิม) : 9 พื้นใชงานเดิมของคนธนบุรี กรรณิการ สุธีรัตนาภิรมย

วรรณกรรมคำ�สอนภาคใต “ฉบับพิมพเลมเล็ก” : การสืบทอดและสรางสรรคดานเนื้อหาคำ�สอน พัชลินจ จีนนุน

วรรณศิลปลานนาจากมหาชาติภาคพายัพ สำ�นวนสรอยสังกร วาทิต ธรรมเชื้อ

51

การประมาณคาความผันผวนและการพยากรณมูลคา กองทุนรวมหุนระยะยาว สุรชัย จันทรจรัส, ลัดดาวรรณ อาจพรม

73

การศึกษาอัตลักษณทองถิ่นประจำ�ภาคเหนือตอนลาง เพื่อการออกแบบเรขศิลปบนบรรจุภัณฑของที่ระลึก ทินวงษ รักอิสสระกุล และธัญญธร อินทรทาฉาง

93

การศึกษาของนักเรียนตางดาวในโรงเรียนรัฐไทย ฐิติมดี อาพัทธนานนท

111

การพัฒนาจริยธรรมในองคการผานกระบวนการ 131 บริหารทรัพยากรมนุษย สานิตย หนูนิล

25


การแปรการใชศัพทของคนสามระดับอายุในภาษาไทดำ� อำ�เภอเขายอย จังหวัดเพชรบุรี สุวัฒนา เลี่ยมประวัติ วัจนกรรมเกี่ยวกับความสุภาพและแนวคิดเรื่องหนา กับการคุกคามหนาของตัวละครในรามเกียรติ์ ศิวดล วราเอกศิริ ความหมายและอัตลักษณของจีนฮากกา ศิริเพ็ญ อึ้งสิทธิพูนพร​

149 175 215

ภาคผนวก

รายชื่อผูทรงคุณวุฒิอานบทความ วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร

241


บทบรรณาธิการ

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทยนีไ้ ดเปลีย่ นขนาดรูปเลมใหม จาก เดิมที่เคยใชขนาด A4 มาเปนขนาด 165 x 240 ซ.ม. เพื่อใหเปนขนาดเดียวกับวารสาร มหาวิทยาลัยศิลปากรฉบับภาษาอังกฤษ สาขาสังคมศาสตร มนุษยศาสตร และศิลปะ (Silpakorn University Journal of Social Sciences, Humanities, and Arts) วารสาร ฉบับนี้จึงมีรูปเลมกะทัดรัดและสะดวกตอการอานมากขึ้น เนื้ อ หาในฉบับนี้ประกอบดวยเรื่องหลากหลายที่ น  า อ า นจำ � นวน 10 เรื่ อ ง นับตั้งแตเรื่องโบราณคดี ภาษาและวรรณคดี การบริหารจัดการ และการศึกษา แต เนื้อหาสวนใหญเปนสาขาภาษาและวรรณคดี ซึ่งประกอบดวยเรื่อง วรรณกรรมคำ�สอน ภาคใต “ฉบับพิมพเลมเล็ก” ของพัชลินจ จีนนุน เปนการศึกษาการสืบทอดเนื้อหาของ วรรณกรรมคำ�สอนภาคใต “ฉบับพิมพเลมเล็ก” ซึ่งเปนผลงานของกวีชาวใต 3 จังหวัด คือ จังหวัดนครศรีธรรมราช สงขลา และพัทลุง ที่แตงขึ้นตั้งแต พ.ศ. 2470-2520 ทำ�ใหทราบวาวรรณกรรมคำ�สอนดังกลาว สวนหนึ่งเปนการนำ�คำ�สอนที่สืบทอดจาก โบราณที่สามารถนำ�มาปรับใชไดดีกับยุคสมัยนั้นๆ และอีกสวนหนึ่งเปนวรรรณกรรม ที่สรางขึ้นใหม ที่มุงเนนการพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชนชาวใตทุกระดับใหรูจักการ ปรับตัวใหเขากับสังคมใหม เรือ่ งถัดไปเปนวรรณกรรมลานนาคือเรือ่ ง วรรณศิลปลา นนา จากมหาชาติภาคพายัพ สำ�นวนสรอยสังกร ของวาทิต ธรรมเชื้อ ศึกษาความไพเราะ ทางวรรณศิลปของมหาชาติภาคพายัพ สำ�นวนสรอยสังกร ที่กวีไดสรางสรรคคำ�เพื่อ จงใจใหเกิดความไพเราะทางวรรณศิลป ใหผูอานผูฟงเกิดจินตนาการในการรับรสและ รับสารทีก่ วีไดถา ยทอดไว อันเปนปจจัยสำ�คัญทีท่ �ำ ใหมกี ารสืบทอดมาจนถึงปจจุบนั และ จากการศึกษาทำ�ใหทราบวามหาชาติภาคพายัพ สำ�นวนสรอยสังกรนั้น มีคุณคาทาง วรรณศิลปทั้งดานเสียง ดานคำ� และดานความหมาย สวนอีกเรื่องหนึ่งคือ การแปล การใชศัพทของคนสามระดับอายุในภาษาไทดำ� อำ�เภอเขายอย จังหวัดเพชรบุรี ของ สุวัฒนา เลี่ยมประวัติ ที่ศึกษาการแปรดานการใชศัพทและรูปแปรของศัพทในภาษา ไทดำ�หรือภาษาไทโซง ของชาวไทดำ�หรือไททรงดำ�หรือลาวโซงในสามระดับอายุคือ อายุ 60 ปขึ้นไป อายุ 35-55 ป และอายุ 18-30 ป ทำ�ใหทราบวาผูที่ใชศัพทไทดำ� มากที่สุดคือ ชาวไทดำ�ที่มีอายุ 60 ปขึ้นไป และจะสังเกตเห็นไดวาชุมชนภาษาไทดำ� หรือภาษาไทโซงในประเทศไทยนั้นไดรับผลกระทบจากการพัฒนาประเทศทุกดาน ในปจจุบัน ทำ�ใหชุมชนดังกลาวเปนชุมชนทวิภาษาหรือชุมชนพหุภาษาที่มีการใชทั้ง


ภาษาถิน่ เดิมและภาษาไทยกลาง และจากความเจริญในปจจุบนั ทำ�ใหชาวไทดำ�หรือ ลาวโซงรุนใหมใชภาษาไทยกลางมากกวาภาษาถิ่นเดิม อีกเรื่องหนึ่งคือ วัจนกรรม เกี่ ย วกั บ ความสุ ภ าพและแนวคิ ด เรื่ อ งหน า กั บ การคุ ก คามหน า ของตั ว ละครใน รามเกียรติ์ ของศิวดล วราเอกศิริ เปนการนำ�ทฤษฎีทางภาษามาเปนเครือ่ งมือในการ ศึกษาวรรณคดีเรือ่ งรามเกียรติ์ ฉบับพระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอด ฟาจุฬาโลกมหาราช ทีท่ �ำ ใหเห็นลักษณะบางประการในดานความสัมพันธของภาษาที่ สะทอนใหเห็นการใชชวี ติ ในสังคมไดอกี ลักษณะหนึง่ ผานตัวละครทีเ่ ปนฝายพลับพลา (หรือพระราม) กับฝายลงกา (หรือทศกัณฐ) โดยศึกษาตัวแปรเสริมทางดานวจนปฏิบตั ิ ดานความสุภาพของตัวละคร ตลอดจนศึกษาความสัมพันธระหวางความสุภาพ และแนวคิดเรื่องหนากับการคุกคาม โดยใชทฤษฎีความสุภาพของลิช บราวน และ เลวินสัน จากการศึกษาแสดงใหเห็นวาสังคมในวรรณคดีเรือ่ งรามเกียรติน์ นั้ เปนสังคม ทีต่ วั ละครมีการสือ่ สารทีใ่ กลเคียงกับสังคมของมนุษยจริง โดยใชถอ ยคำ�หรือภาษาที่ สุภาพในการสื่อสารกับฝายเดียวกัน แตเมื่อตองสื่อสารกับฝายตรงขามที่เปนศัตรู ก็จะใชถอยคำ�สื่อสารที่แสดงการคุกคามหนาของตัวละครในเชิงลบ เรื่องสุดทายใน กลุม ภาษาและวรรณคดีคอื เรือ่ ง ความหมายและอัตลักษณของจีนฮากกา ของศิรเิ พ็ญ อึ้งสิทธิพูนพร บทความนี้เขียนขึ้นมาเพื่อถายทอดความรูเกี่ยวกับกลุมชาติพันธุ “จีนฮากกา” หรือทีร่ จู กั กันทัว่ ไปในชือ่ “จีนแคะ” ในประเทศไทย ซึง่ ภาษาฮากกาเปน ภาษาในกลุมตระกูลจีน และภายในกลุมภาษาฮากกาก็มีภาษาถิ่นตางๆ มากมาย ตามความแตกตางกันทางภูมศิ าสตรและลักษณะของภาษา ผูเ ขียนใหความรูใ นเรือ่ ง ความหมายของคำ� ภาษาและสำ�เนียงถิน่ ตางๆ ของฮากกา อัตลักษณ การกระจายตัว ของชาวไทยเชื้อสายฮากกาในประเทศไทย การเคลื่อนไหวของลูกหลานในปจจุบัน และอนาคตของชาวฮากกาในประเทศไทย ซึ่งเปนขอมูลที่หาอานไดยาก สวนสาขาอืน่ ๆ มีสาขาละหนึง่ บทความคือ โบราณคดี กรรณิการ สุธรี ตั นา ภิรมย ศึกษาเรื่อง การขุดคนทางโบราณคดีบริเวณพื้นที่สถานีรถไฟธนบุรี เปนการ ศึกษาพืน้ ใชงานของคนธนบุรใี นอดีตทีไ่ มเคยมีการศึกษาและไมมปี รากฏในเอกสาร ทางประวัตศิ าสตรใดๆ มากอน จากเหตุทสี่ ถานีรถไฟธนบุรไี ดมอบพืน้ ทีบ่ างสวนให คณะแพทยศาสตรศริ ริ าชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดลเพือ่ ใชประโยชนทางการแพทย และในการนี้คณะแพทยศาสตรฯ ไดทำ�การปรับปรุงพื้นที่ใชสอยใหสอดคลองกับ การใชงานในอนาคต ระหวางการขุดดินเพือ่ เตรียมการสรางฐานรากอาคารใหมในป 2551 ก็ไดพบโบราณวัตถุจ�ำ นวนมากจึงเปนเหตุใหผเู ขียนตองการศึกษาวิจยั หลักฐาน ทางโบราณคดีทพี่ บเหลานัน้ วาในอดีตเคยเปนสถานทีใ่ ดมากอน สาขาเศรษฐศาสตร


มีบทความเรือ่ ง การประมาณคาความผันผวนและการพยากรณมลู คากองทุนรวมหุน ระยะยาว ของสุรชัย จันทรจรัส และลัดดาวรรณ อาจพรม ศึกษาวิจยั การลงทุนใน กองทุนรวมเพื่อนำ�เสนอเครื่องมือสำ�หรับนักลงทุนในการเลือกจังหวะการลงทุนที่ เหมาะสม โดยใชขอมูลจาก 4 กองทุนขนาดใหญคือ กองทุนเปดไทยพาณิชย หุน ระยะยาว 70/30 (SCBLT1) กองทุนเปดเค 70:30 หุน ระยะยาวปน ผล (K70LTF) กองทุนเปดเคหุนระยะยาว (KEQLTF) และกองทุนเปดบัวหลวงหุน ระยะยาว (B-LTF) วิเคราะหความผันผวนและการพยากรณมูลคาหนวยลงทุน กองทุ น หุ  น ระยะยาวด ว ยแบบจำ � ลอง ARIMA-GARCH สาขาการออกแบบ บรรจุภัณฑ ทินวงษ รักอิสระกุล และธัญญธร อินทรทาฉาง ศึกษาเรื่อง การศึกษาอัตลักษณทองถิ่นประจำ�ภาคเหนือตอนลางเพื่อการออกแบบเรขศิลป บนบรรจุ ภั ณ ฑ ข องที่ ร ะลึ ก เป น การศึ ก ษาอั ต ลั ก ษณ เ พื่ อ ใช เ ป น แนวทางใน การสรางรูปแบบเรขศิลปบนบรรจุภัณฑของที่ระลึกประจำ�ภาคเหนือ และพบวา อัตลักษณประจำ�ภาคเหนือตอนลางที่ควรใชเปนสื่อในการสรางรูปแบบเรขศิลป คือ สถานที่ทองเที่ยวทางศาสนา วัด วิหาร อุทยานแหงชาติ โบราณสถานทาง ประวัติศาสตร เทศกาลงานประพณี ภาษาพูด การแตงกาย คำ�ขวัญ และสิน คาพื้นเมือง ดานการศึกษาคือเรื่อง การศึกษาของนักเรียนตางดาวในโรงเรียน รัฐไทย ของฐิติมดี อาพัทธนานนท เปนการใหการศึกษาแกนักเรียนตางดาวใน โรงเรียนรัฐไทยในพื้นที่จังหวัดระนองและปตตานี จากการเก็บขอมูลทำ�ใหทราบ วารัฐจัดการศึกษาใหนักเรียนตางดาวโดยไมเสียคาใชจายก็จริง แตรัฐไมมีการ ประชาสัมพันธใหผูปกครองชาวตางดาวไดทราบแตประการใด และครูก็มิไดมี การจัดนักเรียนตางดาวเขาชั้นเรียนที่เหมาะสม ถึงแมวารัฐจะมีนโยบายใหเด็ก ตางดาวเขาเรียนในโรงเรียนของรัฐไดก็ตาม แตในทางปฏิบัตินั้นโอกาสทางการ ศึกษาของเด็กตางดาวก็ยังมีขอจำ�กัดอยูมาก และที่สำ�คัญคือนักเรียนตางดาว ที่เรียนในโรงเรียนของรัฐออกกลางคันเปนจำ �นวนมาก สวนสาขาการบริหาร บุคคล สานิตย หนูนิล ไดเขียนบทความเรื่อง การพัฒนาจริธรรมในองคการผาน กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย โดยมุงเสนอแนวคิดการพัฒนาจริยธรรมใน องคการดวยหลักทฤษีตางๆ ที่นำ�มาใชเพื่อการบริหารทรพยากรมนุษยในดาน การสรรหา การคัดเลือกพนักงาน การปฐมนิเทศพนักงานใหม การฝกอบรมและ การพัฒนา การประเมินผลการปฏิบัติงาน ตลอดจนการใหรางวัลและการลงโทษ อันเปนประโยชนในการนำ�ไปประยุกตใชเพื่อการพัฒนาจริยธรรมของบุคลากรใน องคกรภาครัฐและเอกชน


จากบทความทั้งหมดดังกลาว กองบรรณาธิการหวังวาจะกอใหเกิดความรู แกผูอานไดไมมากก็นอย ผูสนใจสามารถติดตามอานบทความไดทั้งในระบบ ออนไลนและตัวเลม วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากรยินดีเปนสื่อกลางการเผยแพร เพื่อแลกเปลี่ยนการเรียนรูทางวิชาการสูสังคมสารสนเทศ จึงใครขอเรียนเชิญ นั ก วิ ช าการทุ ก ท า นทั้ ง ภาครั ฐ และเอกชนได ส  ง บทความเพื่ อ พิ จ ารณาตี พิ ม พ ในวารสารฉบับถัดไป

(รองศาสตราจารยระเบียบ สุภวิรี) บรรณาธิการ


การขุดคนทางโบราณคดีบริเวณพื้นที่สถานีรถไฟธนบุรี (เดิม) : พื้นใชงานเดิมของคนธนบุรี 1 The Archaeological Excavation at the Former Thonburi Train Station Area : The Former Floor of Thonburi People กรรณิการ สุธีรัตนาภิรมย 2 Kannika Suteerattanapirom บทคัดยอ การศึ ก ษาวิ จั ย ทางโบราณคดี บ ริ เ วณพื้ น ที่ ส ถานี ร ถไฟธนบุ รี (เดิ ม ) ได ดำ�เนินงานในป พ.ศ. 2551 และ ป พ.ศ. 2554 ในระหวางการเก็บกู สำ�รวจและ ขุดคนทางโบราณคดีไดพบรองรอยหลักฐานทางโบราณคดีที่สำ�คัญหลายประการ ที่ไมเคยมีการคนพบมากอน ประเด็นสำ�คัญในการศึกษาครั้งนี้ คือ การศึกษาเรื่อง พื้นใชงานของคนในอดีตที่เคยใชพื้นที่ดังกลาวที่ยังไมเคยมีการศึกษา และไมปรากฏ เอกสารทางประวัติศาสตรใดที่กลาวถึงมากอน บทความนี้จึงมีวัตถุประสงคเพื่อแสดง การใช ร  อ งรอยหลั กฐานทางโบราณคดีที่ไ ดจ ากการขุ ด ค น ทางโบราณคดี แ ละการ วิเคราะหปริมาณโบราณวัตถุบริเวณพื้นที่สถานีรถไฟธนบุรี (เดิม) ในการหาพื้นใช งานเดิมของมนุษยที่เคยอาศัยอยูในพื้นที่ธนบุรีในบริเวณทางตอนเหนือดานที่ติดกับ คลองบางกอกนอยของเมืองธนบุรี จากวิเคราะหขอมูลหลักฐานที่ไดจากการขุดคน ทางโบราณพื้นที่สถานีรถไฟธนบุรี (เดิม) พบวา พื้นใชงานเดิมของคนธนบุรีอยูที่ระดับ ความลึก 100-120 เซนติเมตร ดวยพบรองรอยของสิ่งกอสรางประเภทพื้นทางเดินและ อาคารเครื่องไม และการศึกษาวิเคราะหโบราณวัตถุที่พบ คำ�สำ�คัญ: 1. โบราณคดีธนบุรี. 2. โบราณคดีสถานีรถไฟธนบุรี. 3. ธนบุรี. 4. ประวัติศาสตรธนบุรี. __________________ 1 บทความนีเ้ ปนสวนหนึง่ ของวิทยานิพนธปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต เรือ่ ง “กรุงธนบุรี ในสมัยอยุธยา ถึงตนรัตนโกสินทร” สาขาโบราณคดีสมัยประวัตศิ าสตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ไดรับ ทุนสนับสนุนจากโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (คปก.) สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย 2 อาจารยและนักศึกษาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร ภาควิชา โบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปที่ 33(1) : 9-24, 2556


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

Abstract The archaeological study in the former Thonburi train station area was conducted in 2008 and 2011. During the archaeological survey and excavation, many important pieces of archaeological evidences were found. The important point is that the area used by people in Thonburi has never been studied before and there was no discussion on this topic in any historical records. The objectives of this research is to present new pieces of archaeological evidences based on the technical method of the archaeological excavation and to investigate the area used by people in the northern part of Thonburi near Bangkok Noi canal. The archaeological evidence demonstrates that the areas used by people in this area is lower than the current ground surface at 100-120 cm. This is supported by ruins of footpath and wooden houses found in this area as well as an analysis of antiquities. Keywords: 1. Thonburi Archaeology. 2. Thonburi train station. 3. Thonburi. 4. Thonburi history.

10


การขุดคนทางโบราณคดีบริเวณพื้นที่สถานีรถไฟธนบุรี (เดิม) : พื้นใชงานเดิมของคนธนบุรี กรรณิการ สุธีรัตนาภิรมย

บทนำ� การวิเคราะหหาระดับพื้นใชงานดั้งเดิมของมนุษยในอดีตในทางโบราณคดีนั้น นักโบราณคดีใชเทคนิควิธีการ ดังตอไปนี้ คือ 1.) การสังเกตการเปลี่ยนแปลงของดินในระหวางการขุดคนทางโบราณคดี โดยการเปลี่ยนแปลงของดินนั้นอาจมีสีที่เขมขึ้นหรือจางลง หรือลักษณะของเนื้อดิน ที่เปลี่ยนแปลงไป เนื่องมาจากความชื้น อุณหภูมิ หรือสวนผสมของอนุภาคดินที่มา ประกอบกันเปนเนือ้ ดินนัน้ มีสว นผสมทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป ทัง้ นีม้ วล ขนาดและความหนาแนน ของอนุภาคดินมีการเปลี่ยนแปลงจะมีผลทำ�ใหสัมผัสของเนื้อดินระหวางการขุดคนมี การเปลี่ยนแปลงไปจนสัมผัสได 2.) โบราณวัตถุที่พบระหวางการขุดคนทางโบราณคดีมีการเปลี่ยนแปลง การ เปลีย่ นแปลงของโบราณวัตถุในทีน่ ี้ หมายถึง ปริมาณของโบราณวัตถุเพิม่ มากขึน้ ผิดปกติ ขนาดของโบราณวัตถุมีขนาดเล็กหรือใหญขึ้น หรือชนิดและความหนาแนนของโบราณ วัตถุมีเปลี่ยนแปลงอยางเห็นไดชัด ก็อาจทำ�ใหสันนิษฐานถึงกิจกรรมที่เปลี่ยนแปลงไป จากเดิม และลักษณะของกิจกรรมที่อาจเกิดขึ้นในระดับชั้นดินนั้นๆ ได ดังนั้น นักโบราณคดีจึงสามารถทำ�การวิเคราะหหาพื้นใชงานดั้งเดิมของมนุษย ที่เคยทำ�กิจกรรมอยู ณ บริเวณนั้น จากการสังเกตในระหวางการขุดคนทางโบราณคดี และใชวิธีการวิเคราะหโบราณวัตถุอยางละเอียดภายหลังการขุดคนเสร็จสิ้น เพื่อ ตรวจสอบลักษณะการใชงานของพื้นในอดีต กิจกรรมตางๆ ที่เคยเกิดขึ้น รวมไปถึง ระดับพื้นใชงานดั้งเดิมในกิจกรรมนั้นๆ ได การศึกษาทางโบราณคดีบริเวณพื้นที่สถานีรถไฟธนบุรี (เดิม) เนื่ อ งด ว ยสถานี ร ถไฟธนบุ รี ไ ด ม อบพื้ น ที่ บ ริ เ วณสถานี ร ถไฟธนบุ รี ใ ห คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดลใชประโยชนทางการแพทย ตอไป ในการนี้ คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาลไดดำ�เนินการปรับเปลี่ยนพื้นที่ ใชสอยใหม โดยสรางอาคารทางการแพทยหลังใหมและปรับภูมิทัศนใหสอดคลอง กั บ พื้ น ที่ ใ ช ส อยในอนาคต ในระหว า งการขุ ด ดิ น เพื่ อ เตรี ย มการสร า งฐานราก อาคารใหมในปพ.ศ. 2551 ไดพบโบราณวัตถุเปนจำ�นวนมาก จึงไดจัดทำ�โครงการ ศึ ก ษาวิ จั ย ทางโบราณคดี บริ เ วณพื้ น ที่ ส ถานี ร ถไฟธนบุ รี (เดิ ม ) เพื่ อ ศึ ก ษาวิ จั ย ทางโบราณคดี บ ริ เ วณพื้ น ที่ ดั ง กล า ว ในการศึ ก ษาทางโบราณคดี ใ นพื้ น ที่ ส ถานี รถไฟธนบุรี (เดิม) ไดด�ำ เนินการดังตอไปนี้ คือ เก็บกูแ ละสำ�รวจหลักฐานทางโบราณคดี ระหวางการเตรียมการกอสรางอาคาร รวมไปถึงขุดคนทางโบราณคดีจำ�นวน 6 หลุม (TP. 5-10) และขุดคนทางโบราณคดีปอ มพระราชวังหลังทีต่ งั้ อยูบ ริเวณดานหลังอาคาร ที่ทำ�การสถานีรถไฟธนบุรี 11


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

จากการดำ�เนินงานทางโบราณคดีไดพบรองรอยหลักฐานทางโบราณคดีที่ สามารถนำ�มาวิเคราะหหาพื้นใชงานดั้งเดิมของมนุษยที่เคยใชพื้นที่นี้ในอดีตไดจาก รองรอยหลักฐานที่พบในการขุดคนทางโบราณคดีปอมพระราชวังหลัง และในหลุมขุด คนที่ 9 และ 10 (TP. 9-10) ดังนี้ (กรรณิการ สุธรี ตั นาภิรมย 2551ก, 2551ข) (แผนผังที่ 1)

แผนผังที่ 1. ผังบริเวณสถานีรถไฟธนบุรี แสดงหลุมขุดคนที่พบรองรอยหลักฐานแสดงระดับพื้น ใชงานเดิม

การขุดคนทางโบราณคดีปอมพระราชวังหลัง ปอมพระราชวังหลังกับขอสันนิษฐานทางประวัติศาสตร หลักฐานทางเอกสารประวัติศาสตรที่กลาวถึงปอมพระราชวังหลังมีดังนี้ 1.) สมเด็จพระเจาวรวงศเธอ กรมพระยาดำ � รงราชานุ ภ าพทรงนิ พ นธ ถึ ง พระราชวังหลังไววา “พระราชวังหลังสรางที่ตำ�บลสวนลิ้นจี่ (คือ ตรงที่ตั้งโรงศิริราช พยาบาลบัดนี้) ตั้งแตกรมพระราชวังหลังดำ�รงพระยศเปนสมเด็จพระเจาหลานเธอ เจาฟากรมหลวงอนุรักษเทเวศร ดวยที่ตรงนั้นมีปอมปราการเปนมุมเมืองมาแตครั้ง ธนบุ รี จึ ง เป น ที่ สำ � คั ญ สำ � หรั บ ป อ งกั น พระนครทางฝ  ง ตะวั น ตก มาสถาปนาเป น พระราชวังหลังตอชั้นหลัง” (ดำ�รงราชานุภาพ, สมเด็จฯ กรมพระยา, 2513 : 11) จาก หลักฐานดังกลาว ทำ�ใหสันนิษฐานไดวา ปอมพระราชวังหลังเคยเปนปอมมุมเมือง ทางดานทิศตะวันออกเฉียงเหนือของเมืองธนบุรีมาแตครั้งธนบุรี และตอมาถูกปรับมา

12


การขุดคนทางโบราณคดีบริเวณพื้นที่สถานีรถไฟธนบุรี (เดิม) : พื้นใชงานเดิมของคนธนบุรี กรรณิการ สุธีรัตนาภิรมย

เปนปอมหัวมุมดานทิศตะวันออกเฉียงเหนือของพระราชวังหลังในสมัยรัชกาลที่ 1 2.) แผนที่กรุงเทพฯ พ.ศ. 2439 ไดแสดงลักษณะพื้นที่ของพระราชวังหลัง โดยพระราชวังหลังมีกำ�แพงลอมรอบมีแผนผังเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา บริเวณหัวมุม กำ�แพงดานทิศตะวันออกเฉียงเหนือมีลักษณะเปนรูปหัวแหวนอันแสดงถึงปอมบริเวณ มุมกำ�แพงทิศตะวันออกเฉียงเหนือของพระราชวังหลัง 3.) เอกสารเรื่องหอจดหมายเหตุแหงชาติ. เอกสารกรมราชเลขาธิการ รัชกาล ที่ 5 กระทรวงนครบาล. ร.5 น18 .1ข./125 (มร.5น/217) “เรื่อง ตวนนิ่มขายที่ตำ�บล นาปอมพระราชวังหลัง ถวายหลวงตามพระราชประสงค” (7-25 พ.ย.120) เนื่องดวย ในสมัยรัชกาลที่ 5 มีการเวนคืนที่ดินบริเวณนี้เพื่อสรางสถานีรถไฟธนบุรี ในเอกสาร การเวนคืนที่ดินแสดงชื่อเรียกตำ�บลนี้ในอดีตวา “ตำ�บลนาปอมพระราชวังหลัง” จากหลักฐานทางเอกสารยืนยันไดวาบริเวณดังกลาวเคยมีปอมพระราชวังหลัง อยู  จ ริ ง และเมื่ อ นำ � แผนที่ ป  จ จุ บั น และแผนที่ โ บราณในป พ.ศ. 2439 มาศึ ก ษา เปรียบเทียบ ทำ�ใหทราบถึงตำ�แหนงที่ตั้งและแผนผังของปอมพระราชวังหลัง อยางไร ก็ตามยังไมมีหลักฐานทางเอกสารประวัติศาสตรใดที่อธิบายถึงพื้นที่กอนหนามีปอม พระราชวังหลังวาเปนอยางไร (ภาพที่ 1)

ภาพที่ 1. แผนทีก่ รุงเทพฯ พ.ศ. 2439 แสดงพืน้ ทีบ่ ริเวณสถานีรถไฟธนบุรกี อ นการสรางสถานีรถไฟ ปรากฏพระราชวังหลัง มีปอ มปราการทีม่ มุ กำ�แพงดานทิศตะวันออกเฉียงเหนือ (ซาย) และ พืน้ ทีด่ า นหลังอาคารทีท่ ำ�การสถานีรถไฟธนบุรที ขี่ ดุ พบฐานบางสวนของปอมพระราชวัง หลัง (ขวา) ที่มา : กองบัญชาการทหารสูงสุด 2543 (ภาพซาย)

13


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

ปอมพระราชวังหลังกับการขุดคนทางโบราณคดี บริ เ วณที่ ทำ � การขุ ด ค น ทางโบราณคดี ป  อ มพระราชวั ง หลั ง ตั้ ง อยู  บ ริ เ วณ ด า นหลั ง อาคารที่ทำ � การสถานีรถไฟธนบุรี โดยได ขุ ด ค น พบป อ มพระราชวั ง หลั ง ครั้งแรกในป พ.ศ. 2551 และทำ�การขุดคนเพื่อศึกษาโดยละเอียดอีกครั้งในป พ.ศ.2554 ปอมพระราชวังหลังที่ขุดพบมีลักษณะสำ�คัญ 2 ประการ คือ (ภาพที่ 2)

ภาพที่ 2. ฐานบางสวนของปอมพระราชวังหลังที่ขุดพบบริเวณดานหลังของอาคารที่ทำ�การสถาน รถไฟธนบุรี มุมมองจากทางดานเหนือ (ซาย) และทิศใต (ขวา)

1.) แนวกำ�แพงปอมพระราชวังหลังกอดวยอิฐ พบเปนแนวยาว 18 เมตร โดยบริเวณสวนฐานที่กอเปนกำ�แพงปอมพระราชวังหลังพบที่ระดับต่ำ�กวาผิวดิน ปจจุบัน 1 เมตร มีความกวางของกำ�แพงประมาณ 1.9-2 เมตร อิฐที่ใชกอกำ�แพง มีขนาดเฉลี่ย 17.5 x 34 x 8.5 เซนติเมตร แนวกำ�แพงมีความสูงประมาณ 2.3 เมตร โดยอิฐที่ใชกอในระดับลางจะมีขนาดใหญกวาอิฐที่ใชกอในระดับบน 2.) แนวทางเดินรอบตัวปอมดานนอก ปู ด  ว ยอิ ฐ พบที่ ร ะดั บ ความลึ ก ประมาณ 100-110 เซนติเมตร จากพื้นดินปจจุบัน แนวทางเดินนี้มีความกวางประมาณ 1-1.20 เมตร อิฐมีขนาดเฉลี่ย 18 x 36 x 12 เซนติเมตร ระเบียบของการกอและ เรียงอิฐมีระบบที่แนนอน คือ การใชอิฐเรียงในแนวยาว 2 กอน ในแนวขวาง 2 กอน เรียงสลับกันไป 14


การขุดคนทางโบราณคดีบริเวณพื้นที่สถานีรถไฟธนบุรี (เดิม) : พื้นใชงานเดิมของคนธนบุรี กรรณิการ สุธีรัตนาภิรมย

นอกจากลักษณะสำ�คัญ 2 ประการของปอมพระราชวังหลังที่พบแลว ยังพบ หลักฐานสำ�คัญ คือ พบพื้นทางเดินใตแนวทางเดินรอบปอมพระราชวังหลัง ซึ่งปรากฏ เปนพื้นทางเดินปูดวยอิฐ และเปนคนละบริบทกับปอมพระราชวังหลัง ซึ่งมีลักษณะ กอสรางที่แตกตางจากปอม ทั้งขนาดของอิฐ และระเบียบวิธีในการกออิฐ พื้นทางเดินใตปอมพระราชวังหลังกับขอสันนิษฐานทางโบราณคดี พื้นทางเดินที่ถูกซอนทับอยูดานลางของตัวปอมและทางเดินรอบปอมเปน สิ่งที่สนใจในการศึกษาครั้งนี้ โดยพื้นทางเดินที่พบปูดวยอิฐ ซึ่งอิฐที่ใชกอมีขนาดเล็ก กวาอิฐกอที่พบบริเวณอื่นๆ โดย มีขนาดเฉลี่ย 14 x 26 x 4.5 เซนติเมตร พบที่ระดับ ประมาณ 100-120 เซนติ เ มตร อิ ฐ ส ว นใหญ มี ส ภาพแตกหั ก เป น ครึ่ ง ก อ น แตยังสามารถเห็นระบบการเรียงอิฐไดอยางชัดเจนวามีการเรียงดวยการใชอิฐดานยาว สองกอนสลับกับดานกวางสองกอนเรียงสลับตอกันไปเปนจังหวะ (ภาพที่ 3)

ภาพที่ 3. ฐานบางสวนของปอมพระราชวังหลังที่ขุดพบ และพื้นทางเดินที่พบใตฐานปอมพระราชวัง หลัง ที่ระดับ105-120 จากผิวดินปจจุบัน (ลางขวา)

จากรองรอยหลักฐานที่พบ สันนิษฐานวาปอมพระราชวังหลังเปนปอมที่สราง เสริมขึ้นมาในสมัยรัชกาลที่ 1 เพราะฉะนั้นพื้นทางเดินที่อยูใตปอมพระราชวังหลังนั้น ควรมีอายุสมัยอยูกอนการสรางเสริมปอมพระราชวังหลังในสมัยรัชกาลที่ 1 หรือมีอายุ ไมมากไปกวาสมัยธนบุรี และมีระดับต่ำ�กวาผิวดินปจจุบัน 100-120 เซนติเมตร จาก ขอสันนิษฐานดังกลาวสามารถสนับสนุนดวยหลักฐานทางโบราณคดีที่พบจากการ ขุดคนทางโบราณคดีในหลุมขุดคนที่ 9 และ 10 (TP. 9-10)

15


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

หลุมขุดคนที่ 9 (TP. 9) หลุมขุดคนที่ 9 (TP. 9) ตั้งอยูดานขางของอาคารที่ทำ�การสถานีรถไฟธนบุรี หลุมขุดคนมีขนาด 2 x 4 เมตร คิดเปนพื้นที่ 8 ตารางเมตรในแนวระนาบ จาก การขุดคนทางโบราณคดี ไดพบรองรอยหลักฐานทีส่ นับสนุนขอสันนิษฐานดังกลาว ดังนี้ 1.) รองรอยของสิ่งกอสรางที่ระดับ 140-160 cm.dt. (หรือต่ำ�กวาระดับ ผิวดินปจจุบัน 100-120 เซนติเมตร) รองรอยของสิ่งกอสรางที่พบ คือ พื้นทางเดินปูดวยอิฐ พบที่ระดับความลึก 140-160 cm.dt. (หรือต่ำ�กวาระดับผิวดินปจจุบัน 100-120 เซนติเมตร) (ภาพที่ 4) อิฐใชปูมีขนาดเฉลี่ย 14 x 26 x 4.5 เซนติเมตร พื้นทางเดินที่พบที่หลุมขุดคนที่ 9 นี้ สามารถเทียบเคียงไดกับพื้นทางเดินใตปอมพระราชวังหลัง ซึ่งมีลักษณะการเรียงตัว ของอิฐ ขนาดของอิฐ ตลอดจนระดับที่พบที่ใกลเคียงกัน

ภาพที่ 4. พื้นทางเดินปูดวยอิฐเรียงตัวเปนแนวยาวพบในหลุมขุดคนที่ 9 และโบราณวัตถุที่พบใน ระดับต่ำ�กวาระดับผิวดินปจจุบัน 100-120 เซนติเมตร

16


การขุดคนทางโบราณคดีบริเวณพื้นที่สถานีรถไฟธนบุรี (เดิม) : พื้นใชงานเดิมของคนธนบุรี กรรณิการ สุธีรัตนาภิรมย

2.) พื้นใชงานเดิมของพื้นที่บริเวณนี้อยูที่ระดับ 140-160 cm.dt. (หรือ ต่ำ�กวาระดับผิวดินปจจุบัน 100-120 เซนติเมตร) จากการวิ เ คราะห ป ริ ม าณโบราณวั ต ถุ ที่ พ บในแต ล ะชั้ น ดิ น ทางโบราณคดี พบวา โบราณวัตถุพบตั้งแตระดับ 40-100 cm.dt. dt (หรือต่ำ�กวาระดับผิวดิน ปจจุบัน 0-60 เซนติเมตร) เปนชั้นรบกวนเนื่องจากยังพบเศษวัตถุสมัยใหมปะปนอยู ในระดับ 100-140 cm.dt. (หรือต่ำ�กวาระดับผิวดินปจจุบัน 60-100 เซนติเมตร) ไมพบ โบราณวัตถุใดๆ และจะพบโบราณวัตถุอีกครั้งหนึ่งที่ในระดับ 140-160 cm.dt (หรือ ต่ำ�กวาระดับผิวดินปจจุบัน 100-120 เซนติเมตร) ในปริมาณมากที่สุด โดยในระดับนี้ มีคาเฉลี่ยความหนาแนนของเศษภาชนะดินเผาที่พบตอพื้นที่ 1 ตารางเมตร มากที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับเศษภาชนะที่พบในชั้นดินอื่นๆ โดยมีคาเฉลี่ยความหนาแนนของ เศษภาชนะดินเผาเนื้อดินแบบพื้นเมืองที่พบ 2.5 ชิ้น ตอ 1 ตารางเมตร (ตารางที่ 1) และคาเฉลี่ยความหนาแนนของเศษภาชนะดินเผาเนื้อแกรงและเนื้อกระเบื้อง 2 ชิ้น ตอ 1 ตารางเมตร (ตารางที่ 2) นอกจากนั้นในระดับเดียวกันนี้ ไดพบเศษกระเบื้อง มุ ง หลั ง คาเป น ปริ ม าณมากที่ สุ ด ด ว ย โดยมี ค  า เฉลี่ ย ความหนาแน น ของกระเบื้ อ ง มุงหลังคาในระดับนี้เทากับ 2.75 ชิ้น ตอ 1 ตารางเมตร (ตารางที่ 3) โดยคาเฉลี่ย ของปริมาณโบราณวัตถุที่พบทั้งหมดในระดับนี้มีมากกวาระดับอื่นๆ จากหลักฐาน ดังกลาวอาจกลาวไดวาพื้นใชงานเดิมในอดีตในพื้นที่นี้อยูที่ระดับ 140-160 cm.dt. (หรือต่ำ�กวาระดับผิวดินปจจุบัน 100-120 เซนติเมตร) ซึ่งสัมพันธกับพื้นทางเดินที่พบ อยางไรก็ตาม นาเสียดายวาโบราณวัตถุทพี่ บสวนใหญมสี ภาพแตกหัก ไมสมบูรณ หรือ ขอมูลในตัวโบราณวัตถุมไี มเพียงพอทีจ่ ะนำ�มาวิเคราะหเพือ่ แสดงความชัดเจนของพืน้ ที่ ไดรวมกับหลักฐานอื่นๆ 3.) โบราณวัตถุที่พบที่ระดับ 140-160 cm.dt. (หรือต่ำ�กวาระดับผิวดิน ปจจุบัน 100-120 เซนติเมตร) โบราณวัตถุที่พบแบงออกเปนเศษภาชนะดินเผาเนื้อดินแบบพื้นเมืองที่ผลิตใน ประเทศ (Earthenware) จำ�นวน 20 ชิ้น และเศษภาชนะดินเผาเนื้อแกรงและ เนื้อกระเบื้อง (Stoneware & Porcelain) จำ�นวน 16 ชิ้น เศษภาชนะดินเผาที่นาสนใจ และนำ�มาเปนหลักฐานในการกำ�หนดอายุในระดับชั้นดินนี้ คือ เศษเครื่องถวยจีน หมายเลข 002/122 เปนเครื่องถวยเขียนลงยาสีแบบที่เรียกวา เฟนไช (Fen Cai) มี ลั ก ษณะการใช สี ช มพู อ มขาว ผสมสี แ บบทึ บ ไม โ ปร ง แสง เขี ย นเป น ลายนู น ที่ ผิวภาชนะ เครื่องถวยชนิดนี้ผลิตจากเตาเอกชนของจีนที่เริ่มผลิตออกจำ�หนายใน ป พ.ศ. 2263-2268 เปนตนมา (Harrisson 1995) ลักษณะของตกแตงภาชนะและกระบวน ลายบนผิวเศษภาชนะนี้มีความเปนไปสูงวาผลิตในสมัยอยุธยาตอนปลาย และจะไมเกา

17


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

ไปกวารัชกาลของพระเจาทายสระ (พ.ศ. 2251-2275) (ผลจากการวิเคราะหโบราณวัตถุ ของธนพันธุ ขจรพันธุ สัมภาษณ 19 สิงหาคม 2555) (ภาพที่ 5)

ภาพที่ 5. เศษเครื่องถวยจีน ตกแตงดวยการเขียนลงยาสีแบบเฟนไช (Fen Cai) ในสมัยอยุธยา ตอนปลาย ทีพ่ บในหลุมขุดคนที่ 9 ทีร่ ะดับความลึกจากผิวดินปจจุบนั 100-120 เซนติเมตร

18


การขุดคนทางโบราณคดีบริเวณพื้นที่สถานีรถไฟธนบุรี (เดิม) : พื้นใชงานเดิมของคนธนบุรี กรรณิการ สุธีรัตนาภิรมย

ตารางที่ 1. ตารางวิเคราะหชนั้ ดินทางโบราณคดีกบั ความหนาแนนของเศษภาชนะดิน เผาเนื้อดินแบบพื้นเมืองที่ผลิตในประเทศ (Earthenware) ที่พบตอพื้นที่ 1 ตารางเมตร ในระดับชั้นดินตางๆ ในหลุมขุดคนที่ 9 (TP. 9) ลำ�ดับชั้นวัฒนธรรม

ระดับชั้นดิน สมมติ (cm. dt.) (cm.s.)

จำ�นวนเศษ ภาชนะ / น้ำ� หนัก (กรัม)

ความหนาแนนของ โบราณวัตถุที่พบ / น้ำ�หนัก (กรัม) ตอ 1 ตร.ม.

การวิเคราะห ชั้นดินทางโบราณคดี

ชั้นที่ 1 ชั้นดินเหนียว ปนทรายถมสีเทา (10YR 7/6)

L1 40-60 (0-20)

3 / 196

0.37

ชั้นดินรบกวน เนื่องจากพบวัตถุสมัยใหม

ชั้นที่ 2 ชั้นดินเหนียว ถมสีเทาดำ� (10YR 6/2)

L2 60-80 (20-40)

5 / 225

0.62

ชั้นดินรบกวน เนื่องจากพบวัตถุสมัยใหม

ชั้นที่ 3 ชั้นดินเหนียว ผสมลูกรัง (7.5YR 5/3)

L3 80-100 (40-60)

0

0

ชั้นดินถม

ชั้นที่ 4 ชั้นดินเหนียว สีเทา (10YR 6/1)

L4 100-120 (60-80)

0

0

ชั้นดินถม

L5 120140 (80-100)

0

0

ชั้นดินถม

ชั้นที่ 5 ชั้นดินเหนียว สีเทาอมเหลือง (2.5YR4/1)

L6 140160 (100120)

20 / 1314

2.5

ชั้นดินกิจกรรม ของมนุษยในอดีต

L7 160180 (120140)

2 / 42

0.25

ชั้นดินกิจกรรม ของมนุษยในอดีต

L8 180200 (140-160)

0

0

ชั้นทับถมทางธรณีวิทยา

19


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

ตารางที่ 2. ตารางวิเคราะหชนั้ ดินทางโบราณคดีกบั ความหนาแนนของเศษภาชนะดิน เผาเนื้อแกรงและเนื้อกระเบื้อง (Stoneware & Porcelain) ที่พบตอพื้นที่ 1 ตารางเมตร ที่ในระดับชั้นดินตางๆ ในหลุมขุดคนที่ 9 (TP. 9) ลำ�ดับชั้นวัฒนธรรม

ระดับชั้นดิน สมมติ (cm.dt.) (cm.s.)

จำ�นวนเศษ ภาชนะดิน เผา / น้ำ�หนัก (กรัม)

ความหนาแนนของ โบราณวัตถุที่พบ / น้ำ�หนัก (กรัม) ตอ 1 ตารางเมตร

การวิเคราะห ชั้นดินทางโบราณคดี

ชั้นที่ 1 ชั้นดินเหนียว ปนทรายถมสีเทา (10YR 7/6)

L1 40-60 (0-20)

0

0

ชั้นดินรบกวน เนื่องจากพบวัตถุสมัยใหม

ชั้นที่ 2 ชั้นดินเหนียว ถมสีเทาดำ� (10YR 6/2)

L2 60-80 (20-40)

3 /96

0.375

ชั้นดินรบกวน เนื่องจากพบวัตถุสมัยใหม

ชั้นที่ 3 ชั้นดินเหนียว ผสมดินลูกรัง (7.5YR 5/3)

L3 80-100 (40-60)

2 / 60

0.25

ชั้นดินรบกวน เนื่องจากพบวัตถุสมัยใหม

ชั้นที่ 4 ชั้นดินเหนียว สีเทา (10YR 6/1)

L4 100-120 (60-80)

0

0

ชั้นดินถม

L5 120140 (80-100)

0

0

ชั้นดินถม

L6 140160 (100120)

16 / 338

2

ชั้นดินกิจกรรม ของมนุษยในอดีต

L7 160-180 (120-140)

4 / 17

0.5

ชั้นดินกิจกรรม ของมนุษยในอดีต

L8 180200 (140-160)

0

0

ชั้นทับถมทางธรณีวิทยา

ชั้นที่ 5 ชั้นดินเหนียว สีเทาอมเหลือง (2.5YR4/1)

20


การขุดคนทางโบราณคดีบริเวณพื้นที่สถานีรถไฟธนบุรี (เดิม) : พื้นใชงานเดิมของคนธนบุรี กรรณิการ สุธีรัตนาภิรมย

ตารางที่ 3. ตารางวิเคราะหชั้นดินทางโบราณคดีกับความหนาแนนของเศษกระเบื้อง มุงหลังที่พบ ตอพื้นที่ 1 ตารางเมตร ที่ในระดับชั้นดินตางๆ ในหลุมขุดคน ที่ 9 (TP. 9) ลำ�ดับชั้นวัฒนธรรม

ระดับชั้นดิน สมมติ (cm. dt.) (cm.s.)

จำ�นวนเศษ กระเบื้องมุง หลังคา/ น้ำ�หนัก (กรัม)

ความหนาแนนของ โบราณวัตถุที่พบ / น้ำ�หนัก (กรัม) ตอ 1 ตารางเมตร

การวิเคราะห ชั้นดินทางโบราณคดี

ชั้นที่ 1 ชั้นดินเหนียว ปนทรายถมสีเทา (10YR 7/6)

L1 40-60 (0-20)

0

0

ชั้นดินรบกวน เนื่องจากพบวัตถุสมัยใหม

ชั้นที่ 2 ชั้นดินเหนียว ถมสีเทาดำ� (10YR 6/2)

L2 60-80 (20-40)

1 / 53

0.125

ชั้นดินรบกวน เนื่องจากพบวัตถุสมัยใหม

ชั้นที่ 3 ชั้นดินเหนียว ผสมดินลูกรัง (7.5YR 5/3)

L3 80-100 (40-60)

22 / 119

0.25

ชั้นดินรบกวน เนื่องจากพบวัตถุสมัยใหม

ชั้นที่ 4 ชั้นดินเหนียว สีเทา (10YR 6/1)

L4 100-120 (60-80)

0

0

ชั้นดินถม

L5 120-140 (80-100)

0

0

ชั้นดินถม

ชั้นที่ 5 ชั้นดินเหนียว สีเทาอมเหลือง (2.5YR4/1)

L6 140-160 (100-120)

22 / 562

2.75

ชั้นดินกิจกรรม ของมนุษยในอดีต

L7 160-180 (120-140)

4 / 100

0.5

ชั้นดินกิจกรรม ของมนุษยในอดีต

L8 180-200 (140-160)

0

0

ชั้นทับถมทางธรณีวิทยา

หลุมขุดคนที่ 10 (TP. 10) หลุมขุดคนที่ 10 (TP. 10) ตั้งอยูดานหนาของอาคารที่ทำ�การสถานีรถไฟธนบุรี ใกลบริเวณชานชาลาเดิม หลุมขุดคนมีขนาด 2 x 2 เมตร คิดเปนพื้นที่ 4 ตารางเมตร จากการขุดคนทางโบราณคดี ที่สนับสนุนขอสันนิษฐานดังกลาว ดังนี้ 1.) รองรอยของสิ่งกอสรางที่ระดับ 140-160 cm.dt. (หรือต่ำ�กวาระดับผิว ดินปจจุบัน 100-120 เซนติเมตร) รองรอยของสิ่งกอสรางที่พบ คือ เข็มไมปกเรียงตอกันเปนแนว เข็มไมนี้เปน

21


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

สวนหนึง่ ของฐานรากของสิง่ กอสราง เริม่ พบทีร่ ะดับ 160-180 cm.dt (หรือต่�ำ กวาผิวดิน ปจจุบัน 120-140 เซนติเมตร) (ภาพที่ 6) แสดงวาเข็มไมนี้ใชปกเพื่อรองรับสิ่งกอสราง ที่อยูเหนือที่ระดับ 120 เซนติเมตรขึ้นไป 2.) พื้นใชงานเดิมของพื้นที่บริเวณนี้อยูที่ระดับ 140-160 cm.dt. (หรือต่ำ� กวาระดับผิวดินปจจุบัน 100-120 เซนติเมตร) พบโบราณวั ต ถุ เ พี ย งชนิ ด เดี ย ว คื อ เศษกระเบื้ อ งมุ ง หลั ง คาดิ น เผา โดย มีปริมาณมากที่สุดที่ระดับ 140-160 cm.dt (หรือต่ำ�กวาผิวดินปจจุบัน 100-120 เซนติ เ มตร) โดยมี ค  า เฉลี่ ย ของความหนาแน น ของกระเบื้ อ งมุ ง หลั ง คาที่ พ บเป น 10.25 ชิ้น ตอ 1 ตารางเมตร (ตารางที่ 4) ชนิดของเศษกระเบื้องมุงหลังคาที่พบ คื อ กระเบื้ อ งมุ ง หลั ง คาเกล็ ด เต า เพราะฉะนั้ น จากปริ ม าณและชนิ ด ของโบราณ วัตถุที่พบเพียงชนิดเดียว คือ กระเบื้องมุงหลังคาเกล็ดเตา อาจกลาวไดวาบริเวณ พื้ น ที่ นี้ เ คยเป น พื้ น ใช ง านเดิ ม ของอาคารเครื่ อ งไม มุ ง กระเบื้ อ งเกล็ ด เต า อยู  เมื่ อ อาคารผุพัง ชำ�รุด หรือทิ้งรางไป กระเบื้องมุงหลังคาจึงตกหรือถูกรื้อออกจึงปรากฏ รองรอยเศษกระเบื้องหลนกระจัดกระจายอยูบนพื้นดังที่หลักฐานที่ขุดคนพบ จากหลักฐานดังกลาวแสดงวาบริเวณหลุมขุดคนที่ 10 ดานหนาของอาคาร ที่ทำ�การสถานีรถไฟธนบุรี เคยมีอาคารไมมุงกระเบื้องเกล็ดเตา ที่ระดับต่ำ�กวาผิวดิน 100-120 เซนติเมตร มากอน

ภาพที่ 6. เข็มไมปกเปนแนวเรียงตอกันที่พบในหลุมขุดคนที่ 10 และเศษกระเบื้องมุงหลังคาดินเผา เกล็ดเตาที่พบในระดับต่ำ�กวาระดับผิวดินปจจุบัน 100-120 เซนติเมตร

22


การขุดคนทางโบราณคดีบริเวณพื้นที่สถานีรถไฟธนบุรี (เดิม) : พื้นใชงานเดิมของคนธนบุรี กรรณิการ สุธีรัตนาภิรมย

อภิปรายและสรุปผล จากการขุดคนทางโบราณคดีบริเวณพื้นที่สถานีรถไฟธนบุรี สามารถสรุปความ สัมพันธของรองรอยหลักฐานที่ไดจากการขุดคนทางโบราณคดีปอมพระราชวังหลัง หลุมขุดคนที่ 9 (TP. 9) และหลุมขุดคนที่ 10 (TP. 10) ไดดังนี้ (ตารางที่ 5) พื้นทางเดินที่อยูใตปอมพระราชวังหลัง มีอายุสมัยอยูกอนการสรางเสริมปอม พระราชวังหลังในสมัยรัชกาลที่ 1 และมีระดับต่�ำ กวาผิวดินปจจุบนั 100-120 เซนติเมตร โดยมีระดับสัมพันธกับพื้นใชงานเดิมในหลุมขุดคนที่ 9 (TP. 9) โดยเคยมีพื้นทางเดิน บริเวณนี้ และเคยมีอาคารเครื่องไมมุงดวยกระเบื้องเกล็ดเตาบริเวณหลุมขุดคนที่ 10 (TP. 10) ทั้งนี้เศษเครื่องถวยจีนลงยาหมายเลข 002/122 ที่พบในหลุมขุดคนที่ 9 ในระดับเดียวกันนี้ สามารถกำ�หนดอายุไดไมเกาไปกวารัชกาลของพระเจาทายสระ (พ.ศ. 2251-2275) หรือในสมัยอยุธยาตอนปลาย เพราะฉะนั้น ในระดับพื้นใชงาน ในระดับ 100-120 เซนติเมตร ในบริเวณนี้จึงควรเปนพื้นใชงานเดิมที่มีอายุอยูใน สมัยอยุธยาตอนปลายถึงธนบุรี ขอขอบคุณ การศึกษานี้ไดรับการสนับสนุนจากหนวยงานตางๆ ไดแก โครงการปริญญา เอกกาญจนาภิเษก (คปก.) สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย East-West Center University of Hawaii at Manoa และคณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัย มหิดล และจากอาจารยที่ปรึกษาการวิจัย ศาสตราจารย ดร.สุริยวุฒิ สุขสวัสดิ์ และ รองศาสตราจารย ดร.รัศมี ชูทรงเดช 



23




วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

บรรณานุกรม ภาษาไทย กรรณิการ สุธีรัตนาภิรมย. (2551ก). การศึกษาวิจัยทางโบราณคดีบริเวณพื้นที่ สถานีรถไฟธนบุรี (เดิม) ระยะที่ 1 – การเก็บกูแ ละการสำ�รวจทางโบราณคดี. กรุงเทพฯ: ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร. รายงาน การวิจัยเสนอตอคณะแพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล. ________. (2551ข). การศึกษาวิจัยทางโบราณคดีบริเวณพื้นที่สถานีรถไฟ ธนบุรี (เดิม) ระยะที่ 2 - การขุดคนทางโบราณคดี. กรุงเทพฯ: ภาควิชา โบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร. รายงานการวิจัยเสนอตอ คณะแพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล. ________. (2555). รายงานการศึกษาและขุดคนทางโบราณคดีฐานปอม พระราชวังหลัง. รายงานการวิจัยเสนอตอคณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล. กองบัญชาการทหารสูงสุด. (2513). แผนที่กรุงเทพฯ พ.ศ. 2431-2475. กรุงเทพฯ: กรมแผนที่ทหาร, 2543 (พิมพขึ้นนอมเกลาฯ ถวายเนื่องในโอกาสราชพิธีมหา มงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม พ.ศ. 2443) ธนพันธุ ขจรพันธุ. (2555). การศึกษาวิเคราะหโบราณวัตถุประเภทเครื่องถวย ที่พบในโครงการศึกษาวิจัยทางโบราณคดีพื้นที่สถานีรถไฟธนบุรี (เดิม). สัมภาษณ 19 สิงหาคม 2555. ดำ�รงราชานุภาพ, สมเด็จฯ กรมพระยา. (2513). ประชุมพงศาวดารภาคที่ 26 เรื่อง ตำ�นานวังเกา. พระนคร: กรมศิลปากร. หอจดหมายเหตุแหงชาติ. (2444). เอกสารกรมราชเลขาธิการ รัชกาลที่ 5 กระทรวง นครบาล. ร.5 น18.1ข./125 (มร.5น/217) “เรื่อง ตวนนิ่มขายที่ตำ�บลนาปอม พระราชวังหลัง ถวายหลวงตามพระราชประสงค” (7-25 พ.ย. 120) ภาษาอังกฤษ Harrisson, Barbara V. (1995). Later ceramics in South-East Asia, sixteenth to twentieth centuries. Kuala Lumpur; New York: Oxford University Press.

24


วรรณกรรมคำ�สอนภาคใต “ฉบับพิมพเลมเล็ก”: การสืบทอดและ สรางสรรคดานเนื้อหาคำ�สอน 1 The Southern Didactic Literature in Booklet Format: its Transmission and Creation of Content พัชลินจ จีนนุน 2 Phatchalin Jeennoon

บทคัดยอ บทความนีม้ จี ดุ มุง หมายเพือ่ ศึกษาการสืบทอดและสรางสรรคดา นเนือ้ หาคำ�สอน ของวรรณกรรมคำ�สอนภาคใต “ฉบับพิมพเลมเล็ก” ซึง่ มีขนาดรูปเลมคลายคลึงกับหนังสือ วัดเกาะ เปนผลงานของกวีชาวใต จังหวัดนครศรีธรรมราช สงขลาและพัทลุงซึ่งแตง ขึ้นตั้งแตป พ.ศ. 2470 - 2520 ผลการวิจัยพบวาเนื้อหาของวรรณกรรมคำ�สอนภาคใต “ฉบับพิมพเลมเล็ก” นี้มีทั้งที่สืบทอดจากคำ�สอนโบราณ และสรางสรรคขึ้นใหมใหแกชุม ชนชาวใต ที่เปนการสืบทอดนั้นสวนหนึ่งเปนการนำ�คำ�สอนของเกาที่มีมาแตเดิมซึ่งคิด วายังใชไดดีในสังคมสมัยนั้นมาพิมพซ้ำ�เพื่อเผยแพร อีกสวนหนึ่งนำ�หลักคำ�สอนดัง้ เดิม มาแตงขึ้นใหมและตั้งชื่อใหม สวนที่เปนการสรางสรรคขึ้นใหมนั้นเปนลักษณะเดนของ วรรณกรรมคำ�สอนภาคใต “ฉบับพิมพเลมเล็ก” ซึ่งไมเคยปรากฏมากอน เปนคำ�สอนที่ มุง เนนการพัฒนาคุณภาพชีวติ ของชุมชนภาคใตในสมัยทีม่ กี ารแตงนัน้ ทัง้ ในระดับปจเจก บุคคล ระดับครอบครัวและระดับชุมชน โดยเนนย้ำ�ใหทุกระดับรูจักปรับตัวใหเขากับ สังคมแบบใหม นอกจากนีก้ ใ็ หชว ยกันพัฒนาชุมชนเกษตรกรรม และใหชว ยกันสรางชาติ ตามนโยบายของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม คำ�สอนในวรรณกรรมคำ�สอนภาคใต กลุม นีจ้ งึ เปนคำ�สอนทีส่ อดคลองกับบริบททางสังคมและการเมืองในเวลานัน้ อยางเดนชัด คำ�สำ�คัญ: 1. การสืบทอดและการสรางสรรควรรณกรรม. 2. วรรณกรรมคำ�สอน. 3. วรรณกรรมทองถิ่นภาคใต. __________________ 1 บทความนีเ้ ปนสวนหนึง่ ของวิทยานิพนธปริญญาอักษรศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิต เรือ่ ง “ลักษณะเดน และบทบาททางสังคมของวรรณกรรมคำ�สอนภาคใต “ฉบับพิมพเลมเล็ก” 2 นิสิตระดับปริญญาเอก สาขาภาษาไทย (วรรณคดีไทย) คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย และอาจารยประจำ�ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัย ทักษิณ อำ�เภอเมือง จังหวัดสงขลา วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปที่ 33(1) : 25-50, 2556


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

Abstract This article aims to study the transmission and creation of content of the Southern didactic literature in booklet format which is similar to the format of Wat Koh books, but they had been composed by the Southern authors, living in Nakhon Si Thammarat, Songkhla and Pattalung provinces. This southern didactic was composed during B.E. 2470-2520 (A.D. 1927-1977), could be categorized into 2 groups; the traditional and creative ones. The traditional content had been presented through the reproduction of the Southern didactic literature in manuscript in printing for distribution on one way and through the selection of traditional content and concept for composition of new literature under new titles in another way. The newly creative contents are the salient characteristic of the literature in question. They focus on developing the Southern residents’ lives quality at individual, family and social levels. All levels are taught specifically so as to be able to adapt themselves in response to social changes; moreover they could help develop their agricultural communities and their nation which would eventually thrive as planned by the PM. Field Marshal P. Pibulsongkram. According to the content of the Southern didactic literature in booklet format, it is in relation to social and political contexts apparently. Keywords: 1. Transmission and Creation of Literature. 2. Didactic Literature. 3. Local Literature of the Southern.

26


วรรณกรรมคำ�สอนภาคใต “ฉบับพิมพเลมเล็ก”: การสืบทอดและสรางสรรคดานเนื้อหาคำ�สอน พัชลินจ จีนนุน

บทนำ� วรรณกรรมคำ�สอนภาคใตเปนวรรณกรรมที่อยูคูสังคมภาคใตมาตั้งแตอดีตจน ถึงปจจุบัน แตงขึ้นโดยมีจุดมุงหมายเพื่อใชสอนผูอานผูฟงอยางชัดเจนทำ�นองโคลง โลกนิติ หรือสุภาษิตพระรวง วรรณกรรมคำ�สอนภาคใตในอดีตมักจารลงในหนังสือบุดหรือ สมุดขอย สวนใหญไมปรากฏชือ่ ผูแ ตง และชวงเวลาทีแ่ ตง เพราะคัดลอกกันมาเปนทอดๆ ชือ่ ผูแ ตงและสมัยทีแ่ ตงมักเปนคำ�สันนิษฐานของนักวิชาการ แตกพ็ อสรุปไดวา แตงหรือ คัดลอกกอนสมัยรัชกาลที่ 6 สวนการสรางงานยังจำ�กัดอยูใ นวงแคบ เพราะผูแ ตงมักเปน พระสงฆและนักปราชญราชบัณฑิตที่แตงหรือคัดลอกเพื่อเปนพุทธบูชาหรือถวายแด พระศาสนา เพราะเชื่อวาจะไดรับอานิสงสจากการสราง ชาวบานที่สรางงานในรูปแบบ ของวรรณกรรมลายลักษณแทบจะไมปรากฏใหเห็น การแสดงความสามารถของชาวบาน เนนการบอกเลาแบบมุขปาฐะ สงผลใหการถายทอดในรูปแบบนีเ้ ปนทีน่ ยิ ม และจดจำ�กัน ในกลุม ของชาวบาน ครัน้ ในชวงสมัยรัชกาลที่ 7 เปนตนมา เกิดปรากฏการณแปลกใหม ทีน่ า สนใจ เมือ่ กลุม ชาวบานสนใจแตงวรรณกรรมคำ�สอนและเผยแพรในรูปแบบสิง่ พิมพ ผูวิจัยขอเรียกวรรณกรรมกลุมนี้วา “ฉบับพิมพเลมเล็ก” วรรณกรรมคำ�สอนภาคใต “ฉบับพิมพเลมเล็ก” 3 มีรูปแบบการพิมพคลายคลึง กับหนังสือวัดเกาะอยางชัดเจน 4 วรรณกรรมคำ�สอนกลุมนี้นิยมแตงดวยกลอนสุภาพ และกลอนเพลงยาวที่ไมเครงครัดฉันทลักษณ นิยมเลนสัมผัสในแพรวพราวตามแบบ กลอนของสุนทรภู นอกจากนี้ก็นิยมใชถอยคำ�สำ�นวนที่เขาใจงาย คือเปนถอยคำ� สำ�นวนที่สื่อความหมายตรงไปตรงมา ผูอานไมตองตีความเหมือนวรรณกรรมคำ�สอน ภาคใตสมัยโบราณ ผลงานสวนใหญเปนของนักเขียนระดับชาวบานในบริเวณจังหวัด นครศรีธรรมราช สงขลาและพัทลุงที่ใชชีวิตอยูในทองถิ่น และรับรูความเปนไปของ ทองถิ่นเปนอยางดี นักเขียนดังกลาวมีพระสงฆ และกลุมชาวบานที่มีอาชีพตางๆ เชน ขาราชการทองถิ่น พอคา ชาวนา และศิลปนพื้นบาน มีผลงานหลายเรื่องไดรับความ __________________ 3 วรรณกรรมคำ�สอนภาคใต “ฉบับพิมพเลมเล็ก” คือ วรรณกรรมที่แตงขึ้นและพิมพออก จำ�หนายในรูปเลมขนาดเล็กคลายหนังสือ “วัดเกาะ” ของภาคกลางที่แพรหลายลงมาทางภาคใต สวนใหญมีเลมเดียวจบ พิมพดวยกระดาษปรูฟ ใชหมึกพิมพ เย็บเปนรูปเลมขนาด 16 หนายก หรือ ขนาด 7 x 5 นิ้ว มีจำ�นวนหนาตั้งแต 11 – 60 หนา พิมพเรียงบรรทัดแบบพิมพรอยแกว ใชอักขรวิธี ปจจุบัน ปรากฏในยุคที่เทคโนโลยีการพิมพเจริญกาวหนา มีการสรางเสพกันอยางตอเนื่องตั้งแต ป พ.ศ. 2470 - 2520 4 หนังสือวัดเกาะในที่นี้เปนหนังสือที่พิมพทั้งจากโรงพิมพวัดเกาะ หรือโรงพิมพราษฎรเจริญ หรือพิมพจากโรงพิมพอื่นๆ ในยานเดียวกัน ชาวบานทองถิ่นเรียกหนังสือนี้วา “หนังสือวัดเกาะ”

27


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

นิยมจากผูเสพไมแพงานของสุนทรภูที่ชาวบานชื่นชอบ ดังสังเกตไดจากจำ�นวนครั้งใน การตีพมิ พ ผลงานซึง่ มีการตีพมิ พในชวงเวลาไลเลีย่ กัน เชน ผลงานของทาม เจริญพงษ หนูฟอง จันทภาโส แดง ประพันธบณ ั ฑิต ทอง หนองถวย และคลาย ศรีพนัง แสดงใหเห็นวา กวี ท  อ งถิ่ น ก็ มี ค วามสามารถไม น  อ ย ผู  วิ จั ย มี ค วามเห็ น ว า ความตื่ น ตั ว ในการแต ง วรรณกรรมทองถิ่นและความนิยมอานในหมูชาวบาน เปนปรากฏการณและมีลักษณะ เดนที่นาสนใจซึ่งผูวิจัยจะศึกษาตอไป วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่ อ ศึ ก ษาความเหมื อ นคล า ยและความแตกต า งของเนื้ อ หาคำ � สอนใน วรรณกรรมคำ�สอนภาคใต “ฉบับพิมพเลมเล็ก” กับวรรณกรรมคำ�สอนสมัยโบราณ 2. เพื่อศึกษาลักษณะเดนของวรรณกรรมคำ�สอนภาคใต “ฉบับพิมพเลมเล็ก” ขอบเขตของการวิจัย 1. ศึกษาเฉพาะวรรณกรรมคำ�สอนประเภทรอยกรองทีเ่ ปนลายลักษณ มีลกั ษณะ และเนื้อหาเปนวรรณกรรมคำ�สอน แมบางเรื่องไมไดเรียกชื่อวาเปนวรรณกรรมคำ�สอน เชน มงคลประชาราษฎร วิวิธวรรณมาลัย อาหารใจ และสุราวิวาทนักปราชญวิจารณ 2. ผูวิจัยจะศึกษาวรรณกรรมคำ�สอนภาคใต “ฉบับพิมพเลมเล็ก” ที่พบบริเวณ ภาคใตฝงตะวันออก ในจังหวัดนครศรีธรรมราช สงขลาและพัทลุงเทานั้น ซึ่งมีจำ�นวน 64 เลม รวม 67 เรื่อง ผลการวิจัย 1. เนื้อหาของวรรณกรรมคำ�สอนภาคใตกอนที่จะมีวรรณกรรมคำ�สอน ภาคใต “ฉบับพิมพเลมเล็ก” มีดังตอไปนี้ 1.1 เนือ้ หาวรรณกรรมคำ�สอนภาคใตทมี่ รี ว มกับวรรณกรรมคำ�สอนภาคกลาง 1.2 เนื้อหาที่มีเฉพาะในวรรณกรรมคำ�สอนภาคใต 1.1 เนื้อหาวรรณกรรมคำ�สอนภาคใตที่มีรวมกับวรรณกรรมคำ�สอน ภาคกลาง วรรณกรรมคำ�สอนภาคใตฉบับตัวเขียนสวนใหญมีเนื้อหาหรือเนื้อเรื่องรวม กับวรรณกรรมคำ�สอนภาคกลางอยางชัดเจน ดังที่ ธวัช ปุณโณทก (2538 : 56) กลาววา ภาคใตมีความใกลชิดกับราชธานีเสมอมา และมีการสืบทอดวัฒนธรรมจากสวนกลาง อยางใกลชดิ มากเมือ่ เทียบกับภาคเหนือและภาคอีสาน วัฒนธรรมการเขียนหนังสือ และ วรรณกรรมจึงไดรบั อิทธิพลจากภาคกลางมากกวาภาคอืน่ ไมปรากฏวาในภาคใตมอี กั ษร

28


วรรณกรรมคำ�สอนภาคใต “ฉบับพิมพเลมเล็ก”: การสืบทอดและสรางสรรคดานเนื้อหาคำ�สอน พัชลินจ จีนนุน

และฉันทลักษณเฉพาะทองถิ่นตน มีแตไดรับอิทธิพลจากภาคกลาง สวนอุดม หนูทอง (2538 : 85 - 87) กลาววา วรรณกรรมภาคใตมเี นือ้ หาพอง กับวรรณกรรมภาคกลางมากที่สุด การถายโอนวัฒนธรรมภาคกลางกับภาคใตมีมา ตั้งแตสมัยทวารวดีจนถึงสมัยรัตนโกสินทร โดยเฉพาะอยางยิ่งในสมัยรัตนโกสินทรมี ความเขมขนมากขึ้น เนื่องจากกวีภาคใตหลายคนไดมาศึกษาในกรุงเทพฯแลวกลับ ไปแตงวรรณกรรมในภาคใต เชน พระอุดมปฎก สวนกวีกรุงเทพฯมีชื่อเสียงเลื่องลือไป ถึงภาคใตก็มี เชน สุนทรภู ยิ่งเมื่อมีการพิมพเกิดขึ้น วรรณกรรมจากภาคกลางก็แพร ไปสูภาคใตไดสะดวกมากขึ้น ทำ�ใหวรรณกรรมจากภาคกลางแพรหลายอยูในสังคม ชาวใต ความสัมพันธกับสังคมภาคกลางที่มีอยางยาวนานเชนนี้ ยอมสงผลตอการ แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมซึ่งกันและกัน ดังจะเห็นไดวาวรรณกรรมคำ�สอนภาคใตสวนใหญ มีเนื้อหารวมกับวรรณกรรมคำ�สอนภาคกลาง โดยเฉพาะในชวงกอนสมัยรัชกาลที่ 6 เชน สุภาษิตสอนหญิง สวัสดิรักษา สุภาษิตพระรวง พาลีสอนนอง และพิเภกสอน บุตร บางเรื่องมีเนื้อหาบางสวนรวมกับหนังสือวัดเกาะ เชน เรื่องสุภาษิตรอยแปด และ ราดชะเนดที่มีเนื้อหารวมกับกาพยสุภาษิต สวนบางเรื่องมีเนื้อหาทั้งหมดเหมือนกับ หนังสือวัดเกาะ เชน อาวาศโวหาร ปกีรโนวาท ลักษณะภรรยาเจ็ดสถาน และมงคลทีปนี แปล อนึ่ ง ผู  วิ จั ย พบว า ผู  แ ต ง วรรณกรรมคำ � สอนภาคใต ป ลู ก ฝ ง เน น ย้ำ � ให ศาสนิกชนปฏิบตั ติ ามคำ�สอนทีเ่ กีย่ วกับพุทธศาสนาอยางจริงจัง สังเกตวาแมบางเรือ่ งจะ มีเนือ้ หารวมกับภาคกลาง แตกวีชาวใตกส็ อดแทรกทัศนคติความเชือ่ ในพระพุทธศาสนา อยางชัดเจน เชน เรือ่ งอัษฏาพานรคำ�กาพยทผี่ แู ตงรับอิทธิพลจากเรือ่ งฉันทอษั ฎาพานร ทั้ง 2 เรื่องมีหลักคำ�สอนรวมกันคือสอนใหพระราชาพระพฤติปฏิบัติตามแนวทางที่ เหมาะสม เชน เขาใจธรรมชาติของคน รูจ กั สมาคม วางตนใหเหมาะสมกับบทบาทหนาที่ ของตน รูจักคุณลักษณะของคน และเห็นความสำ�คัญของความรู อยางไรก็ตาม มีหลัก คำ�สอนบางเรือ่ งทีไ่ มปรากฏในฉันทอษั ฎาพานร เชน วานรทิศพายัพ สอนวาหากตองการ ไปสวรรคใหละโลภโกรธหลง เคารพสมณะพราหมณ บิดามารดา มีขันตี มีความสัตย รักษาศีลหา ใหลดทิฐิของตน และไมเอาแตโทษผูอื่น สวนวานรทิศอุดร สอนวาหลัก อกุศลกรรมบถสิบประกอบดวยกายกรรม 3 สถาน วจีกรรมมี 4 สถาน และมโนกรรม 3 สถานซึ่งลวนแตทำ�ใหตกนรก ทางที่ดีควรละเวนเรื่องดังกลาวเพื่อลางตมคือความชั่วที่ ติดตัวใหสนิ้ ไป เมือ่ สามารถดับชาติ ชรา ตัณหา และอุปาทานไดกข็ นึ้ สวรรคได ทำ�ใหเห็น วา ผูแตงใหความสำ�คัญกับเรื่องนรกสวรรคมาก โดยเนนย้ำ�วาหากปฏิบัติตามไดจะไม ตกนรก ไปสวรรค

29


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

ผูวิจัยเห็นวา การปลูกฝงความเชื่อเรื่องนรกสวรรคมากนี้ เพราะชาวบาน เขาถึงไดงาย แมจะไมใชหลักคิดสำ�คัญของพระพุทธศาสนาซึ่งเนนนิพพานก็ตาม นอกจากนี้ผูแตงสวนใหญเปนพระสงฆที่มีบทบาทสำ�คัญในศาสนาหลักของสังคม จึง พยายามปลูกฝงความเชื่อเรื่องนี้ ดังที่ อมรา ศรีสุชาติ กลาววา พระสงฆภาคใตไดรับ ยกยองวาเขาถึงหลักธรรมอยางแทจริง ทั้งยังมีพระสงฆจำ�นวนมากที่ใฝเรียนรู และมี ความเรื่องพุทธศาสนาลึกซึ้งไมยิ่งหยอนไปกวาภิกษุสงฆในอินเดีย และศรีลังกา (อมรา ศรีสุชาติ, 2544 : 173) เมื่อแตงวรรณกรรมคำ�สอนจึงอดไมไดที่จะเผยแพรความรูและ ถายทอดความคิดความเชื่อในพระพุทธศาสนาไวดวย 1.2 เนื้อหาที่มีเฉพาะในวรรณกรรมคำ�สอนภาคใต วรรณกรรมคำ�สอน ภาคใตฉบับตัวเขียนที่มีเนื้อหาเฉพาะในสังคมภาคใต เทาที่พบในขณะนี้ คือ สุภาษิต คำ�กาพย สุภาษิตสอนหญิงคำ�กาพย คำ�สอนเรื่องบาปบุญคุณโทษ คดีโลกคดีธรรม กฤษณาสอนนอง ภาษิตลุงสอนหลาน และธรรมะสอนใจชายหญิง อยางไรก็ตาม มีเพียง เรื่องภาษิตลุงสอนหลานที่แสดงลักษณะเดนอยางนาสนใจ และชาวบานจดจำ�กันได คือ ใชภาษาถิ่นที่เขาใจงายทั้งเรื่อง ตางจากเรื่องอื่นๆ ที่ใชภาษาไทยโบราณ เรื่องภาษิต ลุงสอนหลานยังใชสอนผูเสพระดับชาวบานดวย เนื้อเรื่องกลาวถึงวิถีชีวิตชาวสงขลา เชน มีอาชีพปาดตาลขาย ทำ�หมอ และบูชาผีตายาย เนนสอนใหละอบายมุข สวนเรื่อง กฤษณาสอนนองที่สันนิษฐานกันวาเปนของภาคใตก็เปนที่รูจักแพรหลายในสังคมภาค กลาง เนื่องจากสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตโนรสทรงดัดแปลงไปเปน วรรณกรรมคำ�ฉันท ใชชื่อวากฤษณาสอนนองคำ�ฉันท จารึกไวที่ผนังวัดพระเชตุพน วิมลมังคลาราม ในกรุงเทพมหานคร อยางไรก็ตาม วรรณกรรมคำ�สอนเรื่องนี้เหมาะที่ จะใชสอนหญิงซึ่งเปนชนชั้นสูงมากกวาหญิงชาวบานโดยทั่วไป เมื่อพิจารณาในสวนที่เปนประเด็นคำ�สอนพบวาวรรณกรรมคำ�สอนภาคใต มีหลักคำ�สอนไมแตกตางจากวรรณกรรมคำ�สอนภาคกลางนัก คือเนนสอนใหเปนคนดี มีคุณธรรมเหมือนกัน ซึ่งหลักคำ�สอนที่ไดมานั้นผูแตงอาจประมวลมาจากคานิยม หลัก จริยธรรม โลกทัศนหรือความคิดความเชื่อที่มีรวมกันเพื่อสอนใหเปนคนในอุดมคติ ซึ่ง มีทั้งหลักคำ�สอนสำ�หรับคนทั่วไปและหลักคำ�สอนสำ�หรับคนเฉพาะกลุม หลักคำ�สอน สำ�หรับคนทั่วไป เชน รูจักประหยัดอดออม ไมประมาทในการดำ�เนินชีวิต กตัญูรูคุณ ไมคบคนพาล สุภาพเรียบรอย ขยันหมัน่ เพียร รูจ กั ประมาณตน ละอบายมุข ไมเบียดเบียน ผูอื่น มีไมตรีตอผูอื่น รูเทาทันคนและโลก รูจักเอาตัวรอด มีสุขอนามัยที่ดี ซื่อสัตยสุจริต ออนนอมถอมตน และใจบุญสุนทาน ปรากฏในเรื่องสุภาษิตคำ�กาพยราดชะเนด คำ� สอนเรื่องบาปบุญคุณโทษ ภาษิตลุงสอนหลาน โคลงสุภาษิต สุภาษิตรอยแปด เปนตน หลักคำ�สอนสำ�หรับผูหญิง เนนสอนใหรักนวลสงวนตัว มีกิริยามารยาทเปนแมบาน

30


วรรณกรรมคำ�สอนภาคใต “ฉบับพิมพเลมเล็ก”: การสืบทอดและสรางสรรคดานเนื้อหาคำ�สอน พัชลินจ จีนนุน

แมเรือน และรูจักปรนนิบัติสามี ปรากฏในเรื่องสุภาษิตสอนหญิงสำ�นวนตางๆ กฤษณา สอนนอง สุภาษิตคำ�กาพย ฉบับศูนยวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต หมายเลข 291 และอาวาศโวหาร สวนหลักคำ�สอนสำ�หรับผูช าย เนนสอนใหบวชเรียนเพือ่ ทดแทน คุณบิดามารดา สนใจศึกษาเลาเรียน และเลือกคูครองที่ดี หากบวชเปนสามเณร ก็ใหเปนสามเณรที่ดี และหากรับราชการก็ใหเปนขาราชการที่ดี ปรากฏในเรื่อง ปกีรโนวาท พอหมายสอนลูก สุภาษิตสอนบุตร เปนตน ทั้งนี้นาจะเกิดผูแตงไมได มุงประดิษฐคำ�สอนขึ้นใหม เพียงแตนำ�คำ�สอนจากแหลงตางๆ มาเรียบเรียงเทานั้น อยางไรก็ตาม หลักคำ�สอนตางๆ ที่ผูแตงปลูกฝงนี้นาจะมีประโยชนจึงมีการสืบทอดไป ยังสังคมยุคใหม คือยุคตั้งแต พ.ศ. 2470 เปนตนไป ดังจะกลาวตอไป 2. วรรณกรรมคำ�สอนภาคใต “ฉบับพิมพเลมเล็ก”: การสืบทอดและ สรางสรรคเนือ้ หาคำ�สอน ลักษณะเดนดานเนือ้ หาของวรรณกรรมคำ�สอนภาคใตกลุม นี้ มีดังตอไปนี้ 2.1 การสืบทอดเนื้อหาคำ�สอน 2.2 การสรางสรรคเนื้อหาคำ�สอน 2.1 การสืบทอดเนื้อหาคำ�สอน มีดังนี้ 1.) การนำ � คำ � สอนดั้ ง เดิ ม มาพิ ม พ ซ้ำ � เพื่ อ เผยแพร คื อ การนำ � วรรณกรรมคำ�สอนสมัยโบราณมาพิมพซ้ำ�โดยไมเปลี่ยนแปลงทั้งชื่อเรื่อง และเนื้อหา คำ�สอน เชน สมัยโบราณมีเรื่องสุภาษิตรอยแปด และสุภาษิตสอนหญิง ปริวรรตโดย นายเทพ บุณยประสาท ครูใหญโรงเรียนพัทลุง ตอมารานอุดมพานิชกิจ จังหวัดพัทลุง และโรงพิมพราษฎรเจริญนำ�ไปจัดพิมพเผยแพรในป พ.ศ. 2500 ราคา 1.50 - 3.00 บาท เรื่องสุภาษิตของหลวงศุขเกษมสโมทัย แตงในสมัยรัชกาลที่ 6 ตอมาญาติๆ นำ�มาจัด พิมพเพื่อแจกเปนที่ระลึกในงานฌาปนกิจศพ นางเยี่ยม (เขงเอี่ยม) กปลกาญจน ณ ฌาปนสถานเทศบาลเมืองสงขลา วันที่ 14 ธันวาคม 2510 สวนเรื่องภาษิตลุงสอน หลาน สันนิษฐานวาเปนของพระครูวิจารณศีลคุณ (ชู) แตงในสมัยรัชกาลที่ 5 มีการนำ� มาพิมพซ้ำ�เพื่อเผยแพรถึง 5 ครั้งโดยพิมพครั้งแรกในป พ.ศ. 2475 สวนใหญนำ�ไปแจก เพื่อการกุศล วรรณกรรมคำ�สอนกลุมนี้ไมไดรับความนิยมเทากับกลุมอื่นๆ เนื่องจาก แตงดวยกาพย ชาวบานไมนิยมอานเทากับกลอน ดังที่ผูแตงวรรณกรรมคำ�สอน กลุม ใหมกลาววาทีแ่ ตงเปนกลอน เพราะ “เพือ่ ใหถกู รสนิยมของพีน่ อ งชาวบานทัง้ หลาย” (สุภาษิตธรรมคำ�กลอน หนา คำ�นำ�) ความคิดดังกลาวสอดคลองกับผูแ ตงเรือ่ งอืน่ ๆ ดวย เชน ผูแ ตงเรือ่ งโลกวัตตภาษิต ผูแ ตงเรือ่ งความกาวหนาแหงชีวติ และผูแ ตงเรือ่ งสามัคคี คำ�กลอน

31


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

รูปที่ 1. วรรณกรรมคำ�สอนฉบับตัวเขียนที่อยูในรูปของสิ่งพิมพ

2.) การนำ�หลักคำ�สอนดั้งเดิมมาแตงขึ้นใหมและตั้งชื่อใหม หลัก คำ�สอนดัง้ เดิมในทีน่ ไี้ มใชเนือ้ เรือ่ งเหมือนหัวขอ 1 เปนเพียงการนำ�หลักคำ�สอนแบบฉบับ ที่ปรากฏในวรรณกรรมคำ�สอนสมัยโบราณมาสอนซ้ำ�ในสังคมยุคใหมเพื่อสรางคนใน อุดมคติตามที่สังคมปรารถนาหรือคาดหวังวาใหเปนเชนนั้น เชน ในสมัยโบราณมีเรื่อง สุภาษิตสอนหญิงสำ�นวนตางๆ ที่สอนการปฏิบัติตนของผูหญิงในอุดมคติ ทั้งที่เปน หญิงโสดและหญิงทีม่ สี ามี หากสอนหญิงโสดมักสอนใหรกั นวลสงวนตัว เชือ่ ฟงคำ�สัง่ สอน ของพอแม มีกริ ยิ ามารยาท ไมเทีย่ วเตร็ดเตรนอกบาน สำ�รวมเรือ่ งกาม ไมแตงตัวอวดโฉม และรูจักเรียนรูเรื่องงานบานงานเรือน หากสอนหญิงที่มีสามีก็มักสอนใหทำ�หนาที่ ของภรรยาที่ ดี คื อ รู  วิ ธี ป ฏิ บั ติ ต  อ สามี และมี คุ ณ ธรรมอื่ น ๆ เช น ไม ข  ม เหงสามี ไมทำ�เสนห และรูจักครองใจญาติพี่นองของสามี ผูแตงวรรณกรรมคำ�สอนภาคใต “ฉบับพิมพเลมเล็ก” อาจเห็นวาหลักคำ�สอนดังกลาวสามารถนำ�มาประยุกตใชในสังคม สมัยที่แตงไดจึงนำ�มาสอนผูหญิงในยุคของตน แตแตงเรื่องขึ้นใหมและตั้งชื่อใหม ใหทันสมัยหรือดึงดูดใจมากขึ้น เชน ใชชื่อวาสุภาษิตพอบานสอนบุตรสอง หรือสุภาษิต แมหมายใจเดียว ดังตัวอยางเรือ่ งสุภาษิตแมหมายใจเดียว ทีส่ อนผูห ญิงยุคใหมไมแตกตาง จากในอดีตนัก เชน สอนวาเสนหของผูหญิงอยูที่การซื่อสัตยตอสามี ไมคิดนอกใจ สนใจงานบานงานเรือน และพูดจาออนหวาน หากปฏิบัติตามไดสามีจะรักไปจนวันตาย

32


วรรณกรรมคำ�สอนภาคใต “ฉบับพิมพเลมเล็ก”: การสืบทอดและสรางสรรคดานเนื้อหาคำ�สอน พัชลินจ จีนนุน

เสนหหนึ่งน้ำ�จิตไมคิดคด เสนหสองครองตัวในครัวไฟ ชั่วของหญิงทิ้งครัวก็ผัวราง เก็บลำ�ดับทรัพยสินถิ่นคามา เสนหสามนามเสียงเพียงพิณพาทย เจียมระเบียบเรียบราบไมหยาบคาย เสนหสามงามจริงผูหญิงเอย พิสมัยไหลหลงจนงงงวย

บำ�รุงยศของบุรุษสุดวิสัย อยาเลยไลลืมลางของคางคา จงขัดลางดูแลนะแมหนา เปนมหาอิทธิเจเลหลอลาย ยามสวาทหวานหูไมรูหาย ถนอมชายเชยชื่นเฝารื่นรวย ผูชายเชยชมกลิ่นไมสิ้นสวย เฝาอำ�นวยชักนำ�ทำ�การงาน (สุภาษิตแมหมายใจเดียว หนา 24 – 25)

รูปที่ 2. ตัวอยางวรรณกรรมคำ�สอนกลุมใหมที่มีหลักคำ�สอนไมแตกตางจากของเดิมนัก

นอกจากผูแตงจะสืบทอดหลักคำ�สอนที่ใชสอนผูหญิงแลว ยังมีการสืบทอด หลักคำ�สอนทีใ่ ชสอนกลุม อืน่ ๆ ดวย ไมวา จะเปนการสืบทอดหลักคำ�สอนทีใ่ ชสอนเด็กวัด สืบทอดหลักคำ�สอนทีใ่ ชสอนผูช าย และสืบทอดหลักคำ�สอนทีใ่ ชสอนคนทัว่ ไป โดยผูแ ตง พยายามนำ�บริบทสังคมและการเมืองสมัยที่แตงมาสนับสนุนคำ�สอนเพื่อใหนาเชื่อถือ ยิ่งขึ้น กลาวไดวา การสืบทอดหลักคำ�สอนดั้งเดิมนี้เปนการสืบทอดความคิดจากคนรุน หนึ่งไปสูคนอีกรุนหนึ่งซึ่งผูอานจะเห็นหลักคำ�สอนที่เชื่อมโยงกันหรือเปนไปในทิศทาง เดียวกัน โดยผูแตงสืบทอดเฉพาะหลักคำ�สอนสำ�คัญๆ ที่ยังใชไดดี แมวาสังคมจะ เปลี่ยนแปลงไปก็ตาม

33


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

ปจจัยหนึ่งที่ทำ�ใหผูแตงยังคงสืบทอดหลักคำ�สอนเดิมอยู นาจะเกิดจากหลัก

คำ�สอนสอดรับกับบริบทสังคมชนบท และการเมืองรวมสมัย ในดานบริบทสังคมพบวา ชาวใตมักปลูกฝงใหคนในสังคมรักษาเกียรติภูมิของตัวเองคือปฏิบัติตนใหเหมาะสม แกเพศและวัยของตน หากเปนผูหญิงก็ควรรักนวลสงวนตัว เกงงานบานงานเรือน รูจัก ปรนนิบัติสามีและรูจักครองใจคนรอบขาง หากเปนผูชายก็ไมเปนนักเลงหัวไม รูจัก แสวงหาทรัพย และบวชเพื่อทดแทนคุณบิดามารดา ดังคำ�สอนทีแ่ พรหลายในภาคใตวา “อยูใหสมเด็ก สมหญิง สมชาย” การสืบทอดหลักคำ�สอนจากวรรณกรรมคำ�สอนสมัย โบราณจึงไมขัดแยงกับคานิยมของชาวใต หากพิจารณาดานบริบทการเมืองพบวาการสืบทอดหลักคำ�สอนที่ใชสอน ผู หญิง สอดรับกับนโยบายของรัฐบาลมาก วรรณกรรมคำ�สอนที่ปลูกฝง ใหผู หญิง เปนแมศรีเรือน เปนเมียและแมที่ดีปรากฏมากเปนพิเศษในชวงกระแสการสรางชาติ (พ.ศ. 2488 - 2504) เชน คติธรรมคำ�กลอน (พ.ศ. 2488) สมบัติแมบาน (พ.ศ. 2488) แมหมายพลาดรัก (2488) สุภาษิตสอนชูชายโสด (พ.ศ. 2492) สุภาษิตระบาย (2496) สุภาษิตสมรส (พ.ศ. 2498) มนุษยสี่วัย (พ.ศ. 2499) สุภาษิตแมหมายใจเดียว (พ.ศ. 2503) แมศรีเรือน (พ.ศ. 2503) คำ�กลอนสอนนอง (พ.ศ. 2503) และเตือนหญิงมีผัว (2504) เปนไปไดวา ผูแตงไดรับอิทธิพลจากนโยบายดังกลาวดวย ดังในสมัยรัฐบาล จอมพล ป. พิบูลสงครามตองการสรางภาพลักษณของแมศรีเรือน แม และเมียที่ดีซึ่ง ไมแตกตางจากสมัยโบราณนัก แตเนนทีก่ ารทำ�หนาทีใ่ หเดนชัดมากขึน้ คือ การคาดหวัง ใหเปนเมีย แม และแมเรือนทีม่ คี วามรูแ ละมีความชำ�นาญในวิชาสำ�หรับผูห ญิง (สุขสรรค แดงภักดี 2538 : 31 - 35) ในสมัยนี้มีการออกประกาศ “วัธนธัมผัวเมีย” ที่นำ�มาจาก หลักทิศหกในพระพุทธศาสนา กำ�หนดใหภรรยามีหนาที่ 5 ประการ หนึ่งคือจัดการงาน ดี เชน ตอนรับแขก ผูกมิตรกับเพื่อนบาน และแตงตัวใหสะอาด สองคือ สงเคราะหคน รอบขาง เชน เคารพพอแมและญาติของผัว ไมดูหมิ่น และเจรจาดวยถอยคำ�ออนหวาน สามคือไมประพฤตินอกใจ เชน ไมทำ�ตัวสนิทสนมกับชายอื่นเกินควร ไมเอาเรื่องของ ชายอืน่ มาพูดหรือแสดงความพอใจชายอืน่ จนทำ�ใหสามีเกิดความแสลงใจ เก็บความลับ ของสามีและครอบครัว และเมื่อผิดก็ขอโทษ สี่คือรักษาทรัพยที่สามีหามาให และขอหา คือ ขยันในกิจการทั้งปวง เชน ปรนนิบัติสามี คอยตรวจตราบานชอง ใชเวลาวางใน การทำ�สวนครัวเลี้ยงสัตวเพื่อเพิ่มรายจาย ดูแลสามีและลูก และเอาใจใสทุกขสุขของคน ในปกครอง (ประกาสสภาวัธนธัม 2487 : 143 - 146) นอกจากนีก้ น็ า จะเกิดจากการเปลีย่ นแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจ โดยเฉพาะ อยางยิ่งหลังจากที่สังคมรับวัฒนธรรมตะวันตก ทำ�ใหคนในสังคมมีความคิดที่เปน ตะวันตกมากขึ้น ดังที่วรรณกรรมคำ�สอนกลุมใหมมักใหภาพของหนุมสาวรุนใหมที่

34


วรรณกรรมคำ�สอนภาคใต “ฉบับพิมพเลมเล็ก”: การสืบทอดและสรางสรรคดานเนื้อหาคำ�สอน พัชลินจ จีนนุน

นาสนใจ เชน รักสนุก ไมจริงจังกับการแตงงาน มีเพศสัมพันธกอนแตงงาน มีนิสัย หยาบกระดาง พูดปด ขาดสัมมาคารวะ มีนสิ ยั ฟุง เฟอ และไมรบั ผิดชอบตอหนาทีข่ องตน ผูแตงบางคนถึงกับกลาววาการที่จะหาหญิงชายที่ดีในสมัยนี้หายาก เนื่องจากมีแตของ ปลอม ดังความวา “สมัยนีส้ มัยมีสาวปลอม มักพูดปลิน้ หวานลมลิน้ ไมหาย” (ลุงสอนสอน หลานสินธุ หนา 9) และ “ผูช ายดีหายากลำ�บากครัน ยิ่งทุกวันลวนชายหมายหลอกลวง” (สุภาษิตระบาย หนา 14) ครัน้ พิจารณาการอยูร ว มกันของคนในสังคมก็พบวาเริม่ แกงแยง ชิงดีกันมากขึ้น แมแตญาติพี่นองก็เริ่มหางเหิน ผูคนไมคอยเลื่อมใสศรัทธาในพระพุทธ ศาสนา ดังที่ผูแตงกลาววา “คนทุกวันหันหลังไมฟงพระ เที่ยวเกะกะหลงผิดคิดรักหวง” (สุรายาเสพติด หนา 20) ผูแตงในฐานะที่เปนสวนหนึ่งของสังคมอาจเห็นวาพฤติกรรม ดังทีก่ ลาวมาไมนา รัก ขัดตอวัฒนธรรมไทยจึงนำ�หลักคำ�สอนทีเ่ คยเนนย้�ำ ในอดีตมาสอน ซ้�ำ อีกครัง้ เพือ่ ปลูกฝงใหคนในสังคมประพฤติอยูใ นกรอบตามทีค่ า นิยมของสังคมเห็นวา ดีงาม จึงเปนไปไดวา การที่ผูแตงยังคงสืบทอดหลักคำ�สอนดั้งเดิมอยู เพราะเปนเรื่องที่ เอื้อประโยชนตอ สังคมในวงกวาง กลาวคือ ไมขัดตอคานิยมของคนในทองถิ่น ไมขัดตอ นโยบายของรัฐบาลในเวลานั้น และไมขัดตอวัฒนธรรมไทย 2.2 การสรางสรรคเนื้อหาคำ�สอน นอกจากการสืบทอดหลักคำ�สอนดั้งเดิมแลว ผูแตงวรรณกรรมคำ�สอน กลุม นีย้ งั ตัง้ ใจผลิตเนือ้ หาคำ�สอนบางประการทีส่ อดคลองกับการเปลีย่ นแปลงทางสังคม ดวย โดยมุงเนนพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชนภาคใต ทั้งในระดับปจเจกบุคคล ระดับ ครอบครัวและระดับชุมชน ดังนี้

รูปที่ 3. แสดงตัวอยางวรรณกรรมคำ�สอนที่เนนสรางสรรคเนื้อหาคำ�สอนขึ้นใหม

35


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

1) เนือ้ หาคำ�สอนทีเ่ นนพัฒนาคุณภาพชีวติ ระดับปจเจก วรรณกรรมคำ�สอน ภาคใต “ฉบับพิมพเลมเล็ก” เนนพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับปจเจก ไดแก ก. สอนเนนพัฒนาคุณภาพชีวิตของเด็กรุนใหม วรรณกรรมคำ�สอนสมัย โบราณสอนใหเด็กชายบวชเรียนที่วัดเพื่อศึกษาหาความรูกับพระอาจารยกอนที่จะสึก ออกมาทำ�งานตอไป วิชาที่สอนกันมาก เชน ความรูเรื่องการรับราชการ ลำ�ดับศักดิ์ของ กษัตริย ความรูเ รือ่ งไสยศาสตร กฎมณเฑียรบาล สุภาษิตพระรวง สวัสดิรกั ษา ราชาศัพท พระพุทธศาสนา ตำ�ราตางๆ เชน ตำ�ราการทำ�สงคราม ตำ�ราการประพันธ และตำ�รา พระเวท สวนใหญเนนสอนเพือ่ ใหน�ำ ความรูไ ปประกอบอาชีพรับราชการหรือเพือ่ ปกครอง บานเมือง วรรณกรรมคำ�สอนสมัยโบราณจึงเนนสอนการปฏิบัติตนของเด็กที่บวชเรียน ที่วัดมากกวาสอนเด็กโดยทั่วไป เมื่อเวลาผานไปรัฐบาลจัดการศึกษาสมัยใหมขึ้น โดย เนนย้ำ�ใหเด็กรุน ใหมซงึ่ มีทงั้ ผูห ญิงและผูช ายเรียนหนังสือทีโ่ รงเรียนและรูจ กั รับผิดชอบ ตอตนเองในดานตางๆ อันแสดงใหเห็นถึงการทำ�หนาที่ของพลเมืองดีดวย การผลิตซ้ำ� คำ�สอนแบบเดิมจึงใชไมไดในสังคมสมัยใหม ผูแตงวรรณกรรมคำ�สอนกลุมนี้จึงตั้งใจ ผลิตคำ�สอนชุดใหมเพือ่ สอนการปฏิบตั ติ นของเด็กรุน ใหม โดยเนนย้�ำ ใหเห็นความสำ�คัญ ของการศึกษาสมัยใหมวา ชวยพัฒนาตนเองและประเทศชาติ ผูแ ตงกวดขันเรือ่ งการเรียน หนังสือที่โรงเรียนมาก โดยสอนใหเคารพครูอาจารย ตั้งใจเรียน มีวินัย รักความสะอาด และรูจักดูแลอุปกรณการเรียน เมื่อกลับถึงบานก็ใหชวยแบงเบาภาระของพอแม ตอมา ก็ใหมีจิตสำ�นึกรักชาติ รักใครสามัคคีในหมูคณะ และไมคิดคดทรยศตอชาติ ดังนี้ วานักเรียนที่ดี มีกตัญู รักพวกรักหมู รูจักสมาน รักชื่อรักชาติ องอาจกลาหาญ ไมเกียจไมคราน ไมดานไมดื้อ ไวตัวไวตน ใหคนนับถือ รักชาติรักชื่อ ถือหลักวินัย ใหสุจริต ในจิตในใจ เปนนักเรียนไทย หัวใจตองตรง (เตือนใจนักเรียน หนา 20) ข. สอนเนนพัฒนาคุณภาพชีวิตของผูหญิงแบบใหม แมวา วรรณกรรม คำ�สอนกลุม นีย้ งั สอนใหผหู ญิงครองตัวดี สนใจบานงานเรือน และรูจ กั ปรนนิบตั สิ ามีเหมือน วรรณกรรมคำ�สอนสมัยโบราณอยู อยางไรก็ตาม เมือ่ สังคมเปลีย่ นแปลงไปจำ�เปนตองปรับ เปลีย่ นพฤติกรรมบางอยางของผูห ญิงตามสภาพสังคมดวย ผูแ ตงจึงผลิตคำ�สอนสวนหนึง่

36


วรรณกรรมคำ�สอนภาคใต “ฉบับพิมพเลมเล็ก”: การสืบทอดและสรางสรรคดานเนื้อหาคำ�สอน พัชลินจ จีนนุน

เพือ่ พัฒนาคุณภาพชีวติ ของผูห ญิงทีส่ อดรับกับบริบทสังคมและการเมืองสมัยทีแ่ ตง เชน สอนใหคลองแคลวและปราดเปรียวในการใชชีวิต กลาคิดกลาตัดสินใจเรื่องคูครอง ใหมีบทบาทดานเศรษฐกิจ และสนับสนุนนโยบายของรัฐบาล เชน รีบแตงงานใหมเพื่อ เพิม่ พลเมืองของประเทศ ซึง่ ผูแ ตงนาจะไดรบั อิทธิพลจากนโยบายสรางชาติสมัยรัฐบาล จอมพลป. พิบลู สงคราม ทีส่ นับสนุนใหเพิม่ พลเมืองไวปอ งกันประเทศ การเพิม่ พลเมือง นี้จึงตองอาศัยบทบาทของผูหญิงเปนสำ�คัญ ดังตัวอยางที่วา ถึงรูปชั่วตัวดำ�ครั้นทำ�ถูก จะเกิดลูกหลานหลายสบายใหญ จะไดเพิ่มพลเมืองประเทศไทย ศิวิไลวัฒนาสถาพร (เตือนหญิงมีผัว หนา 17)

เรื่องสุภาษิตสอนชูชายโสดแนะนำ�วาเมื่อแตงงานแลวควรรีบมีลูกทันที

เนือ่ งจากรัฐบาลตองการกำ�ลังสำ�คัญสำ�หรับพัฒนาประเทศ เพราะฉะนัน้ หญิงสาว หญิงแส (คือหญิงที่ชอบเลนรักกับชายแตไมยอมแตงงาน) แมหมาย ตลอดจนชายโสดควรรีบ แตงงานเพื่อชวยกันสรางชาติ ดังตัวอยางที่วา เรามีผัวอยาชั่วชั้นที่สุด ตองมีบุตรหญิงชายไดอาศัย ไดสืบเสาะเพาะผลสกลไกล สมัยใหมรัฐบาลตองการพล หญิงสาวแสแมหมายและชายโสด ตอประโยชนสรางชาติอยาขาดผล อยาใหชาติขาดศูนยสกูลตน เพิ่มเพาะผลใหลวนแตสวนเดียว (สุภาษิตสอนชูชายโสด หนา 12) ค. สอนเนนพัฒนาคุณภาพชีวิตของผูสูงวัย เนนสอนใหประพฤติตนเปน คนดี ไมสรางความรำ�คาญใหแกลูกหลาน รูจักเขาวัดฟงธรรม และทำ�ตัวใหเปน ประโยชนตอสังคมและประเทศชาติ ดังเรื่องเตือนใจคนแก สอนใหผูสูงวัยรูจักดูแล เอาใจใสบานเรือน ชวยเลี้ยงหลาน วางตัวเปนกลาง ไมยุยงใหเขยสะใภทะเลาะกัน ไมขโี้ มโหหรือขีโ้ กรธ เห็นความเปนอนิจจังของชีวติ รูจ กั เขาวัดฟงธรรม รักษาศีลใหทาน ดังความวา แมนบานเรือนรุงรังสกปรก อยาหมักหมกทิ้งไวไมแยแส หลานเล็กๆ ขี้เยี่ยวชวยเหลียวแล ใหพอแมไวใจเมื่อไปงาน อยายุยงเขยสะไภลูกชายตัว ใหเมียผัวเกรียวกราดแตกราวฉาน ควรปรองดองวากลาวเมื่อราวราน ยกเหตุการณผิดถูกใหลูกฟง อยาโทโสโมหันไมมั่นเหมาะ เด็กจะหัวเราะไดเมื่อภายหลัง ทั้งเรี่ยวแรงเหนื่อยออนหยอนกำ�ลัง อนิจจังเที่ยงแทแกแลวตาย

37


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

ควรเขาวัดเขาวาละกิเลส ทั้งโลภะโมหะละใหได รักษาศีลใหทานเปนการแน ถึงลูกหลานหญิงชายไมทำ�บุญ

ตัดมูลเหตุโทสะใหละหาย บำ�เพ็ญกายกอกวนแตสวนบุญ เมื่อเกินแกคราวตายไดเปนทุน บังสุกุลสงใหไมเปนไร (เตือนใจคนแก หนา 5)

ง. สอนเนนพัฒนาคุณภาพชีวิตของกลุมคนจน การปลูกฝงกลุมคนจน ปรากฏมากบริเวณลุมทะเลสาบสงขลา เนนสอนใหรูจักปรับปรุงตนดานตางๆ เชน ใหขยันทำ�งานมากขึ้น รูจักกระเหม็ดกระแหม ไมคิดแขงกับคนรวย การเอาตัวรอด จากการถู ก กดขี่ ข  ม เหง นำ � นโยบายของรั ฐ บาลมาปรั บ ใช และรู  จั ก พู ด เมื่ อ หวั ง พึ่งผูอื่น การปลูกฝงกลุมคนจนนี้ อาจเกิดจากเมื่อคนจนประสบกับปญหาตางๆ ก็มักเดือดรอนกวากลุมอื่น ผูแตงจึงปลูกฝงเรื่องตางๆ มาก ดังเรื่องประวัติการณ เตือนไทย เตือนสติใหลูกจางคิดถึงยามทำ�งานเหนื่อยยากวากวาจะไดเงินมาแตละบาท เมื่อไดเงินมาแลวจึงควรรูจักประมาณการใชจาย เพื่อจะไดไมเดือดรอน ดังที่กลาววา ใหคิดถึงรางกายไดลำ�บาก อุตสาหตากฝนฟานาสงสาร เก็บขาวจางถางปากันชานาน ทรมานรางกายเกือบวายชนม ตองหาบหามตามประสาประชาราษฎร ไดสักบาทก็สิ้นแรงแขงหมดขน นี้แหละเราควรนึกรูสึกตน มีลาภผลอยาพึ่งจายสบายใจ (ประวัติการณเตือนไทย หนา 19) สารูป ฤทธิ์ชู (2552 : 211 - 306) กลาววา มีการเรียกคนไทยบริเวณลุม ทะเลสาบสงขลาวาเปนชาวนาจน โดยแบงชาวนาออกเปน 3 พวก พวกแรก คือ พวกที่ จนเงินแตใจเย็น พวกที่สองคือ พวกที่เชานาหรือมีที่นาเองแตตองกูยืม และพวกที่สาม คือ พวกที่กูเงินและเชานาทำ�ซึ่งนาเวทนามาก ทั้งมักถูกพอคาชาวจีนกดราคา บางครั้ง ก็ทำ�ใหขาวราคาตก และเวลาตวงขาวยังเกี่ยงงอนเรื่องถังอีก ชาวนาที่วานี้มักหมายถึง ชาวไทยพุทธและมุสลิมมากกวากลุม อืน่ ชาวนาเหลานีม้ นี สิ ยั บางอยางทีเ่ ปลีย่ นยาก เชน ไมชอบคาขาย เมื่อทำ�นาแลวก็ไมคิดทำ�อาชีพอื่น ทำ�ใหสวนใหญเปนคนยากจน การกลาวถึงชีวิตความเปนอยูของชาวนาซึ่งยากจนมากนี้ อาจเพื่อสะทอน ใหเห็นวาชาวบานภาคใตจ�ำ นวนมากยังมีฐานะยากจน โดยเฉพาะชาวบานบริเวณจังหวัด พัทลุง นครศรีธรรมราชและสงขลา นอกจากนี้ผูแตงก็อาจรูสึกเห็นใจชนชั้นลางที่เผชิญ กับปญหาตางๆ เหมือนกับตนจึงเนนสอนกลุมคนจน ผูแตงเชื่อวาสถานภาพทางสังคม สามารถเปลีย่ นแปลงได หากคนจนลุกขึน้ ตอสูเ พือ่ ใหมฐี านะเทียบเทาผูอ นื่ ทัง้ รูจ กั ปรับตัว ใหเขากับวัฒนธรรมทุนนิยม 38


วรรณกรรมคำ�สอนภาคใต “ฉบับพิมพเลมเล็ก”: การสืบทอดและสรางสรรคดานเนื้อหาคำ�สอน พัชลินจ จีนนุน

2) เนือ้ หาคำ�สอนทีเ่ นนพัฒนาคุณภาพชีวติ ระดับครอบครัว วรรณกรรม คำ�สอนสมัยโบราณไมเนนปลูกฝงความสัมพันธในครอบครัวเลย สวนวรรณกรรมคำ�สอน กลุมนี้ปลูกฝงมาก ดังนี้ ก. สอนการปฏิบัติตนของสามีตอภรรยา วรรณกรรมคำ�สอนกลุมนี้เนน สอนผูช ายใหรจู กั ปฏิบตั ติ นเพือ่ สรางความสุขใหแกคนในครอบครัวทุกเรือ่ ง ผูแ ตงสอนวา สามีที่ดีควรรูจักเลี้ยงครอบครัว ไมสรางความเดือดรอนใหแกคนในบาน เปดโอกาสให ภรรยาไดเขาสังคม แนะนำ�ตักเตือนภรรยาตามสมควร ยกยองภรรยา คอยรวมทุกข รวมสุข ละพฤติกรรมที่ไมใหเกียรติ เชน ตีดา กระทืบ เหยียดหยาม ขมเหงน้ำ�ใจ สาปแชง ขมขู หึงหวงจนเกินไป หรือขมเหงญาติของภรรยา ไมคดิ นอกใจ มีภรรยาเพียง คนเดียว ใหชว ยเลีย้ งลูก และใหชว ยเหลือในกิจการบานเรือนเทาทีจ่ ะทำ�ได ดังเรือ่ งอาหาร ใจ กลาววา สามีควรชวยภรรยาทำ�งานบานเมื่อมีเวลาวาง อยาคิดวาเปนเรื่องเสียราศี หากชวยเหลือซึ่งกันและกันจะทำ�ใหครอบครัวสมบูรณยิ่งขึ้น ดังความวา ควรรูจักเกรงใจไปทั้งสอง เปนแผนเดียวเนื้อทองไมหมองหมาง เมื่อหุงตมขาวปลาไมละวาง หากผัววางควรจะชวยดวยและดี เรื่องแมบานคงไมยุงหุงอาหาร แตพอบานอยาคิดวาเสียราศี ชวยกันกินชวยกันทำ�จะขำ�ดี คงเขาทีไดรูจักหลักครอบครัว (อาหารใจ หนา 35) การเนนสอนการปฏิบตั ติ นของผูช ายเปนพิเศษนี้ อาจเนือ่ งจากกลุม ผูแ ตงมุง สอนชายชาวใตที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม พฤติกรรมของชายชาวบานมีทั้งดีและ ไมดี ชายชาวบานไมไดทำ�งานเปนระบบ ไมมีเงินเดือนประจำ�เพื่อเลี้ยงครอบครัว หรือ ไมทำ�ใหผูหญิงยกยองเชิดชูเหมือนชายที่ประกอบอาชีพรับราชการ สมัยนี้การประกอบ อาชีพเกษตรกรรมตองอาศัยแรงงานทั้งสองฝาย ไมไดทำ�แตพอมีพอกินเหมือนแตกอน หากฝายหนึ่งฝายใดเอาเปรียบกันก็ท�ำ ให “เงิน” ไมเพิ่มพูน ที่เห็นกันมากคือผูชายมัก เอาเปรียบผูหญิง นิยมใชความรุนแรงในการตัดสินปญหา ไมประพฤติตนเปนสามีที่ดี การแนะนำ�ตักเตือนก็เพื่อมุงหวังใหผูชายชาวใตที่แสดงพฤติกรรมดานลบรูจักปรับปรุง ตนเอง ข. สอนการปฏิบัติตนของพอแม ต  อ ลู ก เน น ปลู ก ฝ ง พ อ แม ใ ห รู  จั ก อบรมเลี้ยงดูลูก วรรณกรรมคำ�สอนกลุมนี้กลาววาหากพอแมปฏิบัติตัวดีจะสงผลใหลูก เปนเด็กดีดวย หนาที่สำ�คัญของพอแมคือสนับสนุนใหลูกเรียนหนังสือ แนะนำ�ตักเตือน การดำ�เนินชีวิตที่ถูกตองดีงาม ไมเขาขางหรือซ้ำ�เติมเมื่อลูกทำ�ความผิด และสราง รากฐานที่ดีไวใหลูก การปลูกฝงเรื่องดังกลาวมีเปนจำ�นวนมาก เชน มนุษยสี่วัย มงคล ประชาราษฎร ศีลหาภาษิต และสมบัติพอบาน ดังตัวอยาง 39


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

คอยระวังเถิดพี่นองตองฝกใฝ สมัยนี้เปนสมัยไทยทารุณ ยี่สิบหาศตวรรษกึ่งพุทธกาล ชวยอบรมปรึกษาอยาใหพรอง ไทยจะดีก็เพราะไทยใจผุดผอง การสั่งสอนกุลบุตรและธิดา

เอาใจใสสอนบุตรชวยอุดหนุน เกิดชุลมุนมากมายฝายปกครอง อภิบาลใหชาวไทยวิไลผอง ควรยกยองสกูลชาติศาสนา ไทยจะหมองก็เพราะไทยใจอิจฉา มันเปนหนาที่เราเหลาพลเรือน (ศีลหาภาษิต หนา 22)

ผูแ ตงเนนวาการเลีย้ งลูกเปนหนาทีข่ องพลเรือน และการเลีย้ งลูกใหเปนคนดี จะชวยสรางชาติดวย ดังความวา “การสั่งสอนกุลบุตรและธิดา มันเปนหนาที่เราเหลา พลเรือน” (ศีลหาภาษิต หนา 22) และ “เราเลีย้ งลูกถูกทางเหมือนสรางชาติ ขืนประมาท ไมฝกฝนคนจะหัว” (สมบัติพอบาน หนา 9) และเมื่อเลี้ยงลูกตองเลี้ยงใหถูกตามตำ�รา ความวา “คำ�สอนลูกใหถกู ตามตำ�รา ตองคนควาหัวขัว้ เอาตัวจริง” (มงคลประชาราษฎร หนา 16) ทำ�ใหเห็นวา สังคมสมัยใหมใหความสำ�คัญแกสถาบันครอบครัวมาก ดังที่ วรรณงาม (พฤศจิกายน 2482 : 9) กลาววา หากความสัมพันธในครอบครัวดี หมูบ า น ตำ�บล จังหวัดซึง่ เปนสวนรวมก็ยอ มดีดว ยเปนเงาตามตัว หนาทีข่ องพลเมืองจะดำ�เนินไปดวยดี ดวยการอบรมจากบิดามารดาผูปกครอง ความเสื่อมและความเจริญกาวหนาลวนอยู ในเงื้อมมือของครอบครัวพลเมือง 3) เนื้อหาคำ�สอนที่เนนพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับชุมชน ดังนี้ ก.สอนการปฏิบัติตนของชาวนาเพื่อพัฒนาดานการเกษตร คำ�แนะนำ�มาจากประสบการณตรงของผูแตงที่สั่งสมมานาน และอาจเรียนรู เพิม่ เติมจากหนวยงานรัฐ จึงถูกตองตามหลักวิชามากขึน้ โดยเนนการทำ�งานทีไ่ ด “เงิน” เปนสำ�คัญ ผูแตงเนนย้ำ�วาหากมีเงินก็สามารถสงบุตรหลานเรียนหนังสือเพื่อเลื่อน สถานภาพของตนเอง และชวยพัฒนาชาติบานเมืองได การทำ�การเกษตรเพื่อใหไดเงิน จึงตองรูจักวางแผน ตั้งแตเตรียมที่ดิน เตรียมพืชผลที่ทำ�เงินซึ่งควรเปนพืชที่ปลูกงาย ขายคลอง เชน ปลูกผักสวนครัว ขาวและยางพาราซึง่ เปนพืชสำ�คัญทางเศรษฐกิจ ตอมา ก็เรียนรูจากการสาธิตของเจาหนาที่รัฐ และรูจักวางแผนการตลาด ผูแตงแนะนำ�วาควร รูวาตลาดตองการสินคาประเภทใด จะไดปลูกพืชชนิดนั้นปอนตลาด เนื่องจากสมัยนี้ คนตื่นตัวดานการคากันมาก ผูแตงโนมนาวใหผูอานเชื่อมั่นวา แมทำ�อาชีพเกษตรก็ สามารถสรางรายไดไมแพอาชีพรับราชการ แตควรทำ�อยางจริงจัง ไมควรมุงไปทำ� แตอาชีพรับราชการเพียงอยางเดียว เนือ่ งจากอาชีพนีต้ อ งใชเสนสาย ควรใหความสำ�คัญ 40


วรรณกรรมคำ�สอนภาคใต “ฉบับพิมพเลมเล็ก”: การสืบทอดและสรางสรรคดานเนื้อหาคำ�สอน พัชลินจ จีนนุน

แกอาชีพที่อยูคูสังคมชนบทมากกวา ดังปรากฏในคำ�สอนวา แตลูกเราชาวนาพาลำ�บาก ถึงเกาอี้มีมากหากไมเห็น ลูกเจานายภายในมองไมเวน เพราะเขาเปนเสนสายกันหลายตอ เราชาวนาอยาใฝไปเกินศักดิ์ ไมถูกหลักหลวมตัวเพื่อนหัวรอ คิดทำ�นาคาขายใหเพียงพอ คอยกอปกอแกกิจผลิตผลงาน (สมบัติพอบาน หนา 14 – 15) การสงเสริมดานการเกษตรนี้ สวนหนึ่งอาจเกิดจากผูแตงตองการสอนให ชาวใตหวงแหนอาชีพดั้งเดิมของตน ภูมิใจในอาชีพเกษตรกรรมวาเปนกระดูกสันหลัง ของชาติ นอกจากนี้ก็เกิดจากพืชผลมีราคาดี และการสนับสนุนของรัฐโดยเฉพาะนับแต สมัยรัชกาลที่ 6 เปนตนมา หากชาวบานมีแผนการทำ�งานทีด่ กี ส็ ามารถอยูด กี นิ ดีได ดังที่ ร. ชวยจุลจิตต (2478 : 76 - 77) มองวาอาชีพขาราชการ แมมเี งินเดือนก็จริง แตเปนการ หาเชากินค่� ำ ถาประพฤติไมดกี เ็ ปนหนีเ้ ปนสินรุงรัง ในทีส่ ดุ เมือ่ อกจากราชการแลวก็มกั ไมคอ ยมีหลักฐาน และมักเปนคนผิวบาง ซึง่ เมือ่ คิดใหดแี ลว สูป ระกอบอาชีพสวนตัวไมได จึงตองรีบปรับปรุงดานการเกษตรกรรม เพราะคนไทยถูกชาวตางชาติแยงงานจนหมด ข. สอนการปฏิบตั ติ นเปนพลเมืองดีตามนโยบายของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ผู  แ ต ง วรรณกรรมคำ � สอนภาคใต ก ลุ  ม นี้ มั ก สอนให ค นทั่ ว ไปปฏิ บั ติ ตนเปนพลเมืองดีของรัฐ เชน เคารพกฎหมาย บริโภคสินคาไทย ตอตานสินคาของชาวจีน ซื้อสลากกินแบงรัฐบาล ปลูกผักสวนครัวและเลี้ยงสัตวละพฤติกรรมที่สงผลลบตอการ พัฒนา เชน เปนนักเลง โจรผูราย เสพอบายมุข ทะเลาะเบาะแวง เลนการพนัน และ ขี้เกียจ ขณะเดียวกันก็สงเสริมใหมีจรรยามารยาทที่ดีงาม รักและเชื่อฟงผูนำ� รวมใจกัน แตงกายอยางมีวฒ ั นธรรม เชน สวมเสือ้ หมวก และรองเทา สุดทายคือควรมีงานทำ�เพือ่ ชวยพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ดังเรื่องอิสิสอนศิษย สอนวาพลเมืองดีควรซื้อสลาก กินแบงของรัฐบาล แมจะแทงผิดแตเงินทีเ่ สียไปก็ไมสญ ู เปลา เพราะรัฐบาลนำ�ไปปองกัน ประเทศ ถือวาไดชวยสรางชาติดวย ดังที่วา หันเขาซื้อล็อตเตอรี่ยังดีเหลือ ผิดไดเจือชวยชาติขาดไปไหน ทานเก็บไวไดรักษาประชาไทย ปองกันภัยในเขตประเทศเรา ไมกีดขวางบัญญัติรัฐบาล หนทางการไมปรับใหอับเฉา บังเกิดเบอรรัฐบาลสงสารเรา เห็นไฟเผาราษฎรทานรอนใจ (อิสิสอนศิษย หนา 14) สวนผูแตงเรื่องประวัติการณเตือนไทย สอนวาถึงเวลาที่ชาวบานจะลุกขึ้นมา

41


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

ผลิตสินคาเอง เพราะทุกวันนี้กิจการดานการคาขายตกเปนของชาวจีน หากปลอยให ชาวจีนเปนเจาของกิจการ ชาวจีนก็จะเขามาควบคุมราคาสินคาทัง้ หมด ซึง่ จะสงกระทบ ตอชาวบานที่มีรายไดต่ำ� ผูแตงจึงแนะนำ�ใหชาวบานผลิตสินคาขายเอง และซื้อสินคา ที่ชาวบานผลิตเอง ดังความวา คนตางดาวเขามาทำ�คาขาย เราอยาหมายซื้อมันพันธุพูดหวา เราคนไทยซื้อของไทยเสียดีกวา ทรมามันไวไมมากแรง หากปลอยปละละเลยเหมือนแตกอน ทั้งที่ลุมที่ดอนเต็มทุกแหง จะไปซื้อสิ่งใดลวนแตแพง เพราะเราแบงปนใหมันไดอยู (ประวัติการณเตือนไทย หนา 11) ผูวิจัยเห็นวา เนื้อหาที่สอดคลองกับนโยบายของรัฐบาลนี้ ผูแตงนาจะไดรับ อิทธิพลจากนโยบายการสรางชาติของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามมากที่สุด ผูแตงบางคนถึงกับเอยชื่อจอมพล ป. พิบูลสงครามชัดเจนวา “ป.พิบูลสงครามนาม ปรากฏ ผูกำ�หนดนำ�ชาติศาสนา” (คำ�กลอนสอนประชาชน หนา 4) หรือบางก็เอยถึง นโยบายรัฐนิยมของรัฐบาลชุดนี้ เชน “อายุสิบสามถวนประมวลมูล ทวีคูณเครงครัด รัฐนิยม” (ภาษิตสอนนักเรียน หนา 13) “สวนทำ�นองกะสัตรีนี้สำ�คัญ สมัยนี้หมุนใหทัน รัฐนิยม” (สุภาษิตสอนชูช ายโสด หนา 5) “เราคราวอยูพ ลูหมากหยากกันดาร รัฐบาลเลิก ใชไมปรารถนา” (สุภาษิตสอนชูชายโสด หนา 12) และ “เพราะสตางคหางายสบายใจ ผูเขาใจปฏิบัติรัฐนิยม” (มงคลประชาราษฎร หนา 19) แมแตวรรณกรรมมุขปาฐะ เชน บทขับกลอมของชาวพัทลุงก็ปลูกฝงใหปฏิบัติตามนโยบายของรัฐบาล คือเลิกกินหมาก ดังที่วา ครือนองเหอ ครือนองกินหมาก กินกันเต็มปาก จนยากมาลง ฉันขอบอกให ไมใชพูดปด เราจะตองงด หมดเปลืองเงินเปลา ทานจงเชื่อคำ� ผูนำ�ของเรา ชนตางชาติเขา ดูหมิ่นนินทา ผูใดกินหมาก มาจากคนปา จงเชื่อเถิดหนา เลิกกินหมากพลูเสีย (สารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคใต 9 (2542): 4094) แถมสุข นุม นนท กลาววา ในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบลู สงคราม ตืน่ ตัวเรือ่ ง สรางชาติไทยครั้งใหญ รัฐบาลชักชวนใหชาวไทยรวมมือกันสรางชาติ ประกอบอาชีพ เปนหลักแหลง รูจักคาขายและใชเวลาวางใหเปนประโยชนดวยการทำ�สวนครัว เลี้ยง หมู เปด ไก ขุดบอเลี้ยงปลา โดยเนนวาหากครอบครัวมีรายไดดี ชีวิตความเปนอยูก็ ดีขึ้น นอกจากนี้มีการจัดสรรที่ดินทำ�กินสำ�หรับผูไมมีที่ดิน สงเสริมการเพิ่มประชากร

42


วรรณกรรมคำ�สอนภาคใต “ฉบับพิมพเลมเล็ก”: การสืบทอดและสรางสรรคดานเนื้อหาคำ�สอน พัชลินจ จีนนุน

สงเสริมการแตงกายที่ทันสมัย เปนตน แมนโยบายนี้มีระยะเวลาเพียงสั้นๆ คือ พ.ศ. 2481 - 2487 แตมีอิทธิพลตอโครงสรางความคิด วัฒนธรรมการแตงกาย การกินอยู ภาษา วรรณคดี ตลอดจนขนบธรรมเนียมตางๆ ของคนไทยทั้งประเทศ แมวานโยบาย หลายอยางถูกยกเลิกเมื่อหมดสมัยแลว แตก็ยังมีอีกมากที่คงเหลือในวิถีชีวิตชาวไทย (แถมสุข นุม นนท, 2519 : 120-147) เชน ความคิดเรือ่ งการปลูกผักสวนครัว การแตงกาย ที่ถูกกาลเทศะ และการมีจรรยามารยาท สายชล สัตยานุรักษ กลาววา ผูมีบทบาทสำ�คัญในการแนะแนวคิดเรื่องชาติ นิยมใหแกคณะรัฐบาล คือ หลวงวิจิตรวาทการที่เสนออุดมการณชาตินิยมมาตั้งแตตน ทศวรรษ 2470 แนวคิดดังกลาวทวีความรุนแรงในชวง พ.ศ. 2475 เปนตนมา เนือ่ งจากใน สมัยนีส้ งั คมไทยเปลีย่ นแปลงและเผชิญปญหาหลายดาน การตอบสนองตอความเปลีย่ น แปลงและปญหาเหลานี้ คือ การสราง “ชาติไทย” และ “ความเปนไทย” เพื่อจะใหเปนที่ ยึดมั่นของคนทุกกลุม การสรางความเปนไทยเพื่อใหเจริญตามมาตรฐานของตะวันตก จำ�เปนตองอาศัยความรูสึกชาตินิยมเพื่อใหคนรักชาติ เสียสละเพื่อชาติ และทำ�หนาที่ เพื่อชาติ หลวงวิจิตรวาทการยุติบทบาททางการเมืองเมื่อทานเสียชีวิตป พ.ศ. 2505 (สายชล สัตยานุรักษ, 2545 : 29-30) อยางไรก็ตาม วิธคี ดิ ของหลวงวิจิตรวาทการยังคง มีพลังและฝงแนนอยูในหัวใจของคนไทยทั้งที่เปนคนเมือง และคนทองถิ่น แมกระทั่ง ผูแตงวรรณกรรมคำ�สอนภาคใต “ฉบับพิมพเลมเล็ก” ก็รับรูเรื่องราวทางการเมืองเปน อยางดี ทำ�ใหเกิดการสรางวรรณกรรมคำ�สอนเพือ่ ปลูกฝงใหผอู า นปฏิบตั ติ นตามนโยบาย สรางชาติกันมาก และมักสรางในชวงที่รัฐบาลเนนการสรางชาติดวย เชน เรื่องอาจารย สอนศิษย ของ พระครูขาว โอฑาตวณฺโณ แตงใน พ.ศ. 2486 เรือ่ งคติธรรมคำ�กลอน ของ จู จันทรแกว แตงใน พ.ศ. 2488 เรื่องสุภาษิตสอนชูชายโสด ของ หนูฟอง จันทภาโส แตงใน พ.ศ. 2492 เรื่องคำ�กลอนสอนประชาชน ของ ชัย จันรอดภัย แตงใน พ.ศ. 2494 เรื่องมงคลประชาราษฎร ของ แดง ประพันธบัณฑิต แตงใน พ.ศ. 2494-2495 และเรื่อง ประวัติการณเตือนไทย ของ จันทร เชิดชู แตงใน พ.ศ. 2497 อนึ่ง การที่วรรณกรรมคำ�สอนกลุมนี้มีเนื้อหาที่สอดคลองกับนโยบายของ รัฐบาลมาก นาจะเกิดจากผูแ ตงสวนหนึง่ สังกัดหนวยงานรัฐ จึงทำ�หนาทีเ่ ปนกระบอกเสียง แทนรัฐ เชน ปรีชา เทพรักษผูแตงเรื่องสรางความดีหนีความชั่วเปนขาราชการทองถิ่น ที่ปลูกฝงใหพลเมืองรักรัฐบาล บางก็เปนพระสงฆที่เปนเครื่องมือในการปลูกฝงลัทธิ ชาตินิยมของรัฐ เชน พระอาจารยขาว ผูแตงเรื่องอาจารยสอนศิษย ชักชวนใหพลเมือง เคารพธงชาติตอน 8 โมงเชา ดังปรากฏในขอความวา “เชาแปดนอขอชนทุกคนยืน ไหเปนพื้นเพไวไขปวยการ” (หนา 5) สวนพระถาวร ราชไพฑูรย ผูแตงเรื่อง ศิลป คำ�กลอนสอนใจ กลาววาพลเมืองดีตองรักชาติ และไมแกงแยงชิงดีกันจนทำ�ให ชาวตางชาตินินทา ดังปรากฏในขอความวา 43


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

ตองรักชาติของตนทุกคนไป อยามัวแตเกี่ยงแยงชิงแขงดี

จงทำ�ใจกลาหาญการราวี ควรบัดสีตางภาษานินทาฉาว (ศิลปคำ�กลอนสอนใจ หนา 11 - 12)

นอกจากนี้ก็นาจะเกิดจากลักษณะนิสัยบางอยางของชาวใตที่มักยอมจำ�นน กับผูมีอำ�นาจ เมื่อรัฐมีนโยบายการสรางชาติก็เขียนงานที่มีเนื้อหาสนับสนุนนโยบาย ดังกลาวดวย แมวานโยบายของรัฐบาลบางอยางจะขัดแยงตอวิถีชีวิตของคนในชุมชน ก็ตาม เชน หามกินหมาก สงผลใหวัฒนธรรมการแตงงานไมสมบูรณ สอดคลองกับที่ สุธิวงศ พงศไพบูลย (2544 : 107) มองวาการยอมยอมจำ�นนเกิดจากวัฒนธรรม ความเกรงอำ�นาจของชาวใต ยิ่งผูมีอำ�นาจดวยแลวก็จะยิ่งจำ�ยอม จนกลายเปนนิสัย “อายยอดทองบานาย” สุดทายคือชาวบานอาจเริ่มมองรัฐในแงบวก ซึ่งหากพิจารณาความสัมพันธ ระหวางชาวบานกับรัฐแลวพบวาในสมัยทีส่ งั คมภาคใตอยูใ นระบบกินเมือง ชาวบานมัก เปนปฏิปกษตอรัฐ เพราะเห็นวารัฐมักกดขี่ขมเหง และขูดรีดแรงงาน ครั้นในเวลาตอมา ชาวบานอาจยอมรับการทำ�งานของหนวยงานรัฐมากขึ้น เพราะเห็นวามีประโยชนตอ ชุมชน ดังทีผ่ แู ตงยกตัวอยางความดีของรัฐบาลทีส่ นับสนุนดานการศึกษา ทำ�ใหพลเมือง มีวิชาความรูเพื่อไปประกอบอาชีพมากขึ้น ดังปรากฏในขอความวา พลเมืองดีมีปญญาหากินงาย เพราะเจานายทานรักสมัครสมาน จัดใหมีที่เรียนและเขียนอาน ทุกสถานทองที่มีโรงเรียน (มงคลประชาราษฎร หนา 5) สารูป ฤทธิ์ชู (2552 : 196) กลาววา ชวงที่รัชกาลที่ 5 ปฏิรูปการปกครอง เปนมณฑลเทศาภิบาล พลเมืองมีโอกาสเลือกผูใหญบาน และกำ�นันขึ้นเปนหัวหนา ซึ่ง เทากับไดมีโอกาสเสนอความตองการของตนใหนายอำ�เภอและผูวาราชการทราบ การ ปกครองแบบใหมนี้ ทำ�ใหพลเมืองเริ่มมีความผูกพันกับรัฐบาล และเริ่มมีความรูสึก วาเปนสวนหนึ่งของรัฐประชาชาติ อยางไรก็ตาม ความรูสึกชาตินิยมที่ปรากฏในวรรณกรรมคำ�สอนนี้ก็อาจ มาจากประสบการณโดยตรงของชาวบานที่ไดรับผลกระทบจากสภาพสังคมดวย เชน เห็นชาวจีนจำ�นวนมากเขามาทำ�มาหากินในภาคใต และไดเปนเจาของกิจการใหญโต สงผลใหชาวบานจำ�นวนมากตองตกเปนลูกจางของชาวจีน ทั้งชาวจีนบางคนก็เอารัด เอาเปรียบคนในทองถิ่น ทำ�ใหผูแตงเกิดจิตสำ�นึกรักชาติ จึงปลูกฝงใหชาวบานขยัน ทำ�งานเพื่อจะไดเปนเจาของกิจการตางๆ แทนที่ชาวจีน การอางนโยบายของรัฐบาล

44


วรรณกรรมคำ�สอนภาคใต “ฉบับพิมพเลมเล็ก”: การสืบทอดและสรางสรรคดานเนื้อหาคำ�สอน พัชลินจ จีนนุน

อาจทำ�ใหสัมฤทธิ์ผลมากกวาการอางโลกพระศรีอาริยเมตไตรยที่ปรากฏในวรรณกรรม คำ�สอนสมัยโบราณหลายเรื่องก็เปนได เนื่องจากนโยบายของรัฐบาลมีบทลงโทษ ทั้งจำ�ทั้งปรับอยางชัดเจน ค. สอนให้สรางความสัมพันธอันดีระหวางชาวบานกับหนวยงานรัฐ หนวยงานรัฐในทีน่ ปี้ ระกอบไปดวยหนวยงานขนาดเล็ก เชน กำ�นัน ผูใ หญบา น ไปจนถึง หนวยงานขนาดใหญที่เปนคณะรัฐบาล หลักคำ�สอนที่ปลูกฝงกันมาก คือ การสอนให ชาวบานเชือ่ มัน่ การทำ�งานของคณะรัฐบาล และเจาหนาทีร่ ฐั ในทองถิน่ โดยขอใหเปลีย่ น ทัศนคติที่เคยมองเจาหนาที่รัฐในแงลบใหเปนแงบวก โดยเฉพาะการมองเจาหนาที่ ทองถิ่น ซึ่งชาวบานมักเรียกวา “นาย” ในแงลบ มานะ ขุนวีชวย (2546 : 83) กลาวถึง ความสัมพันธระหวางชาวบานกับ “นาย” วามักมีความขัดแยงกันเสมอ ความขัดแยง ที่เกิดขึ้นเกิดจากการใชอำ�นาจหนาที่ของนายเกินขอบเขต รวมทั้งการไมเขาใจของ ชาวบานเอง ทั้งนี้เนื่องจากประสบการณที่สั่งสมมาในอดีต ทำ�ใหชาวบานมองนายวา เอารัดเอาเปรียบ และขูดรีด เมื่อเกิดปญหาตางๆ ขึ้นในชุมชน ชาวบานมักชวยตัวเอง ไมยอมแจงให เจาหนาทีข่ องรัฐทราบ ดังเรือ่ งคำ�กลอนสอนใจ กลาวถึงสภาพชุมชนทีม่ โี จรผูร า ยชุกชุม เมือ่ โจรขโมยควายของชาวนา ชาวนายอมนำ�เงินไปไถควายคืน โดยไมแจงใหเจาหนาที่ ตำ�รวจทราบ เพราะเห็นวาบางครั้งเจาหนาที่ตำ �รวจ ก็กลัวผูมีอิทธิพลในทองถิ่น และไมคิดปราบปรามโจรผูรายอยางจริงจัง ผูแตงพยายามโนมนาวใหชาวบานเห็นวา หากไมมีเจาหนาที่ของรัฐ ชาวบานจะอยูอยางยากลำ�บากมาก มีโจรผูรายชุกชุม และมีการกออาชญากรรมไมเวนแตละวัน ดังนั้น เมื่อเกิดปญหาในชุมชนก็ควรหวัง พึ่งรัฐ หากมัวแตปกปองโจร โจรจะทำ�รายภายหลัง เหมือนเลี้ยงจระเขจนกัดเจาของ ดังที่วา รักษาเขเอาไวใหมันขบ พาเสือมาหยบไวใหขวนหู มันจะดีหรือรายใหนึกดู ไมบอกผูรักษาจะบอกใคร คบคนรายไวในบานฟงฉานบอก เหมือนเอารอกไวตนพราวไมเขาไหน ถาเราดีมันดีดีกันไป มันขัดใจมันลักไมรูจักคุณ เจาพนักงานมาเอาเราอยาขวาง ไมใชทางของเราเขาจะหมุน ทานเที่ยวปราบทั่วจบอยาลบคุณ นายการุณกับราษฎรอาฆาตโจร (คำ�กลอนสอนใจ หนา 15) ตอมาก็แนะนำ�เจาหนาที่รัฐไมใหขมเหงชาวบาน ไมทุจริตคอรัปชั่น และ ไมมุงแตจับผูกระทำ�ความผิดมาลงโทษ ผูแตงเนนย้ำ�วาเจาหนาที่รัฐที่ไมเปนแบบอยาง

45


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

ที่ดี แมจะมีอำ�นาจ มีเกียรติหรือศักดิ์ศรี ก็ไมทำ�ใหผูนอยนับถือได หรือถาวันหนึ่งเกิด หมดอำ�นาจหรือไมมีเงินก็จะไมมีคนสนใจอีกตอไป กลายเปนเพียงเนื้อหมูที่มีแมลงวัน มาหยอดไขขาง สงกลิ่นเหม็นอยูร่ำ�ไป ดังตัวอยาง ไดอยูขารัฐบาลอยาตรานเพื่อน มนุษยเหมือนดวยกันอยาหันหุน เราไดเปนผูใหญตองใจบุญ อยาทารุณผูนอยยอยเอาสตางค ถาผูดีกลับหมินเหมือนชิ้นหมู แมงวันอื้อเขาจอดหยอดไขขาง เราเปนคนครวญใครใหหลายทาง ถาหมดสตางคตองหมดสิทธิ์อิทธิพล (คำ�กลอนสอนใจคนจน หนา 3)

ผูแตงชี้ใหเห็นวาวาหากหนวยงานรัฐและชาวบานรวมแรงรวมใจกันทำ�งาน

โดยไมเห็นแกประโยชนสวนตนก็จะทำ�ใหบานเมืองเจริญกาวหนาได ดังปรากฏในเรื่อง สรางความดีหนีความชั่ววา รัฐรักราษฎรปรารถนาใหผาสุก นิราศทุกขชั่วกาลนานสมัย ราษฎรกับรัฐผลัดกันชวยอำ�นวยชัย กำ�จัดภัยใหญนอยคอยแผวพาล รัฐกับราษฎรมาดวาบิดาบุตร รัฐชวยฉุดราษฎรวิไลอันไพศาล ราษฎรโกงเงินรัฐโกงกันบรรลัยลาญ ตางชวยผลาญบานเราลิ้มตองลมจม (สรางความดีหนีความชั่ว หนา 21)

เห็นไดวา การสรางสรรคเนือ้ หาขึน้ ใหมนคี้ ลายหนังสือคูม อื บอกวิธปี ฏิบตั ติ น ของกลุม ตางๆ ตามเพศวัย ฐานะทางสังคมและการประกอบอาชีพ ผูแ ตงเริม่ สอนจากวัย เด็กเปนลำ�ดับแรก โดยมุง เนนใหเห็นความสำ�คัญของการศึกษาในโรงเรียนแทนทีจ่ ะเรียน เฉพาะที่วัด ทั้งนี้เพราะหากเด็กไดรับการศึกษายอมประกอบอาชีพในอนาคตได ตอมา ก็สอนวัยหนุมสาว วัยพอบานแมเรือน และวัยชรา ใหปฏิบัติตนอยางดีที่สุด ทั้งนี้เพื่อ กระตุนใหทุกเพศวัยรูจักปรับตัวใหเขากับสังคมแบบใหมนั่นเอง จากเนื้อหาคำ�สอนขางตน สรุปไดวาผูแตงวรรณกรรมคำ�สอนภาคใต “ฉบับ พิมพเลมเล็ก” เนนสรางสรรคเนื้อหาคำ�สอนที่สอดรับกับบริบทสังคม เนื่องจากผูแตง สวนใหญเปนสามัญชนตางจากสมัยกอนที่เปนพระสงฆ จึงสามารถนำ�เสนอขอมูล ไดอยางไมจ�ำ กัดเหมือนการนำ�เสนอวรรณกรรมประเภทมุขปาฐะ นอกจากนีย้ คุ นีเ้ ปนยุค ที่วัฒนธรรมการฟงถูกแทนที่ดวยวัฒนธรรมการอาน และมุงหวังประโยชนทางการคา มากขึ้น การปรับเนื้อหาคำ�สอนใหดึงดูดใจกลุมลูกคาจึงเปนสิ่งจำ�เปนสำ�หรับผูตองการ ประกอบอาชีพนักเขียน

46


วรรณกรรมคำ�สอนภาคใต “ฉบับพิมพเลมเล็ก”: การสืบทอดและสรางสรรคดานเนื้อหาคำ�สอน พัชลินจ จีนนุน

สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผล การที่วรรณกรรมคำ�สอนภาคใต “ฉบับพิมพเลมเล็ก” สวนหนึ่งยังคงสืบทอด เนือ้ หาคำ�สอนจากวรรณกรรมคำ�สอนโบราณ เนือ่ งจากหลักคำ�สอนดังกลาวยังใชสอนคน ในสังคมใหอยูร ว มกันอยางสงบสุขไดอยางดี นอกจากนีก้ ส็ อดรับกับบริบททางการเมือง รวมสมัย โดยเฉพาะสอดรับกับนโยบายของรัฐบาลจอมพล ป. พิบลู สงครามมาก สมัยนัน้ คณะรัฐบาลพยายามปลูกฝงการทำ�หนาทีข่ องพลเมืองเพือ่ ชาติตงั้ แตระดับครอบครัวไป จนถึงระดับสังคม ซึ่งนาจะสงผลตอความคิดและความรูสึกของชาวบานดวย สวนหลักคำ�สอนทีส่ รางสรรคขนึ้ ใหม ก็เนนใหสอดคลองกับการเปลีย่ นแปลงทาง เศรษฐกิจ บริบทสังคมชนบทที่พัฒนาไปจากเดิม และนโยบายการสรางชาติของรัฐบาล โดยผูแ ตงไมไดคาดหวังเพียงความสุขระดับปจเจกเทานัน้ แตคาดหวังถึงความสุขระดับ องครวมดวย ทำ�เห็นวาวรรณกรรมคำ�สอนกลุมนี้ มีเนื้อหาคำ�สอนรวมสมัยมาก แมวา การแตงวรรณกรรมคำ�สอนภาคใต “ฉบับพิมพเลมเล็ก” จะหยุดชะงักไปหลัง จากป พ.ศ. 2520 เนื่องจากคนในทองถิ่นนิยมสรางและเสพงานประเภทรอยแกวมาก ขึ้น อยางไรก็ตาม ชวงเวลาทีผ่ า นมาทำ�ใหเห็นวามีการสรางและเสพวรรณกรรมคำ�สอน ที่เฟองฟูที่สุดชวง พ.ศ. 2470 – 2520 ซึ่งเกิดจากปจจัยหลายดาน เชน การที่หนังสือ วัดเกาะในสมัยรัชกาลที่ 5 แพรหลายในทองถิ่น จนมีการตั้งโรงพิมพในทองถิ่นขึ้นเพื่อ ผลิตงานทีค่ ลายหนังสือวัดเกาะ กอปรกับคนในชุมชนมีการศึกษามากขึน้ ทำ�ใหเกิดการ สรางและการเสพวรรณกรรมกันอยางกวางขวาง ดังจะเห็นไดจากการผลิตเนือ้ หาคำ�สอน ที่หลากหลายเพื่อตอบสนองตอคนในชุมชน อนึง่ การมีเนือ้ หาปลูกฝงใหผอู า นปฏิบตั ติ ามนโยบายของรัฐบาลมากนีไ้ มสามารถ ยืนยันไดวา เกิดจากความชืน่ ชมตอตัวผูน �ำ อยางแทจริง หรือเพราะกลัววาจะเปนปฏิปก ษ ตอรัฐ แตก็อาจมองไดวาเมื่อเวลาเปลี่ยนความคิดคนก็เปลี่ยนได จากที่เคยมองรัฐใน แงลบก็เริ่มมองในแงบวก เพราะรับรูไดวานโยบายบางอยางของรัฐเกิดประโยชนตอ สังคมโดยรวม เชน สนับสนุนดานการศึกษา สงเสริมการปลูกผักสวนครัว หรือสงเสริม การประกอบอาชีพ ตอมาก็นาจะเกิดจากผูแตงสวนหนึ่งเปนตัวแทนของรัฐหรือตัวแทน ของชุมชนซึ่งทำ�หนาที่เปนกระบอกเสียงแทนรัฐ เชน พระสงฆและขาราชการทองถิ่น สุดทายก็นาจะเกิดจากนิสัยยอมจำ�นนตอผูมีอำ�นาจของชาวใตเอง อยางไรก็ตาม ผูว จิ ยั เห็นวา กลุม ผูแ ตงจะยอมรับอำ�นาจรัฐก็ตอ เมือ่ เห็นวาอำ�นาจ นั้นเปนธรรมและเกิดผลดีตอชุมชนเทานั้น เพราะบางครั้งผูแตงก็ต�ำ หนิการทำ�งานของ หนวยงานรัฐเหมือนกัน เชน การไมชวยปราบปรามโจรผูรายอยางจริงจัง ชอบตักตวง ผลประโยชน เอารัดเอาเปรียบ และไมสนใจชาวบาน สวนใหญการมองหนวยงานรัฐ ในแงลบมักเพงเล็งไปที่พฤติกรรมของเจาหนาที่ในทองถิ่นมากกวามองหนวยงานรัฐใน แงลบทั้งระบบ 47


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

กลาวไดวา เนือ้ หาคำ�สอนทีป่ รากฏในวรรณกรรมคำ�สอนภาคใต “ฉบับพิมพเลม เล็ก” ทั้งที่สืบทอดและสรางสรรคใหมมี “นัยทางการเมือง” เขาไปเกี่ยวของดวย ซึ่ง ปรากฏมากเปนพิเศษชวงปลาย พ.ศ. 2470 ถึงตน พ.ศ. 2500 นอกจากนี้ก็เปนความ คาดหวังของผูแ ตงทีต่ อ งการใหคนในชุมชนนำ�คำ�สอนไปปฏิบตั ติ ามเพือ่ การดำ�เนินชีวติ ในสังคมที่ราบรื่นมากขึ้นทามกลางหัวเลี้ยวหัวตอของสังคมยุคเกากับยุคใหม ตลอดจน การเผชิญกับเหตุการณตางๆ หลังป พ.ศ. 2475 เปนตนไป เชน การตกอยูในชวงภาวะ สงคราม การเผชิญกับปญหาขาวยากหมากแพง และการตกอยูในกระแสการสรางชาติ ของคณะรัฐบาล ซึ่งหากผูอานปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�ไดก็นาจะเกิดผลดีทั้งตอตนเอง ตอสังคมและตอประเทศชาติดวย กิตติกรรม​ประกาศ ผูวิจัยขอขอบพระคุณ รองศาสตราจารย ดร. ชลดา เรืองรักษลิขิต ที่ปรึกษา วิทยานิพนธที่ใหคำ�ชี้แนะที่เปนประโยชนในการทำ�วิจัย และเขียนบทความ ทั้งขอ ขอบคุณสำ�นักคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ทุนโครงการเครือขายเชิงกลยุทธที่ สนับสนุนดานการทำ�วิจัยในครั้งนี้ 



48




วรรณกรรมคำ�สอนภาคใต “ฉบับพิมพเลมเล็ก”: การสืบทอดและสรางสรรคดานเนื้อหาคำ�สอน พัชลินจ จีนนุน

บรรณานุกรม คลาย ศรีพนัง. (2502). สุภาษิตแมหมายใจเดียว. นครศรีธรรมราช: โรงพิมพกระ จางภาษิต. 2 เลม. แคลว ศรีพนัง. (2503). ภาษิตสอนนักเรียน. นครศรีธรรมราช: โรงพิมพกระจาง ภาษิต. จ. ผดุงเดช ศิษยทาโพธิ์. (2504). เตือนใจคำ�กลอน (เตือนใจคนแก เตือนชายมี เมีย เตือนหญิงมีผวั และสอนนักเรียน). นครศรีธรรมราช: โรงพิมพศริ สิ วัสดิ.์ จันทร เชิดชู. (2497). ประวัติการณเตือนไทย. พัทลุง: โรงพิมพพัทลุง. ชัย จันรอดภัย. (2494). นิราศพอหมายและคำ�กลอนสอนประชาชน. สงขลา: โรงพิมพสมบูรณ. แดง ประพันธบัณฑิต. (ม.ป.ป). มงคลประชาราษฎร. ม.ป.ท. __________. (ม.ป.ป). อิสิสอนศิษย. ม.ป.ท. ถาวร ราชไพฑูรย. (2500). ศิลปคำ�กลอนสอนใจ. มปท. แถมสุข นุม นนท. (2519). เมืองไทยยุคเชือ่ ผูน �ำ . วารสารธรรมศาสตร 6(1) (มิถนุ ายน กันยายน) : 120 – 147. ทอง หนองถวย. (2511). คำ�กลอนสอนใจ. พิมพครั้งที่ 13. สงขลา: โรงพิมพเมือง สงขลา. ทาม เจริญพงษ. (2596). คำ�กลอนสอนใจคนจน. สงขลา: โรงพิมพสงขลาพานิช. เทพ บุณยประสาท. (2500). สุภาษิตสอนหญิง. พระนคร: โรงพิมพราษฎรเจริญ. ธวัช ปุณโณทก. (2538). ความสัมพันธระหวางวรรณกรรมพื้นบาน. ใน สุกัญญา ภัทราชัย (บรรณาธิการ), วรรณคดีทองถิ่นพินิจ (หนา 56). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ประกาสสภาวัธนธัม. (2487). เรือ่ งวัธนธัมผัวเมีย. ขาวโคสนาการ. 7 (2) : 143 - 146. ปรีชา เทพรักษ. (2505). สรางความดีหนีความชั่ว. พัทลุง: โรงพิมพครูชาญ. พรมกับระบาย. (2496). นิราศพรมภาษิตระบาย. สงขลา: โรงพิมพสงขลาพานิช. พลอย อักษรพันธ. (2519). สุรายาเสพติด. พัทลุง: โรงพิมพพัทลุง. มานะ ขุนวีชวย. (2546). ชุมโจรแหงลุมน้ำ�ทะเลสาบสงขลา พ.ศ. 2437 – 2465. วิทยานพินธปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตรเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต ภาควิชาประวัติศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร. ร. ชวยจุลจิตต. (2478). เทศบาลของเรา. ใน พัทลุงวิทยา : 76 - 77. พระนคร: ธรรมพิทยาคาร. (จัดพิมพเปนทีร่ ะลึกเนือ่ งในวันปใหม จังหวัดพัทลุง วันที่ 5 - 7 เมษายน พ.ศ. 2479) 49


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

วรรณงาม. (2482). อนาคตของชาติ. ประชาชาติ 13 พฤศจิกายน : 9 ศูนยวฒ ั นธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช. อัษฎาพานรคำ�กาพย. สมุดไทย ขาว อักษรไทยเสนหมึก ไมระบุเลขทะเบียน. (ตนฉบับเปนของพระครูพิจิตร ธรรมโกศล วัดหัวอิฐ จังหวัดนครศรีธรรมราช) สายชล สัตยานุรกั ษ. (2545). ชาติไทยและความเปนไทย โดยหลวงวิจติ รวาทการ. กรุงเทพฯ: สำ�นักพิมพ มติชน. สารูป ฤทธิ์ชู. (2552). 100 ป การเมืองทองถิ่นลุมทะเลสาบสงขลา. กรุงเทพฯ: สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.). สุขสรรค แดงภักดี. (2538). ความคาดหวังของสังคมตอสตรีในสมัยสรางชาติ พ.ศ. 2481 – 2487. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. สุธวิ งศ พงศไพบูลย. (2544). โครงสรางและพลวัตวัฒนธรรมภาคใตกบั การพัฒนา. กรุงเทพฯ: สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. __________. (2542). บูชาพระบรมธาตุ. ใน สารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคใต 9: 4049. สุภรณ ศรีวัชราภรณ. (2503). สมบัติพอบาน. นครศรีธรรมราช : โรงพิมพกระจาง ภาษิต. หนูฟอง. (2504). ลุงสอนสอนหลานสินธุ. สงขลา: โรงพิมพสงขลาพานิช. __________. (2492). สุภาษิตสอนชูชายโสด. สงขลา: โรงพิมพสงขลาพานิช. หิ้น อมตเวทย. (2514). อาหารใจ. พัทลุง: โรงพิมพโชติการพิมพ. อมรา ศรีสุชาติ. (2544). สายรากภาคใต: ภูมิลักษณ รูปลักษณ จิตลักษณ. กรุงเทพฯ: สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.). อินทร ทองอยู. (2504). ศีลหาภาษิต. 2 เลม. พิมพครัง้ ที่ 3. พัทลุง : โรงพิมพครูชาญ. อุดม หนูทอง. (2538). วรรณกรรมภาคใต: ความสัมพันธกับวรรณกรรมทองถิ่นอื่น. ใน สุกัญญา ภัทราชัย (บรรณาธิการ), วรรณคดีทองถิ่นพินิจ (หนา 85 – 87). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ฮวด สุวรรณโชติ. (2501). สุภาษิตธรรมคำ�กลอน. นครศรีธรรมราช: จตุพรการพิมพ.

50


วรรณศิลปลานนาจากมหาชาติภาคพายัพ สำ�นวนสรอยสังกร 1 Lanna Literay Arts in Mahajati Payap Part, Soysangkorn Version วาทิต ธรรมเชื้อ 2 Wathit Thummachoe

บทคัดยอ งานวิจัยเรื่องนี้มุงศึกษาความงามทางวรรณศิลปในวรรณกรรมลานนาเรื่อง มหาชาติภาคพายัพ สำ�นวนสรอยสังกรวาเปนปจจัยสำ�คัญที่ชวยใหมีการสืบทอดการ ตัง้ ธรรมหลวงของลานนาปจจุบนั ขอมูลทีใ่ ชศกึ ษานำ�มาจากหนังสือมหาชาติภาคพายัพ ฉบับสรอยสังกร สำ�นวนเอก สอบทานและชำ�ระโดย พระธรรมราชานุวัตร พิมพครั้งที่ 1 ป พ.ศ. 2498 วรรณกรรมลานนา เรื่องมหาชาติภาคพายัพ สำ�นวนสรอยสังกรนี้จะแบงการ ศึกษาออกเปน 2 ดาน ไดแก ดานแรกฉันทลักษณทใี่ ชแตงและดานทีส่ องคือ วรรณศิลปที่ เกิดจากการเลนเสียง คำ�และความหมาย ผลการศึกษาพบวาดานฉันทลักษณทใี่ ชแตงมหาชาติส�ำ นวนสรอยสังกรเปนราย ยาวซึง่ เอือ้ ตอการแตง คำ�ประพันธและการเทศนจงึ ทำ�ใหส�ำ นวนสรอยสังกรเปนทีน่ ยิ ม ในพระนักเทศนเปนพิเศษ และดานวรรณศิลปทเี่ กิดจากการเลนเสียงพบวา กวีลา นนาใช 3 กลวิธี คือ การเลนเสียงสัมผัส การเลนสัทพจนและและการใชคำ�อัพภาส อีกทัง้ การเลน คำ�กวีลานนาใช 2 กลวิธี คือ การเลนซ้ำ�คำ�และการเลนซ้ำ�กลุมคำ� ในดานสุดทายดาน ความหมายกวีลานนาใช 2 กลวิธี คือ การสรางสุนทรียภาพดวยการใชภาพพจน เชน อุปมา และบุคคลวัต เปนตน สวนสุนทรียรสในมหาติสำ�นวนสรอยสังกรพบวามี 3 รสที่ พบมากที่สุด คือ กรุณารส ศฤงคารรสและหาสยรส เปนตนอาจจะกลาวไดวาความงาม ทางวรรณศิลปของมหาชาติสำ�นวนสรอยสังกรเปนสำ�นวนที่ไดรับการยกยองวามีถอย คำ�ไพเราะจึงนิยมนำ�มาใชเทศนในประเพณีตั้งธรรมหลวงมากกวาสำ�นวนอื่น คำ�สำ�คัญ: 1. วรรณศิลปลานนา. 2. มหาชาติ. 3. สำ�นวนสรอยสังกร. __________________ 1 บทความนี้ ไ ด รั บ ทุ น สนั บ สนุ น วิ จั ย จากทุ น วิ จั ย มหาบั ณ ฑิ ต สกว.ด า นมนุ ษ ยศาสตร สังคมศาสตร ป 2554 2 นักศึกษาปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปที่ 33(1) : 51-72, 2556


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

Abstract The purpose of this research is to study the language usage in Lanna literature and to discuss the key factor in establishing Lanna Tang Tham Luang tradition in present. The book entitled Mahajati Payap, Soisangkorn Version, the major version, checked and revised ​​by Phra Tham Rachaanuwat in 1955 was used as the source of data. The study was divided into two areas: (i) the prosodic used for composing, (ii) the techniques of playing with words, phonics and meanings. Results showed that the prosody used for composing Mahajati, Soisangkorn Version is like poetry which makes it popular among preachers. Moreover it was found that the Lanna poet used three language strategies: playing on rhyme, onomatopoeia and using repeated words. The Lanna poet was also found to used 2 strategies in playing with words: repeating words and repeating group of words. Additionally, creation of aesthetics using image such as metaphor and personification, etc. were also used. For the aesthetic taste in the Mahaj\ati, Soisangkorn Version, it was found that the 3 tastes found most are taste of kindness, taste of love, and taste of humor. It can be concluded that language used in Mahajati, Soisangkorn Version, is widely accepted as it it contains melodious words. Consequently, it is more popular among preachers in the Tang Tham Luang tradition. Keywords: 1. Lanna art created language. 2. Mahajati. 3. Soisangkorn Version.

52


วรรณศิลปลานนาจากมหาชาติภาคพายัพ สำ�นวนสรอยสังกร วาทิต ธรรมเชื้อ

เวสสันดรชาดก 3 เปนเรือ่ งราวเกีย่ วกับพระสัมมาสัมพุทธเจาเมือ่ ครัง้ เสวยพระชาติ เปนพระโพธิสัตว พระนามวา “พระเวสสันดร” ซึ่งเปนพระชาติที่ส�ำ คัญที่สุด เนื่องจาก เปนพระชาติสดุ ทายกอนทีพ่ ระองคจะทรงกลับพระชาติ มาเปนพระสัมมาสัมพุทธเจาและ เปนพระชาติทที่ รงบำ�เพ็ญบารมีครบทัง้ สิบบารมี จึงนิยมเรียกกันวา “มหาชาติ” หมายถึง ชาติที่ยิ่งใหญ เรื่องราวของพระเวสสันดรนั้นมีทั้งสิ้น 13 กัณฑ จับเรื่องตั้งแตหลังจาก พระพุทธเจาตรัสรูและมีพระดำ�ริที่จะเสด็จไปโปรดพระประยูรญาติเมื่อพระประยูรญาติ ทั้งหลายทอดพระเนตรเห็นพระพุทธเจา ซึ่งออนศักดิ์กวาจึงไมแสดงความเคารพและ ทรงแสดงกิริยากระดางกระเดื่อง พระพุทธเจาจึงทรงเหาะขึ้นไปในอากาศทรงแสดง ฉั พ พรรณรั ง สี แ ล ว จึ ง โปรยธุ ลี พ ระบาทลงพระเศี ย รของเหล า พระประยู ร ญาติ เ มื่ อ พระประยูรญาติทอดพระเนตรดังนั้นจึงทรงแสดงความเคารพขณะนั้นบังเกิดฝนโบก ขรพรรษสรางความอัศจรรยใจและความฉงนแกพระประยูรญาติทั้งหลายพระพุทธเจา จึงทรงแสดงชาดกเรือ่ งพระเวสสันดรประทานอธิบายเรือ่ งฝนโบกขรพรรษเคยตกมาแลว ครั้งหนึ่งเมื่อพระพุทธเจาทรงเสวยพระชาติเปนพระเวสสันดรใหแกพระประยูรญาติ ทั้งหลายฟง ความสำ�คัญของเรื่องมหาชาตินั้นปรากฏมาตั้งแตครั้งกรุงสุโขทัยเปนราชธานี กลาวคือ ศิลาจารึกนครชุม หลักที่ 3 มีความวาถาหาคนสวดพระมหาชาติไมไดพระ อภิธรรมอื่นจะขาดหายไป สวนคัมภีรมาเลยยฺวตฺถุซึ่งเปนคัมภีรสำ�คัญคัมภีรหนึ่งของ พระพุทธศาสนายังปรากฏความเชือ่ เรือ่ ง อานิสงสของการสวดมหาชาติวา หากผูใ ดไดฟง เทศนมหาชาติครบทั้ง 13 กัณฑภายในหนึ่งวันจะไดไปเกิดในสวรรคชั้นดาวดึงสและ ยังไดเกิดในยุคสมัยของพระศรีอาริยเมตไตรย พระพุทธเจาในอนาคตกาล ในยุคนี้เปน ยุคแหงความสุข มนุษยทั้งหลายจึงตองการไปเกิดในยุคสมัยนี้ จากความเชื่อทั้งสอง ประการนี้โดยเฉพาะความเชื่อในประการที่สองจึงทำ�ใหเรื่องเวสสันดรชาดกเขาไป มี บทบาทและความสำ�คัญในประเพณีการเทศนมหาชาติ เชน การเทศนมหาชาติของ

__________________ 3 ชาดก มาจากคำ�วา ชาตกะ หมายถึง การเกิดหรือผูที่เกิดแลว คำ�วา “ชาดก” ในวรรณกรรม พระพุทธศาสนาจึงหมายถึง เรื่องราวของพระพุทธเจาเมื่อครั้งเสวยพระชาติเปนสัตวและมนุษย ซึ่ง แบงออกเปน 2 ประเภท ไดแก ประเภทแรก คือ นิบาตชาดก คือ ชาดกที่ตกลงกันไวมีทั้งหมด 547 เรื่อง ซึ่งรวมถึงเรื่องพระเวสสันดรชาดกดวย และประเภทที่สอง คือ พาหิรชาดก หมายถึง ชาดกนอก นิบาตมีทั้งสิ้น 50 เรื่อง ภิกษุชาวลานนาเปนผูรจนาในชวงพ.ศ. 2000-2200 หากนับจำ�นวนชาดกจริง แลวปรากฏวามี 61 เรื่องรวมเรียกวา “ปญญาสชาดก” ดังที่สำ�นักพิมพศิลปาบรรณาคารจัดพิมพ

53


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

ภาคกลาง การตั้งธรรมหลวงของภาคเหนือและงานบุญพระเวสของภาคอีสาน เปนตน เรื่องเวสสันดรชาดกนี้เปนวรรณกรรมพระพุทธศาสนาที่นิยมแพรหลายมาก ทีส่ ดุ ในแถบสุวรรณภูมซิ งึ่ จะเห็นไดจากการแพรกระจายของเรือ่ งเวสสันดรชาดกในพระ ไตรปฎกที่เปนภาษาบาลี ตามทองถิ่นตางๆ เชน ลาว พมา สิบสองพันนา รวมทั้ง ประเทศไทยอีกดวย เรือ่ งเวสสันดรชาดกนีเ้ ปนทีร่ จู กั และนิยมมากในอาณาจักรลานนาและอาณาจักร ใกลเคียงเนื่องจากความเชื่อและคานิยมเรื่องอานิสงสของการสรางธรรมมหาชาติ อุดม รุงเรืองศรี (2546 : 199) ไดใหความเห็นถึงการสรางคัมภีรเกี่ยวกับมหาชาติไววา “การที่มีการสรางธรรมมหาชาติและชาดกตางๆ เปนจำ�นวนมากนั้น อาจจะเปนเพราะ ความบันดาลใจทีไ่ ดรบั การกระตุน จาก “อานิสงสสรางธรรม” และอาจเปนเพราะตองการ แสดงถึงความสามารถของผูแตงดวยก็ได” การสรางคัมภีรม หาชาติเพือ่ ถวายวัดนัน้ อาจจะกลาวไดวา เกิดจากปจจัยในการ นิยมฟงเทศนของชาวลานนา ทัง้ นีม้ าจากความเชือ่ จากคัมภีรเ รือ่ งมาเลยยฺวตฺถุ 4 วาผูใ ด ไดฟง เรือ่ งมหาชาติจบภายในหนึง่ วัน จะไดไปสูส วรรค ชัน้ ดาวดึงสหรือจะไดไปสูย คุ ของ พระศรีอาริยเมตไตรย จากความเชือ่ นีจ้ งึ ทำ�ใหชาวลานนานิยมฟงเทศนโดยเฉพาะเรือ่ ง มหาชาติ จึงทำ�ใหเกิดประเพณี “สรางธรรม” คือ การจัดทำ�คัมภีรพ ทุ ธศาสนาโดยเฉพาะ เรื่องมหาชาติ เพื่อใหภิกษุไดใชในการเทศน ความนิยมในการสรางธรรมนี้ไดรับความ นิยมมากจึงทำ�ใหมหาชาติของลานนานั้นมีจำ�นวนสำ�นวนมากถึง 200 สำ�นวน สวนพระมหาสมชาติ นนฺทธมฺมิโก (สมชาติ นนฺทธมฺมิโก (บุษนารีย), พระ มหา 2549 : 13-14) ไดสันนิษฐานประวัติการเทศนมหาชาติ ไววา “ในดินแดนลานนา ปรากฏวามีการเทศนมหาชาติเวสสันดรชาดกมาเปนเวลานานหลังจากทีพ่ ระพุทธศาสนา ไดเผยแผเขามาในดินแดนลานนาแตก็ไมมีหลักฐานเพียงพอที่จะบอกไดวาการเทศน มหาชาติในลานนามีความเปนมาอยางไร นอกจากจะอนุมานเอาจากที่อื่นแตก็เปน เรือ่ งแปลกอยูบ า ง ทีม่ คี มั ภีรม หาชาติเวสสันดรชาดกในลานนามีมากกวาประเทศทีน่ บั ถือ พระพุทธศาสนาดวยกัน ถาจะอนุมานเอาตามจำ�นวนพระคัมภีรที่มีอยูอยางมากมาย อยางนั้นนาพูดไดวา การเทศนมหาชาติในลานนาก็คงจะตองมีการจัดเทศนอยาง ใหญโตไมแพทอี่ นื่ ๆ ฉะนัน้ จึงกลาวไดวา การเทศนมหาชาติในทีต่ า งๆ ก็นา จะมีอทิ ธิพล __________________ 4 ชาวลานนารูจักคัมภีรมาเลยยฺวตฺถุในชื่อมาลัยโปรด (ออกเสียงชื่อคัมภีรนี้วา “มาลัยโผด” เสียง /ปร/ ในภาษาลานนาออกเสียงเปน /ผ/)

54


วรรณศิลปลานนาจากมหาชาติภาคพายัพ สำ�นวนสรอยสังกร วาทิต ธรรมเชื้อ

แกกันและกันไมมากก็นอย” ความเชือ่ เรือ่ งการเทศนมหาชาตินนั้ ยังคงปรากฏใหเห็นในสังคมลานนาปจจุบนั ทั้งการเทศนมหาชาติในเดือนมีนาคมและเมษายน อีกทั้งยังคงปรากฏในงานบุญใหญ ของลานนา คือ “ประเพณีตั้งธรรมหลวง” ซึ่งตรงกับเดือนยี่หรือเดือนพฤศจิกายน การเทศนมหาชาติของลานนานั้นนาจะมีที่มาสองทาง คือ ทางแรกมาจากการ แปลคาถาพันทีเ่ ปนภาษาบาลี 1,000 พระคาถา (ประคอง นิมมานเหมินท 2526 : 30) ซึง่ พระยากือนาทรงใหพระทัง้ 3 นิกาย คือ นิกายดัง้ เดิมหรือเรียกวานิกายพืน้ เมืองโบราณ ซึ่งรับมาจากมอญ นิกายพระสุมนเถระซึ่งมาจากกรุงสุโขทัยและนิกายสีหล ครั้นแปล สำ�เร็จแลวจึงนาจะมีการใชสวดและเทศน พระครูอดุลสีลกิตติ์ (อดุลสีลกิตติ์ (ประพัฒน ฐานวุฑฺโฒ บุญชุม), พระครู 2551 : 19) สันนิษฐานไววากรุงสุโขทัยอาจจะรับประเพณี การฟงเรือ่ งเวสสันดรชาดกมาจากอาณาจักรลานนา ขอสันนิษฐานนีผ้ ศู กึ ษามีความเห็น ที่แตกตางจากประคอง นิมมานเหมินทและพระครูอดุลสีลกิตติ์ วาการสวดและการเทศ นมหาชาตินอี้ าจจะเปนไปไดวา กรุงสุโขทัยก็มแี บบฉบับเปนของตนเอง ซึง่ ไมนา จะไดรบั การถายทอดไปจากอาณาจักรลานนา อีกทางหนึง่ นาจะมีทมี่ าจากนิกายดัง้ เดิมกลาวคือ การเทศนมหาชาติในลานนานั้นนาจะมีมาแตเดิมกอนการขึ้นมาของพระพุทธศาสนา นิกายพระสุมนเถระ กลาวคือ นาจะมีการเทศนมหาชาติลานนามาแตนิกายดั้งเดิมบาง แลวเรียกวา “นิกายพื้นเมืองโบราณ” 5 ซึ่งอาจจะสันนิษฐานไดวาการเทศนมหาชาติ ลานนานี้อาจจะมีการพัฒนารูปแบบขึ้นเอง เมื่อพระพุทธศาสนานิกายพื้นเมืองโบราณ เขามาสูลานนาและอาจจะมาจากการสวดแบบมีทำ�นอง 6 จนพัฒนากลายเปนทำ�นอง เทศนตางๆ ในปจจุบัน กลาวโดยสรุปไดวาการเทศนมหาชาติของทั้งสองอาณาจักร อาจจะมี พั ฒ นาการเป น ของตนเองจนทำ � ให มี เ อกลั ก ษณ เ ฉพาะตนดั ง ที่ เ ห็ น ได ใ น ปจจุบัน สวนลานนานั้นไดพัฒนาทั้งทำ�นองการเทศนและการแตงเรื่องมหาชาติจนมี __________________ 5 นิกายดั้งเดิมหรือนิกายพื้นเมืองโบราณนี้อาจจะเปนนิกายมหายานที่ไดรับมาจากมอญอีก ทอดหนึ่ง กลาวคือ นิกายดังกลาวมีลักษณะของวัตรปฏิบัติและขอวินัยบางประการที่มีลักษณะของ นิกายมหายาน เชน พระสามารถฉันขาวเย็น พระสามารถรองเพลง หรือแมแตพระสามารถดืม่ น้�ำ เมาได เปนตน นอกจากนีแ้ ลวยังมีหลักฐานทางโบราณคดีทแี่ สดงใหเห็นถึงความเปนมหายานหลายแหลง เชน วัดปงสนุกเหนือและวัดไหลหินหลวง เปนตน (สัมภาษณ ธิติพล กันติวงศ,ผูชวยศาสตราจารย ประจำ� ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจติ รศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม สัมภาษณวนั ที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ.2554) 6 การสวดแบบมีทำ�นอง ยังปรากฏใหเห็นในพระพุทธศาสนานิกายมหายานในธิเบต ประเทศ จีน

55


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

เอกลักษณเฉพาะตนอยางชัดเจน สามารถเห็นไดจากรูปแบบการเทศน ทำ�นอง เทศน และวรรณกรรมพระพุ ท ธศาสนาเรื่ อ งมหาชาติ สำ� นวนต า งๆ ซึ่ ง มี ม ากถึ ง 200 กวาสำ�นวนในบรรดามหาชาติลานนามากกวา 200 สำ�นวนนี้มีสำ�นวนที่ชาว ลานนาประทับใจและใหความนิยมมากเปนพิเศษ คือ สำ�นวนไมไผแจเรียวแดง สำ�นวนสรอยสังกร สำ�นวนอินทรลงเหลา สำ�นวนพระยาพื้น และสำ�นวนสรอยรวมธรรม โดยเฉพาะสำ � นวนสร อ ยสั ง กรได รั บ ความนิ ย มมากที่ สุ ด เนื่ อ งจากเป น สำ � นวนที่ ปริ ว รรตเป น อั ก ษรไทยมาตรฐานแล ว จึ ง ทำ � ให ภิ ก ษุ ที่ ไ ม ส ามารถอ า นอั ก ษรธรรม ไดสามารถอานและใชเทศนสะดวก อีกทั้งสำ�นวนสรอยสังกรนี้ยังมีความไพเราะ กวาสำ�นวนอื่นๆ กลาวคือ เปนสำ�นวนที่ไดรับการชำ�ระจากสำ�นวนอื่นๆ อาจจะกลาว ไดวา สำ�นวนสรอยสังกรมีวัตถุประสงคชำ �ระเพื่อใหมีความไพเราะทางวรรณศิลป ดังที่พระธรรมราชานุวัตร ผูชำ�ระไดกลาวไวในคำ�ปรารภวา “...ขาพเจาไดพยายาม เรียบเรียงธรรมมหาชาติลานนา โดยใหมีถอยคำ�สัมผัสกันมากที่สุด ที่ชาวลานนา เรียกวา “สรอย” จึงใหนามวา “ธรรมมหาชาติภาคพายัพฉบับสรอยสังกร” ความจริง ไมใชธรรมที่ขาพเจาแตงขึ้นเอง แตคัดลอกเอาธรรมมหาชาติหลายฉบับแลวแกไข ปรั บ ปรุ ง ต อ เติ มใหเหมาะสม คือ ไมหนาเกินไปหรื อ บางเกิ น ไป มี ถ  อ ยคำ� สั ม ผั ส คลองจองหรือรับกัน และแกไขสำ�นวนโวหารบางแหงที่เห็นวาไมเหมาะสม แตก็ พยายามรักษาภาษาลานนาโบราณ ไมใหภาษาสมัยใหมปะปนเพื่อประโยชนแกผูสนใจ ภาษา” (ธรรมราชานุวัตร, พระ 2498 : ก) วัตถุประสงคของการชำ�ระมหาชาติสำ�นวนสรอยสังกรนี้แตกตางจากมหาชาติ สำ�นวนไผแจเรียวแดง ที่ อุดม รุงเรืองศรี ไดปริวรรตและชำ�ระ ดังที่ มัชฌิมา วีรศิลป (2549) ไดศึกษาเรื่อง “การศึกษาวรรณกรรมลานนา เรื่องเวสสันดรชาดก สำ�นวน ไมไผแจเรียวแดง” อุดม รุง เรืองศรี (2546 : 6) กลาวถึงวัตถุประสงคของการปริวรรตและ ชำ�ระวาเพื่อเปนการรักษารูปภาษาลานนามากกวาเพื่อใหเกิดความงามทางวรรณศิลป ดังความวา “...เปนนวัตกรรมที่สรางขึ้นจากชาดกลานนา เปนเครื่องแสดงใหเห็นถึง ความงามในอดีตซึ่งเปนฐานใหเขาสูอนาคตได” อาจกลาวไดวา วัตถุประสงคของ อุดม รุงเรืองศรี ในการสรางสรรค เรื่องเวสสันดรชาดก ฉบับไมไผแจเรียวแดง คือ ตองการ แสดงให ค นทั่ ว ไปได ชื่ น ชมและเห็ น ถึ ง คุ ณ ค า ของวรรณกรรมล า นนาซึ่ ง บั น ทึ ก ไว ดวยอักษรลานนา...” มหาชาติ สำ�นวนไมไผแจเรียวแดง จึงเห็นความงามดานวรรณศิลปไมมาก เทากับมหาชาติ สำ�นวนสรอยสังกรที่มีวัตถุประสงคของการชำ�ระเพื่อแสดงความงาม ทางวรรณศิลปเพือ่ ใหเกิดความไพเราะในการเทศน ซึง่ ความไพเราะทีเ่ กิดจากความงาม ทางวรรณศิลปนี้ ทำ�ใหมหาชาติ สำ�นวนสรอยสังกรไดรับความนิยมใชเทศนในงาน

56


วรรณศิลปลานนาจากมหาชาติภาคพายัพ สำ�นวนสรอยสังกร วาทิต ธรรมเชื้อ

ประเพณีตั้งธรรมหลวงของเกือบทุกวัด อาจจะกลาวไดวา มหาชาติ สำ�นวนสรอย สังกรนี้ยังคงมีบทบาท เปนอยางยิ่งในสังคมลานนาซึ่งตางกับมหาชาติสำ �นวนอื่น จึงทำ�ใหผูศึกษาสนใจที่จะศึกษามหาชาติลานนา สำ�นวนนี้ การศึกษาวรรณกรรมลานนาเรื่องมหาชาติ ภาคพายัพ สำ�นวนสรอยสังกร ดานวรรณศิลปนี้มีสมมติฐานวา เรื่องมหาชาติสำ�นวนสรอยสังกรยังมีบทบาทในการ ตั้งธรรมหลวงอยูในสังคมลานนาปจจุบันเนื่องจากมีความงามทางวรรณศิลป การศึกษาในครั้งนี้จึงมุงเนนศึกษาวรรณศิลปที่กวีสรางสรรคขึ้นเพื่อใหผูอาน เกิดอารมณสะเทือนใจซึ่งจะทำ�ใหเห็นสารที่กวีไดตั้งใจสงใหผูอานอีกดวย การศึกษา วรรณกรรมลานนา เรือ่ งมหาชาติภาคพายัพ สำ�นวนสรอยสังกรนีผ้ ศู กึ ษาไดใชมหาชาติ ภาคพายัพ สำ�นวนสรอยสังกรที่พระธรรมราชานุวัตรไดปริวรรตไวเมื่อ พ.ศ. 2498 โดยจะแบงการศึกษาออกเปน 2 สวน คือ ฉันทลักษณที่ใชแตงเรื่องมหาชาติสำ�นวน สรอยสังกรและสุนทรียภาพที่ปรากฏในเรื่องมหาชาติสำ�นวนสรอยสังกร ความงามทาง ภาษาทั้งเสียงและคำ�ที่กอใหเกิดความหมายที่กอใหเกิดรสแกผูฟง 1. ฉันทลักษณที่ใชแตงเรื่องมหาชาติ สำ�นวนสรอยสังกร ล า นนาใช ฉั น ทลั ก ษณ ป ระเภทค า วธรรมในวรรณกรรมพระพุ ท ธศาสนา ฉันทลักษณประเภทนี้ไมมีความซับซอนของคณะไมมีบังคับเอก-โทอยางโคลงจึงไดรับ ความนิยมในการใชแตงคำ�ประพันธมากกวาฉันทลักษณประเภทอื่นๆ อยางไรก็ตาม ขอบังคับของคาวธรรมที่วาคำ�สุดทายของวรรคจะสงสัมผัสไปยังคำ�ที่สามหรือสี่ของ วรรคถัดไปจะเปนขอบังคับเดียวของฉันทลักษณประเภทนี้ การแตงคาวธรรมใหไพเราะ นั้นจึงขึ้นอยูกับจังหวะและทำ�นองของการเทศนดวยและดวยเหตุที่เปนฉันทลักษณที่ ไมซบั ซอนดังกลาวจึงเปนการเปดโอกาสใหกวีไดแสดงฝมอื ในการแตง ฉะนัน้ คาวธรรม ในยุคแรกๆ จึงไมมีกลบทและการเลนเสียงเลนคำ�แพรวพราว เชน ปจจุบัน พระครูอดุล สีลกิตติ์ไดแบงประเภทคาวธรรมไว 3 แบบ คือ แบบพลูไตคางชางเทียวคอง แบบ ชางขามโทง หงสยางบาท และแบบพิเศษ (อดุลสีลกิตติ์, พระครู 2551 : 33-47) หาก พิจารณาตามประเภทคาวธรรมนี้จะพบวา มหาชาติ สำ�นวนสรอยสังกรนี้ใชการแตง คาวธรรมแบบพลูไตคา งชางเทียวคอง ชาวลานนาจะออกเสียงวา /ปูไตกา ง จางเตียวคอง/ หมายถึง การแตงที่มีลีลาเหมือนกับชางเดินอยางระมัดระวัง รักษาจังหวะและกาวยาง อยางสม่ำ�เสมอซึ่งมีที่มาจากชื่อทำ�นองหรือระบำ� ลักษณะคำ�ประพันธเชนนี้ตรงกับ คำ�ประพันธประเภทรายยาวซึ่งเหมือนกับทองถิ่นอื่น ดังมีลักษณะ คือ บทหนึ่งมีสี่วรรค แบงเปนวรรคหนาและวรรคหลัง วรรคละ 5 คำ� คำ�สุดทายของวรรคหนาสัมผัสกับ คำ�ที่ 3 หรือ 4 หรือ 5 ของวรรคหลังและคำ�สุดทายของวรรคหลังสัมผัสกับคำ�ที่ 3

57


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

ของวรรคหนาตอไปจะเปนเชนนี้จนหมดความหรืออาจจะลงทายวา และชะแล ชะแลนา ดั่งนี้แหละ นั้นชา เฮย และ ก็มีและ เปนตน วรรคหน วรรคหนาา

วรรคหลั ง วรรคหลัง

1

2

3

4

5

1

2

3

4

5

1

2

3

4

5

1

2

3

4

5

แผนผังคำ�ประพันธประเภทรายยาวหรือคาวธรรม

ดังตัวอยางตอไปนี้ “...ดู ร านางมั ท รี ส รี ส ะอาด ปองว า สองราได เ สวิ ย ราช เมืองขวาง แลมึงนางตายจาก ชีวติ พรากสันดาน คูพจี่ กั หือ้ สรางวิมาน ปราสาท งามวิลาสบวร แตแมเรือนนอนเหนือแผน แทบทองแทน ปฐวี ปลองรูชีสลอด ใสตงสอดขัดขวาง เจือแปนวางลวาดเลื่อน บหื้อขดฅลายเฅลื่อนไพมา อันชางไมหากรจนาตกแตง ทุกที่แหง ท่ำ�กลาง” ตัวอยางขางตนอยูในกัณฑมัทรีจะพบการกลาวถึงประเพณีงานศพของกษัตริย ลานนาซึ่งเปนตอนที่พระเวสสันดรเขาพระทัยวาพระนางมัทรีไดสิ้นพระชนมแลว พระเวสสันดรไดรำ�พึงรำ�พันถึงพระนางมัทรีและจะจัดงานพระศพใหอยางสมพระเกียรติ มหาชาติ สำ � นวนสร อ ยสั ง กรนี้ เ ป น ค า วธรรมขนาดยาวจึ ง ทำ � ให ก วี เ ลื อ กใช ฉันทลักษณที่ไมซับซอน เพื่อเอื้อตอการสรรคำ � ฉันทลักษณประเภทนี้ยังเอื้อตอ การเลนคำ�เลนเสียงไดอยางดีเพราะคาวธรรมมีลักษณะเปนรายจึงมีความยืดหยุน ของจำ�นวนคำ�ในแตละวรรคจึงทำ�ใหกวีสามารถจะเพิ่มเติมลีลาเฉพาะตัวของกวีได อยางดียิ่ง จากตัวอยางขางตนจะพบวากวีไดสรรคำ�ที่สัมผัสเพื่อใหเกิดเสียงสัมผัสที่ ราบรื่นตอเนื่องกันทั้งเรื่องเสียงสัมผัสเหลานี้ทำ�ใหเกิดมีจังหวะอยางสม่ำ�เสมอจึงทำ�ให “องคเทศน” หมายถึง พระนักเทศน นิยมใชมหาชาติสำ�นวน สรอยสังกรในการเทศน มากกวาสำ�นวนอื่นของลานนา กลาวคือ การเทศนมหาชาติแบบลานนาในแตละพื้นที่

58


วรรณศิลปลานนาจากมหาชาติภาคพายัพ สำ�นวนสรอยสังกร วาทิต ธรรมเชื้อ

นั้น จะมีระบำ�ที่แตกตางกันออกไป เชน จังหวัดเชียงใหมจะมีระบำ�สำ�หรับเทศน คือ มะนาวลองของจังหวัดลำ�ปาง และพะเยาจะมีระบำ�สำ�หรับเทศน คือ แมงภูชมดวง เปนตน ซึ่งระบำ�ของแตละพื้นที่จะมีจังหวะทวงทำ�นอง และลีลาการเทศนแตกตางกัน ออกไปกวี ล  า นนาซึ่ ง โดยส ว นใหญ เ ป น พระสงฆ จำ � เป น ต อ งรจนามหาชาติ เ พื่ อ ให สัมพันธกบั ระบำ�ของพืน้ ทีข่ องตนจึงทำ�ใหมหาชาติลา นนามีหลายสำ�นวนและเปนสำ�นวน ที่ใชเฉพาะกับระบำ�นั้นๆ ซึ่งแตกตางกับมหาชาติสำ�นวนสรอยสังกรที่องคเทศนแตละ พื้นที่สามารถนำ�ไปเทศนไดทุกระบำ� เนื่องมาจากกวีที่แตงมหาชาติสำ�นวนสรอยสังกร ใสใจรายละเอียดในการแตงตั้งแตการเลือกใชฉันทลักษณที่ไมซับซอน พรอมกับสรรคำ� ที่มีเสียงสัมผัส จึงทำ�ใหเกิดจังหวะที่ราบรื่นเมื่อนำ�ไปเทศนจึงเขากับระบำ�ทุกระบำ�ตาม ความนิยมของแตละพื้นที่ไดอยางเหมาะสม 2. วรรณศิลป วรรณกรรมลานนาเรื่องมหาชาติสำ�นวนสรอยกรเปนวรรณกรรมเรื่องหนึ่งที่มี วรรณศิลปอยางงดงามการทีก่ วีไดสรรคำ�เพือ่ จงใจใหเกิดความงามทางวรรณศิลปนนั้ เพือ่ ทีจ่ ะใหผอู า นผูฟ ง เกิดจินตนาการจนนำ�ไปสูก ารรับรสและสามารถรับสารทีก่ วีไดพยายาม ถายทอดใหแกผูฟง จากการศึกษาคุณคาทางวรรณศิลปจากเรื่องมหาชาติสำ�นวน สรอยสังกร พบคุณคาทางวรรณศิลป 3 ประการ คือ ดานเสียง ดานคำ� และดานความหมาย ดังมีรายละเอียดดังนี้ 2.1 ดานเสียง 2.1.1 กลวิธีการใชเสียงสัมผัส ก. การเลนเสียงสัมผัสพยัญชนะ เปนการเลนเสียงใดเสียงหนึ่งดวย การใชอักษรตัวใดตัวหนึ่งเพื่อใหเกิดเสียงกระทบในเสียงเดียวกัน หลวงธรรมาภิมณฑ (ธรรมาภิมณฑ, รองอำ�มาตยเอกหลวง (ถึก จิตรถึก) 2519 : 50-53) เรียกสัมผัสพยัญชนะ วาสัมผัสอักษร มี 7 ประเภท คือ สัมผัสแบบคู เทียบคู เทียมรถ เทียบรถ ทบคู แทรกคูแ ละ แทรกรถ กลวิธีการเลนเสียงสัมผัสพยัญชนะนี้เปนกลวิธีที่กวีลานนานิยมใชมากที่สุด ในกัณฑมัทรีพระนางมัทรีเมื่อทรงรูสึกไมสบายพระทัยจึงทรงรีบเสด็จกลับพระอาศรม กวีไดพรรณาถึงหนทางที่พระนางเสด็จกลับไววา “ลอมหวยหาดผาคม มีทงั้ หินกลมกลิง้ เกลือ่ น ไมเทาเปนเพือ่ นเบาแรง” ตัวอยางขางตน จะเห็นไดวา กวีไดเลือกใชคำ�วา หวย-หาด ซึง่ เปนการเลนเสียง พยัญชนะ “ห” และกวียงั จงใจใชเสียง “กล” เพือ่ ใหเกิดภาพของลักษณะของกอนหินและ ยังใหความรูสึกของความเกลื่อนกลาดของกอนหินดวยการใชค�ำ วา กลม-กลิ้ง-เกลื่อน ไมเพียงแตการใชเสียงเพือ่ ใหเห็นภาพเทานัน้ กวีลา นนายังใชกลวิธนี ี้ ในการสรางความ

59


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

รูสึกของตัวละครอีกดวย ดังตัวอยางในกัณฑมัทรี เมื่อพระนางมัทรีทรงพบกับเหลา พระยาราชสีหพระนางทรงคร่ำ�ครวญออนวอน ดังที่กวีไดพรรณนาความวา “แกพระยาเนือ้ ทังหลาย อันตรายยายฟก หลบหลีกจากทางเทียว กูจกั เคียวเมือหาลูกแกว และพระผานแผวผัวขวัญ นางรำ�พันดังนี้เปนตน” ตัวอยางขางตนจะเห็นไดวา กวีไดเลนเสียงพยัญชนะในวรรคที่สามทั้ง คำ�วา หลบ-หลีก และ ทาง-เทียว(ภาษาลานนาออกเสียง /ทาง/ เปน /ตาง/ และ /เทียว/ เปน /เตียว/) ซึ่งเปนกลวิธีการเลนเสียงพยัญชนะแบบคู คือ การใชสัมผัสพยัญชนะเรียง ตอกัน 2 คำ�และมี 2 คู กวียงั ไดเพิม่ ความรูส กึ ของพระนางมัทรีวา พระนางมัทรีทรงยกยอง พระเวสสันดรใหทรงอยูใ นฐานะของพระโพธิสตั วแตกย็ งั เปนพระสวามีอยู ดังคำ�ทีก่ วีใชวา (พระ) ผาน-แผว-ผัว (ขวัญ) จะเห็นไดวากวีจงใจใชการสัมผัสอักษรเรียงกันถึง 3 คำ� เพื่อแสดงใหเห็นวาพระนางมัทรียกยองใหเกียรติและยังเคารพนับถือพระเวสสันดร เปนอยางยิ่งดวย ข. การเลนเสียงสัมผัสสระ เปนการเลนเสียงใดเสียงหนึ่งดวยเสียง สระเดียวกันเพื่อใหเกิดเสียงสัมผัสอยางตอเนื่องและราบรื่น หลวงธรรมาภิมณฑ (ธรรมาภิมณฑ, รองอำ�มาตยเอกหลวง (ถึก จิตรถึก) 2519 : 50-53) กำ�หนดสัมผัส สระ 5 ประเภท คือ สัมผัสแบบเคียง เทียบเคียง ทบเคียง เทียบแอก และแทรกแอก ใน มหาชาติ สำ�นวนสรอยสังกรนี้พบการใชเสียงสัมผัสสระแบบเคียงและแบบแทรกเคียง มากที่สุด ดังตัวอยางในกัณฑมัทรีเมื่อพระนางมัทรีเสด็จกลับมาจากปาทรงตามหาสอง กุมารแตไมทรงพบพระนางทรงคร่ำ�ครวญถึงสองกุมารตางๆนานาดังที่กวีไดพรรณนา ไววา “หันแมมาแลนตอนรอง เรียกนองวากัณหา แมมาดาออกไทได ลูกไมมาหายังสองราแลวแล” ตัวอยางขางตนจะเห็นไดวาในวรรคที่สองกวีเลนเสียงสระ “ออ” ในคำ�วา รอง-นอง โดยมีคำ�วา เรียก คั่นกลาง และในวรรคเดียวกันยังเลนเสียงสระ “า” ในคำ�วา วา-หา โดยมีคำ�วา กัณ คั่นกลาง สวนวรรคที่สี่เลนเสียงสระ “ไ” ในคำ�วา ได-ไม โดยมี คำ�วา ลูก คั่นกลาง สัมผัสสระเชนนี้อาจจะเรียกวา สัมผัสแบบแทรกเคียง กลาวคือ เปนสัมผัสสระทีม่ สี ระอืน่ คัน่ กลางอาจอยูต น วรรคหรือกลางวรรค สวนวรรคทีส่ มี่ กี ารเลน เสียงสระ “า” ในคำ�วา มา-หา การเลนเสียงสัมผัสเชนนี้ทำ�ใหเห็นจุดประสงคของการเลนเสียงสระของก วีลานนาประการหนึ่งคือการเลนเสียงสัมผัสสระเพื่อสรางจังหวะดังที่ไดกลาวไวในหัว ขอฉันทลักษณในมหาชาติสำ�นวนสรอยกรวาจังหวะของคำ�ประพันธเปนลักษณะเฉพาะ ของมหาชาติ สำ�นวนสรอยกรนี้ การสรางจังหวะเพื่อใหสอดคลองกับระบำ�เชนนี้จึง

60


วรรณศิลปลานนาจากมหาชาติภาคพายัพ สำ�นวนสรอยสังกร วาทิต ธรรมเชื้อ

เอือ้ ตอระบำ�ตางๆ ทีอ่ ยูใ นลานนาอีกดวย ฉะนัน้ อาจจะกลาวไดวา ดวยความใสใจในการ แตงของกวีลานนา ในดานวรรณศิลปโดยเฉพาะดานเสียงทำ�ใหมหาชาติ สำ�นวนสรอย สังกรเปนนิยมและยังคงมีบทบาทอยูในลานนา 2.1.2 การเลนเสียงสัทพจน หมายถึง การใชเสียงที่เกิดจากธรรมชาติ เชน เสียงฟารอง เสียงสัตว เสียงน้ำ� รวมถึงเสียงที่มนุษยสรางขึ้น ดังในกัณฑกุมารเมื่อ พระนางมัทรีสุบินรายวามีคนมาควักดวงพระเนตรและตัดพระกรของพระนาง พระนาง จึงเสด็จไปทูลถามพระเวสสันดร ครั้นถึงประตูศาลา พระเวสสันดรทรงไดยินเสียงประตู ดังความวา “มหาสตฺโต อันวา พระมหาสัตเจา อันยังอยูเฝาภาวนา ไดยินประตูสา ลาดังกะกกกะกาก ยินเสียงหลากแทหนักหนา” ตัวอยางขางตนจะเห็นไดวา กวีเลือกใชค�ำ วา “กะกกกะกาก” กับประตู เสียง กะกกกะกาก นีท้ �ำ ใหผอู า นผูฟ ง เกิดจินตภาพมากขึน้ ดวย กลาวคือ เสียง “กะกกกะกาก” นี้ชาวลานนาจะเขาใจวาเปนเสียงดังกวาเสียงกุกกัก ภาพที่กวีสรางขึ้นสอดรับกับฉาก ดวย กลาวคือ ในตอนนี้เปนฉากที่พระนางมัทรีทรงหวาดกลัวพระสุบินจึงรีบเสด็จเพื่อ ทูลถามพระเวสสันดรถึงเรื่องพระสุบินกลวิธีการใชคำ�เลียนเสียงธรรมชาตินี้ในมหาชาติ สำ�นวนสรอยสังกรนัน้ มีปรากฏนอยอาจจะเปนเพราะกวีไมไดตอ งการเนนฉาก กลาวคือ เสียงสัทพจนมักจะปรากฏและมีความสำ�คัญตอฉาก เชน กวีมักจะใชพรรณนาฉากที่ เปนปา ฟาฝน รวมถึงเสียงทีเ่ กิดอุปกรณตา งๆ เปนตน แตในมหาชาติ สำ�นวนสรอยสังกร ฉากเปนสวนทีเ่ สริมใหตวั ละครเดนขึน้ ฉะนัน้ จึงพบการใชสทั พจนนอ ยกวาภาพพจนอนื่ 2.1.3 การใชคำ�อัพภาสหรือการกรอนคำ�ของคำ�ซ้� ำ การอัพภาส คือ การที่ คำ�พวกหนึ่งที่มีเสียงซ้ำ�กันดวยตัวพยัญชนะ หรือเรียกวาคำ�ซ้ำ� โดยทำ�ใหพยางคหนา สั้นเขา เชน ยุงยุง เปน ยะยุง ยายยาย เปน ยะยาย เปนตน (วรเวทยพิสิ, พระ 2545 : 9) ดังทีก่ วีไดพรรณนาไวในกัณฑมหาราช ตอนทีช่ ชู กไดรบั พระราชทานเลีย้ งอาหาร วา “...บัดนี้ไดมาพบของกินแพงตางๆ ชิ้นสมคางกับมันหมู สองมือถู เขาปาก เยียะจะจุบจะจาบซะซุยซะซาย กินทังลาบควายและแกง แคเปด แกงแคเห็ดเผ็ดวะวีว่ ะวี่ กินทังปง จีแ่ ละปลาเผา แคบหมูมนั เอาใสระรัน เถายินมันคอยเคี้ยว ปากพราหมณเบี้ยวเมือบน กินทั้ง แกงออมตมจนดังซะซบ ปงไกรูดทังตัว...” กวีไดใชการอัพภาส เพือ่ ใหเห็นกิรยิ าอาการตะกละของชูชก เชน คำ�วา จะจุบ จะจาบ ซะซุย ซะซาย วะวี ่ ระรันและซะซบ เมือ่ ผูอ า นหรือผูฟ ง ไดอา นหรือฟงจะไดภาพ ของความตะกละของชูชกทีร่ บี รับประทานอยางเรงรีบดวยความดีใจเมือ่ เห็นอาหารทีม่ คี า และราคาแพงซึง่ ทำ�ใหผอู า นและผูฟ ง เห็นภาพของชูชกทีก่ นิ มูมมาม สงเสียงตลอดเวลา

61


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

ทั้งเสียงเคี้ยวเสียงซดและเสียงดูดนิ้วดวย 2.2 ดานคำ� การเลนคำ�เปนอีกกลวิธีหนึ่งที่กวีลานนานิยมใชในการแตงมหาชาติ สำ�นวน สรอยสังกร การเลนคำ�ซึ่งชวยทำ�ใหเกิดจังหวะ ลีลาและความไพเราะยิ่งขึ้น จนนำ�ไป สูค วามหมายทีป่ ระทับใจและกินใจผูอ า นผูฟ ง มากขึน้ ดวยวิธกี ารใชค� ำ วลี หรือ ขอความ ซ้ำ�ๆ ดวยความมุงหมายที่จะเนนหรือย้ำ�เนื้อความที่แตงหรืออารมณที่ผูแตงตองการ แสดงใหแนนแฟนกระจางชัด ก. การเลนซ้ำ�คำ� เพื่อตอกย้ำ�ความใหมีน้ำ�หนักมากขึ้น ดังในกัณฑมัทรีใน ตอนที่พระนางมัทรีกลับมาไมพบสองกุมารพระนางมัทรีไดพยายามตามหาสองกุมาร ทุกที่แตก็ไมพบ ในตอนนี้กวีไดเลนการซ้ำ�คำ�วา “ทุก” วา “...ทุกขอกขางอาราม ทุกดงรามและปากลวย ทุกสรอกหวยเครือ หนาม ทุกดงงามปาไมทุกแหลงไหลเขาเขียว ทุกรูเปลวปากถ้�ำ ทุก ทาน้�ำ และลอมคา ทุกรูผาเหวหาด ทุกทีต่ าดเหวเหิน ทุกรูดนิ และจอม ปลวก ทุกบวกน้�ำ และสระหนอง ทุกหินกองหินกอนางก็ไปหยืดรองหา ก็บหันสองบัวตราหนอทาว ในดานดาวแดนใด...” ตัวอยางนีพ้ บวากวีไดเลนคำ�วา “ทุก” ซึง่ เปนการเนนน้�ำ หนักของเนือ้ ความ การที่ กวีใชคำ�วา “ทุก” เพื่อย้ำ�ใหผูอานผูฟงรูสึกถึงวาพระนางมัทรีไดออกตามหาลูกทุกที่ ไมเวนที่ใดเลยทั้งรูดิน จอมปลวกและบวกน้ำ� ซึ่งเปนการย้ำ�ถึงความรูสึกของพระนาง มัทรีที่เปนแมซึ่งรุมรอนใจเที่ยวตามหาลูกแบบพลิกแผนดินโดยไมใหรอดหูรอดตาสักที่ เดียว อีกทั้งยังเปนการพรรณนาภูมิทัศนของปาหิมพานตที่ 4 กษัตริยไดอาศัยอยู ดังในบทประพันธนจี้ ะเห็นถึงปาทีม่ ตี น กลวยขึน้ มาจนเรียกวา “ปากลวย” อีกทัง้ ดานขาง อาศรมก็มีสระน้ำ� อาศรมของทั้ง 4 กษัตริยอยูบนเขาที่สูง มีถ้ำ�และเหวลึกดวย ในกัณฑกมุ าร หลังจากพระเวสสันดรทรงบริจาคสองกุมารแลว พระนางมัทรีทรง ตามหาสองกุมารแตก็ไมทรงพบจึงทรงพรรณนาคร่ำ�ครวญถึงสองกุมารวา “ทีเ่ หยียบลูกกูทงั สอง ทีส่ กุ ก็สกุ เปนหนอง ทีพ ่ องก็พองเปนน้�ำ ทีซ่ �้ำ ก็ซ้ำ�เปนเลือด บรูแหงเหือดสักยาม” ความตอนนี้กลาวถึงความทุกขยากลำ�บากของสองกุมารที่ตองถูกพาไปใน ที่ทุรกันดารกวีไดพรรณนาถึง ความลำ�บากในการเดินทางดวยเทาดวยการกลาววาที่ ที่สองกุมารไปเหยียบทำ�ใหเทาสุกจนเปนหนองพองจนเปนน้ำ�และช้ำ�จนเปนเลือด กวี ไดใชกลวิธีการซ้ำ�คำ�โดยใชคำ�วา “ก็” คั่นระหวางคำ�เพื่อเปนการสมดุลเสียง กลาวคือ การสมดุลเสียงที่เหมือนกัน ทั้ง สุกก็สุก พองก็พอง ซ้ำ�ก็ซ้ำ� ลวนแลวเปนการเนนย้ำ� ความ กวีใชคำ�วา “ก็” คั่นระหวางการซ้ำ�คำ�เชนนี้ทำ�ใหเห็นความสองความไดชัดเจนขึ้น

62


วรรณศิลปลานนาจากมหาชาติภาคพายัพ สำ�นวนสรอยสังกร วาทิต ธรรมเชื้อ

อีกดวย เชน ที่สุกก็สุกเปนหนอง คำ�วา “ที่สุก” หมายถึง เทาที่ระบมก็สุกจนเปนหนอง จะเห็นไดวา “สุก” คำ�แรกทำ�หนาที่เปนคำ�คุณศัพทที่ละคำ�นามขางหนา หมายถึง เทาที่ ระบม สวนคำ�วา “สุก” คำ�ที่สอง ทำ�หนาที่เปนคำ�กริยา หมายถึง อาการระบมจนเปน แผล ทำ�นองเดียวกันในบาทที่สองและสามที่คำ�แรกทั้งคำ�วาพองและซ้ำ�ทำ�หนาที่เปน คำ�คุณศัพทและคำ�ที่สองทำ�หนาที่เปนคำ�กริยาตามลำ�ดับ อาจจะกลาวไดวา กลวิธี การสมดุลเสียงของกวีลานนาเชนนี้ ไมเพียงจะทำ�ใหเกิดจังหวะของการเทศนแลวยัง ทำ�ใหเห็นภาพของการเกิดใหมวนเวียน กลาวคือ กวีไดใชกลวิธีการเลนคำ�ซ้ำ�เพื่อย้ำ� ใหเห็นแผลของเทาหลายระดับ เริ่มจากระดับรายแรงที่สุด คือ การสุกจนเปนหนอง ใกลแตก ระดับพองเปนน้ำ�แตยังไมติดเชื้อเปนหนองและระดับเบาที่สุด คือ เริ่มช้ำ� จะ สังเกตไดจากวรรคสุดทายทีก่ ลาววา บรแู หงเหือดสักยาม เนื่องจากช้ำ�แลวจึงกลายเปน พอง จากพองจึงกลายเปนหนองแลวเกิดใหมวนเวียนเชนนี้ การใชค�ำ ซ้�ำ แบบเปนจังหวะนี้ เพื่อใหเห็นการเกิดซ้ำ�แบบวนเวียนเปนระดับจากรุนแรงที่สุดถึงเบา ข. การเลนคำ�ดวยการซ้ำ�กลุมคำ� กวีลานนานั้นมีกลวิธีการเลนคำ�ดวย การซ้ำ�กลุมคำ�ที่มีชื่อเรียกเปนเอกลักษณเฉพาะของชาวลานนา ขอสังเกตประการหนึ่ง คือ การเลนคำ�ดวยการซ้ำ�กลุมคำ�นี้ลานนาใชเกณฑตำ�แหนงในการแบงแยกประเภท มหาชาติ สำ�นวนสรอยสังกรพบกลวิธีการเชนนี้ 3 วิธีการดังมีรายละเอียดดังนี้ วิธีการที่ 1 วิธีการแบบแบกชอนำ�พล คือ การใชคำ�ซ้ำ�กันนำ�มาวางดาน หนาบาท ลักษณะเดียวกับการเลนคำ�ซ้ำ�แตตางกันที่นำ�มาวางดานหนาจะเปนกลุมคำ� ที่มีผลทำ�ใหจำ�นวนคำ�ในคณะเกินกวา 5 คำ�ตามที่กำ�หนดไว บางครั้งเรียกวา คำ�สรอย หรือสรอยคำ� ดังตอนที่หมาของพรานเจตบุตรไลตอนชูชกขึ้นตนไม กวีไดพรรณนาถึง หมาวา “ตัวหนึง่ ชือ่ วาพูต บู แกว แกวนเชือ้ ขบเชือ้ คาบ ตัวหนึง่ ชือ่ วาพูต าบ มันชางสาปชอมรอย ตัวหนึ่งชื่อวาพูดำ�มอยปกหางครางไปทั้วปา เสี้ ยงทั่วรารวายถี ตัวหนึ่งชื่อวาอายหรีหางดอก ตัวหนึ่งชื่อวาพูทอก มันชางเซาะซอกในลอม หลอนหันสัตวมามันยอมไล คันเขาไป ใกลปาวเปปเอา ตัวหนึ่งชื่อวาดาวเสร็จ แมนหลงปาได 7 วันมันก็ ผันมารอด” วิธีการเชนนี้เปนกลวิธีที่นิยมมากในมหาชาติ สำ�นวนสรอยสังกร การใชคำ�ซ้ำ� ที่เชนนี้ไมเพียงแตเปนการย้ำ�ผูฟงวายังกลาวถึงหมาของพรานเจตบุตรแลว ผูฟงยังมี ความรูสึกวาจำ�นวนหมามีจำ�นวนมากอีกดวย วิธกี ารที่ 2 แบบสำ�เภาคืนหนสูท า เกา คือ ในแตละวรรคจะใชกลุม คำ�ซ้�ำ คลา ยกับแบบชอนำ�พล แตเปลี่ยนจากดานหนาเปนวางไวดานหลัง ดังคำ�ประพันธดังนี้

63


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

คนนงรามหนุมเถา แบกดาบเทานมเนือ เจาก็บนับ เนื้อหนังยาน ยานหัวสั่น เจาก็บนับ ค่ำ�พ่ำ�เปยปุมหลาม เจาก็บนับ ขุนตัดความ ตกแตง เจาก็บนับ ชางถือแพงพิมพเมือง เจาก็บนับ บัณฑิตเรือง นักปราชญ เจาก็บนับ ผูฉลาดดวยโวหาร เจาก็บนับ... วิธกี ารที่ 3 แบบตัง้ เคาไวไขคำ�ปลาย คือ การนำ�คำ�ทีเ่ ปนคำ�กระทูต งั้ ไว แลว จึงตามดวยคำ�อธิบายถึงความหมายใหชดั เจนขึน้ แสดงเชิงเหตุผล มักจะใชคำ�วา เพราะ เพราะวา ก็เพราะวา และก็เพื่อเปนตน ดังตัวอยางของคำ�ประพันธดังนี้ “มึ ง นางจุงมาหนี้ กูจักบอกชี้หื้อมึงฟง คำ� พายหลั ง เล า ไว กู จั ก เลาใหนางฟง ชางพังจักหนีเสียเถื่อน เพราะวาชางพูเพื่อนบมีหลาย แกวคนชาย รวมรู เมียมีชู เพราะวาผัวใจดี ราชสีหจักหนีเสียดอย เพราะวาดอย อันนั้นบมีรูเปลวปากถ้ำ� ปลาจักหนีเสียน้ำ� ก็เพราะวาน้ำ�บมีเปอะตม ศรมจักหนีเสียครู ก็เพราะครูอันนั้นใบ...” 2.3 ดานความหมาย 2.3.1 การสรางสุนทรียภาพในความเปรียบหรือภาพพจนเปนกลวิธอี นั เปน ศิลปะของการใชภาษา สำ�นวนในการพูด โดยกลาวถึงสิ่งหนึ่งแตใหมีความหมายไปถึง อีกสิ่งหนึ่ง มีความมุงหมายเพื่อเพิ่มอรรถรสใหแกขอความนั้นๆ 2.3.1.1 อุปมา คื อ การใช โ วหารภาพพจน เ ปรี ย บเที ย บเพื่ อ ให เ ห็ น เปนรูปธรรมอยางชัดเจนในขอความตอนนั้นๆ กวีลานนานิยมเรียกวิธีการอุปมาวา “อุปไมยเทียมแทก” หมายถึง การเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งใหเหมือนอีกสิ่งหนึ่ง อาจจะพบ คำ�เปรียบ ไดแก เหมือน ดัง และดั่ง เปนตน ซึ่งเปนวิธีการใชมากตลอดทั้งมหาชาติ สำ�นวนสรอยกรโดยมีลักษณะการใชคือกวีตองการจะเปรียบเทียบวาสิ่งหนึ่งเหมือนกับ สิ่งหนึ่งโดยใหสิ่งที่ถูกเปรียบมีลักษณะหรืออากัปกิริยาที่เหมือนกับแบบเปรียบดังตอน ที่ชูชกพรรณนาถึงเหลานางพราหมณีที่มารุมดา นางอมิตตดา วา “บอั้นก็อี่ผีพรายแมคาเหมี้ยง ตีนเกาเกลี้ยงดั่งโพรงเลีย บอั้นก็แมนอี่ ปากหวานใจเคียด รายลนเปรตเหลือผี รูว า อีผ่ พี รายเมียพราหมณยงิ่ เกลาผมมันควี่ดังขนแพะ” ตัวอยางขางตนทำ�ใหเห็นวา กวีตอ งการเปรียบเทียบนางผีพรายซึง่ เปนแมคา เมี่ยงวามีเทาที่เกลี้ยงเกลาเหมือนกับผีโพรงมาเลียไวและผีพรายอีกคนหนึ่งที่เกลาผม โดยผมนั้นมีลักษณะเหมือนกับขนแพะการที่กวีใชภาพพจนนี้เทากับวาทำ�ใหวรรณคดี เขาสูประสาทสัมผัสของเราไดงายขึ้น โดยไดยิน ไดเห็น ไดสัมผัส ฯลฯ ไดรวมมี ประสบการณที่กวีถายทอดไดชัดเจน และทำ�ใหเขาใจ และเขาถึงวรรณกรรมนั้นๆ ได ยิ่งขึ้น 64


วรรณศิลปลานนาจากมหาชาติภาคพายัพ สำ�นวนสรอยสังกร วาทิต ธรรมเชื้อ

2.3.1.2 การใชบุคคลวัต คือ เปนการเปรียบเทียบสิ่งที่ไมใชมนุษยให ทำ�อากัปกิริยาเหมือนกับมนุษย การใชบุคลาธิษฐานที่กวีลานนาไดพรรณนาสิ่งที่ไมมี ชีวติ ใหมชี วี ติ เพือ่ สรางจินตนาการใหผฟู ง ไดมองเห็นภาพในกัณฑกมุ ารเมือ่ พระเวสสันดร ทรงหลัง่ น้�ำ บริจาคสองกุมารขณะนัน้ จึงเกิดความอัศจรรยทวั่ ทัง้ ปาหิมพานต จนถึงสวรรค 16 ชั้น ดังที่กวีไดพรรณนาวา “อันวาเสียงบันดาลเคลาคลืน่ เสนขนตืน่ ปูนกลัว หนังหัวถกสนัน่ แผน ดินลั่นไปมา น้ำ�สมุทคงคาก็ข้ำ�เขือก ยาวยะเยือกตีฟอง ไหลเนือง นองคับคั่ง ไหลทนฝงไปมา เขาสิเนรุปพพตาก็เบนหนาสับเพาะเซิ่ง เขาวงกต แลวก็ออนนอมคอมไปมา...อันวาเสียงบันดาลเกิกกอง เปนตนวาแผนดินรองและดอยคราง ก็ซราบขึ้นไปตราบตอเทา เถิง โสฬสมหาพรหม ก็มีแล” ตัวอยางขางตนกลาวถึงความอัศจรรยหลังจากที่พระเวสสันดรทรงกระทำ� ปุตตทาน คือ การบริจาคบุตรเปนทาน เชน แผนดินเกิดอาการหวัน่ ไหวฟารอง ฟาผา แมน�้ำ ในมหาสมุทรคงคาเกิดการปนปวนฝนตกลงมาเกิดขึ้นทั่วทั้งปาหิมพานตในตัวอยางนี้ ไมเพียงแตจะเกิดความอัศจรรยทางธรรมชาติแตดวยความอัศจรรยของการทำ�ทานอัน ยิ่งใหญจึงทำ�ใหธรรมชาติมีอากัปกิริยาเชนเดียวกับมนุษยทั้งเขาสิเนรุก็เบนหนาไปซบ กับเขาวงกตแลวจึงนอบนอมสวนแผนดินนัน้ มีเสียงรองอีกทัง้ ภูเขาก็สง เสียงรองดังจะเห็น วาผูแตงไดใชศิลปะทางภาษาสรางเหตุการณใหเกินความจริงเกิดความอัศจรรยนับวา กวีใชธรรมชาติใหเปนประโยชนโดยการนำ�สิ่งที่ใกลตัวมาสรางมโนภาพเพื่อใหผูฟงได เขาใจความหมายยิ่งขึ้น การพรรณนาถึงความอัศจรรยที่เกิดขึ้นจากการบำ�เพ็ญพระบารมีของ พระเวสสันดรโดยใชกลวิธีการเปรียบแบบบุคคลวัตกวีอาจจะมีความประสงคที่จะสราง อารมณความรูส กึ ของผูฟ ง ใหเกิดความศรัทธาซึง่ เปนแรงจูงใจเบือ้ งตนทำ�ใหผอู า นเกิดรส ซาบซึง้ ถึงบุญญาบารมีของพระเวสสันดรซึง่ เปนพระชาติหนึง่ ของพระพุทธเจา อีกทัง้ ยัง เปนการใหความสำ�คัญกับการบริจาคทานมากขึ้นซึ่งเปนสาระสำ�คัญของเรื่องมหาชาติ อีกดวย 2.3.2 สุนทรียรสในมหาชาติ สำ�นวนสรอยสังกร ผู  อ  า นและผู  ฟ  ง จะสามารถเข า ใจอารมณ แ ละความคิ ด ของกวี ไ ด นั้ น จำ�เปนตองศึกษารสวรรณคดี (ราชบัณฑิตยสถาน 2552 : 373) หมายถึงคุณลักษณะ ของวรรณกรรมที่สามารถทำ�ใหผูอานมีความคิดหรืออารมณตอบสนองได หากเปรียบ กั บ อาหารที่ มี ร สต า งๆ เช น เปรี้ ย ว เค็ ม หวาน รสวรรณคดี ก็ เ หมื อ นรสต า งๆ ของอาหารนั้น การอานวรรณกรรม คือ การเสพอาหารทางใจ การรับรูรสวรรณคดี

65


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

ด ว ยใจจึ ง เปรี ย บไดกับการรับรูรสอาหารดวยลิ้น รสในวรรณกรรมที่ ก วี ส ร า งสรรค ขึ้น “รส” จะเกิดจากการที่กวีใชภาษาอยางมีวรรณศิลปเพื่อถายทอด “สาร” หรือ อารมณความรูสึก ความนึกคิด หรือจินตนาการมาสูผูอาน หากกวีถายทอด “สาร” ด ว ยภาษาที่ ผ  า นการเลื อ กสรรอย า งประณี ต พิ ถี พิ ถั น มี ค วามไพเราะงดงามและ ลึ ก ซึ้ ง ด ว ยความหมายแล ว “สาร” นั้ น ก็ จ ะมี พ ลั ง เข ม ข น ที่ ส ามารถสื่ อ ให ก ระทบ อารมณ แ ละความคิ ด ของผู  อ  า นจนทำ� ให ผู  อ  า นเกิ ด ปฏิ กิ ริ ย าตอบสนองได นั่ น ก็ คื อ ผูอานจะเกิดจินตนาการและอารมณสะเทือนใจคลอยตามผูแตงไดแตจะคลายคลึง กับจินตนาการและอารมณสะเทือนใจของกวีมากนอยเพียงใดก็ขึ้นอยูกับลักษณะ ของปจเจกบุคคลที่แตกตางกันไป (ฉัตรยุพา สวัสดิพงษ และอยูเคียง แซโคว 2553 : 105) ฉะนั้นกวีลานนาจึงไดพยายามเลือกใชวรรณศิลปดวยกลวิธีตางๆ นั้นเพื่อ กอใหเกิดความหมายที่สงผลใหเกิดรสซึ่งเปนการรับรูสารของผูอานผูฟง อาจจะ กลาวไดวา หากไมมีความหมาย รสยอมไมเกิด พจนานุกรมศัพทวรรณกรรมไทย (ราชบัณฑิตยสถาน 2552 : 347-376)ไดแบงรสวรรณคดีตามทฤษฎีวิจารณของอินเดีย ออกเปน 9 ลักษณะ คือ ศฤงคารรส หาสยรส กรุณารส เราทรส วีรรส ภยานกรส พีภตั รส อัทภุตรส และศานตรส มหาชาติ สำ�นวนสรอยสังกร ปรากฏรสวรรณคดีทั้ง 9 รส ซึ่งมี ทั้งที่ปรากฏรสวรรณคดีรสเดียวและรสวรรณคดีหลายรสในตอนเดียวกันเพราะในตอน หนึ่งๆของเรื่องผูอานผูฟงอาจรับรสไดเพียงรสเดียวหรืออาจรับรสไดหลายรส จากการ ศึกษาพบวา รสที่มีมากที่สุด คือ กรุณารส รองลงมา คือ ศฤงคารรสและหาสยรส ตาม ลำ�ดับ ซึ่งมีตัวอยางและรายละเอียดดังนี้ 1.) กรุณารส คือ ความสงสาร เปนรสที่เกิดจากการไดรับรูความทุกขโศก ใน ตอนหนึ่งเมื่อพระนางมัทรีทรงตามหาสองกุมารไมพบจึงเสด็จไปทูลถามพระเวสสันดร แตพระองคทรงนิ่งเฉย อีกทั้งยังทรงใชพระกุศโลบายดวยวิธีการบริภาษพระนางมัท รีตางๆนานาเพื่อใหพระนางคลายความเศราโศก ดังที่กวีไดพรรณนาวา “อถ มหาสตฺโต เมื่อนั้นพระมหาสัตเจา ก็คนิงใจวา นางมัทรีศรีหนอ เหนา รักลูกเตาเหลือขนัด มากูจักตัดโสกาอันหยาบ จักกำ�ราบนาง พระยา หื้อหายสิเนหาอันใหญก็ตานถอยใสหลายคำ�วา...ดูราราชมัท รีทรงโฉมดีแลบลวย ลักขณะถูกถวนพอตา นางไปหาหัวมันลูกไม ทุก แหลงไหลดงไพร บมีคนใดจักไปรู แมนนางไปเลนชูไผจักหัน ในหิม วันตปากวาง ประเทศทางดงดอน มีทังทิพนาธรและฤๅษีจรพรานปา รอยนางไปเลนชูลามายา รอยนางบแหนงหนาคึดรอด จงใจจอดอัน ลูกสายใจลวดลืมคึดรู มัวไปเลนชูลวดลืมผัว...ราชสีหจักหนีเสียดอย ก็เพราะวาดอยอันนั้น บมีรูเปลี่ยวปากถ้ำ� ปลาจักหนีเสียน้ำ� ก็เพราะ

66


วรรณศิลปลานนาจากมหาชาติภาคพายัพ สำ�นวนสรอยสังกร วาทิต ธรรมเชื้อ

น้ำ�อันนั้นบมีตม ศรมณจักหนีเสียครู ก็เพราะครูนั้นใบ นกจักหนีเสีย ตนไม ก็เพราะตนไมบมีลูกหลวงหลาย กวางทรายจักหนีเสียเหลา ก็ เพราะเสือโครงเถาไตเทียวจง ราชหงสจักหนีเสียสระ ก็เพราะสระอัน นัน้ บมดี อกบัว ยิงจักหนีผวั ก็เพราะผัวขีไ้ ร หาขาวของบได ยิงรายหาก ดูแคลน เมียคายแคนแหนงหนาย เพราะผัวบชางเบี่ยงบายขงขวาย คำ�โบราณคนทั้งหลายกลาวไว ก็มาไดแกตนกู นี้แลนา...” ตัวอยางขางตนนี้กวีพรรณนาถึงตอนที่พระเวสสันดรใชกุศโลบายเพื่อ ใหพระนางมัทรีหายจากความโศกเศรา ดวยการใชถอยคำ�เปรียบเทียบไดอยางไพเราะ งดงามเปนคุณคาภูมปิ ญ  ญาทางภาษา กลาวคือ กวีเลือกใชสภุ าษิตลานนา หรือ คำ�บาเกา เพื่อทำ�ใหผูอานผูฟงไดฟงเกิดอารมณสะเทือนใจและเขาใจถึงความรูสึกของพระนาง มัทรีทตี่ อ งสูญเสียลูก อีกทัง้ ยังถูกบริภาษจากสามีอนั เปนทีเ่ ทิดทูน ผลของการเหน็บแนม ของพระเวสสันดรนัน้ ทำ�ใหพระนางมัทรีทรงตองเปลีย่ นเรือ่ งทีเ่ สียพระทัย คือ เปลีย่ นจาก การเสียพระทัยเรื่องบุตรมาเปนการเสียพระทัย เรื่องสามี การเบี่ยงเบนเชนนี้ไมเพียง แตทำ�ใหเกิดผลตอตัวละคร คือ ทำ�ใหพระนางมัทรีคลายความเสียพระทัยเรื่องบุตรแลว ยังทำ�ใหผูอานผูฟงเห็นใจตัวละครอยางพระนางมัทรีมากขึ้น กลาวคือ ผูอานผูฟงรูเหตุ ของการใชกุศโลบายของพระเวสสันดร แตพระนางมัทรีไมทรงทราบ ดวยเหตุเชนนี้ จึงทำ�ใหผูอานผูฟงยิ่งเห็นใจพระนางมัทรีมากยิ่งขึ้น 2.) ศฤงคารรส คือความซาบซึง้ ในความรัก ความรักนัน้ แบงเปน 2 ประเภท คือ ความรักของผูที่อยูรวมกัน เรียกวา สัมโภคะ และความรักของผูที่อยูหางกัน เรียกวา วิประสัมภะ เนื่องจากมหาชาติเปนวรรณกรรมพระพุทธศาสนาซึ่งเนนใหผูอานผูฟง เห็นถึงผลของการทำ�ทานฉะนั้น จึงปรากฏเรื่องความรักแบบกามารมณนอย ความรัก ในมหาชาติ สำ�นวนสรอยสังกรจะเนนใหเห็นความรักในครอบครัวเปนสำ�คัญ ความรัก ระหวางสามีภรรยา ในมหาชาติ สำ�นวนสรอยสังกรปรากฏความรักระหวางสามีกบั ภรรยา จำ�นวน 2 คู คือ ความรักระหวางพระเวสสันดรกับพระนางมัทรีและความรักระหวางชูชก กับนางอมิตตดา ดังมีรายละเอียดดังนี้ ก. ความรักระหวางพระเวสสันดรกับพระนางมัทรี เมือ่ พระเวสสันดรใชกศุ โลบาย ดวยการบริภาษเพื่อเบี่ยงเบนใหพระนางมัทรีไมเศราโศกเรื่องลูก เมื่อพระนางมัทรีถูก บริภาษทั้งยังหมดเรี่ยวแรงจากการตามหาลูก จึงทำ�ให พระนางสลบไป พระเวสสันดร เขาใจวาพระนางมัทรีถงึ แกความตายก็เศราโศกเปนอยางมาก ดังทีก่ วีไดพรรณนาไววา “นางยอประนมนบพระบาท มรณาตติงตาย ดิ้นสะสายยะยั่น ดา คุมปนเปนผี ยามนั้นใจพระฤๅษีสายสั่น ใจเจาปนไปมา สวนพระรา ชาผานแผว หันนองแกวทาวทังยืน โสกาคืนวูไหม ทาวอดบไดแตอัน

67


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

เปนศรมณ ยินปรารมภเดือดรอน ทุกขขิ่งขอนโรคา ควรกรุณามีมาก อดลำ�บากเหลือใจ เพราะวาอาลัยบแลว หันแกวทาวมรณา ชลเนตร น้ำ�ตาตกซะซู เจาก็ผุดลุกไปยอ หัวนางพระยาขึ้นพาดไวเหนือตัก ไหร่ำ�รักเมียมิ่ง...ในเมื่อความโสกทุกขบังเกิด รอนไหมเดือดเรรน บรวู า ตนเปนนักบวช สรางผนวชภาวนา เจามีตาทังสองอันเต็มไปดวย น้ำ�ตา ก็ยอหัวพิมพาแกนไท ขึ้นพาดไวเหนือตัก เจายินรักบแลว เห ตุวาหันนองแกวสยบตาย พระโฉมฉายแกนเหงา นั่งเฝาดูใจเมีย...” ตัวอยางขางตนจะเห็นไดวากวีไดพรรณนาถึงความเศราโศกของพระเวสสันดร ที่เห็นพระนางมัทรีลมไปตอหนา และอากัปกิริยาที่ทำ�ใหพระเวสสันดรตองตกใจเปน อยางยิ่ง คือ พระนางมัทรีลมลงไปดิ้นคลายกับถึงแกความตาย กวีเลือกใชคำ�วา ดิ้น สะสายยะยั่น ทำ�ใหเห็นภาพของพระนางมัทรีที่ลมลงดิ้นกระสับกระสายจนนำ�ไป สูความรูสึกเศราโศกซึ่งสงผลใหพระเวสสันดรเกิดอาการ คือ ชลเนตรน้ำ�ตาตกซะซู ซึ่งผูอานผูฟงจะสัมผัสถึงความเศราโศกนี้มากขึ้นไดจากพฤติกรรมของพระเวสสันดร กลาวคือ พระองคทรงรักพระนางมัทรีเปนอยางมากและดวยความรักของพระเวสสันดร ทำ�ใหพระเวสสันดรทรงลืมความเปนนักบวช ดังที่กวีไดพรรณนาไววา บรูวาตนเปน นักบวช...เจามีตาทังสองอันเต็มไปดวยน้ำ�ตา ก็ยอหัวพิมพาแกนไท ขึ้นพาดไวเหนือ ตัก เจายินรักบแลว การพรรณนาความเชนนี้ของกวีจึงทำ�ใหผูอานผูฟงรูสึกถึงความ รักที่ซอนอยูของทั้งสองพระองค ผูอานผูฟงจึงสามารถซาบซึ้งกับความรักของตัวละคร ไดเปนอยางดี ความเศราโศกของตัวละครนี้ไมเพียงแตผูอานผูฟงจะเห็นใจตัวละครทั้ง สองแลว แตผูอานผูฟงยังเห็นถึงความรักของทั้งคูอีกดวย อยางไรก็ตามจะสังเกตจากตัวอยางขางตนไดวาผูอานผูฟงสามารถรับรส วรรณคดีไดมากกวาหนึ่งรสในตัวอยางนี้จะเห็นไดวากอนที่ผูอานผูฟงจะรับศฤงคารรส ไดนนั้ ผูอ า นผูฟ ง จะตองรับกรุณารสกอนกลวิธกี ารสรางรสวรรณคดีเชนนีท้ �ำ ใหเห็นความ สามารถของกวีลา นนาทีส่ ามารถสงถายความรูส กึ นึกคิดไดอยางแยบคายอีกทัง้ การใชรส หนึง่ เพือ่ เสริมใหอกี รสหนึง่ เดนขึน้ มาไมเพียงแตจะทำ�ใหผอู า นผูฟ ง เกิดอารมณสะเทือน ใจเทานั้นแตยังเปนการโนมนาวผูอานผูฟงเพื่อใหเขาใจพฤติกรรมตัวละครมากขึ้นดวย ข. ความรักระหวางชูชกกับนางอมิตตดา ชูชกมีภรรยาที่ออนวัยวุฒิกวา ฉะนั้น พฤติกรรมของชูชกจึงมีลกั ษณะการเอาใจและตามใจนางอมิตตดาทุกอยาง ในกัณฑชชู ก ตอนที่ชูชกจะตองเดินทางไปขอสองกุมาร ผูอานผูฟง จะเห็นถึงความเอาใจใสของชูชก ที่มีตอนางอมิตตดา ตั้งแตการซอมบาน ทำ�งานบานและโอวาทของชูชก การกระทำ�ดัง กลาวนี้แสดงใหเห็นถึงความรักที่ชูชกมีตอนางอมิตตดา กวีไดพรรณนาในตอนหนึ่งที่ ทำ�ใหผูอานผูฟงเห็นใจชูชกและทำ�ใหเห็นถึงความรักของชูชกที่มีตอนางอมิตตดา ดังที่ กวีไดพรรณนาวา 68


วรรณศิลปลานนาจากมหาชาติภาคพายัพ สำ�นวนสรอยสังกร วาทิต ธรรมเชื้อ

“มันก็สบุ เกิบหนังควาย และสพายถงอันใหย ใสสพั พะของกินชุอนั ก็จบั ผันมือเมียมันกลาวไจๆ เยียะรองไหกล็ วดหนีลงเรือนไป วันนัน้ แลนา” กวีสรางพฤติกรรมของชูชกใหนาสงสาร ดังจะเห็นไดจากกวีใชความวา ก็จับ ผันมือเมียมันกลาวไจๆ ทำ�ใหเห็นภาพของชูชกคอยบรรจงจับมือนางอมิตตดาแลว จึงกลาวโอวาทซ้ำ�ๆถึงเรื่องการรักนวลสงวนตัวตอนางอมิตตดา อากัปกิริยาของชูชก เชนนี้ ทำ�ใหเห็นวา ชูชกถนอมและหวงแหนนางอมิตตดาเปนอยางยิ่งซึ่งทำ�ใหเห็นวาชู ชกรักนางอมิตตดามากดวย 3.) หาสยรส คือ ความสนุกสนาน เปนรสที่เกิดจากการไดรับรูความขบขัน ใน มหาชาติ สำ�นวนสรอยสังกรกัณฑชูชกเปนกัณฑที่ไดรับยกยองใหเปนกัณฑยอดนิยม เนื่องจากมีทั้งกรุณารส ศฤงคารรสและรสที่สำ�คัญเปนอยางยิ่งในกัณฑนี้ คือ หาสยรส ความขบขันประการหนึง่ ของชูชก คือ ลักษณะของชูชกทัง้ ฐานะ บุคลิกภาพรวมทัง้ รูปราง ลักษณะของชูชก ในกัณฑชชู ก ตอนทีก่ วีไดพรรณนาถึงลักษณะบานของชูชก ผูอ า นผูฟ ง สามารถรับรสถึงความขบขันในฐานะของชูชกได “...จัดเปนอรรถะแทวาไดพันเงินตรา ผิจักจำ�นับลำ�ดับมาแตตนไดสี่ สิบก่ำ�ชื่อวารอย กหาปนะ แลเรือนแหงพราหมณนั้นเทามีสี่เสา เอา ไมเพาหนุมมาแปลงเยียะยองแยงๆ แมนวาหมาขึ้นแกวงหางก็ไกว แมวไอก็เฟอนก็ชาย หาที่จักไวถงคำ�บได จักไวบนหัวก็วาเปนชอง จักไวหนาปลองก็เยียววาโจรจักจก มันจิ่งพกเอาคำ�ไปเลาซะไซไป ฝากไวที่กระกูลขี้ไรบมีสัง เถาหวังใจไฝหอย ยังนางสาวหนอยชิงริง อันเปนถูนยิงผูไร คันวาฝากไวแลวก็หนีไปขอแถมเลา จักมาถามของ เกาแหงตน หนีไปเมินชะร่ำ� พร่ำ�วาไดหลายป” ตัวอยางขางตนกวีไดกลาวถึงลักษณะบานของชูชกแมวา ชูชกจะเปนขอทานทีม่ ี ความสามารถในการขอทานไดถงึ รอยกหาปนะมีเงินจำ�นวนมากจนตนเองนัน้ หวงความ ปลอดภัยกลัววาจะมีขโมยมาลักทรัพยแตชชู กก็เลือกทีจ่ ะไมสรางบานใหมคี วามแข็งแรง และปลอดภัยกวีไดพรรณนาถึงลักษณะบานดวยการเริม่ จากอธิบายวัสดุทนี่ ำ�มาประกอบ บาน คือ เอาไมเพาหนุม มาแปลงเยียะยองแยงๆ ซึง่ ทำ�ใหเห็นภาพของบานทีไ่ หวไมแข็ง แรง ไมเพียงเทานั้นกวีไดใชความเปรียบเพื่อสรางความขบขันมากยิ่งดวย ดวยการนำ� หมาและแมวซึ่งเปนสัตวเลี้ยงที่คุนชินของชาวลานนามาเปรียบเทียบดวยในความวา แมนวาหมาขึ้นแกวงหางก็ไกว แมวไอก็เฟอนก็ชาย จะเห็นไดวาหมาเพียงแตแกวง หางและแมวเพียงไอก็สามารถทำ �ใหเรือนของชูชกก็สั่นไหวสวนองคประกอบของ บานนั้นก็มีความไมสมบูรณ ดังที่กวีกลาวถึงประตูที่ไมดีโหวจนเปนชองจนทำ�ใหชูชก รูส กึ วาบานไมมคี วามปลอดภัยโดยปกติความคิดของมนุษยโดยทัว่ ไปจะรูส กึ วาบานเปน

69


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

สถานที่ที่ปลอดภัยมากที่สุดแตกวีกลับสรางภาพใหบานชูชกไมปลอดภัยที่สุดเมื่อ ผูอานผูฟงไดอานและฟงในขั้นแรกอาจจะรูสึกสงสารในความอาภัพของชูชกแตเมื่อกวี ไดพรรณนาถึงความคิดของชูชกที่วามันจิ่งพกเอาคำ�ไปเลาซะไซไปฝากไวที่กระกูล ขีไ้ รบม สี งั เถาหวังใจไฝหอ ย ยังนางสาวหนอยชิงริง อันเปนถูนยิงผูไ ร คันวาฝากไวแลวก็ หนีไปขอแถมเลาชูชกเมื่อเห็นความไมปลอดภัยของบานจึงคิดที่จะนำ�เงินไปฝากกับ เพื่อนพราหมณที่ยากจนผูมีลูกสาวงามการฝากเงินครั้งนี้ชูชกคิดแลววาจะตองไดนาง อมิตตดาเปนภรรยาความคิดของชูชกเชนนี้จึงทำ�ใหผูอานผูฟงรูสึกหยามเหยาะและ เยาะเยยตอความคิดของชูชกจนนำ�มาสูความขบขันซึ่งมีที่มาของอารมณขบขันมาจาก ความหมัน่ ไสในตัวชูชกความไมแข็งแรงของบานนีไ้ มเพียงแตจะทำ�ใหผอู า นผูฟ ง ขบขัน แลวยังทำ�ใหผูอานผูฟงเขาใจถึงฐานะของชูชกมากขึ้นดวยการสรางความขบขันนี้อาจ จะเปนเพราะกวีจงใจใหเกิดความขบขันฐานะของชูชกเมือ่ รวมกับบุคลิกภาพและรูปราง ลักษณะของชูชก ซึ่งเปนชายชราที่เปนบุรุษโทษ18ประการก็สามารถทำ�ใหผูอานผูฟง นึกถึงภาพที่ขบขันได อีกประการหนึ่ง ความขบขันที่เกิดจากฐานะของชูชกนี้อาจจะ เพราะกวีตอ งการใหความเปนตัวละครปฏิปก ษอยางชัดเจน กลาวคือ พระเวสสันดรทรง มีฐานันดรศักดิท์ สี่ งู สง มีพระราชอำ�นาจและบารมี ในขณะทีช่ ชู กไรฐานันดร อำ�นาจรวม ถึงบารมี ฉะนัน้ การทีก่ วีสรางความตรงกันขามดวยการสรางใหชชู กกลายเปนตัวตลกนัน้ จึงทำ�ใหผูอานผูฟงเห็นถึงบารมีและความดีเดนของพระเวสสันดรชัดเจนขึ้นดวย ความงามทางดานวรรณศิลปของวรรณกรรมเรื่องนี้จะเห็นไดวามีความงดงาม มีความประณีตบรรจงในการเลือกสรรคำ�ใหไดเสียง คำ� ความหมาย ภาพและอารมณที่ ใหความรูสึกตางๆ เชน ความรัก ตลกขบขัน เวทนาและเศรา เปนตน ดวยการนำ�เส นอผานตัวละครอยางมีชั้นเชิง คุณคาของมหาชาติ สำ�นวนสรอยสังกรประการหนึ่ง คือ คุณคาทางดานสุนทรียศาสตรในมหาชาติ สำ�นวนสรอยสังกรเดนที่สุด คือ กวีไดผสาน เนือ้ หาตามอรรถกถามหานิบาตชาดกกับความเปนทองถิน่ ใหเขากัน กลาวคือ กวีสามารถ เลือกใชคำ� ความหมายและจินตภาพใหเขากับสภาพความเปนจริงและความนิยมของ คนในทองถิ่นดังนั้นความงามทางวรรณศิลปที่หลากหลายเหลานี้ไมเพียงแตทำ�ใหเกิด ความไพเราะในการอานและเทศนเทานั้นวรรณศิลปลานนานี้ยังเปนเครื่องมือที่สำ�คัญ ในการถายทอดความคิด ความรูสึก รวมทั้งยังทำ�ใหเกิดจินตภาพตามที่กวีตองการ อยางไรก็ตาม หากกวีไมเชี่ยวชาญในเนื้อหาของเรื่องและไมมีความชำ�นาญทั้งดาน ฉันทลักษณและการสรรคำ�ก็ไมสามารถจะถายทอดเรื่องราวรวมทั้งจินตภาพของตน ออกมาใหผูอานผูฟงไดรับรูอาจจะกลาวไดวาการศึกษาคุณคาทางวรรณศิลปจากเรื่อง มหาชาติ สำ�นวนสรอยสังกรนีท้ ำ�ใหเห็นพลังปญญาทางดานอักษรศาสตรของกวีลา นนา อีกดวย

70


วรรณศิลปลานนาจากมหาชาติภาคพายัพ สำ�นวนสรอยสังกร วาทิต ธรรมเชื้อ

ดวยเหตุผลทางดานวรรณศิลปนี้เองจึงทำ�ใหมหาชาติสำ�นวนสรอยสังกรไดรับ ความนิยมและยังใชสวดเทศนในพิธีกรรมตั้งธรรมหลวงซึ่งเปนพิธีกรรมสำ�คัญของ ล า นนาอาจกล า วได ว  า ความงามทางวรรณศิ ล ป ข องมหาชาติ สำ � นวนสร อ ยสั ง กร ทำ�ใหไดรบั การยกยองวามีถอ ยคำ�ไพเราะจึงนิยมนำ�มาใชเทศนในประเพณีตงั้ ธรรมหลวง มากกวาสำ�นวนอื่น ประการตอมาคือการผลิตซ้ำ� ดวยความนิยมนำ�มาใชเทศนจึงมี การปริวรรตจากอักษรลานนาเปนอักษรไทยมาตรฐานเพือ่ ใหอา นงายขึน้ ประการสุดทาย คือ การสืบสานการเทศน ภิกษุมักฝกหัดเทศนมหาชาติสำ�นวนนี้ ดวยเหตุผลดังกลาว เรือ่ งมหาชาติภาคพายัพสำ�นวนสรอยสังกรจึงเปนวรรณกรรมทองถิน่ ลานนาทีไ่ ดรบั การ สืบสานอยางตอเนื่อง และมีความสัมพันธกับพิธีตั้งธรรมหลวงอยางไมเสื่อมคลาย 



71




วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

บรรณานุกรม กุสมุ า รักษมณี. (2534). การวิเคราะหวรรณคดีไทยตามทฤษฎีวรรณคดีสนั สกฤต. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำ�ราสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร. ฉัตรยุพา สวัสดิพงษและอยูเคียง แซโคว. (2553). พลังปญญาของกวีลานนาใน วรรณกรรมพรรณนาอารมณ. ชุดโครงการวิจัย “วรรณกรรมลานนา : ภูมิ ปญญา ลักษณะเดนและคุณคา” สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. ธรรมราชานุวัตร, พระ. (2498). มหาชาติภาคพายัพสำ�นวนเอกสรอยสังกร. เชียงใหม: สงวนการพิมพ. ธรรมาภิมณฑ, รองอำ�มาตยเอกหลวง (ถึก จิตรถึก). (2519). ประชุมลำ�นำ� ประมวล ตำ�รากลอนกานต โคลงฉันท. พระนคร: สำ�นักนายกรัฐมนตรี. ประคอง นิมมานเหมิท. (2526). มหาชาติลานนา : การศึกษาในฐานะทีเ่ ปนวรรณ คดีทองถิ่น. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช. มัชฌิมา วีรศิลป. (2549). การศึกษาวรรณกรรมลานนา เรื่องเวสสันตรชาดก สำ� นวนไมไผแจเรียวแดง.วิทยานิพนธปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา ภาษาไทย ภาควิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. ราชบั ณ ฑิ ต ยสถาน. (2545). ศัพทวรรณกรรมอังกฤษ-ไทย. กรุ ง เทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน. ______________. (2552). พจนานุกรมศัพทวรรณกรรมไทย. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน. วรเวทยพิสิฐ, พระ. (2545). คูมือลิลิตพระลอ. กรุงเทพฯ: องคการคาของคุรุสภา. สมชาติ นนฺทธมฺมโิ ก (บุษนารีย) , พระมหา. (2549). ศึกษาคุณคาการเทศนมหาชาติ ในลานนา. วิทยานิพนธปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธ ศาสนา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขต เชียงใหม. อดุลสีลกิตติ์ (ประพัฒน ฐานวุฑฺโฒ บุญชุม), พระครู. (2551). ปจจัยที่มีอิทธิพลตอ ความนิยมมหาชาติเวสสันดรชาดกในลานนา.วิทยานิพนธปริญญาพุทธ ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม. อุดม รุง เรืองศรี. (2546). วรรณกรรมลานนา. กรุงเทพฯ: สำ�นักงานกองทุนสนับสนุน การวิจัย.

72


การประมาณคาความผันผวนและการพยากรณมูลคา กองทุนรวมหุนระยะยาว Volatility Estimation and Forecasting of the Value on Long Term Equity Fund สุรชัย จันทรจรัส 1, ลัดดาวรรณ อาจพรม 2 Surachai Chancharat, Laddawan Artprom บทคัดยอ การศึกษานี้มีวัตถุประสงคเพื่อนำ�เสนอเครื่องมือสำ�หรับนักลงทุนเพื่อเลือก จังหวะการลงทุนที่เหมาะสม โดยใชขอมูลรายวันของ 4 กองทุน คือ กองทุนเปด ไทยพาณิชยหุนระยะยาวปนผล 70/30 (SCBLT1) กองทุนเปดเค 70:30 หุนระยะยาว ปนผล (K70LTF) กองทุนเปดเคหุนระยะยาว (KEQLTF) และกองทุนเปดบัวหลวงหุน ระยะยาว (B-LTF) ตั้งแตวันที่ 9 สิงหาคม 2549 ถึงวันที่ 12 มกราคม 2555 จำ�นวน 1,298 วัน การทดสอบ Unit root ของมูลคาหนวยลงทุนพบวาที่มีลักษณะนิ่ง (Stationary) ทีร่ ะดับ 1st differencing การพิจารณา Correlogram ของขอมูลอนุกรมเวลา ของมูลคาหนวยลงทุนกองทุนที่มีลักษณะนิ่ง เพื่อสรางแบบจำ�ลองที่เหมาะสมที่สุด เพียง 1 แบบจำ�ลอง โดยมีเกณฑการพิจารณา คือ เลือกแบบจำ�ลองที่มีคา Schwarz Criterion และคา Akaike Information Criterion ที่ต่ำ�ที่สุด โดยใชแบบจำ�ลอง ARIMA-GARCH, ARIMA-EGARCH และ ARIMA-GARCH-M ผลการทดสอบ แบบจำ � ลองที่ มี ค วามแม น ยำ � ในการพยากรณ มู ล ค า หน ว ยลงทุ น ซึ่ ง ได จ ากการ เปรียบเทียบคา RMSE และ MAPE ที่มีคาต่ำ�สุด พบวาแบบจำ�ลอง ARIMA-GARCH เหมาะสำ�หรับกองทุนเปดเคหุนระยะยาว คาความคลาดเคลื่อนคือ 0.091 แบบจำ�ลอง ARIMA-EGARCH เหมาะสำ � หรั บ กองทุ น เป ด ไทยพาณิ ช ย หุ  น ระยะยาวป น ผล 70/30 และกองทุนเปดเค 70:30 หุนระยะยาวปนผล คาความคลาดเคลื่อนคือ 0.052 __________________ 1 ผูชวยศาสตราจารย ดร. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย ขอนแกน 2 นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาเศรษฐศาสตรธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย ขอนแกน วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปที่ 33(1) : 73-92, 2556


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

และ 0.040 และแบบจำ�ลอง ARIMA-GARCH-M เหมาะสำ�หรับกองทุนเปดบัวหลวง หุ  น ระยะยาว ค า ความคลาดเคลื่ อ นคื อ 0.082 อย า งไรก็ ต ามการพยากรณ โ ดย ใชแบบจำ�ลอง GARCH นั้นเปนการพยากรณที่ไมไดคำ�นึงถึงปจจัยภายนอก เชน ความไม แ น น อนทางเศรษฐกิ จ การเมื อ ง และภั ย ธรรมชาติ ต  า งๆ ซึ่ ง ล ว นเป น ปจจัยที่สงผลตอมูลคาหนวยลงทุนในกองทุนรวมหุนระยะยาวที่ลงทุนในตลาดทุน ดังนั้น ในการศึกษาครั้งตอไปควรมีการวิเคราะหปจจัยภายนอกรวมดวย คำ�สำ�คัญ: 1. การพยากรณ. 2. กองทุนรวม. 3. แบบจำ�ลองการช. Abstract This study aims to present a way for investors to decide on investment. The SCB Dividend Stock 70/30 Long Term Equity Fund (SCBLT1), K Equity 70:30 LTF (K70LTF), K Equity LTF(KEQLTF) and Bualuang Long - Term Equity Fund (B-LTF) are studied by using daily of net asset value per unit beginning from 9 August 2006 until 12 January 2012 (1,298 days in total). The results of unit root test showed that the data of four funds is stationary. Based on the consideration of corellogram result, each fund is chosen by Schwarz Criterion and Akaike Information Criterion by using ARIMA-GARCH, ARIMA-EGARCH and ARIMAGARCH-M models. The forecasting results of net asset value per unit of each fund by root mean square error and mean absolute percentage error reveal that the K Equity 70:30 LTF with ARIMA-GARCH which yields the least value of root mean square error is 0.091. SCB Dividend Stock 70/30 Long Term Equity Fund and K Equity 70:30 LTF with ARIMA-EGARCH which yields the least value of root mean square error are 0.052 and 0.040. Bualuang Long - Term Equity Fund with ARIMA-GARCH-M which yields the least value of root mean square error is 0.082. However, the exogenous variables such as economic fluctuation, politics and disasters which have an important impact to the value of these investments and they are not included in GARCH models. Therefore, the exogenous variables should be included in the models in further studies. Keywords: 1. Forecasting. 2. Equity Fund. 3. GARCH.

74


การประมาณคาความผันผวนและการพยากรณมูลคากองทุนรวมหุนระยะยาว สุรชัย จันทรจรัส และลัดดาวรรณ อาจพรม

บทนำ� เงินออมและเงินลงทุนในทางเศรษฐศาสตรถือเปนรากฐานและปจจัยสำ �คัญ ในการพัฒนาประเทศ เนือ่ งจากการออมในระดับสูงจะทำ�ใหการลงทุนในประเทศไมตอ ง อาศัยเงินทุนจากตางประเทศมากนัก แมในยามที่เศรษฐกิจถดถอยก็สามารถพึ่งพา การออมในประเทศได ทำ�ใหเกิดการพัฒนาเศรษฐกิจไดอยางยัง่ ยืน ในปจจุบนั ทางเลือก ของการออมสวนใหญหนีไมพน การฝากเงินกับธนาคารพาณิชยหรือการทำ�ประกันชีวติ เปนทีน่ า สนใจวาคนไทยผูม รี ายไดและมีศกั ยภาพในการออมสวนใหญยงั คงฝากเงินออม ของตนไวที่ธนาคารพาณิชย แมวาในปจจุบันอัตราดอกเบี้ยที่ไดจะอยูในระดับต่ำ�มาก (บุษบา คงปญญากุล, 2553) อีกทางเลือกหนึ่งของการออมเงิน คือ การลงทุนในกองทุนรวมถือวาเปนทาง เลือกที่นาสนใจสำ�หรับนักลงทุนหนาใหมที่ยังไมมีความคุนเคยกับระบบตลาดทุนหรือ นักลงทุนที่ไมมีความรูความชำ�นาญที่จะลงทุนดวยตนเอง เพราะการลงทุนในกองทุน รวมเปรียบเสมือนการนำ�เงินของนักลงทุนหลายๆ รายมารวมกันเปนเงินทุนกอนใหญ แลวนำ�ไปจดทะเบียนนิติบุคคล จากนั้นก็นำ�เงินที่ระดมไดไปลงทุนในหลักทรัพยหรือ สินทรัพยประเภทตางๆ เชนอสังหาริมทรัพย ตามนโยบายการลงทุนทีร่ ะบุไวในหนังสือ ชี้ชวนเสนอขายแกนักลงทุนนั้น ทั้งนี้นักลงทุนแตละรายจะไดรับ “หนวยลงทุน” เพื่อ เปนหลักฐานยืนยันฐานะความเปนเจาของในเงินที่ตนไดลงทุนไป โดยมีบริษัทหลัก ทรัพยจัดการกองทุนรวม (บลจ.) เปนผูจัดตั้งและทำ�หนาที่บริหารกองทุนรวมใหไดผล ตอบแทน แลวนำ�มาเฉลี่ยคืนใหกับนักลงทุนแตละรายตามสัดสวนที่ลงทุนไวแตแรกใน กองทุนรวมนั้น (ธนัยวงศ กีรติวานิชย และ ภัสรา ชวาลกร, 2547) และปริมาณการ ลงทุนในกองทุนรวมมีแนวโนมทีเ่ พิม่ ขึน้ ทุกปตงั้ แต ป 2535 – 2553 ซึง่ เพิม่ ขึน้ ในทิศทาง เดียวกันกับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ

ภาพที่ 1. กองทุนรวม เงินฝาก เงินสำ�รองประกันภัย และ GDP ป 2535-2553 ที่มา: สมาคมบริษัทจัดการลงทุน (2554)

75


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

ชองทางการลงทุนในกองทุนรวมนั้นไดแบงออกเปน 2 ชองทางใหเลือก คือ กองทุนรวมเพือ่ การเลีย้ งชีพ (Retirement Mutual Fund: RMF) และกองทุนหุน ระยะยาว (Long Term Equity Fund: LTF) การเลือกลงทุนในกองทุนรวมนั้นถือเปนการเลือก ลงทุนที่ชาญฉลาดเพราะจะไดรับทั้งสิทธิประโยชนทางภาษีและกำ�ไรจากการขายคืน หนวยลงทุน (Capital gain) กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพมีนโยบายเนนลงทุนใน ตราสารหนี้ และมีขอจำ�กัดคือตองถือครองหนวยลงทุนดังกลาวไมนอยกวา 5 ปนับ ตั้งแตวันซื้อหนวยลงทุนครั้งแรก และสามารถไถถอนหนวยลงทุนนั้นไดเมื่อผูลงทุน อายุไมต่ำ�กวา 55 ป แตสำ�หรับกองทุนหุนระยะยาวมีขอจำ�กัดนอยกวาคือสามารถ ไถถอนหนวยลงทุนนัน้ ไดเมือ่ ถือครองครบ 5 ปปฏิทนิ และมีนโยบายเพือ่ การลงทุนทีเ่ นน การลงทุนในตราสารทุน ซึ่งจากงานวิจัยของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย (วิธาน เจริญผล, 2549) ไดศึกษาผลตอบแทนเปรียบเทียบจากการถือสินทรัพยประเภทตางๆ ของประเทศไทยตั้งแต พ.ศ. 2518-2548 พบวาการลงทุนในหุนใหผลตอบแทนสูงสุด ถึงรอยละ 2,900 ซึ่งมากกวาการถือเงินฝาก 3 เทาและมากกวาการถือครองพันธบัตร 1.5 เทา ดังนัน้ จึงเปนเหตุผลทีผ่ ลู งทุนเลือกทีจ่ ะลงทุนในกองทุนหุน ระยะยาวมากกวาการ เลือกลงทุนในกองทุนรวมเพือ่ การเลีย้ งชีพ เพราะการลงทุนก็ยอ มตองการผลตอบแทนที่ สูงสุดภายใตเงื่อนไขตางๆ ทั้งเรื่องของระยะเวลาการลงทุน ความเสี่ยง และปจจัยอื่นๆ ที่ยอมรับไดนั่นเอง

ภาพที่ 2. มูลคาทรัพยสินสุทธิกองทุนรวม RMF และกองทุนรวม LTF 2545-กรกฎาคม 2554 ที่มา: สมาคมบริษัทจัดการลงทุน (2554)

76


การประมาณคาความผันผวนและการพยากรณมูลคากองทุนรวมหุนระยะยาว สุรชัย จันทรจรัส และลัดดาวรรณ อาจพรม

กองทุนหุนระยะยาว (LTF) จัดตั้งดวยมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 27 เมษายน 2547 โดยมีวัตถุประสงคการจัดตั้งเพื่อเพิ่มสัดสวนผูลงทุนสถาบันที่จะลงทุนระยะยาว ในตลาดหลักทรัพยฯซึ่งจะชวยใหตลาดทุนไทยมีเสถียรภาพมากขึ้นและเปนกองทุน แบบพิเศษทีใ่ หสทิ ธิผลู งทุนนำ�เงินลงทุนในแตละปมาใชลดหยอนภาษีได จึงเปนชองทาง การลงทุนทีใ่ หผลตอบแทนทีด่ กี วาการลงทุนแบบอืน่ อยางไรก็ตามแมวา LTF ทุกกองทุน จะมีนโนบายเนนการลงทุนในหุน เหมือนๆ กันแตทผี่ า นมากลับพบวาอัตราผลตอบแทน ในเงินลงทุนที่ไมเทากัน เพราะแตละกองทุนลวนมีความแตกตางทั้งรูปแบบกองทุน ลักษณะของหุนที่ลงทุน และฝมือการบริหารของผูจัดการ ดังนั้นเพื่อลดความเสี่ยงจาก การขาดทุนจากผลตางมูลคาตามบัญชีทเี่ ปลีย่ นแปลงอยูต ลอดเวลาของกองทุนดังกลาว จึงควรมีการพยากรณมลู คาตามบัญชีหรือ ประมาณคาความผันผวนของมูลคาตามบัญชี โดยใชแบบจำ�ลองที่นาเชื่อถือ และตัวแบบ Generalized Autoregressive Conditional Heteroskedasticity (GARCH) ไดถกู ใชเปนตัวแบบในการวัดการเคลือ่ นไหวของขอมูล ที่มีความผันผวนสูง ซึ่งความผันผวนของมูลคาตามบัญชี (NAV Volatility) นี้ขึ้นอยูกับ ความผันผวนในอดีต จึงเปนตัวแบบทีเ่ หมาะสมสำ�หรับการประมาณคาความผันผวนและ การพยากรณมลู คากองทุนรวมหุน ระยะยาวซึง่ จะเปนตัวชวยในการตัดสินใจในการลงทุน การศึกษาทีผ่ า นมา ภาณุรณ ฉัตรชัยการ (2551) ไดศกึ ษาแบบจำ�ลองทีเ่ หมาะสม ในการประมาณคาความผันผวนและพยากรณมูลคากองทุนเพื่อการเลี้ยงชีพและกอง ทุนหุนระยะยาวโดยใชแบบจำ�ลอง Autoregressive Intergrated Movingaverage (ARIMA)-GARCH ซึ่งขอมูลที่นำ�มาศึกษาเปนขอมูลราคาปดรายสัปดาหของมูลคา หนวยลงทุนในชวงระยะเวลา 3 ป พบวาแบบจำ�ลองที่เหมาะสมในการพยากรณ มู ล ค า หน ว ยลงทุ น แต ล ะกองนั้ น เป น แบบจำ � ลองที่ แ ตกต า งกั น ขึ้ น อยู  กั บ ลั ก ษณะ การเคลื่อนไหวของมูลคาหนวยลงทุนแตละกองทุนนั้นและแบบจำ �ลองที่ใหคาความ แตกตางระหวางคาจริงและคาที่ประมาณไดต่ำ�ที่สุดเปนแบบจำ�ลองที่เหมาะสมที่สุด ในการพยากรณ นอกจากนี้ แ บบจำ � ลอง GARCH ยั ง สามารถใช ใ นการทดสอบ ประสิทธิภาพของตลาดทุนได ดังเชนการทดสอบประสิทธิภาพของตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย (ฐานัสต อานนทกิจพานิช และ สุรชัย จันทรจรัส, 2552) โดยใช ขอมูลราคาหลักทรัพยรายกลุมอุตสาหกรรม 24 กลุม ตั้งแตเดือนตุลาคม 2544 ถึง เดือนกันยายน 2549 ผลการศึกษาพบวามีราคาหลักทรัพยรายกลุมอุตสาหกรรม 15 กลุมที่แสดงถึงการมีประสิทธิภาพ ซึ่งสะทอนวาตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย มีประสิทธิภาพ นั่นคือไมสามารถใชขอมูลราคาหลักทรัพยในอดีตมาพยากรณราคา หลักทรัพยในอนาคตได

77


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

สำ�หรับงานวิจัยที่ทำ�การศึกษาอัตราผลตอบแทน ความเสี่ยง และความสามารถ ในการบริหารสินทรัพยของกองทุนรวมเพื่อวิเคราะหและเปรียบเทียบหากองทุนที่มี ผลตอบแทนจากหนวยลงทุนสูงสุด ความเสี่ยงต่ำ�สุด และความสามารถบริหารกลุม หลักทรัพยไดอยางมีประสิทธิภาพเพื่อเปนแนวทางในการตัดสินใจในการลงทุนใน กองทุนรวม วรัณญา นวะมะรัตน (2550) ทำ�การศึกษาเพือ่ วัดความสามารถในการบริหาร หลักทรัพยของกองทุนโดยคัดเลือกกองทุนเปดตราสารทุนที่มีนโยบายการจายปนผล จำ�นวน 10 กองทุน ที่มีระยะเวลาในการดำ�เนินงานอยูในชวง พ.ศ. 2546-2549 ซึ่ง เปนชวงที่ภาวะเศรษฐกิจขยายตัวอยูในเกณฑดี เฉลี่ยรอยละ 5.7 ตอป ผลการศึกษา พบวากองทุนที่มีผลตอบแทนดีที่สุดคือ กองทุนเปดทิสโกหุนทุนปนผล (TISCOEDF) สวนกองทุนที่ใหผลตอบแทนนอยที่สุดคือกองทุนรวม วรรณพลัสวรรณ (ONE+1) และ กองทุนทีม่ ีคา ความเสีย่ งสูงสุดคือ กองทุนเปดทิสโกหนุ ทุนปนผล (TISCOEDF) เปนไป ตามทฤษฎีทีวาผลตอบแทนสูงความเสี่ยงสูง อีกงานวิจัยที่ทำ�การศึกษาความเสี่ยงและผลตอบแทนของกองทุนรวมที่ลงทุน ในตางประเทศ (ภวิษฐพร วงศศักดิ์, 2549) โดยมีกองทุนรวมที่ลงทุนในตางประเทศ ที่ใชในการศึกษา 17 กองทุน ใชมูลคาสินทรัพยสุทธิของกองทุนรายสัปดาห ระยะเวลา ตั้งแต เมษายน พ.ศ. 2545 ถึง ธันวาคม พ.ศ. 2548 พบวากองทุนเปดไทยพาณิชย เกษียณสุข (ตราสารหนี้) และโครงการจัดการกองทุนเปดโกลบอล บาลานซ ฟนด ออฟ ฟนด เปนกองทุนที่ใหอัตราผลตอบแทนมากกวาอัตราผลตอบแทนจากหลักทรัพยที่ ปราศจากความเสีย่ ง สวนกองทุนทีเ่ หลืออีก 15 กองทุน ใหอตั ราผลตอบแทนทีน่ อ ยกวา อัตราผลตอบแทนจากหลักทรัพยที่ปราศจากความเสี่ยง งานวิ จั ย แบบจำ � ลอง GARCH ในต า งประเทศที่ มี ก ารศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ การ พยากรณความผันผวนของผลตอบแทนจากหลักทรัพย เพื่อวัดประสิทธิภาพที่ไดจาก การพยากรณดวยแบบจำ�ลอง GARCH แบบตางๆ (Goyal, 2000) โดยใชขอมูลผล ตอบแทนรายวันและยังทำ�การทดสอบแบบ out-of-sample ของแบบจำ�ลอง GARCH เพื่อวัดความสามารถในการพยากรณ ผลการศึกษาพบวา แบบจำ�ลอง GARCH นั้น ไมสามารถที่จะจับความหลากหลายของความผันผวนทั้งหมดได การประมาณความ ผันผวนดวยวิธีถดถอยจากแบบจำ�ลอง GARCH สวนใหญจะตกอยูในชวงความเชื่อมั่น ของกลุมตัวแทนของความผันผวนที่เกิดขึ้นจริง แตมีอีกหลายงานวิจัยในตางประเทศที่ สนับสนุนแบบจำ�ลอง GARCH เชน การศึกษาดานการพยากรณแบบจำ�ลองเชิงพลวัต รดวยคาความแปรปรวนอยางมีเงื่อนไขตามเวลา (Baillie and Bollerslev, 1992) โดย ใชแบบจำ�ลอง ARMA ในการหาสมการ mean และนำ�เอา disturbances ที่ไดมาเขา

78


การประมาณคาความผันผวนและการพยากรณมูลคากองทุนรวมหุนระยะยาว สุรชัย จันทรจรัส และลัดดาวรรณ อาจพรม

กระบวนการ GARCH แสดงออกมาดวยสูตรสำ�หรับการพยากรณ minimum MSE ของ ทัง้ มูลคาในอนาคตของคาเฉลีย่ อยางมีเงือ่ นไขและคาความแปรปรวนอยางมีเงือ่ นไข และ ทำ�การแสดงวาคาความเคลื่อนทั้งหมดในการพยากรณความคลาดเคลื่อนในขั้นตางๆ อธิบายดวย GARCH Najand (2002) ไดท�ำ การศึกษาความสามารถของแบบจำ�ลองทางเศรษฐศาสตร ตางๆ ในการพยากรณความผันผวนของราคาซือ้ ขายลวงหนาของหลักทรัพย S&P 500 โดยใชราคาปดของหลักทรัพยระหวางเดือนมกราคม 1983 ถึงธันวาคม 1996 โดยการ เปรียบเทียบความแมนยำ�ในการพยากรณระหวาง linear model ซึ่งประกอบดวย (1) A random walk model (2) An autoregressive model (3) A moving average model (4) An exponential smoothing model และ (5) A double exponential smoothing model และ nonlinear model ซึ่งประกอบดวย GARCH-M(1,1) EGARCH(1,1) และ ESTAR model โดยใช RMSE และ MAPE เปนเกณฑในการตัดสินความแมนยำ�ในการ พยากรณ ผลการศึกษาพบวา Linear Model ที่มีคา RMSE และ MAPE นอยที่สุดหรือ มีความแมนยำ�ในการพยากรณความผันผวนดีที่สุดคือ Autoregressive model ขณะที่ Nonlinear model ทีด่ ที สี่ ดุ เรียงตามลำ�ดับคือ EGARCH GARCH-M และ ESTAR Model จากการศึกษาที่ผานมาจะเห็นไดวาผลการศึกษายังไมมีขอสรุปที่ชัดเจน ดังนั้น ในการ ศึกษาครั้งนี้มุงเนนการทดลองเลือกรูปแบบของแบบจำ�ลอง GARCH หลากหลาย รูปแบบ คือ GARCH(p, q) TARCH (Asymmetric GARCH) EGARCH และ GARCH-M แลวนำ�มาพยากรณ เพื่อเปรียบเทียบหาคาพยากรณที่ดีที่สุดจากแบบจำ�ลอง GARCH ที่แตกตางกัน วิธีการศึกษา การศึกษาครั้งนี้ ใชขอมูล 4 กองทุนคือ กองทุนเปดไทยพาณิชยหุนระยะยาว ปนผล 70/30 (SCBLT1) กองทุนเปดเค 70:30 หุนระยะยาวปนผล (K70LTF) กองทุน เปดเคหุนระยะยาว (KEQLTF) และกองทุนเปดบัวหลวงหุนระยะยาว (B-LTF) โดย ใชเกณฑมูลคาทรัพยสินสุทธิ (NAV) ทั้ง 4 กองทุนนี้เปนกองทุนขนาดใหญที่สุดที่มี มูลคารวมทรัพยสินสุทธิ รวม 59,577 ลานบาทหรือประมาณ 40% ของมูลคาทรัพยสิน สุทธิรวมของทั้งตลาดที่มีมูลคา 148,280 ลานบาท (สมาคมบริษัทจัดการลงทุน, 2554) โดยใชขอมูลรายวันตั้งแตวันที่ 9 สิงหาคม 2549 ถึงวันที่ 12 มกราคม 2555 จำ�นวน 1,298 วัน ดังนี้

79


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

ตารางที่ 1. มูลคาทรัพยสินสุทธิ (NAV) ของกองทุนหุนระยะยาว NAV (ลานบาท)

ชื่อกองทุน (ไทย)

ชื่อยอ

บลจ.

กองทุนเปดไทยพาณิชยหุนระยะยาวปนผล 70/30

24,602 SCBLT1 ไทยพาณิชย จำ�กัด

กองทุนเปดเค 70:30 หุนระยะยาวปนผล

14,763 K70LTF กสิกรไทย จำ�กัด

กองทุนเปดเค หุนระยะยาว

10,294 KEQLTF กสิกรไทย จำ�กัด

กองทุนเปดบัวหลวงหุนระยะยาว

9,918 B-LTF

รวม

บัวหลวง จำ�กัด

59,577

ที่มา: สมาคมบริษัทจัดการลงทุน (2554)

ในการศึ ก ษาการวิ เ คราะห ค วามผั น ผวนและพยากรณ มู ล ค า หน ว ยลงทุ น กองทุนหุนระยะยาวโดยใชแบบจำ�ลอง ARIMA-GARCH ใชแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับ การวิเคราะหอนุกรมเวลา การทดสอบความนิง่ ของขอมูล (Stationary) โดยการทดสอบ Unit Root และสรางแบบจำ�ลองที่ดีที่สุดเพื่อประมาณคาความผันผวนและพยากรณ มูลคาหนวยลงทุนในอนาคต แบบจำ�ลองที่ใช คือ แบบจำ�ลอง ARIMA-GARCH ดัง สมการตอไปนี้

โดยที่ Pt คือ มูลคาหนวยลงทุนของแตละกองทุนในเวลาที่ t εt คือ ปจจัยอื่นที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงของมูลคาหนวยลงทุน

ในเวลาที่ t ht คือ ความแปรปรวนอยางมีเงื่อนไขของ βn คือ สัมประสิทธิ์คา Autoregressive qn คือ สัมประสิทธิ์ความคลาดเคลื่อน γn คือ สัมประสิทธิ์เทอม GARCH ap คือ สัมประสิทธิ์ ARCH จากการประมาณคาความลาที่ p øq คือ สัมประสิทธิ์ GARCH จากการประมาณคาความลาที่ q

80


การประมาณคาความผันผวนและการพยากรณมูลคากองทุนรวมหุนระยะยาว สุรชัย จันทรจรัส และลัดดาวรรณ อาจพรม

จากสมการทั้งสองไดคาเบี่ยงเบนตามเงื่อนไข ( ) มาเปนตัวแปรหนึ่ง ในการอธิ บ ายมู ล ค า หน ว ยลงทุ น ค า เบี่ ย งเบนมาตรฐานอย า งมี เ งื่ อ นไขนี้ แ ทนถึ ง ความเสีย่ งทีเ่ กิดขึน้ วามีอทิ ธิพลตอผลตอบแทนของหลักทรัพยมากนอยเพียงใด ขัน้ ตอน ในการสรางและประมาณคาแบบจำ�ลอง คือ สราง Correlogram แสดง ACF และ PACF เพือ่ ใชในการพิจารณารูปแบบทีเ่ หมาะสมของอนุกรม ARMA (p,q) และสรางสมการโดย ใชความลาที่ p และ q ที่ได จากนั้นทดสอบ p และ q เพื่อใชใน GARCH (p,q) ประมาณ คาพารามิเตอรของสมการดวยวิธี Maximum Likelihood และพิจารณาคาพารามิเตอร ทีไ่ ดวา แตกตางจากศูนยอยางมีนยั สำ�คัญหรือไม โดยทดสอบคา z-statistic และพิจารณา ตรวจสอบเงื่อนไข Stationary และ Invertible ของแบบจำ�ลอง ARMA ถาคาที่ไดไมตรง ตามเงื่อนไขใหเปลี่ยนคา p และ q จนกวาจะไดคาตรงตามเงื่อนไข จากนั้นตรวจสอบรูปแบบที่เหมาะสมโดยใช Box-Pierce Q-Statistic ถายอมรับ สมมติฐานแสดงวาแบบจำ�ลองมีความเหมาะสมแลว ประมาณคาสมการดวยความลา p และ q อื่นๆ เพื่อเลือกแบบจำ�ลองที่ดีที่สุด โดยเลือกแบบจำ�ลอง ARMA-GARCH โดยพิจารณาคา AIC ทีม่ คี า นอยทีส่ ดุ และเปนแบบจำ�ลองทีด่ ที สี่ ดุ เพือ่ ทำ�การเปรียบเทียบ กราฟที่ได และแสดงการเคลื่อนไหวของมูลคาหนวยลงทุนจริง เพื่อจะไดพิจารณาถึง ความสามารถในการพยากรณของสมการ และนำ�แบบจำ�ลองที่ดีที่สุดจาก แบบจำ�ลอง ARMA-GARCH มาพยากรณมูลคาหนวยลงทุนในอนาคต และนำ�มูลคาหนวยลงทุน ที่ไดมาเปรียบเทียบกับขอมูลที่มีอยูจริง การเลือกแบบจำ�ลองที่ดีที่สุดในการพยากรณ ผลตอบแทนเพื่อประมาณการความผันผวนของมูลคาหนวยลงทุนโดยใชเกณฑ Root Mean Square Error (RMSE) และคา Mean Absolute Percentage Error (MAPE) เพื่อบอกถึงความไมแปรเปลี่ยน ในการเลือกหาแบบจำ�ลองที่เหมาะสมที่สุด โดยใช โปรแกรมที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ คือ EView7 ผลการศึกษา การศึกษาการประมาณคาความผันผวนและการพยากรณมูลคาของกองทุน หุนระยะยาวของ ธนาคารไทยพาณิชย ธนาคารกสิกรไทย และธนาคารกรุงเทพ โดย วิธี ARIMA-GARCH ซึ่งกองทุนที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ไดแก กองทุนเปดไทยพาณิชย หุนระยะยาวปนผล 70/30 กองทุนเปดเค 70:30 หุนระยะยาวปนผล กองทุนเปดเค หุนระยะยาวและกองทุนเปดบัวหลวงหุนระยะยาว ชวงระหวางวันที่ 9 สิงหาคม 2549 ถึง วันที่ 12 มกราคม 2555 และมีการพิจารณาคาทางสถิติตางๆ ที่สำ�คัญของมูลคา กองทุน ดังนี้

81


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

ตารางที่ 2. คาสถิติที่สำ�คัญของมูลคาหนวยลงทุนในกองทุนตางๆ กองทุนรวม จำ�นวนขอมูล คาต่ำ�สุด คาสูงสุด คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

SCBLT1 1,298 7.795 15.621 12.152 1.756

K70LTF 1,298 7.543 15.594 11.937 1.893

KEQLTF 1,298 7.124 22.681 14.752 3.937

BLTF 1,298 8.162 21.254 14.061 3.251

ที่มา: สมาคมบริษัทจัดการลงทุน (2554)

การทดสอบความนิ่งของขอมูล การทดสอบ Unit root เพื่อที่จะดูความนิ่ง : Stationary [I(0); integrated of order 0] หรือความไมนิ่ง: Non-stationary [I(d); d > 0; integrated of order d] โดย การทดสอบ Augmented Dickey-Fuller (Dickey and Fuller, 1979) เริ่มแรกนั้นจะ ทดสอบขอมูลที่ Order of integration เทากับ 0 หรือ I(0) คือ ที่ระดับ Level without trend and intercept, Level with intercept และ Level with trend and intercept จากนัน้ ทำ�การพิจารณาความนิง่ ของขอมูล โดยการเปรียบเทียบคาสถิติ ADF กับคา MacKinnon Critical (MacKinnon, 1991) ณ ระดับนัยสำ�คัญ 0.01, 0.05 และ 0.10 ของแบบจำ�ลอง ถาคาสถิติ ADF มีคามากกวาคา MacKinnon Critical แสดงวาขอมูลอนุกรมเวลานั้น มีลักษณะไมนิ่ง (Non-stationary) ซึ่งแกไขโดยการทำ� differencing ลำ�ดับที่ 1 หรือ ลำ�ดับถัดไปจนกวาขอมูลอนุกรมเวลานั้นจะมีลักษณะนิ่ง (Stationary) (Enders, 2004 ; Gugarati and Porter, 2009) จากการทดสอบ Unit Root ตามตารางที่ 3 พบวา คา Lag length ที่ไดมีคา เทากับ 0 ซึ่งเปน Lag Length ที่ใหคาสถิติ ADF นอยที่สุด โดยคาสถิติ ADF ของ ทุกกองทุน มีคามากกวาคา Mackinnon Critical แสดงวาขอมูลอนุกรมเวลานั้นมี ลักษณะไมนิ่ง (Non-stationary) ในระดับ Level ซึ่งแกไขโดยการทำ� differencing เพื่อทดสอบความนิ่งของขอมูลในระดับ 1st Differencing คา T-statistics ของคา Ø นอยกวา คา MacKinnon Critical ที่ระดับนัยสำ�คัญ 0.01, 0.05 และ 0.10 ทั้งในกรณี ไมมคี า คงทีแ่ ละแนวโนมเวลา กรณีมคี า คงที่ และกรณีมคี า คงทีแ่ ละแนวโนมเวลา ดังนัน้ ทั้ง 4 กองทุนมีลักษณะความนิ่งของขอมูลในระดับ 1st Differencing

82


การประมาณคาความผันผวนและการพยากรณมูลคากองทุนรวมหุนระยะยาว สุรชัย จันทรจรัส และลัดดาวรรณ อาจพรม

ตารางที่ 3. คา ADF test Statistic จากการทดสอบ Unit Root ที่ระดับ 1st Differencing Fund

Lag

None ADF test

%Critical Value

Statistic SCBLT1 0

K70LTF

0

KEQLTF 0

B-LTF

0

-35.746

-36.057

-35.523

-35.260

Intercept ADF test

%Critical Value

Statistic

Trend and Intercept ADF test

%Critical Value

Statistic

1% -2.567 -35.744 1% -3.436 -35.730 1% -3.967 5% -1.941

5% -2.864

5% -3.414

10% -1.616

10% -2.568

10% -3.129

1% -2.567 -36.059 1% -3.436 -36.045 1% -3.967 5% -1.941

5% -2.864

5% -3.414

10% -1.616

10% -2.568

10% -3.129

1% -2.567 -35.537 1% -3.436 -35.530 1% -3.967 5% -1.941

5% -2.864

5% -3.414

10% -1.616

10% -2.568

10% -3.129

1% -2.567 -35.300 1% -3.436 -35.314 1% -3.967 5% -1.941

5% -2.864

5% -3.414

10% -1.616

10% -2.568

10% -3.129

ที่มา: จากการคำ�นวณ

การศึกษาความสัมพันธของการเคลื่อนไหวของมูลคาหนวยลงทุนกองทุนเปด ไทยพาณิชยหุนระยะยาวปนผล 70/30 เมื่อนำ�ขอมูลอนุกรมเวลามาวิเคราะห ACF และ PACF แลวพบวารูปแบบของ อนุกรมเวลาที่เหมาะสมคือ AR(1)AR(2)AR(3)AR(4)AR(5)AR(6) MA(1)MA(2) MA(3)MA(4)MA(5)MA(6)MA(7) และ EGARCH(2,2) ในการประมาณคาสัมประสิทธิ์ ของตัวแปรตามพบวามีเทอม ARCH และ GARCH เกิดขึน้ จริงอยางมีนยั สำ�คัญตรงตาม สมติฐานเบื้องตนที่ใหความแปรปรวนของขอมูลมีคาเปลี่ยนแปลงไปตามเวลา สำ�หรับ คา Q-stat ที่ lag length 36 พบวาไมมีนัยสำ�คัญทางสถิติทางที่ระดับ 0.05 ดังนั้น จึงยอมรับสมมติฐานวางที่วาคาความคลาดเคลื่อนที่ไดจากการประมาณการมีลักษณะ เปน White Noise แปลวาแบบจำ�ลองที่ไดนั้นปราศจากอัตสัมพันธ (Autocorrelation) แสดงวาเปนแบบจำ�ลองที่มีความเหมาะสม 83


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

การศึกษาในครั้งนี้ไดเลือกการพยากรณแบบ Static forecast โดยทำ�การ พยากรณ เริ่มตนตั้งแต วันที่ 6 มกราคม 2555 ถึงวันที่ 12 มกราคม 2555 ผลการ ศึกษาพบวา แบบจำ�ลองที่มีความแมนยำ�ในการพยากรณมากที่สุด ซึ่งไดจากการ เปรียบเทียบคา RMSE ที่มีคาต่ำ�สุด (0.052) และคา MAPE (0.336) คือแบบจำ�ลอง AR(1)AR(2)AR(3)AR(4)AR(5)AR(6) MA(1)MA(2)MA(3)MA(4)MA(5)MA(6)MA(7) และEGARCH (2,2) จากการวิเคราะหการพยากรณมูลคาหนวยลงทุนกองทุนเปดไทย พาณิชยหุนระยะยาวปนผล 70/30(SCBLT1) ที่ไดจากแบบจำ�ลอง พบวา คาจริงและ คาพยากรณที่ไดมีแนวโนมไปในทิศทางเดียวกัน ตารางที่ 4. คาสถิติจากกการพยากรณมูลคาหนวยลงทุนกองทุนเปดไทยพาณิชย หุน ระยะยาวปนผล 70/30 แบบจำ�ลอง

RMSE

MAPE

AR(1)AR(2)AR(3)AR(4)AR(5)AR(6) MA(1)MA(2)MA(3)MA(4) MA(5)MA(6)MA(7) และ GARCH(2,2)

0.053

0.326

AR(1)AR(2)AR(3)AR(4)AR(5)AR(6) MA(1)MA(2)MA(3)MA(4) MA(5)MA(6)MA(7) และ EGARCH(2,2)

0.052

0.336

AR(1)AR(2)AR(3)AR(4)AR(5)AR(6) MA(1)MA(2)MA(3)MA(4) MA(5)MA(6)MA(7) และ GARCH-M(2,2) ที่มา: จากการคำ�นวณ

0.053

0.326

ตารางที่ 5. ผลพยากรณมลู คาหนวยลงทุนกองทุนเปดไทยพาณิชยหนุ ระยะยาวปนผล 70/30 วันที่ 6 มกราคม 2012 9 มกราคม 2012 10 มกราคม 2012 11 มกราคม 2012 12 มกราคม 2012 ที่มา: จากการคำ�นวณ

มูลคาหนวยลงทุน (จริง) 13.786 13.873 13.951 13.921 13.919

84

มูลคาหนวยลงทุน (พยากรณ) 13.818 13.796 13.889 13.971 13.931


การประมาณคาความผันผวนและการพยากรณมูลคากองทุนรวมหุนระยะยาว สุรชัย จันทรจรัส และลัดดาวรรณ อาจพรม

การศึกษาความสัมพันธของการเคลือ่ นไหวของมูลคาหนวยลงทุนกองทุนเปดเค 70:30 หุนระยะยาวปนผล เมื่อนำ�ขอมูลอนุกรมเวลามาวิเคราะห ACF และ PACF แลวพบวารูปแบบ ของอนุกรมเวลาที่เหมาะสมคือ AR(1)AR(2)AR(3)AR(4) MA(1)MA(2)MA(3)MA(4) MA(5)MA(6) และ GARCH(1,1) ในการประมาณคาสัมประสิทธิ์ของตัวแปรตามพบวา มีเทอม ARCH และ GARCH เกิดขึน้ จริงอยางมีนยั สำ�คัญตรงตามสมติฐานเบือ้ งตนทีใ่ ห ความแปรปรวนของขอมูลมีคา เปลีย่ นแปลงไปตามเวลา สำ�หรับคา Q-stat ที่ lag length 36 พบวาไมมีนัยสำ�คัญทางสถิติทางที่ระดับ 0.05 ดังนั้นจึงยอมรับสมมติฐานวางที่วา คาความคลาดเคลื่อนที่ไดจากการประมาณการมีลักษณะเปน White Noise แปลวา แบบจำ�ลองที่ไดนั้นปราศจากอัตสัมพันธ (Autocorrelation) แสดงวาเปนแบบจำ�ลอง ที่มีความเหมาะสม ผลการศึกษาแบบจำ�ลองที่มีความแมนยำ�ในการพยากรณมากที่สุด ซึ่งไดจาก การเปรี ย บเทียบคา RMSE ที่มีคาต่ำ� สุด (0.040) และค า MAPE (0.246) คื อ แบบจำ � ลองAR(1)AR(2)AR(3)AR(4) MA(1)MA(2)MA(3)MA(4)MA(5)MA(6) และ EGARCH(1,1) จากการวิเคราะหการพยากรณมูลคาหนวยลงทุนกองทุนเปด ไทยพาณิชยหนุ ระยะยาวปนผล70/30(SCBLT1) ทีไ่ ดจากแบบจำ�ลอง พบวา คาจริงและ คาพยากรณที่ไดมีแนวโนมไปในทิศทางเดียวกัน ตารางที่ 6. คาสถิติจากกการพยากรณมูลคาหนวยลงทุนกองทุนเปดเค 70:30 หุนระยะยาวปนผล แบบจำ�ลอง

RMSE

MAPE

AR(1)AR(2)AR(3)AR(4) MA(1)MA(2)MA(3)MA(4)MA(5)MA(6) และ GARCH(1,1)

0.041

0.266

AR(1)AR(2)AR(3)AR(4) MA(1)MA(2)MA(3)MA(4)MA(5)MA(6) และ EGARCH(1,1)

0.040

0.246

AR(1)AR(2)AR(3)AR(4) MA(1)MA(2)MA(3)MA(4)MA(5)MA(6) และ GARCH-M(1,1) ที่มา: จากการคำ�นวณ

0.040

0.261

85


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

ตารางที่ 7. ผลพยากรณมูลคาหนวยลงทุนกองทุนเปดเค 70:30 หุนระยะยาวปนผล วันที่ 6 มกราคม 2012 9 มกราคม 2012 10 มกราคม 2012 11 มกราคม 2012 12 มกราคม 2012

มูลคาหนวยลงทุน (จริง) 13.942 14.014 14.093 14.090 14.105

มูลคาหนวยลงทุน (พยากรณ) 13.957 13.972 14.031 14.135 14.097

ที่มา: จากการคำ�นวณ

การศึกษาความสัมพันธของการเคลื่อนไหวของมูลคาหนวยลงทุนกองทุนเปด เคหุนระยะยาว เมื่อนำ�ขอมูลอนุกรมเวลามาวิเคราะห ACF และ PACF แลวพบวารูปแบบของ อนุกรมเวลาที่เหมาะสมคือ AR(1)AR(2)AR(3)AR(4)AR(5)AR(6) MA(1)MA(2)MA(3) MA(4)MA(5)MA(6)MA(7) และGARCH(1,1) ในการศึกษานี้ตองการเปรียบเทียบ ความแมนยำ�ของการพยากรณจากแบบจำ�ลองตางๆ จึงไดทำ�การเลือกรูปแบบของ สมการที่เหมาะสมเพียงรูปแบบเดียวจึงไมตองพิจารณาคา AIC และ SC ในการ ประมาณคาสัมประสิทธิ์ของตัวแปรตามพบวามีเทอม ARCH และ GARCH เกิดขึ้น จริงอยางมีนัยสำ�คัญตรงตามสมติฐานเบื้องตนที่ใหความแปรปรวนของขอมูลมีคา เปลี่ยนแปลงไปตามเวลา สำ�หรับคา Q-stat ที่ lag length 36 พบวาไมมีนัยสำ�คัญทาง สถิติทางที่ระดับ 0.05 ดังนั้นจึงยอมรับสมมติฐานวางที่วาคาความคลาดเคลื่อนที่ได จากการประมาณการมีลักษณะเปน White Noise แปลวาแบบจำ�ลองที่ไดนั้นปราศจาก อัตสัมพันธ (Autocorrelation) แสดงวาเปนแบบจำ�ลองที่มีความเหมาะสม ผลการศึกษา แบบจำ�ลองที่มีความแมนยำ�ในการพยากรณมากที่สุด ซึ่งไดจาก การเปรี ย บเที ย บคา RMSE ที่มีคาต่ำ� สุด (0.091) และค า MAPE (0.339) คื อ แบบจำ � ลองAR(1)AR(2)AR(3)AR(4) MA(1)MA(2)MA(3)MA(4)MA(5)MA(6) และGARCH(1,1) จากการวิเคราะหการพยากรณมูลคาหนวยลงทุนกองทุนเปดเค หุนระยะยาว (KEQLTF) ที่ไดจากแบบจำ�ลอง พบวา คาจริงและคาพยากรณที่ไดมี แนวโนมไปในทิศทางเดียวกัน

86


การประมาณคาความผันผวนและการพยากรณมูลคากองทุนรวมหุนระยะยาว สุรชัย จันทรจรัส และลัดดาวรรณ อาจพรม

ตารางที่ 8. คาสถิติจากกการพยากรณมูลคาหนวยลงทุนกองทุนเปดเคหุนระยะยาว แบบจำ�ลอง

RMSE

MAPE

AR(1)AR(2)AR(3)AR(4)AR(5)AR(6) MA(1)MA(2)MA(3) MA(4)MA(5)MA(6)MA(7) และ GARCH(1,1)

0.091

0.339

AR(1)AR(2)AR(3)AR(4)AR(5)AR(6) MA(1)MA(2)MA(3) MA(4)MA(5)MA(6)MA(7) และ EGARCH(1,1)

0.132

0.494

AR(1)AR(2)AR(3)AR(4)AR(5)AR(6) MA(1)MA(2)MA(3) MA(4)MA(5)MA(6)MA(7) และ GARCH-M(1,1)

0.1001

0.473

ที่มา: จากการคำ�นวณ

ตารางที่ 9. ผลพยากรณมูลคาหนวยลงทุนกองทุนเปดเคหุนระยะยาว วันที่ 6 มกราคม 2012 9 มกราคม 2012 10 มกราคม 2012 11 มกราคม 2012 12 มกราคม 2012

มูลคาหนวยลงทุน (จริง) 20.247 20.396 20.576 20.584 20.607

มูลคาหนวยลงทุน (พยากรณ) 20.299 20.267 20.427 20.588 20.621

ที่มา: จากการคำ�นวณ

การศึกษาความสัมพันธของการเคลื่อนไหวของมูลคาหนวยลงทุนกองทุนเปด บัวหลวงหุนระยะยาว เมื่อนำ�ขอมูลอนุกรมเวลามาวิเคราะห ACF และ PACF แลวพบวารูปแบบ ของอนุกรมเวลาที่เหมาะสมคือ AR(1)AR(2)AR(3)AR(4) AR(5) MA(1)MA(2)MA(3) MA(4) และGARCH-M(1,1) การประมาณคาสัมประสิทธิ์ของตัวแปรตามพบวามีเทอม ARCH และ GARCH เกิดขึ้นจริงอยางมีนัยสำ�คัญตรงตามสมติฐานเบื้องตนที่ให ความแปรปรวนของขอมูลมีคา เปลีย่ นแปลงไปตามเวลา สำ�หรับคา Q-stat ที่ lag length 36 พบวาไมมีนัยสำ�คัญทางสถิติทางที่ระดับ 0.05 ดังนั้นจึงยอมรับสมมติฐานวางที่วา คาความคลาดเคลื่อนที่ไดจากการประมาณการมีลักษณะเปน White Noise แปลวา

87


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

แบบจำ�ลองที่ไดนั้นปราศจากอัตสัมพันธ (Autocorrelation) แสดงวาเปนแบบจำ�ลอง ที่มีความเหมาะสม ผลการศึกษาแบบจำ�ลองทีม่ คี วามแมนยำ�ในการพยากรณมากทีส่ ดุ ซึง่ ไดจากการ เปรียบเทียบคา RMSE ที่มีคาต่ำ�สุด (0.082) คาMAPE (0.342) คือแบบจำ�ลองAR(1) AR(2)AR(3)AR(4) MA(1)MA(2)MA(3)MA(4)MA(5)MA(6)และGARCH-M(1,1) จาก การวิเคราะหการพยากรณมลู คาหนวยลงทุนกองทุนเปดบัวหลวงหุน ระยะยาว (B-LTF) ทีไ่ ดจากแบบจำ�ลอง พบวา คาจริงและคาพยากรณทไี่ ดมแี นวโนมไปในทิศทางเดียวกัน ตารางที่ 10. ค า สถิ ติ จ ากกการพยากรณ มู ล ค า หน ว ยลงทุ น กองทุ น เป ด บั ว หลวง หุนระยะยาว แบบจำ�ลอง

RMSE

MAPE

AR(1)AR(2)AR(3)AR(4)AR(5)AR(6) MA(1)MA(2)MA(3)MA(4) MA(5)MA(6)MA(7) และ GARCH(1,1)

0.095

0.345

AR(1)AR(2)AR(3)AR(4)AR(5)AR(6) MA(1)MA(2)MA(3)MA(4) MA(5)MA(6)MA(7) และ EGARCH(1,1)

0.091

0.332

AR(1)AR(2)AR(3)AR(4)AR(5)AR(6) MA(1)MA(2)MA(3)MA(4) MA(5)MA(6)MA(7) และ GARCH-M(1,1)

0.082

0.342

ที่มา: จากการคำ�นวณ

ตารางที่ 11. ผลพยากรณมูลคาหนวยลงทุนกองทุนเปดบัวหลวงหุนระยะยาว วันที่ 6 มกราคม 2012 9 มกราคม 2012 10 มกราคม 2012 11 มกราคม 2012 12 มกราคม 2012

มูลคาหนวยลงทุน (จริง) 20.8817 21.0741 21.1347 21.0933 21.1798

ที่มา: จากการคำ�นวณ

88

มูลคาหนวยลงทุน (พยากรณ) 20.8358 20.9386 21.1570 21.1725 21.1019


การประมาณคาความผันผวนและการพยากรณมูลคากองทุนรวมหุนระยะยาว สุรชัย จันทรจรัส และลัดดาวรรณ อาจพรม

สรุปผลและขอเสนอแนะ จากการศึกษาลักษณะความผันผวนของของมูลคาของกองทุนหุน ระยะยาวของ ธนาคารไทยพาณิชย ธนาคารกสิกรไทย และธนาคารกรุงเทพ เพือ่ ทดสอบหาแบบจำ�ลอง ที่ เ หมาะสมที่ จ ะใช ป ระมาณค า ความผั น ผวนและพยากรณ มู ล ค า หน ว ยลงทุ น ของ กองทุนในอนาคต โดยนำ�แนวคิดจากแบบจำ�ลอง ARIMA-GARCH เขามาใชในการศึกษา โดยมีขอสรุปดังตอไปนี้ การประมาณคาความผันผวน และการพยากรณมูลคาหนวยลงทุนกองทุนเปด ไทยพาณิชยหุนระยะยาวปนผล 70/30 พบวาแบบจำ�ลองที่เหมาะสมที่สุด ซึ่งไดจาก การเปรียบเทียบคา RMSE ที่ต่ำ�ที่สุด คือแบบจำ�ลอง AR(1) AR(2)AR(3)AR(4)AR(5) AR(6) MA(1)MA(2)MA(3)MA(4)MA(5)MA(6)MA(7) ดังนั้น จึงไดนำ�แบบจำ�ลอง ดังกลาวไปทำ�การพยากรณมูลคาหนวยลงทุนลวงหนาในอนาคตและสามารถประมาณ คาความผันผวน ตั้งแตวันที่ 6 มกราคม 2555 ถึงวันที่ 12 มกราคม 2555 ไดมูลคา หนวยลงทุนที่พยากรณไดคือ 13.818, 13.796, 13.889, 13.971 และ 13.931 คา ความผันผวนที่ไดคือ -0.003, 0.007, 0.005, -0.002 และ 0.000 การประมาณคาความผันผวนและพยากรณมูลคาหนวยลงทุนกองทุนเปดเค 70:30 หุนระยะยาวปนผล ในการทดสอบ unit root ของมูลคาหนวยลงทุนกองทุน เปดเค 70:30 หุนระยะยาวปนผล พบวาแบบจำ�ลองที่เหมาะสมที่สุด ซึ่งไดจากการ เปรียบเทียบคา RMSE ที่ต่ำ�ที่สุด คือแบบจำ�ลอง AR(1)AR(2)AR(3)AR(4) MA(1) MA(2)MA(3)MA(4)MA(5)MA(6) และEGARCH(1,1) ดังนั้นจึงไดนำ�แบบจำ�ลอง ดังกลาวไปทำ�การพยากรณมูลคาหนวยลงทุนลวงหนาในอนาคตและสามารถประมาณ คาความผันผวน ตั้งแตวันที่ 6 มกราคม 2555 ถึงวันที่ 12 มกราคม 2555 ไดมูลคา หนวยลงทุนทีพ่ ยากรณไดคอื 13.957, 13.972, 14.031, 14.135, 14.097 คาความผันผวน ที่ไดคือ -0.002, 0.004, 0.006, -0.001 และ 0.001 การประมาณคาความผันผวนและพยากรณมูลคาหนวยลงทุนกองทุนเปดเคหุน ระยะยาว พบวาแบบจำ�ลองที่เหมาะสมที่สุด ซึ่งไดจากการเปรียบเทียบคา RMSE ที่ ต่ำ � ที่ สุ ด คื อ แบบจำ � ลอง AR(1)AR(2)AR(3)AR(4)AR(5)AR(6) MA(1)MA(2) MA(3)MA(4)MA(5)MA(6)MA(7) และ GARCH(1,1) ดังนั้น จึงไดนำ�แบบจำ�ลอง ดังกลาวไปทำ�การพยากรณมูลคาหนวยลงทุนลวงหนาในอนาคตและสามารถประมาณ คาความผันผวน ตั้งแตวันที่ 6 มกราคม 2555 ถึงวันที่ 12 มกราคม 2555 ไดมูลคา หนวยลงทุนที่พยากรณไดคือ 20.299, 20.267, 20.427, 20.588 และ 20.621 คา ความ ผันผวนที่ไดคือ -0.005, 0.006, 0.007, -0.002 และ -0.002

89


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

การประมาณคาความผันผวนและพยากรณมู ล คาหนว ยลงทุน กองทุน เปด บัวหลวงหุนระยะยาว พบวาแบบจำ�ลองที่เหมาะสมที่สุด ซึ่งไดจากการเปรียบเทียบ คา RMSE ที่ต่ำ�ที่สุด คือแบบจำ�ลอง AR(1)AR(2)AR(3)AR(4)AR(5)AR(6) MA(1) MA(2)MA(3)MA(4)MA(5)MA(6)MA(7) และ GARCH-M(1,1) ดังนั้น จึงไดนำ� แบบจำ �ลองดังกลาวไปทำ�การพยากรณมูลคาหนวยลงทุนลวงหนาในอนาคตและ สามารถประมาณคาความผันผวน ตั้งแตวันที่ 6 มกราคม 2555 ถึงวันที่ 12 มกราคม 2555 ไดมูลคาหนวยลงทุนที่พยากรณไดคือ 20.836, 20.939, 21.157, 21.173 และ 21.102 คาความผันผวนที่ได -0.001, 0.006, -0.001, -0.004 และ 0.003 จากผลการศึกษาจะเห็นไดวาแบบจำ�ลองที่เหมาะสมในการพยากรณมูลคา หนวยลงทุนแตละกองนัน้ เปนแบบจำ�ลองทีแ่ ตกตางกันขึน้ อยูก บั ลักษณะการเคลือ่ นไหว ของมูลคาหนวยลงทุนแตละกองทุน ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของภาณุรณ ฉัตรชัย การ (2551) โดยแบบจำ�ลองที่เหมาะสมนั้นสามารถพยากรณมูลคาหนวยลงทุน แตละกองไดใกลเคียงกับมูลคาหนวยลงทุนจริง ซึ่งแสดงใหเห็นวานักลงทุนสามารถ เก็งกำ�ไรจากการลงทุนได แตเปนเพียงกำ�ไรในระยะสั้นเทานั้น อยางไรก็ตามการ พยากรณโดยใชแบบจำ�ลอง GARCH นั้นเปนการพยากรณที่ไมไดคำ�นึงถึงปจจัย ภายนอก เชน ความไมแนนอนทางเศรษฐกิจ การเมือง และภัยธรรมชาติตางๆ ซึ่งลวน เปนปจจัยที่สงผลตอมูลคาหนวยลงทุนในกองทุนรวมหุนระยะยาวที่ลงทุนในตลาดทุน แตเปนการพยากรณที่ขึ้นอยูกับคาสังเกตและคาความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นกอนหนานี้ เทานั้น จึงเปนขอจำ�กัดในการอธิบายพฤติกรรมการเคลื่อนไหวของตัวแปรราคา ดังนั้น ในการศึกษาครั้งตอไปควรมีการวิเคราะหปจจัยภายนอกรวมดวย 



90




การประมาณคาความผันผวนและการพยากรณมูลคากองทุนรวมหุนระยะยาว สุรชัย จันทรจรัส และลัดดาวรรณ อาจพรม

เอกสารอางอิง ภาษาไทย ฐานัสต อานนทกจิ พานิช และสุรชัย จันทรจรัส. (2552). การทดสอบประสิทธิภาพของ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย. วารสารวิจัย มข. (ฉบับบัณฑิตศึกษา) 9 (1) : 174-181. ธนัยวงศ กีรติวานิชย และ ภัสรา ชวาลกร. (2547). รูวิเคราะหเจาะเรื่องกองทน รวม. กรุงเทพฯ: อัมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง. บุษบา คงปญญากุล. (2553). ผลการวิจยั ผูม ศี กั ยภาพในการลงทุนในตลาดหลักทรัพย ไทย (Potential Investor Survey). SET Research Note 1: 1-7. ภวิษฐพร วงศศกั ดิ.์ (2549). การวิเคราะหความเสีย่ งและผลตอบแทนของกองทุน รวมที่ลงทุนในตางประเทศ. การคนควาแบบอิสระ ปริญญาเศรษฐศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม. ภาณุรณ ฉัตรชัยการ. (2551). การประมาณคาความผันผวนและพยากรณมูลคา กองทุนเพื่อการเลี้ยงชีพและหุนระยะยาวโดยใชแบบจำ�ลองอารีมา-การช และอารีมา-อีการช. การคนควาแบบอิสระ ปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม. วรัณญา นวะมะรัตน. (2550). การลงทนในกองทุนรวม. การคนควาแบบอิสระ ปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัย เชียงใหม. วิธาน เจริญผล. (2549). 30 ป ลงทุนสินทรัพยไทยประเภทใดใหผลตอบแทนสูงสุด. กรุงเทพฯ: ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย. สมาคมบริษัทจัดการลงทุน. (2554). มูลคาทรัพยสินสุทธิกองทุนรวม RMF และ กองทุนรวม LTF. [ออนไลน]. สืบคนเมือ่ 4 กรกฎาคม 2554. จาก http://www. aimc.or.th/21_infostats_nav.php. ภาษาอังกฤษ Baillie, R. T. and Bollerslev, T. (1992). Prediction in dynamic models with timedependent conditional variances. Journal of Econometrics 52 (1-2) : 91-113. Dickey, D. A. and Fuller, W. A. (1979). Distribution of the estimators for autoregressive time series with a unit root. Journal of the American

91


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

Statistical Association 74 (366) : 427-431. Enders, W. (2004). Applied econometric time series. 2nd ed. Chichester: John Wiley and Sons. Goyal, A. (2000). Predictability of stock return volatility from GARCH model. [Online]. Retrieved July 4, 2011. from http://www.hec.unil.ch/ agoyal/docs/Garch.pdf. Gugarati, D. N. and Porter, D. C. (2009). Basic econometrics. 5th ed. New York: McGraw-Hill. MacKinnon, J. G. (1991). “Critical values for cointegration tests.” In Engle, R. F. and Granger, C. W. J., ed. Long-run economic relationships: Readings in cointegration. Oxford: Oxford University Press : 267-276. Najand, M. (2002). Forecasting stock index futures price volatility: linear vs. nonlinear models. The Financial Review 37 : 93-104.

92


การศึกษาอัตลักษณทองถิ่นประจำ�ภาคเหนือตอนลาง เพื่อการ ออกแบบเรขศิลปบนบรรจุภัณฑของที่ระลึก A Study of Local Identity of The Lower Northern of Thailand for Graphic Design on Souvenir Package ทินวงษ รักอิสสระกุล และธัญญธร อินทรทาฉาง 1 Tinnawong Rakisarakul and Thanyathon Intachang บทคัดยอ การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาอัตลักษณทองถิ่นประจำ�ภาคเหนือ ตอนลาง เพือ่ เปนแนวทางในการสรางรูปแบบเรขศิลปบนบรรจุภณ ั ฑของทีร่ ะลึกประจำ� ภาคเหนือ กลุม ตัวอยางทีใ่ ชในการวิจยั คือ ลูกคาหรือนักทองเทีย่ ว โดยวิธกี ารสุม ตัวอยาง แบบแบงกลุม 9 จังหวัด และวิธกี ารสุม แบบบังเอิญในรอบ 3 สัปดาห จำ�นวน 100 คน เครือ่ งมือทีใ่ ชในการวิจยั ประกอบดวย แบบสอบถามเชิงสำ�รวจเกีย่ วกับอัตลักษณทอ งถิน่ ภาคเหนือตอนลาง แบบสำ�รวจความพึงพอใจชุดรูปแบบเรขศิลปภาคเหนือตอนลาง และ แบบประเมินประสิทธิภาพชุดรูปแบบเรขศิลปภาคเหนือตอนลาง วิเคราะหขอ มูลดวยการ หาคาความถี่ คารอยละ และสวนเบีย่ งเบนมาตรฐาน ผลการวิจยั พบวา 1.) อัตลักษณประจำ�ภาคเหนือตอนลาง ควรสือ่ ถึงสถานทีท่ อ งเทีย่ วทางศาสนา วัด วิหาร อุทยานแหงชาติ และโบราณสถานทางประวัตศิ าสตร, เทศกาลงานประเพณี, ภาษาพูด, การแตงกาย, คำ�ขวัญ และสินคาพืน้ เมืองของทีร่ ะลึก ตามลำ�ดับ 2.) การวิเคราะหความเชือ่ มโยงขอมูลระหวางจังหวัดในภาคเหนือตอนลางทีน่ กั ทองเทีย่ วนึกถึงมากทีส่ ดุ กับจังหวัดทีอ่ ยากมีสว นรวมงานมากทีส่ ดุ ไมมคี วามสัมพันธกนั กลาวคือ ประเพณีตักบาตรเทโว จังหวัดอุทัยธานี มีนักทองเที่ยวอยากรวมงานมากที่ สุดแตมีผูนึกถึงนอยที่สุด แสดงใหเห็นวาเทศกาลงานประเพณีไมมีผลตอการจดจำ�หรือ ระลึกถึง แตขนาดและความเจริญทางกายภาพมีผลตอการสรางความจดจำ�ไดดกี วา

__________________ 1 อาจารย ป ระจำ � สาขาวิ ช าการออกแบบบรรจุ ภั ณ ฑ คณะสถาป ต ยกรรมศาสตร แ ละ การออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปที่ 33(1) : 93-110, 2556


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

3.) การออกแบบชุดรูปแบบเรขศิลปภาคเหนือตอนลาง ไดแรงบันดาลใจ การออกแบบมาจากสายน้�ำ แหงชีวติ 4.) ประสิทธิภาพของการออกแบบชุดรูปแบบเรขศิลปภาคเหนือตอนลาง ภาพรวม อยูในเกณฑมาก แบงออก เปนรายดาน คือ สีฟาและเขียวสามารถบงบอกและสื่อถึง ความเปนภาคเหนือตอนลาง, ภาพรวมเหมาะสมกับการนำ�ไปประยุกตใชในการออกแบบ บรรจุภณ ั ฑของทีร่ ะลึกอยูใ นเกณฑมาก, รูปแบบสามารถสือ่ สารแนวทางอัตลักษณทอ งถิน่ ภาคเหนือตอนลาง, ขนาดสัดสวนสัมพันธกบั การมองและการยอขยายอยูใ นเกณฑมาก และลวดลายสามารถบงบอกและสือ่ ถึงความเปนภาคเหนือตอนลางอยูใ นเกณฑมาก ตาม ลำ�ดับ คำ�สำ�คัญ: 1. อัตลักษณ. 2. ภาคเหนือตอนลาง. 3. เรขศิลป. 4. บรรจุภัณฑ. Abstract The purpose of this research was to study the local identity of lower northern Thailand for graphic design on souvenir package. The sample group was 100 customers or tourists grouped by cluster sampling into nine provinces and carried out for three weeks. The instruments used in this study consisted of a survey questionnaire on the local identity of lower northern Thailand, a satisfaction survey form of the graphic design, and an efficiency evaluation form of the graphic design. Data were analyzed by frequency, percentage and standard deviation. The results found were as follows: 1.) Local identity of lower northern Thailand conveyed religious tourist attractions, temples, chapels, national parks, historical sites, traditional festivals, spoken languages, costumes, mottos, and local souvenirs respectively. 2.) For the data analysis thinking, there was no correlation between the most prominent province and the most visited province. To exemplify this, the “Tak Bat Devo” in Uthai Thani province was the least-in-attendance festival; however, tourists would like to stopover for it the most. This showed that traditional festivals did not affect the preference of goers whereas provincial size and physical progress did. 3.) Graphic design of lower northern Thailand was inspired by the River of Life.

94


การศึกษาอัตลักษณทองถิ่นประจำ�ภาคเหนือตอนลาง เพื่อการออกแบบเรขศิลปบนบรรจุภัณฑของที่ระลึก ทินวงษ รักอิสสระกุล และธัญญธร อินทรทาฉาง

4.) The overall efficiency of graphic design of lower northern Thailand was at the high level. Other aspects of the graphic design were found that blue and green colors could convey the identity of lower northern Thailand, the application of the graphic design for the souvenir package was appropriate at the high level, the graphic design form could convey local identity ways of lower northern Thailand, the proportion was correlated with vision and scaling at the high level, and the graphic design could convey the identity of lower northern Thailand at the high level respectively. Keywords: 1. Identity. 2. Lower Northern. 3. Graphic. 4. Package.

95


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

บทนำ� อัตลักษณเปนผลรวมของลักษณะเฉพาะของสิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งทำ�ใหสิ่งนั้นเปน ทีร่ จู กั หรือจดจำ�ได ไมใชเปนสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ ตามธรรมชาติ แตเปนสิง่ ทีเ่ กิดจากการสรางของ วัฒนธรรมในชวงเวลาใดเวลาหนึ่ง และวัฒนธรรมก็เปนสิง่ กอสรางทางสังคม นอกจาก นีว้ ฒ ั นธรรมก็ไมใชสง่ิ ทีห่ ยุดนิง่ หรือตายตัว หากแตมรี ปู แบบเปนวงจรทีเ่ รียกวา “วงจรแหง วัฒนธรรม” อัตลักษณทงั้ หลายจึงมีกระบวนการถูกผลิตใหเกิดขึน้ สามารถถูกบริโภคและ ถูกควบคุมจัดการอยูในวัฒนธรรมเหลานั้น และทั้งนี้ยังมีการสรางความหมายผานทาง ระบบของการสรางภาพตัวแทนทีเ่ กีย่ วกับตำ�แหนงแหงหนทางอัตลักษณอนั หลากหลายที่ เลือกใช หรือนำ�เอามาสรางเปนอัตลักษณ (ฉลาดชาย รมิตานนท, 2550 : 1) อัตลักษณ ทองถิน่ เกิดจากสิง่ ตางๆ ทีถ่ กู สรางขึน้ ในแตละจังหวัด เชน ตราสัญลักษณ คำ�ขวัญ ประเพณี การแตงกาย ภาษาที่ใชในการพูด สถานที่ทองเที่ยว ซึ่งสิ่งเหลานี้เปนสิ่งที่สังคมได สรางขึน้ เปนวัฒนธรรมประเพณีทอ งถิน่ ของแตละจังหวัด สุภาพรรณ ขอผล (2539 : 21) กลาววา จังหวัดในภาคเหนือตอนลาง ประกอบ ดวย กำ�แพงเพชร ตาก พิษณุโลก พิจิตร อุตรดิตถ เพชรบูรณ อุทัยธานี สุโขทัย และ นครสวรรค ซึง่ มีศนู ยกลางอยูท พี่ ษิ ณุโลกและนครสวรรค อันเปนศูนยกลางการคมนาคม ทีส่ �ำ คัญมีประวัตคิ วามเปนมาอันยาวนานทีน่ า สนใจ กลาวคือ บริเวณภาค เหนือตอนลาง เคยเปนที่ตั้งของอาณาจักรสองอาณาจักร ไดแก อาณาจักรสุโขทัย และอาณาจักรอยุธยา เปนดินแดนประวัตศิ าสตร ธรรมชาติ สายน้� ำ วัฒนธรรมและประเพณี หากแตมองภาพ ความเปนอัตลักษณหรือสัญลักษณทส่ี �ำ คัญเปนทีจ่ ดจำ�ของนักทองเทีย่ วแลวยังไมสามารถ พูดใหเต็มปากอยางชัดเจนวา เมือ่ พูดถึงภาคเหนือตอนลางแลวนึกถึงอะไร หากไดยนิ แต เปนดินแดนทางผานหรือเปนประตูสูภาคเหนือ ซึ่งตางจากภาคอื่นที่มีภูมิประเทศและ สถานทีเ่ ปน อัตลักษณอยางชัดเจน หากกลาวถึงภาคเหนือจะนึกถึงภูเขา วัฒนธรรมลาน นา ภาคอีสานจะนึกถึงดินแดนปราสาท ภาคใตจะนึกถึงทะเลเปนอัตลักษณทช่ี ดั เจน ผูว จิ ยั จึงมีแนวคิดในการศึกษาอัตลักษณทอ งถิน่ ประจำ�ภาคเหนือตอน ลาง ทั้ง 9 จังหวัด เพื่อ การรวมกลุมสรางความเขมแข็งทางการแขงขัน และพัฒนาการทองเที่ยวผานรูปแบบ เรขศิลปบนบรรจุภณ ั ฑของทีร่ ะลึก ดานลวดลายและสีสนั เปนตนแบบสำ�หรับการออกแบบ เรขศิลปบนบรรจุภณ ั ฑส�ำ หรับนักออกแบบ เนือ่ งจากเรขศิลปเปนสวนหนึง่ ของงานออกแบบ บรรจุภัณฑท่ใี ชในการขายสินคากับการสรางความเขาใจในสินคาสำ�หรับผูซ้อื ในขั้นตน เรขศิลปตอ งทำ�หนาทีด่ งึ ดูดความสนใจลูกคา หลังจากนัน้ ตองใหขอ มูลทีช่ ดั เจนกับลูกคาวา สินคานั้นมีขอเสนอพิเศษอยางไร มีความสำ�คัญในเรื่องของการสรางเอกลักษณของ ผลิตภัณฑและตราสินคา องค ประกอบทางการออกแบบเรขศิลปบนบรรจุภณ ั ฑ ประกอบ ดวย สี รูปราง ตัวอักษร สามารถสงเสริมและบิดเบือนการรับรูผ บู ริโภคตอบรรจุภณ ั ฑของ

96


การศึกษาอัตลักษณทองถิ่นประจำ�ภาคเหนือตอนลาง เพื่อการออกแบบเรขศิลปบนบรรจุภัณฑของที่ระลึก ทินวงษ รักอิสสระกุล และธัญญธร อินทรทาฉาง

สินคาได สิง่ เหลานีจ้ ะสงผลไปยังพฤติกรรมผูบ ริโภคทีม่ ตี อ สินคา นักออกแบบที่มีหนาที่ใน การสรางรูปโฉมของบรรจุภณ ั ฑใหโดดเดน และชีช้ วนใหผบู ริโภคซือ้ นัน้ รวมถึงลักษณะ ทางกายภาพของบรรจุภณ ั ฑ เชน น้�ำ หนัก ขนาด ราคา สิง่ ทีต่ อ งคำ�นึงถึงนัน่ คือ เรขศิลป บนบรรจุภณ ั ฑหรือฉลาก และสิง่ สำ�คัญมากในการออกแบบบรรจุภณ ั ฑ คือ การใชเรขศิลป เพือ่ การสือ่ สารนัน่ เอง (พิทยพนั ธ สิทธิรกั ษ, 2547 : 63) การออกแบบเรขศิลปผา นงาน บรรจุภณ ั ฑของทีร่ ะลึกสินคาโอทอปหาดาวประจำ�จังหวัดภาคเหนือตอนลาง เชน งาชางหิน ออน และผลิตภัณฑเครือ่ งเงินของจังหวัดกำ�แพงเพชร ผาทอลายเกล็ดเตาของจังหวัดตาก ดอกไมและของจิว๋ จากดินไทยของ จังหวัดพิษณุโลก ชุดกาแฟใหญเบญจรงคและหัตถกรรม ผาดนมือของจังหวัดพิจิตร ผาทอลายหมากนัด ผาจกลายน้�ำ ไหล (ผาลอลายโบราณ) ผาซิ่นตีนจกลายภูเขา ผลิตภัณฑผาทอมือฝายและไหม (ผาทอจกทั้งผืน) และผาซิ่น ตีนจกเคี๊ยะไหมยอมสีธรรมชาติของจังหวัดอุตรดิตถ ผาทอชุดมัดหมี่ขยายดอกสอดดิ้น ผามัดหมีเ่ ดีย่ ว ผาฝายจกไหม และแจกันของจังหวัดอุทยั ธานี ผาทอพืน้ เมือง (ลายรุง ลำ�พัน) ผาชุดโตะอาหาร และผาขิดยกดอกของจังหวัดสุโขทัย และชุดเครื่องประดับรางกาย เครือ่ งปน ดินเผาประดับดวยผาพืน้ เมืองนันทรินทร ผาลายสีแ่ ควของจังหวัดนครสวรรค ยังขาดรูปแบบเรขศิลปท่สี รางความนาจดจำ�และแสดงถึงอัตลักษณทองถิ่นประจำ�ภาค ควรไดรบั การพัฒนาสรางความ นาสนใจเพือ่ เปนการสงเสริมการขาย และเผยแพรชอ่ื เสียง ใหเปนทีร่ จู กั และนิยมอยางแพรหลายอีกทางหนึ่ง ผูวิจัยไดก�ำ หนดขอบเขตในการศึกษา ขอมูลเชิงเปรียบเทียบทัง้ 9 จังหวัด เพือ่ คนหาอัตลักษณประจำ�ทองถิน่ ประจำ�ภาคเหนือ ตอนลาง เบือ้ งตนพบวาของทีร่ ะลึกสวนใหญเปนงานหัตถกรรมอันเปนการแสดงออกของ ภูมปิ ญ  ญาทองถิน่ ในรูปแบบผาและเครือ่ งแตงกาย การใชฝม อื แรงงานของสมาชิกชุมชน การถายทอดศิลปะและสวดลายจากบรรพบุรษุ สืบทอดมายังรุน ปจจุบนั การศึกษารูปแบบ เรขศิลปบนบรรจุภัณฑของที่ระลึกทองถิ่นเดิ ม พบว า ยั ง ไม พ บเรขศิ ล ป ที่ เ กิ ด ขึ้ น บน บรรจุภัณฑ นอกจากขอมูลจำ�เพาะที่จำ�ตองแสดงบนฉลากหรือบรรจุภัณฑ

97


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

ภาพที่ 1. ตัวอยางสินคาโอทอปหาดาว ประจำ�จังหวัดภาคเหนือตอนลาง (ที่มา: http://www.otop5star.com)

การวิจัยในครั้งนี้ ผูวิจัยมีวัตถุประสงคในการวิจัย ดังนี้ (1) เพื่อศึกษาอัตลักษณทองถิ่นประจำ�ภาคเหนือตอนลาง (2) เพื่อเปนแนวทางในการสรางรูปแบบเรขศิลปบนบรรจุภัณฑของที่ระลึก ประจำ�ภาคเหนือตอนลาง ขั้นตอนการวิจัย ประกอบดวย (1) การสำ�รวจขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับสภาพความคิดเห็นดานอัตลักษณทองถิ่น ประจำ�ภาคเหนือตอนลาง จากเอกสาร ตำ�รา งานวิจัยที่เกี่ยวของ และบันทึกภาคสนาม (2).การออกแบบพัฒนาและสรางชุดรูปแบบเรขศิลปภาคเหนือตอนลาง (3) การทดสอบความพึงพอใจ จากกลุมตัวอยางในพื้นที่ (4) การประเมินประสิทธิภาพชุดรูปแบบเรขศิลปภาคเหนือตอนลาง จากผูทรง คุณวุฒิดานการออกแบบ (5) การสรุปผลและวิเคราะห คาสถิติเบื้องตน ในรูปแบบตารางและอธิบาย

98


การศึกษาอัตลักษณทองถิ่นประจำ�ภาคเหนือตอนลาง เพื่อการออกแบบเรขศิลปบนบรรจุภัณฑของที่ระลึก ทินวงษ รักอิสสระกุล และธัญญธร อินทรทาฉาง

ผลการศึกษา ผลการวิเคราะหขอ มูลความคิดเห็นเกีย่ วกับอัตลักษณทอ งถิน่ ภาคเหนือ ตอนลาง ผูวิจัยดำ�เนินศึกษาขอมูลเบื้องตนจากเอกสาร ตำ�รา งานวิจัยที่เกี่ยวของ และ บันทึกภาคสนามดวยการออกแบบและสรางแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับอัตลัก ษณทองถิ่นภาคเหนือตอนลาง สรุปเปนหัวขอประเด็นเพื่อใหกลุมตัวอยาง คือ ลูกคา หรือนักทองเที่ยว โดยวิธีการสุมตัวอยางแบบกลุม (Cluster sampling) 9 จังหวัด และ วิธกี ารสุม แบบบังเอิญ (Accidental Sampling) ในรอบ 3 สัปดาห จำ�นวน 100 คน แสดง ความคิดเห็นเกีย่ วกับอัตลักษณของภาคเหนือตอนลาง (ดังขอมูลอภิปรายผล ตารางที่ 1-2) การวิ เ คราะห ข  อ มู ล แบบสอบถามเชิ ง สำ � รวจความคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ อั ต ลั ก ษณทองถิ่นภาคเหนือตอนลางเพื่อ นำ�ขอมูลความคิดเห็นที่ไดรับทั้งหมดเปนแนวทาง สูก ารออกแบบเรขศิลป จำ�นวน 1 ชุด ประกอบดวย 2 ตอน คือ ตอนที่ 1 ขอมูลสถานภาพทั่วไป ตอนที่ 2 ขอมูลภาคเหนือตอนลาง ตารางที่ 1. แสดงคารอยละของสถานภาพทั่วไป (n = 100) รายการ 1. เพศ - ชาย - หญิง 2. อายุ - 15-20 ป - 21-25 ป - 26-30 ป - 31-35 ป - 36-40 ป - 41 ปขึ้นไป 3. สถานภาพ - โสด - สมรส

รอยละ 51 49 20 36 7 3 8 26 73 27

99


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

4. ระดับการศึกษา - ต่ำ�กวาปริญญาตรี - ปริญญาตรี - ปริญญาโท - ปริญญาเอก 5. อาชีพ - นักเรียน / นักศึกษา - คาขาย - ขาราชการ - พนักงานบริษัท - พนักงานรัฐวิสาหกิจ - แมบาน/พอบาน 6. รายไดเฉลี่ยตอเดือน - ต่ำ�กวา 3,000 บาท - 3,000-5,000 บาท - 5,001-10,000 บาท - 10,001-20,000 บาท - 20,001-30,000 บาท - 30,000 บาทขึ้นไป รวม

39 61 30 19 16 10 5 20 17 6 25 20 25 7 100

จากตารางที่ 1 พบวาสถานภาพทัว่ ไปของผูต อบแบบสอบถามจากจำ�นวน 100 คน แสดงรายละเอียดดังนี้ ผูต อบแบบสอบถามเปนเพศชาย รอยละ 51 และเพศหญิง รอยละ 49, อายุ 21-25 ป รอยละ 36 รองลงมา 41 ปขน้ึ ไป รอยละ 26 และ 15-20 ป รอยละ 20, สถานภาพโสด รอยละ 73 และ สมรส รอยละ 27, ระดับการศึกษาปริญญาตรี รอยละ 61 รอง ลงมาต่�ำ กวาปริญญาตรี รอยละ 39, อาชีพนักเรียน/นักศึกษา รอยละ 30 รองลงมาแมบา น/ พอบาน รอยละ 20 และคาขาย รอยละ 19, รายไดเฉลีย่ ตอเดือน 5,001-10,000 และ 20,00130,000 บาท รอยละ 25, รองลงมา 10,001-20,000 บาท รอยละ 20 และ 30,000 บาทขึน้ ไป รอยละ 7 ตามลำ�ดับ

100


การศึกษาอัตลักษณทองถิ่นประจำ�ภาคเหนือตอนลาง เพื่อการออกแบบเรขศิลปบนบรรจุภัณฑของที่ระลึก ทินวงษ รักอิสสระกุล และธัญญธร อินทรทาฉาง

ตารางที่ 2. แสดงคารอยละของเกีย่ วกับความคิดเห็นทีม่ ตี อ ภาคเหนือตอนลาง (n=100) รายการ รอยละ / ความถี่ 1. ทานทราบขอมูลหรือรูจ กั จังหวัดภาคเหนือตอนลางใดบาง (เลือกตอบไดมากกวา 1 ตัวเลือก) - กำ�แพงเพชร 42 - เพชรบูรณ 43 - อุทัยธานี 22 - อุตรดิตถ 29 - พิษณุโลก 54 - ตาก 39 - นครสวรรค 48 - สุโขทัย 51 - พิจิตร 34 2. หากกลาวถึงจังหวัดภาคเหนือตอนลางทานจะนึกถึงจัง หวัดใดเปนอับดับแรก - กำ�แพงเพชร 13 - เพชรบูรณ 12 - อุทัยธานี 2 - อุตรดิตถ 7 - พิษณุโลก 21 - ตาก 7 - นครสวรรค 19 - สุโขทัย 15 - พิจิตร 4 3. หากกลาวถึงจังหวัดภาคเหนือตอนลางทานจะนึกถึงสิ่ง ใดเปนลำ�ดับแรก - คำ�ขวัญ - ภาษาพูด - เทศกาลงานประเพณี - สถานที่ทองเที่ยว - การแตงกาย - สินคาพื้นเมืองของที่ระลึก

101

5 22 25 38 9 1


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

4. ทานเดินทางสูจังหวัดภาคเหนือตอนลางดวยวิธีใดบาง (เลือกตอบไดมากกวา 1 ตัวเลือก) - รถประจำ�ทางหรือขนสงมวลชน - รถไฟ - รถยนตสวนตัว 5. สถานที่ทองเที่ยวใดที่ทานนิยมไปในจังหวัดภาคเหนือ ตอนลาง (เลือกตอบไดมากกวา 1 ตัวเลือก) - อุทยานแหงชาติ - วัด/วิหาร - น้ำ�ตก - ถ้ำ� - โบราณสถาน - พิพิธภัณฑ 6. เทศกาลงานประเพณีใดในจังหวัดภาคเหนือตอนลางที่ ทานอยากไปรวมงานมากที่สุด - ตักบาตรเทโว (อุทัยธานี) - ลอยกระทง เผาเทียน เลนไฟ (สุโขทัย) - งานสารทกลวยไข (กำ�แพงเพชร) - กวยสลาก (ตาก) - แหมังกร (นครสวรรค) - อุมพระดำ�น้ำ� (เพชรบูรณ) - แขงเรือยาว (พิษณุโลก) - แหน้ำ�ขึ้นโรง (อุตรดิตถ) - แขงเรือประเพณี (พิจิตร) 7. สินคาพื้นเมืองที่ทานนิยมซื้อมากที่สุด - อาหาร - ผลิตภัณฑตกแตงบาน - ผลไม - ผาซิ่น - พระเครื่อง - เครื่องปนดินเผา 8. ทานนิยมซื้อสินคาเพื่อวัตถุประสงคใด - ใชสวนตัว/ครอบครัว - ของฝากหรือที่ระลึก

102

53 27 73 34 36 17 5 21 8

26 24 10 2 5 12 16 1 4 59 13 7 7 5 9 42 58


การศึกษาอัตลักษณทองถิ่นประจำ�ภาคเหนือตอนลาง เพื่อการออกแบบเรขศิลปบนบรรจุภัณฑของที่ระลึก ทินวงษ รักอิสสระกุล และธัญญธร อินทรทาฉาง

จากตารางที่ 2 พบวาสถานภาพทัว่ ไปของผูต อบแบบ สอบถามจากจำ�นวน 100 คน แสดงรายละเอียดดังนี้ - จังหวัดภาคเหนือตอนลางทีม่ คี นทราบขอมูลและรูจ กั มากทีส่ ดุ คือ จังหวัดพิษณุโลก (54 คน), สุโขทัย (51 คน), นครสวรรค (48 คน), เพชรบูรณ (43 คน), กำ�แพงเพชร (42 คน), ตาก (39 คน), พิจติ ร (34 คน), อุตรดิตถ (29 คน), อุทยั ธานี (22 คน) ตามลำ�ดับ - จังหวัดภาคเหนือตอนลางทีม่ ผี นู กึ ถึงมากทีส่ ดุ เปนลำ�ดับแรก คือ จังหวัดพิษณุโลก (รอยละ 21), นครสวรรค (รอยละ 19), สุโขทัย (รอยละ 15), กำ�แพงเพชร (รอยละ 13), เพชรบูรณ (รอยละ 12), อุตรดิตถ และตาก (รอยละ 7), พิจิตร (รอยละ 4) และอุทัยธานี (รอยละ 2) ตามลำ�ดับ - สิง่ ทีน่ กึ ถึงเปนลำ�ดับแรกเมือ่ กลาวถึงภาคเหนือตอนลาง คือ สถานทีท่ อ งเทีย่ ว (รอยละ 38), เทศกาลงานประเพณี (รอยละ 25), ภาษาพูด (รอยละ 22), การแตงกาย (รอยละ 9), คำ�ขวัญ (รอยละ 5) และสินคาพืน้ เมืองของทีร่ ะลึก (รอยละ 1) ตามลำ�ดับ - นักทองเที่ยวสวนใหญเดินทางดวยรถยนตสวนตัวมากที่สุด (73 คน) รองลง มาเปนรถประจำ�ทาง (53 คน) หรือขนสงมวลชน และรถไฟ (27 คน) ตามลำ�ดับ - เทศกาลงานประเพณีทน่ี กั ทองเทีย่ วอยากรวมงานมากทีส่ ดุ คือ ประเพณีตกั บาตร เทโว ทีจ่ งั หวัดอุทยั ธานี (รอยละ 26) รองลงมาคือ ลอยกระทง เผาเทียน เลนไฟ ที่จังหวัด สุโขทัย (รอยละ 24) และแขงเรือยาวที่จังหวัดพิษณุโลก (รอยละ 16) ตามลำ�ดับ - สินคาพืน้ เมืองทีน่ กั ทองเทีย่ วนิยมซือ้ มากทีส่ ดุ คือ อาหาร (รอยละ 59) รองลง มาคือ ผลิตภัณฑของตกแตงบาน (รอยละ 13) และเครือ่ งปน ดินเผา (รอยละ 9) ตามลำ�ดับ สรุปภาพรวม กลาวคือ จังหวัดภาคเหนือตอนลางทีม่ คี นรูจ กั และนึกถึงมากทีส่ ดุ คือ จังหวัดพิษณุโลก โดยมีสถานทีท่ อ งเทีย่ วเปนทีน่ า จดจำ� การเดินทางสวนใหญเดินทาง ดวยรถยนตสวนตัว ตักบาตรเทโว ที่จังหวัดอุทัยธานีเปนประเพณีที่รูจักมากที่สุด นักทองเที่ยวนิยมซื้ออาหาร และนำ�มาเปนของฝากหรือของที่ระลึก การออกแบบพัฒนาและสรางชุดรูปแบบเรขศิลปภาคเหนือตอนลาง ผูวิจัยดำ�เนินการสรุปขอคิดเห็นเกี่ยวกับอัตลักษณทองถิ่นภาคเหนือตอนลางจา กกลุม ตัวอยางมาเปนแนวความคิดถายทอดเปนผลงานการออกแบบชุดรูปแบบเรขศิลป จำ�นวน 5 รูปแบบ ตามภาพและแนวความคิดดังรายละเอียดตอไปนี้

103


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

ภาพที่ 2. แสดงภาพการคลี่คลายจากภาพรูปธรรมสูนามธรรม ชุด “พลังศรัทธา (Faithful)” สือ่ ถึง ความเชือ่ ความศรัทธา ความเคารพ นบนอม ความคาดหวัง และอนาคต

ภาพที่ 3. แสดงภาพการคลี่คลายจากภาพรูปธรรมสูนามธรรม ชุด“สายน้ำ�แหงชีวิต (Water of Life)” สื่อถึงจุดกำ�เนิดของชีวิต สายน้ำ� ความเย็นสงบ ชีวิต การเจริญเติบโต

104


การศึกษาอัตลักษณทองถิ่นประจำ�ภาคเหนือตอนลาง เพื่อการออกแบบเรขศิลปบนบรรจุภัณฑของที่ระลึก ทินวงษ รักอิสสระกุล และธัญญธร อินทรทาฉาง

ภาพที่ 4. แสดงภาพการคลี่คลายจากภาพรูปธรรมสูนามธรรม ชุด“อิฐแดง (Red Brick)” สื่อถึงโบราณ สถานและโบราณวัตถุที่เปนสิ่งสักการะและเปนที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ ความบริสุทธิ์ ผองใส เบิกบาน และความมั่นคง

ภาพที่ 5. แสดงภาพการคลี่คลายจากภาพรูปธรรมสูนามธรรม ชุด “วัฒนธรรม (Culture)” สื่อถึง ความเปนอยูอยางเรียบงาย การคมนาคมทางน้ำ� การพายเรือ การสัญจรที่แสนสงบ ความรมเย็นในสายน้ำ� 105


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

ภาพที่ 6. แสดงภาพการคลี่คลายจากภาพรูปธรรมสูนามธรรม ชุด“กสิกรรม (Agriculture)” สื่อถึง อาชีพหลักของชาวนาในภาคเหนือตอนลางที่ปลูกขาวเปนสินคาเศรษฐกิจหลักในการ หลอเลี้ยงชีพของคนไทย

ผลการวิเคราะหขอมูลความพึงพอใจชุดรูปแบบเรขศิลปภาคเหนือตอนลาง ผูวิจัยดำ�เนินการเก็บขอมูลจากกลุมตัวอยางที่มีตอความพึงพอใจชุดรูปแบบ เรขศิลปภาคเหนือตอนลางซึ่งเปนผูประกอบการของที่ระลึกจังหวัดภาคเหนือตอน ลาง และลูกคาหรือนักทองเที่ยว โดยวิธีการสุมตัวอยางแบบกลุม (Cluster sampling) 9 จังหวัด และวิธีการสุมแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) ในรอบ 3 สัปดาห จำ�นวน 100 คน แสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับอัตลักษณของภาคเหนือตอนลาง (ดังขอมูล อภิปรายผล ตารางที่ 3)

106


การศึกษาอัตลักษณทองถิ่นประจำ�ภาคเหนือตอนลาง เพื่อการออกแบบเรขศิลปบนบรรจุภัณฑของที่ระลึก ทินวงษ รักอิสสระกุล และธัญญธร อินทรทาฉาง

ตารางที่ 3. แสดงคารอยละของความพึงพอใจชุดรูปแบบเรขศิลปภาคเหนือตอนลาง (n = 100) รายการ รูปแบบที่ 1 : พลังศรัทธา (Faithful) รูปแบบที่ 2 : สายน้ำ�แหงชีวิต (Water of Life) รูปแบบที่ 3 : อิฐแดง (Red Brick) รูปแบบที่ 4 : วัฒนธรรม (Culture) รูปแบบที่ 5 : กสิกรรม (Agriculture)

รอยละ 10 47 13 8 22

จากตารางที่ 3 พบวากลุม ตัวอยางมีความพึงพอใจชุดรูปแบบเรขศิลปภาคเหนือ ตอนลางรูปแบบที่ 2 มากที่สุด คือ จำ�นวน 47 คน (รอยละ 47) รองลงมา รูปแบบที่ 5 จำ�นวน 22 คน (รอยละ 22) และรูปแบบที่ 3 จำ�นวน 13 คน (รอยละ 13) ตามลำ�ดับ ผลการวิเคราะหขอมูลประเมินประสิทธิภาพชุดรูปแบบเรขศิลปภาคเหนือตอน ลาง จากรูปแบบทีก่ ลุม ตัวอยางสวนใหญเปนผูค ดั เลือก ผูว จิ ยั ดำ�เนินการสรุปแนวทาง การออกแบบเรขศิลปภาค เหนือตอนลางในชือ่ ชุดรูปแบบ “สายน้�ำ แหงชีวติ (Water of Life)” และประเมินประสิทธิภาพดวยเครือ่ งมือแบบประเมินประสิทธิภาพแบบคาคะแนน โดยผูทรงคุณวุฒิทางการออกแบบ

107


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

ตารางที่ 4. แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของประสิทธิภาพชุดรูปแบบ เรขศิลปภาคเหนือตอนลาง (n = 5) รายการ

n1

n2

n3

n4

n5

x

S.D.

(1) รูปแบบสามารถสื่อสารแนวทาง อัตลักษณทองถิ่นภาคเหนือ ตอนลาง

3

4

5

4

3

3.80

0.84

(2) ลวดลายสามารถบงบอกและ สื่อถึงความเปนภาคเหนือ ตอนลาง

4

4

4

3

3

3.60

0.55

(3) สีสามารถบงบอกและสื่อถึง ความเปนภาคเหนือตอนลาง

4

5

5

3

5

4.40

0.89

(4) ขนาดสัดสวนสัมพันธกับการ มองและการยอขยาย

3

4

4

4

4

3.80

0.45

(5) ภาพรวมเหมาะสมกับการนำ�ไป ประยุกตใชในการออกแบบ บรรจุภัณฑของที่ระลึก

4

5

5

4

4

4.40

0.55

X

3.60 4.40

4.60

3.60

3.80

4.00

S.D.

0.55 0.55

0.55

0.55

0.84

จากตารางที่ 4 พบวาผูเชี่ยวชาญประเมินประสิทธิภาพรูปแบบเรขศิลปภาค เหนือตอนลาง ภาพรวมมีความคิดเห็นวาสัมพันธกบั อัตลักษณทอ งถิน่ อยูใ นเกณฑมาก ( = 4.00) รายขอสีสามารถบงบอกและสือ่ ถึงความเปนภาค เหนือตอนลาง และภาพรวม เหมาะสมกับการนำ�ไปประยุกตใชในการออกแบบบรรจุภณ ั ฑของทีร่ ะลึกอยูใ นเกณฑมาก ( = 4.40) รูปแบบสามารถสือ่ สารแนวทางอัตลักษณทอ งถิน่ ภาคเหนือตอนลางและ ขนาดสัดสวนสัมพันธกับการมอง และการยอขยายอยูในเกณฑมาก (x = 3.80), และลวดลายสามารถบงบอกและสื่อถึงความเปนภาคเหนือตอนลางอยูในเกณฑมาก ( = 3.60)

108


การศึกษาอัตลักษณทองถิ่นประจำ�ภาคเหนือตอนลาง เพื่อการออกแบบเรขศิลปบนบรรจุภัณฑของที่ระลึก ทินวงษ รักอิสสระกุล และธัญญธร อินทรทาฉาง

สรุปผลการวิจัย (1.) อัตลักษณประจำ�ภาคเหนือตอนลาง ควรสือ่ ถึงสถานทีท่ อ งเทีย่ วทางศาสนา วัด วิหาร อุทยานแหงชาติ และโบราณสถานทางประวัติศาสตร, เทศกาลงานประเพณี, ภาษาพูด, การแตงกาย, คำ�ขวัญ และสินคาพื้นเมืองของที่ระลึก (2.) การวิเคราะหความเชือ่ มโยงขอมูลระหวางจังหวัดภาคเหนือตอนลางทีน่ กึ ถึง มากที่สุด กับจังหวัดที่อยากมีสวนรวมงานมากที่สุด ไมมีความสัมพันธกัน กลาวคือ ประเพณีตักบาตรเทโวที่จังหวัดอุทัยธานี มีคนอยากรวมงานมากที่สุดแตมีผูนึกถึงนอย ทีส่ ดุ แสดงใหเห็นวาเทศกาลงานประเพณีไมมผี ลตอการจดจำ�หรือระลึกถึงของนักทองเทีย่ ว แตขนาดและความเจริญทางกายภาพมีผลตอการสรางความจดจำ�ไดดีกวา (3.) การออกแบบชุดรูปแบบเรขศิลปภาคเหนือตอนลาง รูปแบบที่ 2 ไดแรง บันดาลใจการออกแบบมาจากสายน้ำ�แหงชีวิต ลายเสนโคง สีฟาหรือน้ำ�เงิน (4) ประสิทธิภาพของการออกแบบชุดรูปแบบเรขศิลปภาคเหนือตอนลาง ภาพรว มอยูใ นเกณฑมาก คาเฉลีย่ 4.00 ดานภาพรวมสีสามารถบงบอก และสื่อถึงความเปนภา คเหนือตอนลาง และภาพรวมเหมาะสมกับการนำ�ไปประยุกตใชในการออกแบบบรรจุ ภัณฑของที่ระลึก อยูในเกณฑมาก คาเฉลี่ย 4.40 รองลงมา คือ รูปแบบสามารถสือ่ สาร แนวทางอัตลักษณทอ งถิน่ ภาคเหนือตอนลาง และขนาดสัดสวนสัมพันธกบั การมองและ การยอขยายอยูใ นเกณฑมาก คาเฉลีย่ 3.80 สวนทีน่ อ ยทีส่ ดุ คือ ลวดลายสามารถบงบอก และสือ่ ถึงความเปนภาคเหนือตอนลางอยูในเกณฑมาก คาเฉลี่ย 3.60 



109




วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

บรรณานุกรม กระทรวงมหาดไทย. กรมการพัฒนาชุมชน. (2555). ผลิตภัณฑ OTOP 5 Star. [ออนไลน]. สืบคนเมื่อ 2 ธันวาคม 2553. จาก http://www.otop5star.com/ index.php. ฉลาดชาย รมิตานนท. (2550). อัตลักษณ วัฒนธรรมและการเปลี่ยนแปลง. [ออนไลน]. สืบคนเมื่อ 22 พฤศจิกายน 2553. จาก http://www.soc.cmu. ac.th/wsc/data/Identity. พิทยพนั ธ สิทธิรกั ษ. (2547). มาตรฐานการออกแบบเรขศิลปบนบรรจุภณ ั ฑส�ำ หรับ สมุนไพรไทย. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต คณะศิลปกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. สุภาพรรณ ขอผล. (2539). เอกสารประกอบการสัมมนาของวิชาการ เรื่อง ประวัติศาสตรทองถิ่น : ภาคเหนือตอนลาง คณะมนุษยศาสตรและสังคม ภาควิชาประวัติศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัย นเรศวร.

110


การศึกษาของนักเรียนตางดาวในโรงเรียนรัฐไทย 1 Education of Migrant Students in Thai Public Schools 2 ฐิติมดี อาพัทธนานนท 3 Thithimadee Arphattananon บทคัดยอ บทความนี้รายงานผลจากการวิจัยเกี่ยวกับการศึกษาของนักเรียนตางดาว ในโรงเรียนรัฐไทย ผูวิจัยศึกษานโยบายของรัฐ และ การปฏิบัติของโรงเรียนรวมทั้ง หนวยงานที่เกี่ยวของในการจัดการศึกษาสำ�หรับนักเรียนตางดาวที่เรียนอยูในโรงเรียน ของรัฐในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ผูว จิ ยั ใชระเบียบวิธวี จิ ยั เชิงคุณภาพในการ ศึกษาวิจัย โดยวิธีการเก็บขอมูล คือ การสัมภาษณ การสังเกต และ การศึกษาเอกสาร ที่เกี่ยวของ ผูวิจัยสัมภาษณครู ผูบริหารสถานศึกษา เจาหนาที่ในสำ�นักงานเขตพื้นที่ การศึกษา เจาหนาที่ผูที่เกี่ยวของกับนโยบายการศึกษาของเด็กตางดาวในกระทรวง ศึกษาธิการ ผูปกครองนักเรียนตางดาว เจาหนาที่ขององคกรเอกชน นายจางของ ผูปกครองของตางดาว และนักเรียนตางดาวที่เรียนในโรงเรียนรัฐ จำ�นวนทั้งหมด 40 คน นอกจากนั้นผูวิจัยสังเกตชั้นเรียน และ เยี่ยมบานของนักเรียนตางดาว พื้นที่ใน การทำ�วิจยั คือ จังหวัดระนองและจังหวัดปตตานี ผลการวิจยั พบวาถึงแมรฐั จะมีนโยบาย ใหเด็กตางดาวเขาเรียนในโรงเรียนของรัฐไดโดยไมเสียคาใชจาย แตในทางปฏิบัติรัฐ ไมมกี ารประชาสัมพันธใหผปู กครองชาวตางดาวรูถ งึ นโยบายนี้ นอกจากนัน้ ยังไมมกี าร วางแนวทางปฏิบตั ใิ นการจัดนักเรียนตางดาวใหเขาชัน้ เรียนทีเ่ หมาะสม การจัดการเรียน การสอนสำ�หรับนักเรียนตางดาวยังไมมีการคำ�นึงถึงวัฒนธรรมของนักเรียนตางดาว เทาใดนัก ผลการวิจัยพบวานักเรียนตางดาวที่เรียนในโรงเรียนของรัฐออกกลางคัน

__________________ 1 ได รั บ ทุ น สนั บ สนุ น การวิ จั ย จากสำ � นั ก งานกองทุ น สนั บ สนุ น การวิ จั ย และสำ � นั ก งาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา 2 บางสวนของบทความนี้ตีพิมพครั้งแรกในวารสาร International Journal of Multicultural Education, 14 (1) 3 ผูชวยศาสตราจารยประจำ�ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปที่ 33(1) : 111-130, 2556


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

เปนจำ�นวนมาก จากการวิจัยสรุปไดวาถึงแมรัฐจะมีนโยบายใหเด็กตางดาวเขาเรียน ในโรงเรียนรัฐไดแตในทางปฏิบัติแลวโอกาสทางการศึกษาของนักเรียนตางดาวยังถูก จำ�กัดอยูมาก คำ�สำ�คัญ: 1. เด็กตางดาว. 2. การศึกษา. 3. โรงเรียนรัฐไทย. 4. ประเทศไทย. Abstract This paper reports results of a study that uncovers educational experiences of migrant students who study in Thai public schools. The researcher examines the government’s education policies and the practices of schools and school districts concerning the education of migrant children who studied in primary and secondary schools. The researcher used qualitative research methods such as interview, observation and document examination, to obtain data. The researcher interviewed 40 informants consisting of teachers, administrators, education officers at the national and local levels, migrant parents, non-government officers, employers of migrant workers and migrant students. Classroom observation and house visit were also conducted. The research sites are Ranong and Pattani province. Research result shows that although the Thai government allows migrant children to study in Thai public schools, there are no PR activities to inform migrant parents about this policy. There is no guideline concerning the placement of migrant students into appropriate classroom. The curriculum and instruction are no relevant to the cultures of migrant students. Dropout rates are high. The paper concludes that although the government has a policy to allow migrant children to study in Thai public schools, in practices the educational opportunity of migrant children is still limited. Keywords: 1. Migrant children. 2. Education. 3. Thai Public School. 4. Thailand.

112


การศึกษาของนักเรียนตางดาวในโรงเรียนรัฐไทย ฐิติมดี อาพัทธนานนท

ความนำ� มติคณะรัฐมนตรีเมือ่ วันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 อนุมตั ขิ อ เสนอของกระทรวง ศึกษาธิการเกี่ยวกับระเบียบการรับนักเรียน และระเบียบการใหเงินอุดหนุนนักเรียน สำ�หรับเด็กอพยพตางดาว เด็กไรสัญชาติ และเด็กชนเผาที่ไมมีหลักฐานทางทะเบียน ราษฎร (องคกรแรงงานระหวางประเทศ และสำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2549) โดยหลักการ มติคณะรัฐมนตรีนี้เปดโอกาสใหเด็กที่เปนลูกหลานแรงงานตางดาวที่ไมมี สัญชาติไทย ทั้งที่ผูปกครองเปนแรงงานจดทะเบียนและไมจดทะเบียนไดเขาเรียนใน โรงเรียนของรัฐตัง้ แตระดับกอนประถมศึกษาถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในทุกพืน้ ที่ ของประเทศไทย โดยโรงเรียนไมตองบันทึกเปนหมายเหตุดวยอักษรสีแดงในการลง หลักฐานวาเปนผูไ มมีชอื่ อยูใ นทะเบียนราษฎรเหมือนทีเ่ คยปฏิบัติมา และในการรับเด็ก ตางดาวเขาเรียนโรงเรียนสามารถไดรบั เงินอุดหนุนรายหัวเทากับทีร่ ฐั จายใหกบั เด็กทีม่ ี สัญชาติไทย กลาวโดยสรุปมติคณะรัฐมนตรีใน พ.ศ. 2548 เปดโอกาสทางการศึกษาใหกบั เด็กตางดาวซึ่งในอดีตไมสามารถเขาเรียนในโรงเรียนไทยใหมีโอกาสไดรับการศึกษา ขอมูลจากกระทรวงแรงงานระบุวาใน พ.ศ. 2547 จำ�นวนเด็กซึ่งเปนลูกหลาน แรงงานตางดาวในประเทศไทยที่ขึ้นทะเบียนอยางถูกกฎหมายมีจำ�นวนถึง 93,082 คน (Huguet & Punpuing, 2005) ซึ่งเมื่อนับรวมเด็กลูกแรงงานตางดาวที่ไมไดขึ้นทะเบียน กับรัฐ จำ�นวนอาจสูงถึงประมาณ 260,000 คน (คมชัดลึก, 2554) ถึงแมวารัฐจะเปด โอกาสใหเด็กตางดาวที่ไมมีสัญชาติไทยเขาเรียนในโรงเรียนไทยได แตจากสถิติการ เขาเรียนในปการศึกษา 2554 พบวามีนักเรียนตางดาวจำ�นวนนอยมากที่ไดเขาเรียน ในโรงเรียนของรัฐ นักเรียนตางดาวจากประเทศพมา ลาว และกัมพูชา ที่เรียนอยูใน โรงเรียนรัฐไทยมีจ�ำ นวน 58,687คน คิดเปนไมถึงรอยละสิบของจำ�นวนเด็กตางดาวใน ประเทศไทยทั้งหมด (สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2554) งานวิจัย ที่ผานมาสวนใหญศึกษาถึงสาเหตุที่เด็กตางดาวไมเขาเรียนในโรงเรียนรัฐไทยและให ขอเสนอแนะเพื่อสงเสริมใหเด็กตางดาวเขาเรียนในโรงเรียนของรัฐ แทบจะไมมีงาน วิจัยใดที่ศึกษาถึงการไดรับการศึกษาของเด็กตางดาวหลังจากเขาเรียนในโรงเรียน รัฐไทยแลว ดังนั้นในการวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาถึงการจัดการศึกษาสำ�หรับ นักเรียนตางดาวในโรงเรียนของรัฐไทยเพื่อเปนขอมูลในการวางนโยบายและแนวทาง ปฏิบัติสำ�หรับการจัดการศึกษาใหแกนักเรียนตางดาวในประเทศไทยตอไป วัตถุประสงคของการวิจัย เพื่อศึกษาถึงสภาพและปญหาการจัดการศึกษาสำ�หรับนักเรียนตางดาวใน โรงเรียนรัฐไทย

113


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

วิธีการดำ�เนินการวิจัย งานวิจัยนี้ใชจังหวัดปตตานี และจังหวัดระนองเปนพื้นที่ในการเก็บขอมูล เนื่องจากจำ�นวนนักเรียนตางดาวในสองจังหวัดนี้ตางกัน ในปการศึกษา 2554 จังหวัด ปตตานีมีนักเรียนตางดาวจำ�นวน 59 คน ในขณะที่จังหวัดระนองมีจำ�นวนนักเรียน ตางดาวทั้งหมด 1,367 คน (สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2554) การคัดเลือกสองจังหวัดนี้เปนพื้นที่ในการทำ �วิจัยเนื่องจากผูวิจัยตองการศึกษาวา ในพื้ น ที่ ที่ มี นั ก เรี ย นต า งด า วจำ � นวนต า งกั น สภาพและป ญ หาในการจั ด การศึ ก ษา ตางกันหรือไม นอกเหนือจากสองจังหวัดนี้ผูวิจัยยังไดสัมภาษณเจาหนาที่ในกระทรวง ศึ ก ษาธิ ก าร และเจ า หน า ที่ ก ารศึ ก ษาในจั ง หวั ด สมุ ท รสาคร การวิ จั ย ครั้ ง นี้ ผู  วิ จั ย ใชระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ผูวิจัยใชวิธีการสัมภาษณ การสังเกต และการศึกษา เอกสารเปนวิธใี นการเก็บขอมูล โดยผูว จิ ยั ไดสมั ภาษณ ครู ผูบ ริหารสถานศึกษา เจาหนาที่ ในสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษา เจาหนาที่ผูที่เกี่ยวของกับนโยบายการศึกษาของ เด็กตางดาวในกระทรวงศึกษาธิการ ผูปกครองนักเรียนตางดาว เจาหนาที่ขององคกร เอกชน (NGO) นายจางของพอแมเด็กตางดาว นักเรียนตางดาวที่เรียนในโรงเรียนรัฐ จำ�นวนทั้งหมด 40 คน กลุมผูใหขอมูลคัดเลือกโดยวิธีเจาะจง (Purposive sampling) และวิธีบอกตอ (Snowball sampling) ผูวิจัยใชวิธีการสัมภาษณแบบกึ่งโครงสรางโดย ใชเครื่องมือคือแนวคำ�ถามในการสัมภาษณ การสัมภาษณเปนการสัมภาษณเชิงลึก นอกจากการสัมภาษณผวู จิ ยั ยังไดสงั เกตชัน้ เรียนทีเ่ ด็กตางดาวเรียนอยู ซึง่ มีทงั้ ชัน้ เรียน ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ผูวิจัยสังเกตปฏิสัมพันธระหวางเด็กตางดาวและ เด็กสัญชาติไทยในโรงเรียน สังเกตการประชุมผูปกครองของโรงเรียน ผูวิจัยเขาไป สังเกตความเปนอยูข องเด็กตางดาวในบานของเด็กตางดาว ในโรงงาน และในชุมชนทีม่ ี แรงงานตางดาวอาศัยอยูเปนจำ�นวนมาก สำ�หรับการศึกษาเอกสาร ผูวิจัยไดศึกษา เอกสารนโยบาย เอกสารเกี่ยวกับแนวทางการจัดการศึกษาสำ�หรับเด็กตางดาวของ โรงเรียนและเขตพื้นที่การศึกษา นอกจากนั้นผูวิจัยยังใชขอมูลอื่นๆ เชน การบานและ งานทีน่ กั เรียนตางดาวทำ�สงครูเพือ่ ประกอบการทำ�ความเขาใจเกีย่ วกับการจัดการศึกษา สำ�หรับนักเรียนตางดาวในโรงเรียนรัฐไทย การวิเคราะหขอมูล หลังจากจัดการกับขอมูลที่ไดจากการสัมภาษณ การสังเกต และการศึกษา เอกสารแลว ผูวิจัยจัดประเภทของขอมูล และวิเคราะหขอมูลโดยการใหรหัสขอมูลและ เชือ่ มโยงของรหัสทีเ่ กีย่ วของกันเขาเปนหัวขอ หลังจากนัน้ ผูว จิ ยั จัดประเด็นใหกบั หัวขอ เหลานั้น โดยการวิเคราะหความเปนเหตุผล และความเกี่ยวของของหัวขอตางๆ ผูวิจัย

114


การศึกษาของนักเรียนตางดาวในโรงเรียนรัฐไทย ฐิติมดี อาพัทธนานนท

ใชวิธีสามเสาในการตรวจสอบความนาเชื่อถือของขอมูล โดยใชทั้งวิธีสามเสาตรวจ สอบความสอดคลองของขอมูลที่ไดจากแหลงของขอมูลที่ตางกัน ผูวิจัยนำ�เสนอผลการ วิเคราะหขอมูลตามประเด็นตางๆ เอาไวใน ผลการวิจัย นิยามศัพทเฉพาะ 1. นักเรียนตางดาวหมายถึง ผูที่มีสัญชาติอื่นที่ไมใชสัญชาติไทย รวมถึง นักเรียนที่ไรสัญชาติ ที่เรียนอยูในโรงเรียนของรัฐ 2. โรงเรียนรัฐไทย หมายถึง สถานศึกษาที่จัดการศึกษาระดับขั้นพื้นฐานที่ ตั้งขึ้นและไดรับเงินสนับสนุนจากหนวยงานภาครัฐ ในบทความนี้หมายรวมถึงโรงเรียน สังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและโรงเรียนเทศบาล 3. สภาพการจัดการศึกษา หมายถึง สภาพของการจัดการเรียนการสอน การ จัดชั้นเรียนสำ�หรับนักเรียนตางดาวในโรงเรียนรัฐของไทย 4. ปญหาการจัดการศึกษา หมายถึง ปญหาที่เกี่ยวของกับการจัดการศึกษา สำ�หรับนักเรียนตางดาวในโรงเรียนรัฐไทย เชน ปญหาเกี่ยวกับการรับเขาเรียน ปญหา ในการจัดการเรียนการสอน ปญหาเกี่ยวกับการออกกลางคัน สรุปผลการวิจัย ในส ว นนี้ ผู  วิ จั ย ขอนำ � เสนอสภาพและป ญ หาในการจั ด การศึ ก ษาสำ � หรั บ นักเรียนตางดาวในโรงเรียนรัฐไทย ตามประเด็นทีไ่ ดจากการวิเคราะหขอ มูล คือ 1.) สิทธิ ในการไดรับการศึกษา 2.) การจัดใหนักเรียนตางดาวเขาชั้นเรียน 3.) การจัดการเรียน การสอน และ 4.) โอกาสในการศึกษาตอของนักเรียนตางดาว 1. สิทธิในการไดรับการศึกษา: ทำ�ไมเด็กตางดาวไมเขาเรียนในโรงเรียนไทย ผูวิจัยเขาไปในชุมชนที่เปนที่อยูของแรงงานตางดาวในจังหวัดปตตานีเปน ครั้ ง แรกโดยเข า ไปพร อ มกั บ เจ า หน า ที่ อ งค ก รเอกชนที่ เ ข า ไปรณรงค เ รื่ อ ง การปองกันโรคเอดสบานที่แรงงานอาศัยอยูเปนทาวนเฮาสใหเชาชั้นเดียว ติดๆ กันหลายหลัง แรงงานสวนใหญประกอบอาชีพทำ�ประมง ฝายชายออก เรือ และฝายหญิงอยูกับบาน ในชุมชนมีเด็กตางดาวอายุ 3-12 ขวบอยูประมาณ 10 คน วิ่งไปมา เด็กทุกคนไมไดเขาเรียนทั้งๆ ที่มีโรงเรียนประถมศึกษา ของรัฐตั้งอยูในระยะทางที่เดินไปถึงไดจากชุมชนนั้น จากการพูดคุยแมและ ผูปกครอง ของเด็กเหลานั้นไมรูวาลูกของตนสามารถเขาเรียนในโรงเรียนรัฐ ได เมื่อถามความตองการแมของเด็กๆ สวนใหญอยากใหลูกไดเรียนหนังสือ เด็ กๆ เองก็แสดงทาทีดีใจเมื่อพูดถึงการเรี ย น เด็ กบางคนเคยเข า เรี ย นที่ 115


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

ศูนยการเรียนที่จัดโดยองคกรเอกชนแตตอนนี้ไมไดเรียนเนื่องจากชั้นเรียนถูก ยุบไป เจาหนาที่ขององคกรเอกชนที่เขาไปดวยกันเลาใหฟงวาเมื่อกอนองคกร เอกชนในจังหวัดมีการจัดชั้นเรียนสำ�หรับเด็กตางดาวที่สำ�นักงานขององคกร เอกชนโดยสอนภาษาไทยและวิ ช าต า งๆ เป น ภาษาถิ่ น ของเด็ ก อย า งไร ก็ตามหลังจากที่รัฐมีนโยบายอนุญาตใหเด็กตางดาวเขาเรียนในโรงเรียนไทย ได องคกรเอกชนจึงเปลี่ยนจุดเนนของโครงการ จากโครงการทางดานการ ศึ ก ษาเป น โครงการรณรงค เ รื่ อ งสุ ข ภาพแทนเนื่ อ งจากเห็ น ว า รั ฐ เข า มา ดู แ ลทางการศึ ก ษาแล ว ชั้ น เรี ย นซึ่ ง เคยจั ด ให กั บ เด็ ก ต า งด า วจึ ง ถู ก ยกเลิ ก ไป จากการเข า ไปพู ด คุ ย กั บ ผู  ป กครองและเด็ ก ในชุ ม ชนครั้ ง นั้ น เจาหนาที่องคกรเอกชนก็รับปากวาจะชวยเปนธุระเรื่องการสมัครเขาเรียนใน โรงเรียนของรัฐใหกับผูปกครองที่ตองการใหลูกเขาเรียน (บันทึกภาคสนาม : ชุมชนแรงงานตางดาวจังหวัดปตตานี วันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2554)

มติคณะรัฐมนตรี เมือ่ วันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 อนุมตั ขิ อ เสนอของกระทรวง ศึกษาธิการในการปรับแกระเบียบวาดวยหลักฐานการรับนักเรียนเขาศึกษาในสถาน ศึกษาเพื่อเปดโอกาสใหเด็กตางดาว เด็กไรสัญชาติ เด็กชนเผาที่ไมมีสัญชาติไทยไดรับ การศึกษามากขึ้น มติคณะรัฐมนตรีฉบับ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 นี้ เปนเสมือนใบเบิกทาง ใหเด็กตางดาวไดรับการศึกษา อยางไรก็ตามมีปจจัยมากมายที่ทำ�ใหเด็กตางดาว ยังไมสามารถเขาถึงสิทธิขั้นพื้นฐานนี้ งานวิจัยเกี่ยวกับการศึกษาของเด็กตางดาวที่ ผานมาสวนใหญกลาวถึงความไมรเู กีย่ วกับนโยบายการศึกษา และสิทธิในการเขารับการ ศึกษาวาเปนอุปสรรคสำ�คัญในการทำ�ใหจำ�นวนเด็กตางดาวที่เขาเรียนในโรงเรียนของ รัฐมีจำ�นวนนอย (ชวันธร มวงมี, 2548 ; องคกรแรงงานระหวางประเทศและสำ�นักงาน เลขาธิการสภาการศึกษา, 2549 ; ILO, 2008) ในการวิจยั นีก้ เ็ ชนเดียวกัน จากการพูดคุย กับผูป กครองแรงงานตางดาวหลายครอบครัว ผูว จิ ยั พบวา พวกเขาไมรวู า ลูกหลานของ ตนมีสิทธิในการเขาเรียนในโรงเรียนไทย ผูปกครองจำ�นวนนอยที่รูและสงลูกเขาเรียน สวนใหญรูจากคนไทยที่บานอยูใกลกันหรืออยูในชุมชนเดียวกัน จากการสัมภาษณครู ในโรงเรียนที่เด็กตางดาวเขาเรียนพบวา เด็กสวนใหญมีนายจางชาวไทยหรือเจาหนา ที่องคกรเอกชนพามาสมัครเขาเรียน บางก็มีพระสงฆในชุมชนที่เล็งเห็นความสำ�คัญ ของการศึกษาพามาสมัคร บางก็มีครูหรือเจาหนาที่การศึกษาที่คุนเคยกันพามาสมัคร สวนนอยมากที่ผูปกครองตางดาวพาลูกหลานมาสมัครเขาโรงเรียนไทยดวยตนเอง

116


การศึกษาของนักเรียนตางดาวในโรงเรียนรัฐไทย ฐิติมดี อาพัทธนานนท

ยกเวนคนที่อยูเมืองไทยมานานกวาสิบป งานวิจัยที่เกี่ยวของพูดถึงความเพิกเฉย และการไมเห็นความสำ�คัญของการศึกษาของผูปกครองที่เปนแรงงานตางดาววาเปน สาเหตุหลักที่พวกเขาไมสงลูกเขาเรียนในโรงเรียนไทย อยางไรก็ตามสิ่งที่งานวิจัยที่ ผานมาไมกลาวถึงคือบทบาทของรัฐในการประชาสัมพันธใหผูปกครองชาวตางดาว รูถึงสิทธิในการไดรับการศึกษาของบุตรหลานของตนเอง จากคูมือและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการศึกษาใหแกบุคคลซึ่งไมมีหลักฐาน ทางทะเบียนราษฎร หรือไมมีสัญชาติไทยระบุเกี่ยวกับการประชาสัมพันธเพื่อสงเด็ก เขาเรียนในชั้นประถมศึกษาปที่ 1 วา “สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษา องคกรปกครอง สวนทองถิ่นและหนวยงานที่เกี่ยวของที่จัดการศึกษาภาคบังคับ และสถานศึกษา ประชาสัมพันธรายละเอียดการสงเด็กเขาเรียนในสถานศึกษาทั้งเด็กที่มีสัญชาติไทย เด็กไมมีสัญชาติไทย และเด็กที่ไมมีหลักฐานทะเบียนราษฎร โดยใชสื่อประขาสัมพันธ อยางหลากหลาย เชน ปายโฆษณา วิทยุกระจายเสียง หอกระจายขาว แผนพับ เอกสาร วารสาร สื่ออิเล็กทรอนิกส การประชุมชี้แจงผูปกครอง กรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผูนำ�ชุมชน กำ�นัน ผูใหญบาน ฯลฯ” (กระทรวงศึกษาธิการ. สำ�นักงานปลัดกระทรวง, 2552 : 41) ถึงแมคูมือและแนวปฏิบัติดังกลาวจะพูดถึงหนาที่ในการประชาสัมพันธเพื่อ ใหผูปกครองสงเด็กมาเขาเรียน แตจากการสัมภาษณเจาหนาที่ของรัฐระดับเขตพื้นที่ การศึกษา และระดับกระทรวงใหความเห็นตรงกันวาไมมีการประชาสัมพันธสำ�หรับ ผูปกครองตางดาว: อันนี้มันเปนประเด็นเหมือนกันวา เราจะไมประชาสัมพันธเหมือนแบบ... อยางกวางขวางมากนัก เพราะวามันจะเปนแรงดึง แตปญหาของเราจริงๆ คือ เมื่อคนเขาอยูในบานเราแลว เราถึงจัดใหเขา เราไมไดไปประชาสัมพันธให คนนอกบานนอกเมืองมาเรียนของเรา คือ... มันจะตองแยกแยะ เพราะฉะนั้น จะเห็นวา เราไมเคยประชาสัมพันธ จะเห็นวาถาเอ็นจีโอไหน ดูแลเด็กแลว ก็มีปญหา หรืออยากใหเด็กเรียน เขาก็จะประสานงานขึ้นมา หรือเขาจะมี เครือขาย...เครือขายเอ็นจีโอหรือเครือขายคนทำ�งานดานเด็กดวยกัน เขาก็จะ รับรูก นั แตเราจะไมแบบ...ออกสือ่ โฆษณาประชาสัมพันธ ใบปลิว อะไรจะไมม.ี .. (เจาหนาที่ระดับนโยบายในกระทรวงศึกษาธิการ, สัมภาษณเมื่อ 14 ตุลาคม 2553) ผูวิจัย : ทีนี้คือเรื่องการประชาสัมพันธละคะ อยากทราบวาเราตองบอกตาม ชุมชนไหมหรือเราตองขึ้นปายไหมวามาเรียนได

117


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

เจาหนาที่เขตพื้นที่การศึกษา : ออ...ไมคะ เราไมเคยทำ�เนื่องจากวา มันยัง มีเสียงแบบ...กระแสหลายดานนะคะวาแบบ...เหมือนเด็กไทยเราหลายคนก็ ยังไมไดเรียน ถาเราไปขึ้นปายอยางนั้นเราก็กลัวชาวบานตอตานอีกอยางก็ เพราะวาถาพูดถึงแลว คนตางชาติ เด็กตางชาติ... ถาในจังหวัดสวนมากจะเปน เด็กพมาแลวเด็กพมาที่เขามาในบานเราตองยอมรับวาสวนหนึ่งก็เขามาแบบ ผิดกฎหมายแลวทีนี้ การที่เราไปสงเสริมการศึกษาใหแบบนี้ โอเคเราทำ�ตาม มติคณะรัฐมนตรีแตวาเออ....ในแบบความรูสึกของชาวบานทั่วไป มันก็ยังมี อยูวาเด็กไทยเราก็ยังมีอีกหลายคนที่วายังไดรับการศึกษาไมทั่วถึง (เจาหนาที่เขตพื้นที่การศึกษา A, สัมภาษณเมื่อ 18 พฤษภาคม 2554) ผูวิจัย : แลวอยางตัวของเด็กตางดาวเองละคะ เขตมีการรณรงคไหมคะ หรือ วาเคารูเองวาเคามีสิทธิ์เรียน เจาหนาที่เขตพื้นที่การศึกษา : อันนี้นโยบายของกระทรวงใหเปดอยูแลว แลวโรงเรียนก็เปดรับแลวมันก็เปนปากตอปาก การเขามาเรียนนี้นะฮะ การประชาสัมพันธนี้นะฮะ เคาไมรูหนังสืออยูแลว เคาก็ใชการปากตอปากนี้ แหละครับแตวาเราเปด ถาเคาเขามาเราก็รับ (เจาหนาที่เขตพื้นที่การศึกษา B, สัมภาษณเมื่อ 7 เมษายน 2554)

ภาพที่ 1. ปายประชาสัมพันธใหผูปกครองนำ�บุตรหลานมาสมัครเขาเรียน

118


การศึกษาของนักเรียนตางดาวในโรงเรียนรัฐไทย ฐิติมดี อาพัทธนานนท

จากการสัมภาษณเจาหนาที่ทางการศึกษาทั้งระดับกระทรวงและระดับเขต พื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาทำ� ให ท ราบว า ไม มี ก ารประชาสั ม พั น ธ ใ ห พ  อ แม ผู  ป กครองที่ เ ป น แรงงานตางดาวรูถึงสิทธิในการไดรับการศึกษาในโรงเรียนไทยของ เชน ไมมีการใช ปายประกาศหรือใบปลิว ไมมีการออกโฆษณาทางวิทยุ หรือการประชาสัมพันธให ผูปกครองที่เปนแรงงานตางดาวนำ�บุตรหลานที่อายุถึงเกณฑเขารับการศึกษามาสมัคร เขาเรียน ทุกปกอนเปดภาคเรียนปการศึกษาใหมผูวิจัยเห็นปายประชาสัมพันธที่ติด ไวในหลายโรงเรียนใหผูปกครองนำ�บุตรหลานมาสมัครเขาเรียน (ภาพที่ 1) บางครั้ง เคยไดยินการประชาสัมพันธทางวิทยุ การประชาสัมพันธเหลานั้นทุกอยางลวนเปน ภาษาไทย มีกลุมเปาหมายเปนผูปกครองชาวไทย ถึงแมวากระทรวงศึกษาธิการจะ กำ�หนดไวชัดเจนในคูมือและแนวปฏิบัติวาหนวยงานทางการศึกษา เชน เขตพื้นที่การ ศึกษา และโรงเรียน ตองประชาสัมพันธใหผูปกครองที่ไมมีสัญชาติไทยทราบเกี่ยวกับ การนำ�เด็กที่ไมมีสัญชาติไทยมาสมัครเขาเรียน แตในการปฏิบัติจริงกลับไมเปนเชนนั้น เนื่องจากเจาหนาที่ทางการศึกษาเห็นวาหากประชาสัมพันธออกไปวาเด็กตางดาว สามารถเข า เรี ย นในโรงเรี ย นไทยได จ ะเป น การเพิ่ ม จำ � นวนแรงงานต า งด า วใน ประเทศไทย และกอใหเกิดความไมพอใจในหมูคนไทยวารัฐนำ�เงินภาษีของตนเองไป จัดการศึกษาใหกบั คนตางดาวทีบ่ างคนเขาเมืองโดยผิดกฎหมาย นอกจากนัน้ เจาหนาที่ ทางการศึ ก ษายั ง ให เ หตุ ผ ลว า ถึ ง ประชาสั ม พั น ธ อ อกไปก็ ไ ม มี ป ระโยชน เ นื่ อ งจาก คนตางดาวไมรูภาษาไทย ดังนั้นจึงไมมีความพยายามที่จะออกใบปลิวหรือทำ�ปาย ประกาศเปนภาษาถิน่ ของแรงงานตางดาว จากผลการวิจยั สรุปไดวา ถึงแมโดยหลักการ เด็กตางดาวจะมีสิทธิเขาเรียน แตในทางปฏิบัติเปนไปในแบบที่เรียกวา “ถามาสมัคร เราก็รับ” ซึ่งแรงงานตางดาวสวนใหญไมสามารถมาสมัครดวนตนเองเนื่องจากไมรูถึง นโยบายและไมรูภาษาไทย ดังที่กลาวไปแลวชาวตางดาวสวนใหญที่มาสมัครเขาเรียน รูถึงนโยบายนี้จากคนไทย หรือเจาหนาที่ขององคกรเอกชน ดังนั้นจึงไมนาแปลกใจ ที่จำ�นวนนักเรียนตางดาวที่เขาเรียนในมีจำ�นวนนอยไมถึงรอยละสิบของจำ�นวนเด็ก ตางดาวทั้งหมดในประเทศไทย 2. การจัดใหเด็กตางดาวเขาชั้นเรียน ในจังหวัดปตตานี มีโรงเรียนประถมศึกษาแหงหนึ่งที่แรงงานตางดาวนิยมสง ลู ก หลานเข า เรี ย น โรงเรี ย นแห ง นี้ ตั้ ง อยู  ใ กล กั บ ชุ ม ชนของแรงงาน ต า งด า ว ประกอบกั บ ผู  บ ริ ห ารของโรงเรี ย นไม ป ฏิ เ สธที่ จ ะรั บ เด็ ก นั ก เรี ย น ต า งด า วทำ � ให มี เ ด็ ก มาสมั ค รเข า เรี ย นมากกว า โรงเรี ย นอื่ น ในจั ง หวั ด ใน หองเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 1 มีเด็กตางดาวอยูจำ�นวน 8 คนจากนักเรียน

119


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

ทั้งหมด 26 คน เด็กแตงเครื่องแบบนักเรียนเรียบรอย ที่หนาอกปกชื่อไทย เด็กหลายคนมีนามสกุลเดียวกัน เชน รักไทย จากการสอบถามคุณครูประจำ�ชั้น พบวา ชื่อ และนามสกุลเหลานั้นเจาหนาที่ขององคกรเอกชนเปนผูตั้งให เชน นามสกุล รักษไทย หรือบางคนพระที่พามาสมัครเขาเรียนก็ตั้งให เด็ก ตางดาวที่เรียนอยูในชั้นประถมศึกษาปที่ 1 สวนใหญมีอายุ 8-12 ป ซึ่งมากกวา เด็กสัญชาติไทยคนอืน่ ๆ ในชัน้ ทีส่ ว นใหญมอี ายุ 6 ป ตามเกณฑของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปที่ 1 (บันทึกภาคสนาม: โรงเรียนประถมศึกษาในจังหวัดปตตานี, วันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2553)

ในโรงเรียนประถมศึกษา และมัธยมศึกษาทั้งจังหวัดปตตานี และจังหวัดระนอง ทีน่ กั เรียนตางดาวเรียนอยู สิง่ หนึง่ ทีส่ งั เกตเห็นไดชดั ในทุกโรงเรียนคือ นักเรียนตางดาว มักจะมีอายุมากกวานักเรียนคนอื่นๆ ที่เรียนอยูในชั้นเดียวกัน ยกตัวอยางเชน ในชั้น ประถมศึกษาปที่ 1 ที่กลาวถึงในบันทึกภาคสนาม นักเรียนตางดาวอายุ 8-12 ในชั้น ประถมปที่4 ในโรงเรียนอีกแหงหนึ่งที่ผูวิจัยเขาไปเก็บขอมูล นักเรียนตางดาวอายุ 14-15 ป ในชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ในโรงเรียนอีกแหงหนึ่งนักเรียนตางดาวอายุ 16 ป สาเหตุที่เปนเชนนี้เนื่องจากกระทรวงศึกษาธิการไมไดออกกฎเกณฑเกี่ยวกับการจัด ชั้นเรียนสำ�หรับนักเรียนตางดาว แตใหอำ�นาจกับโรงเรียนตางๆ ในการกำ�หนดกฎ เกณฑในการจัดชั้นเรียน จากการวิจัยพบวาโรงเรียนของรัฐสวนใหญจัดใหนักเรียน ตางดาวที่อายุต่ำ�กวา 6 ปเขาเรียนในชั้นอนุบาล และจัดใหนักเรียนตางดาวที่อายุเกิน 6 ปและไมเคยเขาเรียนในโรงเรียนไทยเขาเรียนในชัน้ ประถมศึกษาปที่ 1 ทุกคนไมวา จะ อายุเทาใด โรงเรียนหลายแหงในจังหวัดระนองออกกฎวาจะรับเฉพาะเด็กตางดาวทีเ่ คย เรียนในโรงเรียนไทย หรือผานการเรียนในศูนยการเรียนแลวเทานั้น เนื่องจากตองการ ใหเด็กพูดภาษาไทยไดคลอง ดังนัน้ จึงไมนา แปลกใจทีเ่ ราจะพบเด็กตางดาวทีอ่ ายุ 12 ป แตยังเรียนอยูชั้นประถมศึกษาปที่ 1 เชนที่พบในการวิจัยนี้ ในศูนยการเรียนรูที่จัดโดยองคกรเอกชน (NGO) สวนใหญ เด็กตางดาวจะ ไดเรียนรายวิชาพื้นฐานตางๆ เชน คณิตศาสตร วิทยาศาสตร ภาษาอังกฤษ ที่สอน ดวยภาษาแมของเด็ก และ ไดเรียนวิชาภาษาไทยเปนวิชาแยกออกมา อยาไรก็ตามเมือ่ เด็กตางดาวที่ผานการเรียนวิชาเหลานี้จากศูนยการเรียนไปสมัครเขาเรียนในโรงเรียน ของรัฐ พวกเขาจะถูกจัดใหอยูชั้นประถมศึกษาปที่ 1 โดยอัตโนมัติดังที่ไดกลาวไว แลวขางตน โดยที่โรงเรียนไมมีการสอบวัดความรูพื้นฐานแลวจัดชั้นเรียนใหเหมาะสม กับพื้นความรูที่เด็กมี

120


การศึกษาของนักเรียนตางดาวในโรงเรียนรัฐไทย ฐิติมดี อาพัทธนานนท

จากการสัมภาษณ ครูสวนใหญบอกวา เด็กตางดาวมีความประพฤติเรียบรอย กวาเพือ่ นรวมชัน้ เนือ่ งจากอายุมากกวา อยางไรก็ตามครูใหขอ มูลวาอายุทตี่ า งกันจะเริม่ เปนปญหาเมื่อเด็กตางดาวเริ่มเขาสูวัยรุนในขณะที่เพื่อนรวมชั้นยังเปนเด็กอยู อายุที่ ตางกันทำ�ใหครูจดั ชัน้ เรียนลำ�บากเนือ่ งจากบางครัง้ แผนการสอนและกิจกรรมการเรียนรู ที่เตรียมมาอาจไมเหมาะกับเด็กตางดาวที่อายุมากกวา ทำ�ใหเด็กเบื่อหนายการเรียน และออกจากโรงเรียนกอนที่จะเรียนจบชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ดังที่เกิดขึ้นเปนปกติใน โรงเรียนซึง่ เปนกลุม ตัวอยางในการวิจยั ครัง้ นี้ จากปญหาเหลานีเ้ องโรงเรียนบางโรงเรียน จึงออกกฎวาจะไมรับเด็กตางดาวที่อายุเกิน 9 ขวบเขาเรียน ศูนยการเรียนที่ติดตอกับ โรงเรียนเหลานั้นจึงสงเด็กที่อายุเกิน 9 ขวบไปเรียนที่ศูนยการศึกษานอกโรงเรียนแทน ที่จะสงไปโรงเรียน กฎระเบียบตางๆ ของโรงเรียนเกี่ยวกับการจัดชั้นเรียนสำ�หรับนักเรียนตางดาว กลายเปนขอจำ�กัดในการเขาถึงการศึกษาของเด็กตางดาว การทีม่ ติคณะรัฐมนตรีรวมถึง กระทรวงศึกษาธิการไมไดระบุแนวทางปฏิบตั สิ ำ�หรับโรงเรียนในการรับนักเรียนตางดาว เชน อายุทเี่ หมาะสมในการสมัครเขาเรียน การสอบเทียบความรูท โี่ รงเรียนควรจัด จึงเกิด สภาพดังที่เปนอยูในปจจุบันคือการที่โรงเรียนใชวิธีที่โรงเรียนจะสามารถบริหารจัดการ ไดโดยสะดวก ออกกฎในการรับนักเรียนตางดาว และการจัดชั้นเรียนใหกับนักเรียน ตางดาว ซึ่งวิธีเหลานี้อาจจะไมใชวิธีที่สงผลดีตอโอกาสทางการศึกษาของเด็กตางดาว กระทรวงศึกษาธิการจำ�เปนตองวางแนวทางใหกับโรงเรียนในการรับนักเรียนตางดาว และการจัดนักเรียนตางดาวเขาชั้นเรียนที่เหมาะสม กระทรวงศึกษาธิการอาจตอง ชวยเหลือโรงเรียนในการจัดสอบเทียบความรู โรงเรียนควรมีการประสานกับศูนยการ เรียนที่จัดโดยองคกรเอกชน (NGO) โดยโรงเรียนอาจใหคำ�แนะนำ�เกี่ยวกับเนื้อหาที่ ตองการใหเด็กตางดาวไดเรียนกอนสมัครเขาเรียนในโรงเรียน เพื่อวาเมื่อเด็กตางดาว มาสมัครเขาเรียนแลวจะไมตอ งเริม่ ตนจากชัน้ ประถมศึกษาปที่ 1 ดังทีเ่ ปนอยูใ นปจจุบนั 3. การจัดการเรียนการสอนสำ�หรับเด็กตางดาว นักเรียนตางดาวในโรงเรียนรัฐเรียนเนื้อหาวิชาตางๆ ที่กำ�หนดไวในหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐานเชนเดียวกับนักเรียนไทย เนื่องจากกระทรวงศึกษาธิการไมไดก�ำ หนดหรือใหแนวทางในการจัดการเรียนการสอนสำ�หรับโรงเรียนที่รับนักเรียนตางดาว เขาเรียน การจัดการเรียนการสอนสำ�หรับนักเรียนตางดาวจึงขึน้ อยูก บั การตัดสินใจของ โรงเรียน “วิธีการสอนมันอยูที่โรงเรียน สวนใหญแลวทุกโรงเรียนใชหลักสูตรของเราเอง ก็คือหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ เพราะเคา [นักเรียนตางดาว-ผูวิจัย] มา

121


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

อยูกับเรา เคาก็ตองเรียนของเรา” (สัมภาษณเจาหนาที่เขตพื้นที่การศึกษา B, 7 เมษายน 2554) จากการสัมภาษณพบวาโรงเรียนไมมีการปรับเนื้อหาการจัดการเรียนการสอน สำ�หรับนักเรียนตางดาวโดยเฉพาะ เนื่องจากเห็นวานักเรียนตางดาวนั้นเขามาเรียนใน โรงเรียนไทยจึงควรตองเรียนรูเนื้อหาเกี่ยวกับประเทศไทย ประวัติศาสตรไทย รวมถึง วัฒนธรรมประเพณีของไทยเหมือนเชนที่เด็กไทยไดเรียน เนื่องจากนักเรียนตางดาว สวนใหญนบั ถือศาสนาพุทธเนือ้ หาในแบบเรียน และ ในหลักสูตรการศึกษารวมทัง้ การจัด กิจกรรมของโรงเรียนจึงไมไดขดั กับวัฒนธรรมความเชือ่ ของนักเรียนตางดาว ในโรงเรียน ในจังหวัดปตตานี นักเรียนตางดาวสามารถเขารวมกิจกรรมทีโ่ รงเรียนจัดขึน้ เชน ในวัน เขาพรรษา วันวิสาขบูชา ทีโ่ รงเรียนพานักเรียนไปทำ�บุญทีว่ ดั นักเรียนตางดาวก็สามารถ เขารวมได อยางไรก็ตามมีเนื้อหาบางอยางที่ถูกสอนตามๆ กันมาโดยไมไดคำ�นึงถึง ความแตกตางของภูมหิ ลังทางวัฒนธรรมของนักเรียนตางดาวนัก ทีเ่ ห็นชัดเจนคือเนือ้ หา ในวิชาประวัตศิ าสตร เชน การกลาวถึงขอพิพาทระหวางไทยกับประเทศเพือ่ นบาน โดย ไมไดสนใจวาในชั้นเรียนนั้นมีนักเรียนตางดาวเรียนอยู การสอนประวัติศาสตรโดยวาง ตำ�แหนงใหไทยเปนศัตรูกับประเทศเพื่อนบานลักษณะนี้มีมาชานาน ตั้งแตสมัยรัฐไทย ตองการขับเนนความเปนชาตินิยม (วารุณี โอสถารมย, 2544) ในปจจุบันถึงแมเนื้อหา ในแบบเรียนจะไมเนนการสูรบระหวางไทยกับประเทศเพื่อนบานในภูมิภาคเดียวกัน และหันไปเนนถึงความสัมพันธที่ดีตอกันและความรวมมือรวมใจกัน แตการสอนของ ครูยงั คงไมเปลีย่ นแปลงไปอยางทันทวงที ยังคงมีการเนนเนือ้ หาการสูร บระหวางไทยกับ ประเทศเพือ่ นบานครูบางคนกลาววาตนเองสอนเนือ้ หาวิชาประวัตศิ าสตรตามทีห่ ลักสูตร กำ�หนดแตเพิ่มความระมัดระวังในประเด็นที่จะทำ�ใหเกิดความขัดแยงระหวางนักเรียน ไทยกับนักเรียนตางดาวเนื่องจากสังเกตเห็นปฏิกิริยาของนักเรียนตางดาวเมื่อสอน เกี่ยวกับสงครามระหวางไทยกับประเทศเพื่อนบาน“เมื่อปที่แลวมีเด็กพมาอยูหอง ป.6 ดวย แลวพอสอนวิชาประวัติศาสตร ใครๆ ก็หันไปมองเคา พอสอนเรื่องพมาเพื่อน จะเครียดมาก ทั้งๆ พูดความจริง แตเพื่อนจะวา นี่พมาที่ไทยไปตี” (ครูในโรงเรียนแหง หนึ่งในจังหวัดปตตานี, วันที่ 18 มิถุนายน 2555) ในหองเรียนที่นักเรียนตางดาวเรียนอยู ภาษาไทยเปนภาษาที่ใชในการจัดการ เรียนการสอน ไมมีการสอนแบบสองภาษา ซึ่งจากการสอบถามพบวาไมเปนอุปสรรค ทางการเรียนเนื่องจากเด็กตางดาวสวนใหญรูภาษาไทยดี หลายคนเกิดในประเทศไทย หลายคนเรียนที่ศูนยการเรียนมากอนที่จะเขาโรงเรียนรัฐ และอีกหลายคนเขาเรียนใน โรงเรียนรัฐตั้งแตชั้นอนุบาล ทำ�ใหไมมีอุปสรรคทางภาษา ถึงกระนั้นก็ตามจากการ สัมภาษณครูชาวพมาในศูนยการเรียน (สัมภาษณเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2554)

122


การศึกษาของนักเรียนตางดาวในโรงเรียนรัฐไทย ฐิติมดี อาพัทธนานนท

พบวา การที่เด็กเรียนโดยใชภาษาไทยทั้งหมดสงผลกระทบทำ�ใหเด็กตางดาวลืมภาษา แมของตนเอง หลายคนพูดไดแตเขียนไมได สาเหตุที่โรงเรียนไมจัดการเรียนการสอน แบบสองภาษาอาจเปนเพราะโรงเรียนมีเด็กตางดาวเรียนอยูจ ำ�นวนไมมากพอ โรงเรียน ในจังหวัดอื่นที่มีเด็กตางดาวเรียนอยูในโรงเรียนถึงรอยละ 80 ของจำ�นวนนักเรียน ทั้งหมด เชน โรงเรียนในจังหวัดสมุทรสาคร มีการจัดการเรียนการสอนแบบสองภาษา ใหแกเด็กตางดาว ซึ่งในเรื่องนี้กระทรวงศึกษาธิการใหอิสระแกโรงเรียนในการบริหาร จัดการ ถาโรงเรียนเห็นสมควรใหมีการสอนแบบสองภาษาโรงเรียนสามารถจัดไดโดย ใชงบประมาณรายหัวที่ไดรับตามปกติ กระทรวงศึกษาธิการไมไดใหงบประมาณเพิ่ม สำ�หรับการนี้ กลาวโดยสรุปการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมสำ�หรับนักเรียนตางดาวใน โรงเรียนรัฐสวนใหญเปนแบบหลอมรวม มากกวาเปนการสอนที่คำ�นึงถึงอัตลักษณทาง วัฒนธรรมของนักเรียนตางดาว หรือใชวัฒนธรรมของนักเรียนตางดาวเปนสื่อในการ สอน เนื่องจากโรงเรียนคิดวาเด็กตางดาวเขามาเรียนในโรงเรียนไทย เด็กตองเปนฝาย ปรับตัวเขากับหลักสูตร กิจกรรม การเรียนการสอนของโรงเรียน บุคลากรทางการศึกษา สวนนอยมากที่มองเห็นความจำ�เปนที่โรงเรียนตองปรับหลักสูตร การจัดการเรียนการ สอน หรือกิจกรรมเพื่อใหเหมาะกับวัฒนธรรมของเด็กตางดาว ผูที่ปรับสวนใหญจะ กระทำ�เปนรายบุคคล หรือเกิดขึ้นเฉพาะโรงเรียนที่มีเด็กตางดาวเปนสวนใหญของ นักเรียนทั้งหมด กระทรวงศึกษาธิการเองก็ไมไดกำ �หนดแนวทางเกี่ยวกับเรื่องนี้ แตปลอยใหเปนดุลยพินิจของโรงเรียน และถาโรงเรียนใดตองการปรับการจัดการเรียน การสอน เชน สอนแบบสองภาษา หรือจางครูที่พูดภาษาของนักเรียนตางดาวได โรงเรียนตองทำ�ภายใตงบประมาณทีม่ อี ยู กระทรวงศึกษาธิการไมไดจดั สรรงบประมาณ เพิ่มแตประการใด 4. โอกาสในการศึกษาตอของนักเรียนตางดาว การออกกลางคันเปนปญหาสำ�คัญทางการศึกษาของเด็กตางดาว (ชวันธร มวงมี, 2548 ; องคกรแรงงานระหวางประเทศ และสำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา 2549 ; สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา 2553) สาเหตุของการออกกลางคันมีหลายประการ อยางไรก็ตามในงานวิจัยนี้พบวาสาเหตุหลักที่ท�ำ ใหเด็กตางดาวตองออกจากโรงเรียน กลางคันคือ ฐานะทางการเงินของครอบครัวที่ไมอำ�นวยใหเรียนตอ รวมทั้งการยายที่ อยูของผูปกครอง ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยที่ผานมา (ชวันธร มวงมี, 2548 ; องคกร แรงงานระหวางประเทศและสำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2549)

123


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

ฐานะทางครอบครัวของนักเรียนตางดาวสวนใหญอยูในระดับต่ำ� พอแมของ นักเรียนตางดาวสวนใหญมีอาชีพรับจางรายวัน เปนแรงงานกอสราง หรือทำ�งานใน โรงงานแปรรูปอาหารทะเล สวนใหญทำ�งานแลกกับคาแรงขั้นต่ำ� หลายครอบครัวตอง การใหลูกชวยทำ�งานเพื่อเพิ่มรายไดใหกับครอบครัวมากกวาที่จะใหเรียนหนังสือ ถึง แมจะเปนงานเล็กๆ นอยก็ตาม หลังจากเปดภาคเรียนในปการศึกษาใหม ผูวิจัยเขาไปในโรงเรียนประถม ศึกษาอีกครั้งเพื่อสังเกตชั้นเรียน พบวานักเรียนตางดาวหลายคนที่ผูวิจัยเคย สัมภาษณไมอยูในหองเรียน หลังจากสอบถาม คุณครูบอกวา เด็กหลายคน คงไมมาเรียนแลว บางคนไมมาเรียนเนื่องจากขาดรถรับสง เด็กผูชายที่อายุ 13 ปออกไปชวยพอที่เปนแรงงานตางดาวทำ�งานในเรือประมง เด็กผูชายอายุ 12 ปอกี คนหนึง่ ตองออกไปเลีย้ งนองทีเ่ กิดใหมเนือ่ งจากสมาชิกคนอืน่ ในครอบครัว ตองทำ�งานทำ�ใหไมมใี ครดูแลนอง เด็กผูช ายอายุ 13 ปอกี คนหนึง่ ออกไปชวยพอ ทำ�งานกอสราง (บันทึกภาคสนาม: โรงเรียนประถมศึกษาในจังหวัดปตตานี, วันที่ 24 พฤษภาคม 2554) จากการสัมภาษณครูและผูบริหารโรงเรียนไดขอมูลวา เด็กตางดาวมักจะออก กลางคันเพราะตองชวยพอแมทำ�งาน บางคนออกจากโรงเรียนเพราะพอแมยายไป ทำ�งานที่จังหวัดอื่น หรือยายกลับประเทศ บางคนออกไปอยูบานเฉยๆเพราะมีปญหา กับเพื่อนหรือไมอยากมาเรียนผูปกครองที่เปนแรงงานตางดาวหลายคนตองการให ลูกออกไปทำ�งานมากกวาเรียนในโรงเรียน ผูปกครองตางดาวบางคนมองโรงเรียนเปน สถานทีส่ �ำ หรับใหเด็กใชเวลาระหวางวันในขณะทีผ่ ปู กครองทำ�งาน หรือจนกวาทีเ่ ด็กจะ อายุถึงเกณฑทำ�งานได เจาหนาที่ขององคกรเอกชนผูหนึ่งกลาวไวในการสัมภาษณวา “คื อ ตอนนี้ ก็ คื อ วาเด็กที่เ ขาสูโ รงเรี ย นไทย แตเ รี ย นไปสั ก พั ก หนึ่ ง ก็ อ อกเพราะว า เศรษฐกิจทางบานเคาไมอำ�นวย เพราะวาแรงงานตางดาวประเมินจริงๆ เคามาเพื่อ หาเงินแตที่เคาเกิดมาเพื่อรอเวลาใชแรงงาน ก็คิดวาจริงๆหลักๆเคาตองการใหลูก เคาเขาสูต ลาดแรงงาน แตวา บทบาทเราก็คอื ทำ�ยังไงก็ไดวา ใหผปู กครองตระหนักวาเคา จะใชลกู ไปทำ�แรงงานเด็กก็ได เคาตองมีวฒ ุ ทิ างการศึกษาใหกบั ลูกของเคา ซึง่ ก็พยายาม กันอยู” (สัมภาษณเจาหนาที่องคกรเอกชน, 18 พฤษภาคม 2554) อยางไรก็ตามแรงงานตางดาวทีอ่ ยูเ มืองไทยเปนเวลานานกลับมีความคิดเกีย่ วกับ การศึกษาของลูกหลานตนเองตางออกไป ตัวอยางเชนแรงงานตางดาวจากประเทศพมา คนหนึ่งซึ่งอาศัยอยูในประเทศไทยมาเปนเวลาเกือบ 20 ปไดสงลูกชายเขาเรียนใน

124


การศึกษาของนักเรียนตางดาวในโรงเรียนรัฐไทย ฐิติมดี อาพัทธนานนท

ชั้นประถมศึกษาปที่ 1 ในโรงเรียนประถมใกลบาน เนื่องจากทราบจากนายจางวา เด็กตางดาวสามารถเขาเรียนในโรงเรียนไทยได โดยนายจางชวยเหลือเรื่องขั้นตอน การสมัครเขาเรียน ระหวางการสัมภาษณผูปกครองคนนี้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ การศึกษาไววา: “อยากใหลูกเรียน จนกวารัฐเขาจะไมใหเรียน” “อยากใหเรียนพิเศษภาษาอังกฤษ” (สัมภาษณผูปกครองตางดาวชาวพมา, วันที่ 29 กรกฎาคม 2554) แม ข องเด็ ก นั ก เรี ย นชาวกั ม พู ช า 2 คนที่ เ รี ย นอยู  ใ นชั้ น มั ธ ยมซึ่ ง อยู  ใ น ประเทศไทยมากกวา 15 ปกลาวในทำ�นองเดียวกันวา ครอบครัวของเธอไมไดร่ำ�รวย บางครั้งไมมีเงินและเคยคิดจะใหลูกหยุดเรียนออกมาชวยทำ�งานเหมือนกัน แตเห็นวา ถามีการศึกษาจะมีอนาคตจึงใหลูกเรียน (สัมภาษณผูปกครองตางดาวชาวกัมพูชา, วัน ที่ 2 มีนาคม 2554) ผลจากงานวิจยั นีส้ อดคลองกับงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วของ ทีก่ ลาววาครอบครัวเปนปจจัย สำ�คัญที่มีอิทธิพลสูงสุดตอโอกาสทางการศึกษาของเด็กตางดาว การตัดสินใจในการ ใหเด็กไดรับการศึกษา และ ระดับการศึกษาที่จะใหเด็กไดรับนั้นขึ้นอยูกับครอบครัว เปนสำ�คัญ ยิ่งครอบครัวอยูในประเทศไทยนานเทาไหรการมองเห็นความสำ�คัญของ การศึกษายิ่งมากขึ้นเทานั้น (องคกรแรงงานระหวางประเทศ และสำ�นักงานเลขาธิการ สภาการศึกษา, 2549) อยางไรก็ตามผูปกครองที่คิดเชนนี้ถือเปนสวนนอย ผูปกครอง ตางดาวหลายคนยังคงตองการใหลูกออกจากโรงเรียนเพื่อทำ�งานมากกวา ถึงแมผปู กครองจะตองการใหลกู ของตนออกจากโรงเรียนเพือ่ เขาสูต ลาดแรงงาน แตนักเรียนตางดาวสวนใหญที่ไดเรียนในโรงเรียนก็ตองการเรียนตอในระดับสูง “ไมอยากจบอนาคตตัวเองดวยการแบบเรียนไดนดิ เดียว เดีย๋ วทำ�งานแบบ... คือ เดีย๋ วนีม้ นั ตองมีความรูใ หไดมากทีส่ ดุ คิดวาถาเราเรียนแลวความรูม นั ก็อยูก บั ตัว ตายไปมันก็ตายไปพรอมกับเราเห็นมาจากคนอืน่ นะครับ เห็นคนไทย เออ ลูกคน ที่เรียนจบป.6 แลว เขาแบบ ไมอยากเรียนแลว จบอนาคตตัวเองนี่ ผมเห็นแลว พอไปทำ�งานนี่มันยากลำ�บากไง” (นักเรียนตางดาวชาวกัมพูชา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2, สัมภาษณเมื่อ วันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553)

125


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

ตารางที่ 1. จำ�นวนนักเรียนแยกตามสัญชาติ ปการศึกษา 2554 พมา

กัมพูชา

ลาว

จำ�นวนรวม นักเรียน จาก 3 ประเทศ

จำ�นวนนักเรียน ทั้งหมดใน ประเทศไทย

อนุบาล

11,543

1,953

915

14,411

1,009,426

ประถมศึกษา

32,228

3,820

2,245

38,293

3.445,679

มัธยมศึกษา ตอนต้น

4,247

637

300

5,184

2,016,131

มัธยมศึกษา ตอนปลาย

536

170

81

787

1,082,567

สายอาชีพ

11

0

1

12

4,163

รวม

48,565

6,580

3,542

58,687

7,557,966

ที่มา: สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) http://portal.bopp-obec.info/ obec54/jsonshow_arearace54

จากตารางที่ 1 เห็นไดวา จำ�นวนนักเรียนตางดาวทีเ่ รียนอยูใ นระดับประถมศึกษา จากสามประเทศตนทางหลักของแรงงานตางดาวในประเทศไทย คือ พมา กัมพูชา และ ลาว มีจ�ำ นวนถึง 38,293 คน อยางไรก็ตามจำ�นวนนักเรียนตางดาวทีเ่ รียนอยูใ นชัน้ มัธยม ศึกษาตอนตน และ มัธยมศึกษาตอนปลายกลับมีปริมาณลดลงไปเรื่อยๆ จากตาราง 1 จำ�นวนนักเรียนตางดาวทั่วประเทศไทยที่ไดเรียนตอในชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายมี จำ�นวนเพียง 787 คน หมายความวาเมือ่ เทียบกับจำ�นวนนักเรียนตางดาวจำ�นวน 38,293 คน ทีเ่ รียนในระดับประถมศึกษามีนักเรียนตางดาวจำ�นวนนอยมากทีส่ ามารถฝาฟนอุป สรรคตางๆ จนไดเรียนตอในชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย นักเรียนตางดาวสวนใหญตอง ออกจากโรงเรียนกลางคันดวยเหตุผลทางเศรษฐกิจ และเหตุผลอืน่ ๆ ดังทีไ่ ดแสดงใหเห็น ในงานวิจัยนี้ อภิปรายผลและขอเสนอแนะ จากการวิจัยพบวานโยบายของรัฐที่เปดโอกาสใหเด็กตางดาวเขาเรียนใน โรงเรียนของรัฐโดยไมเสียคาใชจา ยตามมติคณะรัฐมนตรีเมือ่ พ.ศ. 2548 นัน้ เปนนโยบาย ทีด่ ี และเปนนโยบายทีส่ มควรทำ�และตองทำ� แตจากสภาพทางเศรษฐกิจและสังคมของ ครอบครัวของเด็กตางดาวทำ�ใหเด็กไมมีโอกาสเรียนตอในชั้นสูง หรือใชโอกาสทางการ

126


การศึกษาของนักเรียนตางดาวในโรงเรียนรัฐไทย ฐิติมดี อาพัทธนานนท

ศึกษาที่ไดรับเปนเครื่องมือในการยกระดับคุณภาพชีวิตใหแกตนเองและครอบครัว จากงานวิจัยนี้เห็นไดชัดวาการที่รัฐเปดโอกาสใหเด็กตางดาวเขาเรียนอยางเดียวนั้น ไมเพียงพอ รัฐตองมีมาตรการอืน่ ที่ชวยใหเด็กตางดาวไดรับการศึกษาทีม่ ีคณ ุ ภาพ และ ไดรบั การศึกษาอยางทัว่ ถึงและแทจริง รัฐตองกำ�หนดแนวทางในการจัดการศึกษาแกเด็ก ตางดาว เชน การจัดชั้นเรียน หลักสูตรที่สอน และ การแกปญหาการออกกลางคัน ถา รัฐมีความจริงใจกับการใหการศึกษาแกเด็กตางดาวอยางแทจริง ซึง่ ในการวางมาตรการ และแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการใหการศึกษาสำ�หรับเด็กตางดาวนั้นสิ่งแรกที่รัฐตอง ทำ� คือ การทบทวนจุดประสงคของการใหการศึกษาแกเด็กตางดาววาตองการใหการ ศึกษาไปเพื่ออะไร จากการสัมภาษณเจาหนาที่ระดับนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ พบวาเหตุผลที่รัฐอนุญาตใหเด็กตางดาวไดรับการศึกษา เปนเพราะรัฐมีความเชื่อวา การศึกษาคือเครื่องมือของการพัฒนา การที่เด็กตางดาวไดรับการศึกษาจะทำ�ใหพวก เขาไดเรียนรู พูดคุยและทำ�ความเขาใจกับคนอื่นในสังคมได ซึ่งในอนาคตก็ไมแนนอน วาเด็กตางดาวบางคนอาจไดสัญชาติไทย อาจจะอยูเมืองไทยตลอดไป ในขณะที่ นายจางและผูบริหารโรงเรียนมองวาการใหการศึกษาแกเด็กตางดาวเพื่อพวกเขาจะได อยูในสังคมไทยไดอยางไมมีปญหา เชน ถาอานหนังสือออกก็จะไดอานปายจราจรได ไมทำ�ผิดกฎหมาย หรือการไดเรียนหนังสือ ไดอยูในโรงเรียนจะปองกันไมใหพวกเขา เขาไปยุงกับยาเสพติด โดยผูที่เกี่ยวของเหลานี้มองอนาคตของเด็กตางดาวที่ไดรับการ ศึกษาวาอาจจะเลือ่ นระดับจากแรงงานไรฝม อื เปนแรงงานทีม่ ฝี ม อื เชน เปนเสมียน อยางไร ก็ตามเมือ่ ผูว จิ ยั สอบถามเด็กตางดาวทีไ่ ดเขาเรียนในโรงเรียนไทยวาโตขึน้ พวกเขาอยาก เปนอะไร ไมมเี ด็กคนไหนทีต่ อบวา อยากเปนเสมียน อยากทำ�งานในโรงงาน อยากเปน ลูกจาง พวกเขามีความฝนวา อยากเปนหมอ อยากเปนครู เปนทหาร เปนตำ�รวจ เนือ่ งจาก พวกเขาเขาใจวาเมือ่ ไดเรียนหนังสือแลวก็อาจเลือ่ นฐานะทางสังคมได ซึง่ ความหวังของ เด็กตางดาวเหลานีแ้ ทบจะไมมที างเปนไปได สภาพความเปนจริงก็คอื เด็กตางดาวทีไ่ ด เขาเรียนในโรงเรียนรัฐสวนใหญตองออกกลางคันกอนจะเรียนจบชั้นประถมศึกษา เนื่องจากอุปสรรคทางเศรษฐกิจ เพราะฉะนั้นการเรียนในระบบแบบทีเ่ ปนอยูใ นปจจุบัน รวมถึงการจัดชัน้ เรียนทีเ่ ด็กตางดาวทุกคนตองเริม่ เรียนทีช่ นั้ ประถมศึกษาปที่ 1 รวมถึง หลักสูตรที่ไมไดคำ�นึงถึงวัฒนธรรมของเด็กตางดาว เชน ภาษา ทำ�ใหการศึกษาที่เด็ก ตางดาวไดรับอาจไมเหมาะกับความตองการและความจำ�เปน ผูวิจัยจึงเห็นวารัฐควรทบทวนวัตถุประสงคของนโยบายการใหโอกาสการ ศึกษาแกเด็กตางดาว แนนอนวาการใหการศึกษาแกเด็กตางดาวเปนเรื่องที่ตองทำ� แต รัฐควรทบทวนวาตองการใหการศึกษาไปเพื่ออะไร เชน ถาตองการเพียงใหเด็ก ตางดาวอานออกเขียนไดรหู นังสือ รัฐนาจะสงเสริมการศึกษานอกระบบมากกวา เพราะ

127


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

การศึกษานอกระบอาจจะเหมาะสมกับความตองการและความจำ�เปนของเด็กตางดาว มากกวา เนือ่ งจากสามารถนำ�ความรูน นั้ ไปใชไดทนั ที รวมทัง้ ยังสามารถเรียนและทำ�งาน ไปไดพรอมๆ กัน ดีกวาการที่รัฐอนุญาตใหเด็กตางดาวเขาเรียนแตไมมีมาตรการอื่น รองรับ ทำ�ใหเกิดปญหาตางๆขึน้ กับโรงเรียนทีเ่ ปนหนวยงานระดับปฏิบตั ิ เชน ถามีเด็ก ตางดาวออกกลางคันโรงเรียนไมสามารถจำ�หนายชื่อเด็กตางดาวคนนั้นออกจากขอมูล ของโรงเรียนได ซึ่งสงผลกระทบตอการดำ�เนินงานของโรงเรียน ทำ�ใหหลายโรงเรียน ลังเลที่จะรับเด็กตางดาวเขาเรียน ถารัฐไมชัดเจนในวัตถุประสงคของนโยบายก็จะเกิด ปญหาเชนในปจจุบนั คือ มีนโยบายทีเ่ ปดโอกาสใหเขาเรียน แตการจัดการเรียนการสอน และการปฏิบัติตางๆ ไมไดสงเสริมโอกาสทางการศึกษานั้น นโยบายการใหโอกาสทาง การศึกษาแกเด็กตางดาวก็จะเปนเพียงแคการผลิตซ้ำ� (Reproduce) ความไมเทาเทียม ระหวางคนไทยและคนตางดาว การศึกษาไมไดชวยใหเกิดความเทาเทียมในสังคม เหมือนที่ครูในศูนยการเรียนกลาวในการสัมภาษณวา “คนพมาอยูเมืองไทยมาหลาย ชั่วอายุคนแลว แตก็ยังเปนแรงงานอยู” (สัมภาษณครูในศูนยการเรียน, วันที่ 20 พฤษภาคม 2554) 



128




การศึกษาของนักเรียนตางดาวในโรงเรียนรัฐไทย ฐิติมดี อาพัทธนานนท

บรรณานุกรม ภาษาไทย กระทรวงศึกษาธิการ. สำ�นักงานปลัดกระทรวง. (2552). คูม อื และแนวปฏิบตั สิ �ำ หรับ การจัดการศึกษาแกบุคคลที่ไมมีหลักฐานทะเบียนราษฎรหรือไมมี สัญชาติไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพชมุ นุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย. คมชัดลึก. (2554). [ออนไลน]. สืบคนเมื่อ 2 กุมภาพันธุ 2554. จากhttp://www. komchadluek.net/detail/20091208/40470/%E0%B8%A8%E0%B8%98.% E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B9%89%E0%B8%A1%E0%B9%80%E 0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%81%E0%B8%95%E0%B9%88%E0% B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8 %A7%E0%B9%81%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8% 99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B9%80%E0%B8%A 3%E0%B9%88%E0%B8%A3%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99 %E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B9%80%E0%B8%A3% E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%AB%E0%B8%99%E 0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B8%AD.html ชวันธร มวงมี. (2548). โอกาสทางการศึกษาของเด็กยายถิ่นชาวพมาในจังหวัด สมุทรสาคร. วิทยานิพนธ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. วารุณี โอสถารมย. (2544). แบบเรียนไทยกับเอเชียตะวันออกเฉียงใต “เพื่อนบาน ของเรา” ภาพสะทอนเจตนคติอุดมการณชาตินิยมไทย. รัฐศาสตรสาร 22 (3) : 1-83. สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2554). จำ�นวนนักเรียนแยกตาม สัญชาติ. [ออนไลน]. สืบคนเมือ่ 20 สิงหาคม 2554. จาก http://202.143.174. 15:8081/obec54/jsonshow_arearace54 สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2553). รายงานการวิจยั การพัฒนารูปแบบและ แนวทางการจัดการศึกษาสำ�หรับเด็กตางดาว กรณีศกึ ษาอำ�เภอแมสอด จังหวัดตาก. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ. องคกรแรงงานระหวางประเทศ และสำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2549). รายงานการวิจัย: โอกาสทางการ ศึกษาของเด็กอพยพตางดาวและ เด็กชนเผาในจังหวัดสมุทรสาคร. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟก

129


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

ภาษาอังกฤษ Huguet, J. W. & Punpuing, S. (2005). Child migrants and children of migrants in Thailand. Asia-Pacific Population Journal, 20 (3) : 123-142. International Labor Organization (ILO). (2008). Reaching out to migrant children: How an NGO helped put a national policy on education into practice. [Online]. Retrieved February 10, 2011. from http://www. ilo.org/asia/whatwedo/publications/WCMS_099886/lang--en/index.htm.

130


การพัฒนาจริยธรรมในองคการผานกระบวนการ บริหารทรัพยากรมนุษย Ethical Development in Organizations through Human Resource Management Processes สานิตย หนูนิล 1 Sanit Noonin บทคัดยอ ปจจุบนั องคการตางๆ หันมาใหความสำ�คัญกับประเด็นจริยธรรมกันมากขึน้ เนือ่ ง จากปญหาจริยธรรมที่เกิดขึ้นทั้งในระดับประเทศ และในระดับสากล การเปดเสรีการคา ตลอดจนการออกกฎหรือมาตรฐานที่เกี่ยวกับจริยธรรมใหองคการตางๆ ปฏิบัติตาม หลายองคการจึงไดกำ�หนดเรื่องจริยธรรมไวเปนนโยบายขององคการ รวมทั้งมีการ กำ�หนดแนวทางในการพัฒนาจริยธรรมใหเกิดขึ้นในองคการกันอยางจริงจัง หนวยงาน ทรัพยากรมนุษยเปนหนวยงานที่มีบทบาทสำ�คัญอยางยิ่งในการพัฒนาดานจริยธรรม ใหเกิดขึน้ ในองคการ บทความนีม้ งุ ทีจ่ ะเสนอแนวคิดการพัฒนาจริยธรรมในองคการผาน กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย ประกอบดวย การสรรหาและคัดเลือกพนักงาน การปฐมนิเทศพนักงานใหม การฝกอบรมและพัฒนา การประเมินผลการปฏิบัติงาน การใหรางวัลและการลงโทษพนักงาน เพือ่ เปนประโยชนในการนำ�ไปประยุกตใชในการ พัฒนาจริยธรรมใหเกิดขึ้นในองคการตอไป คำ�สำ�คัญ: 1. การพัฒนาจริยธรรม. 2. องคการ. 3. การบริหารทรัพยากรมนุษย.

__________________ 1 อาจารยประจำ�สำ�นักวิชาบริหารธุรกิจ คณะอุตสาหกรรมบริการ วิทยาลัยดุสิตธานี วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปที่ 33(1) : 131-148, 2556


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

Abstract At the present, organizations are becoming more aware of ethical issues because of ethical problems arising both within the country and abroad. There are also liberalization of trade and the formulation of rules or standards of ethics for organizations to follow. Consequently many organizations are developing their own ethics policies and ethical development guidelines for implementation within their organizations. The human resource department plays a critical role in ethical development in an organization. This article aims to introduce the concept of ethical development through the human resource management process. This includes Recruitment & Selection, Orientation, Training & Development, Performance Appraisal and Reward & Punishment in order for organizations to apply these concepts. Keywords: 1. Ethical Development. 2. Organization. 3. Human Resource Management.

132


การพัฒนาจริยธรรมในองคการผานกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย สานิตย หนูนิล

บทนำ� ปจจุบันองคการตางๆ ทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน หันมาใหความสำ�คัญกับ เรื่องจริยธรรมกันมากขึ้น เนื่องจากปญหาสำ�คัญปญหาหนึ่งที่เกิดขึ้นในองคการตั้งแต ในอดีตจนถึงปจจุบัน คือปญหาดานจริยธรรม ดังที่มีขาวดานลบเกี่ยวกับความลมเหลว ดานจริยธรรมในองคการใหญๆ หลายองคการ เชน บริษัท Enron และบริษัท Arthur Andersen ในสหรัฐอเมริกา สำ�หรับประเทศไทยก็ไดเกิดวิฤกติเศรษฐกิจขึ้นในป พ.ศ. 2540 หรือที่รูจักกันในชื่อ “วิกฤติการณตมยำ�กุง” สาเหตุสำ�คัญประการหนึ่งของปญหา ดังกลาวเกิดจากปญหาดานการขาดจริยธรรมของผูบริหารทั้งในองคการภาครัฐและ ภาคเอกชน นอกจากนั้ น ป ญ หาด า นจริ ย ธรรมที่ เ กิ ด ขึ้ น ในองค ก ารทั้ ง ในและต า ง ประเทศยังปรากฎเปนขาวใหเห็นอยูเสมอๆ จึงไดเกิดกระแสเรียกรองใหองคการ หันมาใหความสำ�คัญกับเรื่องจริยธรรมในองคการ ซึ่งองคการภาครัฐ องคการเอกชน รวมทั้งองคการไมแสวงหากำ�ไร (NGOs) จึงไดมีการออกกฎเกณฑ หรือมาตรฐานดาน จริยธรรมใหองคการตางๆ ยึดถือปฏิบัติทั้งในระดับประเทศ และในระดับสากล เชน การกำ�หนดหลักธรรมาภิบาล (Good Governance) หรือหลักบรรษัทภิบาล (Corporate Governance) การกำ�หนดมาตรฐานความรับผิดชอบตอสังคมขององคการ (ISO 26000) การออกพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ ดี เปนตน รวมถึงประเด็นการเปดเสรีการคาไดมีการกำ�หนดมาตรฐานในดานตางๆ ใหประเทศคูค า ยึดถือปฏิบตั ิ รวมทัง้ มาตรฐานดานจริยธรรมดวย ดังนัน้ ปจจุบนั องคการ ตางๆ จึงหันมาใหความสำ�คัญกับเรื่องของจริยธรรมในองคการกันอยางจริงจัง การพั ฒ นาจริ ย ธรรมให เ กิ ด ขึ้ น ในองค ก ารนั้ น แท ที่ จ ริ ง ก็ คื อ การพั ฒ นาการ จริยธรรมของบุคคลในองคการนั่นเอง ซึ่งผูที่มีบทบาทสำ�คัญในการพัฒนาจริยธรรมใน องคการนอกจากผูบ ริหารแลว ก็คอื หนวยงานทรัพยากรมนุษยเนือ่ งจากเปนหนวยงานที่ เกีย่ วของโดยตรงกับคนในองคการ บทความนีจ้ งึ มุง ทีจ่ ะนำ�เสนอแนวคิดทีส่ �ำ คัญเกีย่ วกับ การพัฒนาจริยธรรมในองคการผานกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษยเพือ่ ใหองคการ ตางๆ นำ�ไปเปนแนวทางในการพัฒนาจริยธรรมใหเกิดขึ้นในองคการตอไป แนวคิดเกี่ยวกับจริยธรรม (Ethics) จริยธรรมเปนศาสตรที่มีอยูคูกับสังคมมนุษยมาเปนเวลายาวนานนับพันป มีเนื้อหาความรูที่พัฒนามาจากความรูทางดานปรัชญา ศาสนา วัฒนธรรม จิตวิทยา รวมทั้งสังคมทุกวิชาชีพ อาชีพ และกลุมองคการตางๆ ที่กอตั้งขึ้นในสังคม

133


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

ความหมายของจริยธรรม พระธรรมปฎก (2538 : 590-591) ใหความหมายของจริยธรรมไววา จริยธรรม มาจากคำ�วา จริย และ ธรรม ในแงความหมายทางพระพุทธศาสนา แปลวา หลักความ ประพฤติ หลักการดำ�เนินชีวิต หรือหลักการครองชีวิตที่ดีงาม ที่จะนำ�ไปสูจุดหมายคือ การดับทุกข พจนานุกรมราชบัณฑิตสถาน (2542) ไดอธิบายความหมายไว ดังนี้ จริยธรรม (นาม) ธรรมทีเ่ ปนขอประพฤติ ศีลธรรม กฎศีลธรรม สวน จริยศาสตร (นาม) คือปรัชญา สาขาหนึ่งวาดวยความประพฤติและการครองชีวิตวาอะไรดีอะไรชั่ว อะไรถูกอะไรผิด หรืออะไรควร ประภาศรี สีหอำ�ไพ (2543 : 17) อธิบายความหมายของ จริยธรรม วาหมายถึง หลักความประพฤติทอี่ บรมกิรยิ าและปลูกฝงลักษณะนิสยั ใหอยูใ นครรลองของคุณธรรม หรือศีลธรรม Carroll & Buchholz (2003 : 170) ใหความหมาย จริยธรรม ไววา หมายถึง หลักที่ใชแสดงวาอะไรดีหรือเลว และเกี่ยวของกับหนาที่และความรับผิดชอบดาน คุณธรรม นอกจากนั้นยังรวมถึงชุดของหลักการและคานิยมดานคุณธรรม Velasquez (2008 : 10) อธิบายความหมายของ จริยธรรม วาหมายถึง หลักที่ ใชในการตรวจสอบมาตรฐานดานคุณธรรมของบุคคลหรือคุณธรรมของสังคม จากความหมายดังกลาวสรุปไดวา จริยธรรม หมายถึง หลักความประพฤติ ปฏิบัติที่ถูกตองดีงาม ซึ่งนำ�มาสูการยอมรับ การประสบความสำ�เร็จ และความเจริญ ของผูปฏิบัติ และสังคมโดยรวม ความสำ�คัญของจริยธรรม จริยธรรมเปนสิ่งจำ�เปนเพราะเปนหลักการดำ�รงตนและการทำ�งานวาสิ่งใด ควรกระทำ�หรือไมควรกระทำ� บุษยา วีรกุล (2551 : 1) อธิบายวาในทุกสังคมนั้นมี กฎหมายเปนเครื่องที่กำ�หนดขึ้นเพื่อชวยใหมนุษยอยูรวมกันไดอยางสงบสุขโดยไม เกิดความขัดแยงที่ทำ�ลายความกาวหนาของสังคมมนุษย กฎหมายมีผลในการบังคับ ให ส มาชิ ก กลุ  ม ปฏิ บั ติ ต ามกฎเกณฑ ที่ กำ � หนด แต ม นุ ษ ย แ ละสั ง คมเป น เรื่ อ งที่ กวางใหญและหลากหลาย การออกกฎหมายเพื่อใหเกิดผลที่มีประสิทธิภาพในแตละ เรื่องจะใชเวลาและทรัพยากรตางๆ มากมาย ความไมหยุดนิ่งรวมทั้งความแตกตางกัน ที่เปนลักษณะทางธรรมชาติของพฤติกรรมและความคิดของมนุษยทำ�ใหเกิดปญหา และความขัดแยงในสังคมที่กระบวนการออกกฎหมายไมทันกับปญหาจริยธรรมและ

134


การพัฒนาจริยธรรมในองคการผานกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย สานิตย หนูนิล

จรรยาบรรณจึ ง เป น ป จ จั ย หนึ่ ง ที่ ช  ว ยให ม นุ ษ ย มี เ หตุ ผ ลเพื่ อ การตั ด สิ น ใจที่ จ ะ กระทำ�การใดๆ ที่ไมไดเกิดจากการบังคับดวยกฎหมายแตเกิดจากการสำ�นึกในความ ผิดถูก ความเหมาะสม และความดีงามแทน นอกจากนั้น พิภพ วชังเงิน (2545 : 22) ไดแสดงความเห็นวาจริยธรรมมีคาตอชีวิตมนุษย ดังนี้ l จริยธรรมชวยพัฒนาคุณภาพชีวต ิ ใหมนุษยมชี วี ติ ทีด่ ี มีสขุ ภาพดีทงั้ สุขภาพจิต และสุขภาพกาย มีชีวิตที่สมบูรณ l จริยธรรมชวยใหมนุษยรูจักตนเองมีความสำ�นึกในหนาที่มีความรับผิดชอบ ตอตนเอง ตอครอบครัว ตอสังคม ตอประเทศชาติตอหนาที่การงาน l จริยธรรมเปนวิถีทางแหงปญญา ทำ�ใหมนุษยมีเหตุผลรูจักใชสติปญญาแก ปญหาชีวิตโดยนำ�เอาหลักจริยธรรมมาเปนเครื่องมือแกปญหาชีวิต มีความเชื่อวาการ กระทำ�ความดีเปนสิ่งที่ดี ไมหลงงมงายในสิ่งที่ปราศจากกฎหมาย l จริยธรรมชวยสรางสันติภาพในสังคมและสรางสันติภาพโลก l จริยธรรมชวยใหมนุษยอยูรวมกันในสังคมอยางมีระเบียบ เปนระบบ รูสึกมี ความอบอุน ปลอดภัยในชีวิตทรัพยสินและอยูรวมกันในสังคมอยางสงบสุข มีสันติภาพ l จริ ย ธรรมช ว ยให ม นุ ษ ย ส ามารถปรั บ ตั ว เข า ได กั บ บุ ค คลอื่ น ๆ และสั ง คม อยางมีระบบ เปนระเบียบ สามารถครองคน ครองงาน ครองตน ครองเรือน ฯลฯ l จริยธรรมชวยใหมนุษยมีเครื่องมือยึดเหนี่ยวและเปนหลักปฎิบัติเพื่อปองกัน การเบียดเบียนการเอารัดเอาเปรียบกันในทางสวนตัวและสังคม l จริยธรรมชวยใหมนุษยเปนคนหนักแนน อดทน ขยัน ตอสู เพื่อเอาชนะดวย ตนเอง เปนที่พึ่งของตนเอง ไมตองรอโชคชะตา l จริยธรรมชวยใหมนุษยสามารถกำ�หนดเปาหมายของชีวต ิ ดำ�เนินและพัฒนา ชีวิตใหสำ�เร็จตามเปาหมาย l จริ ย ธรรมช ว ยให ม นุ ษ ย ส ามารถแก ป  ญ หาชี วิ ต และสามารถทำ � ให ค วาม ทุกขหมดไปได ทฤษฎีที่เกี่ยวกับการพัฒนาจริยธรรม หลายคนมักตั้งขอสงสัยวาจริยธรรมพัฒนาไดหรือไม นักวิชาการโดยเฉพาะ ในสาขาทางดานจิตวิทยาไดทำ�การศึกษาวิจัยเพื่อตอบขอสงสัยดังกลาว ผลจากการ ศึกษาของนักวิชาการหลายทานตอบตรงกันวาจริยธรรมสามารถพัฒนาได แตขนึ้ อยูก บั ปจจัยและเงือ่ นไขตางๆ ทฤษฎีส�ำ คัญทีม่ กั ถูกหยิบยกขึน้ มาอธิบายเกีย่ วกับการพัฒนา จริยธรรม มีดังนี้

135


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

ทฤษฎีการเรียนรูทางสังคม (Social Learning Theory) Bandura (1977 : 24-28) เสนอวาการเรียนรูหรือการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ของบุคคลเกิดจากการสังเกตและการเลียนแบบจากตนแบบ สิ่งแวดลอม เหตุการณ และสถานการณที่บุคคลมีความสนใจ โดยกระบวนการเลียนแบบ ประกอบดวย 4 กระบวนการสำ�คัญ คือ 1.) กระบวนการความสนใจ (Attentional Process) คือ กระบวนการที่บุคคล รูสึกสนใจในตัวแบบ และสถานการณที่เกิดขึ้น ทั้งนี้เนื่องจากผูเรียนเห็นวาตัวแบบ และสถานการณดังกลาวเปนเรื่องสำ�คัญ ตลอดจนเห็นวาตัวแบบนั้นมีความเหมือน กับผูเรียน 2.) กระบวนการความจำ� (Retention Process) คือ กระบวนการในการจดจำ� พฤติกรรมของตัวแบบไดดี ซึ่งจะทำ�ใหสามารถเลียนแบบและถายทอดแบบมาไดงาย 3.) กระบวนการการแสดงออก (Motor and Reproduction Process) คือ กระบวนการทำ�ตามพฤติกรรมของตัวแบบ ซึ่งหมายความวา ภายหลังจากที่ผูเรียน ไดสังเกตพฤติกรรมของตัวแบบแลวจะแสดงพฤติกรรมตามอยางตัวแบบ 4.) กระบวนการเสริมแรง (Reinforcement Process) หมายถึง หากมีการ เสริมแรง เชน การใหรางวัลตอพฤติกรรมหนึ่งๆ จะทำ�ใหบุคคลใหความสนใจใน พฤติกรรมแบบนั้นเพิ่มขึ้น เรียนรูดีขึ้น และแสดงพฤติกรรมนั้นบอยครั้งขึ้น ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรม (Moral Development Theory) Kohlberg เชื่ อ ว า พั ฒ นาการทางจริ ย ธรรมของแต ล ะบุ ค คลจะผ า นไปตาม ขั้นพัฒนาการ (Sequential Stage) โดยมีพื้นฐานมาจากการใหเหตุผลเชิงตรรกศาสตร และเชือ่ วาการรับรูท างสังคมและบทบาททางสังคมของแตละบุคคลนัน้ จะมีความสัมพันธ ในลักษณะปฏิสัมพันธกับพัฒนาการทางจริยธรรมของบุคคลนั้น สำ�หรับการตัดสิน คุณธรรมตามขั้นตางๆ นั้น Kohlberg เห็นวาเปนผลมาจากประสบการณในการ ปฏิสมั พันธกบั บุคคลอืน่ ซึง่ Kohlberg เชือ่ วาสิง่ เหลานัน้ จะนำ�ไปสูก ารเรียนรูส ว นบุคคล มากกวาจะเปนรูปแบบของวัฒนธรรมที่สังคมวางไว นอกจากนี้ Kohlberg ยังเห็นวา บุคคลที่จะมีจริยธรรมขั้นสูงหรือสามารถใชเหตุผลทางจริยธรรมขั้นสูงไดนั้นจะตอง สามารถใชเหตุผลเชิงตรรกะและความสามารถในการรับรูทางสังคมในระดับสูงกอน โดยลำ�ดับขั้นพัฒนาการทางจริยธรรมตามทฤษฎีของ Kohlberg นั้นแบงออกเปน 3 ระดับ และแตละระดับสามารถแบงออกเปน 2 ขั้น สรุปไดดังตารางตอไปนี้ (Kohlberg, 1976 : 31-54)

136


การพัฒนาจริยธรรมในองคการผานกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย สานิตย หนูนิล

ตารางที่ 1. ลำ�ดับขั้นพัฒนาการทางจริยธรรม ระดับกอนเกณฑ (อายุ 2-10 ป)

ขัน้ ที่ 1 ขัน้ ที่ 2

ระดับตามเกณฑ (อายุ 10-16 ป)

ระดับเหนือเกณฑ (อายุ 16 ปขน้ึ ไป)

ขัน้ ที่ 3 ขัน้ ที่ 4

ขัน้ ที่ 5 ขัน้ ที่ 6

ใชหลักการหลบหลีกการลงโทษ คือ การมุง ทีจ่ ะหลบหลีก มิให ตนเองถูกลงโทษทางกายเพราะกลัวความเจ็บปวดทีจ่ ะไดรบั และ จะยอมทำ�ตามคำ�สัง่ ของผูใ หญเพราะเปนผูท ม่ี อี �ำ นาจเหนือตน ใชหลักการแสวงหารางวัล คือ การเลือกกระทำ�ในสิง่ ทีจ่ ะนำ� ความพอใจมาใหตนเองเทานัน้ ใชหลักการทำ�ตามทีผ่ อู น่ื เห็นชอบบุคคลยังไมเปนตัวของตัวเอง ชอบคลอยตามการชักจูงของผูอ น่ื โดยเฉพาะเพือ่ นๆ ใชหลักการทำ�ตามหนาทีข่ องสังคมบุคคลมีความรู เกีย่ วกับ บทบาทหนาทีข่ องตนในฐานะทีเ่ ปนสวนหนึง่ ของสังคมของตน จึงถือวาตนมีหนาที่ตามกฎเกณฑตางๆ ทีส่ งั คมของตนกำ�หนด หรือคาดหมาย ใชหลักการทำ�ตามคำ�มัน่ สัญญาบุคคลเห็นความสำ�คัญของคน สวนใหญ ไมท�ำ ตนใหขดั ตอสิทธิอนั พึงมีพงึ ไดของบุคคลอืน่ สามารถควบคุมบังคับใจตนเองได ใชหลักการยึดหลักอุดมคติสากล ซึง่ เปนขัน้ พัฒนาการทีส่ งู สุด แสดงทัง้ การมีความรูส ากลนอกเหนือจากกฎเกณฑในสังคมของ ตน และการมีความยืดหยุน ทางจริยธรรมเพือ่ จุดมุง หมายในบัน้ ปลายอันเปนอุดมคติยง่ิ ใหญ

ทฤษฏีตนไมจริยธรรม ดวงเดือน พันธุมนาวิน (2538 : 3-4) อธิบายวา ทฤษฎีตนไมจริยธรรม แสดงถึงสาเหตุพฤติกรรมของคนดีและคนเกง โดยไดทำ�การประมวลผลการวิจัย ที่เกี่ยวของกับการศึกษาสาเหตุของพฤติกรรมตางๆ ของคนไทยทั้งเด็กและผูใหญ อายุตั้งแต 6-60 ป วาพฤติกรรมเหลานั้น มีสาเหตุทางจิตใจอะไรบาง และไดนำ�มา ประยุกตเปนทฤษฎีตน ไมจริยธรรมสำ�หรับคนไทยขึน้ โดยแบงตนไมจริยธรรม ออกเปน 3 สวน ดังนี้ สวนทีห่ นึง่ ไดแก ดอกและผลไมบนตน ทีแ่ สดงถึงพฤติกรรมการทำ�ดีละเวนชัว่ และพฤติกรรมการทำ�งานอยางขยันขันแข็งเพื่อสวนรวม ซึ่งลวนแตเปนพฤติกรรมของ พลเมืองดี พฤติกรรมที่เอื้อตอการพัฒนาประเทศ สวนทีส่ อง ไดแก สวนลำ�ตนของตนไม แสดงถึงพฤติกรรมการทำ�งานอาชีพอยาง ขยันขันแข็ง ซึ่งประกอบดวยจิตลักษณะ 5 ดาน คือ

137


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

1.) เหตุผลเชิงจริยธรรม 2.) มุงอนาคตและการควบคุมตนเอง 3.) ความเชื่ออำ�นาจในตน 4.) แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ 5.) ทัศนคติ คุณธรรมและคานิยม สวนที่สาม ไดแก รากของตนไม ที่แสดงถึงพฤติกรรมการทำ�งานอาชีพอยาง ขยันขันแข็งซึ่งประกอบดวยจิตลักษณะ 3 ดาน คือ 1.) สติปญญา 2.) ประสบการณทางสังคม 3.) สุขภาพจิต จิตลักษณะทั้งสามนี้อาจใชเปนสาเหตุของการพัฒนาจิตลักษณะ 5 ประการ ที่ลำ�ตนของตนไมก็ได กลาวคือ บุคคลจะตองมีลักษณะพื้นฐานทางจิตใจ 3 ดาน ใน ปริมาณที่สูงพอเหมาะกับอายุ จึงจะเปนผูที่มีความพรอมที่จะพัฒนาจิตลักษณะทั้ง 5 ประการ ที่ลำ�ตนของตนไม โดยที่จิตทั้ง 5 ลักษณะนี้จะพัฒนาไปเองโดยอัตโนมัติ ถาบุคคลทีม่ คี วามพรอมทางจิตใจ 3 ดานดังกลาวและอยูใ นสภาพแวดลอมทางครอบครัว และสังคมที่เหมาะสม นอกจากนั้นบุคคลยังมีความพรอมที่จะรับการพัฒนาจิตลักษณะ บางประการใน 5 ดานนี้ โดยวิธกี ารอืน่ ๆ ดวย ฉะนัน้ จิตลักษณะพืน้ ฐาน 3 ประการ จึงเปน สาเหตุของพฤติกรรมของคนดีและของคนเกงนั่นเอง นอกจากนี้จิตลักษณะพื้นฐาน 3 ประการที่รากนี้ อาจเปนสาเหตุรวมกับจิตลักษณะ 5 ประการที่ลำ�ตน หากบุคคลมี พื้นฐานทางดานจิตใจเปนปกติและไดรับประสบการณทางสังคมที่เหมาะสม บุคคลนั้น ก็จะสามารถพัฒนาโดยธรรมชาติ แตในสังคมไทยมีการวิจยั พบวาพัฒนาการหยุดชะงัก อยางไมเหมาะสมกับวัย กลาวคือ ผูใหญจ�ำ นวนหนึ่งซึ่งสมควรพัฒนาการใชเหตุผลไป ถึงขั้นสูงแลวแตยังหยุดชะงักที่ขั้นต่ำ� เชน ยังยึดหลักแลกเปลี่ยนผลประโยชนสวนตน และสวนพวกพอง เปนตน บุคคลทีม่ แี รงจูงใจดังกลาวจึงยังไมสามารถคิดประโยชนเพือ่ สังคมได จริยธรรมทางธุรกิจ (Business Ethics) การดำ�เนินธุรกิจมีผลกระทบตอสังคมทั้งดานบวกและดานลบ เปนกิจกรรมที่ สลับซับซอนมาก ผูดำ�เนินธุรกิจนอกจากตองปฏิบัติตามกฎหมายของบานเมืองแลว สังคมยังคาดหวังวาการดำ�เนินธุรกิจตองมีจริยธรรมอีกดวย ดังนั้น จริยธรรมในการ ดำ�เนินธุรกิจจึงมีความสำ�คัญอยางยิง่ ดังนัน้ ธุรกิจจึงมีความเกีย่ วของกับจริยธรรมอยาง แยกไมออก (สมคิด บางโม, 2554 : 60)

138


การพัฒนาจริยธรรมในองคการผานกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย สานิตย หนูนิล

ความหมายของจริยธรรมทางธุรกิจ บุษยา วีรกุล (2551 : 43) ไดสรุปความหมายของจริยธรรมทางธุรกิจวา หมายถึง มาตรฐานหรือ เกณฑการพิจารณา หรือการศึกษาเกี่ยวกับบุคคล องคการ นโยบาย การกระทำ�ของธุรกิจวาดีหรือไมดี ถูกหรือผิด หรือเหมาะสมหรือไมเหมาะสมทาง ดานจริยธรรม Carroll & Buchholz (2003 : 170) อธิบายความหมายของจริยธรรมทางธุรกิจ วา หมายถึง การพิจารณาถึงหลักการประพฤติดีและการปฏิบัติดีหรือเลว ผิดหรือถูก ที่เกิดขึ้นในการทำ�ธุรกิจ ดั ง นั้ น สรุ ป ได ว  า จริ ย ธรรมทางธุ ร กิ จ หมายถึ ง การนำ � หลั ก จริ ย ธรรมมา ประยุกตใชในการดำ�เนินธุรกิจเพื่อใหเกิดความถูกตองเหมาะสม ความสำ�คัญของจริยธรรมทางธุรกิจ ธุรกิจจะไมสามารถมีความเจริญอยางตอเนื่องไดหากไมคำ�ถึงเรื่องจริยธรรม เพราะการแขงขันแยงชิงการใชทรัพยากรของสังคมอยางไรกฎเกณฑที่เปนธรรม และ การทำ�ธุรกิจโดยไมมีจริยธรรม ไมคำ�นึงถึงประโยชนของผูมีสวนรวมในสังคมที่ธุรกิจ ตั้งอยู จะทำ�ลายธุรกิจนั้นในที่สุดเชนกัน (บุษยา วีรกุล, 2551 : 43) แตหากธุรกิจยึด หลักจริยธรรมในการดำ�เนินธุรกิจยอมจะสงผลดีตอธุรกิจทั้งในระยะสั้นและระยะยาว ทำ�ใหพนักงานเกิดความผูกพันตอองคการ (Ethics Contributes to Employee Commitment) ผูลงทุนมีความจงรักภักดีตอองคการธุรกิจ (Ethics Contributes to Investor Loyalty) ผูบริโภคเกิดความพึงพอใจ (Ethics Contributes to Customer Satisfaction) นอกจากนั้นการดำ�เนินธุรกิจอยางมีจริยธรรมยังชวยสรางกำ�ไรให กับองคการ (Ethics Contributes to Profits) อีกดวย (Ferrell, Fraedrich & Ferrell, 2008 : 17-18 ; สมคิด บางโม, 2554 : 16-17) กลาววาเมื่อนำ�จริยธรรมมาใชใน การประกอบธุรกิจ จะทำ�ใหเกิดประโยชนตอ ตนเองและองคการธุรกิจหลายประการ ดังนี้ l ทำ�ใหบุคลากรในองคการธุรกิจ อยูรวมกันอยางมีความสุข ไมเบียดเบียนกัน ปฏิบตั งิ านดวยความสบายใจ มีความรักสามัคคี ไมมขี อ พิพาทแรงงานหรือ กลัน่ แกลงกัน l ทำ�ใหบุคลากรในองคการธุรกิจเจริญกาวหนา มีอาชีพและรายไดที่มั่นคง ดำ�รงชีวิตมีความสุข มีศักดิ์ศรี มีความหวังและมีโอกาสกาวหนาในอาชีพการงาน l องคการธุรกิจเจริญรุงเรือง ยั่งยืนถาวรตลอดไป ไมลมสลาย l ทำ�ใหประเทศชาติเจริญรุง  เรือง พัฒนาทัง้ ดานเศรษฐกิจ สังคม และความัน่ คง ธุรกิจเจริญรุงเรือง คนมีรายไดไมวางงาน สังคมสงบสุข ประชาชนไมลุมหลงอบายมุข ไมมีการคดโกงกัน อาชญากรรมก็ไมเกิด

139


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

จริยธรรมที่จำ�เปนในการประกอบธุรกิจ Ferrell, Fraedrich & Ferrell (2008 : 60) ไดสรุปถึงประเด็นจริยธรรมที่องคการ ตองใหความสำ�คัญในการประกอบธุรกิจมีอยู 3 ดาน ไดแก ความซื่อสัตย (Honesty) ความยุติธรรม (Fairness) และความถูกตองชอบธรรม (Integrity) สอดคลองกับที่ สมคิด บางโม (2554 : 15) ไดสรุปองคประกอบของจริยธรรมทางธุรกิจที่สำ�คัญมาก ไดแก ความซื่อสัตย ความรับผิดชอบ ความยุติธรรม รองลงไป คือ ความเสียสละ ความอดทน และความกตัญู หากนักธุรกิจสามารถใชคุณธรรมไดทุกดานยอมเปน สิ่งที่จรรโลงใหผูนั้นมีคุณคาเปนที่ยอมรับยกยองของสังคม แนวคิดการบริหารทรัพยากรมนุษย (Human Resource Management) การบริหารทรัพยากรมนุษยในองคการมีวิวัฒนาการมายาวนานตั้งแตในอดีต มาจนถึงปจจุบัน โดยแนวคิดอาจเปลี่ยนแปลงไปตามยุคตามสมัยตั้งแตการบริหารงาน บุคคล การบริหารทรัพยากรมนุษย จนถึงปจจุบันเปลี่ยนเปนการจัดการทุนมนุษย นักวิชาการไดใหความหมายของการบริหารทรัพยากรมนุษยไวคอนขางหลากหลาย อาทิ Byars & Rue (2008 : 3) ไดอธิบายความหมายของการบริหารทรัพยากรมนุษยวา หมายถึง กิจกรรมที่ถูกออกแบบมาเพื่อรองรับและจัดการทรัพยากรมนุษยขององคการ สวน Kleiman (2000 : 2) อธิบายวา การบริหารทรัพยากรมนุษย หมายถึง หนาที่ของ องคการซึ่งประกอบดวยการปฏิบัติงานที่จะชวยใหองคการประสบความสำ�เร็จตลอด ระยะเวลาของการจางงาน จากความหมายที่นักวิชาการไดใหไวสรุปไดวา การบริหาร ทรัพยากรมนุษย หมายถึง กิจกรรมที่เกี่ยวของกับมนุษยในองคการตั้งแตกอนเปน สมาชิกขององคการจนถึงพนสภาพการเปนสมาชิกขององคการ ทัง้ นีเ้ พือ่ ใหทงั้ องคการ และทรัพยากรมนุษยเกิดการพัฒนาและเติบโตไปพรอมๆ กัน ความสำ�คัญของการบริการทรัพยากรมนุษย ทรัพยากรมนุษยถือเปนทรัพยากรที่มีคามาก และบางครั้งไมสามารถทดแทน ดวยทรัพยากรอื่นๆ ได ดังนั้นการบริหารทรัพยากรมนุษยที่มีประสิทธิผลถือเปนงานที่ สำ�คัญของผูบริหาร (Gomez, Balkin & Cardy, 2007 : 3) ซึ่งในปจจุบันมีการใหคุณ คาทรัพยากรมนุษยโดยเปรียบเสมือนเปน “ทุนมนุษย (Human Capital)” ขององคการ องคการใดที่มีทุนมนุษยหรือมีพนักงานที่มีขีดความสามารถสูงองคการนั้นก็มีโอกาส ที่จะประสบความสำ�เร็จตามวัตถุประสงคและเปาหมายขององคการไดมาก (ทวีศักดิ์ สูทกวาทิน, 2551 : 4 ; สมบัติ กุสมุ าวลี, 2552 : 8) ไดสรุปถึงเปาประสงคของการบริหาร จัดการทรัพยากรมนุษยเพื่อใหบรรลุเปาประสงคขององคการ ไวดังนี้

140


การพัฒนาจริยธรรมในองคการผานกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย สานิตย หนูนิล

l ในแงของการทีจ ่ ะตองสรางความมัน่ ใจวาองคการจะสามารถอยูร อดไดพรอม กับความสามารถที่จะมีกำ�ไรในการประกอบธุรกิจไดอยางเพียงพอ (Goal of Securing Viability with Adequate Profitability) นัน้ การบริหารจัดการทรัพยากรมนุษยกค็ งจะตอง กำ�หนดเปาประสงคในแงของการสราง “ผลิตภาพดานแรงงาน” (Labour productivity) ใหเกิดขึ้นภายในองคการ นั่นหมายถึงวา การบริหารจัดการทรัพยากรมนุษยจะตอง ทำ�ใหองคการเกิดความคุมคาในการลงทุน (Cost-Effectiveness) ที่เกี่ยวกับทรัพยากร บุคคลในองคการ l ในแง ข องการที่ อ งค ก ารประสงค ที่ จ ะได เ ปรี ย บในการแข ง ขั น อย า งยั่ ง ยื น (Sustained Competitive Advantage) การบริหารจัดการทรัพยากรมนุษยคงจะตอง กำ�หนดเปาประสงคในแงของการทีจ่ ะทำ�ใหองคการมีความพรอมรับ (Responsiveness) และปรับตัว (Adaptation) ใหเขากับการเปลี่ยนแปลง ดังนั้น การทำ�ใหองคการมีความ ยืดหยุนพรอมกับการเปลี่ยนแปลงและการแขงขัน (Organizational Flexibility) อยาง ยั่งยืน จึงเปนเปาประสงคที่ส�ำ คัญอีกประการของงานดานการบริหารจัดการทรัพยากร มนุษย l ในแง ข องการที่องคการประสงคที่จ ะมี ความชอบธรรมทางสัง คม (Social Legitimacy) ก็ถือเปนภาระหนาที่สำ�คัญของการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษยที่ จะตองมีเปาหมายที่มุงเนนการสรางความรูสึกใหองคการมีความรับผิดชอบตอสังคม (Corporate Social Responsibility) โดยเฉพาะความรับผิดชอบตอบุคลากรภายใน องคการ และผลกระทบจากการบริหารทรัพยากรบุคคลของบริษัทที่จะไปมีผลตอสังคม ภายนอก ซึ่งตอมาไดขยายนิยามความรับผิดชอบออกไปสูความรับผิดชอบตอสังคม สิ่งแวดลอม ลูกคา และมีสวนเกี่ยวของกลุมตางๆ บทบาทหนาที่ของหนวยงานทรัพยากรมนุษย นั ก วิ ช าการจำ � นวนมากได จั ดแบง บทบาทหน า ที่ ข องการบริ ห ารทรั พ ยากร มนุษยในองคการเอาไว ดังเชน Kleiman (2000 : 22) ไดแบงหนาที่ในการบริหาร ทรั พ ยากรมนุ ษ ย อ อกเป น หนาที่กอนการคัดเลือกบุคลากร (Pre-Selection Practices) ประกอบดวย การวางแผนกำ�ลังคน และการออกแบบงาน หนาที่ในการ คัดเลือกบุคลากร (Selection Practices) ประกอบดวย การสรรหาและคัดเลือก บุคลากร หนาทีห่ ลังการคัดเลือก (Post-Selection Practices) ประกอบดวย การฝก และอบรมบุคลากร การประเมินผลการปฏิบตั งิ าน การบริหารคาตอบแทน และการพัฒนา ประสิทธิภาพผลการปฏิบัติงาน นอกจากนั้นยังมีหนาที่ที่เปนผลจากปจจัยภายนอกที่ ส ง ผลกระทบต อ การบริ ห ารทรั พ ยากรมนุ ษ ย เช น ความเป น ธรรมในที่ ทำ � งาน

141


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

สหภาพแรงงาน ความปลอดภัยและสุขภาพของผูปฏิบัติงาน รวมถึงเรื่องของปจจัย จากภายนอกประเทศและเรื่องความเปนสากลอีกดวย นอกจากนั้น ในปจจุบันหนวยงานทรัพยากรมนุษยยังมีบทความสำ�คัญตอ องคการมากขึ้น โดยเฉพาะการมองบทบาทผูปฏิบัติงานดานทรัพยากรมนุษยวา เปรียบเสมือน “หุนสวนเชิงกลยุทธของผูบริหาร (Strategic Partner)” มีสวนสำ�คัญตอ ความสำ�เร็จองคการ บทบาทที่สำ�คัญอีกอยางของหนวยงานทรัพยากรมนุษยใน ปจจุบนั ก็คอื บทบาทดานจริยธรรมและความรับผิดชอบตอสังคมขององคการ โดยสมาคม การบริหารทรัพยากรมนุษย (Society of Human Resource Management : SHRM) ได กำ � หนดให ง านด า นนี้ เ ป น หมวดหนึ่ ง ของหน ว ยงานทรั พ ยากรมนุ ษ ย สำ � หรั บ ประเทศไทยเองก็มีผลการวิจัยระบุวาองคการตางๆ หันมาใหความสำ�คัญกับเรื่อง ดังกลาวมากขึ้นโดยถูกนำ�มาใชเปนกลยุทธหนึ่งขององคการในการสรางความยั่งยืน และสรางชื่อเสียงหรือภาพลักษณใหกับองคการ (จิรประภา อัครบวร, 2552 : 10-11) การพัฒนาจริยธรรมผานกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย ในทุ ก กิ จ กรรมของการบริ ห ารทรั พ ยากรมนุ ษ ย ผู  บ ริ ห ารหรื อ ผู  ที่ มี ห น า ที่ ดังกลาวในองคการสามารถที่จะสอดแทรกเรื่องจริยธรรมเขาไปไดในทุกกิจกรรม Weaver & Trevino (2001 : 113-134) กลาวถึงบทบาทของผูบ ริหารงานทรัพยากรมนุษย ในองคการวา มีความสำ�คัญอยางมากตอการสรางระบบงานและวัฒนธรรมทีม่ จี ริยธรรม ขึ้นในองคการ เพราะภาระหนาที่ของฝายบริหารและพัฒนาทรัพยากรมนุษยเกี่ยวของ กับกระบวนการนี้เกือบทั้งสิ้น โดยกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษยที่มีสวนพัฒนา จริยธรรมในองคการ ประกอบดวย การสรรหาและคัดเลือกพนักงาน การสรรหาและคัดเลือกพนักงานถือเปนกระบวนการแรกๆ ในกระบวนการ บริหารทรัพยากรมนุษย เปนขั้นตอนที่มีความสำ�คัญมากเพื่อใหองคการไดบุคลากรที่มี ความรู ความสามารถ และคุณสมบัติที่เหมาะสมกับองคการ ซึ่งในปจจุบันกระบวนการ คัดเลือกพนักงานหลายองคการมักมุงที่จะพิจารณาแคดานผลการปฏิบัติงาน หรือ ความรู ความสามารถ แตลืมพิจารณาถึงสวนที่มีความสำ�คัญมากคือ ขีดสมรรถนะ (Competencies) ซึ่งประกอบดวยเรื่องของคานิยม ทัศนคติ รวมถึงดานคุณธรรม จริยธรรม ซึ่งเปนสวนที่สังเกตและพัฒนาไดยากกวาสวนแรก โดยคานิยมหรือทัศน คติดานจริยธรรมของพนักงานจะสงผลตอความสำ�เร็จของการประกอบอาชีพ ดังนั้น

142


การพัฒนาจริยธรรมในองคการผานกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย สานิตย หนูนิล

ในการคัดเลือกพนักงานองคการควรกำ�หนดวิธีการคัดเลือกที่สามารถคัดเลือกผูสมัคร ที่มีคุณลักษณะ คานิยม และทัศนคติที่สอดคลองกับลักษณะของตำ�แหนงงาน รวมทั้ง คานิยมและวัฒนธรรมทางจริยธรรมขององคการ เชน ในธุรกิจโรงแรมตองการพนักงาน ที่มีคุณลักษณะในเรื่องของการใสใจผูอื่น ความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย เปนตน ดังนั้นองคการตองมีเครื่องมือในการประเมินในประเด็นดังกลาว โดยเครื่องมือดังกลาว สามารถที่จะประเมินพัฒนาการดานจริยธรรมของผูสมัครวาเปนไปตามขั้นของการ พัฒนาจริยธรรม ตามทฤษฎีพัฒนาทางทางจริยธรรมของ Kohlberg หรือไม หรืออาจ มีการประเมินจิตลักษณะพื้นฐาน 3 ประการ ที่เปนสาเหตุของพฤติกรรมของคนดีและ ของคนเกง ตามทฤษฎีตนไมจริยธรรม ซึ่งเครื่องมือในการคัดเลือกพนักงานจะตอง สามารถวัดในเรื่องดังกลาวไดจริง นอกจากนั้นเครื่องมือที่ใชในการคัดเลือกพนักงาน ควรจะมีความหลากหลาย เชน แบบทดสอบ แบบวัดบุคลิกภาพ แบบวัดทางจิตวิทยา แบบสัมภาษณ แบบสังเกต การใชสถานการณจำ�ลอง เปนตน อยางไรก็ตามในการประเมินดานคุณธรรมจริยธรรมของผูสมัครจะตองทำ�ดวย ความรอบคอบเนือ่ งจากเปนเรือ่ งทีค่ อ นขางทีจ่ ะออนไหว และอาจเกีย่ วของกับกฎหมาย ดั ง เช น ในกรณี ป ระเทศสหรั ฐ อเมริ ก าเคยกำ � หนดให มี ก ารทดสอบในเรื่ อ งศั ก ดิ์ ศ รี (Integrity Test) แตตอมาไดยกเลิกไปเพราะถือเปนเรื่องที่ผิดกฎหมาย (ปานจิต จินดากุล, 2549 : 12) การปฐมนิเทศพนักงานใหม การปฐมนิเทศเปนกิจกรรมหลังจากที่องคการไดคัดเลือกบุคคลที่มีคุณสมบัติ เหมาะสมกับองคการ และไดเขามาเปนสมาชิกใหมขององคการแลว ซึ่งในกิจกรรม การปฐมนิ เ ทศเป น โอกาสดี ที่ อ งค ก ารจะได สื่ อ สารเรื่ อ งคุ ณ ธรรมจริ ย ธรรมให กั บ พนักงานใหมทราบ ยกตัวอยางที่ สตารบคั ส จะมีการใหความรูค า นิยมดานจริยธรรมของ องคการแกพนักงานใหม เชน ประเด็นการคำ�นึงถึงความหลากหลายทางวัฒนธรรม ความรับผิดชอบ และการเคารพตอบุคคลอื่น เปนตน (Achua & Lussier, 2010 : 343) นอกจากนั้นควรมีการสื่อสารเรื่องอื่นๆ เพื่อใหพนักงานเกิดความตระหนักและเห็นถึง ความสำ�คัญเรื่องจริยธรรมในการปฏิบัติงาน เชน การสื่อสารเรื่องจรรยาบรรณของ องคการ (Code of Ethics) ซึ่งในปจจุบันเกือบทุกองคการมีการกำ�หนดจรรยาบรรณ ขององคการเอาไว การอธิบายถึงการประเมินผลการปฏบัติงาน การใหรางวัล รวมถึง การลงโทษที่มีสวนเกี่ยวของกับเรื่องของคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงาน เปนตน

143


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

การฝกอบรมและพัฒนา การฝกอบรมและพัฒนาถือเปนกิจกรรมที่สำ�คัญมากในการพัฒนาจริยธรรม ใหเกิดขึน้ ในองคการ เนือ่ งจากเปนโอกาสในการใหความรูแ กบคุ ลากรทุกคนในองคการ เกี่ยวกับคานิยมและวัฒนธรรมดานจริยธรรมขององคการ เพื่อใหพนักงานสามารถนำ� ไปประยุกตใชกับพฤติกรรมการทำ�งานอยางมีจริยธรรมในชีวิตการทำ�งาน (Achua & Lussier, 2010 : 343) ซึ่งปจจุบันทุกองคการมีการจัดฝกอบรมและพัฒนาใหกับ บุคลากรอยูแ ลว ดังนั้น องคการควรมีการกำ�หนดหลักสูตรทีเ่ กีย่ วของกับเรื่องจริยธรรม ไวในแผนการฝกอบรมและพัฒนา (Training & Development Roadmap) ของ องคการดวย หลักสูตรที่ควรกำ�หนดไวในแผนการฝกอบรมและพัฒนาดานจริยธรรม ในองคการ เชน หลักสูตรการปองกันและแกปญหาการคุกคามทางเพศในที่ทำ�งาน หลั ก สู ต รการใหบริการที่มุงมั่นสูความเปน เลิศ หลั ก สู ต รการปฏิ บั ติ ง านตามหลั ก บรรษัทภิบาล หลักสูตรการบริหารองคการที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม เปนตน นอกจาก นั้นยังตองใหความสำ�คัญกับประเด็นใหมๆ ทางดานจริยธรรมที่เกิดขึ้นมาเนื่องจาก การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมทางธุรกิจ (พิพัฒน นนทนาธรณ, 2555 : 272) เชน ในปจจุบันมีการใหความสำ�คัญกับภาวะโลกรอน (Global Warming) หรือการเตรียม รับมือกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Asian Economic Community : AEC) โดยเฉพาะการเปดเสรีดา นแรงงาน ซึง่ ประเด็นเหลานีล้ ว นเกีย่ วกับของกับเรือ่ งจริยธรรม ในองคการทั้งสิ้น ตามทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการพัฒนาจริยธรรมรุบะวาการพัฒนาจริยธรรมตอง อาศัยระยะเวลาและการซึมซับ ดังนั้นในการฝกอบรมและพัฒนาดานจริยธรรมจะตอง ดำ�เนินการอยางตอเนือ่ ง โดยจะตองมีการประเมินและติดตามผลการฝกอบรมและพัฒนา จริยธรรมดังกลาวอยางเปนระบบทั้งในเชิงปริมาณและในเชิงคุณภาพ โดยเฉพาะการ ประเมินผลการเปลี่ยนแปลงเชิงพฤติกรรม เชน พิจารณาจากแบบประเมินพฤติกรรม เชิงจริยธรรม การสังเกตพฤติกรรม การสัมภาษณจากผูมีสวนเกี่ยวของ เปนตน การประเมินผลการปฏิบัติงาน ในการประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านนั้ น องค ก ารควรมี ก ารกำ � หนดเกณฑ ใ น การประเมินที่เกี่ยวกับประเด็นดานจริยธรรมของพนักงานเขาไปในหัวขอการประเมิน ดวย ซึง่ เปนเรือ่ งทีห่ ลายองคการในปจจุบนั กำ�หนดเปนหัวขอทีต่ อ งประเมิน โดยเรียกวา การประเมินสรรถนะ (Competency - Based Appraisal) เชน การปฏิบัติงานดวยความ ซื่อสัตย การปฏิบัติงานที่ไมสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม การมีภาวะผูนำ�ในการปฏิบัติ งาน การเคารพตอบุคคลอืน่ เปนตน แตอยางไรก็ตามการประเมินบางดานอาจมีลกั ษณะ

144


การพัฒนาจริยธรรมในองคการผานกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย สานิตย หนูนิล

เปนนามธรรม และประเมินไดยาก ผูมีบทบาทในเรื่องดังกลาวจะตองดำ�เนินการอยาง รอบคอบและรัดกุม ตองมีการกำ�หนดเกณฑในการประเมินที่ชัดเจน และควรมีการระบุ เหตุการณเชิงประจักษประกอบการประเมินดวย ผลจากประเมินดังกลาวสามารถนำ� ไปใชในการบริหารทรัพยากรมนุษยไดอกี หลายดาน เชน การจายคาตอบแทน การเลือ่ นขัน้ เลื่อนตำ�แหนง การอบรมและพัฒนา เปนตน โดยเรียกการประเมินผลดังกลาววา ระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Management System) การใหรางวัลและการลงโทษพนักงาน การใหรางวัลแกพนักงาน องคการควรมีการจายคาตอบแทน รวมทัง้ การปรับเลือ่ น ตำ�แหนงบุคลากรโดยพิจารณาจากผลการประเมินดานจริยธรรมประกอบดวย โดยเฉพาะ การปรับเลื่อนตำ�แหนงไปสูต�ำ แหนงระดับบริหารองคการจะตองใหความสำ�คัญในเรื่อง ดังกลาวเปนอยางยิ่ง เนื่องจากหากองคการปรับเลื่อนตำ�แหนงในระดับบริหารใหกับ ผูที่ขาดจริยธรรมจะเกิดผลเสียหายตอองคการเปนอยางยิ่ง ซึ่งการดำ�เนินการดังกลาว สอดคลองกับกระบวนการเสริมแรง (Reinforcement Process) ตามทฤษฎีการเรียนรู ทางสังคมที่เสนอวาหากมีการเสริมแรง เชน การใหรางวัลตอพฤติกรรมหนึ่งๆ จะ ทำ�ใหบคุ คลใหความสนใจในพฤติกรรมแบบนัน้ เพิม่ ขึน้ เรียนรูด ขี นึ้ และแสดงพฤติกรรม นั้นบอยครั้งขึ้น ในสวนของของลงโทษนั้น องคการจะตองมีการกำ�หนดเกณฑที่ใชลงโทษ พนักงานที่ประพฤติผิดกฎขอบังคับขององคการ รวมทั้งการละเมิดจรรยาบรรณและ จริยธรรมขององคการไวอยางชัดเจน รวมทั้งมีมาตรการในการลงโทษอยางจริงจัง ตอง ดำ�เนินการอยางรัดกุม และเปนธรรมกับทุกฝายโดยอยูบ นพืน้ ฐานของความถูกตองตาม หลักกฎหมายและจริยธรรม สรุป ปจจุบนั องคการตางๆ หันมาใหความสำ�คัญกับประเด็นดานจริยธรรมกันมากขึน้ เนือ่ งจากปญหาจริยธรรมทีเ่ กิดขึน้ ความคาดหวังดานจริยธรรมทีม่ ตี อ ผูป ฏิบตั งิ าน และ ตอองคการ การใหความสำ�คัญกับแนวคิดการบริหารทีม่ จี ริยธรรมและความรับผิดชอบ ตอสังคม ตลอดจนการออกกฎหมายหรือมาตรฐานทีเ่ กีย่ วกับจริยธรรมใหองคการตางๆ ปฏิบัติตาม การที่องคการจะพัฒนาจริยธรรมใหเกิดขึ้นในองคการนั้น ก็คือการพัฒนา จริยธรรมในตัวบุคคลนั่นเอง องคการจึงตองกำ�หนดแนวทางในการพัฒนาจริยธรรม ทัง้ ในดานการปลูกฝงจริยธรรม เชน การกำ�หนดจรรยาบรรณขององคการ การฝกอบรม ดานจริยธรรม เปนตน ดานการสงเสริมจริยธรรม เชน การกำ�หนดประเด็นดานจริยธรรม

145


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

เปนเกณฑในการประเมินผลพนักงาน การจายคาตอบแทนจูงใจใหกับพนักงานที่มี จริยธรรมในการปฏิบตั งิ าน เปนตน ดานการควบคุมจริยธรรม เชน การลงโทษผูท กี่ ระทำ� ผิดจริยธรรม การตรวจสอบดานจริยธรรมของบุคลากรในองคการ เปนตน อยางไร ก็ตามในการสรางจริยธรรมใหเกิดขึ้นนั้นผูนำ�หรือผูบริหารรวมทั้งผูที่ปฏิบัติงานดาน ทรัพยากรมนุษยถือวามีบทบาทสำ�คัญอยางยิ่ง โดยจะตองเปนแบบอยางที่ดีดาน จริยธรรมใหกบั บุคลากรในองคการ และยังขึน้ อยูก บั นโยบายดานจริยธรรมขององคการ วัฒนธรรมองคการ รวมถึงการใหความสำ�คัญกับเรื่องจริยธรรมของบุคลากรในองคการ อีกดวย ซึ่งองคการควรมีการกำ�หนดประเด็นจริยธรรมไวในนโยบายและพันธกิจของ องคการ รวมถึงสรางใหเกิดเปนวัฒนธรรมขององคการ เนื่องจากจริยธรรมเปนพฤติกรรมภายในของมนุษย ซึ่งทฤษฎีที่เกี่ยวกับการ พัฒนาจริยธรรมสวนใหญระบุวา จริยธรรมนัน้ สามารถพัฒนาไดโดยการซึมซับ ตองอาศัย ระยะเวลา และรูปแบบทีเ่ หมาะสม ดังนัน้ การพัฒนาจริยธรรมจะตองทำ�อยางเปนระบบ มีการติดตามและประเมินผลอยางตอเนื่อง นอกจากนั้นผูบริหารและผูที่มีหนาที่ใน การพัฒนาจริยธรรมในองคการ โดยเฉพาะหนวยงานทรัพยากรมนุษยตองมีความรู ความเขาใจในเรื่องที่เกี่ยวของกับการพัฒนาจริยธรรม เชน ความรูดานจิตวิทยา พฤติกรรมศาสตร หลักการจูงใจ เปนตน โดยจะตองนำ�หลักดังกลาวมาประยุกตใชได อยางเหมาะสม ตลอดจนตองศึกษาวิจัยเพื่อคนหาแนวทางในการพัฒนาจริยธรรมที่ สอดคลองกับองคการอยูเ สมอ เพือ่ ใหการพัฒนาจริยธรรมเกิดขึน้ ไดอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลอยางยั่งยืน อันจะนำ�มาซึ่งความสำ�เร็จของผูมีสวนไดสวนเสียกลุมตางๆ อาทิ เจาของธุรกิจ พนักงาน ลูกคา ชุมชน รวมถึงประเทศชาติ 



146




การพัฒนาจริยธรรมในองคการผานกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย สานิตย หนูนิล

บรรณานุกรม ภาษาไทย จิรประภา อัครบวร. (2552). คุณคาคนคุณคางาน. กรุงเทพมหานคร: สำ�นักพิมพ เตา (2000). ดวงเดื อ น พั น ธุ ม นาวิ น . (2524). จิตวิทยาจริยธรรมและจิตวิทยาภาษา. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช. __________________. (2538). ทฤษฎีตนไมจริยธรรม: การวิจัยและพัฒนา บุคคล. กรุงเทพมหานคร: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร. ทวี ศั ก ดิ์ สู ท กวาทิ น . (2551). การจั ด การทรั พ ยากรมนุ ษ ย เ ชิ ง กลยุ ท ธ . กรุงเทพมหานคร: ทีพีเอ็นเพรส. บุษยา วีรกุล. (2551). เอกสารคำ�สอนวิชาจริยธรรมในงานพัฒนาทรัพยากร มนุษยและองคกร. กรุงเทพมหานคร:คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบัน บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร. ประภาศรี สีหอำ�ไพ. (2543). พื้นฐานการศึกษาทางศาสนาและจริยธรรม. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ปานจิต จินดากุล. (2549). การสรางองคการทีม่ ศี กั ดิศ์ รีและจริยธรรม. [ออนไลน]. สืบคนวันที่ 20 ตุลาคม 2555. จาก http://km.moi.go.th/images/stories/ moral/moral14.PDF. พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตโต). (2538). พุทธธรรม. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ มหาจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. พิพฒ ั น นนทนาธรณ. (2555). การจัดการจริยธรรมธุรกิจ: ฐานรากของซีเอสอาร. กรุงเทพมหาคร: ศูนยผูนำ�ธุรกิจเพื่อสังคม. พิภพ วชังเงิน. (2545). จริยธรรมวิชาชีพ. กรุงเทพมหานคร: รวมสาสน. ราชบัณฑิตสถาน. (2542). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. 2525. กรุงเทพ มหาคร: ราชบัณฑิตสถาน. สมคิด บางโม. (2554). จริยธรรมทางธุรกิจ. กรุงเทพมหานคร: ศูนยหนังสือ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. สมบัติ กุสมุ าวลี. (2552). HR Synergy No. 1 in OD Major. กรุงเทพมหานคร: เพือ่ น นักพิมพ กราฟฟค.

147


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

ภาษาอังกฤษ Achua, Christopher F. & Lussier, Robert N. (2010). Effective leadership. South-Western, OH: Cengage Learing. Bandura, A. (1977). Social learning theory. Englewood Cliffs, NJ: General Learning Press. Byars, L. L. & Rue, L. W. (2008). Human resource management. Boston, MA: McGraw-Hill. Carrloll, A. B. & Buchholtz, A. K. (2003). Business & society : ethics and stakeholder management. Mason, OH: Sout-Western. Ferrell, O. C., Fraedrich, J., & Ferrell, L. (2008). Business ethics: ethical decision making and cases. Boston, MA: Houghton Mifflin. Gomez-Mejia L. R., Balkin D. B. & Cardy R. L. (2007). Managing human resources. Pearson: Prentice-Hall. Kleiman, Lawrence S. (2000). Human resource management: a managerial tool for competitive advantage. Cincinnati, OH: South-Western College. Kohlberg, L. (1976). Moral Stages and Moralization. In T. Lickona, ed. Moral development and behaviour: theory, research and social issues. New York: Holt, Rinehart and Winston. Velasquez, M. G. (2008). Business Ethics: Concepts and Cases. Englewood Cliff, NJ: Prentice-Hall. Weaver, G. R. & Trevino, L. K., (2001). The role of human resources in ethics/ compliance management: A fairness perspective. Human Resource Management Review 11 (1-2) : 113-134.

148


การแปรการใชศัพทของคนสามระดับอายุในภาษาไทดำ� อำ�เภอเขายอย จังหวัดเพชรบุรี The Lexical Variations between Three Generations of Tai Dam in Khaoyoy District, Petchaburi Province สุวัฒนา เลี่ยมประวัติ 1 Suwattana Liamprawat บทคัดยอ บทความวิจัยนี้มีจุดมุงหมายเพื่อศึกษาการแปรดานการใชศัพทและรูปแปร ของศัพทของคนสามระดับอายุในภาษาไทดำ�หรือภาษาไทโซง ตำ�บลหนองปรง อำ�เภอ เขายอย จังหวัดเพชรบุรี ผูวิจัยเก็บขอมูลโดยใชหนวยอรรถจำ�นวน 650 หนวยอรรถ ไปสอบถามผูบอกภาษาและแบงผูบอกภาษาเปน 3 ระดับอายุคือ ระดับอายุที่ 1 อายุตั้งแต 60 ปขึ้นไป ระดับอายุที่ 2 อายุตั้งแต 35-55 ป ระดับอายุที่ 3 อายุตั้งแต 18-30 ป ผลการวิจยั พบวา ผูบ อกภาษาระดับอายุที่ 1 ใชศพั ทไทดำ�มากทีส่ ดุ และผูบ อก ภาษาระดับอายุที่ 3 ใชศัพทไทดำ�นอยที่สุด สวนการใชศัพทไทดำ�รวมกับศัพทอื่นนั้น ผูบอกภาษาระดับอายุที่ 2 ใชมากที่สุด นอกจากนั้นมีการแปรเสียงพยัญชนะและสระใน ศัพทไทดำ�และศัพทอื่น สวนการแปรความหมายของศัพทพบวามีทั้งความหมายกวาง ออกและแคบเข า นอกจากนั้ น ยั ง พบการสู ญ ศั พ ท แ ละการใช ศั พ ท อื่ น แทนภาษา ไทดำ�ดวย คำ�สำ�คัญ: 1. การแปรการใชศัพท. 2. ภาษาไทดำ�. 3. คนสามระดับอายุ.

__________________ 1 รองศาสตราจารยประจำ�ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปที่ 33(1) : 149-173, 2556


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

Abstract This research article aims to investigate lexical variations in three generations of Tai Dam or Thai Song at Tambol Nong Prong, Khaoyoy District, Petchaburi Province. Focusing on variation in lexical forms and usages, this study examines 650 semantic units and divides the informants into three groups: (i) informants who are 60 years old or older, (ii) informants who are 35-55 years old, and (iii) informants who are 18-30 years old. Results showed that informants in the first groups used lexical items in Tai Dam more than informants in other groups. Informants in the third group used lexical items in Tai Dam less than other groups. Informants in the second group, however, were found to use lexical items in Tai Dam together with other lexical items. While the informants in the second group exhibited the highest use of lexical items in Tai Dam together with other lexical items. Additionally, variations in consonant and vowel sounds were demonstrated in both in Tai Dam lexical items and other items. Semantic variation included both widening of and narrowing of meanings. Loss of Tai Dam lexical items as well as substituting Tai Dam lexical items with other lexical items was also found in this study. Keywords: 1. Lexical variation. 2. The Tai Dam Language. 3. Three generations of informants.

150


การแปรการใชศัพทของคนสามระดับอายุในภาษาไทดำ� อำ�เภอเขายอย จังหวัดเพชรบุรี สุวัฒนา เลี่ยมประวัติ

บทนำ� ชาวไททรงดำ� ลาวโซง หรือไทดำ� เปนชนกลุมหนึ่งที่พูดภาษาตระกูลไท (Tai Family) กลุมตะวันตกเฉียงใต (Southwestern group) ซึ่งตามการแบงของ ฟง กวย ลี (Li, 1959) อธิบายวาชาวไทดำ�มีถิ่นฐานเดิมอยูทางตอนใตของจีน ติดตอกับเวียดนาม ตอนเหนือ ตั้งบานเรือนกระจายตั้งแตมณฑลกวางสี ยูนนาน ตังเกี๋ย ลุมแมน้ำ�ดำ�และ ลุมแมน้ำ�แดง แควนสิบสองจุไท โดยมีเมืองแถนหรือเดียนเบียนฟูเปนศูนยกลางการ ปกครองตนเองอยางอิสระ ชาวไทดำ�อพยพเขาสูประเทศไทยดวยเหตุผลทางสงคราม ตั้งแตสมัยกรุงธนบุรี (พ.ศ. 2322) จนถึงสมัยรัชกาลที่ 5 แหงกรุงรัตนโกสินทร (พ.ศ. 2430) โดยตัง้ ถิน่ ฐานทีเ่ มืองเพชรบุรเี ปนแหงแรกเพราะภูมปิ ระเทศมีปา เขามาก มีหบุ เขา หวย ลำ�ธาร น้ำ�ทวมไมถึง ชาวไทดำ�จึงปลูกสรางบานเรือนอาศัยเปนกลุมๆ กระจายกัน ไป หมูบานแหงแรก คือ บานหนองปรง อำ�เภอเขายอย (บังอร ปยะพันธุ, 2541 : 31) ที่ บานหนองปรงเปนชุมชนชาวไทดำ�ที่ใหญที่สุดในประเทศไทย มีชาวไทดำ�อาศัยอยูกวา 700 หลังคาเรือนและยังคงรักษาเอกลักษณดานภาษาและวัฒนธรรมไวได (สุนทรัตร แสงงาม, 2549 : 2) นอกจากนี้ยังมีชาวไทดำ�อาศัยในตำ�บลหวยทาชาง ตำ�บลหนอง ชุมพลเหนือ ตำ�บลหนองชุมพล ตำ�บลเขายอย ตำ�บลทับคาง ตำ�บลบางเค็ม ตำ�บลหนอง ปลาไหล อำ�เภอเขายอย (สมทรง บุรุษพัฒนและคณะ, 2554 : 212) ปจจุบันมีชาวไทดำ� อาศัยหลายจังหวัดในประเทศไทย เชน จังหวัดเพชรบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม สมุทรสาคร กาญจนบุรี ลพบุรี สระบุรี พิจติ ร พิษณุโลก กำ�แพงเพชร สุโขทัย เลย (พนิดา เย็นสมุทร, 2524 : 29-30) ผูว จิ ยั สังเกตวาปจจุบนั ชุมชนภาษาไทดำ�ในประเทศไทยไดรบั ผลกระทบจากการ พัฒนาประเทศทุกๆดานทำ�ใหกลายเปนชุมชนทวิภาษา (Bilingual community) หรือ ชุมชนพหุภาษา (Multilingual community) เพราะอิทธิพลของสื่อมวลชน การศึกษา ตลอดจนการพบปะคนตางถิ่น ชาวไทดำ�จำ�เปนตองสื่อสารดวยภาษาไทยซึ่งเปนภาษา ราชการ กลาวคือ คนวัยหนุมสาวมักใชศัพทภาษาไทยกรุงเทพฯ หรือใชรวมกับภาษา ไทดำ� ในขณะที่คนวัยทำ�งานหรือวัยชรานิยมใชศัพทไทดำ�มากกวา จากขอสังเกตดังกลาวผูวิจัยจึงนำ�แนวคิดของการศึกษาภาษาศาสตรสังคม (Sociolinguistics) มาเปนกรอบความคิดในการศึกษาครั้งนี้ โดยใชทฤษฎีการแปร (Variation theory) ที่อธิบายวาทุกภาษามีการแปร กลาวคือ มีการใชรูปภาษาที่ตางกัน สลับกันได โดยไมทำ�ใหความหมายแกนเปลี่ยนไป ภาษาศาสตรสังคมถือวา ไมมีการ แปรใดเปนการแปรอิสระ (Free variation) เพราะการแปรทุกกรณีสามารถอธิบายไดดว ย

151


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

เงื่อนไขปจจัยทางสังคม เชน เพศ วัย การศึกษา ถิ่นที่อยู สถานการณ การศึกษาครั้งนี้ผูวิจัยสนใจศึกษาการแปรของการใชศัพทของคนสามระดับ อายุในภาษาไทดำ� เนื่องจากการศึกษาภาษาโดยใชตัวแปรอายุจะทำ�ใหเห็นความ เปลี่ยนแปลงที่กำ�ลังดำ�เนินอยู (Change in progress) ไดชัดเจนขึ้น ดังแนวคิดของ ลาบอฟ (Labov, 1972 อางถึงใน อมรา ประสิทธิร์ ฐั สินธุ, 2544 : 39) ทีว่ า ความเปลีย่ นแปลง ของภาษาเห็นไดจากการแปรของภาษาในคนตางรุนกัน ภาษาของผูที่มีอายุมากที่สุด สามารถเปรียบไดกบั ภาษาในอดีต ภาษาของผูพ ดู รุน กลางๆ ก็ถอื ไดวา เปนภาษาปจจุบนั และภาษาของคนรุน อายุนอ ยถือไดวา เปนภาษาของอนาคต ความแตกตางกันของภาษา เชนวานี้ เปรียบเหมือนความแตกตางของกาลเวลาจริง ซึง่ ลาบอฟ (Labov, 1972) เรียก ความเปลีย่ นแปลงนีว้ า การเปลีย่ นแปลงในเวลาเสมือนจริง (Change in apparent time) ตรงขามกับการเปลี่ยนแปลงในเวลาจริง (Change in real time) บทความวิจัยนี้เปนสวนหนึ่งของโครงการวิจัยหลักเรื่อง “ชาติพันธุ : กระบวน ทัศนใหมในการสืบสานภาษาและวัฒนธรรม” มีจุดมุงหมายคือศึกษากระบวนการทาง ภาษาที่ดำ�เนินอยู ตลอดจนศึกษาแนวทางใหมในการสืบสานภาษาและวัฒนธรรม ของกลุมชาติพันธุ สวนจุดมุงหมายของบทความวิจัยนี้คือ เพื่อศึกษาการแปรดาน การใชศัพทและการแปรดานรูปศัพทของคนสามระดับอายุในภาษาไทดำ� ตำ�บลหนอง ปรง อำ�เภอเขายอย จังหวัดเพชรบุรี โดยมีตัวแปรอิสระ (Independent variable) คือ ระดับอายุของผูบ อกภาษา สวนตัวแปรตาม (Dependent variable) คือ จำ�นวนหนวยอรรถ (Semantic unit) 2 จำ�นวน 650 หนวยอรรถ วิธีดำ�เนินการวิจัย 1. สำ�รวจเอกสารและคัดเลือกหนวยอรรถ ผูวิจัยไดศึกษาทฤษฎีการแปร ของภาษาและคัดเลือกหนวยอรรถที่ใชเก็บขอมูลจากงานวิจัยเกี่ยวกับภาษาไทดำ�หรือ ลาวโซง 3 โดยมีเกณฑคัดเลือกหนวยอรรถ ดังนี้ 1.1 เปนศัพทที่ใชในชีวิตประจำ�วัน เชน คำ�เรียกเครือญาติ บุคคลในสังคม คำ�เรียกอาหารการกิน คำ�เรียกพืช ผัก ผลไม ธรรมชาติ วัตถุ เครือ่ งแตงกาย กิรยิ าอาการ 1.2 เป น หน ว ยอรรถที่ ผู  บ อกภาษาไทดำ � ใช รู ป ศั พ ท ต  า งกั บ ภาษาไทย __________________ 2 หนวยอรรถ (Semantic unit) คือ หนวยความหมายที่แทนดวยศัพทจำ�นวน 1 ศัพท หรือ มากกวา 3 ดูรายชื่องานวิจัยในบรรณานุกรม

152


การแปรการใชศัพทของคนสามระดับอายุในภาษาไทดำ� อำ�เภอเขายอย จังหวัดเพชรบุรี สุวัฒนา เลี่ยมประวัติ

กรุงเทพฯ เชน หนวยอรรถ ศัพทภาษาไทดำ� ศัพทภาษาไทยกรุงเทพฯ ‘มะละกอ’ /ma4 hoN3/ /ma4 la4 kO:1/ ‘ใบแมงลัก’ /sa4 la:N5 ka:n3 kha:w1/ /baj1 mE:N2 lak4/ ‘จิ้งจก’ /to:1 ja:2 hMan2/ /ciN5 cok3/ 1.3 เปนหนวยอรรถที่มีลักษณะของเสียงปฏิภาคที่แสดงลักษณะเฉพาะ กลุม ยอยของภาษาไทถิน่ กลาวคือศัพททผี่ บู อกภาษาไทดำ�ออกเสียงสระหรือพยัญชนะ บางเสียงตางกับภาษาไทยกรุงเทพฯ อันแสดงลักษณะเฉพาะของภาษาไทดำ� เชน เสียง พยัญชนะตนทีม่ ปี ฏิภาคคือ /ph, th, kh/ ในภาษาไทยกรุงเทพฯ จะเปนเสียง /p, t, k/ ในภาษาไทดำ�ในคำ�ทีใ่ ชพยัญชนะตนอักษรต่� ำ < พ ท ค > เนือ่ งจากภาษาไทดำ�จัดอยูใ น กลุมพยัญชนะตนไมมีลม (P group) และจะมีปฏิภาคกับภาษาไทยกรุงเทพฯ ซึ่งจัด อยูในกลุมพยัญชนะตนมีลม (PH group) ตามการแบงของเจมส อาร แชมเบอรเลน (Chamberlain, 1975) เชน หนวยอรรถ ศัพทภาษาไทดำ� ศัพทภาษาไทยกรุงเทพฯ 2 ‘พาน’ /pa:n / /pha:n2/ ‘ทอ’ /tO:4/ /thO:4/ ‘คอ’ /kO:2/ /khO:2/ เสียงปฏิภาคพยัญชนะตนอื่นๆ ระหวางภาษาไทดำ�กับภาษาไทยกรุงเทพฯ ไดแก เสียง /h/ ในภาษาไทดำ�จะเปนเสียง /r/ ในภาษาไทยกรุงเทพฯ เสียง /s/ใน ภาษาไทดำ�จะเปนเสียง /kh/ ในภาษาไทยกรุงเทพฯ เชน หนวยอรรถ ศัพทภาษาไทดำ� ศัพทภาษาไทยกรุงเทพฯ 2 ‘รู’ /hu: / /ru:2/ ‘ไข’ /saj3/ /khaj3/ สวนศัพททมี่ สี ระเสียงสัน้ และพยัญชนะทาย /?/ ในภาษาไทดำ�จะเปนสระเสียง ยาวหรือสระประสม และพยัญชนะทาย /k/ ในภาษาไทยกรุงเทพฯ เชน หนวยอรรถ ศัพทภาษาไทดำ� ศัพทภาษาไทยกรุงเทพฯ ‘รากไม’ /ha?4/ /ra:k4/ ‘ลูก’ /lu?4/ /lu:k4/ สระประสม /aM/ ในภาษาไทดำ�จะมีปฏิภาคกับสระ /a/ และพยัญชนะทาย /j/ คือ /aj/ ในภาษาไทยกรุงเทพฯ ในคำ�ทีใ่ ชรปู เขียน ใ- ศัพททมี่ ปี ฏิภาคดังกลาวผูว จิ ยั จะ

153


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

จัดเปนคนละศัพทและเลือกเปนหนวยอรรถที่ใชเก็บขอมูลดวย เชน หนวยอรรถ ศัพทภาษาไทดำ� ศัพทภาษาไทยกรุงเทพฯ ‘ใส’ /saM1/ /saj1/ ‘ใหม’ /maM3/ /maj3/ จาก 3 เกณฑขางตน ผูวิจัยไดเก็บรวบรวมหนวยอรรถทั้งหมด 680 หนวย อรรถ และทดลองเก็บขอมูลจากผูบอกภาษาไทดำ�ที่ตำ�บลหนองปรง อำ�เภอเขายอย ผูว จิ ยั พบวาหนวยอรรถบางหนวยมีปญ  หา เชน ความหมายไมชดั เจน ผูบ อกภาษาแตละ ระดับอายุเขาใจไมตรงกัน หรือบางหนวยอรรถเปนศัพทภาษาไทดำ�ที่เวียดนามยืมจาก จีน หรือสิ่งของที่ผูบอกภาษาไทดำ�ในจังหวัดเพชรบุรีไมไดใชในชีวิตประจำ�วันจึงไมมี คำ�เรียก ผูว จิ ยั จึงตัดหนวยอรรถทีม่ ปี ญ  หาออก เหลือหนวยอรรถทัง้ สิน้ 650 หนวยอรรถ ซึ่งคาดวาสามารถนำ�มาวิเคราะหใหเห็นถึงรูปแบบการใชศัพทและการแปรเสียงของ ศัพทได 2. จัดหมวดรายการศัพทภาษาไทดำ�ที่ใชทดสอบ ผูวิจัยนำ�หนวยอรรถ 650 หนวย มาจัดหมวดรายการศัพทภาษาไทดำ� เพื่อทดสอบกับผูบอกภาษาสามระดับอายุ ดังนี้ 2.1 หมวดของกิน รสชาติ จำ�นวน 50 หนวยอรรถ 2.2 หมวดสัตว จำ�นวน 44 หนวยอรรถ 2.3 หมวดอวัยวะ สวนประกอบของ คน สัตว พืช ชื่อโรค จำ�นวน 53 หนวยอรรถ 2.4 หมวดธรรมชาติ พืช จำ�นวน 39 หนวยอรรถ 2.5 หมวดวัตถุ สถานที่ จำ�นวน 80 หนวยอรรถ 2.6 หมวดบุคคล การงาน จำ�นวน 31 หนวยอรรถ 2.7 หมวดการแตงกาย ผา แรธาตุ จำ�นวน 20 หนวยอรรถ 2.8 หมวดคำ�ถาม ลักษณนาม คำ�เชื่อม คำ�บอกเวลา จำ�นวน 38 หนวยอรรถ 2.9 หมวดกิริยาอาการ ขยายกิริยา จำ�นวน 295 หนวยอรรถ 3. คัดเลือกพื้นที่เก็บขอมูล ผูวิจัยเลือกเก็บขอมูลในภูมิภาคตะวันตกซึ่งมี ชาวไทดำ�อาศัยอยางหนาแนน คือ ตำ�บลหนองปรง อำ�เภอเขายอย จังหวัดเพชรบุรี อีกทัง้ เปนแหลงแรกที่ชาวไทดำ�ซึ่งอพยพจากเวียดนามตอนเหนือมาตั้งถิ่นฐานอยู ตำ�บล หนองปรงแบงเปน 6 หมูบาน มีประชากรทั้งสิ้น 3,994 คน แยกเปนชาย 1,891 คน หญิง 2,103 คน จำ�นวนครัวเรือน 986 ครัวเรือน (สุนทรัตร แสงงาม, 2549 : 14) ประชาชน

154


การแปรการใชศัพทของคนสามระดับอายุในภาษาไทดำ� อำ�เภอเขายอย จังหวัดเพชรบุรี สุวัฒนา เลี่ยมประวัติ

สวนใหญทกุ หมูบ า นใชภาษาไทดำ�สือ่ สารในชีวติ ประจำ�วัน มีอาชีพเกษตรกรรม ทำ�นาขาว พื้นที่เก็บขอมูลคือ หมูที่ 1, 2 และ 4 ตำ�บลหนองปรง อำ�เภอเขายอย จังหวัดเพชรบุรี 4. คัดเลือกผูบอกภาษา ผูวิจัยไดกำ�หนดคุณสมบัติของผูบอกภาษาไว คือ เปนผูท เี่ กิดและเติบโตทีต่ �ำ บลหนองปรง อำ�เภอเขายอย จังหวัดเพชรบุรี และไมเคยยาย ภูมิลำ�เนา ใชภาษาไทดำ�ในชีวิตประจำ�วัน มีอวัยวะในการออกเสียงดี มีประสาทตาและ ประสาทหูใชการไดดี มีความชำ�นาญในการใชภาษา และมีการศึกษาไมเกินภาคบังคับ ผูว จิ ยั ไดก�ำ หนดระดับอายุของผูบ อกภาษาเปน 3 ระดับอายุ คือระดับอายุที่ 1 อายุ ตั้งแต 60 ปขึ้นไประดับอายุที่ 2 อายุตั้งแต 35-55 ป ระดับอายุที่ 3 อายุตั้งแต 18-30 ป จากระดับอายุดังกลาว ผูวิจัยกำ�หนดระดับอายุละ 4 คน ชาย 2 คน หญิง 2 คน รวมผูบอกภาษาทั้งสิ้น 12 คน ดังนี้ - ผูบอกภาษาระดับอายุที่ 1 คือ นายชอย ทองสัมฤทธิ์ อายุ 76 ป นางลำ�พู มีสุข อายุ 69 ป นางถนอม คงยิ้มละมัย อายุ 68 ป และนายพา เพชรพลาย อายุ 68 ป - ผูบอกภาษาระดับอายุที่ 2 คือ นางนุชชา จำ�ปาทอง อายุ 55 ป นางบุญ แจมจา อายุ 55 ป นายสุรินทร คิดคะนึง อายุ 50 ป และนายวุฒิพงศ ออยทอง อายุ 49 ป - ผูบ อกภาษาระดับอายุที่ 3 คือ นายภาคภูมิ เอีย่ มเพชร อายุ 30 ป นางสาว อรุณรุง แจมจา อายุ 30 ป นางสาวสุนิสา เบียดกระสิน อายุ 21 ป และนายอาภรณ ชุมเชื้อ อายุ 20 ป 5. วิธีการเก็บขอมูลและวิเคราะหขอมูล ผูวิจัยไดใชของจริง แผนภาพ การ แสดงกิริยาทาทาง และการสนทนาโดยอธิบายความหมายของหนวยอรรถ หรือกรณีที่ เปนคำ�ไวยากรณ เชน คำ�ถาม คำ�ปฏิเสธ คำ�ชวยกริยาผูว จิ ยั จะยกตัวอยางประโยคภาษา ไทยกรุงเทพฯ แลวใหผูบอกภาษาแปลเปนภาษาไทดำ�เพื่อนำ�มาวิเคราะหตามเกณฑที่ ตั้งไว จากหนวยอรรถทั้งหมด 650 หนวยอรรถ ผูวิจัยพบวาหนวยอรรถบางหนวยมี การใชมากกวา 1 คำ� การที่จะทราบวาคำ�ตางๆ เหลานั้นเปนศัพท 4 เดียวกันหรือคนละ ศัพทตองอาศัยเกณฑการวิเคราะหศัพทดังตอไปนี้ 5.1 คำ�ที่ใชแทนหนวยอรรถเดียวกัน ไมวาคำ�ๆ นั้นจะเปนพยางคเดียวหรือ __________________ 4 ศัพท (Lexical item) คือคำ�หนึ่งคำ�ที่วิเคราะหแลววาเปนสมาชิกของหนวยอรรถ แตละ ศัพทอาจมีรปู แปรหรือไมมกี ไ็ ด สวนคำ� (word) คือขอมูลทีไ่ ดจากการสอบถามผูบ อกภาษาซึง่ ยังไมได ผานการวิเคราะหศัพทวาคำ�เหลานั้นเปนศัพทเดียวกันหรือคนละศัพท

155


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

หลายพยางค หากความแตกตางนั้นไมสามารถอธิบายไดดวยเกณฑการแปรเสียง จะ จัดใหเปนคนละศัพท เชน หนวยอรรถ ศัพทภาษาไทดำ� ระดับอายุที่ 1, 2, 3 1 3 ‘อิฐ’ /din ci: / /?it3/ ‘เลม (ลักษณนาม)’ /pap3/ /lem4/ 5.2 คำ� 2 คำ�ที่ใชแทนหนวยอรรถเดียวกัน หากมีบางพยางคตางกันและ ความตางของพยางคนั้นสามารถอธิบายไดดวยเกณฑการแปรเสียง ถือวาเปนรูปแปร ของศัพทเดียวกัน การแปรเสียงของคำ�ที่จัดเปนศัพทเดียวกันนั้น จะมีความแตกตาง ที่สามารถอธิบายไดดวยเกณฑทางเสียง ดังนี้ 1. การแปรเสียงพยัญชนะ การแปรของหนวยเสียงพยัญชนะของคำ�ที่จัด เปนศัพทเดียวกันนัน้ จากขอมูลสามารถอธิบายความแตกตางทางสัทศาสตร ไดแก ฐาน กรณ และลักษณะการออกเสียง ดังนี้ หนวยอรรถ ศัพทภาษาไทดำ� ระดับอายุที่ 1, 2, 3 3 ‘ฝุน’ /xun / /khun3/ เสียง /x/ และ /kh/ มีสัทศาสตรใกลเคียงกันคือ เปนเสียงเพดานออน ไมกอง ถือวาเปนรูปแปรของศัพทเดียวกัน หนวยอรรถ ศัพทภาษาไทดำ� ระดับอายุที่ 1, 2, 3 ‘หนาโหนก’ /na:5 suat3/ /na:5 no?3~ na:5 no:k3/ เสียงทาย /?/ ~ /k/ ตางกันเพียงฐานกรณของเสียงคือ เสียงชองวางระหวางเสน เสียงกับเสียงเพดานออน จัดเปนรูปแปรของศัพทเดียวกัน 5 ในผูบอกภาษาระดับอายุที่ 1, 2, 3 หนวยอรรถ ศัพทภาษาไทดำ� ระดับอายุที่ 1 1 3 ‘ทายทอย’ /kam lon / /kam1 lon3 ~ kam1 don3/

เสียงพยัญชนะตน /l/ ~ /d/ ตางกันเพียงลักษณะการออกเสียงคือ เสียง ขางลิ้นกับเสียงระเบิด จัดวาเปนรูปแปรของศัพทเดียวกันในผูบอกภาษาระดับอายุที่ 1 บางคน 2. การแปรเสียงสระ การแปรเสียงสระบางเสียงจัดเปนรูปแปรของศัพท __________________ 5 สัญลักษณ ~ หมายถึงการแปรเสียงหรือรูปของศัพทเดียวกัน

156


การแปรการใชศัพทของคนสามระดับอายุในภาษาไทดำ� อำ�เภอเขายอย จังหวัดเพชรบุรี สุวัฒนา เลี่ยมประวัติ

เดียวกัน หากสามารถอธิบายความตางดานสัทศาสตรของเสียง เชน ระดับของลิ้นหรือ เสียงสระที่มีจุดเริ่มตนเดียวกัน หนวยอรรถ ศัพทภาษาไทดำ� ระดับอายุที่ 3 6 1 ‘รอนใจ’ /hO:n caM / /hO:n6 caM1 ~

hO:n6 caw1/

เสียงสระ /aM/ ~ /aw/ หรือทางสัทศาสตรคอื สระ [au] ตางกันเพียงสระประสม เสียงที่ 2 คือสระกลาง ระดับสูง กับสระหลัง ระดับสูงในผูบอกภาษาระดับอายุที่ 3 บางคน หนวยอรรถ ศัพทภาษาไทดำ� ระดับอายุที่ 3 6 6 ‘มะรืน’ /mM: hM: / /mM:6 hM:6/~ /mMa4 hM:6/ สระ /M:/และ/Ma/ มีสัทศาสตรใกลเคียงกัน คือ เริ่มออกเสียงสระในตำ�แหนง เดียวกัน มีการแปรในผูบอกภาษาระดับอายุที่ 3 บางคน 5.3 คำ�ที่ใชแทนหนวยอรรถบางคำ� ถึงแมจะเขาเกณฑการแปรเสียงขอ 5.2 แตเนื่องจากคำ�นั้น เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวของระบุวาเปนศัพทภาษาไทดำ� ศัพทภาษา ไทยกรุงเทพฯ ศัพทภาษาลาวกลุมอื่นหรือเปนเสียงปฏิภาคระหวางภาษา ซึ่งแสดง ลักษณะเฉพาะของภาษาไทกลุมยอย ผูวิจัยจัดใหเปนคนละศัพท เชน หนวยอรรถ ศัพทภาษาไทดำ� ศัพทภาษาไทยกรุงเทพฯ ระดับอายุที่ 3 /pa:j2/ /pha:j2/  /pha:j2/ ‘พาย’ คำ�วา /pha:j2/ ที่ผูบอกภาษาระดับอายุที่ 3 ใช เปนศัพทภาษาไทยกรุงเทพฯ จัดเปนคนละศัพทกับ /pa:j2/ ซึ่งเปนศัพทภาษาไทดำ�ตามเอกสารระบุ 5.4 คำ�ที่ใชแทนหนวยอรรถบางคำ� หากไมมีเอกสารระบุวาเปนคำ�ภาษาใด เพราะเปนศัพทสรางใหมในภาษาไทดำ�ซึ่งปรากฏในพื้นที่เก็บขอมูล ผูวิจัยจะจัดเปน คนละศัพท เชน หนวยอรรถ ศัพทภาษาไทดำ� ศัพทสรางใหม ระดับอายุที่ 1, 2 1 3 3 1 /kam saj / /saj kha:w / /saj3 kha:w1/ ‘ไขขาว’ หนวยอรรถ ศัพทภาษาไทดำ� ศัพทสรางใหม  ระดับอายุที่ 1 ‘ไขแดง’ /mOn2saj3/ /mOn2 dE:N1/ /mOn2 dE:N1/ 5.5 คำ�ที่ใชแทนหนวยอรรถนั้น หากมีความแตกตางกันและความแตกตาง นั้นสามารถอธิบายไดดวย เกณฑทางหนวยคำ� ก็ถือวาเปนรูปแปรของศัพทเดียวกัน

157


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

เชน มีการเปลีย่ นแปลงบางพยางคของหนวยคำ� โดยคงพยางคหลักทีแ่ สดงความหมาย เดนเหมือนกัน ดังนี้ หนวยอรรถ ศัพทภาษาไทดำ� ระดับอายุที่ 1, 2 ระดับอายุที่ 3 1 1 5 1 ‘โคลน’ /poN / /poN ~ khi: poN / /poN 1/ /poN1/ เปนพยางคหลักมีความหมายวา โคลน เพียงแตมีการแปรโดยเพิ่ม หนวยคำ� /khi:5/ ‘ขี้’ ในผูบอกภาษาระดับอายุที่ 1, 2 บางคน ถือวาเปนรูปแปรของ ศัพทเดียวกัน ระบบเสียงภาษาไทดำ� ผูวิจัยไดเก็บขอมูลระบบเสียงพยัญชนะและสระพบวาภาษาไทดำ�ตำ�บลหนอง ปรง อำ�เภอเขายอย จังหวัดเพชรบุรีมีหนวยเสียงพยัญชนะ 19 หนวยเสียง ไดแก /p, ph, b, t, th, k, kh, ?, c, f, s, h, m, n, J, N, l, w, j/ เสียงพยัญชนะตน ควบกล้�ำ มี 3 หนวยเสียง ไดแก /kw, khw, Nw/ เสียงพยัญชนะทายมี 9 หนวยเสียง ไดแก /p, t, k, ?, m, n, N, w, j/หนวยเสียงสระมีสระเดี่ยว 18 หนวยเสียง ไดแก /i, i:, e, e:, E, E:, M, M:, @, @:, a, a:, u, u:, o, o:, O, O:/ สระประสมมี 4 หนวยเสียง ไดแก /ia, Ma, ua, aM/ สวนหนวยเสียงวรรณยุกต ผูวิจัยใชผลการ วิจัยของสุนทรัตร แสงงาม (2549 : 70) ซึ่งทำ�วิจัยที่ตำ�บลหนองปรง อำ�เภอเขายอย จังหวัดเพชรบุรี พบวามีการแตกตัวของระบบวรรณยุกตเปน 2 ทาง (Two way split) ในชอง A B C DL และ DS 123-4 ตามแบบทดสอบเสียงวรรณยุกตของวิลเลียม เจ. เก็ดนีย (Gedney, 1972) (Gedney Tone’s box) หนวยเสียงวรรณยุกตในภาษาไทดำ� มี 6 หนวยเสียง คือ วรรณยุกตที่ 1 เสียงกลางขึ้น (mid rising tone) วรรณยุกตที่ 2 เสียงต่ำ�ขึ้นตก (low rising falling tone) วรรณยุกตที่ 3 เสียงต่ำ�ขึ้น (Low rising tone) วรรณยุกตที่ 4 เสียงกลางระดับ (Mid level tone) วรรณยุกตที่ 5 เสียงต่ำ�ระดับ (Low level tone) วรรณยุกตที่ 6 เสียงกลางตก (Mid falling tone) ผลการวิจัย 1. การแปรดานการใชศัพทของคนสามระดับอายุ เมื่อพิจารณาการใชศัพทของคนสามระดับอายุที่พูดภาษาไทดำ� หมูที่ 1 และ 2 ตำ�บลหนองปรง อำ�เภอเขายอยจังหวัดเพชรบุรี จากจำ�นวนหนวยอรรถ 650 หนวยอรรถ ปรากฏผลดังนี้ 1.1 หนวยอรรถที่ผูบอกภาษาไทดำ�ทั้งสามระดับอายุใชศัพทเหมือนกัน 1.2 หนวยอรรถที่ผูบอกภาษาไทดำ�ทั้งสองระดับอายุใชศัพทเหมือนกัน

158


การแปรการใชศัพทของคนสามระดับอายุในภาษาไทดำ� อำ�เภอเขายอย จังหวัดเพชรบุรี สุวัฒนา เลี่ยมประวัติ

1.3 หนวยอรรถที่ผูบอกภาษาไทดำ�ทั้งสามระดับอายุใชศัพทตางกัน 1.1 หนวยอรรถที่ผูบอกภาษาไทดำ�ทั้งสามระดับอายุใชศัพทเหมือน กัน หมายถึง การที่ผูบอกภาษาใชศัพทเดียวกันหรือรูปแปรของศัพทเดียวกัน จาก การสอบถามพบวา ผูบอกภาษาไทดำ� อำ�เภอเขายอยจังหวัดเพชรบุรีทั้งสามระดับ อายุใชศัพทเดียวกันมีจำ�นวน 447หนวยอรรถ หรือรอยละ 73.38 แบงเปน 3 รูปแบบ ดังนี้ 1. การใชศพั ทไทดำ� พบวา ผูบ อกภาษาไทดำ�ทัง้ สามระดับอายุใชศพั ทไทดำ� มีจำ�นวน 370หนวยอรรถ หรือรอยละ 56.92 ผูวิจัยใชสัญลักษณ A แสดงรูปแบบ การใชศัพทไทดำ� ดังแผนภูมิและตัวอยางศัพท ดังตอไปนี้ ระดับอายุที่ 1 A

ระดับอายุที่ 2 A

ระดับอายุที่ 3 A

หนวยอรรถ

ศัพทภาษาไทดำ�

ระดับอายุที่ 1, 2, 3

‘พริก’

/ma4 ?Mat3/

/ma4 ?Mat3/

‘จิ้งหรีด’

/to:1 ci1 kuN5/

/to:1 ci1 kuN5/

‘ขอศอก’

/khE:n1 sO?3/

/khE:n1 sO?3/

‘ดอกกระดังงา’

/bO?3 laN2 Na:2/

/bO?3 laN2 Na:2/

‘ชอน’

/ka4 buaN1/

/ka4 buaN1/

2. การใชศัพทอื่น หมายถึง การที่ผูบอกภาษาไทดำ�ทั้งสามระดับอา ยุใชศัพทภาษาไทยกรุงเทพฯ หรือภาษาไทยถิ่นกลาง หรือภาษาลาวกลุมอื่น หรือ ศัพทสรางใหม การใชศัพทลักษณะนี้ มีจำ�นวน 104 หนวยอรรถ หรือรอยละ 16 ผูวิจัย ใชสัญลักษณ B แสดงรูปแบบการใชศัพทอื่น ดังแผนภูมิและตัวอยางศัพท ดังตอไปนี้

ระดับอายุที่ 1

ระดับอายุที่ 2

ระดับอายุที่ 3

B

B

B

หนวยอรรถ

ศัพทภาษาไทดำ�

ระดับอายุที่ 1, 2, 3

‘ของเลน’

/cMaN4 ?in5/

/khON1 len4/

‘ขื่อเรือน’

/siN2 jua2/

/khM:2/

‘ฉมวก’

/lEm1 sa:N6/

/sa4 mua?4/

‘กา (ภาชนะ)’

/?@m4/

/ka:1/

159


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

/bOn3 bON3/ /tum5 hu:1/ ‘ตุมหูหวง’ 3. การใชศพ ั ทไทดำ�รวมกับศัพทอนื่ หมายถึง การทีผ่ บู อกภาษาไทดำ�ทัง้ สาม

ระดับอายุใชศัพทไทดำ�รวมกับศัพทอื่นAB การใชศัพทลักษณะนี้ มีจำ�นวน 3 หนวยอรรถ หรือรอยละ 0.46 ผูวิจัยใชสัญลักษณ แสดงรูปแบบการใชศัพทไทดำ�รวมกับศัพทอื่น ดังแผนภูมิและตัวอยางตอไปนี้ ระดับอายุที่ 1

ระดับอายุที่ 2

ระดับอายุที่ 3

A B

A B

A B

หนวยอรรถ ‘คราด’

ศัพทภาษาไทดำ�

ระดับอายุที่ 1, 2, 3

/ba:n sa:N /

‘ตะแกรง’

/s@:N1/

‘เดือด’

/fot4/

/ba:n1 sa:N5/ /kha:t4/ /s@:N 1/ /ta 4 kE:N 1/ /fot4/ /dMat3/

1

5

1.2 หนวยอรรถทีผ่ บู อกภาษาไทดำ�ทัง้ สองระดับอายุใชศพั ทเหมือนกัน หมายถึง การทีผ่ บู อกภาษาทัง้ สองระดับอายุใชศพั ทไทดำ�หรือศัพทอนื่ หรือใชศพั ทไทดำ� รวมกับศัพทอื่น การใชลักษณะนี้มีจำ�นวน 151 หนวยอรรถ หรือรอยละ 23.23 แบงเปน 6 รูปแบบ ดังนี้ 1. หนวยอรรถที่ผูบอกภาษาระดับอายุที่ 1, 2 ใชศัพทไทดำ� สวนผูบอก ภาษาระดับอายุที่ 3 ใชศัพทอื่น การใชศัพทลักษณะนี้มีจำ�นวน 56 หนวยอรรถ หรือ รอยละ 8.61 ดังแผนภูมิและตัวอยางตอไปนี้

ระดับอายุที่ 1 A หนวยอรรถ

ระดับอายุที่ 2 A ศัพทภาษาไทดำ�

ระดับอายุที่ 1, 2

ระดับอายุที่ 3 B ระดับอายุที่ 3

‘ซี่ (ฟน)’

/lem4/

/lem4/

/si:4/

‘กระรอก’

/to:1 hO?4/

/to:1 hO?4/

/ka4 lO:k4/

‘ทายทอย’

/kam1 lon6/

/kam1 lon6/

/tha:j6 thO:j1/

‘สมอง’

/?E?3/

/?E?3/

/sa4 mO:N1/

160


การแปรการใชศัพทของคนสามระดับอายุในภาษาไทดำ� อำ�เภอเขายอย จังหวัดเพชรบุรี สุวัฒนา เลี่ยมประวัติ

‘พะอง’

/ta4 k@:n1/

/ta4 k@:n1/

/pha4 ?oN1/

2. หนวยอรรถที่ผูบอกภาษาระดับอายุที่ 1 ใชศัพทไทดำ� สวนผูบอกภาษา ระดับอายุที่ 2, 3 ใชศัพทอื่น การใชศัพทลักษณะนี้มีจำ�นวน 11 หนวยอรรถ หรือรอยละ 1.69 ดังแผนภูมิและตัวอยางตอไปนี้

ระดับอายุที่ 1

ระดับอายุที่ 2

ระดับอายุที่ 3

A

B

B

หนวยอรรถ

ศัพทภาษาไทดำ�

ระดับอายุที่ 1

ระดับอายุที่ 2, 3

‘ถั่วลิสง’

/thua3 lO?4/

/thua3 lO?4/

/thua3 khut4/

‘รางกาย’

/to:1 kiN4/

/to:1 kiN4/

/lam2 to:1/

3 1 1 3 1 1 3 1 3 6 1 ‘ดอกบานไมรูโรย’ /bO? sa:m bMan //bO? sa:m bMan / /bO? ba:n bO: lu: lo:j /

‘ขน’

/khun5/

/khun5/

/khon5/

‘ซา (ฝน)’

/?Man5/

/?Man5/

/sa:2/

3. หนวยอรรถที่ผูบอกภาษาระดับอายุที่ 1 ใชศัพทไทดำ�รวมกับศัพทอื่น สวนผูบอกภาษาระดับอายุที่ 2, 3 ใชศัพทอื่น การใชศัพทลักษณะนี้มีจำ�นวน 9 หนวยอรรถ หรือรอยละ 1.38 ดังแผนภูมิและตัวอยางตอไปนี้

ระดับอายุที่ 1

ระดับอายุที่ 2

ระดับอายุที่ 3

A B

B

B

หนวยอรรถ ‘มะขามเทศ’

/ma kha:m pE: /

‘แพะ’

/to:1 bE?3/

‘ของาว’

/pa: khO: /

‘สะพาน’

ศัพทภาษาไทดำ� 4

1

6

1

1

/khua /

‘ฝกซอม เรียน’ /?Ep / 3

ระดับอายุที่ 1 1

/ma kha:m pE: / /ma4 kha:m1 the:t4/ /to:1 bE?3/ /to:1 phE?2/ /pa:6 khO:1/ /?i:5 Na:w6/ /khua1/ /sa4 pha:n2/ /?Ep3/ /fMk4/ 4

1

ระดับอายุที่ 2,3

1

/ma4 kha:m1 the:t4/ /phE?2/ /Na:w6/ /sa4 pha:n2/ /fMk4/

4. หนวยอรรถที่ผูบอกภาษาระดับอายุที่ 1, 2 ใชศัพทไทดำ�รวมกับศัพทอื่น สวนผูบ อกภาษาระดับอายุที่ 3 ใชศพั ทอนื่ การใชศพั ทลกั ษณะนีม้ จี �ำ นวน 27 หนวยอรรถ

161


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

หรือรอยละ 4.15 ดังแผนภูมิและตัวอยางตอไปนี้ ระดับอายุที่ 1 A B หนวยอรรถ

ระดับอายุที่ 2 A B ศัพทภาษาไทดำ�

ระดับอายุที่ 3 B ระดับอายุที่ 1, 2

‘เปอน, เลอะเทอะ’

/?uaj3/  ‘พนน้ำ�’ /phu:3/ ‘ฟอนรำ�’ /sE:1/ ‘รุงรัง’ /tMp3/ ‘วัก’ /so?3/

ระดับอายุที่ 3

/?uaj3/  /pMan5/ /pMan5/ /phu:3/ /phon4/ /phon4/ /sE:1/ /fO:n6/ /fO:n6/ /tMp3/ /hok4/ /hok4/ /so?3/ /wak4/ /wak4/

5. หนวยอรรถที่ผูบอกภาษาระดับอายุที่ 1 ใชศัพทไทดำ� สวนผูบอกภาษา ระดับอายุที่ 2, 3 ใชศัพทไทดำ�รวมกับศัพทอื่น การใชศัพทลักษณะนี้มีจำ�นวน 13 หนวยอรรถ หรือรอยละ 2 ดังแผนภูมิและตัวอยางตอไปนี้ ระดับอายุที่ 1

ระดับอายุที่ 2

ระดับอายุที่ 3

A

A B

A B

หนวยอรรถ

ศัพทไทดำ�

ระดับอายุที่ 1

‘ลูกคนหัวป’

/lu?4 kok3/

/lu?4 kok3/

‘ซีก เสี้ยว’

/kim5/

/kim5/

‘กลม’

/mon2/

/mon2/

‘คอยหา’

/kON2/

/kON2/

‘ขัง’

/saN1/

/saN1/

ระดับอายุที่ 2, 3 /lu?4 kok3/ /lu?4 kon2 JaM3/ /kim5/ /si?4/ /mon2/ /kom1/ /kON2/ /khO:j2/ /saN1/ /khaN1/

6. หนวยอรรถทีผ่ บู อกภาษาระดับอายุที่ 1, 2 ใชศพั ทไทดำ� สวนผูบ อกภาษา ระดับอายุที่ 3 ใชศพั ทไทดำ�รวมกับศัพทอนื่ การใชศพั ทลกั ษณะนีม้ จี �ำ นวน 35 หนวยอรรถ

162


การแปรการใชศัพทของคนสามระดับอายุในภาษาไทดำ� อำ�เภอเขายอย จังหวัดเพชรบุรี สุวัฒนา เลี่ยมประวัติ

หรือรอยละ 5.38 ดังแผนภูมิและตัวอยางตอไปนี้ ระดับอายุที่ 1

ระดับอายุที่ 2

ระดับอายุที่ 3

A

A

A B

หนวยอรรถ

ศัพทไทดำ�

ระดับอายุที่ 1, 2

ระดับอายุที่ 3

‘ลาง’

/suaj4/

/suaj4/

‘สนุกไพเราะ’

/muan4/

/muan4/

‘หึงหวง’

/h@N1/

/h@N1/

‘แตก’

/tE?3/

/tE?3/

‘โตเถียง’

/ka:j6/

/ka:j6/

/suaj4/ /la:N6/ /muan4/ /sa4 nuk4/ /h@N1/ /?it3 sa:1/ /tE?3/ /tE:k3/ /ka:j6/ /thiaN1/

1.3 หนวยอรรถที่ผูบอกภาษาไทดำ�ทั้งสามระดับอายุใชศัพทตางกัน หมายถึง การที่ผูบอกภาษาระดับอายุที่ 1 ใชศัพทไทดำ� ผูบอกภาษาระดับอายุที่ 2 ใชศพั ทไทดำ�รวมกับศัพทอนื่ สวนผูบ อกภาษาระดับอายุที่ 3 ใชศพั ทอนื่ เทานัน้ มีจ�ำ นวน 22 หนวยอรรถ หรือรอยละ 3.38 ดังแผนภูมิและตัวอยางตอไปนี้

ระดับอายุที่ 1

ระดับอายุที่ 2

ระดับอายุที่ 3

A

A B

B

หนวยอรรถ

ศัพทภาษาไทดำ�

ระดับอายุที่ 1

‘สัปปะรด’

ระดับอายุที่ 2

ระดับอายุที่ 3

/ma4 nat4/ /ma4 nat4/ /ma4 nat4/ /som5 ma4 lot4/ /sap5 pa4 lot4/ ‘ดอกโสน’ /bO?3 kO:1 ta:N1/ /bO?3 kO:1 ta:N1/ /bO?3 kO:1 ta:N1/ /bO?3 sa4 no:1/ /bO?3 sa4 no:1/ 1 1 ‘ปน’ /?oN / /?oN / /?oN1/ /pM:n1/ /pM:n1/ 1 1 1 ‘ขางลาง’ /kON / /kON / /kON / /la:N4/ /la:N4/ 1 1 1 ‘ขยัน’ /cO:N / /cO:N / /cO:N /

163


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

/kha4 jan1/

/kha4 jan1/

จากรูปแบบการใชศัพทของคนสามระดับอายุในภาษาไทดำ�ทั้ง 10 รูปแบบ

AAA

BBB

AAA BBB

AAB

ABB

A BBB

AA BBB

AAA BB

AAA B

AA BB

สามารถแสดงความถี่ของการใชแตละแบบ ไดดวยแผนภูมิดังตอไปนี้ จะเห็นไดวาชุมชนภาษาไทดำ� ตำ�บลหนองปรง อำ�เภอเขายอยจังหวัดเพชรบุรี ผูบ อกภาษาทุกระดับอายุใชศพั ทไทดำ�รวมกันเปนจำ�นวนมากทีส่ ดุ คือ 370 หนวยอรรถ รองลงมาคือการใชศัพทอื่นแทนศัพทไทดำ� จำ�นวน 104 หนวยอรรถ เมื่อพิจารณาอัตราการใชศัพทไทดำ� [A] ศัพทอื่น [B] และการใชศัพทไทดำ� รวมกับศัพทอื่น ของผูบอกภาษาแตละระดับอายุพบวา ผูบอกภาษาระดับอายุที่ 1 ใชศัพทไทดำ� [A] มากที่สุด คือรอยละ 78 ใชศัพทอื่น [B] นอยที่สุด คือรอยละ 16 ใน ขณะทีผ่ บู อกภาษาระดับอายุที่ 3 ใชศพั ทอนื่ [B] มากทีส่ ดุ คือรอยละ 35.23 และใชศพั ท ไทดำ� [A] นอยที่สุด คือรอยละ 47.23 สวนผูบอกภาษาระดับอายุที่ 2 ใชศัพทไทดำ� รวมกับศัพทอื่น มากที่สุด คือรอยละ 10 ดังตารางตอไปนี้ การใชศัพท ระดับอายุ ระดับอายุที่ 1

A % 507 78

A B % 39 6

ระดับอายุที่ 2

461

70.92

65

ระดับอายุที่ 3

307

47.23

51

164

B % 104

16

10

124

19.07

7.84

229

35.23


การแปรการใชศัพทของคนสามระดับอายุในภาษาไทดำ� อำ�เภอเขายอย จังหวัดเพชรบุรี สุวัฒนา เลี่ยมประวัติ

ตารางเปรียบเทียบการใชศัพทไทดำ� [A] ศัพทไทดำ�รวมกับศัพทอื่น และศัพทอื่น [B] ของคนสามระดับอายุ

ผูบอก​ภาษาระดับอายุที่ ​1 ผูบอก​ภาษาระดับอายุที่ ​2 ผูบอก​ภาษาระดับอายุที่ ​3

[A]

[B]

2. การแปรดานรูปศัพทของคนสามระดับอายุ 2.1 การแปรดานรูปศัพทของไทดำ� 2.2 การแปรดานรูปศัพทของศัพทอื่น 2.1 การแปรดานรูปศัพทของไทดำ�หมายถึง การใชรูปศัพทภาษาไทดำ� ของผูบอกภาษาแตละระดับอายุ หรือระดับอายุเดียวกันที่มีมากกวา 1 รูปแปร โดยรูป แปรที่เกิดขึ้นจากการตัด การเพิ่ม หรือการเปลี่ยนบางพยางค โดยพยางคที่แสดงความ หมายหลักยังคงเดิม เชน หนวยอรรถ ระดับอายุที่ 1, 2, 3 ‘บุบบูบี้’ /bem1 ~ bem1 be?3/ ระดับอายุที่ 1, 2, 3 ‘โกหก’ /bew5 ~ khi:5 bEw3/ ระดับอายุที่ 1 ‘รม’ /kan2 hom4 ~ hom4/ ระดับอายุที่ 1, 2, 3 ‘ที่ไหน’ /ka1 laM2 ~ bOn3 laM2/

165


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

นอกจากนี้ยังพบการแปรเสียงของศัพทไทดำ� เชน การแปรเสียง หนวยอรรถ ระดับอายุที่ 1, 2 ระดับอายุที่ 3 /l ~ d / ‘บันได’ /khan2 laj1/ /khan2 daj1/ ระดับอายุที่ 3 /aM ~ aw/ ‘ใส’ /saM1 ~ saw1/

2.2 การแปรดานรูปศัพทของศัพทอื่น หมายถึ ง การใช รู ป แปรของ

ศัพทอนื่ ไดแก ภาษาไทยกรุงเทพฯ ภาษาไทยถิน่ กลาง หรือการสรางศัพทใหมทปี่ รากฏ ใชในผูบ อกภาษาทัง้ สามระดับอายุ รูปแปรนีอ้ าจเกิดจากการตัด การเพิม่ หรือการเปลีย่ น บางพยางค โดยพยางคที่แสดงความหมายหลักยังคงเดิม เชน หนวยอรรถ ระดับอายุที่ 1, 2 ระดับอายุที่ 2, 3 ‘แกะ’ (สัตว์) 1 3 3 ‘ปลาเนื้ออ่อน’  1 6 3 1 6 4 ‘จะงอย (ปากนก)’ /sop3 nok4/ /NO:j2 sop3 nok4/

นอกจากนี้ยังพบการแปรเสียงของศัพทอื่น เชน การแปรเสียง หนวยอรรถ ระดับอายุที่ 1, 2 ระดับอายุที่ 3 -? ~ -k ‘คอพอก’ /kO:2 phO?4/ /kO:2 phO:k4/ ระดับอายุที่ 1, 2 ระดับอายุที่ 3 4 2 s ~ ch ‘ชะลอม’ /sa lO:m / /cha4 lO:m2/ ระดับอายุที่ 1, 2, 3 p ~ ph ‘ทอผา’ 6~ 6 3. การแปรดานความหมายของศัพท ของคนสามระดับอายุ ผูวิจัยพบการแปรความหมายของบางศัพท ดังนี้ 3.1 การแปรดานความหมายกวางออก (Widening) หมายถึง ผูบอกภาษา ระดับอายุหนึ่งใชในความหมายแคบ แตผูบอกภาษาระดับอายุตอมาใชในความหมาย กวางกวาเดิม สวนใหญจะเกิดกับศัพทอื่น ซึ่งผูบอกภาษาระดับอายุที่ 2 หรือ 3 จะใชศพั ทอนื่ ในความหมายกวาง คลุมความหมายของศัพทไทดำ� ปรากฏการณดงั กลาว มีผลตอการสูญศัพทไทดำ� เชน หนวยอรรถ ระดับอายุที่ 1, 2 ‘โผล’ /pho:3/ หมายถึง การโผลออกมาใหเห็นทัง้ ตัว ถาโผล แคอวัยวะบางสวน เชน มือ เทา หนา ใชวา

166


การแปรการใชศัพทของคนสามระดับอายุในภาษาไทดำ� อำ�เภอเขายอย จังหวัดเพชรบุรี สุวัฒนา เลี่ยมประวัติ

ระดับอายุที่ 3 /pho:3/ ระดับอายุที่ 1, 2 ‘สไบ’ /sa4 baj1/

/mEn3/

หมายถึง การโผลออกมาใหเห็นทั้งตัว หรือ อวัยวะบางสวน หมายถึง สไบที่มีเนื้อผา สีสัน และลายปกที่ ไมใชของไทดำ� ถาเปนของไทดำ� ใชวา /pha:5 piaw1/

ระดับอายุที่ 3

/sa4 baj1/

หมายถึง สไบทุกประเภท ทั้งของไทดำ�และ กลุมชาติพันธุอื่น

3.2 การแปรดานความหมายแคบเขา (Narrowing) หมายถึง ผูบ  อกภาษาระดับ

อายุหนึ่งใชในความหมายแคบ แตผูบอกภาษาระดับอายุตอมาใชในความหมายกวาง กวาเดิม สวนใหญจะเกิดกับศัพทไทดำ�ซึ่งมีความหมายกวางในผูบอกภาษาระดับอายุ ที่ 1 และหรือ 2 ระดับอายุตอมาใชในความหมายแคบ ปรากฏการณดังกลาวมีผลตอ การสูญศัพทไทดำ�ดวย เชน หนวยอรรถ ระดับอายุที่ 1 /pha:5 piaw1/ หมายถึง สไบหรือผาคาดอกที่มีเนื้อผา สีสัน ‘สไบ’ และลายป ก ของไทดำ � เท า นั้ น ถ า เป น ของ กลุมชาติพันธุอื่น ใชวา /sa4 baj1/ ระดับอายุที่ 2 /pha:5 piaw1/ หมายถึง สไบหรือผาคาดอกทุกประเภททั้ง ของไทดำ�และกลุมชาติพันธุอื่น 4. การสูญศัพทไทดำ�และการรักษาศัพทไทดำ�

จากขอมูลการใชศัพทรูปแบบ B B B พบวา มีการสูญศัพทไทดำ�โดย ใชศัพทอื่นแทน ไดแก ศัพทไทยกรุงเทพฯ ศัพทไทยถิ่นกลาง ศัพทลาวกลุมอื่น หรือ ศัพทสรางใหม เชน หนวยอรรถ ‘นอยหนา’

ศัพทไทดำ� /ma saj khiat / 4

1

3

ระดับอายุที่ 1, 2

ระดับอายุที่ 3

/ma nO: nE: /

/nO:j4 na:3/

4

5

5

ศัพท / ma4 nO:5 nE:5/เปนศัพทภาษาไทยยวน ซึง่ ผูบ อกภาษาระดับอายุ

167


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

ที่ 1, 2 นำ�มาใชแทนศัพทไทดำ�คือ / ma4 saj1 khiat3/ สวนผูบอกภาษาระดับอายุ ที่ 3 ไดนำ�ศัพท / nO:j4 na:3/ ของภาษาไทยกรุงเทพฯ มาใชแทนศัพทไทดำ� หนวยอรรถ ‘เกลื่อน, กระจาย’

ศัพทไทดำ�

ระดับอายุที่ 1, 2

ระดับอายุที่ 3

/hia4 ha:j2/

/sa4 sa:j2/

/ka4 ca:j2/

ศัพท /sa4 sa:j2/ เปนศัพทภาษาลาวเวียง ลาวครั่ง ซึ่งผูบอกภาษาระดับอายุ ที่ 1, 2 นำ�มาใชแทนศัพทไทดำ�คือ /hia4 ha:j2/ สวนผูบอกภาษาระดับอายุที่ 3 ได นำ�ศัพท /ka4 ca:j2/ ของภาษาไทยกรุงเทพฯ มาใชแทนศัพทไทดำ� การใชศัพทภาษาอื่น หรือศัพทสรางใหมดังกลาว สะทอนใหเห็นวาภาษา ไทดำ� ตำ�บลหนองปรง อำ�เภอเขายอยจังหวัดเพชรบุรี มีการเปลี่ยนแปลงดานการ สูญศัพทไทดำ� ที่ปรากฏในระดับอายุตางๆ เพราะการใชศัพทอื่น [B] หรือการใชศัพท ไทดำ�รวมกับศัพทอื่น นั้น ปรากฏตั้งแตผูบอกภาษาระดับอายุที่ 1 กลาวคือ ผูบอก ภาษาระดับอายุที่ 1 ใชศัพทอื่นจำ�นวน 104 หนวยอรรถ หรือรอยละ 16 ใชศัพทไทดำ� รวมกับศัพทอื่นจำ�นวน 39 หนวยอรรถ หรือรอยละ 6 ผูบอกภาษาระดับอายุที่ 3 ใชศัพทอื่นมากที่สุด คือจำ�นวน 229 หนวยอรรถ หรือรอยละ 35.23 สวนผูบอกภาษา ระดับอายุที่ 2 จะใชศัพทไทดำ�รวมกับศัพทอื่นมากที่สุด จำ�นวน 65 หนวยอรรถ หรือ รอยละ 10 ผูวิจัยคาดวาระดับอายุที่ 2 เปนบุคคลวัยทำ�งาน มีครอบครัว เปนระดับอายุ เชื่อมตอกับคนวัยชราและวัยหนุมสาว จึงนิยมใชศัพททั้งสองประเภทสื่อสารควบคูกัน หากจะพิจารณารูปแบบ B B B คือการใชศัพทอื่นแทนศัพทไทดำ�แตละ หมวด ซึ่งมีผลทำ�ใหเกิดการสูญศัพทไทดำ�ของผูบอกภาษาทุกระดับอายุ พบวาหมวด วัตถุ สถานที่ และหมวดการแตงกาย ผา แรธาตุ ผูบอกภาษาใชศัพทอื่นมากเปนลำ�ดับ ที่ 1 และ 2 อาจเปนเพราะวัตถุสิ่งของที่ใชในชีวิตประจำ�วันของชาวไทดำ�เปลี่ยนรูป แบบไปและเปลี่ยนวัสดุที่นำ�มาผลิต อาจใชพลาสติกแทนตอกซึ่งเปนเครื่องจักสาน คน รุน ใหมใชศพั ทอนื่ แทน เชน หนวยอรรถ กระบุง กระติบ กระตอบทีน่ า หรือสวนประกอบ ของบานเรือนแบบไทดำ� เชน ชานเรือน ชายคาตลอดจนวิธีการแตงกายแบบไทดำ�ที่ไม นิยมแตงในชีวิตประจำ�วัน คงเหลือแตแตงในงานบุญประจำ�ปหรือเพื่อประชาสัมพันธ ใหนักทองเที่ยวรูจักเทานั้น เชนหนวยอรรถ ปนปกผม กระดุมเงิน กำ�ไลเงิน สรอยคอ ตุมหูแบบไทดำ� สวนหมวดคำ�ถาม ลักษณนามใชศัพทอื่นนอยที่สุดโดยเรียงลำ�ดับดังนี้ ลำ�ดับที่ 1 หมวดวัตถุ สถานที่ จำ�นวน 80 หนวยอรรถ ใชศพั ทอน่ื 28 หนวยอรรถ (รอยละ 35)

168


การแปรการใชศัพทของคนสามระดับอายุในภาษาไทดำ� อำ�เภอเขายอย จังหวัดเพชรบุรี สุวัฒนา เลี่ยมประวัติ

ลำ�ดับที่ 2 หมวดการแตงกาย ผา แรธาตุ จำ�นวน 20 หนวยอรรถ ใชศพั ทอน่ื 5 หนวยอรรถ (รอยละ 25) ลำ�ดับที่ 3 หมวดอวัยวะ สวนประกอบของคน สัตว พืช ชือ่ โรค จำ�นวน 53 หนวยอรรถ ใชศพั ทอน่ื 8 หนวยอรรถ (รอยละ 15) ลำ�ดับที่ 4 หมวดกิรยิ าอาการ ขยายกิรยิ า จำ�นวน 295 หนวยอรรถ ใชศพั ทอน่ื 39 หนวยอรรถ (รอยละ 13.22) ลำ�ดับที่ 5 หมวดบุคคล การงาน จำ�นวน 31 หนวยอรรถ ใชศพั ทอน่ื 4 หนวยอรรถ (รอยละ 12.90) ลำ�ดับที่ 6 หมวดธรรมชาติ จำ�นวน 39 หนวยอรรถ ใชศพั ทอน่ื 5 หนวยอรรถ (รอยละ 12.82) ลำ�ดับที่ 7 หมวดของกิน รสชาติ จำ�นวน 50 หนวยอรรถ ใชศพั ทอน่ื 6 หนวยอรรถ (รอยละ 12) ลำ�ดับที่ 8 หมวดสัตว จำ�นวน 44 หนวยอรรถ ใชศพั ทอน่ื 6 หนวยอรรถ (รอยละ 12) ลำ�ดับที่ 9 หมวดคำ�ถาม ลักษณนาม คำ�เชือ่ ม คำ�บอกเวลา จำ�นวน 38 หนวยอรรถ ใชศพั ทอน่ื 4 หนวยอรรถ (รอยละ 10.52) สวนการรักษาศัพทไทดำ� รูปแบบ A A A แตละหมวดของคนสามระดับ อายุนั้น ผูวิจัยพบวาหมวดคำ�ถาม ลักษณนาม คำ�เชื่อม คำ�บอกเวลา ผูบอกภาษา ใชศัพทไทดำ�มากที่สุดอาจเปนเพราะหมวดคำ�ดังกลาวเปนคำ�ไวยากรณคอนขางเปน นามธรรมใชเชื่อมประโยคใหสละสลวย สวนหมวดวัตถุ สถานที่ ผูบอกภาษาจะใชศัพท ไทดำ�นอยที่สุด โดยเรียงลำ�ดับดังนี้ ลำ�ดับที่ 1 หมวดคำ�ถาม ลักษณนาม คำ�เชือ่ ม คำ�บอกเวลา จำ�นวน 38 หนวยอรรถ ใชศพั ทอน่ื 31 หนวยอรรถ (รอยละ 81.57) ลำ�ดับที่ 2 หมวดบุคคล การงาน จำ�นวน 31 หนวยอรรถ ใชศพั ทไทดำ� 23 หนวยอรรถ (รอยละ 74.19) ลำ�ดับที่ 3 หมวดของกิน รสชาติ จำ�นวน 50 หนวยอรรถ ใชศพั ทไทดำ� 34 หนวยอรรถ (รอยละ 68) ลำ�ดับที่ 4 หมวดสัตว จำ�นวน 44 หนวยอรรถ ใชศพั ทไทดำ� 26 หนวยอรรถ (รอยละ 65) ลำ�ดับที่ 5 หมวดธรรมชาติ จำ�นวน 39 หนวยอรรถ ใชศพั ทไทดำ� 25 หนวยอรรถ (รอยละ 64.10)

169


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

ลำ�ดับที่ 6 หมวดการแตงกาย ผา แรธาตุ จำ�นวน 20 หนวยอรรถ ใชศพั ทไทดำ� 12 หนวยอรรถ (รอยละ 60) ลำ�ดับที่ 7 หมวดกิรยิ าอาการ ขยายกิรยิ า จำ�นวน 295 หนวยอรรถ ใชศพั ทไทดำ� 160 หนวยอรรถ (รอยละ 54.23) ลำ�ดับที่ 8 หมวดอวัยวะ สวนประกอบของคน สัตว พืช ชือ่ โรค จำ�นวน 53 หนวยอรรถ ใชศพั ทไทดำ� 27 หนวยอรรถ (รอยละ 50.94) ลำ�ดับที่ 9 หมวดวัตถุ สถานที่ จำ�นวน 80 หนวยอรรถ ใชศพั ทไทดำ� 32 หนวยอรรถ (รอยละ 40) สรุปผลการวิจัยและขอเสนอแนะ จากการใชหนวยอรรถจำ�นวน 650 หนวยอรรถ สอบถามผูบอกภาษาไทดำ� ทั้งสามระดับอายุในตำ�บลหนองปรง อำ�เภอเขายอย จังหวัดเพชรบุรี พบการแปรดาน การใชศพั ท กลาวคือ มีการใชศพั ทไทดำ�มากทีส่ ดุ ในผูบ อกภาษาระดับอายุที่ 1 และนอย ที่สุดในผูบอกภาษาระดับอายุที่ 3 ดานการใชศัพทอื่นมีการใชมากที่สุดในผูบอก ภาษาระดั บ อายุ ที่ 3 และน อ ยที่ สุ ด ในผู  บ อกภาษาระดั บ อายุ ที่ 1 ส ว นการใช ศัพทไทดำ�รวมกับศัพทอื่นนั้น ผูบอกภาษาระดับอายุที่ 2 ใชมากที่สุดและนอยที่สุด ในผูบอกภาษาระดับอายุที่ 1 การแปรดานรูปศัพทไทดำ�และศัพทอื่นพบการเพิ่ม การ ตัดพยางค และการแปรเสียงพยัญชนะและสระดวย นอกจากนัน้ ยังมีการแปรความหมาย ทั้งความหมายกวางออกและแคบเขาโดยเฉพาะการแปรความหมายแบบแคบเขาของ ศัพทไทดำ�และการใชศัพทอื่นในความหมายกวางออกจะมีผลกระทบตอการสูญศัพท ไทดำ�ในอนาคต ผลการวิจยั นีส้ อดคลองกับงานวิจยั ทีใ่ ชตวั แปร “อายุ” ศึกษาการแปรของศัพทใน ภาษาตระกูลไทพืน้ ทีต่ า งๆ เชน งานวิจยั ของ สายัณ สวมทอง (2544) ศึกษาศัพทภาษา ไทยถิ่นของคนสามระดับอายุในตำ�บล ควนธานี อำ�เภอกันตัง จังหวัดตรัง งานวิจัยของ ศรินยา จิตบรรจง และดุษฎี กองสมบัติ (2551) ศึกษาการเปลีย่ นแปลงการใชศพั ทภาษา ญอของชาวบานที่ทาขอนยาง ตำ�บลทาขอนยาง อำ�เภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม งานวิจยั ของ พิณรัตน อัครวัฒนากุล (2555) ศึกษาการแปรและการเปลีย่ นทางศัพทและ เสียงในภาษาไทถิ่นที่พูดในจังหวัดนาน เมื่อพิจารณาเรื่องการแปรศัพท ผูวิจัยพบประเด็นเกี่ยวกับเสียงยอยที่เกิดขึ้น ใหมในภาษาไทดำ�ไดแก เสียงพยัญชนะตน [ch] และ [d] ซึ่งเปนอิทธิพลของภาษาไทย กรุงเทพฯหรือภาษาไทยกลาง เชนคำ�วา /phak3 chi:2/ ‘ผักชี’ /cha4lO:m2/ ‘ชะลอม’ /dO:N1/ ‘ดอง’ สวนใหญจะเกิดกับผูบ  อกภาษาระดับอายุที่ 3 ทีจ่ ะใชเสียง [ch] และ [d] 170


การแปรการใชศัพทของคนสามระดับอายุในภาษาไทดำ� อำ�เภอเขายอย จังหวัดเพชรบุรี สุวัฒนา เลี่ยมประวัติ

แทนเสียง /s/ และ /l/ในภาษาไทดำ�แตเดิม นอกจากนั้นยังพบการแปรเสียงพยัญชนะ ทาย /? ~ k/ ในศัพทที่ใชสระเสียงยาวหรือสระประสม เชน ‘หยวก’ ผูบอกภาษาระดับ อายุที่ 1 จะออกเสียงเปน /jua?4/ ซึ่งเปนเสียงพยัญชนะทายที่ถูกตองในภาษาไทดำ� แตผูบอกภาษาระดับอายุที่ 3 จะออกเสียงเปน /juak3/ ซึ่งเปนศัพทไทยกรุงเทพฯ นับเปนการสัมผัสภาษา (Language contact) ที่นาสนใจหรือการใชศัพทภาษาลาว กลุม อืน่ ทีอ่ ยูใ กลเคียง แสดงใหเห็นการเปลีย่ นแปลงภาษาอันเนือ่ งมาจากปจจัยภายนอก เกิดการผสมผสานของภาษา (Language mixture) ระหวางภาษาไทดำ�กับภาษาอื่น ปรากฏการณดังกลาวเปนสิ่งที่นาสนใจ ซึ่งควรใชตัวแปรทางสังคม เชน เพศ อาชีพ ทัศนคติตอภาษาศึกษาใหละเอียดตอไป 



171




วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

บรรณานุกรม ภาษาไทย นิภา ไชยะ. (2553). การเปลี่ยนแปลงทางภาษาและปจจัยที่มีผลกระทบตอ ภาษาลาวโซง. วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร. บังอร ปยะพันธุ. (2541). ลาวในกรุงรัตนโกสินทร. กรุงเทพฯ: สำ�นักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย. พนิดา เย็นสมุทร. (2524). คำ�และความหมายในภาษาลาวโซง. วิทยานิพนธปริญญา ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร. พิณรัตน อัครวัฒนากุล. (2555). รายงานการวิจัยโครงการการแปรและการ เปลี่ ย นแปลงทางศั พ ท แ ละเสี ย งในภาษาไทถิ่ น ที่ พู ด ในจั ง หวั ด น า น. กรุงเทพมหานคร: สำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และสำ�นักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย. วรนุช ประพิณ. (2539). การศึกษาเปรียบเทียบคำ�ศัพทภาษาลาวโซง ในจังหวัด นครปฐม ราชบุรีและ เพชรบุร.ี วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาจารึกภาษาไทย มหาวิทยาลัยศิลปากร. ศรินยา จิตบรรจงและดุษฎี กองสมบัติ. (2551). รายงานการวิจัยการเปลี่ยนแป ลงการใชคำ�ศัพทภาษาญอของชาวบานทาขอนยาง ตำ�บลทาขอนยาง อำ�เภอกันทรวิชยั จังหวัดมหาสารคาม. มหาสารคาม: คณะมนุษยศาสตรและ สังคมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. สมทรง บุรุษพัฒนและคณะ. (2554). รายงานการวิจัยการใชภาษาและทัศนคติ ตอภาษาและการทองเที่ยวเชิงชาติพันธุของกลุมชาติพันธุในภูมิภาค ตะวันตก. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัย มหิดล. สายัณ สวมทอง. (2544). คำ�ศัพทภาษาไทยถิ่นของคนสามระดับอายุ ในตำ�บล ควนธานี อำ�เภอกันตัง จังหวัดตรัง. วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหา บัณฑิต มหาวิทยาลัยทักษิณ. สุนทรัตร แสงงาม. (2549). การแปรของคำ�ศัพทและวรรณยุกตตามกลุมอายุ และทัศนคติตอภาษาในภาษาไทโซง (ไทดำ�) ที่พูดในอำ�เภอเขายอย จั ง หวั ด เพชรบุ รี . วิ ท ยานิ พ นธ ป ริ ญ ญาอั ก ษรศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

172


การแปรการใชศัพทของคนสามระดับอายุในภาษาไทดำ� อำ�เภอเขายอย จังหวัดเพชรบุรี สุวัฒนา เลี่ยมประวัติ

สุวัฒนา เลี่ยมประวัติ และกันทิมา วัฒนะประเสริฐ. (2539). รายงานการวิจัย วิเคราะหการใชคำ�และการแปรของภาษาของคนสามระดับอายุในชุมชน ภาษาลาวลุมน้ำ�ทาจีน. นครปฐม: โรงพิมพมหาวิทยาลัยศิลปากร. อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ. (2532). คำ�จำ�กัดความในภาษาศาสตรสังคม. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. _________ . (2544). ภาษาศาสตรสังคม. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. อัญชุลี บูรณะสิงห. (2531). วิเคราะหการเปลี่ยนแปลงการใชคำ�ของคนสาม ระดับอายุในภาษาไทยโซง. วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล. ภาษาตางประเทศ Chamberlain, James R. (1975). “A New look of the history and classification of the Tai Language.” in Studies in Tai Linguistics in Honor of William J. Gedney : p. 49-66. Bangkok: CIEL. Ferguson, C.A. and Gumperz, J.D. (1973). “Varity and Language.” In Reading for Applied Linguistics vol.1. Ed. by J. F. B Allen and Pit Corder. London: Oxford University Press. Fippinger, Jay and Fippinger, Dorothy. (1974). Black Tai phoneme, with reference to White Tai. Anthropological Linguistics 12, 3 : 83-95. Gedney, William J. (1972). “A Checklist for determining tones in Tai Dialects.” In Studies in Linguistics in Honor of George L. Trager : p. 423-437. Ed. by M. Estillie Smith. Mouton: The Hauge. Labov, William A. (1972). Sociolinguistics pattern. Philadelphia: University of Pennsylvania. Li, Fang Kuei. (1959). Classification by vocabulary: Tai Dialects. Anthropological Linguistics 1-2 : 15-21. Luangthongkum, Theraphan. Old Tai Dam (Black Tai) Lexicon. (Manuscript). Orapin Maneewong. (1978). A Comparative phonological study of Lao Song in Petburi and Nakhorn Pathom Province. Unpublished M.A. Thesis, Mahidol University.

173



วัจนกรรมเกี่ยวกับความสุภาพและแนวคิดเรื่องหนา กับการคุกคามหนาของตัวละครในรามเกียรติ์ The Speech of Politeness and Face Concept with Face - Threatening Act of Characters in Ramkien’s King Rama I ศิวดล วราเอกศิริ 1 Siwadol Waraaeksiri บทคัดยอ บทความนี้ มี จุ ด มุ  ง หมายเพื่ อ ศึ ก ษาวั จ นกรรมเกี่ ย วกั บ ความสุ ภ าพและ แนวคิดเรื่องหนากับการคุกคามหนาของตัวละครในรามเกียรติ์ ฉบับพระราชนิพนธ ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช โดยศึกษาผานตัวละครที่แบงออก เปน 2 ฝาย คือ 1) ฝายพลับพลา และ 2) ฝายลงกา โดยมุงศึกษาตามหลักความสุภาพ ทั้ ง หมด 6 ข อ และตั ว แปรเสริ ม ทางด า นวั จ นปฏิ บั ติ ด  า นความสุ ภ าพซึ่ ง จะใช กรอบแนวคิดหลักความสุภาพของลีช อีกทั้งจะศึกษาเรื่องหนาและการคุกคามหนา ทั้งเชิงบวกและเชิงลบตามแนวคิดของบราวนและเลวินสัน ผลการศึกษาพบวา ตัวแปรเสริมทางดานวัจนปฏิบัติทั้ง 4 ประการ อันไดแก 1) อำ�นาจ 2) ระยะหางทางสังคม 3) ขนาดของความรบกวน และ 4) สิทธิและพันธกรณี จะเข า มามี บ ทบาทต อ การกำ � หนดความสุ ภ าพของการใช ถ  อ ยคำ � ของตั ว ละครใน รามเกียรติ์แตจะไมปรากฏตัวแปรดานสิทธิและพันธกรณีอยางเดนชัดเทาใดนัก อีกทั้ง หลักความสุภาพของลีชมีทงั้ หมด 6 ขอ ไดแก 1) หลักรูผ อ นหนักผอนเบา 2) หลักความ เอื้อเฟอ 3) หลักชื่นชมยินดี 4) หลักถอมตน 5) หลักคลอยตาม และ 6) หลักเห็นใจ ซึ่งจะปรากฏเพียง 5 ขอเทานั้น โดยจะไมปรากฏหลักคลอยตาม อันแสดงใหเห็นวา สังคมรามเกียรติท์ ถี่ ือวาเปนสังคมในโลกวรรณคดีนนั้ จะเปนสังคมทีต่ วั ละครดำ�เนินการ สื่อสารซึ่งใกลเคียงกับสังคมมนุษยจริง จึงทำ�ใหเห็นถึงการสื่อสารของตัวละครไดเปน อยางดี อีกทั้งในการสื่อสารแตละครั้ง ตัวละครในรามเกียรติ์จะสื่อสารโดยใชถอยคำ�

__________________ 1 นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร จังหวัดนครปฐม วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปที่ 33(1) : 175-213, 2556


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

หรือภาษาที่สุภาพแตเมื่อตัวละครสื่อสารกับตัวละครฝายตรงขาม ตัวละครจะใชถอยคำ� ที่แสดงการคุกคามหนาของตัวละครอื่นซึ่งจะปรากฏทั้งการคุกคามหนาเชิงลบและการ คุกคามหนาเชิงบวกโดยสวนใหญจะนิยมใชวัจนกรรมตรง นับเปนปจจัยสำ�คัญที่ทำ�ให ตัวละครในรามเกียรติท์ ถี่ กู คุกคามหนานัน้ เสียหนา จนนำ�ไปสูก ารสูญเสียศักดิศ์ รีอกี ดวย คำ�สำ�คัญ: 1. วัจนกรรมเกีย่ วกับความสุภาพ. 2. แนวคิดเรือ่ งหนา. 3. การคุกคามหนา. 4. ตัวละครในรามเกียรติ์.

176


วัจนกรรมเกี่ยวกับความสุภาพและแนวคิดเรื่องหนากับการคุกคามหนาของตัวละครในรามเกียรติ์ ​ศิวดล วราเอกศิริ

Abstract This article is aims to study the speech of politeness and face concept with face-threatening act of characters in Ramkien’s King Rama I, and to study by dividing 2 groups is 1) Plup-Pla group and 2) Long-Ka group. Besides to study in Politeness Principle 6 maxims and pragmatic parameters of politeness by Politeness Principle of Leech. Furthermore, to study about face concept and face- threatening act both positive and negative by Politeness Theory of Brown and Levinson. The result of study shows the four parameters related to pragmatics: power, social distance, size of imposition, and rights and obligations have the effect on the politeness of speech which is used by characters in Ramkien’s King Rama I. However, the use of the parameter of rights and obligations is quite obscurely. Moreover, the principle of politeness by Leech has six maxims: tact maxim, generosity maxim, approbation maxim, modesty maxim, agreement maxim, and sympathy maxim. Nevertheless, only 5 maxims are found in this study, excluding agreement maxim. It shows that a society in Ramkien’s King Rama I, which is considered as the society in literature’s World, is the society that the characters play the role in communication similar to the real human’s society. Therefore the communication of the characters is easy to understand. Moreover, the characters in Ramkien’s King Rama I usually use the polite speech to communicate, but, if the characters must to communicate with opposite characters that they always communicate by face-threatening acts both positive and negative. Almost they are using the direct speech act which will make the interlocutors in Ramkien’s King Rama I lose their faces and can make the characters which are threaten to reduce prestige. Keywords: 1. Speech of Politeness. 2. Face Concept. 3. Face-Threatening Act. 4. Characters in Ramkien’s King Rama I.

177


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

บทนำ� เมือ่ กลาวถึงความสุภาพ (Politeness) ในทางภาษา จะหมายถึงเนือ้ หาของคำ�พูด น้ำ�เสียง รวมไปถึงกิริยาอาการของผูสงสารสื่อออกมาขณะสื่อสารในสถานการณตางๆ การตัดสินวาผูส ง สารใดมีความสุภาพหรือไมนนั้ จะพิจารณาจากสารทีส่ อื่ ทัง้ อวัจนภาษา และวัจนภาษาโดยใชบรรทัดฐานของแตละสังคมเปนเกณฑในการตัดสิน อีกทัง้ ในแตละ สังคมมีบรรทัดฐานทีแ่ ตกตางกันซึง่ ทำ�ใหค�ำ พูดหรือการกระทำ�ทีส่ ภุ าพในสังคมหนึง่ อาจ จะดูไมสุภาพในอีกสังคมหนึ่งก็ไดเชนกัน ภาษาสุภาพ (Polite language) เปนประเด็นที่สำ�คัญของวัจนปฏิบัติศาสตรที่ มีการเสนอแนวคิดในการวิเคราะหภาษาสุภาพหลายแนวทาง เมื่อมนุษยติดตอสื่อสาร กับผูอื่นซึ่งจะทำ�ใหความสุภาพเขามามีบทบาทตอการสนทนา อีกทั้งภาษาสุภาพ สามารถกระทำ�ไดดว ยทัง้ วัจนภาษาและอวัจนภาษา และเปนสิง่ ทีต่ อ งเรียนรูเ พือ่ นำ�ไปใช ไดอยางเหมาะสม นอกจากนี้การใชภาษาสุภาพยังสะทอนแนวคิดเรื่องหนากับการ คุกคามหนา กลาวคือ เมือ่ บุคคลใชภาษาสุภาพก็จะทำ�ใหคสู อื่ สารรูส กึ ไมเสียหนา แตหาก ใชภาษาที่ไมสุภาพก็อาจจะเปนการคุกคามหนาโดยอาจจะใชทั้งวัจนกรรมตรงและ วัจนกรรมออมซึ่งทำ�ใหคูสื่อสารรูสึก “เสียหนา” จนนำ�ไปสูการลดศักดิ์ศรีของคูสื่อสาร สังคมในโลกวรรณคดีเปนสังคมเสมือนจริงทีม่ โี ครงสรางทางสังคมไมแตกตางกับ สังคมจริงของมนุษยทำ�ใหตัวละครมีการสื่อสารระหวางกัน วรรณคดีเรื่อง “รามเกียรติ์” จึงเปนสังคมที่ประกอบไปดวย มนุษย ฤษี ลิง ยักษ เปนตน ซึ่งตัวละครในเรื่อง รามเกียรติ์จะมีสถานะเปนมนุษยและรามเกียรติ์จะมีสถานะเปนสังคมมนุษย เนื่องจาก มนุษยเปนผูส รางวรรณคดีซงึ่ นำ�ไปสูก ารนำ�ความสมจริงเขาสูโ ลกวรรณคดี จะเห็นไดวา ตัวละครในรามเกียรติม์ กี ารสือ่ สารในสังคมรามเกียรติท์ ไี่ มแตกตางกับสังคมมนุษย ยอม ทำ�ใหเห็นถึงการปฏิสัมพันธของตัวละครซึ่งนำ�ไปสูการสื่อสารและแลกเปลี่ยนความคิด และความรูสึกระหวางกัน รามเกี ย รติ์ เ ป น วรรณคดี ที่ มี เ รื่ อ งราวเกี่ ย วกั บ การทำ � สงครามระหว า งฝ า ย พลับพลา (พระราม) และฝายลงกา (ทศกัณฐ) โดยมีนางสีดาเปนตัวกลางในการทำ� สงครามของทั้งสองฝาย เนื่องจากทศกัณฐไปลักพาตัวนางสีดา ทำ�ใหพระรามตองติด ตามมาชวยนางสีดากลับไป เมือ่ พิจารณาสังคมรามเกียรติจ์ ะสามารถแบงออกเปน 2 ฝาย สำ�คัญ คือ 1) ฝายพลับพลา เชน พระราม พระลักษมณ หนุมาน เปนตน และ 2) ฝาย ลงกา เชน ทศกัณฐ นางมณโฑ อินทรชิต เปนตน และการสือ่ สารของตัวละครในรามเกียรติ์ ในแตละครั้งนั้น ยอมจะทำ�ใหตัวละครเลือกใชภาษาใหเหมาะสมกับคูสื่อสารตามแตละ สถานการณ ผูสงสารเลือกใชความสุภาพตลอดจนตัวแปรทางดานวัจนปฏิบัติมาเปน เงื่อนไขในการกำ�หนดกลวิธีของสื่อสารซึ่งอาจจะคำ�นึงคุณสมบัติและสถานภาพของ

178


วัจนกรรมเกี่ยวกับความสุภาพและแนวคิดเรื่องหนากับการคุกคามหนาของตัวละครในรามเกียรติ์ ​ศิวดล วราเอกศิริ

ผูรับสารเปนสำ�คัญ จึงอาจทำ�ใหเห็นวา การสื่อสารตัวของละครในรามเกียรติ์ที่สื่อไปยัง ผูร บั สารก็ยงั คงคำ�นึงถึงความสุภาพในการสือ่ สาร หากผูส ง สารใชภาษาทีไ่ มสภุ าพยอม จะทำ�ใหผรู บั สารรูส กึ “เสียหนา” จนนำ�ไปสูก ารลดศักดิศ์ รี ในการศึกษาวัจนกรรมเกีย่ วกับ ความสุภาพในภาษาไทยเทาที่ปรากฏเบื้องตน ไดแก วิไลวรรณ ขนิษฐานันท (2527 : 343-357) ศึกษาเรื่อง “ขอสังเกตบางประการเกี่ยวกับการแสดงความสุภาพในภาษา ไทยกรุงเทพฯ” ผลการศึกษาพบวา ความสุภาพในภาษาไทยมี 4 ประการ คือ 1) การ ยกยองผูฟ ง 2) การถอมตัวของผูพ ดู 3) การใชภาษาทางการ และ 4) การใชถอ ยคำ�ยาวๆ ทีแ่ สดงความออนนอม ในการยกยองผูฟ ง และการถอมตัวผูพ ดู จะใชค�ำ แทนตัวผูพ ดู และ ผูฟงโดยเลือกคำ�จาก 3 มิติ คือ 1) มิติบุรุษสรรพนาม 2) มิติวัย และ 3) มิติสถานภาพ ทางสังคม อีกทั้งการใชคำ�แทนตัวผูพูดและผูฟงเปลี่ยนไปตามสภาพสังคม แตเดิมเปน สังคมเกษตรกรรม มีความสัมพันธแบบเครือญาติจงึ ทำ�ใหการใชค�ำ แทนตัวผูพ ดู และผูฟ ง อิงอยูกับมิติวัย แตเมื่อเปลี่ยนเปนสังคมเมือง ทำ�ใหการใชคำ�แทนตัวผูพูดกับผูฟงซึ่ง จะอิงอยูกับมิติยศตำ�แหนงเพิ่มขึ้นอีกดวย ศรีจันทร วิชาตรง (2540 : 157-169) ศึกษาเรื่อง “การใชภาษาเพื่อแสดงความ สุภาพของสังคมไทย” ผลการศึกษาพบวา สังคมไทยใหความสำ�คัญเรื่องการใชถอย คำ�อยางมากโดยจะยึดตามบรรทัดฐานของสังคมไทยเปนหลัก ทำ�ใหคนไทยแสดงการ ใชภาษาที่แตกตางกันออกไป การที่พยายามทำ�ใหภาษามีความสุภาพเพื่อใหผูรับสาร เกิดความพึงพอใจมีทงั้ หมด 8 ประการ กลาวคือ 1) การเลือกใชค�ำ สรรพนามใหเหมาะสม 2) การเติมคำ�บางคำ�เพือ่ ใหเกิดความสุภาพ 3) การใชค�ำ ลงทาย 4) ใชค�ำ อืน่ ทีม่ คี วามหมาย เดียวกัน 5) ไมใชคำ�ที่นิยมใชเปรียบเทียบกับของหยาบ 6) ไมใชคำ�ตองหาม 7) ใช ประโยคขอรองแทนประโยคคำ�สั่ง 8) การใชอวัจนภาษาใหเหมาะสม และในการเลือก ใชคำ�สรรพนาม ศรีจันทรยังเสนออีกวา ตองเลือกใชใหเหมาะสมกับโอกาส สถานที่ และบุคคลตางๆ สมชาย สำ�เนียงงาม (2543-2544 : 220-243) ศึกษาเรื่อง “การเลือกใช คำ�สรรพนามในภาษาไทยกับแนวคิดเรื่องความสุภาพของบราวนและเลวินสัน” ผลการ ศึกษาพบวา คนไทยสวนใหญนยิ มใชแนวคิดเรือ่ งความสุภาพประเภทแสดงการแยกตัว ออกหางในการเลือกใชค�ำ สรรพนามแทนตัวผูพ ดู และใชแนวคิดเรือ่ งความสุภาพประเภท แสดงการมีสว นรวมในการเลือกใชค�ำ สรรพนามแทนตัวผูฟ ง โดยมีปจ จัยเพศและอายุของ ผูพ ดู และผูฟ ง เขามาเปนตัวกำ�หนดในการเลือกใชคำ�สรรพนาม แสดงใหเห็นถึงลักษณะ การใชภาษาในสังคมไทยโดยแสดงความสุภาพในการสนทนากับผูไมเคยรูจักมากอน ดวยการรักษาระยะหางระหวางผูพูดกับผูฟงไวพอสมควร แตหากคูสนทนารูสึกวา ระยะหางมากเกินไปจะนิยมใชคำ�สรรพนามที่แสดงการมีสวนรวมเพื่อลดระยะหางนั้น

179


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

หากรูสึกวาระยะหางนอยเกินไปก็จะนิยมใชคำ�สรรพนามที่แสดงการแยกตัวออกหาง มาใชแทนเพื่อเปนการแสดงความสุภาพหรือรักษาหนาซึ่งกันและกัน อีกทั้งสมชายยัง เสนออีกวา การละคำ�สรรพนามในการสนทนาเปนการแสดงความสุภาพอีกประการหนึง่ ของคนไทยปจจุบันซึ่งเปนเรื่องที่นาสนใจศึกษาตอไป อุมาภรณ สังขมาน (2554 : 43-54) ศึกษาเรื่อง “การใชภาษาสุภาพในภาษา ไทย : วัจนกรรมขอรอง ปฏิเสธและไมเห็นดวย” ผลการศึกษาพบวา ในสังคมไทยเมื่อ มีการขอรองและปฏิเสธมักตองมีการเกริ่นหรือออกตัวกอนเพื่อใหผูฟงรูสึกเห็นใจหรือ เขาใจเพือ่ ทีผ่ พู ดู จะไดบรรลุถงึ เจตนาหรือวัตถุประสงคได ขณะทีก่ ารแสดงความไมเห็น ดวย ไมจ�ำ เปนทีจ่ ะตองเกริน่ นำ�หรือออกตัวแตสงิ่ สำ�คัญอยูท เี่ หตุผลทีน่ �ำ มาประกอบหรือ สนับสนุนความคิดเห็นของผูพูด ประการสำ�คัญเพศไมมีผลตอการเลือกรูปแบบของ วัจนกรรมตางๆ อาจเปนเพราะวัจนกรรมบางประเภทมีถอ ยคำ�บงชีเ้ จตนาทีเ่ ปนสวนหนึง่ ทีช่ ว ยกำ�หนดรูปแบบของวัจนกรรมก็ได ในขณะเดียวกัน อุมาภรณยงั พบวา ความเงียบ เปนอีกรูปแบบหนึ่งที่พบในวัจนกรรมแสดงความคิดเห็น อาจเปนเพราะคนไทยบางคน ไมตอ งการแสดงความคิดเห็นขัดแยงกับผูอ นื่ อยางตรงไปตรงมาซึง่ ทำ�ใหคนเหลานีเ้ ลือก ใชความเงียบแสดงเจตนาความไมเห็นดวย นับวาเปนการแสดงความสุภาพประการหนึง่ สวนใหญการศึกษาวัจนกรรมเกี่ยวกับความสุภาพในทางวัจปฏิบัติศาสตร จะเปนการศึกษาการใชภาษาพูดในชีวิตประจำ�วันแตการศึกษาและวิเคราะหภาษา​ใน วรรณคดียงั ปรากฏไมมากนัก แตเทาทีผ่ ศู กึ ษาไดพบการศึกษาแนววัจนปฏิบตั ศิ าสตรใน วรรณคดี ไดแก สายวรุณ นอยนิมติ ร (2548 : 115-132) ศึกษาเรือ่ ง “ปฏิวาทะในอิเหนา” โดยใชทฤษฎีภาษาศาสตรแนวปฏิบตั นิ ยิ มและศึกษาปฏิวาทะ 5 ตอน คือ ตอนอิเหนารบ กับระตูบุศสิหนา ตอนศึกกระหมังกุหนิง ตอนอิเหนาลานางจินตะหราไปดาหา ตอนลัก นางบุษบาไปไวในถ้�ำ และตอนอิเหนามาขอคืนดีกบั นางจินตะหราในตอนทายเรือ่ ง ผลการ ศึกษาพบวา การเผชิญหนาของอิเหนาหลังจากที่ทำ�ความผิดแลว ในการสงครามนั้น วาทะของความเปนนักรบของอิเหนาทำ�ใหเกิดศึกสงครามตามที่ตนหมายมาดไวดวย ถอยคำ�ตำ�หนิผฟู ง และหยามเกียรติฝา ยตรงขาม สวนวาทะความเปนนักรัก อิเหนาเลือก ถอยคำ�รับผิดแลวชี้ใหเห็นวาเปนเรื่องของเวรกรรมและวาสนาแตไมอาจหาเหตุผลมา หักลางวาทะของนางบุษบาและนางจินตะหราได ดังนัน้ บทความนีจ้ งึ มุง ศึกษาวัจนกรรมเกีย่ วกับความสุภาพและแนวคิดเรือ่ งหนา กับการคุกคามหนาของตัวละครในรามเกียรติ์ ฉบับพระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช และมุงศึกษาตัวแปรเสริมทางดานวัจนปฏิบัติดาน ความสุภาพของตัวละคร ตลอดจนเพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางความสุภาพและ แนวคิดเรือ่ งหนากับการคุกหนาโดยจะใชทฤษฎีความสุภาพของลีช/บราวนและเลวินสัน

180


วัจนกรรมเกี่ยวกับความสุภาพและแนวคิดเรื่องหนากับการคุกคามหนาของตัวละครในรามเกียรติ์ ​ศิวดล วราเอกศิริ

ทั้งนี้ผูศึกษาจะศึกษาโดยแบงตัวละครออกเปน 2 ฝาย กลาวคือ 1) ฝายพลับพลา (พระราม) ไดแก พระราม พระลักษมณ นางสีดา หนุมาน สุครีพและพิเภก (ตอนสวามิภกั ดิ์ ฝายพระราม) เทานัน้ และ 2) ฝายลงกา (ทศกัณฐ) ไดแก ทศกัศณฐ นางมณโฑ อินทรชิต กุมภกรรณ ไมยราพและพิเภก (ตอนสวามิภักดิ์ฝายทศกัณฐ) เทานั้น เนื่องจาก ตัวละครในขอบเขตดังกลาวมีบทบาทและความสำ�คัญตอการดำ�เนินเรือ่ งและยังปรากฏ การสื่อสารในเรื่องอยางชัดเจนซึ่งจะชวยทำ�ใหเห็นถึงลักษณะการเลือกใชภาษาสุภาพ ของตั ว ละครซึ่ ง อาจขึ้ น อยู  กั บ ป จ จั ย ที่ แ ตกต า งกั น ออกไปตามสถานการณ แ บบ ภาพรวมซึ่งอาจทำ�ใหเห็นมุมมองใหมหรือแนวทางใหมในการศึกษาวรรณคดีไทย ไดมากยิ่งขึ้น และยังชวยสะทอนใหเห็นถึงลักษณะของคนในสังคมไทยที่ไดจากการ สังเกตวิธีการสื่อสารผานวรรณคดีไทยอันจะกอใหเกิดการศึกษาแบบบูรณาการทาง ภาษาศาสตรและวรรณคดีไทยตอไป กรอบแนวคิดเรื่องวัจนกรรมเกี่ยวกับความสุภาพและหนา สุจริตลักษณ ดีผดุง (2552 : 77) กลาววา วัจนกรรม (Speech act) เปนการ กระทำ�ที่เกิดขึ้นเมื่อผูพูดหรือผูเขียน (Speaker/Writer-S) กลาวถอยคำ�ใดถอยคำ�หนึ่ง (Utterance-U) กับผูฟ ง หรือผูอ า น (Hearer/Reader-H) หรือผูร บั สารในบริบทใดบริบทหนึง่ (Context-C) และในการศึกษาเรื่องวัจนกรรมเกี่ยวกับความสุภาพของตัวละครใน รามเกียรติ ์ ผูศ กึ ษาจะศึกษาตามกรอบแนวคิดหลักการความสุภาพของลีช (1983 อางถึง ใน สุจริตลักษณ ดีผดุง, 2552 : 131-136) กลาววา หลักการความสุภาพ (Politeness Principle - PP) จะมีลักษณะสำ�คัญที่วา “ใหกลาวถอยคำ�ที่ไมสุภาพนอยที่สุด และ ใหกลาวถอยคำ�ที่สุภาพมากที่สุด” ซึ่งจะมีทั้งหมด 6 ขอ (Maxims) กลาวคือ 1. หลักรูผ อ นหนักผอนเบา (Tact maxim) หลักขอนีก้ ลาวไววา “ใหกลาวถอยคำ� ที่เชื่อวา จะกอใหเกิดความยุงยากแกผูอื่นใหนอยที่สุดและใหกลาวถอยคำ �ที่เชื่อวา จะกอใหเกิดผลประโยชนแกผูอื่นมากที่สุด” ซึ่งสารที่ตองคำ�นึง คือ ขนาดหรือปริมาณ ของการรบกวนที่จะกอใหเกิดความยุงยากแกผูอื่นและการลดความยุงยากใหแกผูอื่น โดยการใหทางเลือก 2. หลักความเอือ้ เฟอ (Generosity maxim) หลักขอนีก้ ลาวไววา “ใหกลาวถอย คำ�ที่เชื่อวา แสดงถึงการเอาประโยชนใสตนใหนอยที่สุดและใหใชถอยคำ �ที่จะยัง ประโยชนแกผูอื่นมากที่สุด” กลาวคือ ถาใชถอยคำ�ที่แสดงความเอื้อเฟอนอยจนเกินไป ผูพูดก็จะกลายเปนคนที่ตระหนี่ แตถาใชถอยคำ�แสดงความเอื้อเฟอมากเกินไปก็ จะเปนการพูดเหน็บแหนมได

181


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

3. หลักชืน่ ชมยินดี (Approbation maxim) หลักขอนีก้ ลาวไววา “ใหกลาวถอยคำ� ที่เชื่อวาเปนการไมยกยองหรือไมสนับสนุนผูอื่นใหนอยที่สุดและใหกลาวถอยคำ�ที่เชื่อ วาเปนการยกยองหรือเปนการสนับสนุนผูอ นื่ ใหมากทีส่ ดุ ” โดยทัว่ ไปเรายอมจะยินดีกบั ผูอื่นเมื่อมีเรื่องดีๆ เกิดขึ้นกับเขา และเมื่อใดที่เราไมตองการแสดงความยินดี เรามักจะ หลีกเลี่ยงการกลาวถึงเรื่องนั้นหรือไมก็ตอบรับนอยที่สุดหรือไมพูดอะไรเลย 4. หลักถอมตน (Modesty maxim) หลักขอนี้กลาวไววา “ใหกลาวถอยคำ� ที่ยกยอง สนับสนุนตนเองใหนอยที่สุดและใหกลาวถอยคำ�ที่ถอมตัวมากที่สุด” โดยจะ แตกตางกันไปตามแตละวัฒนธรรมและถือตัวผูพูดเปนสำ�คัญ 5. หลักคลอยตาม (Agreement maxim) หลักขอนีก้ ลาวไววา “ใหกลาวถอยคำ� ทีแ่ สดงความเห็นไมสอดคลองระหวางผูพูดกับผูรับสารใหนอ ยทีส่ ดุ และใหกลาวถอยคำ� แสดงความเห็นดวยระหวางผูพูดกับผูรับสารใหมากที่สุด” โดยจะตองคำ�นึงถึงความ สัมพันธระหวางผูพ ดู กับผูร บั สารและเมือ่ ใดทีม่ กี ารแสดงความคิดเห็นคลอยตาม ทัง้ ผูพ ดู และผูรับสารจะใชถอยคำ�แสดงการเห็นดวยอยางตรงไปตรงมา และเมื่อใดที่ผูรับสาร ไมเห็นดวยกับผูพูด ผูรับสารจะใชถอยคำ�แบบแบงรับแบงสูหรือแสดงความเห็นดวย กอนที่จะแสดงความไมเห็นดวย 6. หลักเห็นใจ (Sympathy maxim) หลักขอนีก้ ลาวไววา “ใหกลาวถอยคำ�ทีแ่ สดง ใหเห็นความไมเห็นใจผูอื่นใหนอยที่สุดและใหกลาวถอยคำ�แสดงใหเห็นวา ผูพูดตอง การแสดงความเห็นอกเห็นใจผูอื่นใหมากที่สุด” โดยผูพูดอาจกลาวดวยความสุภาพโดย กลาวถอยคำ�แสดงความเสียใจอยางไมตรงไปตรงมา นอกจากนี้ในการตีความหมายตามหลักความสุภาพของลีช จะตองคำ�นึงถึง ตัวแปรเสริมทางดานวัจนปฏิบัติ (Pragmatic Parameters) ซึ่งตัวแปรเสริมทางดาน วัจนปฏิบัติที่ตองคำ�นึงถึงมีทั้งหมด 4 ขอ (ลีช 1983 อางถึงใน สุจริตลักษณ ดีผดุง, 2552 : 128-131) กลาวคือ 1. อำ�นาจ (Power) หมายถึง อำ�นาจสัมพัทธระหวางผูพูดมีตอผูฟง กลาวคือ ผูพูดจะใชความสุภาพในระดับมาก เมื่อตองกลาวถอยคำ�กับผูที่มีอำ�นาจมากกวา แตถา ผูพ ดู รูส กึ วาอยูใ นระดับเดียวกันหรือระดับต่�ำ กวา ผูพ ดู จะกลาวอยางตรงไปตรงมา หรือไมสุภาพมากนัก 2. ระยะหางทางสังคม (Social distance) หมายถึง สถานภาพทางสังคม อายุ เพศ ความสนิทสนม ฯลฯ จะเปนตัวกำ�หนดความมากนอยของความนับถือระหวางผูพ ดู และผูรับสาร กลาวคือ ผูพูดยอมใชความสุภาพในระดับมาก เมื่อผูพูดตองกลาวถอยคำ� กับคนแปลกหนาหรือหากผูพูดรูสึกวาอยูในสังคมเดียวกัน อายุไลเลี่ยกัน ฯลฯ ความ จำ�เปนที่ตองพูดออมคอมก็มีนอยหรือการใชความสุภาพก็มีนอยเชนกัน

182


วัจนกรรมเกี่ยวกับความสุภาพและแนวคิดเรื่องหนากับการคุกคามหนาของตัวละครในรามเกียรติ์ ​ศิวดล วราเอกศิริ

3. ขนาดของความรบกวน (Size of imposition) หมายถึง ความมากนอย ของภาระทีบ่ คุ คลใหผอู นื่ กระทำ�ในสังคมใดสังคมหนึง่ กลาวคือ ผูพ ดู ยอมใชความสุภาพ ในระดับมาก เมื่อผูพูดตองกลาวถอยคำ�ใดๆ ในกรณีที่รูวาขนาดตนทุนหรือความ ยุงยากที่จะขอใหผูรับสารตองกระทำ�นั้นมีขนาดใหญกวาหรือเปนภาระหนักมากซึ่ง อาจจะทำ�ใหตองพูดออมคอม รวมทั้งพยายามใชถอยคำ�ที่ดีหรือสุภาพมากที่สุด 4. สิทธิและพันธกรณี (Rights and obligations) หมายถึง สิทธิและภาระหนาที่ ทีส่ มั พัทธระหวางผูพ ดู และผูฟ ง กลาวคือ ผูพ ดู ยอมใชความสุภาพในระดับมาก เมือ่ ผูพ ดู ตองกลาวถอยคำ�ใดๆ กับผูอื่น ในกรณีที่รูวา สิ่งที่พูดนั้นไมใชภาระหนาที่โดยตรงของ ผูรับสารซึ่งอาจจะตองใชภาษาที่สุภาพมากขึ้นกวาเดิม นอกจากนี้ความสุภาพตามความคิดของบราวนและเลวินสัน (Brown and Levinson, 1978) มิใชความสุภาพในการใชภาษาไพเราะหรือการใชคำ�ราชาศัพท เทานัน้ แตเปนการเลือกใชภาษาสุภาพโดยมีเจตนาในการรักษาหนา (Face-Saving Act) ของคูสนทนาเปนสำ�คัญ ซึ่งจะเปนภาพลักษณที่ทุกคนตองการรักษาหนาและไมอยาก ใหใครมาลวงละเมิดหนาของตน อีกทั้งในการสนทนาครั้งหนึ่ง ยอมมีความเสี่ยงตอ การเสียหนาหรือเรียกวา “การคุกคามหนา” (Face-Threatening Act) ดังนัน้ คูส นทนา จึงตองคำ�นึงถึงเรื่องหนาและจะตองเลือกใชภาษาสุภาพในระดับที่แตกตางกันออกไป เพื่อเปนการรักษาหนาซึ่งกันและกัน อันไดแก 1) การกลาวตรงประเด็นโดยปราศจาก การตกแตงถอยคำ� (without redressive action) 2) การกลาวตรงประเด็นโดยมี การตกแตงถอยคำ� (with redressive action) 3) การกลาวอยางไมชัดเจนหรือใช ภาษาออม (Off record) สวนวิธกี ารปกปองหนาผูอ นื่ ผูพ ดู ควรแสดงความสุภาพแกผอู นื่ ตามสมควรโดยระวังคำ�พูดของตนเองที่อาจจะพาดพิงถึงผูอื่นในแงลบ อีกทั้งไมควร กลาวถึงสิ่งที่นำ�ไปสูความขัดแยงหรือทำ�ใหผูอื่นเสียหนานั่นเอง สวนการกลาวตรงประเด็นโดยมีการตกแตงถอยคำ�นั้น บราวนและเลวินสัน (Brown and Levinson, 1978) แบงออกเปน 2 ลักษณะ กลาวคือ 1) ความสุภาพเชิงบวก (Positive Politeness) และ 2) ความสุภาพเชิงลบ (Negative Politeness) ความสุภาพ เชิงบวก เปนการใชภาษาสุภาพตรงประเด็นโดยมีการตกแตงถอยคำ�เพือ่ แสดงความรูส กึ ที่เปนมิตรและความเปนสมาชิกกลุมเดียวกัน และยังเปนในลักษณะการใหความสนใจ ผูฟ ง การชืน่ ชมจนเกินความจริง การแสดงความเปนพวกพองเดียวกันดวยคำ�สแลงหรือ ภาษาถิน่ การเลีย่ งแสดงความเห็นทีข่ ดั แยง ฯลฯ สวนความสุภาพเชิงลบ เปนการใชภาษา สุภาพตรงประเด็นโดยมีการตกแตงถอยคำ�ทีผ่ พู ดู ตองการแสดงความเปนตัวของตัวเอง และไมแสดงความเปนพวกพองเดียวกันกับผูฟ ง ซึง่ ผูพ ดู จะเรียบเรียงคำ�พูดอยางพิถพี ถิ นั และพยายามไมใหผูฟงรูสึกวาผูพูดไมเคารพหนาเชิงลบของตน กลวิธีประเภทนี้จะมี

183


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

การประกอบดวยถอยคำ�ที่ฟุมเฟอยและยืดยาว เชน การใชภาษาออมแบบมีแบบแผน (ถอยคำ�หรือประโยคที่ไมตรงตามรูปภาษา) การกลาวแสดงความยกยอง การขอโทษ และการทำ�ใหเปนคำ�นาม เปนตน แนวคิดเรื่อง “หนา” ตามความคิดของบราวนและเลวินสัน (Brown and Levinson, 1987) เปนสิ่งที่ทุกคนพยายามรักษาหนาและไมตองการใหใครมาละเมิด หนาของตน สามารถจำ�แนกออกเปน 2 ลักษณะ กลาวคือ 1. หนาเชิงลบ (Negative face) หมายถึง หนาที่ตองการความเปนสวนตัวหรือ ปจเจกบุคคล และมีความประสงคที่จะไมใหผูอื่นเขามากาวกายความเปนตัวของตัวเอง อีกทั้งผูคนสวนใหญจะนึกถึงความตองการนี้เปนอันดับแรก 2. หนาเชิงบวก (Positive face) หมายถึง หนาที่ตองการความยอมรับและ ความชื่นชมยินดีจากผูอื่นในฐานะสมาชิกสังคมที่ดี หรือการยอมรับวาเปนสมาชิกใน กลุมเดียวกันที่มีความสนใจพื้นฐานและเอกลักษณเฉพาะตัวที่คลายคลึงกัน ไมตอง การใหผูอื่นมากลาวหาหรือวิพากษวิจารณ สามารถพบไดในสถานการณที่เปนความ เปนทางการนอย นอกจากนี้ “การรักษาหนา” (Face-Saving / FSA) สามารถจำ�แนกไดทั้งเชิง ลบและเชิงบวก และในทางตรงกันขามกัน หากผูสื่อสารไมไดคำ�นึงถึงหนาในลักษณะ ขางตน ถือวาเปน “การคุกคามหนา” (Face-Threatening / FTA) ซึ่งแบงออกเปนทั้ง เชิงลบและเชิงบวก แตทั้งนี้การใชภาษาในการสื่อสารที่ทำ�ใหเสียหนา สามารถแบง ออกเปน 2 ลักษณะ (Brown and Levinson, 1987 : 65-68) กลาวคือ 1) การใชภาษา ที่ทำ�ให “ผูฟง” เสียหนา และ 2) การใชภาษาที่ทำ�ให “ผูพูด” เสียหนา และจากเรื่องการ คุกคามหนา ทำ�ใหผูศึกษาสนใจที่จะศึกษาในสวน “การใชภาษาที่ทำ� ให “ผูฟง” เสีย หนา” ซึ่งสามารถแบงการคุกคามหนาออกเปน 2 ลักษณะ กลาวคือ 1. การคุกคามหนาเชิงลบ (Negative Face-Threatening Act) อันไดแก 1) วัจนกรรมสั่งวัจนกรรมขอรองและวัจนกรรมแนะนำ� 2) วัจนกรรมเสนอและวัจนกรรม สัญญา 3) วัจนกรรมชมและวัจนกรรมแสดงอารมณรุนแรง เชน ความเกลียด ความ ลุมหลง เปนตน 2. การคุกคามหนาเชิงบวก (Positive Face-Threatening Act) อันไดแก 1) วัจนกรรมแสดงการขัดแยง วัจนกรรมวิจารณ วัจนกรรมวากลาว วัจนกรรมลอเลียน และวัจนกรรมดูหมิ่น เปนตน 2) วัจนกรรมอื่นๆ ที่แสดงใหเห็นวา ผูพูดไมสนใจตอ ความตองการหนาเชิงบวกของผูฟง เชน การกลาวถึงเรื่องตองหามหรือเรื่องที่สงผล กระทบตอผูฟงและ/หรือผูอื่น เปนตน

184


วัจนกรรมเกี่ยวกับความสุภาพและแนวคิดเรื่องหนากับการคุกคามหนาของตัวละครในรามเกียรติ์ ​ศิวดล วราเอกศิริ

จะเห็นไดวา แนวคิดเรื่องหนาเขามามีความสำ�คัญในการสื่อสาร เนื่องจาก หนาเปนภาพลักษณสวนบุคคลที่ทุกคนพยายามรักษาไวไมให “เสียหนา” จนนำ�ไป สูการถูกลดศักดิ์ศรีของตน อีกทั้งหนายังเปนสิ่งที่แสดงถึงความเปนตัวเองที่ตองการ ใหเกิดความยอมรับในสังคม ดังนั้นผูพูดจึงตองเลือกใชกลวิธีการใชภาษาสุภาพใน ระดับตางๆ พรอมทัง้ ระมัดระวังคำ�พูดทีไ่ มแสดงใหเห็นวาหยาบคายเพื่อทีจ่ ะชวยรักษา หนาซึ่งกันและกัน ดวยเหตุที่วาการศึกษาวัจนกรรมนั้น สวนใหญจะเปนการศึกษาเรื่อง การสื่อสารในชีวิตประจำ�วัน เมื่อผูศึกษานำ�กรอบแนวคิดทางวัจนปฏิบัติศาสตรมาเปน แนวทางในการศึกษากลวิธกี ารสือ่ สารของตัวละครในวรรณคดีเรือ่ งรามเกียรติท์ มี่ คี วาม แตกตางทั้งความสมจริงและบริบททางสังคมซึ่งอาจทำ�ใหเราเห็นความสัมพันธระหวาง ภาษาศาสตรและวรรณคดีไดอยางชัดเจนมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้คำ�พูดของตัวละครที่ใชใน การสือ่ สารจะมีลกั ษณะของภาษาทีม่ คี วามเปนวรรณศิลปมากกวาทีจ่ ะเปนภาษาทีใ่ ชใน ชีวติ ประจำ�วัน และผูศ กึ ษาเห็นวาตองอาศัยบริบทของเหตุการณตา งๆ เขามามีสว นชวย ในการวิเคราะห “สาร” ที่ใชในการสื่อสารของตัวละครในรามเกียรติ์ ดังนั้น ผูศึกษาจึงสนใจที่จะศึกษาวัจนกรรมเกี่ยวกับความสุภาพของตัวละคร ในรามเกียรติ์โดยใชกรอบแนวคิดเรื่องหลักความสุภาพของลีชทั้งหมด 6 ขอ พรอมทั้ง ศึกษาตัวแปรเสริมทางดานวัจนปฏิบัติดานความสุภาพของตัวละครในรามเกียรติ์ซึ่งจะ ศึกษาผานตัวละครทีแ่ บงออกเปน 2 ฝาย ไดแก ฝายพลับพลาและฝายลงกา นอกจากนี้ ยังศึกษาเรื่องการคุกคามหนาตามแนวคิดเรื่องความสุภาพของบราวนและเลวินสันโดย จะเปนการศึกษาในสวน “การใชภาษาทีท่ �ำ ให “ผูฟ ง ” เสียหนา” ซึง่ จะเปนการศึกษาทีย่ ดึ ตัวผูพ ดู เปนสำ�คัญ อันจะชวยทำ�ใหเห็นการสือ่ สารแบบภาพรวมของตัวละครในวรรณคดี เรื่องรามเกียรติ์ไดอยางชัดเจนมากยิ่งขึ้น วัจนกรรมเกี่ยวกับความสุภาพในสังคมรามเกียรติ์ วรรณคดีเรือ่ ง “รามเกียรติ”์ เปนทีร่ จู กั ของคนไทยมาตัง้ แตสมัยสุโขทัยเปนตนมา ซึ่งมีหลักฐานการใชชื่อพระรามเรียกชื่อถ้ำ�ในศิลาจารึกหลักที่ 1 วา “จารึกอันหนึ่งมีใน เมืองเชลียง สฐาบกไวดว ยพระศรีรตั นธาตุ จารึกอันหนึง่ มีในถ้ำ�ชือ่ พระราม อยูฝ ง แมน้ำ� สัมพาย จารึกอันหนึ่งมีในถ้ำ�รัตนธาร” รามเกียรติ์ไดมีความแพรหลายในประเทศไทย มาตั้งแตสมัยสุโขทัยเปนตนมาแลวนั้น (กรมศิลปากร, 2527 : 17) อีกทั้งมีการแตง รามเกียรติ์ไวหลากหลายสำ�นวน เชน คำ�พากยรามเกียรติ์สมัยกรุงศรีอยุธยา บทละคร รามเกียรติ์ พระราชนิพนธในรัชกาลที่ 1 บทละครรามเกียรติ์ พระราชนิพนธใน รัชกาลที่ 2 บทละครรามเกียรติ์ พระราชนิพนธในรัชกาลที่ 6 เปนตน (สมปราชญ อัมมะพันธุ, 2536 : 133) จะเห็นไดวา รามเกียรติ์มีหลากหลายสำ�นวนแตรามเกียรติ์

185


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

ฉบับพระราชนิพนธของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช เปนเพียง ฉบั บ เดี ย วที่ มี ก ารรวบรวมเนื้ อ หาของรามเกี ย รติ์ ไ ว ค รบถ ว นสมบู ร ณ ซึ่ ง มี ค วาม ยาว 116 เลมสมุดไทย และมีมากกวาหาหมื่นคำ�กลอน นับเปนสำ�นวนที่ประมวลเรื่อง พระรามไวสมบูรณที่สุดในภาษาไทย (กุสุมา รักษมณี, 2547 : 163) “รามเกียรติ์” เปนวรรณคดีที่มีเรื่องราวเกี่ยวกับการทำ�สงครามระหวางฝาย พลับพลา (พระราม) และฝายลงกา (ทศกัณฐ) โดยมีนางสีดาเปนตัวกลางในการทำ� สงครามของทั้งสองฝาย กลาวคือ นางสีดาเปนพระมเหสีของพระราม แตเมื่อทศกัณฐ ไดยินตามคำ�บอกเลาของนางสำ�มนักขาก็ทำ�ใหอยากเห็นนางสีดาวามีความงดงาม ปานใด เมือ่ ทศกัณฐเห็นนางสีดาก็เกิดความสิเนหา ทำ�ใหทศกัณฐกระทำ�กลอุบายลักพา ตัวนางสีดา ดวยสาเหตุนี้ จึงทำ�ใหพระรามตองติดตามนางสีดากลับคืนมาและทำ�ใหเกิด ความขัดแยงระหวางฝายพระรามกับฝายทศกัณฐจนนำ�ไปสูการทำ�สงครามของทั้งสอง ฝาย อีกทั้งรามเกียรติ์ยังแบงตัวละครออกเปน 2 ฝายหลักๆ กลาวคือ ตัวละครฝาย พลับพลา (พระราม) กับฝายลงกา (ทศกัณฐ) โดยพระรามจะมีพลวานรเปนผูชวย กองทัพ สวนทศกัณฐจะมีพลยักษเปนผูชวยกองทัพ อีกทั้งตัวละครที่มีความสำ�คัญจะ แบงออกเปน 2 ฝายหลักๆ กลาวคือ ตัวละครฝายพลับพลา เชน พระราม พระลักษมณ นางสีดา หนุมาน สุครีพ เปนตน สวนตัวละครฝายลงกา เชน ทศกัณฐ นางมณโฑ อินทรชิต กุมภกรรณ ไมยราพ เปนตน นอกจากนีย้ งั มีตวั ละครอีกฝายหนึง่ ทีม่ คี วามสำ�คัญไมแพตวั ละครอืน่ ๆ ในรามเกียรติ์ นัน่ คือ ตัวละครฝายฤษี เชน ฤษีกไลโกฏ ฤษีโคดม ฤษีวศิ วามิตร ฤษีนารท เปนตน เมือ่ พิจารณาถึงสังคมในวรรณคดีจะไมใชสงั คมทีป่ รากฏอยูจ ริง แตทงั้ นีว้ รรณคดี เรื่อง “รามเกียรติ์” จะมีโครงสรางทางสังคมที่ไมแตกตางกับสังคมจริงของมนุษย ประกอบดวยมนุษย ฤษี ลิง ยักษ เปนตน ซึ่งจะแตกตางเพียงในดานของความเปนจริง ของสังคมมนุษยกับความเสมือนจริงของสังคมของตัวละครในวรรณคดี โดยที่ตัวละคร ในเรื่องรามเกียรติ์จะมีสถานะเปนมนุษยและรามเกียรติ์จะมีสถานะเปนสังคมมนุษย เนื่องจากมนุษยเปนผูสรางวรรณคดีซึ่งนำ�ไปสูการนำ�ความสมจริงเขาสูโลกวรรณคดี ยอมจะเปนสิง่ ทีท่ �ำ ใหเห็นถึงการสือ่ สารและแลกเปลีย่ นความคิดและความรูส กึ ระหวางกัน การสื่อสารแตละครั้งนั้น ผูสงสารมีการเลือกใชความสุภาพตลอดจนตัวแปรทาง ดานวัจนปฏิบัติมาเปนเงื่อนไขในการกำ�หนดกลวิธีของสื่อสาร ซึ่งผูสงสารจะตองคำ�นึง คุณสมบัติและสถานภาพของผูรับสารเปนสำ�คัญ หากอยูในสภาพที่สูงกวาตนเองยอม เลือกใชภาษาหรือถอยคำ�ทีม่ คี วามสุภาพมากยิง่ ขึน้ หากอยูใ นระดับต่�ำ กวา ความสุภาพ ก็จะลดลงตามไปดวย อีกทัง้ หากผูส ง สารอยากใหผรู บั สารปฏิบตั ใิ นสิง่ ทีผ่ สู ง สารตองการ ก็ยอมจะใชภาษาที่สุภาพ ทำ�ใหเห็นวา การสื่อสารตัวของละครในรามเกียรติ์ที่สื่อไปยัง

186


วัจนกรรมเกี่ยวกับความสุภาพและแนวคิดเรื่องหนากับการคุกคามหนาของตัวละครในรามเกียรติ์ ​ศิวดล วราเอกศิริ

ผูร บั สารยังคงคำ�นึงถึงความสุภาพเปนสำ�คัญ จึงอาจเปนสิง่ ทีช่ ว ยสะทอนถึงความนึกคิด ของคนไทยและยังชวยสะทอนถึงวัฒนธรรมของคนในสังคมไทยที่วา การสื่อสารของ คนไทยสวนใหญจะคำ�นึงความสุภาพในการสื่อสาร ดังนั้น อาจเปนปจจัยที่ชี้ใหเห็นวา สังคมไทยยังคงยึดถือระบบชนชั้นในสังคมที่ไดฝงรากลึกมาตั้งแตสมัยสุโขทัย โดยสิ่งที่ ชวยยืนยันในเรื่องดังกลาว คือ การใชถอยคำ�หรือคำ�พูดที่สุภาพกับคนที่อยูในระดับ ที่สูงกวาตนเองเสมอ ดังนั้น วัจนกรรมเกี่ยวกับความสุภาพถือวา เปนปจจัยที่ชวยสะทอนใหเห็นถึง การใชภาษาของคนในสังคมซึ่งจะตองขึ้นอยูกับปจจัยตางๆ ไดแก อำ�นาจ ระยะหาง ทางสังคม ขนาดของความรบกวนและสิทธิและพันธกรณี และยังเปนสิ่งที่ท�ำ ใหเห็นถึง ความสัมพันธของคูส อื่ สารทีม่ กี ารปฏิสมั พันธกนั อีกทัง้ ความสุภาพยังเปนสิง่ ทีท่ �ำ ใหเห็น ถึงความสัมพันธที่ยังคงอิงอยูกับระดับชนชั้นทางสังคมของผูสงสารกับผูรับสารไดอีก ลักษณะหนึ่ง หลักความสุภาพของลีชกับตัวละครในรามเกียรติ์ ตัวละครในเรื่องรามเกียรติ์ที่ใชเปนขอมูลในการศึกษา สามารถแบงออกเปน 2 ฝาย กลาวคือ 1) ตัวละครฝายพลับพลา ไดแก พระราม นางสีดา พระลักษมณ หนุมาน สุครีพและพิเภก (ตอนสวามิภักดิ์ฝายพระราม) เทานั้น 2) ตัวละครฝายลงกา ไดแก ทศกัณฐ นางมณโฑ อินทรชิต กุมภกรรณและ ไมยราพและพิเภก (ตอนสวามิภักดิ์ฝายทศกัณฐ) เทานั้น จากการที่ ผู  ศึ ก ษาเลื อ กตั ว ละครในเรื่ อ งรามเกี ย รติ์ ดั ง ที่ ก ล า วไปข า งต น เพราะวาผูศึกษาเห็นวาตัวละครดังกลาวมีบทบาทและความสำ�คัญตอการดำ�เนินเรื่อง อีกทั้งตัวละครดังกลาวมีการสื่อสารที่ชัดเจนในเรื่อง จึงเปนสาเหตุสำ�คัญที่ผูศึกษาเลือก ศึกษาตัวละครตามที่แบงไวทั้ง 2 ฝาย ซึ่งสามารถแจกแจงผลการศึกษาไดดังตอไปนี้ 1. ตั วแปรเสริมทางดานวัจนปฏิบัติ ด  า นความสุ ภ าพของตั ว ละครใน รามเกียรติ์ ตัวแปรเสริมทางดานวัจนปฏิบัติในความสุภาพของตัวละครในรามเกียรติ์ตาม หลักความสุภาพของลีช สามารถแบงออกเปน 4 ประการ กลาวคือ 1.1 อำ�นาจ (Power) อำ�นาจ (Power) เปนปจจัยสำ�คัญที่เขามามีบทบาทในการสื่อสารอยางมาก กลาวคือ รามเกียรติเ์ ปนวรรณคดีทเี่ กีย่ วกับการอวตารของเทพเจาและตัวละครมีสถานะ ของชาติกำ�เนิดที่สูงสงหรืออาจกลาวอีกลักษณะหนึ่งวา “เปนผูมีบุญบารมี” ซึ่งทำ�ให

187


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

การสื่อสารในแตละครั้งนั้น ผูพูดจะตองคำ�นึงถึงอำ�นาจของคูสื่อสารเปนสำ�คัญ อีกทั้ง ตัวละครในรามเกียรติ์ที่อยูในสถานะของการเปนผูพูดตองใชความสุภาพระดับมาก เมื่อผูนั้นตองกลาวถอยคำ�ใดๆ กับผูที่มีอำ�นาจมากกวา แตหากผูพูดรูสึกวาอยูในระดับ เดียวกันหรือระดับต่ำ�กวาผูพูด ก็จะทำ�ใหผูพูดสามารถกลาวไดอยางตรงไปตรงมา ไมตองออมคอม เมื่อพิจารณาถึงตัวละครทั้ง 2 ฝาย พบวา อำ�นาจเปนปจจัยสำ�คัญที่ ชวยกำ�หนดความสุภาพในการสนทนาอยางมาก ตัวละครที่มีสถานภาพต่ำ�กวาจะพูด หรือสื่อสารกับตัวละครที่มีอำ�นาจหรือสถานภาพสูงกวาอยางสุภาพ ดังตัวอยางตอไปนี้ ตัวละครฝายพลับพลา ตัวละครทีเ่ ปนตัวแทนของฝายพลับพลา คือ พระลักษมณ ซึง่ เปนพระอนุชา ของพระราม เมื่อครั้งที่พระรามถูกเนรเทศออกจากเมืองเพื่อไปครองเพศฤษีในปาเปน เวลา 14 ป ทำ�ใหพระลักษมณขออาสาติดตามพระรามไปดวย อาจกลาวไดวา พระลักษมณ มีสถานภาพเปนวงศกษัตริย แตเมือ่ พระลักษมณตอ งสือ่ สารกับพระรามซึง่ มีสถานภาพ ทีส่ งู กวาตน ในทีน่ หี้ มายถึง พระเชษฐา (พีช่ าย) ทำ�ใหพระลักษมณตอ งใชภาษาทีส่ ภุ าพ และนอบนอมมากกวาการใชภาษากับผูอื่น ดังความที่วา ๏ เมื่อนั้น พระลักษมณผูปรีชาชาญ สะอื้นพลางทางทูลพระอวตาร ผานเกลาจงไดเมตตา พระจะรักษาสัตยพระบิตุเรศ จะสูทนเทวษไปอยูปา ตัวขาผูเปนอนุชา ขอถวายชีวาพระสี่กร โดยเสด็จไปรองสนองบาท ยังอรัญหิมวาตสิงขร จะอยูไปที่ในพระนคร จะถาวรเปนสุขเมื่อไรมี (เลมที่ 1 : 407-408) จากทีก่ ลาวขางตน จะทำ�ใหเห็นวา พระลักษมณใชภาษาทีส่ ภุ าพตอพระราม ซึ่งในที่นี้พระรามมีสถานภาพที่สูงกวาพระลักษมณทั้งมิติวัยและสถานภาพทางสังคม เพราะพระรามเปนทั้งพระเชษฐาและพระอุปราช แมวาพระลักษมณจะมีสถานภาพ เปนพระโอรสของทาวทศรถเชนเดียวกันพระราม แตความแตกตางทั้งมิติวัยและ สถานภาพทางสังคมทำ�ใหพระลักษมณใชกริ ยิ าทีอ่ อ นนอมเมือ่ ตนเองพูดกับผูท มี่ อี �ำ นาจ หรือสถานภาพที่สูงกวา อีกทั้งสามารถสังเกตไดจากคำ�พูดที่สุภาพและกิริยาอาการ ที่นอบนอม ดังความที่วา “ตัวขาผูเปนอนุชา ขอถวายชีวาพระสี่กร โดยเสด็จไปรอง สนองบาท ยังอรัญหิมวาตสิงขร” ตัวละครฝายลงกา ตัวละครที่เปนตัวแทนของฝายลงกา คือ ทศกัณฐ แมวาทศกัณฐจะเปนอสูร ยักษที่ยิ่งใหญและไมมีผูใดที่สามารถรบชนะทศกัณฐได แตเมื่อทศกัณฐตองสื่อสารกับ

188


วัจนกรรมเกี่ยวกับความสุภาพและแนวคิดเรื่องหนากับการคุกคามหนาของตัวละครในรามเกียรติ์ ​ศิวดล วราเอกศิริ

พระผูเปนเจา ในที่นี้หมายถึง พระศิวะ (พระอิศวร) ผูทรงมีสถานภาพทางอำ�นาจที่สูง สงกวา ทำ�ใหทศกัณฐตองใชภาษาที่สุภาพและนอบนอมมากกวา ดังตอนที่ยักษนามวา วิรุฬหก ไดขวางนาคไปที่สารภูดวยความโกรธ แตกลับถูกเขาไกรลาสจนเอียงทรุดตัว ลงมา ดังนั้นพระศิวะจึงตรัสสั่งใหจิตุบทไปหาทศกัณฐเพื่อใหมาชวยยกเขาไกรลาสให ตั้งตรงเชนเดิม ดังความที่วา ๏ เมื่อนั้น พระอิศวรบรมรังสรรค เหลือบแลมาเห็นทศกัณฐ จึ่งมีบัญชาตรัสไป วิรูฬหกมันทำ�ใหเขาทรุด เทวายกฉุดหาขึ้นไม จึ่งหาเอ็งผูฤทธิไกร หวังจะใหชวยยกคีรี ฯ (เลมที่ 1 : 117) เมื่อพระศิวะมีรับสั่งใหทศกัณฐชวยยกเขาไกรลาสใหตั้งตรงดังเดิม ทำ�ให ทศกัณฐรบั คำ�สัง่ ของพระศิวะดวยภาษาสุภาพและกิรยิ าอาการทีน่ อบนอม ดังความทีว่ า ๏ เมื่อนั้น ทศพักตรพงศพรหมเรืองศรี กมเกลาสนองวาที ทั้งนี้มิใหเคืองบาทา ถึงมาตรจะเสียชีวิต ไมคิดจะขออาสา ทูลแลวถวายบังคมลา ออกมานิมิตอินทรีย ฯ (เลมที่ 1 : 117) จากที่กลาวขางตน จะทำ�ใหเห็นวา ทศกัณฐตองใชภาษาที่สุภาพ พรอมกับ ใชกิริยาที่ออนนอมอยางมากเมื่อตนเองตองพูดกับผูที่มีอ�ำ นาจหรือสถานภาพมากกวา อีกทั้งสังเกตไดจากคำ�พูดที่สุภาพและกิริยาอาการที่นอบนอม ดังความที่วา “กมเกลา สนองวาที ทั้งนี้มิใหเคืองบาทา ถึงมาตรจะเสียชีวิต ไมคิดจะขออาสา” ดังนั้น อำ�นาจ (Power) ถือวาเปนตัวแปรเสริมทางดานวัจนปฏิบัติ ที่เขามา มีบทบาทในการกำ�หนดความสุภาพในการสื่อสารของตัวละครในรามเกียรติ์อยางมาก กลาวคือ แมวาตัวละครในรามเกียรติ์ที่มีสถานภาพในวงศกษัตริยอยูในสังคมแวดลอม หนึ่ง แตเมื่อตัวละครไดเปลี่ยนไปอยูสังคมแวดลอมใหมที่มีผูที่มีอำ�นาจเหนือกวาตน ดังตัวอยางที่กลาวไวขางตน อาจจะทำ�ใหตัวละครดังกลาวตองใชภาษาที่สุภาพมากยิ่ง ขึ้น อีกทั้งผูศึกษายังพบวา ตัวละครยังใชกิริยาอาการที่นอบนอมมากขึ้นกวาเดิมกับ ผูที่อำ�นาจมากกวา การสื่อสารของตัวละครในรามเกียรติ์จะมีการใชภาษาที่เปนความ เปรียบกับชีวิตของตน ดังความที่วา “ตัวขาผูเปนอนุชา ขอถวายชีวาพระสี่กร” หรือ “ทั้งนี้มิใหเคืองบาทา ถึงมาตรจะเสียชีวิต” หรืออาจกลาวอีกลักษณะวา อำ�นาจกับความ สุภาพเปนสิ่งที่มีความสัมพันธกันในการสื่อสารซึ่งอำ�นาจจะเขามาเปนปจจัยในการ กำ�หนดความสุภาพของการสื่อสารนั่นเอง

189


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

1.2 ระยะหางทางสังคม (Social distance) ระยะหางทางสังคม นับวาเปนตัวแปรเสริมทางดานวัจนปฏิบัติที่สำ�คัญซึ่ง เขามามีบทบาทในการกำ�หนดความสุภาพของการสือ่ สาร กลาวคือ ตัวละครในรามเกียรติ์ ยอมจะใชความสุภาพในระดับมากเมือ่ ตองกลาวถอยคำ�ใดๆ กับคนแปลกหนา แตหากอยู ในสังคมเดียวกัน อายุไลเลีย่ กัน การงานระดับเดียวกัน ฯลฯ ก็ไมจ�ำ เปนตองพูดออมคอม และการใชภาษาสุภาพก็มีนอยเชนกัน ดังตัวอยางตอไปนี้ ตัวละครฝายพลับพลา ตัวละครทีเ่ ปนตัวแทนของฝายพลับพลา คือ นางสีดา ซึง่ นางสีดาเปนพระมเหสี คูบุญบารมีของพระรามซึ่งเปนพระลักษมีอวตาร ตอมานางสีดาถูกทศกัณฐลักพาตัว มาอยูที่เมืองลงกา และเมื่อพระลักษมณออกรบกับอินทรชิตโดยพระลักษมณตอง ศรพรหมาสตรจนสิ้นสติ ทำ�ใหพระรามสิ้นสติอยูกับรางของพระลักษมณ ทศกัณฐสั่ง ใหนางตรีชาดา (มเหสีของพิเภก) ไปทูลตอนางสีดาวา พระลักษมณและพระราม สิน้ พระชนมแลว จึงทำ�ใหนางสีดาออกไปดูพระศพ และเมือ่ พิจารณาปจจัยดานระยะหาง ทางสังคมของการสื่อสารระหวางนางสีดากับนางตรีชาดา ในตอนที่นางตรีชาดาทูลตอ นางสีดาเรื่องบุษบกแกวที่ใชในการเสี่ยงทาย จะทำ�ใหพบวา ระยะหางทางสังคม คือ การที่ไมไดอยูในสังคมเดียวกันแตจำ�เปนที่จะตองสื่อสารกัน เปนปจจัยสำ�คัญที่ทำ�ให นางสีดาตองใชภาษาทีส่ ภุ าพ แมวา นางจะเปนพระมเหสีของพระรามก็ตาม ประกอบกับ อายุของนางตรีชาดาที่มากกวา ทำ�ใหนางสีดาใชคำ�สรรพนามแทนตัวผูพูดที่สุภาพ ดังความที่วา ๏ เมื่อนั้น นวลนางสีดามารศรี ฟงตรีชาดาพาที จึ่งมีเสาวนียถามไป ซึ่งพระองคไมสิ้นพระชนม พี่รูเหตุผลเปนไฉน หรือวาแตพอใหคลายใจ ขายังไมเชื่อวาจา ฯ (เลมที่ 2 : 564) จากทีก่ ลาวไปขางตน จะทำ�ใหเห็นวา ระยะหางทางสังคมก็เปนปจจัยสำ�คัญ ทีท่ �ำ ใหนางสีดาเลือกใชภาษาทีส่ ภุ าพ โดยเลือกใชค�ำ สรรพนามแทนตัวผูพ ดู วา “ขา” และ เรียกนางตรีชาดาวา “พี”่ อาจเปนเพราะนางสีดามีระยะหางทางสังคมทีไ่ มไดอยูใ นสังคม เดียวกับนางตรีชาดาและระดับอายุทแี่ ตกตางกัน กลาวคือ นางสีดาอยูใ นสังคมของฝาย พระราม และนางตรีชาดาอยูใ นสังคมของฝายทศกัณฐ อีกทัง้ นางสีดายังมีอายุทนี่ อ ยกวา นางตรีชาดา จึงเปนปจจัยสำ�คัญที่ทำ�ใหนางสีดาเลือกใชภาษาสุภาพกับนางตรีชาดา

190


วัจนกรรมเกี่ยวกับความสุภาพและแนวคิดเรื่องหนากับการคุกคามหนาของตัวละครในรามเกียรติ์ ​ศิวดล วราเอกศิริ

ตัวละครฝายลงกา ตัวละครทีเ่ ปนตัวแทนของฝายลงกา คือ พิเภก ซึง่ เปนพระอนุชาของทศกัณฐ และเมื่อพิเภกถูกทศกัณฐขับออกจากเมือง ดวยสาเหตุที่วาพิเภกทูลตอทศกัณฐใหคืน นางสีดาแกพระราม ทำ�ใหทศกัณฐโกรธอยางมากจนทำ�ใหพิเภกถูกขับออกจากเมือง ลงกา ซึ่งทำ�ใหพิเภกหันมาสวามิภักดิ์กับพระราม เมื่อพิเภกมาถึงพลับพลาพระรามก็ ถูกพลวานรเขาจับกุม และตอมาพิเภกเริ่มการสื่อสารกับนิลเอกที่สอบถามวาเปนผูใด ซึ่งจะเปนสิ่งที่ทำ�ใหเห็นถึงปจจัยดานระยะหางทางสังคม คือ ความแตกตางทางสังคม ซึ่งเปนปจจัยสำ�คัญที่ทำ�ใหพิเภกเลือกใชภาษาที่สุภาพ อีกทั้งยังมีการใชคำ�สรรพนาม แทนตัวผูพูดที่สุภาพเชนกัน ดังความที่วา ๏ บัดนั้น พิเภกผูมีอัชฌาสัย แจงความออกนามพระภูวไนย มีใจชื่นชมดวยสมคิด จึ่งกลาววาจาวาวอน ดูกอนทหารพระจักรกฤษณ เรานี้มิใชปจจามิตร ตั้งใจสุจริตเสาะมา ทานจงชวยพาเขาไปเฝา พระเปนเจาสามภพนาถา จะเปนขาใตเบื้องบาทา ไปกวาชีวันจะบรรลัย ฯ (เลมที่ 2 : 189) จากทีก่ ลาวไปขางตน จะทำ�ใหเห็นวา พิเภกเปนตัวละครทีเ่ ขามาสวามิภกั ดิ์ กับฝายพระราม ทำ�ใหพเิ ภกตองใชภาษาทีส่ ภุ าพในการสือ่ สาร โดยใชค�ำ สรรพนามแทน ตัวผูพูดวา “เรา” และเรียกนิลเอกวา “ทาน” ซึ่งอาจเปนเพราะมีระยะหางทางสังคมที่ ไมไดอยูในสังคมเดียวกัน จึงทำ�ใหมีการใชคำ�สรรพนามแทนตัวผูฟงแบบใหเกียรติ ซึ่งเปนสิ่งที่แสดงออกถึงความสุภาพไดอีกลักษณะหนึ่ง ดังนั้น ระยะหางทางสังคม (Social distance) ก็เปนปจจัยที่ชวยอธิบายถึง การใชภาษาที่สุภาพของตัวละครในรามเกียรติ์ไดในอีกลักษณะหนึ่ง กลาวคือ ตัวละคร ในรามเกียรติ์จะใชภาษาที่สุภาพกับตัวละครที่แปลกหนา โดยจะเลือกใชคำ�สรรพนามที่ ยกยองหรือใหเกียรติกับตัวละครคูสื่อสาร เห็น​ได​จากการใชคำ�สรรพนามแทนตัวผูพูด และผูฟงวา “พี่” หรือ “ทาน” ซึ่งจะเปนสิ่งที่ชวยแสดงใหเห็นถึงระยะหางทางสังคมของ การสื่อสารไดเปนอยางดี 1.3 ขนาดของความรบกวน (Size of imposition) เมื่อพิจารณาถึงขนาดของความรบกวนซึ่งหมายความถึงระดับของเรื่องที่ ขอความชวยเหลือ นับเปนปจจัยหนึ่งในตัวแปรเสริมทางดานวัจนปฏิบัติ สำ�หรับความ สัมพันธตัวละครในรามเกียรติ์กับขนาดของความรบกวน จะพบวา ตัวละครที่เปน ผูสื่อสารยอมใชถอยคำ�ที่มีความสุภาพเมื่อตนเองตองขอความชวยเหลือจากผูอื่นซึ่ง

191


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

ขึ้นอยูกับภาระหรือความรบกวนที่ขอความชวยเหลือจากผูอื่น ดังตัวอยางตอไปนี้ ตัวละครฝายพลับพลา ตัวละครที่เปนตัวแทนของฝายพลับพลา คือ พระราม ซึ่งไดตรัสสั่งให องคตเปนราชทูตแทนพระองคไปสื่อสารที่เมืองลงกาเพื่อใหองคตสื่อสารแทนพระราม ดังความที่วา ๏ เมื่อนั้น พระทรงภพลบโลกทุกสถาน ไดฟงสุครีพผูปรีชาญ ผานฟาชื่นชมดวยสมคิด จึ่งตรัสเรียกลูกพญาพาลี เขามาแลวมีประกาศิต ทานผูวงศาสุราฤทธิ์ ทศทิศยอมเกรงเดชา จงเปนราชทูตทูลสาร ไปวาขานแกทาวยักษา ฟงดูอสูรพาลา ฝายมันจะวาประการใด (เลมที่ 2 : 294) จากทีก่ ลาวไปขางตน จะทำ�ใหเห็นวา ขนาดของความรบกวนเรือ่ งทีพ่ ระราม ใหองคตปฏิบัติหนาที่แทนพระองคนั้น ถือวาเปนเรื่องใหญและอันตรายที่จะตองไปยัง เมืองขาศึกศัตรูเพื่อเปนราชทูตสื่อสารแทนพระองค ทำ�ใหพระรามเลือกใชคำ�ที่สุภาพ และมีการใชภาษาแบบไมตรงไปตรงมาโดยเลือกใชถอยคำ�ที่ยกยององคต ดังความที่ วา “ทานผูวงศาสุราฤทธิ์ ทศทิศยอมเกรงเดชา” กอนที่จะกลาวถึงสารสำ�คัญที่ตนเอง ตองการสื่อสารอยางแทจริง เพื่อที่จะชวยทำ�ใหผูรับสารกระทำ�ตามความปรารถนาของ ตนเองจนทำ�ใหเรื่องที่ผูสงสารปรารถนาประสบความสำ�เร็จ ตัวละครฝายลงกา ตัวละครที่เปนตัวแทนของฝายลงกา คือ นางมณโฑ เปนพระมเหสีเอกของ ทศกัณฐ ซึง่ ในสวนขนาดของความรบกวนจะปรากฏในตอนทีน่ างมณโฑทูลตอทศกัณฐ ใหคืนนางสีดาแกพระราม เพราะนางเห็นวาอินทรชิตผูเปนโอรสถูกพระลักษมณและ พวกวานรมาทำ�ลายพิธีกรรมจนเสียหายยอยยับและบริวารยักษตา งลมตายเปนจำ�นวน มาก อีกทั้งนางยังเกรงวาอินทรชิตจะตองเสียชีวิตในสงคราม ดังความที่วา ๏ ครั้นถึงนอมเศียรบังคมทูล นเรนทรสูรปนภพยักษา วาอินทรชิตอสุรา ยกพลโยธาพลากร ออกไปตั้งกิจพิธีการ ยังเนินจักรวาลสิงขร พระลักษมณกับพวกวานร ตามไปราญรอนถึงบรรพต ยกเขาหักโหมโจมตี ทำ�ลายพิธีเสียไดหมด สิ้นทั้งคชามารถ ทั้งทศโยธาก็วายปราณ แตลูกรักผูเดียวเคี่ยวฆา สุดปญญาจะตอกำ�ลังหาญ

192


วัจนกรรมเกี่ยวกับความสุภาพและแนวคิดเรื่องหนากับการคุกคามหนาของตัวละครในรามเกียรติ์ ​ศิวดล วราเอกศิริ

สิ้นสุดอาวุธจะรอนราญ ปมเสียชนมานแกไพรี จึ่งกลับเขามาบังคมบาท พระบิตุรงคธิราชเรืองศรี พระองคผูทรงธรณี ใชที่จะไรอนงคใน อยาพะวงดวยสีดาโฉมงาม ผัวเขามาตามจงสงให สงครามก็จะระงับไป ลูกเราจะไมมรณา ฯ (เลมที่ 2 : 616) จากที่กลาวไปขางตน จะทำ�ใหเห็นวา นางมณโฑตองการใหทศกัณฐทำ� บางสิง่ ตามความปรารถนาของตนแตสงิ่ ทีน่ างมณโฑขอรองนัน้ ถือวาเปนเรือ่ งทีท่ ศกัณฐ ตัดสินใจอยางยากลำ�บาก เพราะทศกัณฐมีใจเสนหานางสีดามาก จึงเปนปจจัยดาน ขนาดของความรบกวนทีม่ ขี นาดใหญ จะเห็นไดจาก การทีน่ างมณโฑขอรองใหทศกัณฐ คืนนางสีดาใหแกพระราม ทำ�ใหนางมณโฑตองกลาวยกยองทศกัณฐและใชภาษาทีส่ ภุ าพ ในการสื่อสาร ดังความวา “พระองคผูทรงธรณี ใชที่จะไรอนงคใน อยาพะวงดวยสีดา โฉมงาม ผัวเขามาตามจงสงให” ตลอดจนมีกริ ยิ าอาการทีน่ อบนอม ดังความวา “จึง่ กลับ เขามาบังคมบาท” ดังนั้น ขนาดของความรบกวน (Size of imposition) ก็นับวาเปนปจจัยที่สำ�คัญ ในวัจนปฏิบัติที่ทำ�ใหผูพูดตองใชภาษาที่สุภาพและใชถอยคำ�หรือภาษาแบบไมตรงไป ตรงมา อีกทัง้ ตัวล​ ะครยังมีการกลาวยกยองคูส อื่ สารของตนเอง เพือ่ ใหสงิ่ ทีต่ นเองมุง หวัง ประสบความสำ�เร็จ อีกทัง้ ยังพบวา ความสัมพันธขนาดของความรบกวนกับใชถอ ยคำ�ใน การสื่อสารนั้น จะเปนลักษณะที่ผูมีอำ�นาจหรือสถานภาพทางสังคมสูงกวาสั่งใหบริวาร หรือผูม อี �ำ นาจนอยกวาเปนสวนใหญ ก็ยงั คงใชภาษาสุภาพเชนกัน แตทงั้ นีย้ งั ปรากฏใน ลักษณะผูม อี �ำ นาจนอยกวาทูลความประสงคตอ ผูท มี่ อี ำ�นาจมากกวาตนซึง่ จะใชภาษาที่ สุภาพมากกวาในลักษณะแรก 1.4 สิทธิและพันธกรณี (Rights and obligations) สิทธิและพันธกรณี (Rights and obligations) จะมีลักษณะที่วา ผูพูด ยอมใชความสุภาพในระดับมาก เมือ่ ตองกลาวถอยคำ�ใดๆ กับผูอ นื่ ในกรณีทรี่ วู า สิง่ ทีพ่ ดู นัน้ ไมใชภาระหนาทีโ่ ดยตรงของผูร บั สาร ซึง่ อาจจะตองใชภาษาทีส่ ภุ าพมากขึน้ กวาเดิม แตเมื่อศึกษาสิทธิและพันธกรณีกับตัวละครในรามเกียรติ์นั้น จะพบวา ปจจัยดานสิทธิ และพันธกรณีไมปรากฏอยางเดนชัดในการสื่อสารของตัวละครในรามเกียรติ์ อาจเปน เพราะตัวละครในรามเกียรติ์ตางมีหนาที่ของตนที่จะตองพึงปฏิบัติ อีกทั้งรามเกียรติ์ ยังเปนเรือ่ งราวของเทพอวตารทีต่ อ งมีหนาทีข่ องตนเองทีพ่ งึ กระทำ� ไมวา จะเปนพระราม พระลักษมณ หนุมาน สุครีพ พิเภก เปนตน ซึ่งอาจเปนปจจัยที่อาจทำ�ใหไมปรากฏ เกี่ยวกับวัจนปฏิบัติดานสิทธิและพันธกรณีอยางเดนชัดนัก

193


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

2. หลักความสุภาพของตัวละครในรามเกียรติ์ การศึกษาหลักความสุภาพของตัวละครในรามเกียรติ์นั้น ผูศึกษาจะศึกษาตาม กรอบแนวคิดหลักความสุภาพของลีชทั้งหมด 6 ขอ กลาวคือ 2.1 หลักรูผอนหนักผอนเบา (Tact maxim) หลักขอนี้กลาวไววา “ใหกลาวถอยคำ�ที่เชื่อวาใหเกิดความยุงยากแกผูอื่น ให น  อ ยที่ สุ ด และให ก ล า วถ อ ยคำ � ที่ เ ชื่ อ ว า ให เ กิ ด ผลประโยชน แ ก ผู  อื่ น มากที่ สุ ด ” ดังตัวอยางตอไปนี้ ตัวละครฝายพลับพลา ตัวละครที่เปนตัวแทนของฝายพลับพลา คือ สุครีพ ซึ่งสุครีพเปนลูกของ พระอาทิตยกับนางกาลอัจนาและเปนนองชายตางบิดาของพาลี เมื่อฝายทศกัณฐ ไดประกอบพิธียกฉัตรขึ้นกลางเมืองลงกาเพื่อชวยทำ�ใหเพิ่มโอกาสที่จะมีชัยชนะเหนือ ฝายพระราม จึงทำ�ใหสุครีพไดทูลตอพระรามขออาสาออกไปทำ�ศึกสงคราม ซึ่งเห็น ไดจากตอนที่สุครีพหักฉัตรที่ตั้งอยูกลางเมืองลงกา ดังความที่วา ๏ บัดนั้น สุครีพลูกพระสุริยฉัน ไดฟงโองการพระทรงธรรม บังคมคัลสนองพระบัญชา ครั้งกอนคำ�แหงวายุบุตร ผูมีฤทธิรุทรแกลวกลา ไปถวายธำ�มรงคอลงการ ในเบื้องบาทาพระเทวี องคตก็ไดสื่อสาร หักหาญฆาสี่ยักษี ตัวขาพระบาทผูภักดี ครั้งนี้จะอาสาไป ทำ�ลายฉัตรทาวทศพักตร ใหหักยับลงจนได พระองคผูทรงภพไตร อยาเคืองใตเบื้องพระบาทา ฯ (เลมที่ 2 : 312-313) จากที่กลาวไปขางตน จะทำ�ใหเห็นวา สุครีพมีการใชถอยคำ�ที่แสดงถึงหลัก รูผอนหนักผอนเบาโดยสุครีพไดกลาวถอยคำ�ที่เชื่อวาใหเกิดผลประโยชนแกผูอื่นมาก ที่สุด กลาวคือ สุครีพไดทูลตอพระรามเพื่อขออาสาไปหักฉัตรที่ทศกัณฐประกอบพิธี ยกฉัตรขึน้ เพือ่ เปนการชวยเหลือพระรามทีจ่ ะถูกฝายทศกัณฐโจมตีกองทัพ ดังความทีว่ า “ตัวขาพระบาทผูภักดี ครั้งนี้จะอาสาไป ทำ�ลายฉัตรทาวทศพักตร ใหหักยับลงจนได” จึงเปนปจจัยสำ�คัญที่แสดงใหเห็นถึงความมีน้ำ�ใจของสุครีพที่ยอมสละผลประโยชน ตนเองเพือ่ ประโยชนสว นรวม และเปนการแสดงใหเห็นถึงผลประโยชนแกสว นรวมมาก ที่สุดเพื่อกองทัพพระรามจะไดไมตองเพลี่ยงพล้ำ�ในการสงคราม

194


วัจนกรรมเกี่ยวกับความสุภาพและแนวคิดเรื่องหนากับการคุกคามหนาของตัวละครในรามเกียรติ์ ​ศิวดล วราเอกศิริ

ตัวละครฝายลงกา ตัวละครทีเ่ ปนตัวแทนของฝายลงกา คือ นางมณโฑ ซึง่ หลังจากทีฝ่ า ยทศกัณฐ ไดแพจากการทำ�สงครามกับฝายพระรามมาหลายครัง้ ทำ�ใหทศกัณฐเกิดความวิตกกังวล เปนอยางมาก ดังนั้นนางมณโฑจึงขออาสาทำ�พิธีสญชีพ (หรือเรียกวา พิธีหุงน้ำ�ทิพย) เพื่อจะทำ�ใหผูที่ดื่มน้ำ�ทิพยนี้เปนอมตะ ใครฆาก็ไมตาย ดังความที่วา ๏ เมื่อนั้น นางมณโฑเยาวยอดสงสาร ไดฟงพระราชโองการ นางคราญจึ่งทูลสนองไป ทั้งนี้เปนตนดวยผลกรรม ดลใจมิใหรำ�ลึกได พระองคผูทรงฤทธิไกร อยาถือใจขาบาทบริจา เมียรักจะขอสนองคุณ ซึ่งการุณชุบเกลาเกศา (เลมที่ 3 : 313) จากที่กลาวไปขางตน จะทำ�ใหเห็นวา นางมณโฑมีการใชถอยคำ�ที่แสดงถึง หลักรูผอนหนักผอนเบาโดยกลาวถอยคำ�ที่เชื่อวาใหเกิดผลประโยชนแกผูอื่นมากที่สุด กลาวคือ นางมณโฑไดขออาสาชวยเหลือทศกัณฐดวยการประกอบพิธีสญชีพเพื่อ จะทำ�ใหผูที่ดื่มน้ำ�ทิพยนี้เปนอมตะ ดังความที่วา “พระองคผูทรงฤทธิไกร อยาถือใจ ขาบาทบริจา เมียรักจะขอสนองคุณ ซึ่งการุณชุบเกลาเกศา” นับเปนปจจัยสำ�คัญที่ชวย แสดงใหเห็นวา นางมณโฑมีน้ำ�ใจชวยเหลือทศกัณฐดวยความสำ�นึกในพระคุณของ ทศกัณฐที่ชุบเลี้ยงตนเอง 2.2 หลักความเอื้อเฟอ (Generosity maxim) หลักขอนี้กลาวไววา “ใหกลาวถอยคำ�ที่เชื่อวา แสดงถึงการเอาประโยชน ใสตนใหนอยที่สุดและใหกลาวถอยคำ�ที่เชื่อวาใหเกิดผลประโยชนแกผูอื่นมากที่สุด” ดังตัวอยางตอไปนี้ ตัวละครฝายพลับพลา ตัวละครที่เปนตัวแทนของฝายพลับพลา คือ พระราม โดยพระรามเลือก ใชถอ ยคำ�ทีแ่ สดงความเอือ้ เฟอ เนือ่ งจากพระรามไดถกู เนรเทศออกจากเมืองอ​โยธยาเปน เวลา 14 ป ตามความตองการของนางไกยเกษีที่ทูลตอพระทศรถ ซึ่งพระรามก็ยินยอม แตโดยดีเพราะรูถึงหนาที่ของตนเองที่ยังรออยูในอนาคต ดังความที่วา ๏ เมื่อนั้น พระกฤษณุรักษเรืองศรี ไดฟงอัครราชเทวี มีพระทัยรำ�พึงคะนึงคิด อันองคสมเด็จพระบิตุเรศ ทรงเดชบัญชาประกาศิต ดั่งหนึ่งเหล็กเพชรชวลิต ลิขิตลงแผนศิลา เหตุไฉนจึ่งตรัสดั่งนี้ ผิดทีประหลาดนักหนา

195


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

คิดแลวสนองพระวาจา ซึ่งพระจอมโลกาสุธาธาร สั่งใหขาบวชเปนดาบส ไปสรางพรตอยูในไพรสาณฑ กำ�หนดสิบสี่ปประมาณ ก็ตองตามอวตารของลูกรัก ความซึ่งแสนโสมนัสสา ยิ่งกวาใหผานอาณาจักร ดวยจะไดปราบหมูอสูรยักษ เปนที่พำ�นักแกแดนไตร เมื่อแรกจะใหครองพระนคร จะปรีดาถาวรก็หาไม หากเกรงพระเดชภูวไนย จำ�ใจรับราชวาที ถึงแตพระแมจะบังคับ ก็จะใสรับเกลาเกศี อยาอาวรณรอนใจพระชนนี วาแลวจรลีออกมา ฯ (เลมที่ 1 : 399) จากที่กลาวไปขางตน จะทำ�ใหเห็นวา พระรามมีการใชถอยคำ�ที่แสดงออก ถึงหลักความเอื้อเฟอตามหลักความสุภาพซึ่งกลาวถอยคำ�ที่เชื่อวาใหเกิดผลประโยชน แกผูอื่นมากที่สุด กลาวคือ พระรามยอมเสียสละตนเองที่จะออกบวชเปนเพศฤษีพำ�นัก ที่ปาเปนเวลา 14 ป ซึ่งพระรามกระทำ�เพื่อพระบิดา เนื่องจากพระทศรถเคยสัญญากับ นางไกยเกษี ว  า งนางสามารถขอพรอะไรก็ไ ด เมื่ อ นางไกยเกษี ทู ล ขอให พ ระพรต ครองราชยแทนพระราม ทำ�ใหพระทศรถโกรธแคนแตพระรามยอมปฏิบัติตามความ ประสงคของนางไกยเกษีเพื่อรักษาความสัตยของพระทศรถ แสดงใหเห็นวา พระรามมี จิ ต ใจที่ เ อื้ อ เฟ  อ ต อ ผู  อื่ น โดยเป น การคำ � นึ ง ถึ ง ผลประโยชน ข องผู  อื่ น มากกว า ผล ประโยชนสวนตนไดเปนอยางดี ตัวละครฝายลงกา ตัวละครที่เปนตัวแทนของฝายลงกา คือ ไมยราพ ซึ่งเปนพระโอรสของ ทาวยมยักษกับนางจันทประภาที่ครองเมืองบาดาล เมื่อหลังจากที่ทศกัณฐทำ�สงคราม แลวพายแพพระราม ทำ�ใหทศกัณฐสั่งใหขารับใชใหไปเชิญไมยราพมาชวยทำ�สงคราม ซึ่งไมยราพก็รับคำ�ที่จะชวยทศกัณฐรบฝายขาศึกศัตรู ดังความที่วา ๏ เมื่อนั้น พญาไมยราพใจหาญ ไดฟงกริ้วโกรธดั่งเพลิงกาล เหมมนุษยสาธารณทรลักษณ ฤทธิ์มันจะมีสักเพียงไร อาจใจมาทำ�หาญหัก ประมาทหมิ่นสุริยวงศพงศยักษ จักฆาใหมวยชีวี วาแลวสั่งกุมารสององค เจาจงไปทูลบทศรี อันการสงครามเพียงนี้ มิใหเคืองธุลีบาทา พรุงนี้ตัวเราจะไปเฝา พระปนเกลาจอมภพนาถา จะอาสาไปจับไพรีมา ฆาเสียใหมวยชีวัน ฯ (เลมที่ 2 : 323) 196


วัจนกรรมเกี่ยวกับความสุภาพและแนวคิดเรื่องหนากับการคุกคามหนาของตัวละครในรามเกียรติ์ ​ศิวดล วราเอกศิริ

จากที่กลาวไปขางตน จะทำ�ใหเห็นวา ไมยราพมีการเลือกใชถอยคำ�ที่ แสดงออกถึงหลักความเอื้อเฟอตามหลักความสุภาพซึ่งกลาวถอยคำ�ที่เชื่อวาใหเกิดผล ประโยชนแกผอู นื่ มากทีส่ ดุ กลาวคือ ไมยราพยินยอมชวยเหลือทศกัณฐทจี่ ะไปทำ�สงคราม กับฝายพระราม ซึ่งเปนสิ่งที่แสดงใหเห็นวา ไมยราพมีจิตใจที่จะชวยเหลือทศกัณฐ ดังความที่วา “อันการสงครามเพียงนี้ มิใหเคืองธุลีบาทา พรุงนี้ตัวเราจะไปเฝา พระปน เกลาจอมภพนาถา จะอาสาไปจับไพรีมา ฆาเสียใหมว ยชีวนั ” อีกทัง้ ยังชวยสะทอน ใหเห็นถึงหลักความเอื้อเฟอไดเปนอยางดี 2.3 หลักชื่นชมยินดี (Approbation maxim) หลักขอนี้กลาวไววา “ใหกลาวถอยคำ�ที่เชื่อวาเปนการไมยกยองหรือไม สนับสนุนผูอื่นใหนอยที่สุดและใหกลาวถอยคำ�ที่เชื่อวาเปนการยกยองหรือเปนการ สนับสนุนผูอื่นใหมากที่สุด” ดังตัวอยางตอไปนี้ ตัวละครฝายพลับพลา ตัวละครที่เปนตัวแทนของฝายพลับพลา คือ พิเภก ไดเขามาสวามิภักดิ์กับ พระรามเรียบรอยแลว พิเภกอยากทราบถึงกำ�ลังอิทธิฤทธิ์และความสามารถของวานร ฝายพระรามวามีมากนอยแคไหน เนื่องจากพิเภกทราบดีวา พลยักษของฝายยทศกัณฐ ลวนมีฤทธานุภาพอยางมาก จึง่ ทูลถามกับพระราม ดังนัน้ พระรามจึงตรัสสัง่ ใหพลวานร แสดงฤทธานุภาพใหพิเภกไดประจักษ ทำ�ใหพิเภกชื่นชมยินดีอยางมาก ดังความที่วา ๏ บัดนั้น พิเภกสุริยวงศรังสรรค พิศดูโยธาพระทรงธรรม ฤทธิ์นั้นเลิศลบโลกา บังเกิดขนพองสยองเกลา บรรเทาทุกขแสนโสมนัสสา ยิ้มแลวจึ่งกลาววาจา ดูราสหายรวมชีวี อันพวกอสูรหมูมาร ทหารทศพักตรยักษี ที่เอกจักเอาอสุรี เปรียบกับกระบี่ที่ออนฤทธิ ก็ไกลกันดั่งดินกับฟา อสุราหรือจะรอตอติด ดั่งหิ่งหอยกับดวงพระอาทิตย ผิดที่จะทัดเทียมกัน (เลมที่ 2 : 199) จากทีก่ ลาวไปขางตน จะทำ�ใหเห็นวา พิเภก (ตอนสวามิภกั ดิก์ บั ฝายพระราม) ไดมกี ารเลือกใชถอ ยคำ�ทีแ่ สดงใหเห็นถึงหลักชืน่ ชมยินดีตามหลักความสุภาพทีเ่ ปนการ ยกยองหรือสนับสนุนผูอื่น กลาวคือ พิเภกมีการใชถอยคำ�โดยเลือกใชความเปรียบ เพื่อทำ�ใหเห็นภาพอยางชัดเจนซึ่งจะยกยองพลวานรของฝายพระรามวา มีอิทธิฤทธิ์ อยางมาก สวนฝายทศกัณฐเหมือนลิงที่มีอิทธิฤทธิ์นอยกวา และยังเปรียบฝายพระราม เหมือนพระอาทิตย สวนฝายทศกัณฐเหมือนหิ่งหอย ดังความที่วา “อันพวกอสูร

197


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

หมูมาร ทหารทศพักตรยักษี ที่เอกจักเอาอสุรี เปรียบกับกระบี่ที่ออนฤทธิ์ ก็ไกลกัน ดั่งดินกับฟา อสุราหรือจะรอตอติด ดั่งหิ่งหอยกับดวงพระอาทิตย ผิดที่จะทัดเทียมกัน” นับเปนสิ่งที่แสดงใหเห็นถึงการชื่นชมยินดีของพิเภกที่มีตอฝายพระราม อันจะทำ�ให เกิดความสุภาพในการสื่อสารไดอยางเดนชัด ตัวละครฝายลงกา ตัวละครที่เปนตัวแทนของฝายลงกาคือ ทศกัณฐ เมื่อครั้งที่ทศกัณฐไดยก เขาไกรลาสใหตั้งตรงไดดังเดิม ทำ�ใหทศกัณฐทูลขอพระอุมาเทวีตอพระอิศวร แต พระนารายณจำ�แลงกายมาออกอุบายชวยจึงทำ�ใหทศกัณฐเปลี่ยนใจไปเปลี่ยนเปน นางสวรรคนางอื่น คือ นางมณโฑ เมื่อทศกัณฐไดเห็นนางมณโฑครั้งแรกก็ชื่นชมยินดี ดังความที่วา ๏ เมื่อนั้น ทศเศียรสุริยวงศยักษา เห็นโฉมมณโฑกัลยา นางในฟากฟาไมเทียมทัน งามทรงงามองคงามออน งามงอนเปนที่เฉลิมขวัญ งามพักตรลักขณาวิลาวัณย สารพันพริ้งพรอมทั้งอินทรีย แสนพิศวาสจะขาดจิต ยิ่งพิศติดเนตรยักษี ถวายบังคมลาพระศุลี ก็อุมองคเทวีเหาะไป ฯ (เลมที่ 1 : 122) จากทีก่ ลาวไปขางตน จะทำ�ใหเห็นวา ทศกัณฐ ไดเลือกใชถอ ยคำ�ทีแ่ สดงใหเห็น ถึงความชื่นชมยินดีตามหลักความสุภาพที่เปนการยกยองหรือสนับสนุนผูอื่น กลาวคือ เมื่อทศกัณฐไดเห็นนางมณโฑครั้งแรกก็กลาวถอยคำ�ชื่นชมหรือสรรเสริญนางมณโฑ อยางเดนชัด อีกทั้งยังมีการใชความเปรียบเพื่อชวยใหเห็นภาพอยางชัดเจน ดังความ ที่วา “งามทรงงามองคงามออน งามงอนเปนที่เฉลิมขวัญ งามพักตรลักขณาวิลาวัณย สารพันพริ้งพรอมทั้งอินทรีย” นับเปนสิ่งที่ชวยแสดงใหเห็นถึงการชื่นชมยินดีของ ทศกัณฐที่มีตอนางมณโฑจึงทำ�ใหเกิดความสุภาพในการสื่อสารไดเปนอยางดี 2.4 หลักถอมตน (Modesty maxim) หลักขอนีก้ ลาวไววา “ใหกลาวถอยคำ�ทีเ่ ชือ่ วายกยอง สนับสนุนตนเองใหนอ ย ที่สุด และใหกลาวถอยคำ�ที่ถอมตัวมากที่สุด” ดังตัวอยางตอไปนี้ ตัวละครฝายพลับพลา ตัวละครทีเ่ ปนตัวแทนของฝายพลับพลา คือ หนุมาน หลังจากทีห่ นุมานสูร บกับ ผีเสือ้ สมุทร และไดฆา ผีเสือ้ สมุทรแลว หนุมานจึงไดเหาะผานอาศรมของพระฤษีนารทแลว นิมติ กายเปนลิงปาทีไ่ มมพี ลังและฤทธานุภาพ อีกทัง้ หนุมานไดเขาไปกราบไหวพระ​ฤษี จากนั้นพระฤษีนารทถามหนุมานวาเปนผูใดและมาหาตนดวยสาเหตุใด ดังความที่วา

198


วัจนกรรมเกี่ยวกับความสุภาพและแนวคิดเรื่องหนากับการคุกคามหนาของตัวละครในรามเกียรติ์ ​ศิวดล วราเอกศิริ

๏ บัดนั้น คำ�แหงหนุมานชาญสมร ไดฟงนบนิ้วประนมกร แลวกลาวสุนทรวาจา ตัวขาชื่อเสียงก็ไมมี สัญจรอยูที่ในปา ไดยินเขาเลาลือมา วาเมืองลงกาโอฬาร แสนสนุกเปนที่จำ�เริญใจ จะใครไปชมตลาดราชฐาน ขาไมรูแหงกรุงมาร พระอาจารยจงไดปรานี ฯ (เลมที่ 2 : 114) จากทีก่ ลาวไปขางตน จะทำ�ใหเห็นวา หนุมานไดเลือกใชกลวิธใี นการสือ่ สาร ตามหลักถอมตน (Modesty Maxim) โดยหนุมานจำ�แลงกายมาสอบถามพระฤษีนารท เกีย่ วกับเมืองลงกา อีกทัง้ เมือ่ พระฤษีนารทสอบถามวาหนุมานเปนใคร จึงทำ�ใหหนุมาน ตอบไปวา “ตัวขาชื่อเสียงก็ไมมี สัญจรอยูที่ในปา” ทั้งที่ความจริงแลวหนุมานมีพลัง อานุ ภ าพอย า งมาก แต ห นุ ม านเลื อ กใช ก ารถ อ มตนเพื่ อ ขอความช ว ยเหลื อ จาก พระฤษีนารท ในขณะเดียวกันหนุมานยังใชกิริยานอบนอมตอพระฤษี ดังความที่วา “ไดฟงนบนิ้วประนมกร แลวกลาวสุนทรวาจา” จนอาจกลาวไดวา เมื่อหนุมานขอความ ชวยเหลือจากพระฤษีนารทก็จะถอมตนเพื่อใหตนเองไดรับผลประโยชนในการสื่อสาร นั่นคือ ทำ�ใหรูวาเมืองลงกาตั้งอยูที่ใด ประกอบกับหนุมานแสดงกิริยาที่ออนนอมตอ พระฤษีนารท อันแสดงใหเห็นถึงหลักถอมตนที่ใชในการสื่อสารไดเปนอยางดี ตัวละครฝายลงกา ตัวละครทีเ่ ปนตัวแทนของฝายลงกา คือ พิเภก หลังจากทีพ่ เิ ภกทูลคำ�แนะนำ� ใหทศกัณฐคนื นางสีดาแกพระราม ทำ�ใหทศกัณฐกริว้ อยางมากและขับไลพเิ ภกออกจาก เมือง ตอมาพิเภกไดเขามาสวามิภักดิ์กับพระรามเพื่อชวยถวายงานแกพระรามในดาน ไตรเพทและโหราศาสตร อีกทั้งพระรามไดตรัสถามพิเภกวามีความสัตยจริงหรือไม ที่จะมาอยูฝายพระองค ทำ�ใหพิเภกกราบทูลตอพระราม ดังความที่วา ๏ บัดนั้น พิเภกผูมีอัชฌาสัย ไดฟงพจนารถภูวไนย จับใจดั่งไดอมฤตรส นอมเศียรลงถวายอภิวาทน แลวทูลฉลองบาทบงกช ตัวขามิไดทรยศ คิดคดเปนกลอุบาย ทศพักตรไมตั้งอยูในธรรม โมหันธทุจริตอิจฉา ฝนรายทำ�นายตามตำ�รา วาจะสิ้นชีพชีวี ใหสงองคสีดาวรนาฏ มาถวายเบื้องบาทบทศรี กลับกริ้วโกรธาจะฆาตี ริบราชยขับหนีจากเวียงชัย ตัวขาไมมีที่พึ่ง ซึ่งจะชวยชีวิตไวได

199


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

ทั้งไมมีกำ�ลังฤทธิไกร รูแตไตรเพทโหรา จึ่งตั้งใจมาเปนขาบาท พระตรีภูวนารถนาถา ไปกวาจะสิ้นชีวา ผานฟาจงโปรดปรานี ฯ (เลมที่ 2 : 191) จากที่กลาวไปขางตน จะทำ�ใหเห็นวา พิเภกไดใชกลวิธีในการสื่อสารเพื่อ ใหการสื่อสารสัมฤทธิผลโดยพิเภกพยายามสื่อสารดวยการถอมตนซึ่งเปนไปตาม หลักการของหลักถอมตน เห็นไดจากตอนทีพ่ เิ ภกถูกทศกัณฐขบั ออกจากเมืองแลวหันมา สวามิภักดิ์กับพระราม เมื่อพระรามตรัสถามพิเภกวาเหตุใดจึงมาอยูกับพระองคโดย ใหพิเภกตอบตามความจริง จึงทำ�ใหพิเภกกราบทูลถึงสาเหตุที่ถูกขับออกจากเมืองวา ตนไดแนะนำ�ใหทศกัณฐคืนนางสีดาแกพระราม และเมื่อพิจารณาถึงสถานภาพของ พิเภกนัน้ ถือวาพิเภกอยูใ นระดับชนชัน้ ปกครองซึง่ อยูใ นระดับชัน้ เดียวกับพระราม เพียง อยูตางเมืองเทานั้น แตเมื่อพิเภกจำ�ตองเปลี่ยนสถานภาพจากสังคมเดิมที่เมืองลงกา มาสูสังคมใหม นั่นคือ สังคมของพระราม ซึ่งพิเภกมีจิตตองการอยูรวมฝายพระราม จึงทำ�ใหพิเภกใชคำ�พูดที่สื่อสารในลักษณะที่นอบนอมและถอมตน เนื่องจากตนเองไร ทีพ่ งึ่ และไมมพี ละกำ�ลังในการตอสูก บั ปจจามิตร รูเ พียงแตวชิ าไตรเพทและโหราศาสตร ดังความที่วา “ตัวขาไมมีที่พึ่ง ซึ่งจะชวยชีวิตไวได ทั้งไมมีกำ�ลังฤทธิไกร รูแตไตรเพท โหรา” เมื่อพิจารณาจากคำ�สรรพนามที่พิเภกจะเห็นไดอยางชัดเจนวาพิเภกใชกลวิธีใน การสื่อสารแบบถอมตนเพื่อใหพระรามเชื่อใจและรับตนอยูรวมในสังคมดวย ดังคำ�วา “ขา” / “ขาบาท” “จึง่ ตัง้ ใจมาเปนขาบาท พระตรีภวู นารถนาถา ไปกวาจะสิน้ ชีวา ผานฟา จงโปรดปรานี ฯ” และใชคำ�แทนตัวผูฟง (พระราม) วา “พระตรีภูวนารถ” / “ผานฟา” นอกจากนี้พิเภกยังใชกิริยาทาทางที่แสดงออกถึงความสุภาพซึ่งจะชวยเสริมสรางให หลักถอมตนมีความเดนชัดมากยิ่งขึ้น ดังความที่วา “นอมเศียรลงถวายอภิวาทน แลว ทูลฉลองบาทบงกช” จากกลวิธีสื่อสารตามหลักถอมตนของพิเภกนับวาเปน สิ่งที่ ชวยใหการสื่อสารสัมฤทธิผลโดยพระรามรับพิเภกเขาอยูภายในสังคมของพระราม 2.5 หลักคลอยตาม (Agreement maxim) หลั กขอนี้กลาวไววา “ใหกลาวถอยคำ � ที่ แ สดงความเห็ น ไม ส อดคล อ ง ระหวางผูพูดกับผูรับสารใหนอยที่สุด และใหกลาวถอยคำ�ที่แสดงความเห็นสอดคลอง ระหวางผูพูดกับผูรับสารใหมากที่สุด” จากการศึกษาพบวา หลักคลอยตามจะเนนที่ การเห็นคลอยตามความสัมพันธระหวางผูพ ดู กับผูร บั สาร เมือ่ พิจารณาในการสือ่ สารของ ตัวละครในเรื่องรามเกียรติ์จะ​ไม​ปรากฏ​อยาง​ชัดเจน ​เนื่องจากการสื่อสารของตัวละคร ในรามเกียรติ์จะเปนการสื่อสารแบบสองทาง (Two- Way communication) ซึ่งจะมี ลักษณะการสื่อสารที่ผูสงและผูรับสารสามารถโตตอบกันไดในสื่อกลางเดียวกัน โดยจะ

200


วัจนกรรมเกี่ยวกับความสุภาพและแนวคิดเรื่องหนากับการคุกคามหนาของตัวละครในรามเกียรติ์ ​ศิวดล วราเอกศิริ

ไมมีบุคคลที่สามเขามาเกี่ยวของในการสื่อสาร จึงเปนปจจัยสำ�คัญที่ทำ�ใหไมปรากฏ เกีย่ วกับหลักคลอยตาม (Agreement maxim) ตามหลักความสุภาพของลีชในรามเกียรติ์ 2.6 หลักเห็นใจ (Sympathy Maxim) หลักขอนี้กลาวไววา “ใหกลาวถอยคำ�ที่แสดงใหเห็นความไมเห็นใจผูอื่น ใหนอ ยทีส่ ดุ และใหกลาวถอยคำ�แสดงใหเห็นความเชือ่ วา ผูพ ดู ตองการแสดงความเห็น อกเห็นใจผูอื่นใหมากที่สุด” ดังตัวอยางตอไปนี้ ตัวละครฝายพลับพลา ตัวละครทีเ่ ปนตัวแทนของฝายพลับพลา คือ พระลักษมณ เมือ่ ครัง้ ทีพ่ ระราม ถูกเนรเทศใหไปบวชเปนฤษีอยูในปาเปนเวลา 14 ปนั้น พระลักษมณจึงขอบวชเปนฤษี เชนเดียวกับพระราม และขออาสาติดตามไปดวยเพือ่ คอยอยูร บั ใชพระราม ดังความทีว่ า ๏ เมื่อนั้น พระลักษมณผูปรีชาชาญ สะอื้นพลางทางทูลพระอวตาร ผานเกลาจงไดเมตตา พระจะรักษาสัตยบิตุเรศ จะสูทนเทวษไปอยูปา ตัวขาผูเปนอนุชา ขอถวายชีวาพระสี่กร โดยเสด็จไปรองสนองบาท ยังอรัญหิมวาตสิงขร จะอยูไปที่ในพระนคร จะถาวรเปนสุขเมื่อไรมี อยาปรารมภถึงองคพระบิตุเรศ พระชนนีกอเกศเกศี โรคาสิ่งใดไมยายี ดวยอยูในบูรีภิรมยา พระพรตเขาไดเศวตฉัตร ก็จะปรนนิบัติรักษา นี่พระองคองคเดียวเอกา อนาถาสารพัดจะกันดาร ฯ (เลมที่ 1 : 407-408) จากที่กลาวไปขางตน จะทำ�ใหเห็นวา พระลักษมณ ไดเลือกกลาวถอยคำ� อันแสดงใหเห็นวา พระลักษมณตอ งการแสดงความเห็นอกเห็นใจผูอ นื่ ใหมากทีส่ ดุ ซึง่ ในที่ นีห้ มายถึง พระราม โดยเลือกใชถอ ยคำ�แสดงความหวงใยและเห็นใจทีพ่ ระรามจะตองเสด็จ ออกไปในปาเพียงลำ�พัง ดังความวา “นีพ่ ระองคองคเดียวเอกา อนาถาสารพัดจะกันดาร” จึงเปนเหตุทที่ �ำ ใหพระลักษมณขออาสาบวชเปนฤษีเหมือนกับพระรามเพือ่ จะไดไปคอย รับใชพระรามในปา ดังความที่วา “ตัวขาผูเปนอนุชา ขอถวายชีวาพระสี่กร โดยเสด็จไป รองสนองบาท ยังอรัญหิมวาตสิงขร” อันแสดงใหเห็นวา พระลักษมณได​เลือกใชถอยคำ� ตามหลักเห็นใจในหลักความสุภาพไดเปนอยางดี ตัวละครฝายลงกา เมื่อพิจารณาถึงหลักเห็นใจ (Sympathy Maxim) ของตัวละครฝายลงกา จะพบวา ตัวละครฝายลงกาจะไมปรากฏหลักความเห็นใจอยางเดนชัด อาจเพราะ

201


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

ตัวละครฝายลงกาเปนตัวละครฝายอธรรมจึงไมปรากฏความเห็นใจ แมวาอินทรชิตจะ ชวยทศกัณฐออกรบ ก็มาจากสาเหตุความโกรธแคนฝายพระรามมากกวาที่จะเห็นใจ พระบิดาของตนเอง ดังความทีว่ า “เมือ่ นัน้ ลูกทาวทศเศียรรังสรรค แจงวาพระอากุมภกรรณ สุดสิน้ ชีวนั ดวยไพรี ความรักความเสียดายนัน้ สุดคิด รอนจิตดัง่ หนึง่ เพลิงจี่ อดใจไมเปน สมประดี โศกีสะอื้นอาลัย...ตัวกูก็วงศพรหมเมศ ฤทธาปราบไดถึงชั้นอินทร อัน ศึกมนุษยแตเพียงนี้ จะสังหารชีวีเสียใหสิ้น” (เลมที่ 2 : 462) หรือกุมภกรรณที่ชวย ทศกัณฐทำ�สงครามตอสูกับฝายพระรามก็ดวยเหตุที่วาความกลัวทศกัณฐและความ จำ�ใจเทานัน้ ดังความทีว่ า “เมือ่ นัน้ พญากุมภกรรณยักษา ตกใจเพียงสิน้ ชีวา นบนิว้ วันทา แลวทูลไป ขาทัดทายนี้ดวยสุจริต จะเกรงกลัวปจจามิตรก็หาไม คิดวาจะระงับดับภัย มิใหรณรงคราวี” (เลมที่ 2 : 382) ดังนั้นหลักความเห็นใจ (Sympathy Maxim) ตามหลัก ความสุภาพของลีช จะไมปรากฏในตัวละครฝายลงกาอยางเดนชัดเทาใดนัก ซึ่งสาเหตุ ดังกลาวอาจสืบเนื่องมาจากตัวละครฝายลงเปนตัวละครฝายไมดีหรือฝายอธรรมจึงอาจ ทำ�ใหกวีไมนิยมใชคุณธรรมดานดีมาใชกับตัวละครฝายไมดีเทาใดนัก จึงนำ�ไปสูการที่ ทำ�ใหตัวละครฝายลงกาใชถอยคำ�ที่ไมแสดงออกถึงความเห็นใจนั่นเอง ตัวละครในรามเกียรติ์กับการคุกคามหนาตัวละครอื่น ในการศึกษาการสือ่ สารของตัวละครในรามเกียรติท์ ใี่ ชภาษาคุกคามหนาตัวละคร อื่น สามารถแบงออกเปน 2 ลักษณะ กลาวคือ 1. การคุกคามหนาเชิงลบ (Negative face - Threatening act) 1.1 ตัวละครฝายพลับพลา ตัวละครที่เปนตัวแทนฝายพลับพลา คือ หนุมาน หนุมานไดสรางถนนขาม มหาสมุทรไปยังเมืองลงกาเพื่อไปชวยนางสีดา แตหินที่ถมลงไปเปนถนนในมหาสมุทร นั้นก็คอยๆ หายไป ทำ�ใหหนุมานสงสัยจึงดำ�น้ำ�ลงไปดูวาเกิดอะไรขึ้น และเมื่อหนุมาน พบนางสุพรรณมัจฉาก็โกรธอยางมากที่นางสุพรรณมัจฉาพาบริวารมาขน หินที่ถมไป ทำ�ใหหนุมานไดกลาวถอยคำ�เพื่อถามนางสุพรรณมัจฉาอยางหยาบคาย ดังความที่วา ๏ บัดนั้น ลูกพระพายฤทธิไกรใจหาญ เงือดเงื้อตรีเพชรสุรกานต แลวกลาวพจมานดวยโกรธา เอ็งนี้ชื่อไรจึ่งองอาจ เชื้อชาติเปนไฉนอี่มัจฉา จึ่งพาบริวารฝูงปลา มาลักคาบศิลาของกูไป จะไมใหเปนแถวถนน ใครใชมาขนหรือไฉน จงบอกแตจริงอี่จังไร หาไมจะมวยชีวี ฯ (เลมที่ 2 : 254)

202


วัจนกรรมเกี่ยวกับความสุภาพและแนวคิดเรื่องหนากับการคุกคามหนาของตัวละครในรามเกียรติ์ ​ศิวดล วราเอกศิริ

จากทีก่ ลาวไปขางตน จะทำ�ใหเห็นวา หนุมาน ไดใชวจั นกรรมสัง่ ใหตอบเพือ่ ใหนางสุพรรณมัจฉาตอบคำ�ถามของตนเองซึง่ เปนสิง่ ทีน่ างสุพรรณมัจฉาไมอยากกระทำ� อีกทัง้ หนุมานกลาวโดยปราศจากการตกแตงถอยคำ� เปนการถายทอดความคิดแบบตรง ไปตรงมา ดังความที่วา “เอ็งนี้ชื่อไรจึ่งองอาจ เชื้อชาติเปนไฉน อี่มัจฉา จึ่งพาบริวาร ฝูงปลา มาลักคาบศิลาของกูไป” และ “ใครใชมาขนหรือไฉน จงบอกแตจริงอี่จังไร” อีกทั้งหนุมานยังใชสรรพนามแทนตัวผูพูดวา “กู” และใชคำ�สรรพนามเรียกนางสุพรรณ มัจฉาวา “อี”่ (อี) ซึง่ เปนการถามทีห่ นุมานอยากรูว า นางสุพรรณมัจฉาเปนผูใ ดทีก่ ลามา คาบหินที่ถมลงไป นับวาเปนการคุกคามหนานางสุพรรณมัจฉา การคุกคามหนาเชิงลบของตัวละครในรามเกียรติ์ ยังพบจากตัวละครฝาย พลับพลา คือ นางสีดา ทีท่ �ำ การคุกคามหนาเชิงลบกับตัวละครอืน่ ซึง่ หลังจากทีพ่ ระราม ไดออกไปตามจับกวางทอง (มารีศจำ�แลงกาย) ตามความประสงคของนางสีดานั้น ทำ�ใหพระรามฝากนางสีดาไวในความดูแลของพระลักษมณ ตอมาก็เกิดเสียงรองของ พระราม (เปนเสียงแปลงของมารีศที่ใชมนตทำ�ใหเสียงเหมือนพระราม) จึงทำ�ใหนาง สีดาไดสั่งใหพระลักษมณออกไปชวยเหลือพระราม ดังความที่วา ๏ เมื่อนั้น นางสีดาเยาวยอดสาวสวรรค ไดยินสำ�เนียงกุมภัณฑ รองนั้นเหมือนเสียงพระสี่กร ตกใจดั่งสายสุนีบาต มาฟอนฟาดกายาดวงสมร แสนทุกขแสนเทวษอาวรณ บังอรตรัสแกอนุชา ไดยินแลวหรือนองรัก เสียงพระทรงจักรเรียกหา ใหเจาผูรวมชีวา ไปชวยเขนฆาอสุรี พอจงรีบไปใหทัน จะไดโรมรันกับยักษี แมนชาพระองคจะเสียที เจาพี่อยานิ่งนอนใจ ฯ (เลมที่ 1 : 580-581) จากที่กลาวไปขางตน จะทำ�ใหเห็นวา นางสีดาไดใชวัจนกรรมสั่งกับ พระลักษมณ ซึ่งนางสีดากลาวถอยคำ�โดยปราศจากการตกแตงถอยคำ�และเปนการ ถายทอดความคิดแบบตรงไปตรงมาที่ตองการจะสื่อสารไปยังพระลักษมณ กลาวคือ นางสีดาไดสั่งใหพระลักษมณออกไปชวยพระราม ดังความที่วา “พอจงรีบไปใหทัน จะไดโรมรันกับยักษี แมนชาพระองคจะเสียที เจาพี่อยานิ่งนอนใจ” หรืออาจกลาวไดวา คำ�สั่งของนางสีดาที่มีตอพระลักษมณนั้น เปนสิ่งที่พระลักษมณไมปรารถนาที่จะกระทำ� ตามคำ�สัง่ ของนางสีดา เนือ่ งจากพระลักษมณรบั ปากกับพระรามวาจะดูแลนางสีดา อีกทัง้ พระลักษมณเปนหวงนางสีดา แตทงั้ นีน้ างสีดายังคงตองการใหพระลักษมณออกไปชวย พระราม จึงนับวาการใชถอยคำ�ของนางสีดาเปนการคุกคามหนาของพระลักษมณ

203


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

1.2 ตัวละครฝายลงกา ตั ว ละครที่ เ ป น ตั ว แทนฝ า ยลงกา คื อ กุ ม ภกรรณ หลั ง จากที่ ไ มยราพ เสี ย ชี วิ ต ในคราวที่ออกรบกับฝายพระราม ทำ � ให ท ศกั ณ ฐ เ รี ย กกุ ม ภกรรณซึ่ ง เป น พระอนุชามาชวยออกรบกับฝายพระราม แตทงั้ นีก้ มุ ภกรรณไดแนะนำ�ใหทศกัณฐคนื นาง สีดาแกฝายพระราม ดังความที่วา ๏ เมื่อนั้น พญากุมภกรรณยักษี ไดฟงพระราชวาที ชุลีกรสนองพระบัญชา อันมูลศึกสงคราม ซึ่งลุกลามเคี่ยวเข็ญเขนฆา เปนตนดวยนางสีดา ที่ไปลักพาเอามาไว ใชจะชิงสมบัติพัสถาน ศฤงคารบริวารนั้นหาไม พระองคจงสงนางไป ใหแกพระรามผูสามี ก็จะสิ้นเสี้ยนศึกภัยพาล ไมรำ�คาญใตเบื้องบทศรี ทั้งจะไดเปนมิตรไมตรี ตองที่ในทศธรรมา ฯ (เลมที่ 2 : 380-381) จากที่กลาวไปขางตน จะทำ�ใหเห็นวา กุมภกรรณไดใชวัจนกรรมแนะนำ� ทศกั ณ ฐ ว  า ให คื น นางสี ด าแก พ ระราม ก็ จ ะทำ � ให ไ ม ต  อ งทำ � สงครามระหว า งกั น คำ�แนะนำ�ของกุมภกรรณเปนสิง่ ทีท่ ศกัณฐไมอยากกระทำ�ตามคำ�แนะนำ�ของกุมภกรรณ โดยกุมภกรรณกลาวโดยมีการตกแตงถอยคำ�ซึ่งเปนการถายทอดความคิดแบบไมตรง ไปตรงมาในการสื่อสาร ดังความที่วา “ใชจะชิงสมบัติพัสถาน ศฤงคารบริวารนั้นหาไม” ถึงแมวาคำ�แนะนำ�ของกุมภกรรณจะเปนสิ่งที่ถูกตองตามหลักครรลองคลองธรรม ก็ตาม แตก็ไมใชความประสงคของทศกัณฐอยางแทจริง เนื่องจากทศกัณฐตองการให กุ ม ภกรรณออกรบแทนตนเองแต กุ ม ภกรรณกลั บ กล า วแนะนำ � ให คื น นางสี ด าแก พระรามซึ่งไมตรงตามความประสงคของทศกัณฐ ดังนั้นการกระทำ�ของการใชถอยคำ� ของกุมภกรรณถือวา เปนการคุกคามหนาทศกัณฐอยางมาก พรอมยังทำ�ใหทศกัณฐ เกิดความเสียหนาซึ่งทำ�ใหทศกัณฐพิโรธและกลาวตอวากุมภกรรณอยางเสียหาย การคุกคามหนาเชิงลบของตัวละครในรามเกียรติ์ ยังพบตัวละครฝายลงกา คือ พิเภก (ตอนสวามิภักดิ์กับฝายลงกา) ที่ทำ�การคุกคามหนาเชิงลบกับตัวละครอื่น ซึ่ง เมือ่ เกิดสงครามระหวางฝายพระรามกับฝายทศกัณฐอยางยืดเยือ้ ทำ�ใหพเิ ภกไดแนะนำ� ทศกัณฐ ดังความที่วา ๏ เมื่อนั้น พิเภกสุริยวงศยักษี ไดฟงพระราชวาที นอมเศียรชุลีแลวทูลไป ซึ่งจะเสียเคราะหสะเดาะนาม ตามในคัมภีรหามีไม

204


วัจนกรรมเกี่ยวกับความสุภาพและแนวคิดเรื่องหนากับการคุกคามหนาของตัวละครในรามเกียรติ์ ​ศิวดล วราเอกศิริ

อันจะผอนปรนใหพนภัย มิใหอันตรายชีวิต จะไดก็ดวยสัตยธรรม ถือมั่นในความสุจริต จงตั้งอยูในทศพิธ ดับจิตโมหันธฉันทา อยาโลภหลงงงงวยดวยรสรัก คิดหักซึ่งความเสนหา จงสงองคนางสีดา ไปใหสามีอรไท ก็จะสิ้นอันตรายภัยพาล ดับการรณรงคเสียได พระองคผูทรงฤทธิไกร ไมไรอัคเรศบังอร แมนมาตรปรารถนาจะเชยชิด จะแสนสนิทนางเทพอัปสร ก็จะไดดวยเดชภูธร อยาอาวรณในหญิงที่ผัวมี ฯ (เลม 2 : 182) จากที่ ก ล า วไปข า งต น จะทำ � ให เ ห็ น ว า พิ เ ภกได ใ ช วั จ นกรรมแนะนำ � ทศกัณฐวา ใหทศกัณฐตงั้ มัน่ อยูใ นศีลธรรม ละความโลภและความหลงในรสรัก อีกทัง้ พิเภก ไดแนะนำ�ใหทศกัณฐคืนนางสีดาแกพระราม ก็จะทำ�ใหไมตองทำ�สงครามระหวางกัน ซึ่งคำ�แนะนำ�ของพิเภกเปนสิ่งที่ทศกัณฐไมอยากกระทำ�ตามคำ�แนะนำ�ของพิเภก อีกทั้ง พิเภกไดกลาวถอยคำ�แกไขซึ่งจะเปนการถายทอดความคิดแบบไมตรงไปตรงมาใน การสื่อสาร ดังความที่วา “จงสงองคนางสีดา ไปใหสามีอรไท ก็จะสิ้นอันตรายภัยพาล ดับการณรงคเสียได พระองคผูทรงฤทธิไกรไมไรอัคเรศบังอร แมนมาตรปรารถนาจะ เชยชิด จะแสนสนิทนางเทพอัปสร ก็จะไดดวยเดชภูธร อยาอาวรณในหญิงที่ผัวมี” ถึงแมวาคำ�แนะนำ�ของพิเภกจะเปนสิ่งที่ถูกตอง แตก็ไมใชความประสงคของทศกัณฐ อยางแทจริง ดังนั้นการกระทำ�ของการใชถอยคำ�ของพิเภกถือวาเปนการคุกคามหนา ทศกัณฐอยางยิง่ จนอาจกลาวไดวา การคุกคามหนาทศกัณฐจากการทีพ่ เิ ภกแนะนำ�ใหคนื นางสีดาแกพระรามนัน้ ทำ�ใหทศกัณฐเกิดความ “เสียหนา” ตอใน ทีป่ ระชุมซึง่ เปนปจจัย ที่ทำ�ใหพิเภกถูกขับออกจากเมือง 2. การคุกคามหนาเชิงบวก (Positive Face - Threatening Act) 2.1 ตัวละครฝายพลับพลา ตัวละครที่เปนตัวแทนฝายพลับพลา คือ สุครีพ เมื่อทศกัณฐไดประกอบพิธี ยกฉัตรแกวขึน้ กลางเมืองลงกาเพือ่ ทำ�ใหไมมแี สงสองมาทีพ่ ลับพลาอันเปนทีต่ งั้ กองทัพ ของพระราม ซึ่งทำ�ใหสุครีพทูลขอพระรามเพื่ออาสาไปหักฉัตรแกว เมื่อสุครีพสามารถ หักฉัตรแกวได จึงไดตอสูกับทศกัณฐ จนสามารถใชเทาคีบเอามงกุฎมาจากทศกัณฐได อีกทั้งสุครีพยังไดกลาวถอยคำ�ที่แสดงการดูหมิ่นทศกัณฐ ดังความที่วา ๏ ขุนกระบี่จึ่งเอาเทาขวา ควาคีบมงกุฎไวได ลอยอยูยังพื้นนภาลัย แลวรองไยไพขุนมาร

205


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

เหวยเหวยดูกรทศพักตร ฮึกฮักอวดฤทธิ์กลาหาญ กูจะใครตัดเศียรไอสาธารณ เกรงเกินโองการพระจักรี จะเอาแตมงกุฎไปถวาย องคพระนารายณเรืองศรี วาแลวสำ�แดงฤทธี ขุนกระบี่ก็เหาะกลับมา ฯ (เลมที่ 2 : 317) จากที่กลาวไปขางตน จะทำ�ใหเห็นวา สุครีพ ไดคุกคามหนาทศกัณฐ อยางมาก ตอหนาขาราชบริพารยักษ โดยใชวัจนกรรมเยยหยันหรือดูหมิ่นทศกัณฐซึ่ง สรางความอับอายแกทศกัณฐเปนอยางมากและยัง เปนการคุกคามหนาทศกัณฐอกี ดวย อีกทัง้ สุครีพกลาวโดยปราศจากถอยคำ�แกไขอยางหวนซึง่ เปนกลวิธที ใี่ ชถอ ยคำ�อยางตรง ไปตรงมา ไมออ มคอม และสุครีพยังใชสรรพนามแทนตัวผูพ ดู ทีไ่ มสภุ าพวา “กู” ดังความ ที่วา “เหวยเหวยดูกรทศพักตร ฮึกฮักอวดหาญกลาฤทธิ์ กูใครจะตัดเศียรไอสาธารณ เกรงเกินโองการพระจักรี” นอกจากนี้ยังไดใชเทาคีบมุงกุฎจากเศียรของทศกัณฐซึ่งถือ วาเปนกิริยาที่ไมสุภาพเชนกัน ดังนั้นการกระทำ�ของสุครีพถือวาเปนการใชถอยคำ�ที่ ไมสุภาพ เปนวัจนกรรมดูหมิ่นซึ่งเปนการคุกคามหนาทศกัณฐ นั่นเอง การคุกคามหนาเชิงบวกของตัวละครในรามเกียรติ์ ยังพบตัวละครฝาย พลับพลา คือ หนุมาน ที่ทำ�การคุกคามหนาเชิงบวกกับตัวละครอื่น ซึ่งเปนทหารเอก ของฝายพระรามที่ชวยพระรามออกทำ�สงครามกับฝายทศกัณกัณฐบอยครั้ง โดย ผูศ กึ ษาขอยกตัวอยางตอนทีห่ นุมานออกรบกับทาวสหัสเดชะ ซึง่ หนุมานไดใชวจั นกรรม ดูหมิ่นทาวสหัสเดชะ ดังความที่วา ๏ บัดนั้น คำ�แหงหนุมานทหารใหญ ตบมือแลวรองไยไพ เหวยไอจังไรอัปรีย ตัวมึงอวดอางจะตอยุทธ กับพระจักรภุชเรืองศรี ยืนนิ่งอยูไยอสุรี ไมมาตอตีดวยอันใด เสียแรงมีเศียรทั้งพัน กรสองขางนั้นไมนับได หัวโตโงเปลาไอจังไร จะสูใครไดอยาสำ�คัญ ทศพักตรมันลวงก็หลงลิ้น พากันมาสิ้นชีวาสัญ เสียทีเปนเจาแกกุมภัณฑ จะรูทันใครก็ไมมี ตัวกูนี้ชื่อหนุมาน ยอดทหารพระนารายณเรืองศรี คือองคพระกาลอันฤทธี จะมาเอาชีวีอสุรา ฯ (เลมที่ 3 : 74) จากทีก่ ลาวไปขางตน จะทำ�ใหเห็นวา หนุมาน ไดคกุ คามหนาทาวสหัสเดชะ อยางมาก โดยใชวัจนกรรมเยยหยันหรือดูหมิ่นทาวสหัสเดชะซึ่งสรางความอับอาย

206


วัจนกรรมเกี่ยวกับความสุภาพและแนวคิดเรื่องหนากับการคุกคามหนาของตัวละครในรามเกียรติ์ ​ศิวดล วราเอกศิริ

ตอทาวสหัสเดชะเปนอยางมากและยังเปนการคุกคามหนาทาวสหัสเดชะอีกดวย อีกทั้ง หนุมานกลาวโดยปราศจากการตกแตงถอยคำ�ซึ่งเปนกลวิธีที่ใชถอยคำ�อยางตรงไป ตรงมา ไมออ มคอม และหนุมานยังใชค�ำ สรรพนามแทนตัวผูพ ดู ทีไ่ มสภุ าพวา “กู” ดังความ ที่วา “ตัวกูนี้ชื่อหนุมาน” และยังใชวัจนกรรมหรือถอยคำ�ที่ไมสุภาพ เชน “จังไร” “อัปรีย” “โง” “เจาแกกุมกัณฑ” เปนตน อีกทั้งหนุ​มานยังใชวัจนกรรมดูหมิ่นวาจะมาเอาชีวิตของ ทาวสหัสเดชะ ดังความทีว่ า “คือองคพระกาลอันฤทธี จะมาเอาชีวอี สุรา” ดังนัน้ การกระทำ� ของหนุมานถือวาเปนการใชถอยคำ�ที่ไมสุภาพ และยังเปนวัจนกรรมดูหมิ่นซึ่งเปน การคุกคามหนาทาวสหัสเดชะอยางมาก และยังทำ�ใหทาวสหัสเดชะเกิดความเสียหนา จนอาจกลาวไดวาภาษาสุภาพที่ตัวละครในรามเกียรติ์จะใชในสถานการณที่ตัวละคร สื่อสารกับฝายเดียวกัน แตหากสื่อสารกับฝายตรงขามที่สื่อสารในระหวางสงครามยอม ทำ�ใหตัวละครเลือกใชภาษาไมสุภาพซึ่งจะเปนการที่ทำ�ใหตัวละครฝายตรงขามของ คูสนทนาเสียหนา จนนำ�ไปสูการถูกลดศักดิ์ศรีอีกดวย 2.2 ตัวละครฝายลงกา ตัวละครที่เปนตัวแทนฝาย คือ ไมยราพ หลังจากที่ทศกัณฐไดใหไมยราพ ชวยออกรบโดยไมยราพสามารถสะกดทัพและลักพาตัวพระรามมาขังไว จึงทำ�ใหหนุมาน ติดตามมาชวยพระรามกลับพลับพลาและเมื่อหนุมานบุกมายังเมืองบาดาล ทำ�ให ไมยราพไดกลาวดูหมิ่นหนุมาน ดังความที่วา ๏ เมื่อนั้น พญาไมยราพใจหาญ ผวาตื่นจากแทนอลงการ ขุนมารก็เหลือบแลไป เห็นวานรเขามาถึงปราสาท องอาจกลาวคำ�หยาบใหญ โกรธาฉวยควาพระขรรคชัย ผุดลุกขึ้นไดก็รองมา เหมเหมดูดูไอชาติลิง เยอหยิ่งอวดฤทธิ์วาแกลวกลา ตัวกูผูทรงศักดา ใตฟาไมมีใครเทียมทัน มึงดั่งหิ่งหอยนอยแสง หรือจะแขงกับดวงสุริยฉัน วาพลางขบเขี้ยวเคี้ยวฟน แกวงพระขรรคออกไลราญรอน ฯ (เลมที่ 2 : 369) จากทีก่ ลาวไปขางตน จะทำ�ใหเห็นวา ไมยราพ เลือกใชถอ ยคำ�ทีค่ กุ คามหนา หนุมานอยางมาก โดยใชวัจนกรรมเยยหยันหรือดูหมิ่นหนุมานซึ่งเปนการคุกคามหนา หนุมานอีกดวย และไมยราพยังไดกลาวโดยปราศจากการตกแตงถอยคำ�ซึ่งเปนกลวิธี ทีใ่ ชถอ ยคำ�อยางตรงไปตรงมา ไมออ มคอม และไมยราพยังใชค�ำ สรรพนามแทนตัวผูพ ดู ทีไ่ มสภุ าพวา “กู” อีกทัง้ ไมยราพยังใชวจั นกรรมดูหมิน่ ชาติกำ�เนิดของหนุมานทีเ่ กิดเปน ลิง ดังความวา “เหมเหมดดู ไู อชาติลงิ เยอหยิง่ อวดฤทธิว์ า แกลวกลา” และยังมีการใชความ

207


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

เปรียบเชิงเยยหยันหนุมานซึ่งเปนการเปรียบหนุมานที่ไมสามารถมาตอกรกับตนได ดังความวา “ตัวกูผูทรงศักดา ใตฟาไมมีใครเทียมกัน มึงดั่งหิ่งหอยนอยแสง หรือจะ แขงกับดวงสุริยฉัน” ดังนั้นการกระทำ�ของไมยราพถือวาเปนการใชถอยคำ�ที่ไมสุภาพ และยังเปนการใชวัจนกรรมดูหมิ่นซึ่งเปนการคุกคามหนาหนุมานนั่นเอง การคุกคามหนาเชิงบวกของตัวละครในรามเกียรติ์ ยังพบวา ตัวละคร ฝายลงกา คือ กุมภกรรณ ที่ทำ�การคุกคามหนาเชิงบวกกับตัวละครอื่น ซึ่งหลังจาก ที่ตองตอสูกับฝายพระรามมาหลายครั้งนั้น ทำ�ใหกุมภกรรณตองประกอบพิธีลับหอก โมกขศักดิ์เพื่อมาตอสูกับฝายพระราม โดยพระรามไดสงพระลักษมณมาเปนตัวแทน ตอสูกับกุมภกรรณ และเมื่อกุมภกรรณเห็นรูปรางพระลักษมณนั้น ทำ�ใหกุมภกรรณ กลาวถอยคำ�ที่ดูหมิ่นและเยาะเยยพระลักษมณอยางมาก ดังความที่วา ๏ เมื่อนั้น กุมภกรรณยักษาอัชฌาสัย ฟงพระลักษมณทักถามความใน ใหอาจใจจำ�เปนเจรจา เราจึ่งตองยกพหลพลยักษ มาปราบปรามรามลักษมณกบั ลิงไพร ………………………………………………… ไดเห็นทานรูปรางอยางสตรี แมนสูฝมือยักษจะตักษัย จงคืนเขาพลับพลาพนาลัย บอกใหเชษฐามาราวี เราจะคอยสังหารผลาญชีวิต ดวยฤทธาโมกขศักดิ์ยักษี ชวยหามปรามตามเมตตาปรานี อยาชาทีถอยทัพกลับไป ฯ (เลมที่ 2 : 415) จากที่กลาวไปขางตน จะทำ�ใหเห็นวา กุมภกรรณไดใชถอยคำ�ที่แสดง ถึงการดูหมิ่นและเยาะเยยพระลักษมณ กลาวคือ เมื่อกุมภกรรณไดเห็นรูปรางของ พระลักษมณแลวนั้น ซึ่งทำ�ใหกุมภกรรณไดใชถอยคำ�ดูหมิ่นพระลักษมณวารูปราง เหมือนผูห ญิง และใหกลับไปยังทีพ่ ลับพลาเพือ่ เชิญใหพระรามมาตอสูแ ทน ดังความทีว่ า “ไดเห็นทานรูปรางอยางสตรี แมนสูฝมือยักษจะตักษัย จงคืนเขาพลับพลาพนาลัย บอกใหเชษฐามาราวี เราจะคอยสังหารผลาญชีวิต ดวยฤทธาโมกขศักดิ์ยักษี ชวย หามปรามตามเมตตาปรานี อยาชาทีถอยทัพกลับไปฯ” การใชถอยคำ�ดูหมิ่นของ กุมภกรรณตอพระลักษมณ จัดวาเปนการคุกคามพระลักษมณอยางมาก ความสัมพันธระหวางความสุภาพและแนวคิดเรื่องหนากับการคุกหนาของตัว ละครในรามเกียรติ์ เมือ่ ตัวละครในรามเกียรติ์ทำ�การคุกคามหนาตัวละครอืน่ ซึ่งจะนิยมใชวัจนกรรม ตรง ซึ่งจะเปนลักษณะการใชถอยคำ�ที่มีความหมายตรงตามรูปประโยคหรือเปนภาษา

208


วัจนกรรมเกี่ยวกับความสุภาพและแนวคิดเรื่องหนากับการคุกคามหนาของตัวละครในรามเกียรติ์ ​ศิวดล วราเอกศิริ

ที่ตรงไปตรงมา อีกทั้งการคุกคามหนาของตัวละครยังสะทอนใหเห็นถึงการวางอำ�นาจ ของตัวละครที่ท�ำ การคุกคามหนาผูอื่น ตัวละครในรามเกียรติ์ที่คุกคามหนาตัวละครอื่น มักจะเกิดอารมณไมคอ ยดีนกั ซึง่ ทำ�ใหเลือกใชถอ ยคำ�ทีไ่ มสภุ าพ ถอยคำ�หยาบคายหรือ ดูหมิน่ คูส อื่ สารของตัวละครในรามเกียรติ ์ อีกทัง้ การคุกคามหนายังสงผลตอการ “เสียหนา” ของคูส อื่ สารหรือผูร บั สารไดเชนกัน ระดับความรุนแรงของการเสียหนาจะขึน้ อยูก บั บริบท รอบขาง ไมวาจะเปนปญหาความขัดแยงหรือเรื่องที่ตองใหกระทำ� แตทั้งนี้ผูศึกษาได ขอสังเกตวา หากผูส ง สาร (ผูท คี่ กุ คามหนาผูอ นื่ ) กับผูร บั สาร (ผูท ถี่ กู คุกคามหนา) อยูฝ า ย ที่ตรงขามกัน นั่นหมายถึง ฝายพลับพลากับฝายลงกา ไมวาผูที่คุกคามหนาผูอื่นจะ อยูฝ า ยใดก็ตาม ยอมจะนิยมใชภาษาไปในทางทีไ่ มสภุ าพจนถึงระดับขัน้ หยาบคาย ยอม สะทอนอารมณของผูคุกคามหนาผูอื่นไดเปนอยางดี อีกทั้งการคุกคามหนายอมสะทอน ถึงปญหาความขัดแยงที่เกิดขึ้นในเรื่องรามเกียรติ์ไดอีกลักษณะหนึ่ง อีกทั้งสวน​ใหญ จะเปนความขัดแยงระหวางมนุษยกับมนุษยดวยกัน นอกจากนี้การคุกคามหนายอม นิยมใชวัจนกรรมที่ดูหมิ่นหรือเยาะเยยฝายตรงขามซึ่งจะนิยมใชวัจนกรรมในลักษณะนี้ กับฝายตรงขามกันนั่นเอง บทสรุปและอภิปรายผล บทความเรื่อง “วัจนกรรมเกี่ยวกับความสุภาพและแนวคิดเรื่องหนากับการ คุกคามหนาของตัวละครในรามเกียรติ์” ฉบับพระราชนิพนธพระบาทสมเด็จพระพุทธ ยอดฟาจุฬาโลกมหาราช จะพบวา ตัวละครในเรื่องรามเกียรติ์จะมีการสื่อสารกับตัว ละครอื่นๆ เปรียบเสมือนวา รามเกียรติ์เปนสังคมในโลกของวรรณคดีแตมีโครงสราง ทางสังคมทีไ่ มแตกตางกับสังคมจริงของมนุษย อันประกอบไปดวย มนุษย ฤษี ลิง ยักษ เปนตน โดยที่ตัวละครในเรื่องรามเกียรติ์จะมีสถานะเปนมนุษยและรามเกียรติ์จะมี สถานะเปนสังคมมนุษย สาเหตุสำ�คัญที่ทำ�ใหวรรณคดีมีสถานะเปนสังคมมนุษยเพราะ มนุษยเปนผูสรางวรรณคดี จะเห็นไดวา ตัวละครในรามเกียรติ์มีการสื่อสารในสังคมที่ ไมแตกตางกับสังคมมนุษย ยอมจะทำ�ใหเห็นถึงการปฏิสัมพันธของตัวละครซึ่งจะตอง มีผูสงสารและผูรับสารจนนำ�ไปสูการสื่อสารในการแลกเปลี่ยนความคิดและความรูสึก ระหวางกัน อีกทัง้ ในการสือ่ สารแตละครัง้ นัน้ ผูส ง สารมีการเลือกใชความสุภาพตลอดจน ตัวแปรทางดานวัจนปฏิบัติมาเปนเงื่อนไขในการสื่อสาร และผูสงสารจะตองคำ�นึง คุณสมบัติและสถานภาพของผูรับสารเปนสำ�คัญ หากอยูในสภาพที่สูงกวาตนเองยอม เลือกใชถอยคำ�ที่มีความสุภาพ หากอยูในระดับต่ำ�กวาตน ความสุภาพก็จะลดลงตาม ไปดวย อีกทั้งหากผูสงสารตองการใหผูรับสารปฏิบัติในสิ่งที่ผูสงสารปรารถนาก็ยอมจะ เลือกใชภาษาทีส่ ภุ าพ หรือหากเรื่องทีผ่ สู ง สารตองรบกวนผูร ับสารก็จะนิยมใชถอ ยคำ�ที่

209


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

สุภาพเชนกัน จึงอาจทำ�ใหเห็นวา การสื่อสารตัวละครในรามเกียรติ์ที่สื่อสารไปยัง ผูร บั สารก็ยงั คงคำ�นึงถึงความสุภาพในการสือ่ สารเปนสำ�คัญ จึงอาจเปนสิง่ ทีช่ ว ยสะทอน ถึงความนึกคิดของคนในสังคมไทยไดอกี ลักษณะหนึง่ เนือ่ งจากการสือ่ สารของตัวละคร ที่ปรากฏในรามเกียรติ์นั้น ผูที่ประดิษฐถอยคำ�ของตัวละคร นั่นคือ ผูแตงไดสอดแทรก ความคิ ด และความรูสึกของตัวละครผานวรรณคดี จึ ง เป น ป จ จั ย ที่ ช  ว ยสะท อ นถึ ง วัฒนธรรมของคนในสังคมไทยที่วา คนในสังคมไทยไดคำ�นึงความสุภาพในการสื่อสาร เปนสำ�คัญ หากตนเองจะตองสื่อสารกับผูที่มีอำ�นาจหรือสถานภาพที่สูงสงกวาตนเอง ตลอดจนการที่ตนเองตองขอความชวยเหลือจากผูอื่นก็จะนิยมใชความสุภาพในการ สื่อสารเพื่อใหผูรับสารกระทำ�ตามสิ่งที่ผูสงสารปรารถนาได อีกทั้งยังสะทอนใหเห็นวา สังคมไทยยังคงยึดถือระบบชนชั้นในการปกครองหรือระบบชนชั้นในสังคมที่ไดฝง รากลึกมาตั้งแตสมัยสุโขทัย โดยสิ่งที่ชวยยืนยันในเรื่องดังกลาวคือ การใชถอยคำ� หรือคำ�พูดที่สุภาพกับคนที่อยูในระดับที่สูงกวาตนเองเสมอ ภาษาสุภาพยังชวยบงบอกถึงความเปนพวกพองเดียวกัน เห็นไดจากการคุกคาม หนาตัวละครอืน่ เนือ่ งจากตัวละครในรามเกียรติท์ ไี่ มไดอยูฝ า ยเดียวกัน มักจะคุกคามหนา ซึง่ กันและกัน เพือ่ เปนการลด “ศักดิศ์ รี” ของฝายตรงขามใหอยูใ นระดับทีต่ ่ำ�กวาตนเอง อีกทั้งยังเปนการเสริมสรางสถานภาพดานศักดิ์ศรีของตนเองใหสูงกวาฝายตรงขาม หรืออาจกลาวไดวา เปนการที่ทำ�ใหตัวละครที่ถูกคุกคามหนานั้นเกิดการ “เสียหนา” ตอที่สาธารณชนได โดยการคุกคามหนาของตัวละครในรามเกียรติ์จะปรากฏทั้งในฝาย พลับพลาและฝายลงกา นอกจากนี้การคุกคามหนาจะนิยมใชในสถานการณเกี่ยวกับ สงครามหรือการเกิดปญหาขัดแยงกันเปนสวนใหญซึ่งจะมีการใชถอยคำ�อยางตรงไป ตรงมา ไมออมคอมโดยจัดวาเปนวัจนกรรมการดูถูกหรือดูหมิ่นฝายตรงขาม อีกทั้ง ยังมีการใชเปนความเปรียบเพื่อชวยทำ �ใหไดอารมณและความรูสึกไดเปนอยางดี และยังเปนการชวยสรางจินตภาพเพื่อใหเกิดการสะทอนทางความคิด นอกจากนี้ยัง ทำ�ใหเปนการลดคุณคาและศักดิ์ศรีของตัวละครฝายตรงขามที่ถูกคุกคามหนาอีกดวย ความสัมพันธของภาษาสุภาพกับการคุกคามหนา ยอมเปนสิง่ ทีช่ ว ยแสดงใหเห็น ถึงการเลือกปฏิบัติของผูสงสารไดเปนอยางดี กลาวคือ ผูสงสารจะนิยมใชภาษาสุภาพ โดยจะคำ�นึงถึงระดับชัน้ ทางสังคมและผลประโยชนของตนเองเปนหลักเพือ่ ใหสงิ่ ทีต่ นเอง มุงปรารถนาประสบความสำ�เร็จ อีกทั้งการคุกคามหนากับฝายตรงกันขามกันจะไม นิยมใชภาษาสุภาพเทาใดนักซึง่ ความไมสภุ าพจะขึน้ อยูก บั ระดับความรุนแรงของปญหา หรืออาจกลาวไดวา หากเปนปญหาที่มีความเกี่ยวของกับสงครามกับศัตรูฝายตรงขาม ก็จะเปนปจจัยที่ทำ�ใหผูสงสารเลือกใชถอยคำ� หรือภาษาในระดับที่ไมสุภาพจนถึงระดับ หยาบคาย พรอมกับใชวัจนกรรมเยยหยันหรือดูหมิ่นผูรับสาร อีกทั้งยังมีการใชความ

210


วัจนกรรมเกี่ยวกับความสุภาพและแนวคิดเรื่องหนากับการคุกคามหนาของตัวละครในรามเกียรติ์ ​ศิวดล วราเอกศิริ

เปรียบเพือ่ ชวยใหเห็นถึงความแตกตางกันในดานสถานภาพของตน โดยจะเปนการเชิดชู สถานภาพของตัวเองใหสูงสงกวาตัวละครที่ถูกคุกคามหนา พรอมทั้งเปนการลดคุณคา และศักดิ์ศรีตัวละครที่ถูกคุกคามหนาซึ่งการคุกคามหนาของตัวละครในรามเกียรติ์โดย สวนใหญจะเลือกใชถอยคำ�ที่ไมสุภาพ จนเปนปจจัยที่สำ�คัญที่นำ�ไปสูการ “เสียหนา” ของตัวละครที่ถูกคุกคามหนาไดในที่สุด ทั้งนี้การศึกษาเรื่อง “วัจนกรรมเกี่ยวกับความสุภาพและแนวคิดเรื่องหนากับ การคุกคามหนาของตัวละครในรามเกียรติ์” เปนเพียงการศึกษาขั้นปฐมภูมิที่นำ�ทฤษฎี ทางภาษาศาสตรมาเปนเครื่องมือในการศึกษาวรรณคดีและยังชวยสะทอนไดเปน อยางดีวา การศึกษาภาษาหรือการใชภาษาในการสื่อสารในวรรณคดีโดยใชทฤษฎีทาง ภาษาศาสตร (Linguistic theory) แนววัจนปฏิบัติศาสตร (Pragmatic) ยอมสามารถ กระทำ�ได เนื่องจากภาษาในวรรณคดีหรือกลวิธีการสื่อสารของตัวละครในวรรณคดีนั้น ก็เกิดจากความรูส กึ นึกคิดของมนุษย ซึง่ จะเปนปจจัยสำ�คัญทีช่ ว ยทำ�ใหเขาใจความเปน มนุษยผาน​ภาษา​ที่​ใชในการ​สื่อสารโดยศึกษาผานตัวละครในวรรณคดีไดดีมากยิ่งขึ้น อีกทั้งการศึกษาภาษาในวรรณคดีเชิงภาษาศาสตรนั้น ไมไดเพียงแตใหองคความรู เพียงเรื่องภาษาเทานั้น อาจจะทำ�ใหเราเห็นถึงลักษณะบางประการในดานความ สัมพันธของภาษาที่ชวยสะทอนสังคมไดอีกลักษณะหนึ่ง นอกจากนี้การศึกษาภาษา โดยใชทฤษฎีทางภาษาศาสตรเขามาเปนแนวทางในการศึกษาภาษา​ใน​วรรณคดี ย อ มจะเป น จะเป น การช ว ยสร า งองค ค วามรู  เ กี่ ย วกั บ ภาษาศาสตร กั บ วรรณคดี โดยเป น การช ว ยเสริ ม สร า งความสั ม พั น ธ ข ององค ค วามรู  แ บบบู ร ณาการระหว า ง ภาษาศาสตรและวรรณคดีไทยใหเกิดขึ้นอยางลุมลึกและกวางขวางตอไป 



211




วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

บรรณนานุกรม ภาษาไทย กรมศิลปากร. (2527). จารึกสมัยสุโขทัย. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. ________. (2549). บทละครเรื่องรามเกียรติ์ พระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช. เลมที่ 1-4. พิมพครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ: ศิลปาบรรณาคาร. กุสุมา รักษมณี. (2547). สันสกฤตวิจารณา. กรุงเทพฯ: แมคำ�ผาง. ทรงธรรม อินทจักร. (2550). แนวคิดพื้นฐานดานวัจนปฏิบัติศาสตร. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. รื่นฤทัย สัจจพันธุ. (2554). นามานุกรมรามเกียรติ์ ฉบับปรับปรุงใหม. กรุงเทพฯ: ส.เอเชียเพรส. วิไลวรรณ ขนิษฐานันท. (2527). ขอสังเกตบางประการในการแสดงความสุภาพ ในภาษาไทยกรุงเทพฯ. รายงานผลการสัมมนาภาษากับสังคมไทย. สำ�นัก เลขาธิการนายกรัฐมนตรี. ศรีจันทร วิชาตรง. (2540). “การใชภาษาเพื่อแสดงความสุภาพของสังคมไทย.” ใน กาญจนาภา, 157-169. กรุงเทพฯ: อมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง. สมชาย สำ�เนียงงาม. (2543-2544). การเลือกใชคำ�สรรพนามในภาษาไทยกับแนวคิด เรื่องความสุภาพของบราวนและเลวินสัน. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร 23 (2) : 220-243. สมปราชญ อัมมะพันธ. (2536). ประเพณีและพิธกี รรมในวรรณคดีไทย. กรุงเทพฯ: โอ. เอส. พริ้นติ้งเฮาส. สายวรุณ นอยนิมิตร. (2548). “ปฏิวาทะในอิเหนา.” ใน ภาษาจารึก 10, 115-132. กรุงเทพฯ: โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. สุจริตลักษณ ดีผดุง. (2552). วัจนปฏิบัติศาสตรเบื้องตน. พิมพครั้งที่ 2. นคร​ปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัย​มหิดล. เสาวณิต จุลวงศ. (2536). โครงสรางของสังคมในรามเกียรติ์ ฉบับพระราช นิพนธในรัชกาลที่ 1. วิทยานิพนธปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชา ภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. อุมาภรณ สังขมาน. (2554). การใชภาษาสุภาพในภาษาไทย: วัจนกรรมขอรอง ปฏิเสธ และไมเห็นดวย. วารสารภาษาและวัฒนธรรม 20 (3) : 43-54.

212


วัจนกรรมเกี่ยวกับความสุภาพและแนวคิดเรื่องหนากับการคุกคามหนาของตัวละครในรามเกียรติ์ ​ศิวดล วราเอกศิริ

ภาษาอังกฤษ Penelope, Brown, and Levinson, Stephen C. (1978). Universals in language usage: politeness phenomena. In Questions and Politeness: Strategies in Social Interaction. Ed. by Esther N. Goody. Cambridge: Cambridge University Press. _________. (1987). Politeness: Some Universals in Language Usage. Cambridge: Cambridge University Press.

213



ความหมายและอัตลักษณของจีนฮากกา Meaning and Identity of Hakka ศิริเพ็ญ อึ้งสิทธิพูนพร​1 Siripen Ungsitipoonporn บทคัดยอ คนไทยเชื้อสายจีนในประเทศไทยมีหลากหลาย เชน จีนแตจิ๋ว จีนฮกเกี้ยน จีนใหหนำ� จีนแคะ จีนกวางตุง เปนตน แตหากพูดถึง “จีนฮากกา” คนสวนใหญจะไมรจู กั ตองบอกวา “จีนแคะ” จะทราบทันที จากหนังสือของอาจารยวรศักดิ์ “คือ ฮากกา คือ จีนแคะ” ตีพิมพครั้งแรกในป 2546 เปนตนมา ไดทำ�ใหคนสวนหนึ่งรูจักคำ�วา “ฮากกา” มากขึน้ โดยเฉพาะคนทีม่ เี ชือ้ สายฮากกาหรือจีนแคะจำ�นวนหนึง่ ไดตนื่ ตัว สนใจคนควา หาประวัตบิ รรพบุรษุ ของตนเอง ประกอบกับกระแสการสงเสริมใหด�ำ รงรักษาความหลาก หลายของภาษาและวัฒนธรรมของกลุมชาติพันธุตางๆ ในโลก แตกระนั้นก็ตามยังมีคน อีกจำ�นวนมากที่ไมรูจัก “จีนฮากกา” เนื่องจากไมมีงานเขียนที่เกี่ยวกับจีนฮากกาอยาง ตอเนื่อง บทความนีม้ จี ดุ มุง หมายเพือ่ ถายทอดความรูเ กีย่ วกับ “จีนฮากกา” ใหเปนทีร่ จู กั ในวงกวางมากขึน้ ไมวา จะเปนเรือ่ ง ความหมายของคำ�วา “ฮากกา” ภาษาและสำ�เนียงถิน่ ตางๆ ของฮากกา อัตลักษณ การกระจายตัวของชาวไทยเชือ้ สายฮากกาในประเทศไทย การเคลื่อนไหวของลูกหลานในปจจุบัน รวมถึงอนาคตของฮากกาในประเทศไทยดวย คำ�สำ�คัญ: 1. ฮากกา. 2. สำ�เนียงถิ่นฮากกา. 3. อัตลักษณฮากกา.

__________________ 1 อาจารยประจำ�สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล จังหวัด​นคร​ปฐม วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปที่ 33(1) : 215-240, 2556


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

Abstract There are numerous Chinese dialects used in Thailand such as, Taejiw, Hokkien, Hainan, Kheʔ, Kuangtung, etc. But when we talk about “Hakka”, most people are unfamiliar with the term. We have to call it “ciin kheʔ”, and then everyone will immediately know what we are talking about. The book “khɨɨ hakka khɨɨ ciin kheʔ”, wriiten by Vorasakdi, Mahatdhanobol and first published in 2003, introduced the word “Hakka” to many people especially those with Hakka ancestry. Some became aware of and interested in ancestral roots at the same time when the trend towards supporting language diversity in the world was being actively promoted. Many people, however, do not know about the “Hakka people” because no in depth work has been written about Hakka. The objective of this paper is to spread the knowledge of “Hakka” to a wider audience. Many interesting issues include the meaning of “Hakka”, the Hakka dialect and sub-dialects, Hakka identity, the distribution of Hakka people in Thailand, the movement of Hakka descendants, and the future of Hakka in Thailand Keywords: 1. Hakka. 2. Hakka dialects. 3. Hakka identity.

216


ความหมายและอัตลักษณของจีนฮากกา ศิริเพ็ญ อึ้งสิทธิพูนพร​

บทนำ� เมือ่ เอยถึงจีนฮากกา หรือชาวไทยเชือ้ สายจีนฮากกา เชือ่ วานอยคนนักทีจ่ ะรูจ กั จึงมักมีคำ�ถามตอมาวา จีนฮากกาเปนใคร มาจากไหน ซึ่งตางกับจีนแตจิ๋ว เนื่องจากใน ประเทศไทยมีชาวไทยเชื้อสายจีนแตจิ๋วมากที่สุด และมักจะคุนเคยกับภาษาจีนแตจิ๋ว ในเทศกาลตรุษจีนบอยๆ วา “ซินเจียยูอี่ ซินนี้ฮวดไช” แตโดยทั่วไปแลวจะเรียกรวมวา “คนจีน” โดยไมไดแยกแยะวาเปนจีนถิ่นไหน ประเทศจีนมีประชากรมากที่สุดในโลก และมีพื้นที่กวางใหญ จึงเปนเรื่องปกติที่ จะมีภาษาพูดถิ่นตางๆ มากมาย ตั้งแตภาษาถิ่นที่ใกลเคียงกัน สื่อสารกันพอรูเรื่อง ไป จนถึงตางกันมากจนไมสามารถสื่อสารกันได นักภาษาศาสตรหลายทาน เชน หยวน (Yuan) ทิง (Ting) หวง (Huang) แรมเซย (Ramsey) นอรแมน (Norman) และ เหลา (Lau) ไดแบงภาษาจีนออกเปน 7 กลุมใหญ ไดแก จีนถิ่นเหนือหรือแมนดาริน (Northern or Mandarin) หวู (Wú吴) เซียง (Xiāng 湘) กั้น (Gàn贛) หมิ่น (Mǐn闽) เคอเจียหรือฮากกา (Kèjiā 客家 or Hàkkā) และ เยวหรือแคนโทนิส (Yuè粤 or Cantonese) (Yan, 2006 : 17-18) ทั้ง 7 กลุมใหญนี้ ไมสามารถสือ่ สารกันเขาใจไดเลย หากไมใชภาษาเขียนทีเ่ ปนระบบเดียวกันคือจีนกลาง มาตรฐาน แตดวยเหตุผลทางการเมืองของจีนที่ตองการใหคนในชาติเปนหนึ่งเดียวกัน จึงใหเรียกเปนภาษาจีนถิ่น (Chinese dialect) แทนการเรียกวาภาษา (Language) ซึ่งหากใชเกณฑทางภาษาศาสตรในการแบงกลุมแลว ควรเรียกแตละกลุมวาภาษา (Language) ประเด็นนี้ก็ยังเปนที่ถกเถียงกันของนักภาษาศาสตรตระกูลอื่นๆ ภาษาจีนถิ่นแตละกลุมดังกลาวยังมีสำ�เนียงถิ่นยอย (Sub-dialect) อีกมากมาย เชน ภาษาหมิ่นตามที่ Branner (1999 : 43) แบงกลุมยอยไดแก หมิ่นเหนือ (Mǐn běi 闽北) หมิ่นกลาง (Mǐn zhōng闽中) หมิ่นตะวันออก (Mǐn dōng闽东) หมิ่นใต (Mǐn nán闽南) ซึ่งภาษาแตจิ๋ว ฮกเกี้ยน ใหหนำ�2 ลวนอยูในกลุมหมิ่นใตดวยกันทั้งสิ้น เชน เดียวกับภาษาฮากกา ก็มีภาษาถิ่นยอยตางๆ ตามบริเวณที่อยูอาศัยในประเทศจีน เชน ถิน่ หมอยเยน3 หรือเหมยเซีย่ น (Méixiàn梅县) ไทป4ู หรือตาปู (Dàbū大埔) หินแหนน5 __________________ 2 ในบทความนี้จะเขียน ใหหนำ� ตามชื่อสมาคมใหหนำ�แหงประเทศไทย ซึ่งมีการจดทะเบียน อยางถูกตองตามกฎหมาย “ใหหนำ�” มาจากภาษาจีนวา 海南 ความหมายแปลตรงตัวคือ “ทะเลทาง ตอนใต” 3 ออกเสียงตามสำ�เนียงฮากกา 4 ออกเสียงตามสำ�เนียงฮากกา 5 ออกเสียงตามสำ�เนียงฮากกา

217


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

หรือซิงหนิง (Xīngníng兴宁) ฮงสุน6 หรือเฟงซุน (Fēngshùn丰顺) เกียดหยอง7 หรือ เจียหยาง (Jiāyáng揭阳) เปนตน จีนฮากกาเปนใคร เมื่อพูดถึงจีนฮากกา มักจะมีคำ�ถามตามมาบอยๆ วา “ฮากกาเปนใคร มาจาก ไหน” ซึ่งตางจากจีนถิ่นอื่นๆ ที่ชื่อก็บอกอยูแลววา มาจากไหน เชน จีนกวางตุง จีนฮกเกี้ยน จีนใหหนำ� จีนยูนนาน (รูจักกันทั่วไปวาจีนฮอ) แนนอนวาชื่อนั้นบงบอก สถานที่อยูในประเทศจีนเปนมณฑลไป ไดแก มณฑลกวางตุง ฮกเกี้ยน เกาะใหหนำ� และมณฑลยูนนาน ในประเทศจีนตามลำ�ดับ แตมเี พียงจีนฮากกาเทานัน้ ทีช่ อื่ ไมบง บอก วามาจากบริเวณใดของประเทศจีน คำ�วา “ฮากกา” หรือ “ฮักกา8” ในภาษากวางตุง (Cantonese) หมายถึง “อาคันตุกะ หรือแขกผูม าเยือน” (Norman, 1988 : 221) ซึง่ ตรงกับภาษาจีนกลางวา “เคอเจีย (Kèjiā)” ตรงกับอักษรจีนวา 客家 สวนคนฮากกาเรียกตัวเองวา “ฮากกาหงิน หรือฮากหงิน” (Hashimoto, 1973 : 1) จีนฮากกาจึงเปนที่สนใจของนักวิชาการในการศึกษาคนควาวาเปนใคร มาจาก ไหน ทำ�ไมจึงไดชื่อวาฮากกา ที่มีความหมายวา “อาคันตุกะ” นอกจากนี้ภาษาฮากกา ยังทิ้งรองรอยความเกาแกของภาษาจีนยุคกลางใหเห็นอีกดวย ซึ่งหมายความวาภาษา ฮากกายังหลงเหลือความเกาแกของวัฒนธรรมดวย นักวิชาการหลายทาน เชน Luo (1933), Yuan (1962), Hashimoto (1973), Lau (1999) (Yan, 2006 : 166) เห็นพองตองกันและสรุปวา ถิ่นฐานเดิมของชาวฮากกา อยูท างภาคเหนือของจีน แลวมีการอพยพลงมาทางใตเปนละลอกคลืน่ รวม 5 ครัง้ จนมา อยูบริเวณที่ปจจุบันคือมณฑลกวางตุง ฮกเกี้ยน และเจียงซีมากที่สุด นอกนั้นก็ยังมีที่ มณฑลอื่นๆ บางสวนเชน กวางสี หูหนาน เสฉวน และไตหวัน ในการอพยพไปแตละครั้ง ชาวฮากกาจะไปถึงทีหลังกวาจีนถิ่นอื่นๆ จึงถูกคน ที่อยูกอนในพื้นที่นั้นขนานนามวา “แขกผูมาเยือน” ตัวอยางเชน ในมณฑลกวางตุงจะ มีผูพูดภาษาจีนกวางตุงเปนสวนใหญ และอาศัยอยูกอนแลว เมื่อชาวฮากกาอพยพมา ถึงบริเวณดังกลาว ชาวจีนกวางตุง จึงเรียกวา “ฮากกา” ซึง่ ในภาษากวางตุง มีความหมาย __________________ 6 ออกเสียงตามสำ�เนียงฮากกา 7 ออกเสียงตามสำ�เนียงฮากกา 8 เนื่องจากภาษาฮากกาไมมีความแตกตางระหวางสระเสียงสั้น-ยาว จึงนิยมเขียน “ฮากกา” ตามการจดทะเบียนของสมาคมฮากกาแหงประเทศไทย เพื่อใหเปนมาตรฐานเดียวกัน

218


ความหมายและอัตลักษณของจีนฮากกา ศิริเพ็ญ อึ้งสิทธิพูนพร​

วา “ครอบครัวของผูมาเยือน” ปจจุบนั เมืองเหมยโจวไดรบั การขนานนามใหเปนศูนยกลางของจีนฮากกา หรือ ทีเ่ รียกวาเปนเมืองหลวงของฮากกานัน่ เอง นักภาษาศาสตรจงึ ยกใหภาษาถิน่ เหมยเซีย่ น เปนมาตรฐานของภาษาฮากกา (Norman, 1988; Hashimoto, 1973; Lau, 2000; Yan, 2006; Ungsitipoonporn, 2007) สวนในประเทศไทย คนทัว่ ไปรูจ กั แตจนี แคะ ซึง่ มาจากคนแตจวิ๋ ทีเ่ รียกขานคน ฮากกาวา “แคะนั้ง” เนื่องจากจีนฮากกาสวนหนึ่ง (กลุมที่ถูกคนแตจิ๋วเรียกวาปนซันขัก) อยูปะปนกับจีนแตจิ๋วมาตลอด ทำ�ใหคนฮากกาเองก็ยอมรับไปโดยปริยาย แตกลุม ปนซันขักนั้นเรียกตัวเองวา ขักหงิน “ขัก” มาจากคำ�วา “เคอ 客” (ภาษาจีนกลาง) หรือ แคะ (ภาษาแตจวิ๋ ) แปลวา “แขกหรือผูม าเยือน” สวนคำ�วา “หงิน” มาจากคำ�วา “เหยิน 人” (ภาษาจีนกลาง) หรือ นั้ง (ภาษาแตจิ๋ว) แปลวา “คน” ในขณะที่กลุมฮากกาเรียกตัวเอง วา “ฮากหงิน หรือ ฮักหงิน” (เสียง ค /kh/ กับ ฮ /h/ เปนการแปรเสียงของภาษาถิ่นยอย ของฮากกา) วรศักดิ์ มหัธโนบล (2551 : 15) กลาววา กลุมฮากกาจะไมชอบใหเรียกวา “จีนแคะ” เพราะมีความเขาใจผิดของคนบางคน หรืออาจจะเปนความไมรูก็เปนได ทำ�ใหเรียกผิดเพีย้ นไปเปน “จีนแคระ” บาง ดังทีม่ รี า นกวยเตีย๋ วทีม่ กั เขียนวา “กวยเตีย๋ ว จีนแคระ” ซึ่งทำ�ใหสื่อความหมายผิด และคนเจาของภาษาก็เกิดความไมพอใจ ผูเขียน จึงตองการใหผอู า นเขาใจและเรียกไดถกู ตอง เพือ่ ไมเปนการดูหมิน่ หรือลอเลียนเจาของ ภาษา อยางไรก็ตามกลุมปนซันขักบางคนก็ยังมีความเขาใจผิด และไมยอมรับคำ�วา “ฮากกา” ในการเรียกชื่อกลุมตนเอง ยังคงเรียก “ปนซันขัก” ตามเดิม และเรียกตัวเอง วา “ขักหงิน” ซึ่งเปนความเชื่อสวนบุคคล เพราะบุคคลเหลานั้นพยายามหาขอแตกตาง ระหวาง กลุมฮากกา (แคะลึก) และกลุมปนซันขัก (แคะตื้น) ดังจะไดอธิบายเพิ่มใน หัวขอ สำ�เนียงถิ่นของจีนฮากกา ตอไป “สมาคมปนซันขัก” มีอยูที่เดียวในประเทศไทย คือที่หาดใหญ จะดวยเหตุผล ใดก็ตาม ผูเขียนไมตองการใหเกิดความขัดแยงหรือแตกแยกระหวางกลุมที่เรียก ตัวเองวา “ปนซันขัก” กับกลุมที่เรียกตัวเองวา “ฮากกา” เพราะทั้งสองกลุมนี้ก็คืออยู ในกลุมชาติพันธุเดียวกันคือ “ฮากกา”นั่นเอง ขณะที่สมาคมฮากกาเองมีสมาคมใหญอยู ที่เยาวราชคือ สมาคมฮากกาแหงประเทศไทย (ซึ่งเดิมใชชื่อวาสมาคมจีนแคะ) และ ปจจุบันมีสาขาอยูในจังหวัดตางๆ เกือบทุกจังหวัด เชน ฮากกาสระบุรี ฮากกาเชียงใหม ฮากกาหาดใหญ ฮากกาขอนแกน ฮากกาอุดรธานี ฮากกาบุรรี มั ย ฮากการาชบุรี ฮากกา เพชรบุรี ฮากกาปากชอง ฮากกานครสวรรค ฯลฯ

219


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

สำ�เนียงถิ่นของจีนฮากกา การใชเกณฑแบงสำ�เนียงถิน่ ตามแนวภาษาศาสตร ฮาชิโมโต (Hashimoto, 1973 : 410-421) ใชเกณฑเสียงวรรณยุกตในการแบง สามารถแบงออกไดเปน 3 กลุม คือ (1) กลุม ทีม่ วี รรณยุกต 6 เสียง เรียกกลุม นีว้ า Ng-Yan tones เชน ถิน่ เหมยเซีย่ น (2) กลุม ทีม่ วี รรณยุกต 7 เสียง เรียกกลุม นีว้ า Liuk-Hoi tones พบในบางถิน่ ของ ไตหวัน (3) กลุมที่มีวรรณยุกต 5 เสียง เรียกกลุมนี้วา Ngiau-Phin tones พบในบางถิ่น ของไตหวัน สวนหลัว Luo (Yan, 2006 : 169) ไดสรุปภาษาฮากกาถิ่นในไตหวันเปน 3 กลุม โดยมีชื่อเรียกดังนี้ (1) กลุม ซือ่ เซีย่ น (Sìxiàn四县group) ผูพ ดู ภาษาถิน่ นีเ้ ปนลูกหลานฮากกาทีอ่ ยพ ยมาจากอำ�เภอซิงหนิง (Xīngníng兴宁) หวูฮ วา (Wǔhuá五华) ผิงหยวน (Píngyuǎn 平远) เจียวหลิง (Jiāolíng蕉岭) ของมณฑลกวางตุง (2) กลุมไหลู (Hǎilù海陆group) ผูพูดภาษาถิ่นนี้เปนลูกหลานฮากกาที่อพยพ มาจากอำ�เภอไหเฟง (Hǎifēng海丰) และลูเฟง (Lùfēng陆丰) ของมณฑลกวางตุง (3) กลุมเยราผิง (Ráopíng饶平 group) ผูพูดภาษาถิ่นนี้เปนลูกหลานฮากกาที่ อพยพมาจากอำ�เภอเยราผิง (Ráopíng饶平) ของมณฑลกวางตุง สวนในประเทศไทยสามารถแบงออกเปน 2 กลุมใหญ คือ กลุมฮากกา (รูจักกัน ทั่วไปวาแคะลึก) และกลุมปนซันขัก (รูจักกันทั่วไปวาแคะตื้น) ซึ่งเปนการแบงตาม ลักษณะของภาษาทีพ่ ดู ทีร่ บั รูไ ดโดยเจาของภาษาเอง สองกลุม ใหญนจี้ ะมีความแตกตาง กันบางในดานภาษาและวัฒนธรรม ซึ่งทั้งสองกลุมนี้มาจากพื้นที่อำ�เภอที่อพยพมาจาก มณฑลกวางตุง ประเทศจีน (Ungsitipoonporn, 2007 : 4 และ วรศักดิ์ มหัธโนบล, 2551 : 63) ดังนี้ กลุมฮากกา (แคะลึก) ไดแก สำ�เนียงถิ่นเหมยโจว梅州 ตาปู大埔 ซิงหนิง 兴宁 เจี ย วหลิ ง 蕉岭 ผิ ง หย ว น 平远 หวู  ฮ ว า 五华 ฮุ  ย โจว 惠州 เป น ต น กลุ  ม นี้ ไ ด ชื่อวาแคะลึก เนื่องจากอยูเฉพาะกลุมคนแคะหรือฮากกาบนพื้นที่สูงหรือลึกเขาไป บนภูเขาในมณฑลกวางตุง ของจีน ลักษณะของภาษาไดรบั การยอมรับจากเจาของภาษา วาใกลเคียงกับภาษาจีนกลางปจจุบันมาก ชาวฮากกากลุมนี้จะไดเปรียบหากเรียน ภาษาจีนกลาง เพราะภาษาจะใกลเคียงกับภาษาของตน ปจจุบันชาวฮากกาพยายาม รณรงคใหคนทั่วไปรูจักคนฮากกามากขึ้น จึงนิยมใชคำ�วาจีนฮากกามากกวาจีนแคะ แมแตสมาคมฮากกาแหงประเทศไทย ก็ไดเปลีย่ นชือ่ จากเดิมทีใ่ ชวา สมาคมจีนแคะ โดย นายเต็กไหง (ผูจัดการสมาคมที่เปนติดตอกันมานานถึง 26 ป) ใหเหตุผลวา

220


ความหมายและอัตลักษณของจีนฮากกา ศิริเพ็ญ อึ้งสิทธิพูนพร​

“คำ�วาจีนแคะนี่ รูจักกันแคเมืองไทย ในโลกนี้ที่ไหนไหนก็เรียกวาฮากกากัน ทัง้ นัน้ แมฝรัง่ ก็เรียกวาฮากกา ก็เลยเปลีย่ นชือ่ ใหเขาใจกันเวลาทำ�กิจกรรมอะไร” (ธีรวิทย สวัสดิบุตร 2550) โดยกอนที่จะเปลี่ยนมาเปนสมาคมฮากกาแหงประเทศไทยนั้น ไดเปลี่ยนชื่อ เปน”สมาคมหัวเฉียวจีนแคะแหงประเทศไทย” ป พ.ศ. 2510 (ค.ศ. 1967) กอน แลว ในวันที่ 17 กุมภาพันธ 2515 (ค.ศ. 1972) ที่ประชุมสมาชิกประจำ�ป ไดมีมติใหเปลี่ยน ชื่อเปน “สมาคมฮากกาแหงประเทศไทย” โดยใชชื่อยอวา “เคอจง” (สมาคมฮากกาแหง ประเทศไทย 2550) กลุมปนซันขัก (หรือแคะตื้น) ไดแก สำ�เนียงถิ่นเฟงซุน丰顺เจียหยาง揭阳 และ เจียซี揭西 กลุมนี้หากแปลความหมายตามตัวอักษร จะหมายถึงครึ่งภูเขา “ปนซัน” คือ ครึ่งภูเขา อาจารยวรศักดิ์ มหัธโนบล (2551: 63) ไดอธิบายวา “ไมใชสำ�เนียงฮากกา รอยเปอรเซ็นต เพราะพวกแคะตื้นจะอาศัยอยูบริเวณเดียวกับชาวจีนแตจิ๋ว ในเขต เฉาโจวหรือซัวเถาในมณฑลกวางตุงของจีน ทำ�ใหจีนแคะกลุมนี้มีการปนภาษาของ คนแตจวิ๋ มาดวยจนทำ�ใหค�ำ ศัพทบางคำ�ภาษาเดิมของตนเปลีย่ นไปเพราะไดรบั อิทธิพล ของชาวแตจิ๋ว” อยางไรก็ตามแคะตื้นก็ยังถูกจัดใหอยูในกลุมภาษาฮากกาอีกสำ�เนียง หนึ่งดวยเชนกัน ดังเชน ในบทความของ林论论 และ李雪媚 (林论论 and 李雪媚 2010) กลาวไวในบทนำ�วา ปนซันขักเปนจีนฮากกากลุมหนึ่ง ซึ่งพูดภาษาถิ่นยอยของ ฮากกา เปนกลุมที่อพยพมาอยูบริเวณอำ�เภอเฟงซุนในปจจุบันกอนฮากกากลุมอื่นๆ โดยอยูปะปนกับชาวเฉาซาน (แตจิ๋ว) เปนเวลานาน จึงมีการใชภาษาปนกัน หรือไดรับ อิทธิพลจากภาษาแตจิ๋ว ภาษาที่ใชจึงตางไปจากกลุมฮากกาถิ่นอื่นๆ บาง นอกจากนี้ 官秀岩 (2013); 杨达祥 (2010); และเว็บไซตจีน http://baike.soso.com/v76579.htm ก็อธิบายความหมายของ “ปนซันขัก 半山客” เปนในทำ�นองเดียวกันวา เปนภาษาถิ่น หนึง่ ของภาษาฮากกา แตดว ยเหตุผลทางสภาพภูมศิ าสตรและการตัง้ ถิน่ ฐานปนกับชาว แตจวิ๋ (เฉาโจว) จึงมีการปะปนกันของภาษาและวัฒนธรรมระหวางฮากกากับแตจวิ๋ ทำ�ให ภาษามีความตางจากภาษาฮากกาถิ่นอื่นๆ บาง อยางไรก็ตาม หากจัดแบงภาษาถิ่นในเชิงพื้นที่ สามารถแบงภาษาฮากกาใน ประเทศไทยเทาทีพ่ บภาษาถิน่ ยอยตางๆ ตามชือ่ อำ�เภอในมณฑลกวางตุง ของประเทศจีน ไดดังนี้

221


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

ภาษาฮากกา เหมยโจว ต้าปู 梅州

大埔

ซิงหนิง

เจียวหลิง

ผิงหย่วน หวู่ฮว๋า

ฮุ่ยโจว เฟิงซุ่น เจียหยาง เจียซี

兴宁

蕉岭

平远

惠州 丰顺

五华

揭阳

揭西

แผนภูมิที่ 1: การแบงภาษาถิ่นยอยฮากกาในประเทศไทยในเชิงภูมิศาสตร​

จากแผนภูมิขางตนภาษาฮากกาแตละถิ่นยอยอาจจะมีความแตกตางกันบาง อาจจะเปนความแตกตางของเสียงสระ หรือเสียงวรรณยุกตแตสามารถเขาใจกันไดดี การวิเคราะหความแตกตางระหวางกลุมแคะลึก กับกลุมแคะตื้น ในดานภาษา และวัฒนธรรม จากการศึกษาภาษาและวัฒนธรรมฮากกาของผูเขียนเปนเวลาประมาณ 10 ปประกอบกับการคลุกคลีกับชาวฮากกาทั้งสองกลุมดังกลาว อีกทั้งผูเขียนเองก็มีเชื้อ สายฮากกาถิ่นเกียดหยอง (เจียหยาง) ซึ่งอยูในกลุมแคะตื้นนั้น จะขอยกตัวอยางความ แตกตางระหวางภาษาและวัฒนธรรมของทั้งสองกลุมใหเห็น ดังนี้ ตัวอยางคำ�ศัพทและคำ�ทักทาย (ที่ตางกัน) กลุมฮากกา (แคะลึก) กลุมปนซันขัก (แคะตื้น) 9 10 กินขาว ซึดฟน (sɨ́t fán) ซิดผอน (sít phɔ̀n) ไปไหน ฮี้ไน (hí náj) คี่หลี่วอง (khî lì wɔ́ŋ) ขักวอย (khàk wɔ́j) ภาษาฮากกา ฮักฟา (hàk fá) เครื่องบิน ฟกี (fīkī) ปุยกี (pūjkī) ลอกสุย (lɔ́k sùj) ฝนตก ลอกหยี่ (lɔ́k jì) ทำ�งาน จอกุง (tsɔ́ kūŋ) จอซังเส (tsɔ́ sāŋsè) __________________ 9 การใชอกั ษรไทยกำ�กับการออกเสียงภาษาฮากกา เพือ่ ใหผอู า นสามารถออกเสียงไดใกลเคียง เจาของภาษามากทีส่ ดุ ซึง่ เปนการถายทอดเสียงตามระบบของผูเ ขียนเอง และยังไมไดมกี ารตกลงใชกนั อยางเปนมาตรฐาน 10 ใชสญ ั ญลักษณ Phonetics แทนการออกเสียงตามการศึกษาของ Ungsitipoonporn Siripen (2007) ซึ่งภาษาฮากกามีเสียงวรรณยุกตทั้งหมด 6 เสียง ไดแก วรรณยุกตเสียง 1 กลางระดับ (33) วรรณยุกตเสียง 2 ต่ำ�ตก (21) วรรณยุกตเสียง 3 กลางตก (31) วรรณยุกตเสียง 4 กลาง-สูงระดับ (44) วรรณยุกตเสียง 5 กลางตก (32) วรรณยุกตเสียง 6 สูงระดับ (4 หรือ 5) ซึ่งวรรณยุกตเสียง 5 และ 6 เกิดในคำ�พยางคตาย

222


ความหมายและอัตลักษณของจีนฮากกา ศิริเพ็ญ อึ้งสิทธิพูนพร​

ตัวอยางขางตนเปนเพียงความแตกตางที่เห็นไดชัดจากคำ�ทักทาย หรือ คำ�ศัพทพื้นฐาน แตคำ�ศัพทสวนใหญก็ใกลเคียงกัน หรือเหมือนกัน เพียงแตตางกันที่ เสียงพยัญชนะตน หรือเสียงวรรณยุกตเทานั้น ตัวอยางคำ�ศัพท (ที่เหมือนกันหรือตางกันเพียงเล็กนอย) บาน หวุกควา (wùk kʰuā) หวุกคา (wùk kʰā) เสื้อผา ซัมฟู (sām fú) ซัมคู (sām khû) ทองฟา เทียน (tʰiēn) เที้ยน (tʰién) พระอาทิตย หงิดเทว (ŋìt tʰèw) เงียดเทว (ŋiét tʰèw) สรรพนามบุรุษที่ 1 ไหง (ŋàj) ไหง (ŋǎj) ครู อาจารย ซินซัง (sīn sāŋ) ซินซั๊ง (sīn sáŋ) h ชงคู (tshòŋ khû) กางเกงขายาว ชงฟู (ts òŋ fú) ตัวอยางขางตนคำ�ศัพทของทั้งสองกลุมมีความคลายคลึงกัน มีเพียงเล็กนอยที่ ตางกัน ซึ่งเปนการแปรเสียงของภาษาถิ่นยอย ถือเปนเรื่องปกติ อยางไรก็ตามยังไมมี การศึกษาเปรียบเทียบความแตกตางของระบบเสียงระหวางสองกลุมนี้ เนื่องจากเปน การยากที่จะหาตัวแทนภาษาถิ่นของแตละกลุม ดังที่กลาวไปแลววา แตละถิ่นยอย มีความแตกตางกันไป ซึ่งหากจะศึกษาเปรียบเทียบคงตองระบุไปใหชัดเจนวาจะ เปรียบเทียบถิ่นใดกับถิ่นใด แตคำ�ที่ยกตัวอยางมานี้เปนเพียงภาพรวมใหเห็นความ คลายคลึงและความแตกตางของทั้งสองกลุม ในเรื่องวัฒนธรรม ดังที่กลาวไปขางตน วากลุมปนซันขัก ไดรับอิทธิพลจากจีน แตจวิ๋ จึงทำ�ใหกลุม ปน ซันขักมีวฒ ั นธรรมคลายจีนแตจวิ๋ หลายเรือ่ ง ตัวอยางประเพณีใน รอบป กลุม ปน ซันขักจะมีมากกวากลุม ฮากกา โดยกลุม ปน ซันขักยังคงรักษาประเพณีใน รอบปตามจีนแตจิ๋ว ซึ่งมีมากกวากลุมฮากกา นอกจากนี้การนับถือเทพเจา ที่ตางกันคอนขางชัดเจนคือ กลุมปนซันขัก สวน ใหญนับถือเจาแมกวนอิม และจะไมรับประทานเนื้อวัว สวนกลุมฮากกานับถือเจาพอ กวนอูและสวนใหญรับประทานเนื้อสัตวทุกชนิด ความแตกตางทางประเพณีทสี่ �ำ คัญอีกอยางหนึง่ คือ “ประเพณีกงเต็ก” ในพิธศี พ โดยกลุมฮากกาจะมีแมชีเปนผูทำ�พิธีกงเต็ก ซึ่งถือเปนเอกลักษณที่โดดเดนของชาวจีน ฮากกา ปจจุบนั ยังเปนทีร่ จู กั กันดีคอื ที่ วัดคลองแงะ จ.สงขลา แตกลุม ปน ซันขัก สวนใหญ จะมีผูทำ�พิธีเปนพระจีน ซึ่งเหมือนกับจีนแตจิ๋ว (วีรพนธ ศุภพิสิฐกุล, 2554) เพลงพืน้ บานของกลุม ฮากกาทีร่ จู กั กันดีวา เปนเอกลักษณของจีนฮากกาคือ เพลง ซันเกอ และเพลงกลอมลูกที่ชื่อวา “เงี๊ยดกวงกวง” ก็ไมเปนที่รูจักของกลุมปนซันขัก ซึ่งเปนสิ่งที่แตกตางอีกเชนกัน

223


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

การประกอบอาชีพ ก็ตางกัน กลุมปนซันขัก สวนใหญจะประกอบอาชีพ เกษตรกรรม เนือ่ งจากอาชีพเดิมทีป่ ระเทศจีนเปนเกษตรกร เมือ่ อพยพมาอยูป ระเทศไทย จึงหาพื้นที่ทำ�การเกษตร เชนบริเวณจังหวัดกาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี ทำ�ไรออยหรือ สวนผักเปนสวนใหญ สวนกลุม ฮากกาจะเปนพวกชางฝมอื เชนชางกลึง ชางตัดเสือ้ ชาง ทำ�รองเทา เครื่องหนัง หรือนักธุรกิจเปนสวนใหญ เชนในภาคใตของไทยและกรุงเทพฯ เปนตน อยางไรก็ตาม ประเด็นความแตกตางระหวางกลุม “ฮากกา” กับ “ปนซันขัก” ยังเปนประเด็นที่นาสนใจศึกษาวิจัยตอไป ไมวาจะเปนในเรื่องภาษา หรือวัฒนธรรม ตามขอมูลที่ยกมาขางตน เปนเพียงสวนหนึ่งจากประสบการณ และการวิเคราะหของ ผูเขียน สวนการวิจัยในเชิงวิชาการอยางจริงจังยังนอยอยู หากศึกษาใหชัดเจนมากขึ้น จะทำ�ใหคนสองกลุมนี้มีความเขาใจและยอมรับกันมากขึ้น อัตลักษณของจีนฮากกา มีนักวิชาการหลายๆ ทานที่พยายามใหแนวคิดหรือใหความหมายของคำ�วา อัตลักษณ (identity) ไวตา งๆ กัน ซึง่ สามารถสรุปไดวา อัตลักษณ หมายถึงความเหมือน และเปนลักษณะเฉพาะที่แตกตางออกไป Richard Jenkins, Peter Berger และ Thomas Luckmann (ประสทธิ์ ลีปรีชา, 2547 : 32-33) มีความเห็นสอดคลองกันวา อัตลักษณไมใชสิ่งที่มีอยูแลวในตัวมันเอง หรือกำ�เนิดขึ้นมาพรอมกับคน แตเปนสิ่งที่ ถู ก สร า งขึ้ น และมี ลั ก ษณะความเป น พลวั ต ตลอดเวลา หมายถึ ง ถู ก สร า งขึ้ น โดย กระบวนการทางสังคม เมือ่ ตกผลึกแลวอาจมีความคงที่ ปรับเปลีย่ น หรือถูกเปลีย่ นแปลง รูปแบบไป ทัง้ นีข้ นึ้ อยูก บั ความสัมพันธทางสัมคมเปนหลัก หรือกลาวอีกนัยหนึง่ อัตลักษณ เปนเรื่องของความเขาใจและรับรู วาเราเปนใครและคนอื่นเปนใคร สามารถแบงออก ไดเปนสองสวน คือระดับสวนบุคคล เรารับรูวาเราเปนใคร อยางไร และระดับสังคม คือ คนอื่นรับรูวาเราเปนใครอยางไร โดยมีกระบวนการทางสังคมในการสรางและสืบทอด อัตลักษณ ซึ่งขึ้นอยูกับบริบทของความสัมพันธทางสังคมที่มีตอคนหรือกลุมอื่นๆ ดวย สวน Harold Isaacs (ฉวีวรรณ ประจวบเหมาะ, 2547 : 26-27) มองวาอัตลักษณ ชาติพนั ธุเ กิดจาก สมาชิกกลุม ชาติพนั ธุใ ดชาติพนั ธุห นึง่ โดยมีองคประกอบของอัตลักษณ ที่สำ�คัญคือรางกาย และนาม ซึ่งเปน สัญลักษณของอัตลักษณชาติพันธุที่สำ�คัญ และ ซอนความหมายเชิงประวัติศาสตร ทั้งรางกายและนามทำ�ใหเกิดความรูสึกผูกพันกับ คนอื่นที่อยูในกลุมเดียวกัน และเรียนรูอัตลักษณ โดยผานกระบวนการปฏิสัมพันธทาง สัมคม เชน รวมพิธีกรรมตางๆ ซึ่งเปนการสืบทอดอดีตและกำ�หนดสถานการณปจจุบัน

224


ความหมายและอัตลักษณของจีนฮากกา ศิริเพ็ญ อึ้งสิทธิพูนพร​

นอกจากนี้ Charles Keyes และ Nicholas Tapp (ประสทธิ์ ลีปรีชา, 2547 : 36-37) นำ�เสนอวา อัตลักษณของกลุมชาติพันธุ เปนการหลอหลอมที่มีมายาวนานของ ความรูส กึ รวมกันทางสายเลือด เชน ภาษาทีก่ ลุม ใชสอื่ สารกันได นิทานหรือนิยายทีเ่ ชือ่ วา มีจดุ กำ�เนิดรวมกัน และบริบททางประวัตศิ าสตรทสี่ มาชิกในกลุม รับรูร ว มกันมา จิตสำ�นึก ทางประวัติศาสตรเปนสวนหนึ่งในการกำ�เนิดอัตลักษณทางชาติพันธุ (Ethnic identity) โดยคนในกลุมชาติพันธุจะเลือกเอาบางเหตุการณที่มีนัยสำ�คัญตอตนเองมาทำ�ใหเปน ความจริงทางประวัติศาสตร ดังนั้นในบทความนี้จึงนำ �เอาแนวคิดของนักวิชาการ หลายๆ ทานที่กลาวไปขางตนมาปรับใชในการอธิบายอัตลักษณของกลุมฮากกาใน ประเทศไทย (ซึ่งอาจจะตางจากฮากกาในประเทศจีนบางบางบริบท) ภาษา เปนสิ่งที่บงบอกความเปนตัวตนของกลุมชาติพันธุทุกกลุม ฮากกาก็ เชนเดียวกัน หากมีการพูดคุยกัน แลวใชสรรพนามแทนตัวเองวา “ไหง” ก็มั่นใจได รอยเปอรเซ็นตวาเปนคนฮากกา ดังที่นภดล ชวาลกร เขียนไวในจุลสาสน ไหง...เฮ ฮากกาหงิ่น11 วา “ไหง..คือคำ�สรรพนาม ที่หมายถึง ฉัน ในภาษาพูดฮากกา มิไดเปน ตั ว อั ก ษรที่ บั ญ ญั ติ ไ ว ใ นสารานุ ก รมของจี น ฮั่ น ลู ก หลานฮากกาทุ ก คน เปล ง คำ� นี้ ไดตั้งแตวัยแรกหัดพูด และบงบอกตัวเองที่เปนฮากกา ดวยประโยค ...ไหง เฮฮากกา หงิ่น (ฉัน คือคนฮากกา)” ตัวอักษรจีน ที่แปลวา “ไหง” ปจจุบันไมมีใชในภาษาจีนกลาง ไมสามารถหา ไดในพจนานุกรมที่ใชในปจจุบัน และไมมีในแปนพิมพของเครื่องคอมพิวเตอร หากจะ ใชตอ งสรางขึน้ มาใหม ตัวอักษรตัวนีป้ รากฎอยูพ พิ ธิ ภัณฑฮากกาทีเ่ หมยโจว ประเทศจีน ดังในภาพ

ภาพที่ 1. ตัวอักษร “ไหง” จัดแสดงอยูท ชี่ นั้ 1 ของ พิพิธภัณฑฮากกา ที่เหมยโจว (ถาย ภาพโดยผูเขียน) __________________ 11 จุลสาสนฉบับนี้ ไดพิมพขึ้นแจกในงาน ฉลองครบรอบ 5 ปของสมาคมเหมยเซี่ยน ประเทศไทย เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 2554 ณ หอการคา ไทย - จีน กรุงเทพ

225


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

ภาพที่ 2. นายนภดล ชวาลกร ประกาศปณิธาน ในการอนุ รั ก ษ ฟ   น ฟู ภ าษาและ วัฒนธรรมฮากกา ในงานฉลองครบ รอบ 5 ป สมาคมเหมยเซี่ยน ซึ่งมีหัว ขอเรื่องในการจัดงานคือคำ�วา “ไหง” แสดงความหมายเปนอัตลักษณของ ชาวฮากกา (ถายภาพโดยผูเขียน)

บานดิน หรือภาษาฮากกาเรียกวา ถูเหลวหรือ ถูโหลว (ภาษาจีนกลาง) 土楼 เป น ภู มิ ป  ญ ญาของชาวฮากกาที่ เ ป น หนึ่ ง เดี ย วในโลก ซึ่ ง มี ภู มิ ห ลั ง มาจากที่ ช าว ฮากกาเปนนักเดินทาง และเปนการปองกันภัยสำ�หรับผูที่จะมารุกรานดวย

ภาพที่ 3. บานปอมดิน (ที่มา: http://hakkapeople.com/node/637)

ภาพที่ 4. บา นปอมดิน (ซึ่งมีทงั้ แบบรูปทรงกลม และแบบเหลีย่ ม) ทีห่ ยงติ้ง มณฑลฮกเกีย้ น ซึ่งไดรับ การขึ้นทะเบียนเปนมรดกโลก เมื่อป พ.ศ. 2551 (ถายภาพโดยผูเขียน)

226


ความหมายและอัตลักษณของจีนฮากกา ศิริเพ็ญ อึ้งสิทธิพูนพร​

ภาพที่ 5. บ า นดิ น แบบทรงมั ง กรโอบ ภาษาฮากกาเรี ย กว า “เหวยหลุ ง ” (ถายภาพโดยผูเขียน)

围龙 อยู  ที่ เ หมยโจว

เสาหินบัณฑิต หรือเสาจอหงวน นัน่ เอง เนื่องจากคนฮากกาเปนคนรักการเรียน สมัยโบราณ ชายฮากกาตองเรียนหนังสือ เมือ่ สอบไดจอหงวนจะเปนทีเ่ ชิดหนาชูตาของ วงศตระกูล เมือ่ กลับไปบานจึงมีการสรางเสาหินขึน้ ในหมูบ า น เพือ่ เปนสัญญลักษณของ บัณฑิต หากบานใครมีบณ ั ฑิตหลายคนก็จะมีเสาบัณฑิตหลายตน เพราะจะมีชอื่ แซสลัก อยูดวย ใครที่ไดตำ�แหนงขาราชการสูงก็สรางเสาที่สูงกวาคนที่ไดตำ�แหนงต่ำ�กวา เรื่อง ที่ชายฮากกาตองเรียนหนังสือยังคงถูกเลาขานตอกันมาวา ในสมัยโบราณหากคน ฮากกามีลูกชายจะสงใหเรียนหนังสือสูงๆ สวนลูกสาวก็ตองชวยทำ�ไรไถนาอยูกับบาน ไมมีโอกาสไดเลาเรียน จนเป็นที่พูดกันติดปากวา “สาวฮากกาตีนโต” เนื่องจากตอง ทำ�งานหนัก จึงไมตอ งรัดเทา เทาจึงโตนัน่ เอง และผูห ญิงฮากกาก็ไดรบั การยกยองวาเปน คนที่ขยันขันแข็งในการทำ�งาน หนักเอาเบาสู เพราะหากไมขยันทำ�งานก็ไมมีใคร ที่ชวยทำ�งาน นอกจากทำ�งานแลวก็ตองเลี้ยงลูกอีกดวย จะเห็นไดวาผูหญิงฮากกามี ความอดทนมากกวาผูชาย เพราะผูชายไปเรียนหนังสือกันหมด บางครั้งก็ตองไปเรียน ตางบานตางเมือง เมื่อจบการศึกษาก็ตองไปสอบเปนขาราชการทำ�งานในรั้วในวัง

227


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

ภาพที่ 6. เสาจอหงวน12 (ทีม่ า: http://www.hakkapeople.com/node/261)

ภาพที่ 7. เสาจอหงวน จัดแสดงอยูที่สวนงานวิจัยฮากกา (The Hakkaology research base) มหาวิทยาลัยเจียอิ้ง เหมยโจว (ถายภาพโดยผูเขียน)

__________________ 12 เสาจอหงวน เปนชื่อที่ผูเขียนเรียกเอง ซึ่งอาจจะเรียก เสาหินบัณฑิต ก็ได

228


ความหมายและอัตลักษณของจีนฮากกา ศิริเพ็ญ อึ้งสิทธิพูนพร​

อาหาร คนทั่วไปมักจะรูจักอาหารฮากกาที่มีขายอยูทั่วไปคือ กวยเตี๋ยวแคะ ซึ่งชื่อก็บอกอยูแลววาเปนเอกลักษณของคนจีนแคะ มีสวนประกอบที่ส�ำ คัญคือ เตาหู ยัดไส (เปนที่ยอมรับกันวาเปนอาหารเฉพาะของคนฮากกา หรือคนจีนแคะ) รานขาย กวยเตี๋ยวจีนแคะมีอยูมากมายทั้งในกรุงเทพฯ และตางจังหวัด ซึ่งมีลักษณะตางๆ กัน ดังในภาพ

ภาพที่ 8-9. กวยเตี๋ยวแคะ (ที่มา: http://www.hakkapeople.com/taxonomy/term/70?page=1)

นอกจากนั้นแลว อาหารที่มีชื่อเปนที่รูจักกันในกลุมจีนฮากกาก็คือ “หมอยชอย เควหยุก” ที่มีสวนประกอบสำ�คัญคือ หมูสามชั้นกับผักดองตากแหง นำ�มาปรุงตามสูตร ของคนฮากกา เปนที่ชื่นชอบของคนฮากกา แตอาจจะไมเปนที่ชื่นชอบของคนที่ไมรับ ประทานหมูสามชัน้ ก็ได การรับประทานหมูสามชัน้ ของคนจีนแคะ เนือ่ งจากอยูบ นพืน้ ที่ สูงที่มีอากาศคอนขางหนาวตลอดทั้งป การรับประทานอาหารที่มีไขมันมากจะชวยให รางกายอบอุน สวน ผักดองตากแหงก็เปนอาหารประจำ�บานของชาวฮากกา เพราะอยู ในพื้นที่คอนขางไกลจากแหลงอาหาร การทำ�การเกษตร ก็ตองอาศัยดินฟาอากาศตาม ฤดูกาล เมือ่ มีผลผลิตจึงตองหาวิธถี นอมอาหารเพือ่ เก็บไวรบั ประทานตลอดทัง้ ป การทำ� ผักดองตากแหงเปนภูมิปญญาของคนฮากกา ซึ่งสามารถทำ�กันไดแทบทุกบาน จึงเปน อาหารแหงประจำ�บานที่สามารถนำ�ไปปรุงกับวัตุดิบอื่นๆ ไวรับประทานไดทั้งป สวนอาหารหวานก็ตอง “มี้เกาปน” เปนอาหารหวานขึ้นชื่อของคนฮากกา

ภาพที่ 10. หมอยชอยเควหยุก (ที่มา: http://www.hakkapeople.com/node/818) ภาพที่ 11. มี้เกาปน (ที่มา: http://www.hakkapeople.com/node/2412)

229


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

ความซื่อสัตย ชาวฮากกาไดรับคำ�สั่งสอนจากพอแมปูยาตายาย ในเรื่องของ ความซื่อสัตยตลอดมา ความประหยัด มัธยัสถ เพราะชาวฮากกาเคยลำ�บากและมีฐานะยากจนมากอน บรรพบุรุษจึงสอนใหรูจักใชจายอยางประหยัด ไมฟุมเฟอย ความขยัน อดทน โดยเฉพาะผูห ญิงฮากกา จนไดรบั คำ�กลาวขานวา “สาวฮากกา ตีนโต” สาเหตุกค็ อื จีนฮากกา เปนจีนกลุม เดียวทีไ่ มมกี ารรัดเทาในสมัยกอน เพราะผูช าย ฮากกาจะตองเรียนหนังสือ เพื่อไปสอบเปนขาราชการที่เรียกวา “ซิ่วไฉ” ผูหญิงจึงตอง ทำ�งานบานและหาเลี้ยงครอบครัวดวย ผูห ญิงฮากกาจึงไดรับการยกยองวาเปนคนขยัน อดทน หนักเอาเบาสู ไมเกี่ยงงาน ผิดกับผูชายที่มุงแตเรียนหนังสือ (ดังไดกลาวไปแลว ในเรื่อง เสาจอหงวน หรือเสาหินบัณฑิต) แตปจจุบันนี้ ทั้งหญิงและชายมีสิทธิเทาเทียมกัน จึงมีทั้งหญิงและชายเชื้อสาย ฮากกาที่ชอบเรียนหนังสือ จบการศึกษาสูง เปนจำ�นวนไมนอย ดังนั้น หากนำ�แนวคิดของ Charles Keyes และ Nicholas Tapp มาวิเคราะห อัตลักษณของชาวฮากกา คือจะมีสิ่งที่สมาชิกฮากการับรูรวมกันในทางประวัติศาสตร เชน รับรูวาสมัยโบราณผูชายฮากกาตองเรียนหนังสือเพื่อสอบเปนจอหงวน บานดิน ที่เปนเอกลักษณเฉพาะคนฮากกาในประเทศจีน เนื่องจากตองระวังภัยจากศัตรูอาหาร ที่เปนเอกลักษณของชาวฮากกา และสิ่งที่เดนชัดที่สุดคือเรื่องภาษา การมองรูปลักษณ ภายนอกไมสามารถระบุไดวา คนนี้เปนชาวฮากกาหรือไม เพราะคนจีนมีจำ�นวนมาก ซึ่งสืบเชื้อสายจากชาวฮั่นจึงทำ�ใหมีรูปลักษณภายนอกไมแตกตางกันมาก แตหากพูด ภาษาแลวจะรับรูไ ดทงั้ ระดับบุคคลและระดับสังคม จิตสำ�นึกทีเ่ กิดจากการหลอหลอมทาง ประวัตศิ าสตรทมี่ มี ายาวนานของความรูส กึ รวมกันทางสายเลือด เมือ่ คนฮากกามาเจอกัน แลวพูดภาษาเดียวกัน จะทำ�ใหเกิดความรูสึกผูกพันกันเหมือนเปนญาติสนิท แมจะ เพิ่งเจอกันเพียงครั้งแรกก็ตาม (เชนเดียวกับความรูสึกของผูเขียน) การกระจายตัวของชาวฮากกาในประเทศไทย ชาวจีนฮากกามีอยูกระจัดกระจายอยูทั่วไปในประเทศไทย บริเวณที่อาศัยอยู หนาแนน ไดแก อำ�เภอหาดใหญ อำ�เภอสะเดา จังหวัดสงขลา อำ�เภอเบตง จังหวัดยะลา ซึ่งอยูกันเปนชุมชนใหญและยังคงรักษาภาษาและวัฒนธรรมดั้งเดิมอยู สวนใหญเปน ฮากกาถิน่ เหมยเซี่ยนและสำ�เนียงฮุย โจว สวนทางภาคตะวันตก เชน จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดราชบุรี ทางภาคเหนือ เชน จังหวัดเชียงราย จังหวัดเชียงใหม ลำ�ปาง พิษณุโลก นครสวรรค และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เชน จังหวัดอุดรธานี ขอนแกน บุรีรัมย นครศรีธรรมราช สระบุรี จะเปนฮากกาสำ�เนียงถิน่ ฮงสุนเปนสวนมาก (Ungsitipoonporn,

230


ความหมายและอัตลักษณของจีนฮากกา ศิริเพ็ญ อึ้งสิทธิพูนพร​

2007 : 3-4) กลาวโดยรวมคือมีชาวจีนฮากกาในทุกจังหวัดของประเทศไทยแตอาจ ไมมากเทาจังหวัดที่กลาวไปขางตน ดังวิทยานิพนธของสิริวรรณพิชา ใน ค.ศ. 2010 ไดศึกษาภาษาจีนถิ่นในประเทศไทย พบวาจากการสำ�รวจภาษาจีนถิ่นใน 51 จังหวัด นั้นมีชาวฮากกาอาศัยอยูทุกจังหวัด (Thanajirawat, 2010 : 203) ขอมูลจากเว็ปไซต Hakkapeople.com ซึ่งปจจุบันมีจำ�นวนสมาชิกมากกวา 2,700 รายนั้น พบวาสมาชิกของเว็ปนี้มาจากจังหวัดตางๆ เกือบทุกจังหวัด หรือ แมแตชาวไทยเชือ้ สายฮากกาทีอ่ าศัยอยูต า งประเทศทัว่ โลกก็สมัครเปนสมาชิกเว็บไซด เชนกัน ซึง่ สมาชิกสวนใหญกใ็ หความเห็นวา ดีใจทีพ่ บเว็บไซดนี้ เหมือนไดเจอญาติสนิท ความเคลื่อนไหวของลูกหลานจีนฮากกาในประเทศไทย จากหนังสือของวรศักดิ์ มหัธโนบล เรื่อง “คือฮากกา คือจีนแคะ” ที่พิมพ ครั้งแรกในป 2546 ไดจุดประกายใหลูกหลานจีนฮากกาหลายทานตื่นตัว และอยากรูจัก รากเหงาของตัวเองมากขึ้น จากเดิมที่ไมรูวาตัวเองเปนจีนอะไร เนื่องจากพอแมปูยา ตายาย ไดเสียชีวิตไปแลว แตไมไดบอกกลาวถึงประวัติความเปนมา หรือบางทาน ทราบแบบลางเลือน ก็หันมาใหความสนใจกับบรรพบุรุษของตนเองมากขึ้น และนำ�ไป สูการสืบคนถิ่นที่อยูเดิมของญาติพี่นองในประเทศจีนที่ยังเหลืออยู ตัวอยางที่ประทับใจ ผูเขียนคือ นภดล ชวาลกร ไดศึกษาคนควาประวัติคนฮากกา ฟนฟูภาษาฮากกาจนพูด ไดอยางคลองแคลว และยังเปนที่รูจักกันในหมูคนฮากกาทั้งในประเทศไทย ประเทศจีน และไตหวันอีกดวย (Ungsitipoonporn, 2011 : 170) นอกจากนี้ ยังมีการเปดเว็บไซต www.hakkapeople.com หรือชุมชนคนฮากกา ขึ้นอยางเปนทางการเมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน 2550 โดยนายคณากร ศรีมิ่งมงคลกุล ไดอุทิศตนและเวลาในการสรางเว็บไซตของคนฮากกาที่เขียนดวยภาษาไทยขึ้น เพื่อ เปนการถายทอดเรือ่ งราว ประวัติ และเปนการสรางกลุม ชุมชนคนฮากกาใหรวมกลุม กัน จุดประสงคหลักคือตองการใหเปนแหลงคนควาขอมูลของคนฮากกา จนถึงปจจุบันนี้ ก็มีอายุกวา 4 ปแลว นับไดวาประสบความสำ�เร็จระดับหนึ่ง เพราะมีคนเชื้อสายฮากกา เขามาสมัครเปนสมาชิกเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ มีผูรูภาษาและวัฒนธรรมฮากกามาแลกเปลี่ยน ความรู เรียนรูซึ่งกันและกัน เปนการปลุกจิตสำ�นึกใหลูกหลานจีนฮากกาไดเห็นความ สำ�คัญของมรดกตกทอดจากบรรพบุรุษ ใหมีการเลาขานสืบตอไป (Ungsitipoonporn, 2011) กลุมฮากกาถือไดวาเปนกลุมที่มีการเคลื่อนไหวมากในเรื่องการอนุรักษฟนฟู ภาษาและวัฒนธรรมกลุมหนึ่ง เพื่อใหคนภายนอกรูจักมากขึ้น ซึ่งทำ�ใหจีนถิ่นกลุมอื่นๆ เริ่มตื่นตัว และเห็นความสำ�คัญของภาษาวัฒนธรรมมากขึ้น เริ่มจากการสัมนาเรื่อง

231


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

“แตจวิ๋ ฮากกา ใหหนำ� ฮกเกีย้ นศึกษาคนผานจีนถิน่ ในสยาม” จัดโดยสถาบันวิจยั ภาษา และวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2551 ไดรับความ สนใจจากผูท มี่ เี ชือ้ สายจีนถิน่ ดังกลาวอยางมาก หลังจากนัน้ มีการจัดสัมนาวิชาการเรือ่ ง “จีนสยาม 5 ภาษา” จัดโดยสถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เมื่อวันที่ 10 กันยายน 2553 ผูเขียนขอยกตัวอยางคนไทยเชื้อสายฮากกาที่ไดบุกเบิกและผลักดันใหเกิด กิจกรรมตางๆ คือนายนภดล ชวาลกร ซึ่งเปนผูที่ตองการใหคนฮากกาเองตระหนักรู ความเปนชาติพันธุของตัวเอง คุณคาของภาษาและวัฒนธรรมที่บรรพบุรุษไดสั่งสม มา ซึ่งลูกหลายไมควรปลอยใหสูญหายไปในชวงเวลาอันรวดเร็ว จากความไมใสใจดังนี้ 1. การศึกษาดูงานที่ไตหวัน เพื่อเยี่ยมชมและศึกษาวัฒนธรรมของจีนฮากกา กับสถาบันฮากกาศึกษาของมหาวิทยาลัยจงหยาง มหาวิทยาลัยซือฟน มหาวิทยาลัย ไตหวันและสถานนีโทรทัศนของภาษาฮากกา เปนการเดินทางไปเยือนนครไทเป ไตหวัน ระหวางวันที่ 12-15 เมษายน 2553 เปนการเปดโลกทัศนและสรางเครือขายชาวฮากกา ออกสูต า งประเทศ ซึง่ ไดรบั การตอนรับอยางดีจากชาวฮากกาในไตหวัน และยังมีโอกาส เขาพบประธานาธิบดี หมาอิงจิ่ว 马英九 ของไตหวัน ที่มีเชื้อสายจีนฮากกาอีกดวย 2. การศึกษาดูงานที่มหาวิทยาลัยเจียอิ้ง ชาวไทยเชื้อสายฮากกาไดเดินทาง ไปรวมสัมมนาวัฒนธรรมและประวัตศิ าสตรฮากกากับสถาบันฮากกา (Hakka Academy) มหาวิทยาลัยเจียอิ้ง เมืองเหมยโจว มณฑลกวางตุง ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ระหวางวันที่ 21-26 ตุลาคม 2553 จัดโดยนายนภดล ชวาลกร นายกสมาคมเหมยเซีย่ นประเทศไทย เพือ่ สานสัมพันธกบั ชาวฮากกาบนแผนดินของบรรพบุรษุ และหวังวาจะได มีความรวมมือทางดานอนุรักษภาษา วัฒนธรรมฮากกา หรือแลกเปลี่ยนความรูกัน อีกทั้งยังพาเพื่อนฮากกาไปตามหาญาติที่นั่นอีกดวย ซึ่งประสบผลดีที่คนฮากกาจาก ประเทศไทยไดพบญาติทางฝายจีน แมจะพูดคุยกันดวยคนละภาษา (คนที่อยูเมืองไทย พูดฮากกาไมได แตมีบางคนในคณะที่ไปพูดได จึงชวยสื่อสารให การสืบคนก็ไดจาก จดหมายที่เคยเขียนจากเมืองจีนนั่นเอง) แตก็ยังคงความสัมพันธกันดุจญาติสนิท 3. กิจกรรม “เดินทอดนอง ทองยานจีน ถิ่นบางกอก ครั้งที่ 1” จัดโดยสถาบัน อาศรมศิลปรวมกับสมาคมฮากกา และชุมชนเยาวราช ในวันที่ 18 ธันวาคม 2553 เปน การศึ ก ษาเรื่ อ งราวทางประวั ติ ศ าสตร ผ  า นความหลากหลายและวิ ถี ชี วิ ต ของกลุ  ม ชาติพันธุในเยาวราช โดยเนนไปที่ตามรอยวัฒนธรรมจีนฮากกา เพื่อเปนการเผยแพร ใหผูที่สนใจไดรูประวัติของชาวไทยเชื้อสายฮากกาในชุมชนเยาวราชวา เปนมาอยางไร สวนใหญทำ�อาชีพอะไร และปจจุบันมีความเปลี่ยนแปลงไปอยางไรบาง พรอมทั้งพาไป รับประทานอาหารฮากกาที่ยังมีขายยายเยาวราชอีกดวย

232


ความหมายและอัตลักษณของจีนฮากกา ศิริเพ็ญ อึ้งสิทธิพูนพร​

ภาพที่ 13-14. ชาวไทยเชื้อสายฮากกาเดินทางไปแลกเปลี่ยนเรียนรูที่มหาวิทยาลัยเจียอิ้ง เมือง เหมยโจว ซึง่ เปนมหาวิทยาลัยเดียวทีม่ กี ารกอตัง้ สถาบันฮากกา (ถายภาพโดยผูเ ขียน)

4. การสัมนาภาษาและวัฒนธรรมฮากกา เนื่องในโอกาสฉลองครบรอบ 5 ป สมาคมเหมยเซี่ยน ประเทศไทย ในวันที่ 25 มิถุนายน 2554 ไดเชิญนักวิชาการฮากกา จากมหาวิทยาลัยที่ไตหวัน และเหมยโจวมารวมบรรยายทางวิชาการ เปนการสานตอ ดานวิชาการ จากการทีไ่ ดไปศึกษาดูงานทีไ่ ตหวัน และทีม่ หาวิทยาลัยเจียอิ้งในสองครั้ง ที่ผานมา แตในครั้งนี้ไดเสวนาประเด็นเชิงวิชาการใหชาวฮากกาที่สนใจไดรับฟงกัน ซึ่งไดรับความสนใจเปนจำ�นวนมาก

ภาพที่ 15-16. งานสัมมนาวิชาการวัฒนธรรมฮากกา รวมกับนักวิชาการจีนและไตหวันที่เปนชาว ฮากกา (ถายภาพโดยผูเขียน)

ในสวนเว็บไซตชุมชนฮากกา (www.hakkapeople.com) มีการจัดกิจกรรมเปน ระยะๆ ที่เห็นผลเปนรูปธรรม เชน มีชาวไทยเชื้อสายฮากกาสมัครเปนสมาชิกมากขึ้น และแสดงความคิดเห็นวาตองการเรียนรูภ าษาและวัฒนธรรมฮากกา เนือ่ งจากบรรพบุรษุ เสียชีวิตไปแลว โดยไมมีการถายทอดภาษาให หรือบางคนก็ลืมเลือนไปแลว ตองการ รื้อฟนจึงเขามาสมัครเปนสมาชิกและเรียนรูผานเว็บไซต

233


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

อีกกิจกรรมที่นาสนใจคือ การพบปะสังสรรคของสมาชิกในเว็บ ที่ผานมาจัดมา แลวถึง 4 ครั้ง มีสมาชิกเขารวมกิจกรรมมากขึ้นทุกครั้ง ลาสุดจัดขึ้นที่ สมาคมฮากกา ปากชอง ในวันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 นอกจากนีย้ งั มีรายการวิทยุ เพือ่ เปนการใหความรูก บั ประชาชนทัว่ ไป ในรายการ “สบาย สบาย บายวันจันทร” ทางสถานีวทิ ยุกระจายเสียงแหงประเทศไทยเพือ่ การศึกษา กรมประชาสัมพันธ ชวงโลกสวยดวยภาษาและวัฒนธรรม เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2554 เรื่องจีนฮากกาโดยนักวิชาการในวันนั้นคือผูเขียนเอง วิเคราะหอนาคตของภาษาและวัฒนธรรมของจีนฮากกาในประเทศไทย ในยุคโลกาภิวัฒนคงไมมีใครสามารถฝนกฎธรรมชาติไปได เมื่อมีสิ่งใหมมา ทดแทน สิ่งเกาที่ไมไดใชก็คอยๆ หมดความสำ�คัญและหายไปในที่สุด ภาษาก็เชนกัน หากไมมีการใชในชีวิตประจำ�วัน ก็คงตองหายไปในไมชา กลุมจีนถิ่นตางๆ ในประเทศ ไทยถือเปนกลุม ชาติพนั ธุท คี่ อ นขางใหญ มีภาษาและวัฒนธรรมเปนของตนเอง กลุม จีน ฮากกาก็เชนเดียวกัน การถูกกลมกลืนเขากับคนเชื้อสายอื่นๆ ในประเทศไทย หรือตาง ประเทศ โดยการแตงงานขามกลุม ก็เปนอีกหนทางหนึ่งที่จะชวยเรงใหภาษาของกลุม ชาติพนั ธุน นั้ หมดไปเร็วขึน้ เพราะตองใชภาษาประจำ�ชาติหรือภาษาสากลในการสือ่ สาร ในชีวติ ประจำ�วัน แทนภาษาแมหรือภาษาของบรรพบุรษุ หากเจาของภาษาไมตระหนัก ถึงความสำ�คัญ กลุมชาติพันธุนั้นก็จะหายไปจากโลกในไมชา กลุมจีนฮากกามีภาษาและวัฒนธรรมที่มีคุณคา ถึงแมวาจะมีจำ�นวนผูพูดเปน จำ�นวนมากในประเทศจีน แตจากผลของการปฏิวัติวัฒนธรรมของจีน ทำ�ใหวัฒนธรรม ประเพณีอันเกาแกของจีนถิ่นตางๆ หายไปดวย ไมเวนแมแตกลุมฮากกาในจีน13 แต โชคดีที่ในปจจุบันยังมีลูกหลานจีนฮากกาในประเทศไทยใหความสนใจ ศึกษาเรื่องราว ประวัตคิ วามเปนมาของตนเอง โดยเริม่ จากสิง่ ทีใ่ กลตวั ทีส่ ดุ คือพอแมปยู า ตายายของตน และถิ่นที่อยูในประเทศจีน มีการกลับไปคนหารากเหงาที่ประเทศจีน บางคนพบญาติที่ เมืองจีนจากหลักฐานเพียงจดหมาย 1 ฉบับที่เคยเขียนติดตอกันของญาติพี่นองในอดีต เมื่อพบกันก็เกิดความรูสึกผูกพันเหมือนเปนญาติใกลชิดกันทั้งๆ ที่บางคนไมเคยเห็น หนากันมากอนเลย __________________ 13 จากการพูดคุยกับสมาชิกหลายทานในเว็บไซต www.hakkapeople.com ทีย่ งั มีญาติอยูใ น ประเทศจีน และไดกลับไป เยีย่ มญาติทกุ ป พบวาวัฒนธรรมเดิมๆ ทีม่ คี ณ ุ คาไมมแี ลว แตยงั คงเห็นไดจาก กลุมฮากกาที่ไมไดอยูในประเทศจีน เชนในประเทศไทย เปนตน

234


ความหมายและอัตลักษณของจีนฮากกา ศิริเพ็ญ อึ้งสิทธิพูนพร​

จากการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับภาษาและวัฒนธรรมฮากกา ประกอบกับไดคลุกคลี อยูกับคนฮากกาเกือบ 10 ป ของผูเขียน ประเมินไดวา ภาษาและวัฒนธรรมฮากกา ยังมีความหวังที่จะมีคนสืบทอดตอไปไมมากก็นอย ซึ่งถือเปนนิมิตหมายที่ดีในการเริ่ม ตน ขณะนี้เชื่อวา สามารถยืดเวลาออกไปไดอีกระยะหนึ่ง เพราะนอกจากคนรุนอายุ 60 กวาปขึ้นไปแลว ยังมีคนรุนอายุ 50 40 30 ป หรือแมแตเยาวชนที่อายุไมถึง 20 ป ก็ใหความสนใจ บางคนก็เขารวมกิจกรรมที่เกี่ยวกับฮากกาดวย หรืออยางนอยที่สุด ก็มีคนที่ตั้งใจและทำ�การฟนฟูภาษา-วัฒนธรรมฮากกาอยางเปนรูปธรรมอยางเชน คุณนภดล ชวาลกร โดยการตัง้ ศูนยฮากกาศึกษา เพือ่ คนควาและบันทึกความรูเ กีย่ วกับ ภาษาและวัฒนธรรมฮากกา รวมทั้งจัดกิจกรรมเสวนาวิชาการเพื่อกระตุนใหลูกหลาน ที่มีเชื้อสายฮากกาในประเทศไทย ตระหนักถึงมรดกอันล้ำ�คาของบรรพบุรุษที่กำ�ลังจะ หายไป เพื่อสงตอใหลูกหลานเทาที่จะทำ�ได อยางไรก็ตามอนาคตของภาษาและวัฒนธรรมฮากกา คงไมสามารถบอกไดวา จะสืบทอดไปไดอีกกี่ป แตจากการที่ผูเขียนติดตามเว็บไซต www.hakkapeople.com เปนเวลากวา 2 ปแลว ไดพดู คุยกับสมาชิกบางทานพรอมสอบถามความคิดเห็นเกีย่ วกับ อนาคตของเว็บนี้ ไดรับความเห็นที่นาสนใจจากสมาชิกทานหนึ่งวา “อนาคต พระพุทธเจาบอกวาอนิจจัง ณ วันนี้ไมรูขอมูลตัวเลขจริง แตดูจาก ความเร็วการเคลือ่ นไหวบนหนากระดานสมาชิกใหมลา สุดมีความเร็วสูง แตเชือ่ วาฮากกา ทีม่ คี วามรูอ กี หลายคนดูอยูข า งนอกแตไมตดั สินใจเขามาสักที ในระยะสัน้ สมาชิกรุน ใหม ที่มีความรูฮากกาและพื้นฐานภาษานอยคงเขามาอีกมาก แต ค นรุ  น ใหม เ หล า นี้ รักงายหนายเร็ว มีความคลองแคลวดานไอที แหลงขอมูลอื่นในโลกนี้ก็มีมาก ขณะที่ ชุมชนเราวนเวียนอยูกับอะไรคงตองวิจัยที่เนื้อหาบทความและการแสดงความคิดเห็น ที่ผานมาคงตอบอนาคตได” 14 เพราะฉะนั้น จึงควรมีการทำ�งานวิจัยเกี่ยวกับกลุมฮากกาในประเทศไทยอีก ไมวาจะเปนเรื่องภาษา วัฒนธรรม การเมือง เศรษฐกิจ สุขภาพ ฯลฯ ตอไป สรุปและวิเคราะห บทความนี้ตองการสื่อสารใหเขาใจความหมายและอัตลักษณของกลุมชาติพันธุ ฮากกา ซึง่ เปนภาษากลุม หนึง่ ในภาษาตระกูลจีน แตดว ยรูปลักษณทางการเมืองของจีน __________________ 14 จากการสัมภาษณความคิดเห็นทางเฟซบุค (Facebook) กับสมาชิกของเว็บไซต www. hakkapeople.com ทานหนึ่งเมื่อวันที่ 2 กันยายน 2554

235


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

จึงใชคำ�วาภาษาถิ่น แทนคำ�วาภาษา เพื่อใหเปนหนึ่งเดียวในทางการปกครอง อยาง ไรก็ตามในเชิงภาษาศาสตรควรจะเรียกวา กลุมภาษาฮากกา ซึ่งภายในภาษาฮากกา เอง ก็มภี าษาถิน่ ตางๆ มากมายตามความแตกตางทางภูมศิ าสตรและลักษณะภาษาเอง เพียงแตยังสามารถสือ่ สารกันเขาใจได ผูเ ขียนไดศกึ ษาจากเอกสาร ประสบการณตรงที่ ไดพดู คุยกับคนฮากกาเอง รวมทัง้ ผูเ ขียนก็มเี ชือ้ สายฮากกา แลวจึงวิเคราะหความหมาย ของคำ�วา “ฮากกา” ภาษาถิ่นตางๆ ของฮากกา รวมทั้งลักษณะที่เปนอัตลักษณทาง กลุมชาติพันธุ เพื่อตองการเผยแพรไปสูวงกวางใหเขาใจกันมากขึ้น ชื่อของกลุมชาติพันธุตางๆ มีหลายชื่อ แตชื่อที่สำ�คัญและเปนการใหเกียรติ คือ ชือ่ ทีเ่ จาของภาษาเรียกตน เนือ่ งจากชือ่ จะบงบอกความหมาย เชนกลุม อาขา คนนอกจะ เรียกวา อีกอ ซึง่ คนอาขาเองก็ไมชอบ เหมือนเปนการดูถกู พวกเขา คำ�วา “อาขา” หมายถึง “อยูไ กลจากความชืน้ ” หรือกลุม ญัฮกุร คนนอกจะเรียกพวกเขาวา “คนดง” หรือ “ชาวบน” คนญัฮกุรเองก็ไมชอบเชนกัน พวกเขารูสึกวาเปนคำ�ที่ดูถูก ความหมายของคำ�วา “ญัฮกุร” แปลวา “คนภูเขา” เชนเดียวกัน คำ�วา “ฮากกา” หมายถึง “อาคันตุกะ” หรือ “แขกผูมาเยือน” ซึ่งเปนคำ�ในภาษาของเขาเรียกกลุมเขาเอง แตคำ�วา “จีนแคะ” เปน สำ�เนียงแตจิ๋ว ซึ่งอาจทำ�ใหพูดผิดเพี้ยนหรือเขาใจความหมายผิดได คนฮากกาเองจึง ตองรณรงคใหชาวฮากกาเองหันมาใชคำ�วา “ฮากกา” เรียกกลุมตนแทนคำ�วา “จีนแคะ” เพื่อความเปนอัตลักษณของกลุม และสามารถสื่อสารใหคนทั่วโลกรูจักอยางเปนสากล ทัง้ ในวงการวิชาการ และคนทัว่ ไป แตกระนัน้ ก็ตาม คนฮากกาทีพ่ ดู ภาษาถิน่ ยอยตางๆ (ไมวาจะเปนกลุมแคะลึกที่ถูกเขาใจวาเปนกลุมฮากกา และแคะตื้นหรือที่เรียกกันวา “ปนซันขัก” ที่ถูกเขาใจวาไมใชกลุมเดียวกับฮากกาก็ตาม) ผูเขียนยอมรับวาภาษาถิ่น เหลานั้นมีความแตกตางกันบางในเรื่องของเสียง คำ�ศัพท มากบางนอยบาง แตในทาง ภาษาศาสตรตระกูลจีนก็ยังคงจัดใหเปนกลุมเดียวกันคือกลุมฮากกา คงปฏิเสธไมได เพราะหากวิเคราะหค�ำ เรียกชือ่ กลุม ตัวเอง กลุม ฮากกา เรียกตัวเองวา “ฮากหงิน” สวนคน ปนซันขักเรียกตัวเองวา “ขักหงิน” ซึ่งเสียง /h/ กับ /kh/ เปนเสียงแปรของภาษาถิ่นยอย ตามที่ไดกลาวไวแลวตอนตน ก็นาจะพิสูจนไดวา เปนคำ�รวมเชื้อเครือกัน นอกจากนี้ หากวิเคราะหเรื่องอัตลักษณของกลุมชาติพันธุ ก็มีความรูสึกรับรู รวมในเชิงประวัติศาสตรที่มีนัยตอสมาชิกกลุมตามที่ Charles Keyes และ Nicholas ไดเสนอแนวคิดไว และตามที่ Richard Jenkins, Peter Berger และ Thomas Luckmann ไดเสนอแนวคิดวา อัตลักษณไมใชสงิ่ ทีม่ อี ยูแ ลวในตัวมันเอง หรือกำ�เนิดขึน้ มาพรอมกับคน แตเปนสิง่ ทีถ่ กู สรางขึน้ และมีลกั ษณะความเปนพลวัตตลอดเวลา ซึง่ ถูก สรางขึ้นโดยกระบวนการทางสังคม เมื่อตกผลึกแลวอาจมีความคงที่ ปรับเปลี่ยน หรือ ถูกเปลี่ยนแปลงรูปแบบไป ทั้งนี้ขึ้นอยูกับความสัมพันธทางสัมคมเปนหลัก แนวคิดนี้

236


ความหมายและอัตลักษณของจีนฮากกา ศิริเพ็ญ อึ้งสิทธิพูนพร​

นาจะนำ�มาอภิปรายในกลุม “ปนซันขัก” ไดวา มีตัวแปรทางภูมิศาสตรและสังคมที่มี ความสัมพันธอยางใกลชิดระหวาง คน“ปนซันขัก” กับคน “แตจิ๋ว” เมื่อเวลาผานไประยะ หนึง่ การรับรูข องคนกลุม นีก้ เ็ ปลีย่ นไป หากคนรุน หลังไดฟง จากคำ�บอกเลาสืบตอมาโดย ไมคำ�นึงถึงปฏิสัมพันธภายในกลุมคนฮากกาเอง ก็อาจทำ�ใหเขาใจผิดไดวา “ปนซันขัก” กับ “ฮากกา” เปนคนละกลุม กัน ซึง่ ความจริงแลวสืบเชือ้ สายมาจากกลุม เดียวกัน เห็นได จากการรับรูของคนภายนอกกลุมอยางคนแตจิ๋ว ที่ไมยอมรับวา “ปนซันขัก” เปนกลุม เดียวกับตัวเอง แตยังคงเรียกวา “แคะนั๊ง” ซึ่งหมายถึง คนฮากกานั่นเอง อัตลักษณของชาติพันธุมีความสำ�คัญในการบงบอกวา กลุมชาติพันธุหนึ่ง แตกตางจากกลุมอื่นอยางไร บางกลุมเห็นชัดจากรูปลักษณภายนอก เชน รูปราง หนาตา แขก ชาวยุโรป หรือแอฟริกา แตก็เปนเพียงลักษณะรวมโดยกวางเทานั้น หากตองการทราบวาเปนกลุมชาติพันธุใดที่ลงลึกไปนั้น สิ่งที่บงบอกไดอันดับแรกคือ ชือ่ เรียก กลุม ชาติพนั ธุโ ดยเจาของภาษาเอง นอกจากนีย้ งั รูไ ดจากภาษาพูด การรับรูท าง ประวัติศาสตรรวมกัน ประเพณี วิถีชีวิตเดิมๆ คำ�สอนที่บอกตอกันมา รวมถึงเรื่องเลาที่ เกี่ยวของกับความเปนมาของกลุมชาติพันธุ ก็คงระบุไดชัดเจนวาเราเปนใคร และหาก คนภายนอกรับรูไมถูกตองวาเราเปนใคร ก็ควรชี้แจง อธิบาย ขยายความหรือหาทาง สื่อสารใหเขาใจถูกตองกอนที่จะมีการเบี่ยงเบนไปในทางที่ไมถูกตอง 



237




วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

บรรณานุกรม ภาษาไทย ฉลาดชาย รมิตานนท. (2545). “คนกับอัตลักษณ 2.” ใน เอกสารประกอบการประชุม ประจำ�ปทางมานุษยวิทยา วันที่ 27-29 มีนาคม 2545. ณ ศูนยมานุษยวิทยา สิรินธร. กรุงเทพฯ: ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร (องคกรมหาชน). ฉวีวรรณ ประจวบเหมาะ. (2547). “ทบทวนแนวทางการศึกษาชาติพนั ธุข า มยุคกับการ ศึกษาในสังคมไทย” วาดวยแนวทางการศึกษาชาติพนั ธุ. ใน รวมบทความจาก การประชุมประจำ�ปทางมานุษยวิทยา ครั้งที่ 2 เรื่องชาติและชาติพันธุ : วิถี ชีวิตและความหลากหลายทางชาติพันธุในโลกปจจุบัน. เอกสารวิชาการลำ�ดับ ที่ 36. กรุงเทพฯ: ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร (องคกรมหาชน). ธีรวิทย สวัสดิบตุ ร. (2550). คนจีน 200 ป ภายใตพระบรมโพธิสมภาร. หนา 110-112 [ออนไลน]. สืบคนเมือ่ 1 มกราคม 2555 จาก http://hakkapeople.com/node/65 นภดล ชวาลกร. (2554). “ไหง..เฮฮากกาหงิ่น” พิมพในงานฉลองครบรอบ 5 ป การ กอตั้งสมาคมเหมยเซี่ยน ประเทศไทย. กรุงเทพฯ: ศูนยฮากกาศึกษา. ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2547). การสรางและสืบทอดอัตลักษณของกลุมชาติพันธุมง : วาทกรรมอัตลักษณ. ใน รวมบทความจากการประชุมประจำ�ปทางมานุษย วิทยา ครัง้ ที่ 2 เรือ่ งชาติและชาติพนั ธุ: วิถชี วี ติ และความหลากหลายทางชาติพนั ธุ ในโลกปจจุบัน. เอกสารวิชาการลำ�ดับที่ 37. กรุงเทพฯ: ศูนยมานุษยวิทยา สิรินธร. ปนแกว เหลืองอรามศรี, บรรณาธิการ. (2546). อัตลักษณ ชาติพันธุ และความเปน ชายขอบ. กรุงเทพฯ: ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร. วรศักดิ์ มหัธโนบล. (2551). คือ “ฮักกา” คือ “จีนแคะ.” พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สำ�นักพิมพมติชน. วีรพนธ ศุภพิสฐิ กุล. (2554). พิธกี รรมกงเต็ก. [ออนไลน]. สืบคนเมือ่ 1 ธันวาคม 2555 จาก http://hakkapeople.com/node/960 อภิญญา เฟองฟูสกุล. (2546). อัตลักษณ. กรุงเทพฯ: คณะกรรมการสภาวิจัยแหง ชาติ สาขาสังคมวิทยา สำ�นักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ. ฮากกาแหงประเทศไทย. (2550).ประวัติสมาคมฮากกาแหงประเทศไทย. [ออนไลน]. สืบคนเมือ่ 1 มกราคม 2555 จาก http://hakkapeople.com/book/export/html/61

238


ความหมายและอัตลักษณของจีนฮากกา ศิริเพ็ญ อึ้งสิทธิพูนพร​

ภาษาอังกฤษและภาษาจีน Branner, David Prager. (1999). Problems in comparative dialectology: the classification of Min and Hakka. [Online]. Retrieved March 27, 2013. from https://brannerchinese.com/dpb/publications/Branner_ Classification_book_1_TextOnly Hashimoto, Mantaro J. (1972). The basic vocabulary of Hakka. Tokyo: University of Foreign Studies. Hashimoto, Mantaro J. (1973). The Hakka Dialect (A linguistic study of its phonology syntax and lexicon). London: Cambridge University Press. Lau, Chunfat. (2000). The decline of the general Hakka accent in Hong Kong: A comparison of “Old-Style” and “New-Style” as spoken by the indigenous inhabitants. LINCOM EUROPA. Norman, Jerry. (1988). Chinese. Cambridge, Eng.: Cambridge University Press. Riley, Philip. (2007). Language, culture and identity: An ethnolinguistic perspective. London; New York: Continuum. Saengtummachai, Wandee. (2003). A Phonological study of the Meixian Hakka dialect in Bangkok, Thailand, in comparison with Hashimoto’s study of the Meixian Hakka dialect in China. (M.A. Thesis in Southeast Asian Linguistics). Faculty of Graduate Studies, Mahidol University. Skinner, William, G. (1957). Chinese society in Thailand: An analytical history. Ithaca, New York: Cornell University Press. So-Bha, Jurairat. (2001). A phonological study of Hsing-Ning Hakka at Muang District, Ratchaburi Province. (M.A. Thesis in Southeast Asian Linguistics). Faculty of Graduate Studies, Mahidol University. Thanajirawat, Zirivarnphicha. (2010). The phonological characteristics of Chinese dialects in Thailand. Ph.D. dissertation in Linguistics. Faculty of Graduate Studies, Mahidol University. Ungsitipoonporn, Siripen. (2007). Phonological and acoustic analyses of the tone system of Hakka as spoken in Bangkok, Thailand. (Ph.D. dissertation in Linguistics). Faculty of Graduate Studies, Mahidol University.

239


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556

Ungsitipoonporn, Siripen. (2009). “The Bangkok Hakka phonology” Mon-Khmer studies. A Journal of Southeast Asian Languages and Cultures, 38 : 185-208. Ungsitipoonporn, Siripen. (2011). The tone system of Hakka as spoken in Thailand. Journal of Chinese Linguistics, 39 (1) : 32-75. Ungsitipoonporn, Siripen. (2011). Language revitalization awareness in the Hakka group in Thailand. Jati., (16 December) : 167-176. Ungsitipoonporn, Siripen. (2011). The virtual Hakka community: A new domain of revitalization. was presented at 4th International conference on Southeast Asia (ICONSEA 2011) December 6-7, 2011. Universiti Malaya, Kuala Lumpur, Malaysia. Vatikiotis, Michael R.J. (1998). The Encyclopedia of the Chinese Overseas. Singapore: The Chinese Heritage Centre : 218-227. Wongwantanee, Pratoom. (1984). A Phonology of Hakka, with comparison with Swatow. (M.A. Thesis in Southeast Asian Linguistics). Faculty of Graduate Studies, Mahidol University. Wright, Grace E. (2006). Identification of Hakka cultural markers. USA: Lulu. Yan, Margaret, Mian. (2006). Introduction to Chinese dialectology. LINCOM Studies in Asian Linguistics. 林论论 and李雪媚 . (2010). 舱广东丰顺半山客话的语音系统及其特点. Journal of Jinan University (Philosophy and Social Sciences) 1 : 117-121. [Online]. Retrived March 27, 2013. from http://www.doc88. com/p-89254858416.html. 官秀岩. (2013). ban shan ke 半山客. [Online]. Retrived March 27, 2013 from http://baike.baidu.com/view/2173557.htm#4. 杨达祥. (2010). ban shan ke 半山客. [Online]. Retrived March 27, 2013. from http://www.chaofeng.org/article/detail.asp?id=11921. Ban shan ke半山客. (2013). [Online]. Retrived March 27, 2013. from http:// baike.soso.com/v76579.htm.

240


รายชื่อผูทรงคุณวุฒิอานบทความวารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ปที่ 33 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน) พ.ศ. 2556

กนกพร นุมทอง, ผูชวยศาสตราจารย์ ดร. สาขาวิชาภาษาจีน ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แกวตา ผูพัฒนพงศ์, รองศาสตราจารย์ ดร. ภาควิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคำาแหง จิตศักดิ์ พุฒจร, ผูชวยศาสตราจารย์ สาขาวิชาการจัดการการทองเที่ยว คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี จิรวัฒน์ วงศ์พันธุเศรษฐ์, ผูชวยศาสตราจารย์ ดร. ภาควิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ คณะมัณฑนศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร วังทา พระ ชนินทร์ มีโภคี, รองศาสตราจารย์ ดร. คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ถวัลย์ เนียมทรัพย์, ผูชวยศาสตราจารย์ ดร. ภาควิชาจิตวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ทรงศักดิ์ ปรางค์วัฒนากุล, รองศาสตราจารย์ ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม ธเนศวร์ เจริญเมือง, ศาสตราจารย์ ดร. คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม นฤมิตร สอดศุข, รองศาสตราจารย์ วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต นวลฉวี ประเสริฐสุข, ผูชวยศาสตราจารย์ ดร. ภาควิชาจิตวิทยาและการแนะแนว คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ บุษยา วีรกุล, รองศาสตราจารย์ ดร. คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ไพรัช กาญจนการุณ, ผูชวยศาสตราจารย์ ดร. คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม ภาณุพงศ์ อุดมศิลป, ผูชวยศาสตราจารย์ ดร. คณบดีคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ


ภูรดา เซี่ยงจ๊ง, อาจารย์ ดร. ภาควิชาภาษาปัจจุบันตะวันออก สาขาวิชาภาษาจีน คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ มาเรียม นิลพันธุ์, ผูชวยศาสตราจารย ดร. ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร วีรวัฒน์ อินทรพร, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ ศักดิ์ชัย สายสิงห, ศาสตราจารย ดร. ภาควิชาประวัติศาสตรศิลปะ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร วังทาพระ สุจริตลักษณ์ ดีผดุง, รองศาสตราจารย ดร. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา สุพัตรา จิรนันทนาภรณ, รองศาสตราจารย ดร. ภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร เสาวณิต จุลวงศ์, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ภาควิชาภาษาไทย คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อภิชาติ ใจอารีย์, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ภาควิชาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชน คณะศึกษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำ�แพงแสน อภิโชค เลขะกุล, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อรพัช บวรรักษา, รองศาสตราจารย ภาค​วิชา​ภาษา​ไทย คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยธ​ รรมศาสตร อรศิริ ปาณินท์, ศาสตราจารย์ ดร. อดีตอาจารย์ประจำ�คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร อำ�พัน กิจงาม, ดร. ​นักโบราณค​ดเี​ชี่ยวชาญ สำ�นักโบราณคดี กรม​ศิลปากร เอกพงษ์ จุลเสนีย์, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สำ�นักวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ 






รายละเอียดการเตรียมบทความเพื่อสงตีพิมพ วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย สาขาสังคมศาสตร มนุษยศาสตร และศิลปะ

1. วัตถุประสงคการจัดพิมพ

เพื่อเผยแพรผลงานทางวิชาการสาขาสังคมศาสตร มนุษยศาสตร และศิลปะ ของนัก วิชาการทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย เปนสื่อกลางการแลกเปลี่ยนเรียนรูทางวิชาการ ในสาขาสังคมศาสตร มนุษยศาสตร และศิลปะ และสงเสริมใหนกั วิชาการและผูส นใจไดนำ�เสนอ ผลงานวิชาการในรูปบทความวารสาร

2. กำ�หนดออก

ปละ 2 ฉบับ (มกราคม-มิถุนายน และ กรกฎาคม-ธันวาคม)

3. บทความที่รับตีพิมพ

1. บทความทีร่ บั ตีพมิ พ ไดแก 1. บทความวิชาการ 2. วิทยานิพนธปริทศั น 3. บทความ วิจัยจากงานวิจัยหรือวิทยานิพนธตนฉบับ 4. บทความปริทัศน 5. บทความพิเศษ 2. เปนผลงานใหมที่ยังไมเคยพิมพเผยแพรในสื่อใดๆ มากอน 3. ความยาวไมเกิน 15 หนา

4. การสงบทความ

1. สงไฟลตนฉบับ พรอมไฟลภาพประกอบ และแบบฟอรมขอสงบทความเพื่อ ตีพิมพทางอีเมล ที่ คุณปรานี วิชานศวกุล (บรรณาธิการบริหารวารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร) โทร. 080-5996680 E-mail: pranee_aon1@hotmail.com 2. เมื่อไดรับบทความแลว บรรณาธิการจะแจงกลับไปยังผูเขียนบทความใหทราบ ทางใดทางหนึ่ง 3. ทุกบทความที่ตีพิมพ จะไดรับการกลั่นกรองจากกองบรรณาธิการ และผานการ พิจารณาจากผูท รงคุณวุฒใิ นสาขาวิชานัน้ ทัง้ ภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยอยางนอย 2 คน

5. ขอกำ�หนดการเตรียมตนฉบับ

1. ขนาดกระดาษ A4 พิมพดวย Microsoft Word for Window 2. ระยะหางจากขอบบนและซายของกระดาษ 1.25 นิ้ว จากขอบลางและขวาของ กระดาษ 1 นิ้ว 3. ตัวอักษร ใชอักษรโบรวาลเลีย นิว (Browallia New) • ชื่อเรื่อง ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ขนาด 16 พอยท กลางหนา ตัวหนา • ชื่อผูเขียน ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ขนาด 14 พอยท ชิดขวา ตัวหนา • บทคัดยอภาษาไทยและภาษาอังกฤษ - ชื่อ “บทคัดยอ” และ “Abstract” ขนาด 14 พอยท ชิดซาย ตัวหนา


- รายละเอียดบทคัดยอ ขนาด 14 พอยท ชิดขอบซาย-ขวา ตัวธรรมดา - คำ�สำ�คัญ (Keyword) ขึ้นบรรทัดใหม ขนาด 14 พอยท ชิดซาย ตัวหนา สวน ขอความของคำ�สำ�คัญเปนตัวธรรมดา • บทความ - หัวขอใหญ เวน 1 บรรทัด ชิดซาย ขนาด 14 พอยท ตัวหนา - หัวขอรอง ยอหนา 0.5 นิ้ว ขนาด 14 พอยท ตัวหนา - ขอความ ยอหนา 0.5 นิ้ว ชิดขอบซาย-ขวา ตัวธรรมดา - ใชตัวเลขอารบิคเทานั้น • รายละเอียดผูเขียนบทความ ประกอบดวย - ทีอ่ ยู ตำ�แหนงทางวิชาการ หนวยงานทีส่ งั กัด อีเมลและโทรศัพททตี่ ดิ ตอไดสะดวก

6. การอางอิง 1. การอางอิงในเนื้อหาใชระบบนาม-ป (Name-year Reference) 1.1 การอางอิงในเนือ้ หาจากสือ่ ทุกประเภท ลงในรูปแบบ “ชือ่ ผูเ ขียน, ปพมิ พ : เลข หนาที่ปรากฏ” อยูในเครื่องหมายวงเล็บเล็ก 1.2 ผูเขียนคนไทยลงชื่อ-สกุล สวนผูเขียนชาวตางชาติลงเฉพาะนามสกุล ดัง ตัวอยาง - โสเกรติสย้�ำ วาการอานสามารถจุดประกายไดจากสิง่ ทีน่ กั อานรูอ ยูแ ลวเทานัน้ และ ความรูที่ไดรับมาไมไดมาจากตัวหนังสือ (แมนเกล, 2546 : 127) - สุมาลี วีระวงศ (2552 : 37) กลาววา การที่ผูหญิงจะไปสื่อชักผูชายมาบานเรือน ของตัวเองทั้งๆ ที่เขายังไมไดมาสูขอนั้น เปนเรื่องผิดขนบธรรมเนียมจารีตประเพณี หมายเหตุ: ทุกรายการที่อางอิงในเนื้อหา ตองปรากฏในรายการบรรณานุกรมเสมอ 2. บรรณานุกรม (Bibliography) - การเขียนบรรณานุกรมใชรปู แบบของ APA (American Psychology Association) ดังตัวอยางตามชนิดของเอกสารดังนี้ 2.1 หนังสือ ชื่อ-สกุลผูแตง. \\ (ปพิมพ). \\ ชื่อหนังสือ. \\ ครั้งที่พิมพ. \\ เมืองที่พิมพ: \ สำ�นักพิมพ. ตัวอยาง แมนเกล, อัลแบรโต. \\ (2546). \\ โลกในมือนักอาน. \\ พิมพครั้งที่ 4. \\ กรุงเทพฯ: \ พิฆเณศ พริ้นติ้ง เซ็นเตอร. สุมาลี วีระวงศ. \\ (2552). \\ วิถีชีวิตไทยในลิลิตพระลอ. \\ พิมพครั้งที่ 3. \\ กรุงเทพฯ: \ สถาพรบุคส.


Greenthal, Kathryn, Kozal, Paula M., and Ramirez, Jan Seidler. \\ (1986). \\ American figurative sculpture in the Museum of Fine Arts, Boston. \\ 2nd ed. \\ Boston: \ Museum of Fine Arts. Tidd, J., Bessant, J., and Pavitt, K. \\ (2001). \\ Managing innovation. \\ 2nd ed. \\ Chichester: \ John Wiley and Sons. 2.2 บทความวารสาร ชือ่ -สกุลผูเ ขียน. \\ (ป) \\ ชือ่ บทความ. \\ ชือ่ วารสาร \ ปท,ี่ \ (ฉบับที)่ \ : \ หนาทีป่ รากฏบทความ. ตัวอยาง ผอง เซงกิ่ง. \\ (2528). \\ ศิลปกรรมอันเนื่องกับไตรภูมิ. \\ ปาจารยสาร 12 (2) \ : \ 113-122 Shani, A., Sena, J., and Olin, T. \\ (2003). \\ Knowledge management and new product development: a study of two companies. \\ European Journal of Innovation Management 6 (3) \ : \ 137-149. 2.3 วิทยานิพนธ ชื่อผูเขียนวิทยานิพนธ. \\ (ปการศึกษา). \\ ชื่อวิทยานิพนธ. \\ ระดับปริญญา \ สาขาวิชาหรือ ภาควิชา \ คณะ \ มหาวิทยาลัย. ตัวอยาง ปณิธิ อมาตยกุล. \\ (2547). \\ การยายถิ่นของชาวไทใหญเขามาในจังหวัดเชียงใหม. \\ วิทยานิพนธปริญญาศิลปะศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภูมิภาคศึกษา มหาวิทยาลัย เชียงใหม. วันดี สนติวุฒิเมธี. \\ (2545). \\ กระบวนการสรางอัตลักษณทางชาติพันธุของชาว ไทใหญชายแดนไทย-พมา กรณีศกึ ษาหมูบ า นเปยงหลวง อำ�เภอเวียงแหง จังหวัด เชียงใหม. \\ วิทยานิพนธปริญญาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต สาขาวิชา มานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. 2.4 สื่ออิเล็กทรอนิกสตางๆ 2.4.1 หนังสือออนไลน (online / e-Book) ชื่อผูเขียน. \\ (ปที่พิมพ) \\ ชื่อเรื่อง. \\ [ประเภทของสื่อที่เขาถึง]. \\ สืบคนเมื่อ \\ วัน \ เดือน \ ป. \\ จาก \ แหลงขอมูลหรือ URL ตัวอยาง สรรัชต หอไพศาล. \\ (2552). \\ นวัตกรรมและการประยุกตใชเทคโนโลยีเพือ่ การศึกษาใน สหัสวรรษใหม : กรณีการจัดการเรียนการสอนผานเว็บ (Web-Based Instruction : WBI). \\ [ออนไลน]. \\ สืบคนเมื่อ 1 พฤษภาคม 2553. \\ จาก http://ftp.spu.ac.th/ hum111/main1_files.


De Huff, E. W. \\ (2009). \\ Taytay’s tales: traditional Pueblo Indian tales. \\ [Online]. \\ Retrieved January 8, 2010. \\ from http://digital.library.upenn.edu/women/dehuff/ taytay/taytay.html. 2.4.2 บทความจากวารสารออนไลน (online / e-journal) Author, A. A., & Author, B. B. \\ (Date of publication). \\ Title of article. \\ Title of Journal \\ volume (number) : pages. \\ [Online]. \\ Retrieved …month date, year. \\ from….source or URL…. ตัวอยาง Kenneth, I. A. \\ (2000). \\ A Buddhist response to the nature of human rights. \\ Journal of Buddhist Ethics 8 (3) : 13-15. \\ [Online]. \\ Retrieved March 2, 2009. \\ from http://www.cac.psu.edu/jbe/twocont.html. Webb, S. L. \\ (1998). \\ Dealing with sexual harassment. \\ Small Business Reports 17 (5) : 11-14. \\ [Online]. \\ Retrieved January 15, 2005. \\ from BRS, File: ABI/ INFORM Item: 00591201. 2.4.3 ฐานขอมูล ธนาคารแหงประเทศไทย. \\ (2550). \\ แรงงานตางดาวในภาคเหนือ. \\ [ออนไลน]. \\ สืบคน เมื่อ 2 กันยายน 2550. \\ จาก http://www.Bot.or.th/BotHomepage/databank / RegionEcon/ northern /public/Econ/ch 7/42BOX04. HTM. Beckenbach, F. and Daskalakis, M. \\ (2009). \\ Invention and innovation as creative problem solving activities: A contribution to evolutionary microeconomics. \\ [Online]. \\ Retrieved September 12, 2009. \\ from http:www. wiwi.uni-augsburg.de/vwl/hanusch/emaee/papers/Beckenbach_neu.pdf. ​


แบบฟอรมขอสงบทความเพื่อตีพิมพ วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย สาขาสังคมศาสตร มนุษยศาสตร์ และศิลปะ เรียน กองบรรณาธิการวารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ขาพเจา ​ นาย ​ นาง ​ นางสาว ชื่อ-สกุล ภาษาไทย ................................................................................................................. ภาษาอังกฤษ................................................................................................................. ตำ�แหนงทางวิชาการ ​  ศาสตราจารย  รองศาสตราจารย  ผูชวยศาสตราจารย  อาจารย ​  นักศึกษา  อื่นๆ (โปรดระบุ)....................................................................... สถานที่ทำ�งาน/สถาน​ศึกษา ....................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... โทรศัพททที่ �ำ งาน.......................................................โทรศัพทมอื ถือ................................................. โทรสาร...................................................อีเมล................................................................................. มีความประสงคขอสงบทความ เรื่อง ภาษาไทย............................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ภาษาอังฤษ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................... กองบรรณาธิการสามารถติดตอขาพเจาไดที่  สถานที่ทำ�งาน ตามที่ระบุไวขางตน  สถานที่อยูที่ติดตอไดสะดวกรวดเร็ว ดังนี้ .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... โทรศัพททที่ �ำ งาน.......................................................โทรศัพทมอื ถือ.................................................. โทรสาร....................................................อีเมล............................................................................... ลงชื่อ.................................................................... (...........................................................) วัน-เดือน-ป........................................................... สงใบสมัคร พรอมตนฉบับไฟลขอมูล มาที่ คุณปรานี วิชานศวกุล (บรรณาธิการบริหารวารสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร) โทร. 080-5996680 E-mail: pranee_aon1@hotmail.com



นเรนทรสูรปนภพยักษา ยกพลโยธาพลากร ยังเนินจักรวาลสิงขร ตามไปราญรอนถึงบรรพต ทําลายพิธีเสียไดหมด ทั้งทศโยธาก็วายปราณ สุดปญญาจะตอกําลังหาญ ปมเสียชนมานแกไพรี พระบิตุรงคธิราชเรืองศรี ใชที่จะไรอนงคใน ผัวเขามาตามจงสงให ลูกเราจะไมมรณา ฯ

วารสารมหาว�ทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย สาขาสังคมศาสตร มนุษยศาสตร และศิลปะ

๏ ครั้นถึงนอมเศียรบังคมทูล วาอินทรชิตอสุรา ออกไปตั้งกิจพิธีการ พระลักษมณกับพวกวานร ยกเขาหักโหมโจมตี สิ้นทั้งคชามารถ แตลูกรักผูเดียวเคี่ยวฆา สิ้นสุดอาวุธจะรอนราญ จึ่งกลับเขามาบังคมบาท พระองคผูทรงธรณี อยาพะวงดวยสีดาโฉมงาม สงครามก็จะระงับไป

ÇÒÃÊÒÃÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÈÔŻҡà ©ºÑºÀÒÉÒä·Â ÊÒ¢ÒÊѧ¤ÁÈÒʵà Á¹ØÉÂÈÒʵà áÅÐÈÔŻР»‚·Õè 33 ©ºÑº·Õè 1 (Á¡ÃÒ¤Á-ÁԶعÒ¹) ¾.È. 2556

การขุดคนทางโบราณคดีบริเวณพื้นที่สถานีรถไฟธนบุรี (เดิม) : พื้นใชงานเดิมของคนธนบุรี กรรณิการ สุธีรัตนาภิรมย วรรณกรรมคําสอนภาคใต “ฉบับพิมพเลมเล็ก” : การสืบทอดและสรางสรรคดานเนื้อหาคําสอน พัชลินจ จีนนุน วรรณศิลปลานนาจากมหาชาติภาคพายัพ สํานวนสรอยสังกร วาทิต ธรรมเชื้อ การประมาณคาความผันผวนและการพยากรณมูลคากองทุนรวมหุนระยะยาว สุรชัย จันทรจรัส, ลัดดาวรรณ อาจพรม

(เลมที่ 2 : 616)

ปที่ 33 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน) พ.ศ. 2556

วัจนกรรมเกี่ยวกับความสุภาพและแนวคิดเรื่องหนากับการคุกคามหนา ของตัวละครในรามเกียรติ์ ศิวดล วราเอกศิริ

การศึกษาอัตลักษณทองถิ่นประจําภาคเหนือตอนลาง เพื่อการออกแบบเรขศิลปบน บรรจุภัณฑของที่ระลึก ทินวงษ รักอิสสระกุล และธัญญธร อินทรทาฉาง การศึกษาของนักเรียนตางดาวในโรงเรียนรัฐไทย ฐิติมดี อาพัทธนานนท การพัฒนาจริยธรรมในองคการผานกระบวนการบริหาร ทรัพยากรมนุษย สานิตย หนูนิล การแปรการใชศัพทของคนสามระดับอายุในภาษาไทดํา อําเภอเขายอย จังหวัดเพชรบุรี สุวัฒนา เลี่ยมประวัติ ความหมายและอัตลักษณของจีนฮากกา ศิริเพ็ญ อึ้งสิทธิพูนพร วัจนกรรมเกี่ยวกับความสุภาพและแนวคิดเรื่องหนากับการคุกคามหนาของตัวละครในรามเกียรติ์ ศิวดล วราเอกศิริ

ISSN 0857-5428

www.surdi.su.ac.th, www.journal.su.ac.th, www.tci-thaijo.org/index.php/sujthai


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.